ความรู้เรื่อง "ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ"

Page 1


รายการบรรณานุกรมสำ�เร็จรูป (CIP) รายการบรรณานุกรมส�ำเร็จรูป (CIP) ของห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มข. พีระ สมบัติดี ความรู้เรื่องภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ = Dyslipidemia / พีระ สมบัติดี, สายสมร พลดงนอก, สิทธิชยั เนตรวิจติ รพันธ์.- - พิมพ์ครัง้ ที่ 1. - - ขอนแก่น : หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์, 2558.

15 หน้า : ภาพประกอบ

1. ภาวะไขมันสูงในเลือด. 2. โคเลสเตอรอลสูงในเลือด. (1) ชื่อเรื่อง. (2) สายสมร พลดงนอก. (3) สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ์. (4) โรงพยาบาลศรีนครินทร์. งานเวชกรรมสังคม. หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ. [WD200.5.H8 พ796 2558]


คํานํา หนังสือความรูเรื่อง “ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ” นี้ไดจัดขึ้น เนื่องจากสุขภาพที่แข็งแรงเปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แตบางครั้งเราก็ไม สามารถหลีกเลี่ยงโรคภัยไขเจ็บได เพื่อใหทานไดทําความเขาใจ และหา ทางปองกันภาวะไขมันหลอดเลือดผิดปกติ แมจะไมใชโรคทีด่ รู า ยแรง แต โรคนี้ก็เปนความเสี่ยงภายในรางกายที่นํามาสูโรครายแรงตางๆ หลอด เลือดแดงแข็ง หากไขมันในเลือดผิดปกติมากจนกระทั่งเกิดภาวะหลอด เลือดแดงตีบ อาจทําใหเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด รวมทั้งโรคสมองขาด เลือด ดังนั้น การใหความรูสรางความเขาใจเรื่องโรครวมถึงการปฏิบัติตัว ทีถ่ กู ตอง จะนําไปสูก ารปองกันโรคและความเสีย่ งตอโรครายแรงตางๆได

คณะผูจัดทํา กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเกา อ.นพ.สิทธิชยั เนตรวิจติ รพันธ และนางกาญจนศรี สิงหภู ทีใ่ หคาํ ปรึกษาและคําแนะนําในการจัดทําคูม อื ขอขอบคุ ณ โรงพยาบาลศรี น คริ น ทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่สนับสนุนงบประมาณในการจัดทําคูมือฉบับนี้


สารบัญ

•• •• •• •• •• •• •• •• •• ••

หนา ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1 สาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 2 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับไขมันในเลือด 3 อาการและอาการแสดงของภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 5 การวินิจฉัยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 5 การรักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 7 การปฏิบัติตัวของผูมีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 7 หลักการในการเลือกอาหารบริโภค 8 ตัวอยางรายการอาหารสําหรับลดโคเลสเตอรอล 9 การปองกันไมใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 14


6

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) หมายถึง - ภาวะที่มีโคเลสเตอรอล (Cholesterol) อยูในเลือดสูงมากกวา 200 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร - ไตรกลีเซอไรด (Triglyceride) มากกวา 150 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร - ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแนนตํ่า (Low Density Lipoprotein : LDL) มากกวา 160 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร - ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแนนสูง (High Density Lipoprotein : HDL) นอยกวา 50 มิลลิกรัมตอเดซิลติ ร โดยตอง เจาะเลือดตรวจซํ้ากัน 2-3 ครั้ง หางกัน ครั้ ง ละ 2-3 สั ป ดาห แ ละเป น การเจาะ เลือดในตอนเชาหลังนอนพักผอนมาเต็มที่ และงดอาหารเครื่องดื่มตางๆเปนเวลา อยางนอย 10 ชั่วโมงแลว ภาวะดังกลาวเปนภาวะที่พบมากขึ้นในคนไทยที่มีการดําเนิน ชีวิตแบบเมือง คลายคนในประเทศตะวันตก ภาวะที่เกิดขึ้นนี้สัมพันธกับ โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด ปจจุบันเปนที่นาวิตกมากสําหรับคนทั่วไป เนื่องจากเปนปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งโรค หลอดเลือดแข็งตัว (Atherosclerosis) ซึ่งนําไปสูโรคหัวใจขาดเลือดได นับเปนโรครายอีกชนิดหนึ่งที่ทําใหประชากรเสียชีวิตเปนอันดับตนๆ คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

1


สาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

สาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สามารถจําแนกไดดงั นี้ 1. ชนิ ด ปฐมภู มิ (Primary หรื อ Familial Dyslipidemia) สาเหตุการเกิดไมทราบชัด แตเชื่อวาเกิดจากพันธุกรรมที่มีความผิดปกติ ของการควบคุมการสังเคราะหและการเผาผลาญแอลดีแอล ทําใหมรี ะดับ แอลดีแอลในเลือดสูง เกิดจากความผิดปกติของยีนในการควบคุมการ สรางตัวรับแอลดีแอลที่ตับทําใหจํานวนตัวรับแอลดีแอลลดลง ทําใหมี ไตรกลีเซอไรดและแอลดีแอลสูง 2. ชนิดทุติยภูมิ (Secondary Dyslipidemia) สาเหตุการเกิด ที่สําคัญ ไดแก นํ้าหนักเพิ่มในวัยผูใหญ การตั้งครรภ การรับประทาน อาหารที่คารโบไฮเดรตสูง ไดรับพลังงานสูงหรือรับประทานอาหารที่มี ไขมันอิ่มตัวสูง การดื่มแอลกอฮอล เบาหวาน ภาวะไทรอยดฮอรโมนตํ่า ไตวายเรื้อรัง ดีซาน โรคตับ และการไดรับยาบางชนิด เชน สเตียรอยด ยาเม็ ด คุ ม กํ า เนิ ด เป น ต น สํ า หรั บ สาเหตุ ข องเอชดี แ อลในเลื อ ดตํ่ า มั ก พบร ว มกั บ ผู  ที่ มี ไ ตรกลี เ ซอไรด สู ง โรคอ ว น การสู บ บุ ห รี่ แ ละขาด การออกกําลังกาย

2

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


ปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับไขมันในเลือด

1. อายุ ปริมาณของไขมันในเลือดแปรตามอายุ พบวาไขมัน ทีว่ ดั ไดจากเลือดสายสะดือของเด็กแรกเกิดตํา่ มากและจะเพิม่ ขึน้ เร็วมาก ในวัยเด็ก แตเมื่อเขาสูวัยผูใหญจะเพิ่มขึ้นทีละนอย ระดับแอลดีแอล จะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงอายุ 60 ป 2. ความแตกตางระหวางเพศ ความแตกตางระหวาเพศมีผล ตอระดับ ไตรกลีเซอไรดมากกวาระดับของโคเลสเตอรอล พบวาเพศชาย มีระดับไตรกลีเซอไรดสงู กวาเพศหญิงทุกวัย โดยเฉพาะในชวงอายุ 20–39 ป ระดับไตรกลีเซอไรดในเพศชายจะสูงกวาเพศหญิงถึงรอยละ 40 แต ความแตกตางจะลดลงเมือ่ อายุเพิม่ ขึน้ สําหรับระดับของโคเลสเตอรอลพบ วาแตกตางกันไมมาก แตระยะหนุมสาว คาของโคเลสเตอรอลในชายจะ สูงกวาหญิง จนเมือ่ วัย 40-50 ป หญิงจะมีระดับโคเลสเตอรอลสูงกวาชาย 3. อาหาร ตามปกติ ร า งกายจะสามารถสร า งหรื อ ผลิ ต สาร โคเลสเตอรอลขึ้นในรางกายไดเองเปนสวนใหญ และสารโคเลสเตอรอล ที่มีอยูในรางกายสวนใหญก็ไดจากสวนที่รางกายสรางขึ้นมากกวาจาก อาหารทีบ่ ริโภค แตอาหารอาจจะเปนสวนหนึง่ ทีม่ ผี ลระดับโคเลสเตอรอล 4. การออกกําลังกาย จะชวยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือด และเพิ่มเอชดีแอล นอกจากนั้นยังชวยลดนํ้าหนักดวย

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

3


5. บุ ห รี่ การสู บ บุ ห รี่ ทํ า ให เ อชดี แ อลลดลง ไดมากกวารอยละ 15 และพบวาการเลิกสูบบุหรี่จะ ทําใหระดับไขมันเอชดีแอลกลับสูระดับปกติ 6. กรรมพันธุ ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูงจากกรรมพันธุ เกิดจากมีความผิดปกติทางพันธุกรรมในการสรางหรือการเผาผลาญ แอลดีแอล จึงทําใหระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง 7. แอลกอฮอล การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในปริมาณมาก จะทําใหมีไตรกลีเซอไรดสูงขึ้น 8. ความอวน ผูที่อวนจะมีระดับแอลดีแอล และไตรกลีเซอไรด ในเลือดสูง 9. ความเครียด ผูท มี่ คี วามเครียดจะทําใหรา งกายมีการเผาผลาญ สูงมากขึ้น แตไมสามารถนําแอลดีแอลไปใชได จึงทําใหระดับไขมัน ในเลือดสูงขึ้น 10. สาเหตุอนื่ ๆ หองปฏิบตั กิ ารและวิธวี เิ คราะหไขมันแตกตางกัน และความเจ็บปวยก็มีผลทําใหเกิดการรบกวนตอเมตาบอลิซึมของระดับ ไขมันในเลือด ดังนั้นควรตรวจซํ้าอีกภายหลังจากหายปวย 2-3 สัปดาห 4

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


อาการและอาการแสดงของภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สวนใหญผปู ว ยทีม่ ภี าวะไขมันในเลือดผิดปกติจะไมมอี าการแสดง แตบางกรณีโดยเฉพาะพวกไขมันในเลือดผิดปกติจากพันธุกรรม อาจมี อาการดังนี้ 1. ผนังหลอดเลือดแข็ง หัวใจตองทํางานหนักมากขึ้นเพื่อสูบฉีด เลื อ ดใหเลี้ย งทั่วรางกายเพีย งพอ เมื่ อ เป น ระยะเวลานาน จะทําใหเกิดความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดหรือเปนอัมพาตได 2. มีปนเหลืองที่ผิวหนัง เชน หนังตา ขอศอก หัวเขาและฝามือ 3. เอ็นรอยหวายหนาตัวกวาปกติ 4. มีเสนวงสีขาวเกิดขึ้นระหวางขอบตาดํากับตาขาว

การวินิจฉัยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

หลักสําคัญของการวินจิ ฉัยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ พิจารณาจากการ ตรวจวัดปริมาณไขมันในเลือดรวมกับการตรวจรางกายเพือ่ ดูอาการแสดง ตางๆ และการซักประวัติ 1. การตรวจวัดระดับไขมันในเลือด เกณฑที่ใชตัดสินระดับไขมัน ในเลือดผิดปกติโดยทั่วไป ไดแก 1.1 ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงกวา 200 มก./ดล. 1.2 ระดับไตรกลีเซอไรดในเลือดสูงกวา 150 มก./ดล. 1.3 ระดับแอลดีแอลในเลือดสูงกวา 160 มก./ดล. 1.4 ระดับเอชดีแอลในเลือดตํ่ากวา 50 มก./ดล. คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

5


*หมายเหตุ ในกรณีที่มีโรคอื่นๆ รวมดวย เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือ อัมพาต คาปกติจะแตกตางจากนี้

2. การตรวจรางกาย การบันทึกนํ้าหนักตัวและความสูงเพื่อคํานวณ หาดั ช นี ม วลกาย (Body Mass Index : BMI) โดยใช นํ้ า หนั ก ตั ว ใช หน ว ยกิ โ ลกรั ม หารด ว ยกํ า ลั ง สองของความสู ง ใช ห น ว ยเมตร อาการ แสดงของต อ มไทรอยด ทํ า งานตํ่ า ภาวะบวม เอ็ น ร อ ยหวายหนาตั ว กว า ปกติ ป น เหลื อ งที่ ห นั ง ตา หลั ง ข อ ศอก หั ว เข า ข อ พั บ ต า งๆ และ เอ็นรอยหวายมีเสนโคงสีขาวบนขอบนอกของตาดําซึ่งเกิดจากการมี โคเลสเตอรอลไปจับที่กระจกตาดํา ซึ่งอาจจะเปนรูปครึ่งวงกลมหรือ เต็มวงกลม 3. การซักประวัติเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะไขมัน และโคเลสเตอรอลเกี่ยวกับปริมาณที่บริโภค ความถี่ที่บริโภคอาหารเนื้อ สัตว ไข นมสด เนย ครีม ไอศกรีม ขนมหวาน หรืออาหารประเภทจานดวน ผลของการดําเนินชีวติ ตอการรับประทานอาหาร เชน อาหารสวนใหญ ปรุง แลวรับประทานที่บาน ตามแผงลอย โรงอาหาร หรือภัตตาคาร การใชยา ของผูป ว ย การดืม่ สุรา เปนตน

6

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


4. การซักประวัติ ประวัตคิ รอบครัว เกีย่ วกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และโรคหลอดเลือดแดงแข็งกอนวัยอันควร ไดแก โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดแดงสวนปลายอุดตัน ประวัติ โรคประจําตัว เชน โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ โรคตอมไทรอยด ชนิด และปริมาณของอาหารที่รับประทาน การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การออก กําลังกาย การใชยาตาง ๆ

การรักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

การลดแอลดีแอลในการลดไขมันแตละตัวไดแตกตางกันเชนยา กลุมสแตติน สามารถลดไตรกลีเซอไรดไดดีแตการลดแอลดีแอลสูกลุม สแตตินไมได ยาลดไขมันในเลือดมีอยูหลายกลุมทั้งนี้ยาแตละกลุมจะ ออกฤทธิ์ สวนการลดไตรกลีเซอไรดควรจะพิจารณาการใชยากลุม ไฟเบรต เปนตน

การปฏิบัติตัวของผูมีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

การวางแผนใหโภชนบําบัด เปนสิ่งสําคัญที่ตองกระทําเปน อันดับแรกเพราะเปนวิธีที่ไดผลดีและเสียคาใชจายนอย ซึ่งประกอบดวย โดยอาจปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้คือ 1. ชั่งนํ้าหนักและบันทึกลงสมุดบันทึกทุกวันดวยเครื่องชั่งเดียวกันตลอด 2. จดบันทึกอาหารที่บริโภค ยกเวนนํ้าเปลา 3. ปฏิบัติภารกิจไดตามปกติ แตใหหลีกเลี่ยงการไปงานเลี้ยงซึ่งทําให บริโภคมากกวาปกติ 4. บริโภคอาหารมื้อหลักเทานั้นและตัดอาหารวางหรือนํ้าหวานทุกชนิด คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

7


หลักการในการเลือกอาหารบริโภค 1. กลุมแปง นํ้าตาล เลือกรับประทานขาว ขนมปงปอนดขาวหรือ โฮลวีท เสนหมีเ่ ลือกทีท่ าํ จากขาวกลองก็จะดียงิ่ ขึน้ วุน เสน ขนมจีบ งดนํา้ หวาน นํา้ อัดลม นํา้ ผลไม งดการเติมนํา้ ตาลทรายในอาหารทีก่ าํ ลังบริโภค งดขนมหวาน เบเกอรี่ทุกชนิด 2. กลุมไขมัน หลีกเลี่ยงไขมันสัตวทุกชนิด กะทิ เนย เนยเทียม ครีมเทียม ใชนํ้ามันถั่วเหลืองปรุงอาหารใหไดประมาณ 2–3 ชอนโตะ ตอคนตอวัน 3. กลุมโปรตีน บริโภคเนื้อปลาและ เนื้อไก เปนหลักหรือเตาหูทุกชนิดที่ไมผสมไข งดเครือ่ งในสัตวทกุ ชนิด หนังสัตว อาหารทะเล บริ โ ภคได สั ป ดาห ล ะ 1 ครั้ ง หลี ก เลี่ ย งการ บริโภคไขแดง เลือกดื่มนมพรองไขมันชนิดจืด 4. กลุม ผักและผลไม บริโภคผักและผล ไมเปนประจําทุกมื้อ แตควรหลีกเลี่ยงการผัด ดวยนํา้ มันมากๆ และหลีกเลีย่ งผลไมทหี่ วานจัด 5. วิธกี ารปรุงอาหาร เนนเปนวิธนี งึ่ อบ ตม ทอดทีใ่ ชนาํ้ มันนอย การยางก็ใชไดแตอยา ใหไหมเกรียม

8

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


ตัวอยางรายการอาหารสําหรับลดไขมันโคเลสเตอรอล ตารางที่ 1 แสดงอาหารที่ควรรับประทานและที่ควรลด อาหารที่ควรเลือกรับประทาน อาหารที่ควรลดปริมาณ หมวดเนื้อ นม ไข และถั่วเมล็ด - เนื้อแดงไมติดมัน - เปด ไกเอาหนังออก - นมพรองมันเนยทั้งที่เปน นมสดและนมผง เนยแข็งไขมันตํ่า - ไขขาว - ถั่วเมล็ดแหงทุกชนิด

- เนื้อติดมัน เนื้อหมักเกลือ เครื่องในสัตว - นมธรรมดา นมขนจืดระเหย และ ผลิตภัณฑจากนม เชน เนย เนยแข็ง ไอศกรีม - ไขแดง - ถั่วเมล็ดทุกชนิดที่ปรุงดวยไขมัน อิ่มตัว

หมวดขาว แปง นํ้าตาล ขาวทุกชนิด โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ไมขัด สีเปลือก แปงทําอาหารเสนทุกชนิด

ขาว แปง ทุกชนิดที่ปรุง ดวยไขมันอิ่มตัว ใสครีม เนย หรือไข

หมวดผักและผลไม ไดทั้งผักและผลไมสด แหง แชแข็ง

ผักและผลไมที่ปรุงดวยเนยครีมตางๆ ผลไมที่ชุบแปงและแชในนํ้าเชื่อม

หมวดไขมันและนํ้ามัน ใชไขมันไมอิ่มตัว นํ้ามันพืชทุกชนิด ยกเวนนํ้ามันมะพราว

ทุกชนิดที่ปรุงดวยไขมันอิ่มตัว นํ้ามัน สลัดที่ทําจากไขแดง คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

9


ตารางที่ 2 แสดงปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารตางๆ เปนมิลลิกรัม/ ปริมาณอาหาร 100 กรัม รายการ ไข เครื่องใน

อาหารทะเล

10

คูมือเรื่อง

อาหาร ไขไกทั้งฟอง ตับไก ตับหมู ตับวัว ไตหมู หัวใจหมู หัวใจวัว หัวใจไก ไสตันหมู หอยนางรม หอยแครง หอยแมลงภู กุงแชบวย กุงกุลาดํา กุงนาง มันกุงนาง มันปูทะเล ปูมา ปูทะเล ปลาหมึกกระดองหัว ปลาหมึกกระดองเนื้อ ปลาหมึกกลวยหัว

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

จํานวนมิลลิกรัม ตออาหาร 100 กรัม 427 336 364 218 235 133 165 157 140 231 195 148 192 175 138 138 361 90 87 405 322 32


รายการ

อาหาร

จํานวนมิลลิกรัม ตออาหาร 100 กรัม

เนื้อสัตวตางๆ

เนื้อวัว เนื้อไก นองไก เนื้อเปด เนื้อหานพะโล เนื้อกบ ปลาดุก ปลาชอน ปลาทราย ปลากระบอก ปลาทู

65 70 100 82 121 47 94 44 77 64 76

เนย

เนยเหลว เนยแข็ง

186 33

2. การออกกําลังกาย การออกกําลังกายชวยลดปริมาณไขมันในเลือด และเพิ่ ม ระดั บ เอชดี แ อลแต จ ะต อ งเป น การ ออกกํ า ลั ง กายที่ส มํ่า เสมอ ทํ า ต อ เนื่อ งครั้ง ละ 10–30 นาที วันละอยางนอย 30 นาที อยางนอย สัปดาหละ 3–4 ครั้ง กิจกรรมการออกกําลังกาย ที่จะเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ ไดแก การเดิน เตนรํา ขี่จักรยาน วายนํ้า เตนแอโรบิค รํามวยจีน รํากระบอง วิ่ง 20 กม./สัปดาห ติดตอกันอยางสมํา่ เสมอ คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

11


ผลของการออกกําลังกายตอระดับไขมันในเลือด การออกกําลังกายมีผลดังตอไปนี้ • ลดการเกาะของไขมันในหลอดเลือด • รางกายมีการใชพลังงานจากไขมันทีส่ ะสมในรางกายเพิม่ ขึน้ มีผล ให ร ะดั บ ของโคเลสเตอรอล ไตรกลี เ ซอไรด แ ละแอลดี แ อล โคเลสเตอรอลในเลือดลดลง ระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอล ในเลือดเพิม่ ขึน้ • ไขมันทีส่ ะสมอยูต ามสวนตางๆ ของรางกายลดลง การเปลี่ยนกิจกรรมใหเปนการออกกําลังกาย การปรับเปลีย่ นทุกกิจกรรมทีท่ าํ ใหกลายเปนการออกกําลังกายงายๆ สัน้ ๆ สามารถทําไดทกุ วัน ทุกเวลา เพียงแตตอ งมีความตัง้ ใจจริงเทานัน้ ทีท่ าํ งาน เชน 1) จอดรถในทีท่ ไ่ี กลจากตัวตึก เพือ่ จะไดเดินออกกําลังกาย 2) เดินขึน้ –ลงบันไดในทีท่ าํ งานทุกวัน 3) เดินไปรับประทานอาหารกลางวันทีร่ า นฝง ตรงขาม แทนทีจ่ ะเปนใตอาคาร 4) ลงรถเมลกอ นถึงทีท่ าํ งาน 1 ปาย เพือ่ เดินมาทํางานตอนเชา 5) เดินไปหยิบแฟมเอกสารเอง ถายเอกสารเอง และชงกาแฟกินเอง ทีบ่ า น เชน 1) ไมพักผอนดวยการนอนในเวลากลางวัน แตจะเปลี่ยนเปน กิจกรรมทีต่ อ งออกแรง เชน การทําสวน 2) ซักผาดวยตนเองแทนการใชเครือ่ งซักผา 3) ทําความสะอาดบานทุกวันหลังกลับจากทํางาน อยางนอย 30 นาที 12

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


3. การจัดการกับความเครียด ความเครียดกอใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โดยสาเหตุ จากความคิดและพฤติกรรมของตัวบุคคลเอง ไมวาจะเปนจากปญหา ครอบครัว การทํางานที่เรงรีบ สภาพแวดลอมที่เครงเครียด ปญหาทาง เศรษฐกิจ และจากการมีความเครียดเรื้อรังที่บุคคลไมรูจักกลวิธีบริหาร ความเครียดนีเ้ อง จึงทําใหเกิดโรคตางๆ มากมาย รวมทัง้ ภาวะไขมันในเลือด ผิดปกติ ความเครี ย ดทางจิ ต ใจทํ า ให ร า งกายมี อั ต ราการเผาผลาญ อาหารสูงขึ้น จึงเกิดอนุมูลอิสระมากขึ้นไปทํารายโมเลกุลของแอลดีแอล ตั บ จึ ง ไม ส ามารถหมุ น มาใช แ อลดี แ อลที่ ถู ก ออกซิ ไ ดซ ไ ด อี ก ต อ ไป จึงเกิดโคเลสเตอรอลสูงในคนทีเ่ รงรัดเครงเครียด การผอนคลายความเครียดจะมีผลใหระดับไขมันในเลือดลดลง แนวทางการปฏิบัติเพื่อการผอนคลายความเครียดที่แนะนํา คือ การฝก สมาธิดว ยการกําหนดลมหายใจเขาออก

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

13


การปองกันไมใหเกิดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

1. หลี กเลี่ย งการรับ ประทานอาหารที่มีโ คเลสเตอรอลสู ง เช น เครือ่ งในสัตว ไขแดง หนังเปด หนังไก หอย ปู กุง ปลาหมึก มันหมู มะพราว อาหาร ทีม่ กี ะทิและถาหากมีไตรกลีเซอไรดสงู ดวย ก็ควรระวังอาหารพวกแปง นํา้ ตาล เครือ่ งดืม่ ทีม่ รี สหวานและผลไมหวานจัด 2. รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน เชน เนือ้ ปลา เนือ้ สัตวทไ่ี มตดิ มัน และนมพรองมันเนย เปนตน 3. รับประทานอาหารที่เสนใยมากๆ เชน ผัก ผลไม ขาวซอมมือ ถัว่ เมล็ดแหงตางๆ เปนตน 4. เลือกใชน้ํามันในการประกอบอาหาร ควรใชน้ํามันพืช เชน นํา้ มันถัว่ เหลือง นํา้ มันขาวโพด นํา้ มันงา เปนตน 5. ออกกําลังกายอยางสมํา่ เสมอ 5.1 การวิง่ จอกกิง้ 20 นาที ความเร็ว 120 เมตรตอนาที 5.2 วายนํา้ ตามสบาย 25 นาที 5.3 เดินเร็วดวยความเร็ว 100 เมตรตอนาที เปนเวลา 25 นาที 5.4 ขีจ่ กั รยานความเร็ว 18 กิโลเมตรตอชัว่ โมง เปนเวลา 25 นาที 5.5 เตนแอโรบิคพอประมาณ

14

คูมือเรื่อง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


บรรณานุกรม

กาญจนศรี สิ ง ห ภู . (2549). คู มื อ พฤติ ก รรมส ง เสริ ม สุ ข ภาพสํ า หรั บ ผู มี ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ. ขอนแกน: โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. กาญจนศรี สิงหภู และสุกานดา อริยานุชิตกุล. (2555). คูมือการดูแลสุขภาพ สําหรับประชาชน เรื่อง ภาวะไขมันในเสนเลือดสูง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง. ขอนแกน: โรงพิมพคลังนานาวิทยา. กิ ต ติ จั น ทรเลิ ศ ฤทธิ์ , ธงชั ย ประฏิ ภ าณวั ต ร และสมศั ก ดิ์ เที ย มเก า . (2539). Advanced Practical Medicine. คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. เขมิ ก า โรจน ทั ง คํ า . (2551). การลดไชมั น ในเลื อ ดสู ง ด ว ยการปรั บ เปลี่ ย น พฤติ ก รรมการบริ โ ภคของบุ ค ลากรในวิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล. จุลสารวิทยาลัยแพทยสรางเสริม สุขภาพ, 2(3), 1-2. ธเนศ แกนสาร. (2556). แนวทางการดูแลรักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ. คนเมื่อ 10 กรกฎาคม 2557, จาก http://med. mahidol.ac. th/fammed/th/ postgrad/guideline_DLP. พี ร ะ สมบั ติ ดี , ธนพล ต อ ป ญ ญาเรื อ ง และสายสมร พลดงนอก. (2557) ความรูเรื่อง ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia). ขอนแกน : โรงพิมพคลังนานาวิทยา. สลิล ศิริอุดมภาส. (2555). ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia) คนเมื่อ 10 กรกฎาคม 2557, จาก http://haamor.com/th/ #article101. Dennis, P. A. et al. (2014). Behavioral health mediators of the link between posttraumatic stress disorder and dyslipidemia. Journal of Psychosomatic Research, 77, 45–50. Palmer, C. (2013). Dyslipidemia in Adults: How Recent Research and Recommendations Affect Nurse Practitioner Practice. JNP, 9(10), 669-78


ประวัติผูเขียน นายพีระ สมบัติดี คุณวุฒิ :

พยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตําแหนง : พยาบาลปฏิบัติการ หนวยสรางเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร หมายเลขโทรศัพทติดตอ (043) 363077-9 นางสายสมร พลดงนอก คุณวุฒิ : พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผูใหญ) คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ตําแหนง : พยาบาลชํานาญการพิเศษ หนวยสรางเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร หมายเลขโทรศัพทติดตอ (043) 363077-9 อ.นพ. สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ คุณวุฒิ : แพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยขอนแกน วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน วุฒิบัตรอนุสาขาอายุรศาสตรโรคขอและรูมาติสซั่ม มหาวิทยาลัยขอนแกน ตําแหนง : อายุรแพทยโรคขอ และรูมาติสซั่ม สาขาวิชาเวชศาสตร ผูปวยนอก ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน



พิมพที่ : โรงพิมพคลังนานาวิทยา 232/199 ถ.ศรีจันทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 Tel. 0-4332-8589-91 Fax. 0-4332-8592 E-mail : klungpress@hotmail.com 83/2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.