คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อจุดประสงค์หลักในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สาหรับผลิตภัณฑ์ อาหารเสริม Oil ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรรักษ์โลก ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ของจังหวัด ชัยนาท ทั้งนี้ผู้จัดทาได้ศึกษาที่มาและ ปัญหาของสินค้า รวมถึงตัวบรรจุภัณฑ์ที่ เหมาะสมสาหรับบรรจุแคปซูลในรูปแบบต่างๆ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ต้องผ่าน กระบวนการคิดวิเคราะห์ ทั้งสิ้น ทั้งนี้การจัดทารายงาน และการศึกษาผลิตภัณฑ์พบปัญหาต่างๆ มากมาย ซึ่งผู้จัดทาได้ทา การแก้ไข และ พยายามปรับปรุงให้เหมาะสมที่สุด สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณ ผศ. ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ที่ปรึกษาประจาวิชา ARTD3302 การออกแบบ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่ให้คาปรึกษาด้วยดีตลอดมา นายเมธาวี มีระลึก ผู้จัดทา
บทที่ 1 Research : การสืบค้นข้อมูล บรรจุภัณฑ์ OTOP ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
1.ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริม Oil กลุม่ วิสาหกิจชุมชนเกษตรรักษ์โลก ประธานกลุ่ม ชฎากร มีสวัสดิ์ ที่อยู่สถานที่ประกอบการ เลขที่ 86 หมู่ที่ 5 ถนน ตาบลหนองขุ่น อาเภอวัดสิงห์จังหวัดชัยนาท โทรศัพท์สถานที่ประกอบการ 08-0848834 Email yai_chadakorn@hotmail.com Line ID : RiceYai ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ชฎากร มีสวัสดิ์อายุ 47 ตาแหน่งงาน ประธานกลุ่ม ประสบการณ์ทางาน 10 ปี เริ่มประกอบการตั้งแต่เมื่อ พ.ศ. 2548 มีเอกสาร/ข้อมูลแนบมาให้คือ นามบัตร
2.ข้อมูลเบื้องต้นผลิตภัณฑ์ที่เลือกมาศึกษาวิเคราะห์และพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิมคือ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil ความต้องการของผู้ประกอบการ - ต้องการให้ออกแบบพัฒนาด้านโครงสร้างบรรจุภัณฑ์สาหรับสินค้า - ต้องการออกแบบพัฒนากราฟิกอัตลักษณ์เพื่อการสื่อสารองค์กรและผลิตภัณฑ์
3.visual analysis : โครงสร้าง/กราฟิก โดยละเอียด ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริม Oil
ภาพแสดงโครงสร้างและส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil (ที่มา : เมธาวีมีระลึก ,2557)
ผลการวิเคราะห์ ก.โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1 คือ ขวดพลาสติก 1.1 ขวดพลาสติก : ชนิด พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride) หรือ PVC 1.2 ขนาด มิติ : เส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 ซ.ม สูง 9 ซ.ม 1.3 สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีชาใส 1.4 ราคา : 600 บาท หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil หมายเลข 3 คือ ฝาปิดของขวดพลาสติก ข. กราฟิกที่ปรากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 4 : ชื่อประเภทของสินค้า หมายเลข 5 : ชื่อหลักของสินค้า หมายเลข 6 : ภาพประกอบของสินค้า หมายเลข 7 : บอกปริมาณที่บรรจุ 60 แคปซูล หมายเลข 8 : น้าหนักสุทธิ 43.2 กรัม หมายเลข 9 : ข้อมูลส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ หมายเลข 10 : ส่วนประกอบสาคัญของสินค้าใน 1 แคปซูล หมายเลข 11 : ชนิดของส่วนประกอบของสินค้า หมายเลข 12 : วิธีการรับประทาน หมายเลข 13 : องค์การอาหารและยา หมายเลข 14 : มีซองวัตถุกันชื้น หมายเลข 15 : ราคา หมายเลข 16 : บาร์โค๊ด หมายเลข 17 : ผลิต และแบ่งบรรจุโดย หมายเลข 18 : จัดจาหน่ายโดย หมายเลข 19 : คาเตือน ปัญหาที่พบคือ 1. จุดบอดทางการมองเห็น-การสื่อสาร ได้แก่ 1.1. ภาพประกอบไม่มีความน่าสนใจ 1.2. ตัวฉลากยังไม่ดึงดูดใจ
1.3. ฟ้อนข้อความบนฉลากสีขาวทาให้อ่านได้ยาก และไม่ชัดเจน 1.4. บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าดึงดูดใจ และไม่น่าสนใจ 1.5. บรรจุภัณฑ์ยังมีข้อมูลนาเสนอไม่เพียงพอ 1.6. ไม่มีวัน/เดือน/ปีที่ผลิต ระบุบนบรรจุภัณฑ์ 1.7. สีสันยังไม่สระดุดตา 2. ความต้องการของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการมีความต้องการให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจน่าดึงดูดผู้บริโภคมากขึ้นโดยให้มี กลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติต้องการชื่อผลิตภัณ ฑ์ที่เป็นคาสั้นๆแต่มีเอกลักษณ์แปลก เห็นแล้ว เกิดความสนใจ
4.swot analysis
จุดแข็ง มีส่วนผสมของวัตถุดิบจากธรรมชาติช่วยบารุงรางกายและสมอง และเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากธรรมชาติ จุดอ่อน ขาดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และกาลังการผลิตน้อย โอกาส เป็นผลิตภัณฑ์โอทอปที่หน่วยงานรัฐพร้อมให้การสนับสนุน
อุปสรรค สินค้ามีคู่แข่งทางการตลาดที่เป็นที่เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันอยู่มากมาย
5.แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาของกลุ่มและส่วนบุคคล 5.1 แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม - มีแนวคิดในการออกแบบโดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติ แต่มีความทันสมัย ในตัว บรรจุภัณฑ์ เพื่อสามารถนาไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้ 5.2 แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่วนตัว - มีแนวคิดในการออกแบบพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม การปรับเปลี่ยนโลโก้ให้ดูน่าสนใจขึ้นและไปใน ทิศทางเดียวกัน กับบรรจุภัณฑ์การเปลี่ยนภาพประกอบให้มีสีสันที่สดใส เน้นโทนสีฟ้าเพื่อให้ความรู้สึก ให้นึกถึงความสดใส ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้สามารถอ่านได้ง่ายขึ้น
6.การนาเสนอแบบทางเลือกที่จะช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาตามข้อมูลจาก ขั้นตอนVisual analysis และ SWOT Analysis จากการที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil ตามขบวนการ ต่างๆแล้วนั้นพบว่า ผลิตภัณฑ์มี จุดเด่นที่เป็นสินค้าที่มีวัตถุดิบจากสมุนไพรธรรมชาติโดยมีน้ามันรา จมูกข้าวกลั่นเป็นวัตถุดิบหลัก มีสรรพคุณที่ หลากหลาย แต่ผลิตภัณฑ์ยังมีจุดอ่อนใน การพัฒนาเอกลักษณ์ทางบรรจุภัณฑ์ของสินค้าอยู่มาก บรรจุภัณฑ์ดูไม่มี ความน่าสนใจ โดยผู้ประกอบการมีความต้องการที่จะปรับเปลี่ยนให้เอกลักษณ์ของบรรจุภัณฑ์นั้น ให้มีกลิ่นอาย ของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติต้องการชื่อผลิตภัณฑ์ที่เป็นคาสั้นๆแต่มีเอกลักษณ์แปลก เห็นแล้วเกิดความ สนใจ ซึ่งได้สรุปแนวทางและการแก้ปัญหาของผลิตภัณฑ์โดยแบ่งออกเป็นข้อๆดังนี้ 6.1 การเปลี่ยนชื่อผลิตภัณฑ์ การออกแบบสัญลักษณ์โดยคาว่า " Brain Oil" เป็นความหมายที่ผสมเข้าหากันคือ คาว่า Brain หมายถึง สมอง ความฉลาด และ คาว่า Oil หมายถึง น้ามันซึ่ง เมื่อนามาเป็นชื่อแ บนด์ซึ่งทาให้ตีความหมายได้ว่าเป็นสินค้า ประเภทอาหารเสริมที่มีส่วนประกอบจากสมุนไพร หลักในการใช้สีโลโก้คือ สีฟ้าและสีเหลือง เนื่องจากอยากให้สื่อ ถึงความเป็นธรรมชาติของตัวผลิตภัณฑ์ภาพประกอบที่สื่อถึงสมอง ความฉลาด
6.2 การออกแบบฉลากรูปแบบใหม่ ใช้โทนสีฟ้าที่สื่อถึงความสดใสและสมุนไพรเป็นหลัก ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้อ่านง่ายขึ้น และปรับเปลี่ยนการ จัดวางรวมไปถึงภาพประกอบให้มีความดูทันสมัยมากขึ้น 6.3 การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ ลักษณะบรรจุภัณฑ์แบบเก่า : ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil เป็นสถานะของเหลวในแคปซูลบรรจุภัณฑ์จาก ขวด เป็นขวดทรงแบนสูง มีขนาด (กว้าง x สูง) = 4.5 x 9 cm. ปริมาณสุทธิ 60 แคปซูล.ต่อขวด/ราคาสินค้า 1 ขวดต่อ 600 บาท
ภาพแสดงโครงสร้างและส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil (ที่มา : เมธาวีมีระลึก ,2557)
บทที่ 2 Resume : สมมติฐาน, สร้างสรรค์ บรรจุภัณฑ์ OTOP ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil
ภาพการสอบถาม และขอคาปรึกษาจากผู้ประกอบการณ์ คุณชฎากร มีสวัสดิ์ (คุณใหญ่) ที่งาน OTOP ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ( ที่มา: เมธาวี มีระลึก, 2557 ) ข้อเสียของบรรจุภัณฑ์เดิม คือ 1. ภาพประกอบดูไม่น่าสนใจ 2. ตัวบรรจุภัณฑ์ยังไม่ดึงดูด และยังไม่น่าสนใจ 3. ฉลากบรรจุภัณฑ์ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ 1. ชื่อผลิตภัณฑ์ การคิดชื่นแบรนด์มาใหม่เพื่อสินค้าของ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Oil โดยใช้ชื่อว่า Brain Oil อ่านว่า เบรน ออย ซึ่งในพจณานุกรมภาษาไทย คาว่า เบรน นั้น ให้ความหมายว่า "สมอง ความฉลาด " ซึ่งสอดคล้องกับตัว ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Oil
ภาพการออกแบบชื่อผลิตภัณฑ์สาหรับเสริมอาหาร Oil (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
2. บรรจุภัณฑ์ การเปลี่ยนขวดบรรจุภัณฑ์เพื่อสินค้าผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Oil ขนาดบรรจุ ปริมาณสุทธิ 60 แคปซูล . ซึง่ สะดวกต่อการใช้งานจริง
ภาพร่างแบบขวดบรรจุภัณฑ์ โดยโปรแกรม Google Sketch up แบบที่ 1 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557) การเปลี่ยนขวดบรรจุภัณฑ์เพื่อสินค้าผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Oil ขนาดบรรจุ ปริมาณสุทธิ 10 แคปซูล . ซึง่ สะดวกต่อการใช้งานจริง
ภาพร่างแบบขวดบรรจุภัณฑ์ โดยโปรแกรม Google Sketch up แบบที่ 2 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557) 3. ตราสัญลักษณ์และฉลากสินค้า การสร้างตราสัญลักษณ์ขึ้นมาใหม่ โดยใช้ภาพประกอบที่บ่งบอกว่า ผลิตภัณฑ์นี้คืออะไร ใช้ประโยชน์ได้ อย่างไร
ภาพการออกแบบฉลากสินค้า (Brain Oil) แบบที่ 1 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
ภาพการออกแบบฉลากสินค้า (Brain Oil) แบบที่ 2 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
ภาพการออกแบบฉลากสินค้า (Brain Oil) แบบที่ 3 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
ภาพการออกแบบฉลากสินค้า (Brain Oil) แบบที่ 4 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
ภาพการออกแบบฉลากสินค้า (Brain Oil) แบบที่ 5 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
บทที่ 3 Result : สรุปผล บรรจุภัณฑ์ OTOP ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม Oil 1. ตราสัญลักษณ์
ตราสัญลักษณ์ (Brain Oil) 1 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
ตราสัญลักษณ์ (Brain Oil) 2 (ที่มา : เมธาวี มีระลึก, 2557)
2. ฉลากสินค้าสาหรับบรรจุภัณฑ์ชั้นที่ 1
3. ภาพสินค้าที่เสร็จสมบูรณ์
ภาพสินค้าที่เสร็จสมบูรณ์ (ที่มา : เมธาวี มีระลึก,2557)
สรุปปัญหาที่พบ บรรจุภัณฑ์มีความเปราะบาง หากโดนกระแทกอาจทาให้เกิดรอยร้าว ดังนั้น จึงควรระมัดระวังในการ ขนส่งและการใช้งาน
ผลการดาเนินงาน การทางานพบปัญหามากมาย แต่ทุกอย่างก็ผ่านพ้นไปได้ถ้าเรา มีความพยายามมากพอ และ ต้อง ขอขอบคุณ ผศ. ประชิด ทิณบุตร ซึ่งให้คาปรึกษาและคาแนะนาในการออกแบบมาโดยตลอด ทาให้การดาเนินงาน ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี
สิ่งที่ได้พัฒนา 1. ชื่อสินค้า ซึ่งคิดขึ้นมาใหม่ 2. เปลี่ยนตัวบรรจุภัณฑ์ใหม่ 3. ออกแบบฉลากสินค้าให้น่าสนใจขึ้นกว่าเดิม 4. เพิ่มข้อมูลของสินค้าและคาโฆษณา
จัดทาโดย
ชื่อ นายเมธาวี มีระลึก รหัสนักศึกษา 5311322555 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม Email : mathawee53@gmail.com Blog : http://artd3302-mathawee.blogspot.com/