ศึกษาแนวคิดสู่วิธีการออกแบบ Bauhaus school

Page 1

Architects : Walter Gropius Location : Dessau, Germany

Bauhaus building in Dessau

Bauhaus School | Walter GropiusS

ศึกษาแนวคิดสู่วธ ิ ก ี ารออกแบบ BAUHAUS School



Contents

History

03

จุดเริมต้นของ Bauhaus

04

ฟงก์ชน ั การใช้งาน (Function)

06

วิเคราะห์พนที ื ว่าง (space)

08

วิเคราะห์เปลือกอาคาร (Facade)

15

Relationship with context (ความสัมพันธ์ระหว่างบริบท)

21

References

22


ทีมา

จุดประสงค์

เกิดจากการรวมโรงเรียนสองแห่งคือ Weimar Academy of Arts และ Weimar School of Arts and Crafts ไว้ในสิงทีเขาเรียกว่า Bauhaus ซึงหมายถึง "บ้านของอาคาร" และชือนีได้มาจากการกลับ คําภาษาเยอรมัน Hausbau หมายถึง การสร้างบ้าน หรือ บ้านอาคาร

Bauhaus เปนโรงเรียนศิลปะรูปแบบใหม่โดยใช้แนวทางแบบหลอม รวมศิลปะทุกแขนงเข้าไว้ดว้ ยกัน เพือลดช่องว่างระหว่างงานวิจต ิ ร ศิลปและงานศิลปะประยุกต์ รวมถึงยกระดับงานฝมือและงาน ออกแบบให้ทด ั เทียมกับงานศิลปะประเภทอืนๆ และผลิตบุคลากรที สามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและงานออกแบบทีตอบสนองต่อ สังคม ชุมชน

Bauhaus School | Walter GropiusS

Bauhaus ?


จุดเริมต้นของ

Bauhaus

In alto: Josef Albers al Workurs del Bauhaus di Weimer con un allievo; alcuni lavori dei suoi studenti risalenti al 1928, sul tema della traslazione della forma dal piano allo spazio. Sotto: due momenti delle lezioni di Albers al Dipartimento di Design della Yale University, da lui diretto negli anni cinquanta, dopo la sua fuga dalla Germania nazista.

Bauhaus เริมแรกตังอยูท ่ ี Weimer ตังแต่ป 1919-1925 ต่อมาย้ายไปทีเมือง Dessau ตังแต่ป 1925-1932 และสุดท้ายย้ายไปตังที Berlin 1932-1953 ภายใต้การดูแลของสถาปนิก3คน ได้แก่ Walter Gropius (19191928) Hannes Meyer (1928-1930) และ Ludwig Mies van der Rohe (1930-1933)

Bauhaus School | Walter GropiusS

Bauhaus เปนโรงเรียนศิลปะรูปแบบใหม่ เน้นหลักสูตรการ สอนใน เชิงความคิดสร้างสรรค์ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ เทคโนโลยี และสุนทรียภาพ เอกลักษณ์ของโรงเรียนแห่งนีคือการผสมผสาน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะและอุ ตสาหกรรม ซึงตรงกับ ปรัชญาสําคัญในการทํางานของบาวเฮาส์คอ ื เพิมคุณค่าของโรงเรียน ผ่านมุมมองทางสถาปตยกรรม คํานึงถึงประโยชน์ใช้สอยและเข้าใจ ธรรมชาติของวัสดุ รวมถึงเรียนรูพ ้ นฐานทางการออกแบบ ื ส่งเสริม ศิลปะไม่แยกความแตกต่างระหว่างรูปแบบและฟงก์ชน ั


จุดเริมต้นของ

Bauhaus Bauhaus School | Walter GropiusS

Walter Gropius (2426-2512) ผูกอตัง้ Bauhaus

ภายหลังโรงเรียนที Dessau ได้ถก ู รับผลกระทบจากสงครามโลก ครังทีสอง ทําให้ตอ ้ งมีการบูณระบางส่วน ต่อมาอาคารดังกล่าวได้ รับการจดทะเบียนครังแรกในปค.ศ.1972 และได้รบ ั รางวัลมรดก โลก UNESCO ในปค.ศ.1996 หลังจากนันโรงเรียน Bauhaus ได้ รับการฟนฟูอย่างเต็มทีและเปดสูส ่ าธารณะ กลายเปนลักษณะ สําคัญของสถาปตยกรรมสมัยใหม่หรือ Modernist สืบต่อมา ทังนี Bauhaus school คือ โรงเรียนสอนวิชาศิลปะและการออกแบบทีมี อิทธิพลมากทีสุดในประวัตศ ิ าสตร์ เมือสร้างเสร็จก็เริมมีชอเสี ื ยง ทันที และเปนทีพู ดถึงมากในยุโรป อีกทังยังส่งอิทธิพลอย่างสูงต่อทิศทางของงานศิลปะและ สถาปตยกรรมในทศวรรษให้หลัง ทังในยุโรป อเมริกา แคนาดาและ อิสราเอล รวมถึงส่งแรงบันดาลใจต่อศิลปนและนักออกแบบรุน ่ หลัง อีกทังยังคงเปนตํานานของวงการศิลปะและการออกแบบ จนถึงทุกวันนี


Function 01

WORKSHOP ADMINISTRATION พืนทีสํานักงานและธุรการ COLLECTIVE 04

03

02

ACCOMMODATION 05

TECHICAL SCHOOL

ลูกศรสีเข้มแสดงถึงทางเข้า-ออกของบุคคลภายนอก เส้นสีออ ่ นแสดงถึงเส้นทางการเดินของบุคคลภายในโรงเรียน

Architects : Walter Gropius Location : Dessau, Germany Year : 1926 Area : 32,450 Sq.m.

Bauhaus School | Walter GropiusS

โรงเรียน Bauhaus แบ่งอาคารหลักออกเปน 5 อาคาร ได้แก่


Bauhaus school นอกจากการคํานวนค่าใช้จา่ ย บาวเฮ้าส์ยง ั คํานึงการสร้าง อาคารให้สอดคล้องกับปรัชญา ทีคํานึงถึงการใช้งานของ อาคาร ควบคูไ่ ปกับการออกแบบรูปลักษณ์ให้มรี ป ู ทรง สมมาตร แต่ยง ั ไม่ลม ื ความโมเดิรน ์ โดยการวางระบบอาคาร แบบอสมมาตร ให้ความสําคัญกับกรอบอาคารและทางเดิน สร้างให้เชือมต่อกันด้วย ระบบinterlock

The Dormitory wing is in the white, taller element, the Workshop wing is at the top of the photograph

Bauhaus School | Walter GropiusS

ความสัมพันธ์ของพืนที (Organisation)


Space จุดเด่นของ Bauhaus school คือการแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างอาคาร ซึงสะท้อนและส่ง ผลต่อการใช้งานของพืนทีและประโยชน์ใช้สอยอย่าง ชัดเจน ซึงในแต่ละอาคารจะมีลก ั ษณะทีแตกต่างกันขึนอยู่ กับประเภทและการใช้งาน

Bauhaus School | Walter GropiusS

ความสําคัญของพืนทีว่าง


Workshop

Workshop

Plan Diagram จากแปลนแสดงให้เห็นว่า ได้วางเสาแบบเปนระบบ ทําให้สามารถใช้พนที ื ได้อย่างหลากหลาย รวมถึงกระจกโดยรอบทําให้ดเู ปนอิสระ

ภาพแสดงตําแหน่งเสา ผังพืน และช่องเปดของอาคาร WORKSHOP ภาพแสดงการใช้พนที ื ของ WORKSHOP

Bauhaus School | Walter GropiusS

ื นีถูกออกแบบให้เปนพืนทีเปดโล่ง ทําให้สามารถใช้งานพืนทีได้อย่าง พินที หลากหลาย ไม่มผ ี นังกันแบ่งเขต เหมาะแก่การลงปฏิบต ั ง ิ านของนักศึกษา


Collective building

ภาพแสดงการใช้พนที ื โรงอาหารของ Collective space

Collective

ภาพแสดงการใช้พนที ื ห้องประชุมของ Collective space

Plan Diagram จากแปลนแสดงให้เห็นว่า โครงสร้างเสาทีถูกจัดวางอยูบ ่ ริเวณกลางห้องโถง ซึงเปนพืนทีสําหรับเวทีทสามารถปรั ี บเปลียนได้ เพือให้สม ั พันธ์กบ ั การใช้งาน

ภาพแสดงตําแหน่งเสา ผังพืน และช่องเปดของอาคาร Collective

Bauhaus School | Walter GropiusS

อาคารแห่งนีคือพืนทีส่วนกลางของนักเรียนและอาจารย์ มีทพั ี กผ่อน และ พืนทีพบปะ ประกอบด้วยโถงเวที หอประชุมและห้องรับประทานอาหาร ซึง สามารถปรับเปลียนพืนทีได้ตลอดเวลา ซึงปลียนได้ทางประตูบานเฟยมทีกัน พืนทีไว้ การจัดโต๊ะและเก้าอีเน้นเปนแนวยาวเพือรองรับจํานวนของผูใ้ ช้ทมี ี จํานวนมาก และจัดโต๊ะเก้าอีให้มค ี วามสัมพันธ์กบ ั ช่องเปด ทําให้ทนั ี งได้รบ ั แสง จากธรรมชาติ เหมาะสําหรับการเปนพืนทีพักผ่อน รับประทานอาหาร และรับรู ้ พืนทีภายนอกไปด้วยในเวลาเดียวกัน ส่วนหอประชุมหลักเปนเสมือนหัวใจของ อาคาร Bauhaus เนืองจากสามารถมองเห็นได้จากทุกส่วนของทางเดิน


Apartment

Plan Diagram จากแปลนแสดงให้เห็นว่า โครงสร้างเสาทีถูกซ่อนไว้ในห้องพัก รวมถึง การใช้โครงสร้างผนัง รับนําาหนักและโครงสร้างเสา เพือเน้นการใช้พนที ื ให้ได้มากทีสุดและความส าคัญบริเวณภายนอก ห้องพักส่วนตัว บรรยากาศภายในห้องพักนักเรียนของโรงเรียน Bauhaus

apartment

ภาพแสดงตําแหน่งเสา ผังพืน และช่องเปดของApartment

Bauhaus School | Walter GropiusS

จัดเฟอร์นเิ จอร์ในห้องให้นอ ้ ยทีสุด มีเพียงเตียง โต๊ะและหน้าต่าง แล้ว ย้ายครัวและห้องนําไปใส่ทพื ี นทีส่วนกลาง เพือให้เกิดปฏิสม ั พันธ์ระหว่าง นักเรียนในแต่ละชัน


Administration bridge

Administration bridge

Plan Diagram บรรยากาศทางสัญจรภายในอาคาร

จากแปลนแสดงให้เห็นว่าได้ออกแบบโครงสร้างให้สม ั พันธ์กบ ั การใช้งานภายใน โดยเสาถูกวางเฉพาะบริเวณกลางอาคารและใช้คานรูปเห็ดทําให้เกิดการใช้พนที ื ได้ อย่างเต็มที อีกทังบริเวณชันพืนดินเปดโล่ง ทําให้สามารถสัญจรผ่านใต้อาคารได้

ภาพแสดงตําแหน่งเสา ผังพืน และช่องเปดของอาคาร Administration bridge บรรยากาศทางสัญจรภายนอกอาคาร

Bauhaus School | Walter GropiusS

ต้องการแบ่งแยกระหว่างบุคคลภายนอกและบุคลากรภายในโรงเรียนออก จากกัน และไม่ให้ทางเดินซ้อนทับกัน โดยสร้างทางเดินภายในตึกเชือมถึงกัน และได้แทรกการใช้งานทีเหมาะสมในแต่ละพืนที จะเห็นได้ชด ั ว่าสถาปนิกแสดง ถึงความคิดทางสถาปตยกรรมทีคํานึงถึงบริบทของเมืองอีกด้วย


Techical school

Plan Diagram จากแปลนแสดงให้เห็นว่า โกเปยสออกแบบโครงสร้างอาคารให้สม ั พันธ์ กับการใช้งาน โดยวางเสาล้อมรอบอาคารและมีเสากลางอาคารขนาบทาง เดินกลางอาคาร เพือให้เกิดการใช้พนที ื ภายในได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ บรรยากาศการใช้พนที ื ของอาคาร Technical school

techical school ภาพแสดงตําแหน่งเสา ผังพืน และช่องเปดของอาคาร Technical school

Bauhaus School | Walter GropiusS

พืนทีอาคารนี ส่วนมากใช้เปนห้องเรียน การจัดพืนทีจึงถูกออกแบบ ให้ทาง เดินอยูบ ่ ริเวณกลางอาคารและเปดช่องเปด 1 ฝง เพือให้นก ั เรียนได้รบ ั แสง ธรรมชาติเต็มทีส่งผลต่อ คุณภาพของการเรียนการสอนให้ดม ี ากยิงขึน


Staircases

Staircases

Plan Diagram จากแปลนแสดงให้เห็นว่า มีบน ั ไดอยู2 ่ แห่ง ตังหันหน้าเข้าหากัน เพือให้ เพียงพอต่อจํานวนนักเรียน และไม่ขด ั ขวางการเดินไปมา

ภาพแสดงให้เห็นขนาดของบันได

Bauhaus School | Walter GropiusS

บันไดจะเปนทางเชือมของแต่ละอาคาร ถูกแบ่งออกเปน3ส่วน ส่วนทีอยู่ ตรงกลางจะกว้างทีสุด เพือใช้สาํ หรับเดินขึนชันบน ส่วนด้านข้างซ้ายละ ขวาแคบลงมาตามลําดับ ด้านหน้าของบันไดมีหน้าต่างขนาดใหญ่ สูงจาก พืนจรดเพนดาน ทําให้เพือเดินผ่านจะได้รบ ั จากธรรมชาติทสาดส่ ี องเข้ามา


Facade อาคารทุกหลังในบาวเฮ้าส์เปนเครืองพิสจ ู น์วา่ Bauhaus school เปนอาคารทีบ่งบอกถึงยุค Modernism ได้อย่างชัดเจน ด้วยองค์ประกอบของกรอบอาคารทีแตกต่างกันในแต่ละอาคาร สือถึงคําพู ดทีว่า “Form Follow Function” ประโยชน์ใช้สอยภายในอาคารสอดคล้องและสะท้อนต่อรูปลักษณ์ของสถาปตยกรรม ภายนอกได้อย่างชัดเจน

Bauhaus School | Walter GropiusS

01

WORKSHOP ADMINISTRATION BRIDGE พืนทีสํานักงานและธุรการ

04

03

02 05

ไดอะแกรมอาคารของ Bauhaus school

รูปแบบกรอบอาคารของตึกworkshop

รูปแบบกรอบอาคารของตึกAdministration bridge


Facade 3. COLLECTIVE 4. ACCOMMODATION 5. TECHICAL SCHOOL

รูปแบบกรอบอาคารของ Accommodation

04

03

02 05

ไดอะแกรมอาคารของ Bauhaus school

รูปแบบกรอบอาคารของCollective

รูปแบบกรอบอาคารของ Techical school

Bauhaus School | Walter GropiusS

01


Workshop facade

ภาพแสดงรูปแบบ Façade ภายนอก อาคาร Workshop

Workshop facade ภาพแสดงรูปแบบกรอบอาคาร Workshop

Bauhaus School | Walter GropiusS

ออกแบบกรอบอาคารทีมีความโปร่ง นําแสงสว่างเข้าสูภ ่ ายในอาคาร สร้างความ สัมพันธ์ ระหว่างภายในและภายนอกอาคารทีเปนพืนทีสีเขียว เพือให้นก ั เรียนได้ สัมผัสใกล้ชด ิ กับธรรมชาติ เพือเพิมกระบวนการความคิดสร้างสรรค์สาํ หรับ นักเรียน แต่ยง ั คงสร้างความเปนส่วนตัวให้แก่ผใู้ ช้งาน โดยการออกแบบกําแพง กระจกขนาดใหญ่ทยึ ี ดด้วยโครงสร้างเหล็กทังทางตังและทางนอนคล้ายตาข่าย โดยกําแพงนีติดตังอยูด ่ า้ นนอกของโครงสร้างอาคารทําให้มค ี วามอิสระสามารถ กว้างได้ตามความยาวของอาคาร เปรียบเสมือนผิวภายนอกของอาคารและ สามารถเปดรับลมได้บางช่วง แต่ยง ั คงสร้างความเปนส่วนตัวของผูใ้ ช้งานด้วย การสร้างทังเส้นตังและเส้นนอน เพือสร้างมิตใิ นการใช้งานพืนทีทังมุมมองและ แสงและเงาได้อย่างลงตัว


ภาพแสดงรูปแบบ Facade ภายนอก อาคารCollective

Collective facade

พืนทีของอาคารนีใช้งานเปนโรงอาหารและหอประชุมที ซึงมีการจัดวาง พืนทีในแนวยาว รูปแบบของช่องเปดจึงเน้นเส้นตังหนาและหนักโดยใช้ วัสดุคอนกรีตทาสีเทา และเส้นนอนบางเบาโดยใช้วส ั ดุเหล็กสีเทา เพือลด มุมมองทางสายตาทีให้ความรูส ้ ก ึ ยาว อีกทังใช้งานโรงอาหารเปนหลัก สถาปนิกจึงให้ความสําคัญกับการระบายอากาศ โดยออกแบบช่องเปด บานกระทุง ้ ทีสามารถเปดออกระบายอากาศทัง2ด้านของอาคาร ทําให้ผใู้ ช้ รูส ้ ก ึ โปร่ง โล่ง สบาย หายใจสะดวก

ภาพแสดงรูปแบบกรอบอาคาร Collective ภาพแสดงรูปแบบ Facade ภายใน อาคารCollective

Bauhaus School | Walter GropiusS

Collective facade


Accommodation facade

ภาพแสดงรูปแบบ Façade ภายนอก อาคาstudio

อาคารหอพักนักเรียน เปนอาคารทีต้องการความเปนส่วนตัว สถาปนิก จึงออกแบบช่องเปดให้มข ี นาดเล็กกว่าอาคารอืน และเพิมระเบียงเพือ เชือมต่อระหว่างธรรมชาติภายนอกให้เข้าสูต ่ วั ผูพ ้ ก ั อาศัย ช่วยสร้าง อารมณ์ผอ ่ นคลายให้แก่ผพ ู้ ก ั อาศัยได้เปนอย่างดี อีกทังยังออกแบบราว ระเบียงเหล็ก เน้นเส้นนอนทีทําให้เกิดการเล่นเงาเมือแสงตกกระทบ เปรียบเสมือนงานศิลปะบนอาคาร

ภาพแสดงรูปแบบกรอบอาคาร Studio ภาพแสดงรูปแบบ Façade ภายในอาคาstudio

Bauhaus School | Walter GropiusS

Accommodation facade


Administration bridge and Technical school facade

ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรอบอาคารและทีว่างภายในอาคาร Workshop

ภาพแสดงรูปแบบกรอบอาคารห้องเรียน Technical และสะพานทางเดิน

Bauhaus School | Walter GropiusS

Administration bridge and Technical school facade

ด้านหน้าอาคารห้องเรียน Technical และสะพานทางเดิน ใช้รป ู แบบ หน้าต่างเดียวกัน เนืองจากการใช้งานมีการเชือมต่อกัน facadeออกบบ ให้มค ี วามสูงระดับสายตาของผูใ้ ช้งานเพือสร้างความเปนส่วนตัวแต่ยง ั เปดมุมมองทางสายตา และรับแสงธรรมชาติในแต่ละช่วงเวลา เกิดความ สัมพันธ์ระหว่างภายในอาคารและบรรยากาศภายนอกอาคาร กรอบ อาคารใช้วส ั ดุ กระจกยึดด้วยโครงสร้างเหล็กสีเทาทีมีขนาดเท่ากัน เน้น เส้นนอนยาวสลับกับผนังคอนกรีตสีขาว


Relationship with context

Student-led activities extend a student’s understanding of the lesson. Allow them to synthesize on their own and think of ways they can apply their new learnings in real life.

(ความสัมพันธ์ระหว่างบริบท) Bauhaus School | Walter GropiusS

ภาพมุมสูงของ Bauhaus school

นอกจากการให้ความสําคัญกับการใช้พนที ื ภายในอาคารสัมพันธ์กบ ั พฤติกรรมของผูใ้ ช้งาน และประโยชน์ใช้สอยแล้ว สถาปนิกยังได้คํานึงถึงตําแหน่งทีตังแต่ละอาคาร และกรอบอาคาร ทีส่งผลต่อการใช้พนที ื ภายในอีกด้วย จะเห็นได้ชด ั ว่าอาคาร Workshop อาคาร Technical และ พืนทีสํานักงานและธุรการ หันหน้าเข้าหาถนนใหญ่ แต่หอพักนักศึกษาจะตังอยูบ ่ ริเวณ ด้านหลังสุดติดกับพืนทีสีเขียว เนืองจากหอพักนักศึกษาต้องการความเปนส่วนตัว กรอบอาคารยังสะท้อนถึงบริบทโดยรอบได้เปนอย่างดี ยกตัวอย่าง เช่น -อาคาร Workshop ตังอยูบ ่ ริเวณหัวมุมของถนนใหญ่และติดกับอาคารข้างเคียง ภายในตึก เปนพืนทีทํางาน จึงออกแบบกําแพงกระจกขนาดใหญ่ทเปดให้ ี ผใู้ ช้งานสามารถมองเห็น บรรยากาศได้โดยรอบ แต่ยง ั มีความเปนส่วนตัว โดยการใช้โครงสร้างเหล็กตาข่าย -ส่วนสะพานเชือมต่อ ตึก 2 ฝง ก็มค ี วามชัดเจนในเรืองของการคํานึงถึงบริบททีมีการยก อาคารเพือให้เกิดทางสัญจรใต้อาคารได้ -หอพักนักศึกษาออกแบบใส่ชอ ่ งเปดขนาดเล็กหันหน้าไปทางสวน สร้างบรรยากาศทีเน้นให้ ธรรมชาติเข้ามาอยูภ ่ ายในตัวอาคาร ซึงทังหมดทีกล่าวมาล้วนสือถึงการให้ความสําคัญกับการออกแบบทีมีความสัมพันธ์กบ ั บริบทในเชิงของการใช้งานภายในผ่านการวางผัง อาคาร และการออกแบบกรอบอาคารที แตกต่างกันตามการใช้งาน เน้นการใช้วส ั ดุโปร่ง เช่น กระจก โครงสร้างเหล็ก เปนต้น


REFERENCES : A CRITICAL HISTORY. THAMES AND HUDSON LTD., LONDON (P.125)

[3] WINGLER, HANS M. 1980. THE BAUHAUS ; WEIMAR DESSAU BERLIN CHICAGO. MIT PRESS PAPERBACK EDITION, MASSACHUSETT (P.31) [4] CURTIS, JR, WILLIAM. 1996 . MODERN ARCHITECTURE SINCE 1900. PHAIDON PRESS LIMITED (P. 183 – 1999) [5] LESNIKOWSKI, W.G. 1982. RATIONALISM AND ROMANTICISM IN ARCHITECTURE. MCGRAW-HILL [6] WINGLER, HANS M. 1980. THE BAUHAUS ; WEIMAR DESSAU BERLIN CHICAGO. MIT PRESS PAPERBACK EDITION, MASSACHUSETT (P.49) [7] CURTIS, JR, WILLIAM. 1996 . MODERN ARCHITECTURE SINCE 1900. PHAIDON PRESS LIMITED

[8] FRAMPTON, KENNETH. 1985. MODERN ARCHITECTURE : A CRITICAL HISTORY. THAMES AND HUDSON LTD., LONDON (P.125) [9] GELERNTER, MARK, 1995, SOURCE OF ARCHITECTURAL FORM : A CRITICAL HISTORY OF WESTERN DESIGN THEORY, MANCHESTER UNIVERSITY PRESS, MANCHESTER [10] KLOTZ. H. 1988. THE HISTORY OF POSTMODERN ARCHITECTURE. THE M.I.T. PRESS CAMBRIDGE, MASSACHUSETTS [11] SHARP, D. 2002. ARCHITECTURAL IN DETAIL :BAUHAUS, DESSAU WALTER GROPIUS, PHAIDON PRESS LIMITED [12] WHITFORD, F. 1988. BAUHAUS. THAMES AND HUDSON LTD., LONDON [13] DROSTE, MAGDALENA. 1993. BAUHAUS ; BAUHAUS ARCHIV 1919-1933. BENEDIKT TASCHEN VERLAG ARCHITECTURAL CONCEPT I GMBH

Bauhaus School | Walter GropiusS

[1] WIRJOMARTONO, BAGUS, P, 1993. PERKEMBANGAN GERAKAN ARSITEKTUR MODERN DI JERMAN DAN POSTMODERN. UNIVERSITAS ATMA JAYA YOGYAKARTA (P.5) [2] FRAMPTON, KENNETH. 1985. MODERN ARCHITECTURE

Project advisors Pornphut Suppa-aim

MATTILADA WANDEE 62020047



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.