ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า

Page 1

ไทลื้อบ้านแวน

ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า

เฉลิมชัย แสงศรีจันทร์



ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า เฉลิมชัย แสงศรีจันทร์


“ไทลื้อบ้านแวน” ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า ไทลือ้ เชียงคำ�อพยพมาจากเมืองพง เมืองหย่วน เมืองมาง เมืองยัง้ เมืองเงิน เมืองเชียงคาน โดยมีการตัง้ หมูบ่ า้ นเป็นหมูบ่ า้ น ๆ ตามชือ่ เดิมของเมืองทีต่ นอพยพมาเช่นบ้านหยวน บ้านมาง บ้าน เชียงคาน บ้านล้า ฯลฯ นอกจากนัน้ ยังมีประเพณีในการนับถือเทวดา เมืององค์เดียวกันคือ เจ้าหลวงเมืองล้า ในบ้านแวน หมู่ 1 ตำ�บล น้�ำ แวน บ้านแวน หมู่ 2 ตำ�บล น้�ำ แวน บ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 ตำ�บล เชียงบาน บ้านล้า ตำ�บลเวียง กลุม่ ไทลือ้ เชียงคำ� จะอพยพมาจาก เมืองปัวซึง่ เป็นกลุม่ ทีน่ บั ถือเจ้าหลวงเมืองล้า มาตัง้ ถิน่ ฐานในอำ�เภอ เชียงคำ�โดยเลือกเอาบริเวณทีห่ ว้ ยแม่ต�ำ๋ ไหลบรรจบกันกับแม่น�ำ้ แวน (ปัจจุบนั คือบ้านหมูท่ ่ี 1) 2 ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า


ไทลื้อบ้านแวนหลังจากก็มีการขยายชุมชนออกไปตั้ง อยู่อีกฟากหนึ่งของห้วยแม่ต๋ำ�(ปัจจุบันคือหมู่บ้านแวนหมู่ที่ 2) และการขยายตัวครั้งสุดท้ายเมื่อประมาณ พ.ศ. 2460 ไปตั้ง อยู่อีกฝากหนึ่งของแม่น้ำ�แวน ซึ่งปัจจุบันคือ บ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 ตำ�บลเชียงบาน ซึ่งไทลื้อกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มเดียวกับที่ ถูกกวาดต้อนมาจากสิบสองปันนา ในสมัยพระเจ้ากาวิละ เจ้า ผู้ครองนครเชียงใหม่ และพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าผู้ครอง นครน่าน บ้านแวนทั้ง 3 หมู่บ้าน ยังมีความสัมพันธ์ทางเครือ ญาติกับกลุ่มไทลื้อในอำ�เภอท่าวังผา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความ สัมพันธ์เครือญาติระหว่างบ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 กับบ้าน หนองบัว ดูจะแน่นแฟ้น เพราะใน พ.ศ. 2495 มีครอบครัวไท ลื้อจากบ้านหนองบัวมาตั้งรกรากอยู่ที่บ้านแวนพัฒนาโดยตรง ประมาณ 20 ครอบครัว

ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 3



คำ�ว่า “ ลื้อ” หมายถึงอะไรยังคงเป็นปริศนาที่ไม่มีใคร สามารถตอบได้ในภาษาของชาวไทลื้อ ใช้เรียกเมืองโดยรวม ว่า “ เมืองลื้อ” (ออกเสียง “ เมิงลื้อ” )และใช้เรียกภาษา ที่พูดว่า “ ภาษาลื้อ” ไทลื้อในจังหวัดพะเยา อาศัยอยู่ที่อำ�เภอ เชียงคำ�และ อำ�เภอเชียงม่วน แม้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จะกล่าวถึงการอพยพของชาวไทลื้อกลุ่มนี้ว่ามาพร้อมกับชาว ไทลื้อที่อยู่ในจังหวัดน่านก็ตามแต่ผ้าทอของชาวไทล้ือในสอง เขตนี้แตกต่างจากผ้าทอของชาวไทลื้อในจังหวัดน่านโดยสิ้นเชิง ผ้าซิ่นของอำ�เภอเชียงคำ�และเชียงม่วนจะมีลักษณะที่เป็นซิ่นตา และมีผ้าซิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น คือมีลายตกแต่งขนาด เล็กตรงกลางตัวซิ่นซึ่งทอด้วยเทคนิคเกาะลักษณะลายคล้าย สายน้ำ�เรียกว่า ลายผักแว่นหรือ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของผ้าทอ ไทลื้อเชียงคำ�

ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 5



ผ้าซิ่นลายดอกผักแว่น ผ้าซิ่นลายดอกผักแว่น หรือเรียกอีกอย่างว่า “ซิ่นเมืองลิน ” เข้าใจกันว่าเป็นชื่อเมืองในสิบสองปันนา ผ้าซิ่นของชาวไทลื้อ อำ�เภอ เชียงคำ�อีกชนิดหนึ่งคือ “ซิ่นเมืองพง” มีการทอแบบเกาะแต่ใช้ลาย ขวางแบบง่าย ๆ เช่นเดียวกับลักษณะ ซิ่นตาที่พบในเมืองเชียงรุ่ง สิบสองปันนา ผ้าซิ่นมักจะทอด้วยไหมที่สั่งจากลาว มีการต่อเอวและ ตีนซิ่นด้วยผ้าสีครามสำ�หรับสีไหมที่นิยมคือสีเขียวและสีชมพูสดใน ปี พ.ศ. 2518 เป็นต้นมา ชาวไทลื้อเชียงคำ�ไม่สามารถซื้อไหมจาก ลาวได้ ดังนั้นจึงมีการใช้เส้นใยสังเคราะห์ทอแทนและมีการทอผ้าซิ่น โดยไม่มีการต่อเอวและต่อตีนหากแต่ยังคงไว้ซึ่งการเย็บเป็นถุงโดย ต่อตะเข็บ 2 ข้างเช่นเดิม ทำ�ให้รูปแบบดังเดิมที่ใช้ไหมจากลาวหาย ไป กลายเป็นเส้นใยสังเคราะห์เข้ามาแทนที่ อาจกล่าวได้ว่าการทอผ้านั้นเป็นการผลิตเพื่อการสืบทอดทาง วัฒนธรรมของสังคมเป็นการถ่ายทอดความเชื่ออันเป็นที่พึ่งทางจิตใจ ของผู้คน ได้แก่ ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ความ เชื่อเรื่องการเกิดการไปสู่นิพพาน เป็นต้นในปัจจุบันวัฒนธรรมการ ทอผ้าซิ่นลายน้ำ�ไหลของบ้านธาตุสบแวน อำ�เภอเชียงคำ� จังหวัด พะเยา ถึงแม้ว่าจะมีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นไม่เหมือนใครและเป็น เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นก็ตามทีแต่ด้วยความเปลี่ยนแปลงของสังคมใน ยุคปัจจุบันทำ�ให้มีผลกระทบต่อชาวไทลื้อบ้านธาตุสบแวนเป็นอย่าง มาก การแต่งกายแบบดั่งเดิมหาดูได้ยากมากนอกจากจะมีงานสำ�คัญ หรือมีพิธีกรรมต่าง ๆเท่านั้น แต่ก็ยังคงมีผู้เฒ่าผู้แก่อยู่ไม่กี่คนที่ยัง คงมีการสวมใส่อยู่ในชีวิตประจำ�วัน ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 7


ไทลื้อในอำ�เภอเชียงคำ�อพยพมาจาก เมืองพง เมือง หย่วน เมืองมาง เมืองยั้ง เมืองเงิน เมืองเชียงคาน โดยมีการ ตั้งหมู่บ้านเป็นหมู่บ้าน ๆ ตามชื่อเดิมของเมืองที่ตนอพยพมา เช่นบ้านหยวน บ้านมาง บ้านเชียงคาน บ้านล้า ฯลฯ นอกจาก นั้นยังมีประเพณีในการนับถือเทวดาเมืององค์เดียวกันคือ เจ้า หลวงเมืองล้า ในบ้านน้ำ�แวน หมู่ 1 ตำ�บลน้ำ�แวน บ้านแวน หมู่ 2 ตำ�บลน้ำ�แวนบ้านแวนพัฒนาหมู่ 5 ตำ�บลเชียงบาน บ้านล้า ตำ�บลเวียง กลุ่มไทลื้อเชียงคำ� จะอพยพมาจากเมืองปัวซึ่งเป็นก ลุ่มที่นับถือเจ้าหลวงเมืองล้า มาตั้งถิ่นฐานในอำ�เภอเชียงคำ� โดยเลือกเอา บริเวณที่ห้วยแม่ต๋ำ�ไหลบรรจบกันกับแม่น้ำ�แวน (ปัจจุบันคือบ้านหมู่ที่ 1)

ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 17


หลั ง จากนั้ น ก็ มี ก ารขยายชุ ม ชนออกไปตั้ ง อยู่ อี ก ฟาก หนึ่งของห้วยแม่ต๋ำ� (ปัจจุบันคือหมู่บ้านแวนหมู่ที่ 2) และการ ขยายตัวครั้งสุดท้ายเมื่อประมาณ พ.ศ. 2460 ไปตั้งอยู่อีกฝาก หนึ่งของแม่น้ำ�แวน ซึ่งปัจจุบันคือ บ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 ตำ�บล เชียงบาน ซึ่งไทลื้อกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มเดียวกับที่ถูกกวาดต้อน มาจากสิ บ สองปั น นาในสมั ย พระเจ้ า กาวิ ล ะเจ้ า ผู้ ค รองนคร เชียงใหม่ และพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน บ้านแวนทั้ง 3 หมู่บ้าน ยังมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับ กลุ่มไทลื้อในอำ�เภอท่าวังผา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสัมพันธ์ เครือญาติระหว่างบ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 กับบ้านหนองบัว ดู จะแน่นแฟ้น เพราะใน พ.ศ. 2495 มีครอบครัวไทลื้อจากบ้าน หนองบัวมาตั้งรกรากอยู่ที่บ้านแวนพัฒนาโดยตรงประมาณ 20 ครอบครัว นอกจากนี้ กลุ่มไทลื้อเชื้อสายเมืองล้า (บ้านหนองบัว ต้นฮ่าง ดอนมูล รวมถึงบ้านแวนทั้ง 3 และบ้านล้า) มีความ สั ม พั น ธ์ ท างเครื อ ญาติ กั บ ไทลื้ อ ที่ เ มื อ งคอบซึ่ ง อยู่ ใ นเขต ประเทศลาวปัจจุบัน กล่าวคือ ต่างก็นับถือเทวดาเจ้าหลวงเมือง ล้าเป็นเทวดาเมืองเหมือนกันและโดยทุกปีเมื่อมีพิธีกรรมเมือง เลี้ยงเทวดาเจ้าหลวงเมืองล้า ก็มีเครือญาติจากบ้านแวนและ บ้านหนองบัวไปร่วมพิธีด้วยทุกครั้ง ถ้าไปไม่ได้ก็จะมีการเก็บ เงินไปบริจาคร่วมในการจัดซื้อควายมาสังเวยเรียกประเพณีนี้ ว่า “ประเพณี 3 ปี 4 รวงข้าว” หรือ “งานกำ�เมือง” (ใน ภาษาไทลื้ออ่านออกเสียงว่า ง่านก๋ำ�เมือง) ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 9


ชาวไทลื้ อ รั บ พุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาทจากล้ า นนา ผ่านทางเชียงตุงดังมีหลักฐานกล่าวถึงในปี พ.ศ. 1998 ว่า ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากสำ�นักวัดป่าแดงเมืองเชียงตุง เผยแพร่เข้าไปในสิบสองพันนาความศรัทธาในพุทธศาสนา ปรากฏให้เห็น ได้จากศาสนสถานประจำ�หมู่บ้าน กล่าวคือใน หมู่บ้านของชาวไทลื้อทุกแห่งยิ่งในเมืองใหญ่ๆ ก็จะมีวัดอยู่เป็น จำ�นวนมากชาวไทลื้อนิยมส่งลูกชายไปเป็นลูกศิษย์วัดที่เรียกว่า “ขโยม” เป็นเวลา 3 เดือนก่อนทำ�พิธีบวชเป็นสามเณรเพื่อ ศึกษาอ่านเขียนและเล่าเรียนในหลักธรรม ตลอดจนการอบรม ความความประพฤติ พิธีบวชสามเณรที่เรียกว่า “บวชลูกแก้ว” เป็ น พิ ธี ก รรมที่ ช าวไทลื้ อ ให้ ค วามสำ � คั ญ เป็ น อย่ า งมากด้ ว ย ความศรัทธาในอานิสงค์ผลบุญที่พ่อแม่ได้รับจากลูกชาย 10 ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า


แม้ว่าชาวไทลื้อจะเป็นพุทธศาสนิกชนแต่ความเชื่อใน

เรื่องผีก็ยังคงอยู่ในความศรัทธาของชาวไทลื้ออย่างมั่นคง โดย ปรับเปลี่ยนจากการเรียกชื่อผีมาเป็นเทวดาอารักษ์แทน ผี หรือเทวดาที่ชาวไทลื้อสิบสองพันนานับถือนั้นแบ่งออกเป็น 3 ระดับได้แก่ 1.ผีเมือง หรือเทวดาเมือง คือ ผีเจ้าหลวงประจำ�ของ แต่ละเมือง

2.ผีบ้าน หรือเทวดาเสื้อบ้าน คือ ผีประจำ�หมู่บ้าน

3.ผีเรือ หรือ เทวดาอารักษ์ คือ ผีประจำ�ตระกูล

ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 11



ตุงไทลื้อ ในคติความเชื่อของชาวไทลื้อนั้นส่วนใหญ่เป็นคติความ

เชื่ อในเรื่ องศาสนาและสิ่งเร้นลับ ส่งผลทำ � ให้ มีก ารประกอบ พิธีกรรมต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องจากศาสนาหรือแม้แต่ความ เชื่อในเรื่องของผีและวิญญาณโดยที่มีการใช้ผ้าและลวดลาย ต่าง ๆ เข้ามาเป็นองค์ประกอบหนึ่งของพิธีกรรมเพราะชาว ไทลื้อนั้น เชื่อว่าผ้าและลวดลายบนผืนผ้าที่ทอแต่ละประเภท นั้นมีลักษณะหรือแม้แต่มีคติความเชื่อ อยู่บนผ้าและลวดลาย นั้ น ๆเชื่ อ ว่ า สามารถป้ อ งกั น สิ่ ง ชั่ ว ร้ า ยหรื อ แม้ แ ต่ ก ารปกปั ก รักษาตนเองและสิ่งที่เรียกว่า “ขวัญ” ของเราได้ จึงทำ�ให้มี การใช้ผ้าเป็นส่วนประกอบที่สำ�คัญในพิธีกรรม ต่าง ๆของชาว ไทลื้อ

ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 13


14 ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า


ผ้าทอไทลื้อเข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตของคนเราตั้งแต่ เกิดจนตาย ในอดีตผ้าสำ�หรับเด็กตั้งแต่แรกเกิดไม่ว่าจะเป็น ผ้า อ้อม เบาะ ล้วนแต่มาจากฝีมือการถักทอของแม่โดยเฉพาะ ผ้า อ้อมมักจะมาจากผ้าซิ่นเก่าของแม่ เนื่องจากมีเนื้อผ้านุ่มนวล เหมาะแก่ผิวทารกการทอผ้าเป็นงานที่ผู้หญิงแทบทุกคนจะต้อง ทำ�ได้เพราะความจำ�เป็นในการใช้สอยในครอบครัว และจารีต ประเพณีเป็นกรอบบังคับอยู่การแต่งกายของผู้คนในอาณาจักร ล้านนาปรากฏอยู่ตามจิตรกรรมฝาผนังตามพระอุโบสถ และ วิหารต่าง ๆ เป็นต้นว่า จิตรกรรมที่แผงไม้ชองวิหารหลวง และ วิหารน้ำ�แต้มวัดพระธาตุลำ�ปางหลวง อำ�เภอเกาะคา จังหวัด ลำ�ปาง ภาพจิตรกรรมวิหารลายคำ� วัดพระสิงห์ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ อำ�เภอเมือง และจิตรกรรมฝาผนังวัดหนองบัว ตำ�บลป่าคา อำ�เภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 15


การแต่งกายของผู้คนที่ปรากฏในภาพจิตรกรรมเหล่า นี้ทำ�ให้เราได้ทราบว่ากษัตริย์เจ้านาชั้นสูงแต่งกาย ทรงผม และสวมใส่เครื่องประดับอย่างไร และสตรีชาววังนุ่งผ้าซิ่นยาว กรอมเท้า เป็นลายขวางลำ�ตัว จีนซิ่นมีลายจก ถ้าเป็นหญิง ชาวบ้านจะเป็นซิ่นสีพื้น มีลายสีเข้ม เช่น สีแดง สีส้มและ สีดำ� เป็นลายขวางสลับเป็นเป็นริ้วขวางลำ�ตัว ที่เชิงซิ่นมีทั้งที่ เป็นแถบสีส้ม สีแดงเป็นแถบใหญ่ ๆไม่มีลวดลาย สตรีที่มี ฐานะเท่านั้นจะนุ่งซิ่น ที่มีลวดลายจกที่เรียกว่า ตีนจก และ ผู้หญิงมักจะไม่สวมเสื้อแต่มีผ้ารัดอกหรือห่มสไบเฉียง หรือใช้ ผ้าคล้องคอห้อยสองชาย ลงมาข้างหน้าเนื่องจากการทอผ้านั้น เปรียบเสมือนเป็นการศึกษาของสตรีในอดีตเป็นกระบวนการ เรียนรู้อบรมขัดเกลาทางสังคมจากผู้หญิงรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง 16 ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า


ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า 17


การทอผ้าเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความพร้อมของกุลสตรีในสังคม ในอดีตการทอผ้านั้นไม่สามารถแยกออก จากชีวิตของผู้หญิงได้ผู้หญิงนั้น จะเริ่มหัดทอผ้ามาตั้งแต่เป็นวัยรุ่นโดยมีแม่ ยาย และคนในครอบครัวนั้น ช่วยกันถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆทั้ง งานบ้าน การปลูกฝ้าย ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม และนำ�เส้นใยมาถักทอเป็นผืนผ้าที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน เช่น ผ้าห่ม ถุงย่าม ผ้าหลบ ผ้าซิ่น ผ้าโสร่งผ้าต้อย ที่นอน หมอน มุ้ง ผ้าหน้า มุ้งเป็นต้น นอกจากนี้ยังจัดเตรียมผ้าเพื่อไว้ใช้ในวาระสุดท้ายของชีวิต เช่น ผ้าปกโลงศพ เป็นต้นอาจกล่าวได้ว่า การทอผ้าเป็นการผลิตที่สะท้อนให้ เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญา จารีตประเพณี และความเชื่อ เช่น ได้แก่ ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ความเชื่อเรื่องการแก่ เจ็บ ตาย เป็นต้น จากหลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธศาสนา การทำ�บุญ ทำ�ทานอันจะส่งผลต่อตนเองในภายภาคหน้าซึ่งความเชื่อเหล่านี้ทำ�ให้ สตรี มีความมุ่งมั่นถักทอผืนผ้าในรูปแบบต่างๆด้วยอานิสงค์อันแรงกล้า จึงทำ�ให้เกิดเป็นผ้าทอไทลื้อที่มีลวดลายสวยงามสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน



ไทลื้อบ้านแวน ลวดลายและความเชื่อบนผืนผ้า นาย เฉลิมชัย แสงศรีจันทร์ 530310108

ภาษาไทย © 2556 ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สงวนลิขสิทธิ์

พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม พ.ศ. 2556 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ออกแบบโดย เฉลิมชัย แสงศรีจันทร์




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.