ผาทอเกาะยอ " Koh Yoh textile " the proudness in textile of southern Thailand
ผาไทยวิถีใต
“ เกาะยอ ”
เลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ตำบลเกาะยอ
เกาะยอ... “ เป น แหล ง ประมงแหล ง ใหญ อ ี ก แห ง หนึ ่ ง ที ่ ม ี ค วามสำคั ญ ต อ เศรษฐกิ จ ของประเทศ เน� อ งจากเป น ที ่ ท ราบกั น ดี แ ล ว ว า เกาะยอมี ท ะเลล อ มรอบ อาชี พ ส ว นใหญ ก ็ เ กี ่ ย วกั บ ทะเล อาทิ การออกเรื อ หาปลา ยั ง มี อ าชี พ การเลี ้ ย งปลา เป น อาชี พ สำคั ญ ของชาวจั ง หวั ด สงขลา เพราะพื ้ น ที ่ 30 เปอร เ ซ็ น ต ของจั ง หวั ด มี อ าชี พ เลี ้ ย งปลากะพง ขาว บริ เ วณที ่ ม ี ก ารเลี ้ ย งมากอยู แ ถวๆ สะพานป า เปรมติ ณ สู ล านนท ” cr.คุ ณ กิ บ หลี การะวรรณ
ตำบลเกาะยอ อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา
ผาทอเกาะยอ
เสนดายเปนวัตุดิบหลักในการทอ… “ ผ า ทอเกาะยอหรื อ ผ า เกาะยอ เป น ผ า ทอพื ้ น เมื อ งของตำบลเกาะยอ อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา เป น ผ า พื ้ น เมื อ งที ่ ม ี ช � อ เสี ย งของจั ง หวั ด สงขลา ที ่ ม ี ค วามประณี ต และสี ส ั น ที ่ ส วยงาม โดยมี ก ารทอยกดอกที ่ ม ี ลวดลายอ อ นนุ ม ถื อ เป น สั ญ ลั ก ษณ ห ั ต ถกรรมพื ้ น บ า นของภาคใต แ ละยั ง เป น สุ ด ยอดผลิ ต ภั ณ ฑ หนึ ่ ง ตำบลหนึ ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ OTOP ป 2549 ” cr.ครู น ิ ต ย
ตำบลเกาะยอ อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา
01
21
12 03 01
04
07
13
09 15
ผา
ทอเกาะยอ ผาไทยวิถีใต
1 ประวัติตำบลเกาะยอ 7 กลุมราชวัตถแสงสองหลา 9 ความเปนมาของูมิปญญา 11 ประวัติการทอผา 13 วัตถุดิบและอุปกรณการทอผา 15 ขั้นตอนการเตรียมเสนดาย 19 ประเภทของลายผา 20ุ่มไทร ระบบการทอผาของชาวเกาะยอ 21 พัฒนาการบทบาททางภูมิปญญา 23 บทสัมภาษณ - กลุมราชวัตถแสงสองหลาที่ ๑ 25 บทสัมภาษณ - กลุมรมไทร 27 บทสัมภาษณ - กลุมแมบานเกษตรกรผาทอเกาะยอ
ตำบลเกาะยอTumbon koh yo “ สมเด็จเจาเปนศรี ผาทอดีล้ำคา นานาผลไมหวาน ถิ่นอาหารทะเล เสนหสะพานติณ สถาบันทักษิณลือนาม งดงามเรือนทรงไทย ” “ เกาะยอ”มีลักษณะเปนเกาะเล็กๆบริเวณลุมน้ำทะเลสาบสงขลาซึ่งหางจากตัวเมืองของจังหวัด สงขลาไม ม ากนั ก การเดิ น ทางสามารถใช ส ะพานติ ณ สู ล านนท ห รื อ สะพานป า เปรมซึ ่ ง เชื่อมระหวางตัวอำเภอเมืองและตำบลเกาะยอ “ เกาะยอเปนเกาะที่เกิดขึ้นมานับรอยๆปชาวเกาะยอดั้งเดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม กลาวคือ ทำสวนผลไม ไดแก สวนละมุดสายพันธุเกาะยอ จำปาดะสายพันธุขนุน ฯลฯ นอกจากนี้เนื่อง จากภูมิประเทศติดทะเลสาบจึงเอื้ออำนวยตอการประกอบอาชีพประมงอีกดวย การเลี้ยงปลา กระพงในกระชังนับไดวามีชื่อเสียงมากโดยภาพรวมแลวชาวเกาะยอมีวิถีชีวิตเรียบงายและ วิถีชีวิตกอใหเกิดศิลปวัฒนธรรมซึ่งเปนอัตลักษณของเกาะยอเห็นไดชัดจากเอกลักษณของ ผาทอซึ่งมีอัตลักษณเฉพาะถิ่นนั้นคือผาทอลายราชวัตรในนามของกลุมผาทอ “ราชวัตถแสงสองหลา”
๑
เน
ตำบลเกาะยอ Tumbon koh yo ๓
ปจจุบันเกาะยอเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวทั้งในและ ตางประเทศมากยิ่งขึ้นปจจุบันกอใหเกิดอาชีพใหม ของชาวเกาะยอ นั้นคือ ธุรกิจรีสอรทและโฮมสเตย บริเวณสาบสงขลา โดยเฉพาะ 2-3 ปที่ผานมาครั้งนี้ นักทองเที่ยว สามารถจับจายสินคา OTOP ตางๆ บริ เ วณสองฝ ง ถนน เขาแดง – ระโนด ของตำบล เกาะยอเพื ่ อ เป น ของฝากได อ ย า งสะดวกอี ก ด ว ย ดังคำขวัญของตำบลเกาะยอซึ่งกลาวไววา
“
สมเด็จเจาเปนศรี ผาทอดีล้ำคา นานาผลไมหวาน ถิ่นอาหารทะเล เสนหสะพานติณ สถาบันทักษิณลือนาม งดงามเรือนทรงไทย
” ๔
“ เกาะยอมีทรัพยากรที่มีคุณคาทั้งทรัพยากร ธรรมชาติและทรัพยากรทางทะเลซึ่งมีสัตวน้ำที่ชุกชุม และอุดมสมบูรณ ”
๕
จากคำขวัญประจำตำบลเกาะยอแสดงใหเห็นถึงเสนห และอัตลักษณของความเปนเกาะยอได เห็นชัดเกาะยอ ไดชื่อวาเปนตำบลที่มีชื่อเสียง กลาวคือ มีของดี 3 ภูมิ ซึ่งภูมิแปลวา แผนดิน หรือสิ่งอันมีคุณคา ดังนี้ ภูมิที่ 1 เกาะยอมีภูมิทัศนที่สวยงาม มีทั้งภูเขา ที่ราบ อาว ซึ่งโดดเดนกวาตำบลอื่นในสงขลาโดยเฉพาะการเดินทาง สามารถใชสะพานติณสูลานนทเพื่อเดินทางไปยังตำบล ใกลเคียง ภู ม ิ ท ี ่ 2 เกาะยอมี ท รั พ ยากรที ่ ม ี ค ุ ณ ค า ทั ้ ง ทรั พ ยากร ธรรมชาติและทรัพยากรทางทะเลซึ่งมีสัตวน้ำที่ชุกชุม และอุดมสมบูรณ ภูมิที่ 3 เกาะยอเดนชัดดานภูมิปญญาชาวบาน กลาวคือ การทอผาใชเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและมีการ วางจำหนายเพื่อเปนรายไดอีกดวย
๖
ผาทอเกาะยอเปนผลงานของ ชาวพื้นเมืองบนเกาะยอที่ทำ กันมาอยางอยางนานเปนผา ทอที่มีช�อเสียงเปนที่รูจักมี เอกลักษณตรงความปราณีต และลวด ลายที่สวยงาม
๗
กลุมราชวัตถแสงสองหลา กลุมราชวัถตแสงสองหลาชาวบานได รวมตัวกันเพื่ออนุรักษและสืบสานการทอผาพื้น เมื อ งของชาวเกาะยอซึ ่ ง ถื อ เป น งานหั ต ถกรรมที ่ ส ั ่ ง สมภู ม ิ ป ญ ญาการทอผ า มาจาก บรรพบุ ร ุ ษ อย า งยาวนานและกลายมาเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ อ ั น โดดเด น ผ า ทอเกาะยอมี ค วาม ประณี ต ในการท อ และมี ล วดลายที ่ ส วยงาม มี ล ายที ่ ช ื ่ อ ว า “ราชวั ต ร”เป น ลายดอกที ่ ม ี ต น
กำเนิ ด จากเกาะยอและเป น ลายนิ ย มของผ า ทอเมื อ งใต เ พราะเป น ลายที ่ ร ั บ พระราชทาน นามจากรัชกาลที่นอกจากนี้ยังมีลายอื่นๆอีกมาก มายอาทิ ลายลูกแกว ลายดอกพิกุล ลายพะยม ใหทุกคนไดเลือกซื้อเลือกหาเปนของฝากติดไมติด มือกลับไปยามที่ไดมาเยือน“เกาะยอ”เกาะที่มาก ไปดวยของดี ของชาวใต
๘
ความปนมาของ
ภูมิปญญา ผาทอเกาะยอ เปนผลงานของชาวพื้นเมืองบนเกาะยอเขตอำเภอ เมืองสงขลาที่ทำกันมาอยางอยางนาน เปนผาทอที่มีชื่อเสียง เป น ที ่ ร ู จ ั ก มี เ อกลั ก ษณ ต รงความปราณี ต และลวดลายที ่ สวยงามเป น แบบเฉพาะตั ว สิ ่ ง ที ่ ย ื น ยั น ถึ ง ความสวยงาม ของผ า ทอเกาะยอจะเห็ น เป น ศิ ล ปะลวดลายในผื น ผ า ที ่ งดงามถึ ง ขนาดที ่ พ ระมหากษั ต ริ ย ไ ทยแห ง ราชวงศ จ ั ก รี
ทรงพระราชทานชื ่ อ เป น มงคลในลายประเภทหนึ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า “ลายราชวั ต ร”และยั ง มี ก ารสื บ สานปรากฏ สื บ ต อ กั น มาจนถึ ง ป จ จุ บ ั น
๙
ความเปนมาของภูมิปญญา
“ พระมหากษัตริยไทยแหงราชวงศจักรี ทรงพระราชทานช�อเปนมงคลในลายประเภท หนึ่งที่เรียกวา “ ลายราชวัตร ” ๑๐
ประวัติผาทอเกาะยอ จากคำบอกเลาของผูเฒาผูแกของชาวเกาะยอยืนยันวาการ ทอผาพื้นเมืองนี้ทำกันมาควบคูกับการทำสวนผลไมและการ ทำประมงพื้นบานเปนเวลาหลายรอยปแลวเมื่อสืบคนจาก หลักฐานและเอกสารประกอบคำบอกเลาของชาวเกาะยอพบ วาผาทอเกาะยอมีตนเคามาจากฝมือของชาวพื้นเมืองที่นี่โดย ทำกันมาตั้งแตกอนสมัยศรีวิชัยเฟองฟูเมื่อเขาสูสมัยศรีวิชัยมี การเดินทางไปมาของพอคาวานิชทำใหลวดลายของผาจาก ตางประเทศแพรหลายเขามาเปนเหตุใหการทอผาของชาว เกาะยอเปลี่ยนแปลงไปกลาวคือแตเดิมชาวเกาะยอมีความ สามารถทอผาไดแตเฉพาะผาสีพื้นเรียบที่ยอมจากเปลือกไม รากไมและผลไมบางชนิด แตเมื่อไดรับวัฒนธรรมใหมจากตางแดนที่มีความสวยงาม และแปลกตาชาวเกาะยอจึงเริ่มนำมาทดลองโดยอาศัยความ รูดั้งเดิมประดิษฐและปรับปรุงจึงเกิดเปนลวดลายที่เปนเอก ลักษณเฉพาะตัวสิ่งหนึ่งที่ยืนยันไดวาชาวเกาะยอมีฝมือใน การทอผามาชานานไดแกในสมัยธนบุรีขณะนั้นเปนเมืองที่ขึ้น ตรงตอเมืองนครศรีธรรมราชเจาเมืองนครศรีธรรมราชมีคำสั่ง เกณฑบุตรราวชาวเมืองสงขลาที่มีฝมือดานการทอหูกทอผา
๑๑
เขาไปในวังนครศรีธรรมราชเปนจำนวนมากจนภายหลังเกิด ความบาดหมางระหวางพระยาสงขลา(เหยียง)และเจาพระยา นครศรีธรรมราช(หนู)ถึงขนาดที่พระเจาธนบุรีตองโปรดเกลาฯ ไดแยกเมืองสงขลาไปขึ้นตรงตอธนบุรีตั้งแตปพุทธศักราช 2320 อยางไรก็ดีหัตถกรรมการทอผาเกาะยอไดกำเนิดมาถึงสมัย รัตนโกสินทรและวากันวา“ลายราชวัตร”ซึ่งเปนลายผาทออัน ประณีตไดรับการโปรดเกลาฯพระราชทานชื่อจากพระบาทสม เด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวแตก็มีบางกระแสระบุวาเปน ลายที่ไดรับพระราชทานชื่อจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจ า อยู ห ั ว แต จ ะเป น ลายที ่ ไ ด ร ั บ พระราชทานชื ่ อ จาก พระมหากษัตริยพระองคใดก็ตามชาวเกาะยอก็มีความภาค ภูมิใจเพราะทั้งสองพระองคคือพระมหากษัตริยของปวงชน ชาวไทยนั่นเอง
การทอผาบนเกาะยอนี้แตเดิมจะเปนการทอดวยกี่ทอ มือหรือกี่พื้นเมืองแลวจึงเปลี่ยนมาเปนกระตุกในภาย หลั ง สารานุ ก รม วั ฒ นธรรมภาคใต พ .ศ2529 เล ม 5 ระบุเกี่ยวกับเรื่องนี้ไวตอนหนึ่งวา“ในราวปพุทธศักราช 2482 กรมการเมืองสงขลาไดขอครูทอผาชาวเซีย่ งไฮจากแผน ดินใหญจำนวน 2 คน ชือ่ นายยีซ่ นุ และนายพุดดิน้ มาชวยสอน การทอผาแกชาวเกาะยอทีว่ ดั แหลมพอหรือวัดหัวแหลมตัง้ แต นัน้ มางานหัตถกรรมทอผาของชาวเกาะยอจึงเปนงานทีผ่ า น เครือ่ งมือกีก่ ระตุกมาจนถึงปจจุบนั ”
ผาทอเกาะยอไดดำเนินมาระยะหนึง่ จนหลังสงครามโลกครัง้ ที2่ จึงเริม่ ซบเซาลงเนือ่ งจากผาทอตางประเทศซึง่ คุณภาพดีกวา เขามาตีตลาดผาทอพืน้ บานหัตถกรรมบนเกาะยอแขนงนีจ้ งึ เกือบศูนยหายไป จนในราวพุทธศักราช 2516 คุณหญิงชืน่ จิตต สุขุม นายกสมาคมธุรกิจและวิชาชีพแหงประเทศไทยใน พระบรมราชินปู ถัมภไดเขามาชวยผลักดันทัง้ เทคนิคการยอม การทอ รวมทัง้ ขยายตลาดกิจการผาทอพืน้ บานแหลงนีจ้ งึ กลับ ฟน คืนมาอีกครัง้ และกลายเปนหัตถกรรมทีไ่ ดรบั การยอมรับจวบ จนถึงปจจุบนั
๑๒
วัตถุดิบและอุปกรณ
ในการทอผา ในอดีตผาทอที่นี่ทำขึ้นจากฝายที่ปลูกขึ้นเองเปนชนิดฝายขาวและ ฝ า ยสี น ้ ำ ตาลแต เ นื ่ อ งจากสภาพพื ้ น ที ่ ข องสงขลาโดยเฉพาะที ่ เกาะยอมีฝนตกชุกคุณภาพของฝายที่ไดจึงไมดีเทาที่ควรระยะหลัง จึงหันมาใชใยสังเคราะหที่ชาวบานเรียกกันวา“ดายเทโร”เปนวัตถุ ดิ บ ที ่ ส ำคั ญ ในการทอผ า แทนด า ยเทโรมี จ ำหน า ยเป น“หมอน” หมอนจะมีน้ำหนักกิโลกรัมมัดรวมกันเปนริ้วหรือใจชาวบานที่รวม ตัวกันเปนกลุมจะซื้อครั้งละจำนวนมากเพื่อใหไดราคาถูกแลวนำมา แบงกัน
๑๓
สำหรับอุปกรณที่สำคัญไดแกหลักคน,รางคน,หลอดคนไน ดอกหวิงหรือระวิง,ขอเกี่ยวดายหรือฟม,ระหัดไมค้ำและ เครื่องมวนดายซึ่งเปนอุปกรณที่ตองใชกอนการทอในขั้น ตอนในการทอนั้นอุปกรณที่สำคัญคือ กี่กระตุก ตัวกี่จะ ทำเปนโรงสี่เหลี่ยมทำจากไมเนื้อแข็งภายในประกอบดวย ไมมวนเสนดายตะกอฟม,กระสวยสายกระตุก,คานเหยียบ และไมมวนผา
๑๔
ขั้นตอนในการเตรียมเสนดาย เส น ด า ยในแต ล ะหมอนจะมี แ บ ง เป น ขดอยู ภ ายใน เป น จำนวนมากเรี ย กว า “ริ ้ ว ”หรื อ ไจนำด า ยแต ล ะริ ้ ว มา กรอเขาหลอดดายขนาดเล็กสำหรับทำเปนดายพุงเสร็จแลว เก็บไวสำหรับใสในรางกระสวยในขั้นตอนการทอและอีก สวนหนึ่งกรอเขาหลอดขนาดใหญ สำหรับทำเปนดายยืน
๑๕
การกรอเขาหลอดดายยืนจะกรอครั้งละจำนวนมากตาม ขนาดหนากวางของผาที่ทอดังนั้นผูทอตองคำนวณวาใน การทอแตละครั้งจะทอเปนลักษณะใดเชนผาผืนหรือผาขาว มาเมื่อคำนวณแลวจึงกรอดายเขาหลอดตามจำนวนเสนที่ ตองการเมื่อกรอไดยืนครบตามจำนวนแลวนำหลอดดายนั้น มาปกปนเครื่องเดินดายที่มีราวสำหรับวางหลอดไวดานขาง เปนขั้นๆ
สวนดานลางมีรางคนที่ทำแครยาวผูทำตองรวบปลาย ดายในแตละหลอดมารวมกันแลวสาวดายพันใสแกน ซายขวาจนไดความยาวตามตองการจากนั้นจึงปลดดาย ทั้งหมด ออกจากแครแลวขมวดไวเพื่อปองกันดายพันยุง ดายที่ขมวดจะถูกนำมาใสฟมซึ่งมีฟนหวีเปนซี่ๆจำนวน มากแตละซี่จะสอดดายสองเสนเมื่อครบทุกซี่จะเปน จำนวนนับพันเสนในขั้นตอนนี้มักทำกันสองคนโดยคน หนึ่งทำหนาที่สงดาย อีกคนหนึ่งสอดดาย
เมื่อดายผานเขาไปเรียงตัวอยูในฟมแลวจึงนำเขากี่ทอ นำเส น ด า ยด า นบนร อ ยเข า ตะกอในห ว งจำนวนของ ตะกอมากเทาใดจะไดลวดลายมากเทานั้นสวนปลาย เส น ด า ยด า นล า งพั น ไว ก ั บ ไม ม ว นด า นหน า คน ทอจากนั้นนำดายพุงใสลงเขากระสวยกอนจะใสลงใน รางกระสวยเพื่อทอตอไป
๑๖
ขั้นตอนการทอผา การทอผาเริ่มจากใชเทาเหยียบดานลางใหตะกอที่มีเชือกรั้งแยกไดยืนให แยกจากกันเสนดานหนาฟมจะเปดชองใหดายพุงในรางกระสวยวิ่งผาน เขาไปเมื่อปลอยเทาเหยียบดายพุงจะเรียงตัวอยูภายในหลังจากกระแทก ฟมเขาหาตัวเสนดายจึงเรียงชิดแนนสนิทกอนจะเหยียบตะกออีกครั้ง เพื่อใหดายพุงวิ่งผานเขาไปผืนผาจะมีความแนนขึ้นตามลำดับ การทอผ านี ้ ผ ู ทอจะทอไปอยา งตอเนื่องโดยนั่งอยู ท ี ่ น ั ่ ง เป น เวลานาน ระหวางการทอหากเสนดายบางเสนบางขาดหรือมีเคาวาจะขาดผูทอ จะหยุดเพื่อตอใหสนิทแลวทอตอไปในการกระแทกฟมหากกระแทกแรง จะทำใหเนื้อผาแนนแตขณะเดียวกันก็จะทำใหความยาวของผืนผาสั้นลง ดวยตรงกันขามกับการกระแทกเบาจะทำใหเนื้อผาบางและไดความยาว มากกวาสวนจะกระแทกแรงหรือเบานั้นขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการทอ วาตองการทอผาบางหรือผาหนานั่นเองสำหรับปริมาณการทอนั้นโดย เฉลี่ยคนหนึ่งหากทอทั้งวันจะไดความยาวประมาณ 7 เมตร
ผาเกาะยอ ทอ ๑๗
๑๘
ประเภทของผาทอ ปจจุบันลายผาทอของเกาะยอมีอยูดวยกันหลากหลาย โดยส ว นใหญ เ ป น ลวดลายที ่ ต ั ้ ง ชื ่ อ กั น มาแต ค รั ้ ง โบราณเป น การตั ้ ง จากชื ่ อ ผู ค ิ ด ลายนั ้ น ๆหรื อ ตั้งตามลักษณะของลายวาเหมือนอะไรก็ตั้งตามนั้นสำหรับลายที่ไดรับความนิยมกันในปจจุบันไดแก ลายลู ก แก ว ลายผกากรอง ลายราชวั ต ร ลายตะเครี ย ะ ลายลู ก โซ ลายดอกพิ ก ุ ล ลายประยุ ก ต ลายรสสุคนธ ลายดอกโดม ลายเกล็ดลิ่น ลายดอกพะยอม ลายดอกรัก ลายดอกหาหนึ่ง ลายเทพพนม ลายพริกไทย ลายบุหงา ลายลูกหวาย ลายหมากรุก ลายสกอต ลายคชกริช ลายโกเถี้ยม และลาย ขาวหลามตัด เปนตน จะเห็นไดวาลวดลายผาทอของเกาะยอมีเปนจำนวนมากที่เปนเชนนั้นเปนเพราะชาวเกาะยอจะ คิดคนลวดลายตางๆขึ้นมาอยูเสมอเพื่อใหแบบเปนที่พอใจของผูซื้อนอกจากนี้ยังมีบางลวดลายที่มีผูสั่ง ทำเปนกรณีพิเศษซึ่งมีอยูไมนอยทั้งนี้ผาแตละผืนที่ทอเสร็จแลวเมื่อบรรจุถุงเตรียมจำหนายจะมีปาย ระบุถึงจำนวนตะกอที่การทอเพื่อใหผูซื้อไดทราบวาผาผืนนั้นมีกระบวนการทำยาก-งายเพียงใดหาก เปนการใชตะกอมากก็หมายถึง ผานั้นมีลวดลายมากและราคาสูงตามไปดวย
๑๙
ระบบการทอผา ของชาวเกาะยอ มีทั้งการรวมตัวกันเปนกลุมโดยใชชื่อกลุมตางๆ เชนกลุมราชวัตถเปนตนในแตละกลุมจะมีสมาชิก ทอแลวสงใหกลุมกลุมจะเปนผูจำหนายออกไป การทออาจทอในที่ทำการกลุมหรือนำกลับไปทอที่ บานก็ไดอีกประเภทหนึ่งเปนการทอแบบเฉพาะตัว โดยสงขายใหรานคาบนเกาะยอหรือในเขตเมือง สงขลารวมทั ้ ง แหล ง ท อ งเที ่ ย วซึ ่ ง จะมี ผ ู ม ารั บ ซื ้ อ ถึ ง ที ่ โ ดยมากมั ก ติ ด ต อ ซื ้ อ ขายกั น มานาน สำหรับประเภทของผลิตภัณฑมีทั้งผาผืนผาถุงผา ขาวมาสวนราคาการจัดจำหนายแกผูซื้อทั่วไปมี หลายราคาลดลั่นกันไปโดยสวนใหญราคาไมสูง จนเกินไปเหมาะสำหรับเปนของฝากตางบานตาง เมือง
๒๐
พัฒนาการและบทบาททาง
ภูมิปญญา
ปจจุบันการทอผาบนเกาะยอมีการพัฒนากาวหนาไปมากเมื่อเทียบกับสมัย กอน ที่เริ่มจากปลูกฝายและยอมสีดวยสวนตางๆของพืชพื้นบานแตภายหลังจากป พ.ศ.2516เปนตนมาการทอผาเริ่มนำเสนใยสังเคราะหและกระบวนการยอมสี วิทยาศาสตรเขามาเกี่ยวของโดยที่ผูทอเพียงแตซื้อวัตถุดิบคือดายเขามาแลวผาน ขั้นตอนจนทอออกมาเปนผืนผาไดทันที สวนดานการตลาดหลังจากมีการเผยแพรออกไปทั้งจากการบอกเลาแบบปาก ตอปากและความรวมมือจากหนวยงานราชการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย และภาคเอกชนในพื้นที่ทำใหผาทอเกาะยอมีชื่อเสียงเปนที่รูจักกันทั่วไปนอกจากนี้ สิ่งที่เปนความภาคภูมิใจของชาวเกาะยอเห็นจะไดแกการที่สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถพระบรมวงศานุวงศและเจานายฝายสตรีฉลองพระองคและ แตงกายดวยผาทอเกาะยอก็ยิ่งทำใหผลิตภัณฑจากหัตถกรรมพื้นบานของที่นี่ ขยายตั ว ออกไปทั ่ ว ทั ่ ง ประเทศและต า งประเทศซึ ่ ง ชาวเกาะยอต า งสำนึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณอยางไมลืมเลือน
๒๑
๒๒
คร�วิชัย
ประธานกลุม
“ อยากใหพอแมผูปกครองปลูกจิตสำนึกของเด็กรุนหลังๆ ใหเล็งเห็นถึงความสำคัญของภูมิปญญาในการทอผาซึ่ง เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแตสมัย โบราณจวบจนปจจุบันนี้ ”
๒๓
กลุมราชวั ต ถ แสงสองหลาที่ 1 ความเปนมาของกลุมราชวัตถแสงสองหลาที่1 ? ครูวิชัย:กลุมราชวัตถเปนกลุมที่มีการทอผากันอยูแลว แตเริ่มจัดตั้งกลุมจริงๆจังกันเมื่อที่กลุมอื่นเลิกการทอผา ไปบางแลวเนื่องจากวาการทอผานั้นมีรายไดไมคอยดี วัตถุดิบในการทอผาก็มีราคาคอนขางสูงคนในชุมชนที่ ทอผากันจังหันไปประกอบอาชีพอื่นทางกลุมราชวัตถ ไดไปทำเรื่องกูเงินจาก(ธกส.)เพื่อมาเปนเงินทุนในการ จัดตั้งกลุมและมาจัดซื้อกี่กระตุกจำนวนหนึ่งแลวรวบ รวมสมาชิ ก ขึ ้ น ต อ มาภายหลั ง เป น ระยะเวลา2-3ป ได ม าเจอกั บ ชุ ม รมแสงส อ งหล า และทางชมรมแสง สองหลาไดนำเรื่องการทอผาของกลุมราชวัถตขึ้นกราบ ทูล สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุม ารี พระองคจึงไดพระราชทานชื่อกลุมใหมใหเปนชื่อกลุม ราชวัตถแสงสองหลาที่1จากนั้นจนบัดนี้ สมาชิกในกลุมมีจำนวนกี่คนแลวสวนมากแตละคน จะประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก? ครูวิชัย:เดิมสมาชิกมีจำนวน 20 คนแตปจจุบันเหลือ เพียง 14 คนสวนมากจะทอผาเปนหลักแตยังคงมีอาชีพ อื่นที่เสริมอาชีพการทอผา ไดแกอาชีพทำสวนผลไม ทำประมง เลี้ยงปลากะพงในกระชัง ขายของในตลาด เปนตน การทอผาสรางรายไดใหกับสมาชิกในกลุมเทาไหร และมีความเพียงพอหรือไม? ครูวิชัย:รายไดจากการทอผาไมสามารถตอบไดแนชัดวา สมาชิกแตละคนไดรับเงินจำนวนเทาไหรตอเดือนเนื่อง จากว า สมาชิ ก ในกลุ ม ใครเป น คนทอและสามารถจำ หนายไดเงินที่ไดการการจำหนายนั้นก็ไดบุคคลที่ทอผา ชิ้นนั้นทางกลุมไมไดจายเงินเดือนใหกับสมาชิกเนื่อง จากวาทางกลุมเองไมมีหนวยงานใดเขามาสนับสนุน และชวยเหลือจึงขาดเงินทุนในสวนที่จะจางสมาชิกเขา กลุม
ทำไมถึงรักในการทอผา? ครูวิชัย:เพราะวาการทอผาเปนอาชีพดั้งเดิมของชาว เกาะยอหากผาไมมีใครจัดตั้งกลุมขึ้นมาไมอนุรักษเอาไว ไมรื้อฟนศิลปวัฒนธรรม ระยะเวลาในการทอผาแตละผืนมากนอยแคไหน? ครูวิชัย:ระยะเวลาในการทอผานั้นก็ขึ้นอยูกับความ ชำนาญของแตละบุคคลบางคนที่มีความชำนาญแลว ในหนึ่งวันก็ สามารถ ทอได3-4หลา ลายไหนโดดเดนและกลุมผูบริโภคใหความสนใจ? ครูวิชัย: - ลายราชวัตร - ลายดอกพิกุล - อื่นๆ ภายในกลุมมีการแปรรูปผาทอเปนสินคาอะไรบาง? ครูวิชัย: 1.กรอบรูปสมเด็จเจาพะโคะ 2.กระเปา ในอนาคตผาทอมือจะสูญหายไปจากตำบลเกาะยอ หรือไม? ครูวิชัย:ผาทอเกาะยอจะไมสูญหายไปจากตำบลหากมี คนรุนหลังใหความสนใจและสืบทอดตอแตถาหากวา กลุมราชวัตถแสงสองหลาที่1 จะหายไปจากตำบลหรือไม อาจจะมีสิทธที่จะหายไดเนื่องจากตอนนี้ทางกลุมไมมี เงินทุนสำรองใหคนรุนหลังไดสืบทอดตอแตถาหากมีเงิน ทุนไวก็สามารถจะอยูตอไปได ทำไมถึงไมใชเครื่องจักรมาผสมผสานในการทอผา? ครูวิชัย:หากวานำเครื่องจักรมาใชผสมผสานในการทอ นั้นมันจะไมใชเปนภูมิปญญาดั้งเดิมที่ชาวเกาะยอสืบ ทอดกันมา
๒๔
ครู ย ม รองประธานกลุม
กลุมรมไทร
“แหลงใต ไหว ส วย แต ง ตั ว ด ว ยผ า เกาะยอ”
ความเปนมาของกลุมทอผารมไทร? ครูยม:กลุมรมไทรกอตั้งโดยครูกลิ้มสินธุรัตนตั้งแตพ.ศ.2545 จนถึงปจจุบันนับเปนเวลา2ปซึ่งเปนครูภูมิปญญาดานทอผา ไดรวบรวมสมาชิกและไดเงินสนับสนุนจากสมาคมสมาคมสตรี นักธุรกิจและวิชาชีพแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมป จังหวัดสงขลาโดยใหเงินทุนและกี่ทอผามาหลังจากนั้นกลุม รมไทรก็ดำเนินการทอผามาจนถึงปจจุบัน
๒๕
สมาชิ ก ในกลุ ม มี จ ำนวนกี ่ ค นแล ว ส ว นมากแต ล ะ คนจะประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก? ครู ย ม:แต เ ดิ ม สมาชิ ก มี จ ำนวน6คนป จ จุ บ ั น มี 1 7คน แตละคนจะทอผาเปนหลักแตกอนจะมาทอผานั้นบางคนก็มี งานเสริมรายไดจากการทอผาคือการรับจางซักผาจากโฮม สเตยบางคนก็ขายปูขายปลาเปนตนที่สามีหามาไดบางคนก็ ทำสวนผลไมเมื่อเสร็จจากงานที่บานแลวก็มาทอผา
การทอผาสรางรายไดใหกับสมาชิกในกลุมเทาไหร และมีความเพียงพอหรือไม?
ภายในกลุมมีการแปรรูปผาทอเปนสินคาอะไร บาง?
ทำไมถึงรักในการทอผา?
ในอนาคตผาทอมือจะสูญหายไปจากตำบล เกาะยอหรือไม?
ครูยม:รายไดในการทอผาของแตละคนจะไมเทาเทียมกันขึ้น อยู ก ั บ ความชำนาญความถนั ด และที ่ ส ำคั ญ คื อ ความขยั น บางคนก็ได 5,000-9,000 บาท/เดือนบางคนก็ไดเพียงแค3,000 บาท/เดือนเพราะไมมีความชำนาญในการทอจึงทำใหทอชา ครูยม:เพราะมีความตองการจะที่อนุรักษและสืบสานภูมิปญญา ของชาวตำบลเกาะยอไวอีกทั้งการทอผาเปนงานฝมือที่ตองใชทั้ง ความอดทนและตองมีสมาธิสูงในการทอผาแตและผืนหากไมรัก ในการทอผาจริงๆก็ไมสามารถที่จะทำไดงายๆ
ระยะเวลาในการทอผาแตละผืนมากนอยแคไหน?
ครูนิตย:ระยะเวลาในการทอจะขึ้นอยูกับความชำนาญของคน ทอบางคนก็สามารถทอไดอยางรวดเร็วบางคนก็ทอไดชาเพราะ เกิดจากความไมถนัดและไมมีความชำนาญเพียงพคนที่มีความ ชำนาญแลวจะทอไดวันละ 3-4 หลา/วัน
ลายที่โดดเดน และกลุมผูบริโภคใหความสนใจ? ครูยม: - ลายรมไทร - ลายเกล็ดปลาขี้ตัง (เปนการนำเอาความสัมพันธของชุมชนมาคิดเปนลาย)
การผลิ ต มี ค วามเพี ย งพอต อ ความต อ งการของ ตลาดหรือไม?
ครูยม:การผลิตมีความเพียงพอตอความตองการของตลาดถา หากวามีออเดอรเขามาจำนวนเยอะตองอาศัยกลุมทอผากลุม อื่นๆดวย
ทำการตลาดอยางไร?
ครูยม:ในการทำการตลาดของกลุมทอผารมไทรคือออกงาน OTOP ทั่วประเทศอันไดแก OTOPCITY ,พาณิชของจังหวัด, กระทรวงวั ฒ นธรรม, กระทรวงอุ ต สาหกรรมเป น ต น ต อ งมี ความขยันในการอออกบูธจะไดมีออ- เดอรกลับมา
ครูยม:1. สมุดไดอารี่ 2. พวงกุญแจ 3. กระเปา 4. ผาปูโตะอาหาร
ครูยม:ในอนาคตก็ยังมีการทอผาดวยมืออยูอันเนื่องมา จากในปจจุบันยังมีบุคคลที่ใหความสนใจและรักการทอ ผาดวยมืออยูบางทางกลุมทอผารมไทรก็มีการสอนและ ถายทอดความรูตางๆในการทอผาใหแกบุคคลที่สนใจ และช า งทอผ า ทางกลุ ม ร ม ไทรเองก็ ไ ด ถ า ยถ า ยทอด ความรู ใ ห แ ก ล ู ก ๆหลานๆรุ น หลั ง ๆได ส ื บ ทอดต อ ไป
ทำไมถึงไมใชเครื่องจักรมาผสมผสานในการ ทอผา?
ครู ย ม:การใช ก ี ่ ก ระตุ ก ทอผ า เป น ภู ม ิ ป ญ ญามาตั ้ ง แต สมัยโบราณที่สืบทอดกันมานานจึงอยากที่จะอนุรักษการ ทอผาดวยกี่กระตุกเอาไวเพื่อไมใหสูญหายไปจากตำบล เกาะยอ
สิ่งที่ฝากถึงใหคนรุนหลังใหอนุรักษการทอผาไ ว ? ครูยม:ปลุกจิตสำนึกคนในทองถิ่นโดยเฉพาะเยาวชน ใหตะหนักถึงคุณคาและแกนสาระและความสำคัญ ของภูมิปญญาการทอผาสงเสริมสนับสนุนและสืบทอด การนำภูมิปญญาการทอผาและการใชผาทอเกาะยอ กับประเพณี เชน การหมพระเจดียเขากุฏิการใชเปน ผานุง นาคกอนบวชพระ เปนตนสรางจิตสำนึกของ ความเปนทองถิ่นในดานตางๆ เชน รวมกันสรางเอก ลักษณของทองถิ่นเชนสรางพิพิธภัณฑผาทอเกาะยอ ขึ้นเพื่อรวบรวมผาลายตางๆของทองถิ่นทั้งในอดีตและ ปจจุบนั เพือ่ เปนศูนยกลางแหงความภาคภูมใิ จของชุมชน เปนตน
๒๖
กลุมแมบานเกษตรกร ทอผาเกาะยอ
ความเป น มา.... ของกลุมแมบานเกษตรกร
ทอผาเกาะยอ...
กลุมแมแมบานเกษตรกรทอผาเกาะยอจัดตั้งโดย ครูสมหมาย พงศพฤกษ เพื่อตองการที่จะสืบสานศิลปวัฒนธรรม หรืออาชีพทองถิ่นนั่นคือการทอผาใหยั่งยืนถาวรสืบไปซึ่งเปนเอกลักษณของชาวเกาะยออีกทั้งยังเปนอาชีพของชาวบานให ชาวบานไดมีงานทำแบบเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัวไดใหพออยูพอกินและตองการใหตำบล เกาะยอแหงนีเ้ ปนชุมชนทีเ่ ขมแข็งพึง่ พาตนเองไดไมเปนภาระของใครทางรัฐบาลไดเล็งเห็นความสำคัญของการทอวาวาเปน อาชีพทีด่ งี ามบงบอกถึงความเปนเอกลักษณของชาวเกาะยอทางรัฐบาลจึงมีความประสงคและอยากมีสว นรวมในการอนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรมหรือหัตถกรรมการกอผาใหยง่ั ยืนทางเกษตรจังหวัดจึงเปนผูร เิ ริม่ ใหมกี ารจัดตัง้ กลุม ทอผาขึน้
๒๗
สมาชิกในกลุมมีจำนวนกี่คนแลวสวนมากแตละ คนจะประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก? สมาชิ ก ในกลุ ม แม บ า นเกษตรกรก็ ม ี จ ำนวน20คน ไมสามารถบอกไดวาสามชิกในกลุมนั้นประกอบอาชีพใด เปนอาชีพหลักเพราะบางคนนั้นก็ประกอบอาชีพหลายอยาง ด ว ยกั น เช น ทำการประมงเลี ้ ย งปลากะพงรั บ ซั ก ผ า จาก โฮมสเตยทำสวนผลไมเมื่อเสร็จจากงานตรงนั้นก็จะมาทอผา ทำไมถึงรักในการทอผา? เพราะผาทอเปนศิลปะและภูมิปญญาตองสืบสานของดี เกาะยอไวใหมันยั่งยืนตลอดไปเพราะวาทางหนวยงานราชการของจังหวัดมีความประสงคที่จะใหมีของดีประจำจังหวัด ที่บงบอกถึงความเปนตัวตนของจังหวัด ระยะเวลาในการทอผาแตละผืนมากนอยแคไหน? ระยะเวลาในการทอผานั้นก็ขึ้นอยูกับความชำนาญของแตละ บุคคลบางคนที่มีความชำนาญแลวในหนึ่งวันก็สามารถทอ ได4-6หลา
ในอนาคตผ า ทอมื อ จะสู ญ หายไปจากตำบลเกาะยอ หรือไม? ในอนาคตการทอผาดวยกี่กระตุกก็ยังคงอยูในตำบลเกาะยอ แหงนี้เพราะสืบเนื่องจากวาผาทอเกาะยอมีมานานตั้งแต สมั ย อยุ ธ ยาจวบจนป จ จุ บ ั น นี ้ ร าว300กว า ป แ ล ว ก็ยังไมสูญหายไปจากตำบลในทางกลับกันผาทอเกาะยอยัง สรางชื่อเสียงให ชาวเกาะยออันเปนที่รูจักของคนทั่วประเทศ
ลายไหนโดดเดน และกลุมผูบริโภคใหความสนใจ? - ลายดอกจันทรหอม - ลายลูกแกว - ลายราชวัตถ (ลายดั้งเดิม) ภายในกลุมมีการแปรรูปผาทอเปนสินคาอะไรบาง? 1.สมุดไดอารี่ 2.พวงกุญแจ 3.กระเปาตังใสเหรียญ 4.ดอกไม 5.ตัดเย็บเปนเสื้อสูท
ทำไมถึงไมใชเครื่องจักรมาผสมผสานในการทอผา? การทอผาดวยกี่กระตุกมีมาชานานแลวจึง อยากที ่ จ ะอนุ ร ั ก ษ ก ารทอผ า ด ว ยภู ม ิ ป ญ ญานี ้ เ อาไว
สิ่งที่ฝากถึงใหคนรุนหลังใหอนุรักษการทอผาไว แตละจังหวัดตางมีของดีของเดนที่แสดงถึงความเปนเอก ลักษณบงบอกความเปนตัวตนของที่นั้นๆซึ่งเกาะยอมีของดี คือ“ผาทอเกาะยอ”ปจจุบันมีชื่อเสียงเลื่องลือมากจึงอยากให ชาวเกาะยอมีความพึงพอใจของดีในตำบลและอยากใหมี การสวมใสผาทอของเกาะยอเพื่อเปนตัวอยางเนื่องจากวา เกาะยอเปนแหลง ผลิตของผาทอนั่นเอง
ชีวา ผาทอ
นาเอยนารัก ดวยมีใจ ใฝร� ภูมิปญญา คือของดี อาชีพเดน เปนเอกลักษณ ศูนยทรามวัยฯ มีใจ ใสสรางงาน
ภาพหนูนอย ร�จัก ถักทอผา สืบชีวา ผาทอ ตอโบราณ เพราะคุณคา มากนัก จึงสืบไว กลุมแมบานฯ คือกลุม ผูสอนเอย ๒๘