Research Paper 14th Mangrove National Seminar [Thai]

Page 1


ประมวลผลงานวิจัย

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” ระหวางวันที่ 7 – 8 กันยายน พ.ศ. 2554 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

พิมพครั้งที่ 1 : 2554

จัดพิมพโดย: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 120 หมู 3 ชั้น 5-9 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 www.dmcr.go.th

พิมพที่: บริษัท แดเน็กซ อินเตอรคอรปอเรชั่น จํากัด 100/470 ถนนเสนานิคม แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 โทร 0-2942-0195 แฟกซ 0-2942-0331 Website: www.ProTexts.com


คํานํา

คํานํา กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เปนหนวยงานหลักที่มีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการ ทรัพยากรชายฝงทะเล ใหความสําคัญกับทรัพยากรปาชายเลนซึ่งเปนทรัพยากรที่มีคุณคาทางดาน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะชุมชนชายฝงไดรับผลประโยชนทั้งทางตรงและทางออม จากปาชายเลนเปนอยางมาก ในขณะเดียวกันการทําลายทรัพยากรปาชายเลนมีผลกระทบตอวิถีชีวิต กับชุมชนชายฝงดวยเชนกัน ปจจุบันมีหลายหนวยงาน หลายองคกร รวมทั้งชุมชนชายฝงไดใหความ รวมมือในการบํารุงรักษาปาชายเลนมากขึ้น มีการศึกษาวิจัย การทดลอง การลงมือปฏิบัติของชุมชน หลายทองที่ ทั้งที่ดําเนินการเอง รวมมือกับองคกรตางๆ มีความสําเร็จและเกิดแนวทางการบริหาร จัดการที่สามารถนําเปนแบบอยางไดเปนอยางดี จนเปนผลทําใหทรัพยากรปาชายเลนมีความอุดม สมบูรณ และมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นเปนลําดับ การจัด สัม มนาปา ชายเลนแหง ชาติ ครั้ง ที่ 14 มีค วามประสงคใ หห นว ยงานองคก รตางๆ ประชาชนทุกระดับ รวมทั้งเยาวชนไดมีโอกาสนําองคความรูและประสบการณ ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่ง กันและกัน ไดกําหนดหัวขอสัมมนา เรื่อง ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน ประกอบไป ดวยการนําเสนอผลงานทางวิชาการดานการจัดการปาชายเลนอยางยั่งยืนโดยชุมชน ดานการฟนฟูปา ชายเลนเพื่อปองกันภัยพิบัติ และดานปาชายเลนกับการแกไขปญหาโลกรอน นอกจากนี้ไดจัดใหมีการ บรรยายพิเศษเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 มีเวทีการอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้งระดับนานาชาติ และระดับประเทศ มีการจัดนิทรรศการดานปาชายเลนจากองคกรตางๆ เพื่อใหความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศปาชายเลน และ การจัดการที่ประสบความสําเร็จ ไดมีหนวยงานจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สื่อมวลชน ผูนํา ทองถิ่น และประชาชนในทองที่ แสดงเจตจํานงเขารวมเปนจํานวนมาก การจัดสัมมนาครั้งนี้จะกอใหเกิด ความรู มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ และที่สําคัญจะนําสูการกําหนดเปนนโยบายดานปาชายเลน ตอไป กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ขอขอบคุณวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งชุมชนทองถิ่น ที่ไดใหความรวมมือ สนับสนุนการจัดสัมมนาปาชายเลนแหงชาติครั้งนี้ใหบรรลุ ตามวัตถุประสงค หวังวารายงานสัมมนาฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูที่ปฏิบัติงานดานทรัพยากรปาชายเลน ทรัพ ยากรชายฝง ทะเล และผูที่เ กี่ย วขอ ง ไดนํา ไปเปน องคค วามรูเ พื่อ พัฒ นาการดํา เนิน งานใหมี ประสิทธิภาพ สรางความอุดมสมบูรณใหกับทรัพยากรปาชายเลนและชายฝง และเสริมสรางความเปนอยู ของชุมชนชายฝงใหมีความเขมแข็ง อยางยั่งยืนสืบไป กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

i


ii

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


สารบัญ

สารบัญ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค ผลที่คาดวาจะไดรับ ระยะเวลาและสถานที่จัดสัมมนา หนวยงานผูรับผิดชอบการดําเนินงาน กําหนดการ

บทความวิจัย session 1 : การจัดการปาชายเลนอยางยั่งยืนโดยชุมชน การอนุรักษที่กินได การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต โชติ ถาวร___________________________________________________________________1 ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน ชเนตตี มิลินทางกูร__________________________________________________________11 บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลและชายฝง บริเวณ อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ภูสิต หอเพชร ______________________________________________________________23 การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับการฟนฟู ทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ประทีป มีคติธรรม___________________________________________________________37 โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่ งยืน : กรณีศึกษาการมีสวนรวม ของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย อภิวันท กําลังเอก____________________________________________________________51 แนวทางการจัดการปาจาก โดยใชภูมิปญญาทองถิ่น (กรณีศึกษา : บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช) กฤษฎา สุทธินุน_____________________________________________________________63 การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง-ทุงไพร วีณา หนูยิ้ม_______________________________________________________________75 การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนา คุณภาพชีวิต ระวี ถาวร _________________________________________________________________87 ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึกนามิ จ.พังงา และจ.ระนอง ประดิษฐ บุญปลอด _________________________________________________________99

iii


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สารบัญ(ตอ) ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพกับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง : กรณีศึกษาชุมชนชายฝง ในพื้นที่อาวไทยตอนใน กาญจนา วิเศษ_____________________________________________________________111 เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน จังหวัดสตูล ประนอม ชุมเรียง ___________________________________________________________127 Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

ศิริวรรณ ศิริบุญ___________________________________________________________137

บทความวิจัย session 2 : การฟนฟูปาชายเลนเพื่อปองกันภัยพิบัติ การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลนเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา บุษยา บุนนาค ______________________________________________________________151 การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ____________________________________________________159 การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศชายฝงในพื้นที่ อันดามันตอนบน สมศักดิ์ สุนทรนวภัทร ______________________________________________________169 ความดกไข อัตราการฟก อัตราการรอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พรกมล สิงหคํา____________________________________________________________177 สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน (Limonoids from Xylocarpus sp.) ขนิษฐา พุดหอม____________________________________________________________191 การใชหอยสีแดง Ovassiminea Brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร ณัฐกิตทิ์ โตออน __________________________________________________________299 ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทยตอนบน ไพรินทร เพ็ญประไพ_______________________________________________________213

iv


สารบัญ

สารบัญ(ตอ) ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก สุชาติ สวางอารียรักษ _______________________________________________________225 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผ ตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอน ระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สมภพ รุงสุภา______________________________________________________________239 ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย(Aegialitis rotundifolia) พันธุไมปา ชายเลนที่หายาก ในจังหวัดภูเก็ต สมบัติ กาญจนไพหาร_______________________________________________________249 แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์_______________________________________________________259

บทความวิจัย session 3 : ปาชายเลนกับการแกไขปญหาโลกรอน แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน นพรัตน กายเพชร__________________________________________________________277 สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย สาพิศ ดิลกสัมพันธ_________________________________________________________285 การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี วิจารณ มีผล______________________________________________________________299 ตนจาก : พืชทางเลือกใหมที่มีศักยภาพเพื่อการผลิตแอททีนอล N.Matsui_________________________________________________________________319 ชีววิทยาหนอนผีเสื้อ วิชัย สมรูป________________________________________________________________325 การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกัน ที่อาวทุงคา – สวี จังหวัดชุมพร สุธาทิพย อํานวยสิน________________________________________________________339 ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี ดรุณี เจียมจํารัสศิลป_______________________________________________________349 นิเวศวิทยาของไมพังกา – ถั่วขาว จังหวัดสตูล ประนอม ชุมเรียง___________________________________________________________363

v


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สารบัญ(ตอ) ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล ประนอม ชุมเรียง_________________________________________________________375 สมการแอลโลเมตรีทั่วไปสําหรับประเมินมวลชีวภาพรากของไมลําพูและแสมขาว ศศิธร พวงปาน__________________________________________________________387 การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตรัง จังหวัดตรัง ดํารงค โลหะลักษณาเดช___________________________________________________395 โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง สิทธิโชค จันทรยอง_______________________________________________________405 การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี วสันต จันทรแดง ________________________________________________________419 การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนตํามะลัง จังหวัดสตูล วัชระ สงวนสมบัติ________________________________________________________431

บทความสมทบ : กิจกรรมการอนุรกั ษฟน ฟูทรัพยากรปาชายเลน การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกันการกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยตะวันออก ประสาร เอี่ยมวิจารณ_____________________________________________________445 ปาชายเลนชุมชนบานแหลมฉบัง เมื่อเขตนิคมอุตสาหกรรมลอมปา โรงเรียนวัดแหลมฉบัง____________________________________________________455

vi


หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ได ท รงวางแนวทางปฏิ บั ติ เพื่ อ นํ า หลั ก เศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการอนุรักษและจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน การศึกษาความอุดมสมบูรณ ทางชีวภาพ กระบวนการที่เกี่ยวของ และทุนทางสังคมเพื่อศึกษาทัศนคติของชุมชน ความเขมแข็งของ ชุมชน ตลอดจนการมีสวนรวมของชุมชน เปนเงื่อนไขเบื้องตนที่สําคัญที่จะผลักดันใหมีการดําเนินการ รวมกัน เพื่อใหมีความเปนไปไดในการฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ปาชายเลนเปนทรัพยากรชายฝงทะเลที่มีคุณ คาทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอ ม มีคุ ณค ามากมายมหาศาล ป จจุ บั นพบว า ปาชายเลนยั งมี ค วามเสื่อ มโทรมกระจายอยู ทั่วไป ทั้ ง นี้ เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เชน การนําทรัพยากรมาใชประโยชนเกินกําลังของธรรมชาติจะผลิต ทดแทนได การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งกอสราง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เปนตนทําใหเกิดผลกระทบอยาง รุนแรงตอสภาพนิเวศปาชายเลนโดยตรง ในขณะเดียวกันพบวา ปจจุบันมีหลายชุมชน หลายองคกร ไดตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลนจึงไดมีการรวมมือกันฟนฟู และอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ใหกลับคืนสูความอุดมสมบูรณ มีการใชประโยชนจากปาชายเลนเปนไปในแนวทางที่ยั่งยืน ซึ่งควรที่จะ ไดมีโอกาสเผยแพรเปนแบบอยางที่ดีใหกับชุมชนชายฝงเปนแนวทางของการฟนฟูและอนุรักษ เพื่อคืน สูความอุดมสมบูรณใหกับชายฝงไดกลับคืนมา การจัดสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะใหนักวิชาการ นักวิจัย ผูที่เกี่ยวของทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชนชายฝง ไดมีโอกาสเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนประสบการณ เสนอแนะความคิดเห็น เพื่อที่จะไดนําผลจากการสัมมนา ไปใชในการจัดการ กําหนดเปนกรอบและ แนวทางในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนของประเทศที่ทันตอสถานการณและการเปลี่ยนแปลงของ กระแสโลก ภายใตหัวขอ “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

vii


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

วัตถุประสงค 1. เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ฯ เนื่ อ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 2. เพื่อเปดโอกาสใหนักวิชาการ นักวิจัย ผูปฏิบัติงานดานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง จากหนวยงานตางๆ รวมทั้งผูที่สนใจทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ไดมีโอกาสนําเสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ วิทยานิพนธ และรวมแลกเปลี่ยนความรู เสนอขอคิดเห็นและประสบการณ เพื่อนําไปสู การวางแผนการจัดการทรัพยากรปาชายเลนในอนาคต 3. เพื่อใหทราบถึงสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ที่เกี่ยวกับดานทรัพยากรทางทะเล ชายฝง ปาชายเลน ชุมชนชายฝง ปญหาโลกรอน รวมทั้งแนวทางการแกไขปญหาตางๆ และนโยบายที่ จะเกิดขึ้น 4. เพื่อเผยแพรความรู ผลงานวิจัย เทคนิคใหมๆ และประสบการณ ที่จะนําไปใชในการ ปฏิบัติงานดานปาชายเลน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และมีการอนุรักษใหเกิดความอยางยั่งยืน 5. เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสเขาสู 1 ทศวรรษของกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ผูเขารวมการสัมมนา ไดรับความรู ความเขาใจ ประสบการณใหมๆ จากนักวิชาการ นักวิจัย และสามารถนําความรูที่ไดไปใชในการจัดการปาชายเลน ใหเกิดประโยชนในทุกดานไดอยาง ยั่งยืน 2. เสริมสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน ที่มีการ เสนอความคิดเห็นและผลักดันการดําเนินการรวมกัน 3. ใชเปนกรอบและแนวทางในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนของประเทศ ที่ทันตอ เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ระยะเวลาและสถานที่จัดสัมมนา กําหนดจัดประชุมสัมมนาปาชายเลนแหงชาติครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” ในวันที่ 7 - 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ หนวยงานผูรับผิดชอบการดําเนินการ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

viii


กําหนดการ

กําหนดการ การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” 7 - 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ 7 กันยายน 2554 08.00 – 09.30 น. 09.30 – 10.00 น.

10.00 – 10.20 น. 10.20 – 11.20 น.

11.20 – 12.00 น.

12.00 – 13.00 น. 13.00 – 15.00 น.

ลงทะเบียน พิธีเปดการประชุมสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 - ฉายวิดีทัศน เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน - อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กลาวรายงาน - รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนประธานกลาวเปดการสัมมนา - มอบรางวั ล ดี เ ด น ด า นอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรป า ชายเลน ให กั บ ชุ ม ชน องคกร จํานวน 9 รางวัล และถายภาพรวมกัน พักรับประทานอาหารวาง บรรยายพิเศษเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554งานพระราชดําริ ในการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บรรยายพิเศษ เรื่องยุทธศาสตรการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน : ดานทรัพยากรธรรมชาติชายฝงทะเล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 11 โดย คุณลดาวัลย คําภา รองเลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พักรับประทานอาหารกลางวัน การบรรยายพิเศษ ในหัวขอ Nature…Future…of Mangroves Ecosystem of the Region

ดําเนินรายการโดย ดร.จําเนียร วรรัตนชัยพันธ - “Role of mangroves in ecosystem based adaptation” -

by Dr. Donald Macintosh, IUCN “Coastal Erosion and Blue Carbon/The role of healthy oceans in binding carbon” by Dr. Ellik Adler, COBSEA Coordinat0r, UNEP

ix


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กําหนดการ(ตอ) -

-

15.00 – 15.15 น. 15.15 – 17.00 น. 8 กันยายน 2554 09.00 – 10.30 น.

10.30 – 10.45 น. 10.45 – 12.00 น.

“Managing of Coastal Forests for Climate Change : How Forests management helps tackel climate change” by Mr. Jeremy Broadhead, FAO “Community-based Mangrove Forest Management: Ensuring Livelihood Security and Sustainable Natural Resource Development of Coastal Community การจัดการปาชายเลน

โดยชุม ชน: ความมั่น คงแหง ชีวิต และความยั่ง ยืน ในการพัฒ นา ทรัพยากรของชุมชนชายฝง โดย คุณ สมหญิง สุนทรวงษ, RECOFTC พักรับประทานอาหารวาง ชมนิทรรศการและวิดีทัศน

การอภิปรายเรื่อง “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” ผูดําเนินการอภิปราย นายอภิชาติ ดําดี ผูรวมอภิปราย ดร.เกษมสันต จิณณวาโส อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ศ.ดร.สนิท อักษรแกว ประธานสมาคมปาชายเลนนานาชาติ ดร.สงเกียรติ ทานสัมฤทธิ์ ผูอํานวยการสถาบันลูกโลกสีเขียว อ.ศิริวรรณ ศิริบุญ รองคณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พักรับประทานอาหารวาง การนําเสนอผลงานวิชาการดาน การอนุรักษ ฟนฟู คุมครอง ปองกัน การ ใชประโยชน และความยั่งยืนดานปาชายเลน (แบงเปน 3 Sessi0n) ประกอบดวย Session 1 : การจัดการปาชายเลนอยางยั่งยืนโดยชุมชน ประธาน Session : อ.ศิริวรรณ ศิริบุญ, เลขานุการ : นางวีณา หนูยิ้ม - การอนุรักษที่กินได การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชน อาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต โดย โชติ ถาวร - ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน โดย ชเนตตี มิลินทางกูร และบุศริน บางแกว - บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทาง ทะเลและชายฝง บริเวณอาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ภูสิต หอเพชร และพิมพาภรณ ทองแซม

x


กําหนดการ

กําหนดการ(ตอ) -

-

12.00 – 13.00 น. 13.00 – 14.30 น.

การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ควบคูกับการ ฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี โดย ประทีป มีคติธรรม โครงการพั ฒ นาแผนธุ ร กิ จ จากการพึ่ ง พิ ง ป า ชายเลนอย า งยั่ ง ยื น : กรณีศึกษาการมีสวน รวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย โดย รศ.อภิวันท กําลังเอก

พักรับประทานอาหารกลางวัน Session 2 : การฟนฟูปาชายเลนเพื่อปองกันภัยพิบัติ ประธาน Session : รศ.ดร.นพรัตน บํารุงรักษ , เลขานุการ : นางประนอม ชุมเรียง - การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลน เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องในวโรกาสพระ ชนมพรรษา 80 พรรษา โดย รศ.บุษยา บุนนาค - การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณ นากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร โดย ผศ.สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ - การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศ ชายฝงใน พื้นที่อันดามันตอนบน โดย สมศักดิ์ สุนทรนวภัทร - ความดกไข อัตราการฟก อัตราการรอด และการเจริญเติบโตของปูแสม กามขาว(Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการ ศึกษาวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โดย พรกมล สิงหคํา - สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน (Limonoids from Xylocarpus sp.) โดย ขนิษฐา พุดหอม

14.30 – 14.45 น. 14.45 – 16.00 น.

พักรับประทานอาหารวาง Session 3 : ปาชายเลนกับการแกไขปญหาโลกรอน ประธาน Session : ดร.ลดาวัลย พวงจิตร , เลขานุการ : ดร.วิจารณ มีผล - แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน โดย นพรัตน กายเพชร - สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย โดย สาพิศ ดิลกสัมพันธ

xi


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กําหนดการ(ตอ) - การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7 - 10 ป ที่ปลูก -

16.00 น.

ในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี โดย วิจารณ มีผล ตนจาก : พืชทางเลือกใหมที่มีศักยภาพเพื่อการผลิตแอททีนอล โดย N. Matsui ชีววิทยาหนอนผีเสื้อ โดย วิชัย สมรูป การสังเคราะหดว ยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่อาวทุงคา – สวี จังหวัดชุมพร โดย สุธาทิพย อํานวยสิน

เดินทางกลับ

หมายเหตุ การนําเสนอผลงานวิชาการเรื่องละ 15 นาที และจะมอบรางวัลการนําเสนอผลงานทุกเรื่อง

xii


“การอนุรักษที่กินได” การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต “Conservation of Edible” Mangrove Forest Management by the Community : Case Study Paklok Bay Communities, Phuket Province.

โชติ ถาวร1 สมศักดิ์ ศรีสันติสุข2 โนริยูกิ ซูซูก3ิ ขนิษฐา นันทบุตร4 1,2

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน 43000 3 Faculty of Law and Letter, University of the Ryukyus, Japan 4 สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 43000 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเพื่อสะทอนใหเห็นการอนุรักษปาชายเลนที่ประสบผลสําเร็จในการ จัดการโดยคนในชุมชน โดยเปนการศึกษา 2 ชุมชนในชุมชนอาวปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต คือ ชุมชนบานปาคลอก และชุมชนบานบางโรงถึงแมทั้ง 2 ชุมชนจะมีความแตกตางในบริบททางสังคม ดานศาสนา แตมีผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการโดยชุมชนที่ประสบสําเร็จเหมือนกัน ทั้งนี้เพราะชุมชนใช การจัด การป า ชายเลนโดยการพยายามทํา ใหป ระชาชนในชุ มชนได เ ห็ นว า ป า ชายเลนเป นสิ่ ง ที่ มี คุณประโยชนแกชีวิตของเขาที่สามารถสัมผัสได เรียกวา เปน “การอนุรักษที่กินได” โดยชุมชนทั้งสองแหง ไดสรางกลุมและสวัสดิการชุมชนในรูปแบบตาง ๆ เพื่อสรางความมั่นคงใหกับคนในชุมชน ไดแก การจัดตั้งกลุมออมทรัพย ธนาคารขาวสาร การใหทุนการศึกษาแกบุตรหลานในชุมชนศึกษาตอใน ระดับสูง ฯลฯ เปนตน ซึ่งผลของการดําเนินการดังกลาวนอกจากจะทําใหคนในชุมชนมีความมั่นคงใน ชีวิตมากขึ้น ก็ยังทําใหเกิดความเชื่อมโยงถึงประโยชนของการมีปาชายเลนดวย คําสําคัญ: ปาชายเลน การจัดการปาชายเลนชุมชน อาวปาคลอก


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract This study aimed to reflect the significant impact of Community-based Forest Management on mangrove conservation. The study of two communities namely; Ban Paklok and Ban Bang-rong in Paklok Bay, Phuket Province revealed that even though the two communities are different in terms of religious context, the Community-based Forest Management provided the same result. The key factors are community awareness and understanding. The management helped to convince local people on the benefits of mangrove that leads to the well-being of local communities in terms of consumption by saying that “conservation is edible”. The mangrove management in the two communities was not limited to only mangrove planting but also generating many activities for the sustainable development of mangrove and communities’ well-being such as setting up savings group, constructing bank of rice as well as providing scholarship to young generation for upgrading their knowledge which in terns will benefit the communities in the future. Keyword: Mangrove forest, Mangrove forest management, Paklok Bay

บทนํา ประเทศไทยเปน ประเทศที่อ ยู ในเขตรอ นชื้น จึง เปน ประเทศหนึ่ งที่ มี ค วามหลากหลายทาง ชีวภาพสูง โดยมีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ตั้งแต “ยอดเขาถึงทะเล” ที่สามารถหลอเลี้ยงชีวิต ประชาชนในประเทศและเผื่อแผไปยังประเทศอื่น ๆ ได อยางไรก็ตามการพัฒนาประเทศในระยะเวลา เกื อ บ 50 ป ที่ ผ า นมาภายใต แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 1 ทํ า ให ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้จํานวนไมนอยไดหายไปพรอมกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและเนนการ สงออกเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเปนสําคัญ จนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 ไดขอสรุปการพัฒนาที่ผานมาวา “เศรษฐกิจดี แตสังคมมีปญหา และการพัฒนาไมยั่งยืน” แมไดมีการตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากแนวทางการพัฒนาดังกลาว โดยเฉพาะการพยายาม สงเสริมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติกันมากขึ้นดวยรูปแบบตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค ประชาชน แตดูเหมือนวาจะไมอาจสําเร็จไดตามที่ตั้งเปาหมายไว การดําเนินการเปนเพียงการอนุรักษ ตามกระแสนิยมเทานั้น และไมนานหลายกลุมหลายพื้นที่ก็ลมหายไป เชนเดียวกับการอนุรักษปาชายเลน ซึ่งเปนปาที่มีอยูในชายฝงภาคตะวันออก ภาคกลางฝงอาวไทย และภาคใตทั้งสองฝงทะเล โดยเฉพาะฝงทะเลอันดามัน ไดแก ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง สตูล และภูเก็ต ถือไดวาเปนพื้นที่ที่มี ปาชายเลนมากที่สุดในประเทศไทย กระแสการอนุรักษปาชายเลนเกิดขึ้นอยาง แพรหลายภายหลังการบุกรุกอยางหนักตั้งแตการสัมปทานปาชายเลนเพื่อทําไมเผาถาน และตอดวย ธุรกิจนากุง จนนํามาสูการปดปาและฟนฟูปาชายเลนตั้งแต พ.ศ 2539 เปนตนมา โดยเฉพาะการให ประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการปาชายเลน ซึ่งชุมชนในจังหวัดตรังนําโดยสมาคมหยาดฝน ถือ เปนตนแบบใหกับชุมชนปาชายเลนอื่นไดทําตาม อยางไรก็ตาม ตลอดระยะเวลาที่ผานมาหลายชุมชน ไดพยายามลุกขึ้นมาจัดการปาชายเลนดวยคนในชุมชนเอง ทั้งที่เกิดขึ้นโดยสํานึกของคนในชุมชน และ 2


“การอนุรักษที่กินได” การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต

การกระตุนของหนวยงายภายนอกชุมชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรพัฒนาเอกชน จนหลาย ชุมชนคนในชุมชนเริ่มออกมาทํากิจกรรมดูแลและจัดการปาชายเลนกันอยางกวางขวางในระยะเริ่มแรก และมีจํานวนไมนอยที่ผูคนในชุมชนถอยหางไปเรื่อยๆ ดวยเหตุผลตางๆ ของแตละคนโดยเฉพาะการ ไมสามารถทนที่จะทําการอนุรักษไวโดยไมใชประโยชนได ดวยเหตุดังกลาวนี้ บางชุมชนจึงพยายาม หาทางออกของปญหานี้ ดวยการทําการอนุรักษปาชายเลนในรูปแบบใหม เพื่อใหประชาชนในชุมชน เห็นวา การอนุรักษปาชายเลนไมใชเปนแคการเก็บไวเฉยๆ หรือแคภาคภูมิใจวาไดรับการยกยองจาก หนวยงานภายนอกวารักษาป าชายเลนได แตคนในชุมชนยังยากจน และลําบากเหมือนเดิม การ อนุ รั ก ษ รู ป แบบใหม นี้ คื อ “การอนุ รั ก ษ ที่ กิ น ได ” ซึ่ ง เป น การอนุ รั ก ษ ป า ชายเลนที่ ป ระชาชนยั ง ได ประโยชนจากปาชายเลนดวย วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยการสังเกต สัมภาษณ และการสนทนา กับ ประชาชนที่เกี่ยวของกับปาชายเลนทั้ง 2 ชุมชนที่ศึกษา คือ ชุมชนบานปาคลอก และชุมชนบานบางโรง ในพื้นที่อาวปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยเฉพาะ ผูนําและสมาชิกกลุมอนุรักษฯ

แผนที่แสดงอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต

3


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการศึกษาและวิจารณ 1. ผลการศึกษา สํา หรับ ผลการศึก ษา ผูวิจัย จํา แนกการนํา เสนอออกเปน 2 สว น คือ สว นแรก กลา วถึง กระบวนการการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน และสวนที่ 2 กลาวถึง ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการปาชาย เลนโดยชุมชน อยางไรก็ตามในสวนแรกจะกลาวถึงลักษณะโดยทั่วไปของอาวปาคลอกเพื่อเปนขอมูล เบื้องตนสําหรับการทําความเขาใจในประเด็นตอไป อาวปาคลอก เปนหนึ่งในอาวพังงา อยูทางทิศตะวันออกของเกาะภูเก็ต มีพื้นที่ครอบคลุม 5 ใน 9 ชุมชนในตําบลปาคลอก แตมีเพียง 2 ชุมชน ที่ครอบคลุมทั้งชุมชน คือ ชุมชนบานปาคลอก และชุมชน บานบางโรง เปนอาวที่ไมถูกรบกวนจากการพัฒนาการทองเที่ยวมากเหมือนกับอาวอื่นๆ ในเกาะภูเก็ต ถึงแมความเปนเมืองจะเริ่มเขามาสูชุมชนผานการทองเที่ยวมากขึ้นก็ตาม ประชาชนในอาวปาคลอก สวนใหญยังคงดํารงชีวิตแบบดั้งเดิม คือ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก เชน ทําสวน ยางพารา ผลไม ปลูกผัก เปนตน ขณะเดียวกันยังอาศัยทะเลทั้งเปนอาชีพรองและแหลงหาอาหารตาม ธรรมชาติ นอกจากนี้ประชาชนสวนใหญในอาวปาคลอก นับถือศาสนาอิสลาม รองลงมาคือศาสนาพุทธ แตประชาชนทั้งสองศาสนายังคงมีความสัมพันธกันที่ดีตอกัน และศาสนายังมีสวนสําคัญในการจัดการ ปาชายเลนโดยชุมชนของอาวปาคลอกดวย สําหรับการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนอาวปาคลอก และ ผลที่เกิดขึ้น มีดังนี้ 1.1 การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน การจัดการปาชายเลนโดยชุมชนของชุมชนอาวปาคลอกของทั้ง 2 ชุมชน สามารถจําแนกออก ไดเปน 5 ชวงเวลา หรือ 5 ยุค ดังตอไปนี้ 1.1.1 ยุควิกฤติ เปนชวงเวลาที่ทั้ง 2 ชุมชน ซึ่งเปนชุมชนที่ประชาชนใชประโยชนจากทะเล และปาชายเลนเพื่อการยังชีพและการสรางรายไดเลี้ยงดูครอบครัว ในชวงเวลานี้นอกจากปาชายเลนจะ ถูกทําลายโดยการสัมปทานปาชายเลนใหนายทุนโรงเผาถานแลว ในเวลาตอมาโดยเฉพาะชวง พ.ศ. 2530 – 2539 ธุรกิจนากุงไดขยายตัวมายังพื้นที่นี้ นอกจากนี้ในทะเลยังถูกแยงทํามาหากินโดยเรือง ประมงพาณิชย ไดแก อวนลาก อวนรุน สิ่งเหลานี้ไดทําใหทั้งปาชายเลนที่เปนแหลงเพาะเลี้ยงและ อนุบาลสัตวน้ําถูกทําลาย ขณะเดียวกันในทะเลสัตวน้ําตัวเล็ก ๆ รวมทั้งแมพันธุถูกทําลายไมตางกัน ทําใหประชาชนในอาวปาคลอกมีความยากลําบากในการทํามาหากินกับทะเลดังที่ผานมา บางสวนตอง อพยพไปหางานทําในเมือง ขายแรงงานเปนลูกจางบริษัท ขายบานขายที่ และปญหาสังคมอื่น ๆ 1.1.2 ยุคกอตัว เมื่อประชาชนประสบปญหาจากการลดลงของพื้นที่ปาชายเลนและสัตวน้ําใน ทะเล ที่สามารถสัมผัสไดจึงเกิดการพูดคุยสนทนากันตามสถานที่พบปะกันอยางไมเปนทางการของ ประชาชนในชุมชนทั้งสองแหง โดยชุมชนบานปาคลอก ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ การพบ กันที่วัดในชวงวันพระและเทศกาลตาง ๆ การนั่งดื่มน้ําตาลเมา หลังจากเลนตะกรอดวยกันทุกวัน และ ในชว งเวลาที่นั่ ง รอเวลาที่ เหมาะสมสํา หรับ การลงทะเลที่ ช ายหาด สํา หรับ ชาวชุ ม ชนบา นบางโรง 4


“การอนุรักษที่กินได” การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต

ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม การพบปะกันอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้งเมื่อไปละหมาดที่ มัสยิด การพบปะกันที่รานน้ําชาที่มีอยูทั่วไปในหมูบาน บริเวณเหลานี้ถือเปน “พื้นที่สาธารณะ (public sphere)” ของชุมชน ที่ประชาชนทั้งสองชุมชนพูดคุยกันเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการลดลงของ พื้น ที่ ปา ชายเลนและสั ต วน้ํ า ในทะเล จนกลายเปน กระแสในวงกว างในระดั บชุ ม ชน เปน ที่ รับ รู กั น โดยทั่วไป 1.1.3 ยุคเคลื่อนไหว ชุมชนบานปาคลอก ถือไดวาเปนชุมชนที่ประชาชนในชุมชนมีการ เคลื่อนไหวเกิดขึ้นกอนชุมชนบานบางโรงเพียงเล็กนอย และประสบการณของชุมชนบานปาคลอกได ส ง ผลต อ ชุ ม ชนบ า นบางโรงในเวลาต อ มา โดยชุ ม ชนบ า นป า คลอกเคลื่ อ นไหวจากการร ว มมื อ กั บ เจ า หน า ที่ ก รมประมงออกจั บ อวนลาก อวนรุ น หน า อ า วป า คลอก และการจั บ รถแม็ ค โฮของ บริษัทเอกชนที่กําลังเปดพื้นที่เพื่อทํานากุงจนแกนนําคนสําคัญของชุมชนถูกยิงเสียชีวิต นอกจากนั้น ไดเดินทางเขาพบหนวยงานราชการที่เกี่ยวของโดยการนําของเจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชน ไดแก เขาพบผูวาราชการจังหวัด การเคลื่อนไหวในชวงนี้ทําใหชุมชนบานปาคลอกไดรับการยอมรับจาก หนวยงานที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะไดรับรางวัลจากสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ที่ตําหนัก ทักษิณราชนิเวศน เมื่อ พ.ศ.2543 1.1.4 ยุคการสรางความมั่นคงใหกับชีวิตของประชาชนในชุมชน แมชุมชนบานบางโรงจะไม โดดเดนในยุคเคลื่อนไหวเชนชุมชนบานปาคลอก แตมีการทํางานภายในชุมชนและบางสวนเคลื่อนไหว ผานเครือขายประมงพื้นบาน นอกจากนั้นการทํางานภายในชุมชนบานบางโรงในชวงที่เริ่มตระหนักตอ ปญหาที่เกิดขึ้นไดทําการอนุรักษปาชายเลนโดยการเก็บไวใชประโยชนเพื่อสวนรวม แตบทสรุปของ ชุมชนพบวาลมเหลวคนหายไปเรื่อย ๆ แกนนําชุมชนจึงหันมาทบทวนสิ่งที่ทํามาในอดีตแลวไดขอ สรุปวา ตองทําให “การอนุรักษที่กินได” โดยการทําใหประชาชนเห็นวาปาชายเลนมีประโยชนตอประชาชนใน เชิงรูปธรรม สามารถแกไขปญหาของเขาไดดวย ดังนั้นชุมชนบานบางโรงจึงเริ่มตนดวยการสรางกลุม ออมทรัพยฯ ที่ดําเนินการภายใตหลักการศาสนาอิสลาม การทําการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ โดยมีรานคา ชุมชน แพเลี้ยงปลา เรือคายัคนํานักทองเที่ยวเที่ยวชมปาชายเลน ฯลฯ ผลผลิตของกิจกรรมเหลานี้ นํามาสรางเปนสวัสดิการใหกับสมาชิกชุมชน เปนการสรางความมั่นคงใหกับประชาชนในชุมชน ทําให คนเห็นประโยชนของปาชายเลน สวนชุมชนบานปาคลอก แมจะดําเนินการในชวงนี้ไมมากมายเหมือน ชุมชนบานบางโรง แตก็มีการจัดตั้งกลุมออมทรัพย ธนาคารขาวสาร กลุมเครื่องแกง กลุมเครื่องมือ ประมง ทําใหประชาชนในชุมชนไดประโยชนเชนกัน และที่ทําการกลุมอนุรักษที่บริเวณหาดทาหลา ยังเปนที่พบปะ รวมตัวของประชาชนในชุมชน ดูแลปาชายเลนและทะเลไปในตัวดวย

5


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

1.1.5 ยุคการพัฒนาสูความเปนสถาบันหรือการสรางความยั่งยืน เปนยุคที่ทาทายตออนาคต ของทั้งสองชุมชน โดยชุมชนบานปาคลอกสามารถผลักดันใหปาชายเลนทั้ง 2 แปลงที่อยูในชุมชน ไดรับการอนุมัติใหเปน ปาชายเลนชุมชนโดยกรมปาไม โดยแปลงแรกไดรับการอนุมัติเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. พ.ศ.2547 เนื้อที่ 400 ไร และแปลงที่ 2 ไดรับอนุมัติเมื่อวันที่ 11 พ.ค.2554 เนื้อที่ 374 ไร ถือได วาชุมชนไดรับการยอมรับจากหนวยงานภายนอกวาสามารถจัดการปาชายเลนโดยคนในชุมชนได ระดั บ หนึ่ ง แล ว รวมทั้ ง การมี ก ลุ ม เยาวชน “รั ก ษ บ า นเรา” ที่ เ ข ม แข็ ง มี ผ ลงานเป น ที่ ย อมรั บ ใน ระดับประเทศ และยังมีการสรางเยาวชนรุนตอมาใหทําหนาที่สืบตอ สวนชุมชนบานบางโรง แมปาชายเลน ในพื้นที่ยังไมไดประกาศเปนปาชายเลนชุมชน แตไดพยายามสรางคนรุนใหมใหมาทําหนาที่สืบทอด เจตนารมณของคนรุนปจจุบัน โดยการใหทุนการศึกษาในระดับสูง เพื่อใหกลับมาเปนบุคลากรที่ทํางาน ใหกับชุมชนในอนาคต รวมทั้งการสรางสวัสดิการที่หลากหลายใหกับคนในชุมชนเปนสิ่งสําคัญที่ทําให ชุมชนสามารถรักษาปาชายเลนไวไดอีกนาน 1.2 ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน จําแนกไดดังนี้ 1.2.1 การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปาชายเลน ในพื้นที่ของทั้ง 2 ชุมชน หลังจากถูกทําลายไปพรอม กับการสัมปทานทําไมเพื่อเผาถานเชิงพาณิชย และการทํานากุง หลังจากชุมชนไดเขามาจัดการดวย ตนเองพื้นที่ปาชายเลนกลับมาอุดมสมบูรณอีกครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะชุมชนบานปาคลอก ไดรับการ อนุมัติจากกรมปาไมเปนปาชายเลนชุมชนถึง 2 แปลง ดังกลาวตอนตน 1.2.2 การเพิ่มขึ้นของสัตวน้ํา เมื่อพื้นที่ปาชายเลนอุดมสมบูรณ ทําใหเปนแหลงเพาะเลี้ยง และอนุบาลสัตวน้ําที่เหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง ประกอบกับเรือประมงเชิงพาณิชยไมสามารถทํามาหากินใน อาวปาคลอกที่อุดมสมบูรณดวยแนวหญาทะเล ซึ่งเปนแหลงอาศัยของสัตวน้ําไดอีกตอไป ทําใหสัตวน้ํา มีจํานวนเพิ่มขึ้น บางชนิดที่สูญหายไปจากอาวก็กลับมาอีกครั้งหนึ่ง เชน ปลิงทะเล เปนตน 6


“การอนุรักษที่กินได” การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต

1.2.3 ประชาชนในชุมชนมีความมั่นคงในชีวิตเพิ่มขึ้น เมื่อสัตวน้ําเพิ่มจํานวนขึ้น การทํามา หากินของประชาชนในบริเวณอาวปาคลอกแมไมไดทําเปนอาชีพหลัก แตสามารถใชเปนอาหารและ สรางรายไดเล็ก ๆ นอย ๆ ใหกับครอบครัวในการดํารงชีวิตได โดยเฉพาะการทํา “การอนุรักษที่กินได” ทําใหประชาชนไดมีสวัสดิการชุมชนในหลายดาน ทั้งเงินออม แหลงเงินกูเพื่อใชในยามฉุกเฉิน มีบานมี ที่ดินจากการชวยเหลือของกลุม เด็กและเยาวชนมีทุนการศึกษา คนเจ็บปวย ชรา ไดรับการดูแล รวมทั้งคนเสียชีวิต ครอบครัวไดรับการชวยเหลือจากกลุมของชุมชนดวย ฯลฯ เปนตน 1.2.4 ชุม ชนมี ความเข มแข็ง และสามารถพึ่ ง ตนเองได โดยไมต อ งรอการชว ยเหลื อ จาก หนวยงานของรัฐ หรือหนวยงานภายนอกอื่น ๆ ดังที่ผานมา โดยชุมชนบานปาคลอก ใชพื้นที่บริเวณ หนาหาดทาหลาทั้งทํางานของกลุมและทํากิจกรรมตาง ๆ ตลอดวัน และยังเปนการเฝาดูแลปาชายเลน และทะเล โดยไมตองใชจายเงินในการจางพนักงานแตอยางใด และยังทําใหคนในชุมชนไดพบปะกัน เสมออีกดวย สวนชุมชนบานบางโรง นอกจากจัดสวัสดิการใหกับประชาชนในชุมชนแลว ยังไดมีการ จัดสรรผลกําไรจากการดําเนินงานของกลุมสวนหนึ่ง เปนงบประมาณของชุมชนสําหรับทําประโยชน สาธารณะของชุมชน โดยมีมัสยิดเปนศูนยกลางการบริหาร ไดแก การสรางมัสยิดของชุมชน เปนตน 2. วิจารณ การศึ ก ษาครั้ง นี้ อยูภายใต แ นวคิด การจัด การป าชายเลนโดยชุ มชนเป น ฐาน (CommunityBased Forest Management หรือ CBFS) ซึ่งเปนแนวคิดที่ถูกนํามาใชในการจัดการทรัพยากรอยาง กวางขวางทั่วโลก ตั้งแตตอนกลางทศวรรษ 1880 เปนตนมา ภายหลังที่การจัดการโดยรัฐและตลาดมี ขอจํากัด (Western, David and Wright, R.Michael, 1994) สําหรับประเทศไทยแนวคิดนี้ไดรับการ ตอบรับที่ชัดเจนในการสัมมนาระดับชาติที่จังหวัดภูเก็ต โดยการสนับสนุนขององคการอาหารและ เกษตรแหงสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ.2539 (รายละเอียดใน Nickerson, D.J. (Ed.) 1998) อยางไรก็ตาม แนวคิ ด นี้ ไ ด ถู ก นํ า มาใช ก อ นหน า นี้ ในการจั ด การป า ชายเลนโดยสมาคมหยาดฝน จั ง หวั ด ตรั ง (นพวรรณ สิริเวชกุล, 2536) รวมทั้งมีการกลาวถึงกันมากในวงวิชาการ เชน งานวิจัยของเสนห จามริก และคณะ (2536) เปนแนวคิดที่มีฐานคติ (Assumption) ที่สําคัญ คือ ใหความสําคัญกับสิทธิของชุมชน ในการจัดกรปาดวยตนเอง รวมทั้งการออกกฎเกณฑตาง ๆ ที่คนในชุมชนใหการยอมรับและเห็นพอง รวมกัน ซึ่งตางกับการจัดการปาโดยรัฐและตลาดกอนหนานี้ ที่ใหความสําคัญกับเงื่อนไขภายนอก ชุมชนมากกวาคนในชุมชน แมการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะศึกษา 2 ชุมชนที่แตกตางกันในบริบททางสังคมของชุมชนในอาว ปาคลอก ก็ไมไดเปนการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบเพื่อใหเห็นวาชุมชนไหนดีกวาอีกชุมชนหนึ่ง แต ตองการนําเสนอใหเห็นวาการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนเปนฐาน รวมทั้งการจัดการเรื่องอื่น ๆ ที่ ชุมชนเปนผูดําเนินการมีความแตกตางกันตามบริบททางสังคมของชุมชนแตละแหง รวมทั้งมีวิธีการ กระบวนการจัดการที่แตกตางกัน แตในที่สุดก็ไปสูเปาหมายที่ตองการเหมือนกันได เชนทั้ง 2 ชุมชนนี้

7


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

อยางไรก็ตาม จากการศึกษาทําใหเห็นความแตกตางในการจัดการของทั้ง 2 ชุมชนตามบริบททาง สังคมของชุมชนแตละแหง ที่นาสนใจ ดังนี้ 2.1 ชุมชนบานบางโรง ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม และมีมัสยิดเปนศูนยกลางใน การบริหารจัดการ ทําใหศาสนาเปนเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหชุมชนบานบางโรงประสบผลสําเร็จในการ จัดการปาชายเลนครั้งนี้ ในขณะที่ชุมชนบานปาคลอก แมศาสนาพุทธ ซึ่งประชาชนสวนใหญในชุมชน นับถือ จะไมมีอิทธิพลโดยตรงตอประชาชนในการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนมากนัก แตความเปน กลุมคนเดียวกันทั้งในระบบเครือญาติ การรูจักกันจากการเปนสมาชิกของชุมชนมาเปนเวลานาน การ เคยทํากิจกรรมรวมกันมาตอเนื่อง เชน นั่งกินน้ําตาลเมา เลนตะกรอวง เคยชวยกันทํานา สิ่งเหลานี้ ชวยใหชุมชนบานปาคลอกสามารถรวมตัวจัดการปาชายเลนไดอยางเขมแข็งมาตั้งแตตน 2.2 ความเอาจริ ง เอาจัง ของกลุ ม แกนนํา ในชุ ม ชนทั้ ง กลุ ม แกนนํ าที่ เ ป น ทางการและไม เ ป น ทางการ เปนองคประกอบที่สําคัญที่ทําใหการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนสามารถขับเคลื่อนไดอยาง ตอเนื่อง และเปนทิศทางของตนเองของแตละชุมชน รวมทั้งสามารถเผชิญกับอุปสรรคตาง ๆ ที่เขามา อยูเสมอได 2.3 ประชาชนในชุม ชนทั้ งที่ เปน แนวรว มหลัก และคนภายนอกชุ มชนที่เ ขามาเกี่ยวขอ งใน บางครั้ง มีความสําคัญไมนอยเชนกัน โดยเฉพาะประชาชนในชุมชนตองเห็นพองกันในแนวทางที่ ชุมชนกําหนดเปนแนวทางในการทํางาน ขณะที่คนภายนอกชุมชนจะเปนกระบอกเสียงใหกับชุมชน สําหรับคนภายนอกอื่น ๆ 2.4 การใชประโยชนจากหนวยงานภายนอก ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกร พัฒนาเอกชน ไมใชจะดูเหมือนวาชุมชนถูกหนวยงานเหลานี้ใชประโยชนเพียงฝายเดียว เชน การที่ ชุมชนสามารถเชิญผูวาราชการจังหวัดมาเปดปายปาชายเลนของชุมชนได ไมไดหมายถึงชุมชนยอม สยบอยูภายใตอํานาจรัฐ แตเปนการทําใหชุมชนมีอํานาจทางสังคมมากขึ้นดวย เพราะเปนการทําใหคน ภายในชุมชนที่ยังไมเห็นดวย หรือยังไมแนใจไดเห็นวาการทํางานของชุมชนไดรับการยอมรับจาก ภายนอกแลว 2.5 การอนุ รัก ษปาชายเลน ไมสามารถทําได เพี ย งแคก ารทําให ปา ชายเลนคงอยูกั บชุ มชน เทานั้น แตตองทําใหประชาชนในชุมชนและประชาชนอื่น ๆ ไดเห็นและสามารถเขาถึงประโยชนของ ปาชายเลนดวย โดยการทําใหเปน “การอนุรักษที่กินได” ดังที่ปรากฏขึ้นในทั้ง 2 ชุมชนที่กลาวมา ขางตน แมปาชายเลนจะเปนเรื่องของสวนรวม แตถาประชาชนในชุมชนยังยากจน หิวโหย มีปญหาก็ ไมสามารถแกไขปญหาปาชายเลนที่ถูกทําลายได การทําอนุรักษที่กินได ทําใหประชาชนในชุมชน ปลอดจากปญหาดังกลาว และเมื่อตัวเองมีความพรอมแลวก็จะเปนกําลังที่จะมาชวยชุมชนตอไป 2.6 การอนุรักษปาชายเลนของชุมชนอาวปาคลอก ไมไดหมายเฉพาะถึงการอนุรักษพื้นที่ปา ชายเลนเทานั้น แตขยายความไปถึงการอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําเทือกเขาพระแทว ปาชายเลนที่อยูใน 8


“การอนุรักษที่กินได” การจัดการปาชายเลนโดยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาวปาคลอก จังหวัดภูเก็ต

ชุ ม ชน และท อ งทะเลที่ อ ยู ด า นหน า ของทั้ ง 2 ชุ ม ชนด ว ย เพราะชุ ม ชนถื อ ว า ทุ ก ส ว นที่ ก ล า วมามี ความสัมพันธกัน สรุปผลการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนเปนฐาน ผูศึกษาเลือกพื้นที่ 2 ชุมชนในอาว ปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต คือ ชุมชนบานปาคลอก และชุมชนบานบางโรง เปน พื้นที่ในการศึกษา เปนการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยการสังเกต สัมภาษณ การสนทนา จากประชาชน ที่เปนแกนนําของชุมชนในการจัดการปาชายเลนทั้ง 2 ชุมชน รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ ในการจัดการปาชายเลนของชุมชน สําหรับการวิเคราะหอยูภายใตแนวคิดประชาสังคม แนวคิดอํานาจ ทางสั ง คมของชุ ม ชน และแนวคิ ด การจั ด การป า ชายเลนโดยชุ ม ชนเป น ฐาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค การศึกษา 2 ประการ คือ ศึกษากระบวนการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน และวิเคราะหผลที่เกิดขึ้น จากการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน โดยมีผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. กระบวนการจัดการปาชายเลนโดยชุมชน ทั้งสองชุมชนสามารถจําแนกออกไดเปน 5 ยุค หรือ 5 ชวงเวลา คือ ยุควิกฤติ เปนยุคที่ชุมชนเผชิญปญหาจากการลดลงของพื้นที่ปาชายเลน และการทํา การประมงเชิงพาณิชยในทะเลอาวปาคลอก ทําใหประชาชนในชุมชนไมสามารถหาอาหารจากทะเล เพื่อเลี้ยงชีพไดดังเชนที่ผานมา ยุคตอมาเปนยุคกอตัว โดยคนในชุมชนทั้งสองแหงเริ่มมีการพูดคุยถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่สาธารณะตาง ๆ ในชุมชน เชน รานน้ําชากาแฟ มัสยิด วัด วงดื่มน้ําตาลเมา เลนตะกรอ หรือระหวางรอเวลาลงหาสัตวทะเลที่ชายหาดทาหลา เปนตน ผลจากการพูดคุยดังกลาว บอยเขานํามาสูการเกิดขึ้นของระยะที่ 3 คือ ยุคของการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะชุมชนบานปาคลอก แสดงออกอยางชัดเจนในชวงเวลานี้ ทั้งการออกจับอวนลาก อวนรุนกับเจาหนาที่กรมประมง รวมทั้ง การจับคนทําลายปาชายเลนดวยตนเองโดยประชาชนในชุมชน การเขาพบหนวยงานราชการ รวมทั้ง การเขารวมเวทีประชุมสัมมนาตาง ๆ เมื่อการเคลื่อนไหวของประชาชนในชุมชนประสบผลสําเร็จใน ระดับหนึ่ง แกนนําของชุมชนเห็นวาการทําการอนุรักษอยางเดียวคงไมสามารถทําใหเกิดความยั่งยืนได รวมทั้งไมสามารถขยายแนวรวมไปสูประชาชนกลุมอื่น ๆ ได จึงเขาสูยุคที่ 4 คือ การสรางความมั่นคง ใหกับสมาชิกของชุมชน โดยทั้งสองชุมชนไดมีการกอตั้งกลุมตาง ๆ ทั้งกลุมอาชีพเพื่อสรางรายได ใหกับสมาชิกและประชาชนในชุมชน และการจัดสวัสดิการตาง ๆ เปนการทํา “การอนุรักษใหกินได” พื้นที่ปาชายเลนยังคงไดรับการดูแลรักษาโดยที่ประชาชนทั้งในและนอกชุมชนเห็นประโยชนอยาง ชัดเจน และมาถึงจุดที่ทาทายของทั้งสองชุมชนวาจะทําใหการอนุรักษปาชายเลนนี้ดํารงอยูไดยาวนาน เพียงใด จะลมเหลวเหมือนที่ผานมาหรือไม ทําใหขณะนี้ทั้งสองชุมชนกําลังอยูในชวงยุคที่ 5 คือ ยุค การพัฒนาสูความเปนสถาบัน หรือความยั่งยืน โดยชุมชนบานปาคลอก มีพื้นที่ปาชายเลน 2 แปลง ไดรับการอนุมัติจากกรมปาไมใหเปนปาชายเลนชุมชนแลว นั่นหมายถึงชุมชนไดรับการยอมรับจาก หนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบกอนหนานี้วาชุมชนแหงนี้มีความพรอมที่จะดูแลและจัดการปาชายเลน

9


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ดวยตนเองได ถึงแมปาชายเลนชุมชนบานบางโรงจะยังไมไดรับการประกาศจากกรมปาไมใหเปนปา ชายเลนชุมชนดังเชนชุมชนบานปาคลอก แตแกนนําของชุมชนบานบางโรงไดวางทิศทางการพัฒนาใน อนาคตไปสู “ชุมชนพึ่งตนเองไดในทุกดาน” จึงเปนสิ่งสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหการจัดการปาชายเลน ของทั้งสองชุมชนสามารถพัฒนาไปสูความเปนสถาบันได 2. ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการปาชายเลนโดยชุมชนทั้ง 2 แหง นอกจากทําใหมีพื้นที่ปาชายเลน เพิ่มขึ้นจนอุดมสมบูรณดังเชนที่ผานมา และสัตวน้ําในอาวปาคลอกไดเพิ่มจํานวนขึ้นจนประชาชน สามารถออกไปหาเลี้ยงชีพไดมากขึ้นแลว ยังสงผลใหประชาชนไดมีอาชีพรองจากอาชีพหลัก คือ การ ทําสวน มีรายได และยังไดรับสวัสดิการจากชุมชนที่สงผลตอความมั่นคงในชีวิตดวย ซึ่งเปนการสงผล ใหชุมชนมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองไดโดยไมตองรอการชวยเหลือจากรัฐ กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณผูนํากลุม ผูนําชุมชน และประชาชนในชุมชนบานปาคลอก ชุมชนบานบางโรงทุกคน

เอกสารอางอิง นพวรรณ สิริเวชกุล. (2536). “ชนมุสลิมกับการอนุรักษปาชายเลน”. สยามอารยะ 2 (7) มีนาคม 2536: หนา 124-127. เสนห จามริก และคณะ. (2536). ปาชุมชนในประเทศไทย: แนวทางการพัฒนา เลม 1 ปาฝนเขตรอน กับภาพรวมของปาชุมชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา. สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (มปป.) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 -2544). กรุงเทพฯ : สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. Nickerson, D.J. (Ed.). (1998). Community-based Fisheries Management in Phang-nga Bay, Thailand. Proceeding of the National Workshop on Community-based Fisheries Management organized by the Department of Fisheries of Thailand, FAO and the Bay of Bengal Programme, Thailand, 14-16 February 1996. FAO Regional Office for Asia and The Pacific, Bangkok, Thailand. Western, David and Wright, R. Michael. (1994). “The Background to Community-based Conservation” in Western, David and Wright, R. Michael, (edited) : Strum, Shirley C., associate editor. Natural Connections Perspective in Community-based Conservation. USA.: Island Press.

10


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน Mangrove Forests: Great Disaster Protection Possible Through Community Participation

ชเนตตี มิลินทางกูร1 บุศริน บางแกว2 1,2

วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

บทคัดยอ การใชประโยชนจากปาชายเลน เปนเรื่องที่เกิดขึ้นมานาน แตมุมมองของการใชประโยชนที่เกิดขึ้นเปน การมองเพียงผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจ ขาดความตระหนักถึงคุณคา และใชทรัพยากรปาชายเลน อยางผิดวิธี จนทําใหพื้นที่ปาชายเลนลดลงอยางรวดเร็ว การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติคลื่นสึนามิ เปรียบเสมือนการกระตุนใหชุมชนชายฝงไดเขาใจ และตระหนักถึงคุณคาของปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น บทเรียนครั้งนี้ ยอมเปนเครื่องเตือนใจ และเปนแรงขับใหชุมชนเตรียมตัวหาทางปองกันตนเอง ดังนั้น การเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนใหกับชุมชนจึงเปนหนทางเดียวที่จะชวยสรางกําแพงธรรมชาติที่ปกปองชุมชน จากภัยพิบัติที่สรางความเสียหายเชนนี้ได แตเงื่อนไขของความสําเร็จในการดําเนินงานเพื่อการอนุรักษ ฟ น ฟู และพั ฒ นาพื้ น ที่ ป า ชายเลน ต อ งเกิ ด จากความร ว มมื อ ร ว มใจของคนในชุ ม ชนเป น สํ า คั ญ การดําเนินงานเพื่อคืนสภาพปาชายเลนโดยชุมชนจึงจะประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืน คําสําคัญ: ปาชายเลน สึนามิ การมีสวนรวมของชุมชน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract People have long benefited from mangrove forests. However, they have only utilized the mangrove forests for economic gains, lacking awareness in the value of the forests and misusing the forest resources. This has led to the diminishing land area of the mangrove forests. The Tsunami disaster is prompted the community in the coastal area to become more aware of the value and utilization of the mangrove forests. These lessons motivate the community to find ways to protect themselves. Thus, the rehabilitation of mangrove area for the community is the only way to create a green belt to protect the community from future disaster. However, the one condition for the success of the rehabilitation and development of mangrove forests lies in the active participation of community member. The active community participation is vital for the long-lasting success of the rehabilitation of mangrove forests. Keyword: Mangrove forest, Tsunami, Community Participation

บทนํา การเกิดคลื่นยักษสึนามิ เปนปรากฏการณทางธรรมชาติ ที่กอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรง แมวาเหตุการณดังกลาว จะเกิดขึ้นไมบอยในประเทศไทย แตก็ไมไดหมายความวาจะไมมีโอกาส เกิ ด ขึ้ น อี ก (ธงชั ย ธนะสิ ง ห , 2547) การละเลยการป อ งกั น หรื อ การป อ งกั น ที่ ไ ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ยอมกอใหเกิดความสูญเสียซ้ําแลวซ้ําอีกในอนาคต แตถาคนในประเทศตระหนักถึงปญหา การเตรียม ความพรอมของประเทศไทยนาจะทําไดดีกวาประเทศในแถบอื่น เพราะประเทศไทยนับเปนประเทศที่ โชคดีที่มีทรัพยากรปาชายเลนอันมีคุณคามหาศาล และปาชายเลนไมเพียงแตรักษาสมดุลใหกับระบบ นิ เ วศชายฝ ง เท านั้ น แต ป า ชายเลนยั ง มี ป ระโยชน กั บ มนุ ษ ย ทั้ ง ทางตรงและทางอ อ มในด า นต างๆ มากมาย (ชเนตตี มิลินทางกูร, 2550) ประโยชน ป ระการสํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ที่ ค นทั่ ว ไปไม ไ ด ต ระหนั ก ถึ ง มากนั ก คื อ ป า ชายเลนมี ศักยภาพในการเปนแนวปราการธรรมชาติที่ปองกันคลื่นสึนามิไดเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก เหตุการณสึนามิที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 ไดสรางความเสียหายใหกับพื้นที่ที่ไดรับ ผลกระทบโดยตรง คือ พื้นที่ที่อยูติดชายฝงทะเล ซึ่งเปนบทพิสูจนใหเห็นวาปาชายเลนไดทําหนาที่ เสมือนกําแพงกั้น หรือลดแรงกระแทกของคลื่นที่โถมซัดเขามาสูชายฝง ซึ่งชวยลดความเสียหายที่ เกิดขึ้นไดในระดับหนึ่ง (พีระพิชญ ปานภัคดี, 2550) เพราะไมโกงกางมีระบบรากที่แข็งแรง และมี ลําตนใหญที่สามารถปองกันคลื่นลมไดดี (สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ สํานักงานประเทศไทย, 2550) นอกจากนี้ การศึกษาจากหลายหนวยงานและการยืนยันของชุมชนในทองถิ่นตางๆ ไดขอสรุปที่ ชัดเจนวาปาไมบริเวณชายฝงมีความสัมพันธกับความเสียหายตามแนวชายฝงที่เกิดจากภัยพิบัติสึนามิ ดวยการชวยลดความรุนแรงของคลื่น ลดผลกระทบที่จะเกิดกับชุมชนที่พักพิงอยูขางหลังพื้นที่ปาใน 12


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน

หลายพื้นที่ (สถาบันสิ่งแวดลอมไทย, 2553) ดวยประโยชนเชนนี้ สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลน ที่ 2 (2548) ไดสรุปความสําคัญของปาชายเลนกับสึนามิไว 4 ประการดวยกัน คือ 1. สึนามิสามารถทําลายปาชายเลนไดเพียงเล็กนอย ปาที่มีความสมบูรณจะถูกทําลายระยะไม เกิน 40 เมตร 2. การพังทลายและการกัดเซาะชายฝงจะไมเกิดขึ้นในบริเวณที่มีไมโกงกางขึ้นหนาแนน แมวา ตนไมจะหักโคน แตรากมีความสามารถในการยึดดินไว 3. ชุมชนที่อยูห ลังปาชายเลนที่มีพันธุไมขึ้นหนาแนนจะไมไดรับผลกระทบโดยตรงตอชีวิตและ ทรัพยสิน 4. ปาชายเลนใชเปนที่หลบภัยจากธรณีพิบัติภัยสึนามิไดเนื่องจากมีผูรอดชีวิตจากปาชายเลน จํานวนมาก จากเหตุการณธรณีพิบัติภัยสึนามิ พบวา ผลกระทบของคลื่นยักษสึนามิ ไดทําความเสียหาย อยางมหาศาลตอชีวิต ทรัพยสิน และทรัพยากรชายฝง ทั้งนี้เนื่องจากปจจุบันพื้นที่ปาชายเลนของ ประเทศไทยถูกบุกรุกทําลายจนอยูในสภาพที่เสื่อมโทรม และเหลืออยูนอยมาก ประชาชนที่อาศัยอยู ตามแนวชายฝงจึงไดรับผลกระทบโดยตรงมากกวาประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่อื่นๆ ของประเทศ (บุศริน บางแกว และศิริวรรณ ศิริบุญ, 2550) จากการทําลายปาชายเลนในอดีต ทําใหปาชายเลนที่ เหลืออยูมีไมมากพอที่จะทําหนาที่เปนปราการในการปองกันภัยจากคลื่นสึนามิ นอกจากนี้ คลื่นยักษที่ เกิดขึ้นยังสรางความเสียหาย และทําลายพื้นที่ปาชายเลนใหลดนอยลงอีก ซึ่งสถานีวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรปาชายเลนรายงานสํารวจเบื้องตนพบวา ปาชายเลนเสียหายประมาณ 1,912 ไร ซึ่งเกือบ ทั้งหมดเปนปาชายเลนของจังหวัดพังงา (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2548) แตความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากการรับแรงปะทะคลื่นของปาชายเลน ก็ไดสรางความตระหนักถึงคุณคาของปาชายเลน มากกวาประโยชนทางดานเศรษฐกิจ (ศิริวรรณ ศิริบุญ, 2550) ดังนั้น แนวทางหนึ่งที่สามารถชวยแกไข วิกฤติของความไมแนนอนจากเหตุการณภัยพิบัติสึนามิที่ชุมชนชายฝงทะเลตองเผชิญ คือความรวมมือ รวมใจของชุมชนในการสรางกําแพงปองกันธรรมชาติที่ดีที่สุด และลงทุนนอยที่สุด นั่นคือการรวมมือ กันอนุรักษ และฟนฟูปาชายเลนใหอยูคูกับชุมชนชายฝงทะเลสืบตอไป วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการรวบรวมแนวคิดและประมวลภาพที่นาสนใจและเปนประโยชนตอการ จัดการทรัพยากรปาชายเลน โดยอาศัยผลการวิจัยโครงการ “การประเมินผลกระทบจากคลื่นสึนามิดาน ประชากร เศรษฐกิจ สัง คม และศัก ยภาพของชุม ชน : ชุม ชนชายฝง ทะเลอัน ดามัน ” ที่วิท ยาลัย ประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เก็บรวมรวมขอมูลโดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ในชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2548 ซึ่งชุมชนที่เลือกศึกษา เปนชุมชนที่มี ลักษณะวิถีชีวิตที่แตกตางกัน 2 ชุมชนที่ตองประสบกับเหตุการณสึนามิในป 2547 เชนเดียวกัน คือ

13


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ชุมชนบานน้ําเค็ม หมู 2 ตําบลบางมวง อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา และชุมชนบานบางโรง หมู 3 ตําบลปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผลการศึกษา และวิจารณ พื้นที่วิจัยที่ศึกษาทั้ง 2 แหงมีความแตกตางกันโดยสิ้นเชิง ทั้งดานอาชีพ วิถีชีวิต และความ เปน อยู หมูบานน้ําเค็ม จัง หวัด พัง งา เปนพื้ นชายฝงทะเลที่ใกลกั บชายแดนประเทศพม า ทํ าให มี แรงงานตางชาติเขามาเปนลูกเรือประมงจํานวนมาก นอกจากนี้ อัตราการยายถิ่นเขามาหางานในพื้นที่ มีสูง ในขณะที่ชุมชนบานบางโรง จังหวัดภูเก็ต เกือบรอยละ 95 นับถือศาสนาอิสลาม มีวิถีชีวิต มีความ ผูกพันรวมกับชุมชนมาเปนเวลายาวนาน ขอมูลจากตารางที่ 1 พบวา เกือบรอยละ 70 ของบานบางโรง เปนคนดั้งเดิมที่อาศัยอยูในชุมชนตั้งแตเกิด ในขณะที่บานน้ําเค็มมีไมถึงครึ่งหนึ่งที่เปนคนดั้งเดิมใน พื้นที่ เพราะสวนใหญเปนคนจากที่อื่นยายถิ่นเขามา แตที่นาสนใจคือ การเขามาอาศัยอยูในชุมชนบาน น้ํ า เค็ ม เกื อ บ 1 ใน 3 อยู ม านานกว า 20 ป ซึ่ ง แสดงว า ส ว นใหญ ที่ ย า ยถิ่ น เข า มาอยู ใ นลั ก ษณะที่ คอนขางถาวร จุดนี้นาจะเปนประเด็นสําคัญในการสงเสริมความรวมมือในชุมชน เพราะการเขามาอยู ในลักษณะคอนขางถาวร หรืออยูเปนเวลานาน การสงเสริมเพื่อสรางจิตสํานึก หรือการรวมตัวในการ ทํากิจกรรมตางๆ ยอมสามารถดําเนินการไดถามีการวางแผน และมีเปาหมายรวมกันที่ชัดเจน ตารางที่ 1 รอยละของสมาชิกในครัวเรือนตามสถานที่เกิด และระยะเวลาการอยูอาศัยในชุมชน ประเด็นที่ศึกษา บานน้ําเค็ม จ.พังงา สถานที่เกิดของสมาชิกในครัวเรือน เกิดในหมูบาน 46.0 เกิดที่อื่น 54.0 รวม 100.0 (1,359) ระยะเวลาของการอาศัยอยูในชุมชน ตั้งแตเกิด 45.2 นอยกวา 5 ป 8.9 5 - 9 ป 3.2 10 - 14 ป 5.4 15 - 19 ป 5.4 20 ปขึ้นไป 31.9 ไมทราบ ไมตอบ 0.0 รวม 100.0 (1,359)

14

บานบางโรง จ.ภูเก็ต

รวม

69.1 30.9 100.0 (752)

54.2 45.8 100.0 (2,111)

68.8 11.2 3.6 3.6 2.7 10.0 0.3 100.0 (752)

53.6 9.7 3.3 4.8 4.4 24.1 0.1 100.0 (2,111)


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน

จากเหตุ ก ารณ สึ น ามิ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายในหมู บ า นทั้ ง 2 แห ง แม ว า จะได รั บ ผลกระทบและมีระดับความรุนแรงที่ไมเทากัน แตบางครั้งการเกิดเหตุการณที่มีผลกระทบทั้งทางตรง และทางออมกับตนเอง อาจจะกอใหเกิดความตระหนักตอการสูญเสีย และสงผลใหชาวชุมชนพยายาม หาวิธีการปองกันตอไป การประเมินความเสียหายของหมูบานที่ศึกษาทั้ง 2 แหง จากตารางที่ 2 พบวา คนในชุม ชนบานน้ําเค็มเกือ บครึ่ งหนึ่ง ไดรั บผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ อม สวนอีก ประมาณ ครึ่งหนึ่งไดรับผลกระทบทางตรงอยางเดียว สําหรับผลทางตรงที่กระทบมากที่สุด คือการสูญเสียอาชีพ การสูญเสียบานพักอาศัย และอุปกรณทํามาหากินถูกทําลาย สวนผลกระทบทางออมของชุมชนบาน น้ําเค็มคือผลกระทบตอจิตใจ เพราะหลังจากเหตุการณทําใหคนในชุมชนเกิดความหวาดผวากับคลื่นที่ โถมเขามา สําหรับบานบางโรง มีประชากรตัวอยางเพียง 1 ใน 4 ที่รายงานวาไดรับผลกระทบทางตรง และมีเพียงเล็กนอยที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม เพราะมีเกือบรอยละ 40 ที่รายงานวา ตนเองไมไดรับผลกระทบจากเหตุการณสึนามิที่เกิดขึ้น สวนผลที่กระทบกับชุมชนบางโรงมากที่สุดคือ ผลกระทบในเรื่องการประกอบอาชีพ ตองสูญเสียเครื่องมือในการประกอบอาชีพ ตารางที่ 2 รอยละของประชากรที่ศึกษาตามความรูสึกถึงผลกระทบที่ไดรับจากสึนามิ จําแนกตาม ชุมชน ประเด็นที่ศึกษา ผลกระทบที่ไดรับจากสึนามิ ไมไดรับผลกระทบ ไดรับผลกระทบทางตรง ไดรับผลกระทบทางออม ทั้งทางตรงและทางออม รวม ผลทางตรงที่ไดรับ สูญเสียบาน/ที่พักอาศัย บาน/ที่พักเสียหาย มีคนในบานเสียชีวิต การประกอบอาชีพ หมดตัว สุขภาพจิตเสีย ศูนยเสียทรัพยสิน/อุปกรณทํากิน ไดรับบาดเจ็บ ผลกระทบทางออมที่ไดรับ รายไดลดลง

บานน้ําเค็ม จ.พังงา

บานบางโรง จ.ภูเก็ต

รวม

3.6 47.5 1.5 47.5 100.0 (394)

37.5 25.6 19.3 17.6 100.0 (176)

14.0 40.7 7.0 38.2 100.0 (570)

50.8 27.5 28.1 57.8 9.4 2.1 14.2 3.2

1.3 3.8 1.3 87.2 0.0 1.3 12.8 1.3

42.3 23.5 23.5 62.8 7.7 2.0 13.9 2.9

39.5

80.0

49.3 15


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 2 (ตอ) ผลกระทบตอจิตใจ สูญเสียทุกอยาง/ไมมีอนาคต บาดเจ็บ ตองออกจากโรงเรียน

66.3 4.4 0.5 1.0

26.2 0.0 0.0 0.0

56.7 3.3 0.4 0.7

ความรูสึกถึงการสูญเสียหรือการไดรับผลกระทบจากเหตุการณสึนามิทั้งทางตรงและทางออม มี สวนชวยใหชุมชนไดตระหนักถึง มหันตภัย และหาทางปองกันตนเอง เพราะความไมแนน อนของ ธรรมชาติ ไดนําความสูญเสียมาสูชุมชนอยางไมอาจคาดการณได ความประมาท หรือบทเรียนในอดีต ยอมเปนเครื่องเตือนใจ และเปนแรงขับใหชุมชนเตรียมตัวหาทางปองกัน การรอความหวังจากภาครัฐ ในการเข า มาช ว ยเหลื อ หรื อ ป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ต ามธรรมชาติ คงเป น หนทางที่ ต อ งอาศั ย เวลา และ งบประมาณ หากชุมชนไดมีการเตรียมการรับมือดวยตนเอง นาจะเปนสิ่งที่ยั่งยืนกวา การเตรียมการ อยางหนึ่งที่ชุมชนสามารถดําเนินการเองได และไมตองอาศัยงบประมาณมากนัก คือการอนุรักษและ ฟนฟูปาชายเลน เพื่อใหเปนเสมือนกําแพงธรรมชาติที่ปกปองชุมชนจากภัยธรรมชาติ ซึ่งการเกิด เหตุการณสึนามิเปนโอกาสอันดีที่จะทําใหชุมชนตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลนมากยิ่งขึ้น ชูชาติ :

จริงๆ แลววิกฤตเกิดขึ้นมาจริงๆ แลวเนี่ยคือ ถาไมเกิดสึนามิเนี่ยชาวบานก็จะ มองภาพเนี่ย มองเห็นก็จริงแตมันเปนภาพที่มันชา ไมมีตัวกระตุน ก็คือทํายังไงก็ ไดที่จะใหเกิดโอกาสใหได เพราะวาเราเอาตัวนี้มาเปนเครื่องยืนยันบอกวาตั้งแต เกือบปแลวนะที่เราสูญเสียครั้งใหญหลวงเนี่ย เราจะสรางอะไรใหกับชุมชนบาง ตอนนี้ทุกที่ที่ผมมองก็คืออยากจะสรางปาใหกับชายหาด ไมวาจะเปนตนสน ตน โกงกาง ตนอะไรเนี่ยเราเริ่มที่จะสรางใหกับหาดแลว

ผูสัมภาษณ : เพราะฉะนั้นตัวสึนามินี้เปนตัวเอื้อ เหมือนกับตัวกระตุน ชูชาติ : ใช ผมมองตรงนั้ น เลย คื อ มั น มาทํ า ลายแล ว ก็ เ ป น การสร างด ว ย ผมว า ไม ใ ช รา ยแรงนะ คือ การรา ยแรงเกิ ด ขึ้น กั บ คนคนที่ สู ญ หายไปแล ว ก็จ ริ ง แต ค วาม สูญเสียตรงนั้นเนี่ยมันตองเปนบทเรียนใหกับคนที่ยังอยู ผมวาคนที่ยังอยูเนี่ย จะตองคิดใหมาก ตองคิดใหเยอะวาเราจะทํายังไงที่จะปองกันธรรมชาติได เห็น ไหมวาญี่ปุนสรางกําแพงไวยังไมทานเลย แตถาสรางปาไวผมวาโอกาสที่จะ คือ ถาหากเกิดขึ้นจริงๆ ปาก็สูญเสียไปไมถึง 20 ไร สัมภาษณเชิงลึก ชุมชนบานบางโรง จังหวัดภูเก็ต 16


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน

ผลการสํารวจความเสียหายพื้นที่ปาชายเลน พบวา บานน้ําเค็ม จังหวัดพังงา ไดรับผลกระทบ จากภัยพิบัติสึนามิสูงสุด ปาชายเลนถูกทําลายราบหมดเปนระยะทาง 10-50 เมตร เพราะเปนพื้นที่ดิน เลนงอกใหม และอยูติดกับปากอาวรับทะเลมากที่สุด ในขณะที่ปาชายเลนบานบางโรงไดรับผลกระทบ เพียงระดับน้ําทะเลขึ้นสูงทําใหโกงกางริมฝงโคนลมเพียงบางสวน (Paphavasit et al. 2009; พิมพ จันทร สุวรรณดี, 2551) ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษา ในตารางที่ 3 ที่ชุมชนบานน้ําเค็มเกือบรอยละ 60 รายงานวาปาชายเลนในพื้นที่เสียหายอยางมาก ในขณะที่ชุมชนบานบางโรงปาชายเลนเสียหาย เพียงเล็กนอย สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ หลังจากเหตุการณสึนามิ ชุมชนทั้ง 2 แหงไดมองเห็นประโยชน และ ความสําคัญของปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนนิมิตหมายอันดียิ่งตอการกระตุนใหคนในชุมชนรวมมือ กั น อนุ รั ก ษ แ ละฟ น ฟู ท รั พ ยากรป า ชายเลน การมองเห็ น ประโยชน ร ว มกั น ของชุ ม ชน ก อ ให เ กิ ด ความรูสึกอยากมีสวนรวมในการดําเนินงาน หรือกิจกรรมตางๆ ดวยความเต็มใจ ซึ่งเปนความรูสึกที่ ออกมาจากภายใน ยอมทําใหการดําเนินการฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนทําไดงาย และ ยั่งยืนยิ่งกวากิจกรรมที่ไดรับการกระตุนหรือสงเสริมจากภายนอก ผู สั ม ภาษณ : ในความรู สึ ก ของชาวบ า นเนี่ ย ถ า เที ย บความรู สึ ก ของชาวบ า นที่ เ ห็ น ความสําคัญของปาชายเลนนะคะ กอนเกิดสึนามิกับหลังเกิดสึนามิเนี่ยเขาเห็น ความสําคัญของปาเพิ่มขึ้นไหมคะหรือยังไง ถวิล : เพิ่มขึ้นเยอะมาก ทุกคนพูดเปนเสียงเดียวกันเราไมตองไปบอกเลย เออบานเรา ถาไมมีปาตรงนี้นะคงโดนเยอะนะ นี่คือพูดเปนเสียงเดียวกันเลย จริงๆ แลวเนี่ย มันเปนผลอยางที่ผมบอกวาตั้งแตบรรพบุรุษมาเลย มันเปนคุณกับคนบางโรงมา ตั้งแตบรรพบุรุษ ผูสัมภาษณ : แตตอนนั้นเหมือนกับวาถึงเราจะพูดกันไปเนี่ย ก็จะไดแตฟงจากหูใชไหม ถวิล : ใช มันคือเรื่องจริง ก็คือมองดูแลวมันเกิดจากภาพจริง คือจับตองไดมองเห็นได วามันเกิดจากตรงนี้จริงๆ เลย สัมภาษณเชิงลึก ชุมชนบานบางโรง จังหวัดภูเก็ต

17


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 3 รอยละของประชากรที่ศึกษาตามความรูสึกถึงความเสียหายของปาชายเลน และความรูสึก ตอความสําคัญของปาชายเลนระหวางกอนและหลังเหตุการณสึนามิ จําแนกตามชุมชน ประเด็นที่ศึกษา บานน้ําเค็ม จ.พังงา บานบางโรง จ.ภูเก็ต สึนามิทําใหปาชายเลนในหมูบานไดรับความเสียหาย ไมเสียหายเลย 6.1 46.0 เสียหายแตนอยมาก 16.0 43.2 เสียหายพอสมควร 15.0 4.5 เสียหายมาก 56.9 5.7 ไมทราบ 6.1 0.6 รวม 100.0 (394) 100.0 (176) ความรูสึกที่มีตอความสําคัญของปาชายเลนระหวางกอนและหลังเกิดสึนามิ เพิ่มขึ้น 51.5 74.4 เทาเดิม 39.8 25.0 ลดลง 6.6 0.6 ไมทราบ 2.0 0.0 รวม 100.0 (394) 100.0 (176) เหตุผลที่เห็นความสําคัญของปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น รูดวยตนเองวากันสึนามิไดจริง/รักษา 83.7 96.9 สิ่งแวดลอม ไดขอมูลจากสื่อวากันสึนามิได 10.3 1.5 มีการประชาสัมพันธในชุมชน/ญาติพี่ 6.9 3.1 นอง เปนแหลงเพาะพันธุสัตว/เปนแหลง 3.0 1.5 อาหาร ประเด็นที่ศึกษา บานน้ําเค็ม จ.พังงา บานบางโรง จ.ภูเก็ต เหตุผลที่เห็นความสําคัญของปาชายเลนลดลง ปองกันสึนามิไมได 34.6 0.0 ชีวิตไมเกี่ยวของกับปา 11.5 0.0 ไมไดประโยชนอะไรจากปา 57.7 100.0

รวม 18.4 24.4 11.8 41.1 4.4 100.0 (570) 58.6 35.3 4.7 1.4 100.0 (570) 88.9 6.9 5.4 2.4 รวม 33.3 11.1 59.3

การอนุรักษ สงเสริมและฟนฟูปาชายเลน เปนประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเพื่อแกไขปญหาปา ชายเลนของประเทศ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถึงชุมชนหลายแหงไดพยายามจัดกิจกรรมในการ ปลู ก ป า ชายเลนในเขตพื้ น ที่ ช ายฝ ง เพื่ อ การอนุ รั ก ษ และสงวนรั ก ษาป า ชายเลนให ค งอยู ต อ ไป 18


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน

โดยเฉพาะหลั งจากเหตุการณสึ นามิ ไดมี ความพยายามปลู กปาชายเลนขึ้ นมากมาย แตสวนมาก ประสบกั บ ป ญ หาขาดการดู แ ลรั ก ษาที่ ดี ห ลั ง การปลู ก รวมถึ ง มี ก ารปลู ก ที่ ใ ช ช นิ ด และพั น ธุ ไ ม ที่ ไ ม เหมาะสมกับพื้นที่ ดังนั้น ความสําเร็จของโครงการปลูกปาชายเลนจึงมีนอย ดวยเหตุนี้จึงตองหาผูที่ เหมาะสมที่สุดในการดูแลบํารุงรักษาปาชายเลนหลังการปลูกซึ่งก็คือ ชุมชนในพื้นที่ การมีสวนรวมควร เริ่มตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการปลูกหรือควรสงเสริมใหชุมชนดําเนินการเอง เพราะสิ่งที่สําคัญที่สุด คือการใหชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ และมีสวนรวมในการดําเนินการ นอกจากนี้การปลูกซอมแซม ก็เปนเรื่องที่ตองใหความสําคัญดวยเชนกัน (สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ, 2550) ดังนั้น สํานึก ความรับผิดชอบและการดูแลปาชายเลนของชุมชนจึงเปนเรื่องสําคัญยิ่ง ชุมชนบานบางโรง เปนตัวอยางหนึ่งของชุมชนชายฝงทะเลที่ประสบความสําเร็จในเรื่องของการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในระดับสูง โดยเฉพาะเรื่องของปาชายเลน เพราะชุมชนมี การดําเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนอยางเปนรูปธรรมที่ชัดเจน มีการแบงหนาที่ ความรับผิดชอบดูแลปาชายเลนของชุมชน นอกจากนี้ ชุมชนยังมีระบบการบริหารจัดการ และใช ประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนอยางเปนระบบ มีการจัดตั้งโครงการทองเที่ยวเกษตรเชิงอนุรักษ รวมถึงการมีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติไวบริการนักทองเที่ยว เชน การพายเรือคายัก การชมการ เลี้ยงปลาในกระชัง รวมทั้งการจัดตั้งรานอาหารสวัสดิการชุมชน ซึ่งสรางรายไดใหกับชุมชนทางหนึ่ง (พีระพิชญ ปานภัคดี, 2550) ดวยเหตุนี้ ปาชายเลนจึงเปรียบเสมือนเสนโลหิตหลอเลี้ยงชีวิตของชุมชน อยางแทจริง เพราะชุมชนสํานึกในคุณคา และมองเห็นประโยชนของปาชายเลน จนนํามาใชเปนหลัก ในการดําเนินชีวิตที่ตองพึ่งพิงกับธรรมชาติอยางที่เปนอยู ในขณะที่ชุมชนบานน้ําเค็ม เปนชุมชนที่ขาด การรวมตัวกันของคนในชุมชน การจะสงเสริมความรวมมือจึงตองเริ่มจากการสรางจิตสํานึก การ มองเห็นประโยชน และคุณคาที่เกิดจากปาชายเลน ซึ่งในขณะนี้ ชุมชนบานน้ําเค็มนาจะเริ่มมีความรูสึก ถึงคุณคาของปาชายเลนเพิ่มมากขึ้นจากในอดีต หนวยงาน หรือผูมีสวนเกี่ยวของกับทรัพยากรปาชายเลน จึงควรใชโอกาสในการจะสงเสริมคุณคา และสรางจิตสํานึกที่ดีใหกับชุมชน ซึ่งนาจะเปนเรื่องเรงดวนที่ ตอ งดํา เนิน การควบคูไ ปกับ การฟน ฟู และเยีย วยาในดา นอื่น เพราะถา ไมเ รงดํา เนิน การในชว งนี้ อีกไมนานความทรงจําหรือบทเรียนของการสูญเสียจากเหตุการณภัยพิบัติสึนามิอาจจะถูกลืมเลือนไป การเห็นความสําคัญและคุณคาของปาชายเลนในจุดนี้ก็อาจจะลดความสําคัญลงเชนในอดีตที่คนไมได ตระหนัก และใหความสําคัญตอประเด็นดังกลาว สรุปผลการศึกษา ความรวมใจของชุมชนเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งในการดูแล ปกปอง และฟนฟูปาชายเลน เพราะชุมชน ชายฝงทุกชุมชนตางมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับทรัพยากรธรรมชาติที่แตกตางกัน แตเปนที่แนชัดวาทุกชุมชน จะตองมีความรู มีประสบการณ หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่จะเขาใจ ลักษณะ และรูปแบบของปาชายเลน เปนอยางดี การใชประโยชนจากทรัพยากรในชีวิตประจําวัน รวมถึงความเขาใจในประโยชนของปาชาย

19


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เลนเพื่อการปองกันชีวิตและทรัพยสินจากภัยภิบัติทางธรรมชาติ เชนสึนามินั้น เปนสิ่งกระตุนเตือนเพื่อ เพิ่มบทบาทของชุมชนในการมีสวนรวมในการดําเนินการฟนฟู อนุรักษ และปกปกษผืนปาชายเลนของ ชุมชนดวยตนเอง สิ่งนี้จึงเปนเสมือนทางออกของการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลนที่จะคงอยู อยางยั่งยืนสืบไป แตการดําเนินการเพียงลําพังดวยตัวของชุมชนเอง บางครั้งความสําเร็จก็อาจจะไม ชัดเจน ภาครัฐจึงควรเขามามีสวนรวมในการใหความรู และสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร เพื่อเปนการ ตอยอดทางความคิดใหกับชุมชน เพราะองคความรูบางอยางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมตองอาศัยหลักวิชาจึงจะสําเร็จไดอยางดี แตอยางไรก็ตามแนวทางการจัดการที่ควรจะเปน ตองเริ่มจากความรูสึกภายในของชุมชนเอง เพราะแนวทางการจัดการที่สอดคลองกับสภาพชุมชนมี สวนสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จและยั่งยืนสืบตอไป

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2548. จากวิกฤติธรณีพิบัภัยสึนามิสูโอกาสเพื่อฟนฟูและบริหาร จัดากรทรัพยากรชายฝง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. อางใน พิมพจันทร สุวรรณดี, 2551. การฟนตัวของปาชายเลนหลังธรณีพิบัติภัยสึนามิ ป พ.ศ.2547 บริเวณบานพรุ เตียว จังหวัดพังงา, วิทยานิพนธ หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ สิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ชเนตตี มิลินทางกูร, 2550. การใชประโยชนปาชายเลนอยางพอเพียงเพื่อความยั่งยืนของชุมชน ชายฝง. ใน ประมวลผลงานวิจัย การประชุมวิชาการปาชายเลนแหงชาติ “ปาชายเลน: รากฐาน เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝง” 12-14 กันยายน 2550. โรงแรมฮอลิเดย อินน รีสอรท รี เจนทบีช ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี. ธงชัย ธนะสิงห, 2547. สึนามิ: มหันตภัยของมนุษยชาติ. วารสารรามคําแหง. ปที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค.ธ.ค.2547), หนา 72-99. บุศริน บางแกว และศิริวรรณ ศิริบุญ, 2550. การสูญเสียปาชายเลนกับผลกระทบที่มีตอระบบเศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชนชายฝง. ใน ประมวลผลงานวิจัย การประชุมวิชาการปาชายเลนแหงชาติ “ปา ชายเลน: รากฐานเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝง” 12-14 กันยายน 2550. โรงแรมฮอลิเดย อินน รีสอรท รีเจนทบีช ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี. พิมพจันทร สุวรรณดี, 2551. การฟนตัวของปาชายเลนหลังธรณีพิบัติภัยสึนามิ ป พ.ศ.2547 บริเวณ บานพรุเตียว จังหวัดพังงา, วิทยานิพนธ หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ จัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. 20


ปาชายเลน : ภูมิคุมภัยที่ยิ่งใหญ จากความรวมใจของชุมชน

พีระพิชญ ปานภัคดี, 2550. รูปแบบการจัดการปาชายเลนโดยการมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษา ชุมชนบานบางโรง หมู 3 ตําบลปาคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัญฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. ศิริวรรณ ศิริบุญ, 2550. แนวทางการจัดการปาชายเลนเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง: ประเด็นที่ตองทบทวน. ใน ประมวลผลงานวิจัย การประชุมวิชาการปาชายเลนแหงชาติ “ปาชายเลน: รากฐานเศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชนชายฝง” 12-14 กันยายน 2550. โรงแรมฮอลิเดย อินน รีสอรท รีเจนทบีช ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี. สถาบันสิ่งแวดลอมไทย, 2553. ความมั่นคงของระบบนิเวศและชุมชนชายฝง ในพืน้ ที่ประสบภัยพิบัติ สึนามิ, ใน http://www.tei.or.th/publications/2011-download/2011-Secure%20 Coastal %20 Ecosystems%20and%20Communities-th.pdf

สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ สํานักงานประเทศไทย, 2550 แนวทางการฟนฟูปาชายเลนโดยชุมชน ใน http://cmsdata.iucn.org/downloads/magrove_rehabilitation_by_community.pdf สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2, 2548. ปาชายเลนและปาชายหาดผลกระทบจากคลื่นสึนา มิและการฟนฟู. สงขลา: หาดใหญเบสทเซลล แอนด เซอรวิส จํากัด. Paphavasit, N., Aksornkoae, S and de Silva, J. A.(eds.) 2009. Tsunami impact on mangrove ecosystem. Thailand Environment Institute. Verana Press Co., Ltd.

21


22

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิต บริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช The role of local community in monitoring of living marine resources status in mangrove and coastal areas at Khanom Bay, Nakhon Si Thammarat, Thailand

ภูสิต หอเพชร1 อาวุธ แกนเพ็ชร2 สุรศักดิ์ ศรีชุม3 อุษาวดี เดชศรี4 พิมพาภรณ ทองแซม5 1

หลักสูตรเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร 2,3,4 อุทยานการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160 5 ผูประสานงานกลุมรักษทะเลนอมเกลา ชุมชนอาวขนอม

บทคัดยอ รายงานฉบับนี้นําเสนอภาพรวมของการศึกษาสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตที่พบบริเวณพื้นที่ปาชาย เลนและชายฝ ง ทะเล โดยการมี ส ว นร ว มของชุ ม ชนท อ งถิ่ น ที่ อ าศั ย โดยรอบอ า วขนอม จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ดําเนินการระหวางปพ.ศ. 2552-2554 มีวัตถุประสงคเพื่อสรางใหเกิดความตระหนัก ในดานความสําคัญของการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลในทองถิ่นไดอยาง ยั่งยืนดวยการมีสวนรวมดูแลรักษาโดยคนในพื้นที่เอง โดยการใชแบบติดตามสถานภาพสิ่งมีชีวิตที่ ศึกษาในกลุมกุง หอย ปู ปลา และโลมา บันทึกขอมูลเกี่ยวกับจํานวนที่รวบรวมไดในแตละชวงเวลา ขอมูลทางดานชีววิทยา การใชประโยชน และภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของ จุดสําคัญประการหนึ่งใน การศึก ษานี้ คื อ การจัด ทํ าคูมื อ 2 ฉบั บ สํ าหรั บการติด ตามและตรวจสอบสถานภาพของทรั พ ยากร สิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝงทะเลและปาชายเลนในบริเวณอาวขนอม อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการดําเนินการพบวากระบวนการศึกษาที่มุงเนนการมีสวนรวมโดยชาวชุมชนในนามนักวิจัย ทองถิ่นและขอมูลที่ไดรับชวยใหเกิดความตระหนักและทราบถึงสถานภาพปจจุบันของกลุมทรัพยากร สิ่งมีชีวิตที่มีความสําคัญตอระบบนิเวศชายฝงทะเล และวิถีการดํารงชีวิตทางดานเศรษฐกิจ การประมง และการทองเที่ยว ทั้งนี้กระบวนการศึกษาดังกลาวมีผลตอการสรางความตระหนักในดานการอนุรักษ ทรัพยากรสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศชายฝงทะเลรวมถึงทรัพยากรโลมาที่นับเปนสัตวสัญลักษณที่นา ภาคภูมิใจยิ่ง และสามารถชวยสงเสริมดานการทองเที่ยวใหแกชุมชนทองถิ่น คําสําคัญ: การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น ทรัพยากรสิ่งมีชีวิตชายฝงทะเล ปาชายเลน อาวขนอม นครศรีธรรมราช


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract This study presents the role of local communities in surveying and monitoring of living marine and coastal resources status at Khanom Bay, Nakhon Si Thammarat, Thailand during 2009-2011. The main objective of this study project is to broaden understanding of the concepts and awareness in conservation and sustainable utilization of marine and coastal living organisms through a participatory process at a local community. A user-friendly handbook for monitoring the status of the living marine and coastal resources was prepared to record the process and findings. A present status of selected marine organisms, which covered all important groups such as prawn, shellfish, crab, fish and dolphin, was monitored by the field survey. Within each group studied, the monitoring worksheets recorded all necessary biological information, economic uses, and related traditional knowledge. A series of two handbooks was successfully produced and the highlight of this project. The handbooks help to facilitate the more understandings of the project and to promote it to others interested. The result of present status of studied marine organisms is one of the main findings from various activities done by local researchers. It was also found that the process of study itself plays an important role in building-up the local awareness in conservation and sustainable utilization of the resources. Since Khanom Bay is well known for the existing of pink dolphins, an Indo-Pacific humpback dolphin (Sousa chinensis), the existence of healthy and abundance of the marine and coastal living organisms and particularly mangrove ecosystem in the study area will continue to support them. Keyword: local participation, marine and coastal living resources, mangrove, Khanom Bay, Nakhon Si Thammarat

บทนํา “นึกถึงโลมาสีชมพู นึกถึงอาวขนอม แตอาวขนอม มิใชมีแคโลมาสีชมพู” ขนอม เปนอําเภอตั้งอยูเหนือสุดของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบดวย 3 ตําบล คือ ตําบล ขนอม ตําบลทองเนียน และตําบลควนทอง พื้นที่ประกอบดวยภูมิประเทศที่ยังคงสภาพตามธรรมชาติ นับแตพื้นที่สูงปาเขา ถ้ํา น้ําตก และลําน้ํา ตลอดถึงพื้นที่ชายฝงทะเลโดยรอบอาวขนอม ไดแก หาดทราย เวิ้งอาว และเกาะตางๆ ที่มีทัศนียภาพที่งดงามและมีชื่อเสียงจํานวนมาก อีกทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมที่ยังคงความอุดมสมบูรณและคงความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ที่สูง คือพบ ทั้งจํานวนสิ่งมีชีวิตหลากชนิด (species) และระบบนิเวศ (ecosystems) ประเภทตางๆในพื้นที่เดียวกัน จึงนับไดวาเปนพื้นที่ที่มีทุนธรรมชาติ (natural capital) สูงมากแหงหนึ่งในประเทศไทย หนึ่งใน ทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลที่พบและเปนสัญลักษณของอําเภอขนอม คือ โลมาหลังโหนกแปซิฟก (Indo-Pacific humpback dolphin, Sousa chinensis) หรือรูจักกันดีในชื่อ โลมาสีชมพู (pink dolphin) จากลักษณะสีของลําตัวที่ซีดจางลงจากสีเทาในชวงวัยรุนและเปลี่ยนเปนสีขาวอมชมพูในชวงที่มีอายุ มากขึ้น จัดเปนพวกโลมาที่อาศัยประจําถิ่น หรือมีการอพยพยายถิ่นในบริเวณที่จํากัด พบไดบอยใกล 24


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

ชายฝงบริเวณที่น้ํามีความลึกไมเกิน 20 เมตร และมักพบใกลบริเวณที่มีปาชายเลนขึ้นอยู สามารถพบ เห็นไดไมยากนัก มักพบเห็นในชวงเวลาเชาและมักพบเปนกลุมเล็กๆ ประมาณ 2-10 ตัว วายน้ําชาๆ ขนานไปตามแนวชายฝ ง เพื่ อ ติ ด ตามฝู ง ปลา และสั ต ว อื่ น ๆที่ เ ป น อาหาร นั บ เป น สิ่ ง ดึ ง ดู ด หลั ก ให นักทองเที่ยวเขามาในพื้นที่อําเภอขนอม และจังหวัดนครศรีธรรมราช แนวคิดในการจัดการอนุรักษทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝงทะเลโดยการมีสวนรวมของ ชุมชนทองถิ่น มีความสําคัญตอการอนุรักษและการคงสภาพเดิมตามธรรมชาติของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่พบบริเวณชายฝงทะเลใหคงความอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะปาชายเลน การใชและการ อนุรักษทรัพยากรอยางยั่งยืน (sustainable utilization and conservation) เปนการใชทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมดวยความชาญฉลาดและกอใหเกิดประโยชนตอชุมชนใหไดมากที่สุดและมีระยะเวลาใน การใชงานยาวนานที่สุด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ เพื่อใหเกิดการใชและพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) ซึ่ง เปน การใชแ ละการพัฒ นาอยา งเหมาะสมไมใ หเ กิด ผลกระทบตอ ทั้ง ปริม าณ (quantity) และคุณภาพ (quality) ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในรุนลูกหลานของเราตอไป การคงสภาพความเปนธรรมชาติของทรัพยากรและสิ่งแวดลอมที่สมบูรณ เปนการรักษาความอุดม สมบูรณทางระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพใหคงสภาพดั้งเดิมหรือใกลเคียง จะสงเสริม ใหเกิดความสามารถตามธรรมชาติที่สมดุลในการบริการทางนิเวศ (ecological services) ในสวนของ การรักษาความอุดมสมบูรณของสภาพปาชายเลน ซึ่งเปนระบบนิเวศ (ecosystem) ที่ประกอบไปดวย พืชพันธุนานาชนิด และสัตวนานาพันธุ ดํารงชีวิตรวมกันมีการถายเทและไหลเวียนพลังงานเปนทอด จากผูผลิตสูผูบริโภค คือยิ่งมีบริเวณพื้นที่และความสมบูรณของพืชพรรณและชนิดสัตวมากเทาไหร ก็ จะยิ่งสงเสริมความสามารถในการบริการทางนิเวศมากขึ้นตามลําดับ ยังผลใหเกิดความสมบูรณของ ทรัพยากรตามลําดับหวงโซอาหารและสภาพแวดลอมที่มีความเหมาะสมมากขึ้น แมทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตเปนทรัพยากรที่เกิดทดแทนได (renewable natural resources) แตคงไมเปนผลดีที่จะปลอย ใหทรัพยากรหมดสิ้นหรือทรุดโทรมไป ในปจจุบันสภาพสวนใหญในประเทศไทยของเรายังคงตองการ การฟนฟู (rehabilitation) และการคงสภาพเดิมตามธรรมชาติ บทบาทการมีสว นรว มของชุม ชนในการชว ยกัน อนุรัก ษแ ละใหเ กิด ความยั่ง ยืน ในการใช ประโยชนทรัพยากรในทองถิ่น เพื่อใหเกิดความมั่นคงดานสิ่งแวดลอม (environmental security) และ ยังใหเกิดความมั่นคงทางอาหาร (food security) แกคนในพื้นที่ และยังเปนแหลงเสริมรายไดรองรับ ชุมชนที่พึ่งพาฐานทรัพยากรอาหารปาชายเลน อีกทั้งยังใชเปนปจจัยเกื้อหนุน การกระตุนใหเกิดความ ตระหนักและสรางจิตสํานึกดานการอนุรักษ หวงแหน รักษา การปกปอง ฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน และระบบนิเวศชายฝงทะเลอื่นๆ ถึงแมวาในปจจุบันความตองการใชทรัพยากรมีมากขึ้นจนเกินขีด ความสามารถในการผลิตในหลายพื้นที่ ขณะที่สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกลับเสื่อมโทรมลงอยาง รวดเร็วจากการใชทรัพยากรที่ไมเหมาะสมและขาดจิตสํานึกในการอนุรักษ เชน ปูแสม ที่คนไทยนิยม บริโภคกันทั่วไป มีจํานวนลดลงอยางมากหรือถึงกับสูญพันธุไปจากในบางพื้นที่ (local extinction)

25


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สาเหตุจากการจับมากเกินไปหรือใชวิธีจับที่ผิดกฎหมายหรือการลดลงของพื้นที่ปาชายเลน ทําใหตอง นําเขาปูจากประเทศเพื่อนบานเปนจํานวนมากในแตละป จึงมีความจําเปนที่เราจะตองรวมกันอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ใหคงความอุดมสมบูรณโดยการสรางความรู ความเขาใจใน ความสําคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (natural resources and environmental awareness) และ กระบวนการเพื่อการติดตามเฝาระวังความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น (monitoring process) เพื่อเปน หนทางในการรับมือกับปญหาอยางทันทวงที โดยเฉพาะความรวมมือรวมใจของชุมชนทองถิ่น (local participation) ซึ่งเปนผูที่ใกลชิดและไดรับประโยชนโดยตรง นอกจากนี้การมีสวนรวมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝงโดยชาวชุมชนจะทําใหเกิดความรูสึกตระหนัก หวงแหน และ ความภาคภูมิใจในความเปนเจาของทรัพยากรรวมกัน จากคํากลาวขางตนที่นอกจากจะสะทอนถึงความอุดมสมบูรณของพื้นที่อาวขนอมซึ่งเปนดั่ง ปจจัยสนับสนุนการคงอยูของโลมาสีชมพูในพื้นที่แลว ยังอาจสะทอนถึงศักยภาพของชาวชุมชนที่อาศัย โดยรอบที่ มี ส ว นสํ า คั ญ ในการนํ า เสนอภาพลั ก ษณ ข องโลมาสี ช มพู แ ละการช ว ยกั น รั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศทางทะเล อันเปนดั่งแหลงอาหารและที่อยูอาศัยของโลมา ในพื้นที่ไดเปนอยางดี ปาชายเลนโดยรอบคลองขนอม เปนหนึ่งในระบบนิเวศทางทะเลที่สําคัญมากใน พื้นที่ สามารถพบไดในทั้ง 3 ตําบล ทําหนาที่เปนทั้งแหลงอนุบาลและที่อยูอาศัยของ กุง หอย ปู ปลา และสัตวน้ํานานาชนิด และมีความสําคัญแกวิถีการดํารงชีวิตของคนในทองถิ่นอยางแนบแนน อยางไรก็ ตามเปนเรื่องที่นาเศราที่ในชวงหลายปที่ผานมา เรามักจะไดยินขาวการตายของโลมาและสัตวทะเลหา ยากชนิดอื่นๆอยางตอเนื่อง จึงมีความสําคัญและความจําเปนอยางยิ่งที่พวกเราทุกคนควรจะตองเรง ชวยกันในทุกวิถีทางซึ่งรวมถึงการรักษาใหทรัพยากรธรรมชาติสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมที่พบบริเวณ ชายฝงทะเล โดยเฉพาะระบบนิเวศปาชายเลนใหยังคงความอุดมสมบูรณอยูคูกับทองถิ่นอาวขนอมและ ทะเลไทยอันเปนที่รักของเราทุกคนสืบไป รายงานฉบับนี้นําเสนอภาพรวมของกิจกรรมการศึกษาสถานภาพสิ่งมีชีวิตที่พบบริเวณพื้นที่ปา ชายเลนและชายฝงทะเล โดยการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นที่อาศัยโดยรอบอาวขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช และกระบวนการที่เกี่ยวของในการจัดทําคูมือและแบบติดตามเพื่อการติดตามและ ตรวจสอบสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติสิ่งมีชีวิตที่พบบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเลอาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ดําเนินการระหวางปพ.ศ. 2552-2554 โดยความรวมมือของกลุมศึกษาระบบ นิ เ วศและสั ต ว ท ะเลหายาก ศู น ย วิ จั ย ทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง อ า วไทยตอนล า ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง จังหวัดสงขลา รวมกับคณะทํางานหลักสูตรเทคโนโลยีการจัดการ ทรัพยากรทะเลและชายฝง สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร และอุทยานการศึกษาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อ

26


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

1. สรางใหเกิดความตระหนักในดานความสําคัญของการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากร สิ่งมีชีวิตทางทะเลที่พบในบริเวณปาชายเลนและพื้นที่ชายฝงทะเล อาวขนอมไดอยางยั่งยืน ดวยการมีสวนรวมดูแลรักษาโดยคนในพื้นที่ในนามนักวิจัยทองถิ่น และ 2. นํ า เสนอข อ มู ล การศึ ก ษาและที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การจั ด ทํ า คู มื อ และแบบติ ด ตามสถานภาพ ทรัพยากรที่ศึกษา วิธีการศึกษา การศึกษานี้เปนการดําเนินการทางดานวิชาการเพื่อสนับสนุนโครงการกิจกรรมเพื่อการติดตาม ตรวจสอบการเปลี่ ย นแปลงทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง โดยการมี ส ว นร ว มของชุ ม ชนที่ อ าศั ย โดยรอบอาวขนอม ระหวางปพ.ศ. 2552-2554 ซึ่งจัดโดยกลุมศึกษาระบบนิเวศวิทยาและสัตวทะเลหา ยาก ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง จังหวัดสงขลา ประกอบดวยกิจกรรมยอยๆ ที่ไดถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรูระหวางผูรวมกิจกรรมตลอดโครงการและเกิดความรวมมือซึ่งกันและกัน (interactive participation) ประกอบดวยกิจกรรมตางๆ ใน 4 ระยะหลักดังนี้ ระยะที่หนึ่ง : การจัดเวทีประชุมตัวแทนชุมชน ระยะแรกของการดําเนินการ เปนการประชุมสรางความเขาใจรวมกันเกี่ยวกับวัตถุประสงค และ ความสําคัญของกิจกรรมติดตามเฝาระวังการเปลี่ยนแปลงของสถานภาพทรัพยากรใหแกชาวชุมชนที่ สนใจไดรับทราบ โดยชาวชุมชนที่เขารวมโครงการสวนใหญมาจากพื้นที่ตําบลทองเนียน และตําบลขนอม ซึ่งเปนพื้นที่ติดชายฝงทะเล ลําดับตอจากนั้นเปนการรวมกันคัดเลือกชนิดของทรัพยากรสิ่งมีชีวิต ทางทะเลที่มีความสําคัญตอวิถีการดํารงชีวิตของชาวขนอม โดยไดรวมกันคัดเลือกและแบงกลุมของ สิ่งมีชีวิตที่ไดคัดเลือกออกเปนกลุมทรัพยากรที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหรือที่ใชในการบริโภคและ การจําหนายในทองถิ่น ไดแก กุง (กุงเคย กุงควา และกุงแชบวย) หอย (หอยกัน หอยราก หอยเจาะ และ หอยจุบแจง) ปูแสม และปลากระบอก นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรอีกสองกลุม คือ หญาทะเลที่พบใน บริเวณเกาะทาไร และสัตวทะเลหายากกลุมโลมาและวาฬที่พบภายในบริเวณอาวขนอม ซึ่งไดทําการ รวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากแหลงขอมูลที่ไดทําการศึกษาไวเบื้องตนแลว ระยะที่สอง : การออกแบบติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเล เปนการแบงกลุมผูที่มีความสนใจในทรัพยากรประมงออกเปน 4 กลุมยอย คือ ทรัพยากรกุง หอย ปู ปลา ที่ไดรับการคัดเลือกมากอนหนานี้ โดยในแตละกลุม อาสาสมัครรวมกันรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับทรัพยากรแตละชนิด ไดแก ขอมูลทางชีวภาพและสภาพแวดลอมที่พบ ภูมิปญญาทองถิ่น ขอมูลทางการประมง เครื่องมือ วิธีการที่ใช และการใชประโยชน สําหรับขอมูลของกลุมโลมา นักวิจัย

27


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ทองถิ่นที่ศึกษาทรัพยากรกลุมกุงและกลุมปลา รับอาสาในการติดตามขอมูลหลักจากการออกเรือทํา การประมง และการนํานักทองเที่ยวไปในพื้นที่แตละกลุมไดรวมกันลงขอมูลที่พบการแพรกระจายและ การทําการประมงของทรัพยากรแตละชนิดลงในแผนที่ และการออกแบบติดตามในลักษณะแบบฟอรม เพื่อใชในการติดตามสถานภาพของทรัพยากรแตละชนิด นอกจากนี้ยังทําการเก็บตัวอยางเพื่อใชใน การถายภาพ ศึกษารายละเอียด และเปนตัวอยางอางอิงเพื่อการจําแนกชนิดที่ถูกตองตามหลักวิชาการ ตอไป ระยะที่สาม : การพัฒนาและปรับปรุงแบบติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเล การลงมือติดตามการเปลี่ยนแปลงของแตละกลุมทรัพยากร โดยการใหคําแนะนําสําหรับการ เก็บขอมูลของนักวิจัยทองถิ่นในการลงขอมูลในแบบติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตแตละกลุมตาม แบบฟอรมทีไ่ ดออกแบบไว ขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวมในพื้นที่ศึกษา (อาวทองเนียน และคลองขนอม) เพื่อใชทดสอบและปรับปรุงแบบติดตามทรัพยากรใหมีความเหมาะสมกับลักษณะขอมูลที่เก็บรวบรวม และใหเกิดความเขาใจตรงกันระหวางนักวิชาการและนักวิจัยทองถิ่น (local researchers) ในการใช แบบติดตามทรัพยากรไดอยางถูกตอง ระยะที่สี่ : กิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน และการสรุปบทเรียนรวมกัน การลงพื้นที่ทัศนศึกษารวมกันในชุมชนตัวอยาง อาทิ การเขาฟงสรุปการดําเนินงานของผูนํา เครือขายตลาดกลางสัตวน้ําตะกั่วทุง ต.คลองเคียน อ.ตะกั่วทุง จ.พังงา และการเยี่ยมชมหมูบาน ทองเที่ยวเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนบานบางโรง ต.ปาคลอก อ.ถลาง จ.ภูเก็ต รวมถึงการพูดคุยสรุป บทเรียน ขอมูล ประสบการณ ที่ไดเรียนรูเพื่อนําเปนตัวอยางสูการดําเนินกิจกรรมอื่นๆรวมกันตอไป ภายในชุมชนอาวขนอม

ภาพที่ 1. การเก็บขอมูลภาคสนามรวมกัน

28


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

ทั้งนี้ขอมูล และรายละเอียดตางๆที่ไดจากการศึกษาในระยะตางๆ รวมถึงแบบฟอรมเพื่อใชในการ ติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตกลุมตางๆ และขอมูลที่รวบรวมไดถูกจัดเก็บเพื่อจัดทําเปนคูมือสําหรับการ ติดตามและตรวจสอบสถานภาพของทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝงทะเลอาวขนอม อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการศึกษาและวิจารณ กิ จ กรรมและผลการดํ า เนิ น การต า งๆ ของโครงการศึ ก ษาเพื่ อ การติ ด ตามตรวจสอบการ เปลี่ยนแปลงทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยการมีสวนรวมของชุมชนที่อาศัยโดยรอบอาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหวางปพ.ศ. 2552-2554 ไดถูกนําเสนอในตารางที่ 1 ตารางที่ 1. ผลการดําเนินการและกิจกรรมโครงการติดตามทรัพยากรขนอมฯ

*

รวมกับ สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช กิจกรรมที่ไดดําเนินการตอเนื่อง

**

การดําเนินการของสามภาคสวนหลักไดแก หนวยงานราชการ (เจาหนาที่ศูนยวิจัยทรัพยากร ทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง จังหวัดสงขลา) สถาบันการศึกษา (คณะทํางานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ) และอาสาสมัครชุมชนอาวขนอม (ในนามนักวิจัยทองถิ่น) ในแตละปไดจัดใหมีการประชุมตัวแทนชุมชน

29


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

จํานวน 4 ครั้ง โดยมีผูเขารวมโครงการ 40-50 คนในแตละเวที ในสวนของชุมชนการขับเคลื่อน เกิดขึ้น โดยผูนําทางดานกิจกรรมที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืนทําหนาที่เปนผูประสานงาน สงเสริมการดําเนินกิจกรรมตางๆ โดยมี คุณลักษณะที่ตองคํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวมเปนที่ตั้ง เปนสวนสําคัญที่ชวยผลักดันใหเกิดความ รวมมือ และเปนการสรางความรู ความเขาใจระหวางระหวางบุคคลกลุมตางๆ ของหนวยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความตอเนื่อง กระบวนการศึกษาและกิจกรรมที่สอดคลองยังชวยใหเกิดการมีสวนรวมโดยชาวชุมชนในนาม นักวิจัยทองถิ่นในการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ขอมูลที่ไดรับชวยใหเกิดความตระหนัก และทราบถึงสถานภาพปจจุบันของกลุมทรัพยากรสิ่งมีชีวิตที่มีความสําคัญตอระบบนิเวศชายฝงทะเล โดยการติดตามและเฝาระวังการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทรัพยากรประมงที่สําคัญ คลอบคลุมในกลุม ทรัพยากรกลุมหลักๆ ไดแก กุง หอย ปู และปลา ที่พบในบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเลโดย อาสาสมัครของชุมชน รวมถึงการรวบรวมขอมูลของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด ภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของ ในการใชและการอนุรักษที่เกิดขึ้น เพื่อใชเปนฐานขอมูลทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในทองถิ่น นอกจากนี้ยังได รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการศึกษาทรัพยากรโลมาที่ชวยสงเสริมการทองเที่ยวใหมีชื่อเสียง และ เปนสัตวสัญลักษณที่นาภาคภูมิใจยิ่งของชาว อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช คูมือและแบบติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลอาวขนอมฯ การจัดทําคูมือเพื่อการติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดย ชุมชนอาวขนอม นําเสนอขอมูลพื้นฐานที่เกี่ยวของกับทรัพยากรและระบบนิเวศชายฝงทะเลที่สําคัญใน พื้นที่ ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 (ภาพที่ 1) ถูกใชเปนเครื่องมือ (tool) ที่สําคัญในการสรางความตระหนัก เกี่ยวกับการใชและการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดอยางยั่งยืน (sustainability) ผานการ เผยแพรความรู ความเขาใจขอมูลทางดานวิชาการ ขอมูลเกี่ยวของกับทรัพยากร ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตที่ พบบริเวณชายฝงทะเล ภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของในพื้นที่ และการสงเสริมการเขามามีสวนรวมของ ชุมชนทองถิ่นเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะการนําเสนอผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร สิ่งมีชีวิตทางทะเลที่มีผลตอวิถีการดํารงชีวิต เศรษฐกิจ และ การสรางคุณภาพชีวิตที่ดีของชาวชุมชน ชายฝงทะเล อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการศึกษาเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นั้ น ชุ ม ชนท อ งถิ่ น สามารถดํ า เนิ น การได เ องด ว ยอาสาสมั ค รชุ ม ชนโดยทํ าการตี ค วามและแปลผล การศึก ษารว มกับ นัก วิช าการในพื้น ที่ ซึ่ง เปน กระบวนการสรา งนัก วิจัย ทอ งถิ่น เพื่อ การติด ตาม สถานภาพทรัพยากรในระยะยาวและเพื่อใชเปนฐานขอมูลทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลสําหรับพื้นที่ ตอไป นอกจากนี้ คูมือยังอาจใชเพื่อประโยชนในดานการเผยแพรประกอบการถายทอดประสบการณ ได โ ดยตรงและการประชาสั ม พั น ธ กิ จ กรรมที่ ไ ด ดํ า เนิ น การให แ ก บุ ค คลอื่ น ๆที่ ส นใจได รั บ ทราบ 30


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

เนื่องจากมีการรวบรวมภาพกิจกรรมตางๆ ที่สมาชิกในชุมชนไดเขามีสวนรวม และเกิดความภาคภูมิใจ ในการมีสวนรวมรักษาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝงทะเลในทองถิ่นอาว ขนอมไดเปนอยางดีอีกดวย

ภาพที่ 2.

ภาพปกคูมือติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยชุมชนอาวขนอม ฉบับที่ 1 และ 2

ในการจัดทําคูมือฉบับที่สองตอเนื่องจากฉบับแรก มีสวนในการบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมจากที่ ไดนําเสนอไวในเอกสารคูมือฉบับแรก รวมถึงขอมูลพื้นฐาน รายละเอียดการนําเสนอขอแนะนําในการ ใชแบบติดตามทรัพยากรสิ่งมีชีวิตที่ศึกษาในแตละกลุม คําอธิบายการกรอกขอมูล ตัวอยางการบันทึก ขอมูล และการคํานวณตัวเลขเพื่อการนําเสนอขอมูล เปนตน ดังแสดงเปนตัวอยางในภาพที่ 3และ 4 ทั้งนี้ทานที่สนใจสามารถศึกษาขอมูลเพิ่มเติมไดจากหนังสือคูมือฉบับสมบูรณทั้งสองเลม

31


ภาพที่ 3. แบบติดตามและตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรกลุมปลากระบอก และขอแนะนําในการกรอกขอมูลใน แตละสวน

32

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพที่ 4. ตัวอยางการกรอกขอมูลในแบบติดตามทรัพยากรกลุมปลากระบอก และการบันทึกสรุปขอมูลเบือ้ งตน

33


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

อยางไรก็ตามการเขามามีสวนรวมอยางตอเนื่องในบทบาทของตัวแทนชุมชนทองถิ่นในการ ติดตามสถานภาพการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลในแตละกลุม และการเผยแพรผล การศึกษาใหแกสมาชิกคนอื่นๆของทองถิ่นและพื้นที่ใกลเคียงไดรับทราบผานการประชาสัมพันธใน รูปแบบตางๆ มีความจําเปนตอความสําเร็จของโครงการในระยะยาว นอกจากนี้ความสําคัญของความ ตอเนื่องของความรวมมือระหวางหนวยงานราชการ สถานศึกษา เพื่อสนับสนุนกิจกรรม สรางความ ตระหนักในดานการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางทะเลและการปลูกฝงแนวคิดการใชประโยชน อยางยั่งยืนใหกับชุมชนทองถิ่นจะชวยสรางบรรยากาศใหเกิดความรวมมือ และการดําเนินการใน โครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวของไดอยางตอเนื่อง อาทิเชน การดําเนินโครงการจัดตั้งกลุมอนุรักษปูเค็ม (ปูแสม) ซึ่งไดเริ่มตนดําเนินการตอเนื่องในพื้นที่ สรุปผลการศึกษา ตัวแทนชุมชนในนามนักวิจัยทองถิ่นมีบทบาทที่สําคัญในการติดตามตรวจสอบสถานภาพ ทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลในกลุม กุง หอย ปู และ ปลา ที่พบบริเวณปาชายเลนและบริเวณชายฝง อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยการใชคูมือและแบบติดตามทรัพยากรทางทะเลอาวขนอมฯ เปนเครื่องมือที่สําคัญในการศึกษา รวมถึงกระบวนการและกิจกรรมที่ชวยสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวม และความรวมมือซึ่งกันและกันระหวางหนวยงานภาครัฐ สถานศึกษา และชุมชนทองถิ่น ความสําคัญ ของการสรางใหเกิดความตอเนื่องของกิจกรรมโดยหนวยงานเหลานี้จะชวยสนับสนุนวิถีชุมชนพอเพียง ของชาวขนอม และการสงเสริมการใชภูมิปญญาทองถิ่นในการใชและการอนุรักษ รักษาชนิดและ จํานวนของสิ่งมีชีวิตทางทะเล และความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศปาชายเลนไดอยางยั่งยืนคูกับ พื้นที่อาวขนอมและการคงอยูของโลมาสีชมพูใหเคียงคูกับอาวขนอมและผูคนทองถิ่นตลอดไป ดังคํากลาว ของคุณ ปา ทา นหนึ่ง ที่ไ ดส ะทอ นใหเ ห็น วิถีชีวิต ความเปนอยูอยางพอเพียงของชาวบานขนอม ใน การประชุมรับฟงความคิดเห็นครั้งหนึ่ง วา “…เขาปา (ชายเลน) แตละครั้งก็เหมือนมีธนบัตรวางรออยูแลวใตตนทุกหนแหง จับเปย ว (ปูเปยวหรือปูแสม) ไมกี่ชั่วโมงก็พอไดกิน จับมาพอแคกนิ พอแกง หรือเหลือก็ขายเล็กๆ นอยๆ เลี้ยงครอบครัวได...” กิตติกรรมประกาศ • กลุมศึกษาระบบนิเวศวิทยาและสัตวทะเลหายาก ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาว ไทยตอนล าง กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง จั ง หวั ด สงขลา สํ า หรั บ การดํ า เนิ น การ กิจกรรมหลัก การประสานงาน และงบประมาณสนับสนุนโครงการ 34


บทบาทชุมชนทองถิ่นเพื่อการติดตามสถานภาพทรัพยากรสิ่งมีชีวิตบริเวณปาชายเลนและชายฝงทะเล อาวขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช

• หัวหนาศูนยวิจัยปาชายเลน จังหวัดนครศรีธรรมราช (คุณกฤษฎา สิทธินุน (พ.ศ. 2552-2553) และ คุณดรุณี เจียมจํารัสศิลป (พ.ศ. 2554-ปจจุบัน) และเจาหนาที่ศูนยวิจัยปาชายเลน นครศรีธรรมราช เอื้อเฟอสถานที่และอํานวยความสะดวกในการจัดการประชุมและดําเนินการ • ชาวบาน เยาวชน ผูนาํ ชุมชนโดยรอบอาวขนอม • ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปติวงษ ตันติโชดก ที่ปรึกษาดานวิชาการ • เจ า หน าที่ อุ ท ยานการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ที ม งานและนั ก ศึ ก ษา หลั ก สู ต ร เทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

เอกสารอางอิง

สกุล สุพงษพันธุ. 2546. วิธีการมีสวนรวมในการจัดการประมงโดยชุมชน. กลุมอํานวยการและประสานงาน วิชาการ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. เอกสารเผยแพร ฉบับที่ 1/2546. 141 หนา. สนิท อักษรแกว. 2542. ปาชายเลน นิเวศ และ การจัดการ (พิมพครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 277 หนา. Danielsen, F. et.al. 2008. Local participation in natural resource monitoring: a characterization of approaches. Conservation Biology. 23 (1). P. 31-42. Nicro, S. and Markopoulos, M. 2008. Environmental security in Thailand: an assessment of food, water, air and energy sustainability. Thailand Environment Institute. 163 p.

35


36

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับการฟนฟู ทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อา วบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี Implication of concept Bio-Rights as financial mechanism to promote community’s quality life and restoration of coastal areas of Ban Don Bay. Surat Thani Province.

ประทีป มีคติธรรม องคการพื้นทีช่ มุ น้ํานานาชาติ-ประจําประเทศไทย บทคัดยอ องคการพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติ-ประจําประเทศไทย รวมกับองคกรภาคีดําเนินโครงการจัดการสภาวะ แวดลอมเชิงบูรณาการเพื่อความยั่งยืนของวิถีชีวิตชุมชนในอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ภายใต การสนับสนุนจากโครงการปาชายเลนเพื่ออนาคต ระหวาง พฤษภาคม 2551 - กันยายน 2554 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อประยุกตใชกลไกทางการเงินไบโอไรทเปนเครื่องมือในการสงเสริมใหชุมชนทองถิ่น จัดการฟนฟูปาชายเลนและระบบนิเวศชายฝงควบคูไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนประมง พื้นบานซึ่งตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ 7 ตําบลรอบพื้นที่อาวบานดอน ผลจากการดําเนินงานพบวากลไกทาง การเงินไบโอไรทชวยสรางรายไดเสริมใหแกสมาชิกที่เขารวมโครงการ ทั้งยังเปนเครื่องมือในการสราง ความร ว มมื อ และการรวมกลุ ม ของสมาชิ ก ในระดั บ ชุ ม ชนและระดั บ เครื อ ข า ย ในด า นการดํ า เนิ น กิจกรรมดานการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน กลไกการเงินไบโอไรทสรางแรงจูงใจใหแกชุมชนในการ ฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่นากุงราง พื้นที่ปาเสื่อมโทรม ปองกันตลิ่งพัง รวมทั้งการปลูกเสริมพันธุไมเพื่อ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้บทเรียนจากการดําเนินงานสามารถปรับปรุงและพัฒนากลไก ทางการเงินไบโอไรทใหเหมาะสมกับสภาพสังคม ชุมชน และเกิดความยั่งยืนไดตอไปในอนาคต คําสําคัญ: กลไกทางการเงินไบโอไรท ฟนฟูปาชายเลน พัฒนาคุณภาพชีวิต อาวบานดอน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Wetlands International – Thailand Office in collaboration with stakeholders and partners implementing Reversing Environmental Damage through Community Focused Sustainable Livelihoods Project in Ban Don Bay, Surat Thani Province, Southern Thailand. This project is supported by Mangrove for The Future (MFF) for the period of May 2009-September 2011. The objectives of the project to develop and utilize a financially innovative mechanism called Bio-Rights to encourage local communities restore mangroves and coastal ecosystems, as well as improving the livelihoods of fisherfolk communities which are located within several subdistricts around Ban Don Bay. As a result of implication the concept of Bio-Rights as a tool for in financial mechanism can help generate supplementary income to the members who participate in the program, as a tool for collaboration among community members and their network including of conservation and restoration of degradation mangrove forest, abandoned shrimp ponds, prevention of bank erosion, and additional planting to enhance biodiversity. Therefore, the lesson learn of this project can be used the concept of Bio-Rights financial mechanism but need to improve and develop to suitable of the social and community situation in order to sustainability in the future. Keyword: Bio-Rights financial mechanism, Mangrove restoration, Livelihood development, Ban Don Bay

บทนํา 1. สภาพทั่วไปของพื้นที่ “อาวบานดอน” ตั้งอยูในพื้นที่ทะเลฝงอาวไทยบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีชายฝงทะเลยาว ประมาณ 145 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งสิ้น 7 อําเภอ ไดแก อําเภอทาชนะ อําเภอไชยา อําเภอทาฉาง อําเภอพุนพิน อําเภอเมือง อําเภอกาญจนดิษฐ และอําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี จากลักษณะ ภูมิประเทศของจังหวัดสุราษฎรธานี ที่ฝงตะวันตกมีลักษณะเปนเทือกเขาสูงและลาดเอียงลงสูทะเล อาวไทย โดยมีแมน้ําตาปซึ่งมีตนกําเนิดจากเขาใหญ (เทือกเขานครศรีธรรมราช) เขตอําเภอทุงใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช ไหลผานอําเภอฉวาง อําเภอพระแสง อําเภอเคียนซา จังหวัด สุราษฎรธานี แลวไปบรรจบกับแมน้ําพุมดวงหรือแมน้ําคีรีรัฐ ซึ่งมีตนน้ําเกิดจากเขาสกในเทือกเขาภูเก็ตที่ยอยๆ อีก หลายสาย เชน คลองพุมเรียง คลองตะเคียน คลองไชยา คลองหัววัว คลองทาปูน คลองทาเคย คลองกอ คลองพุนพิน คลองฉิมหวัง คลองเฉงอะ คลองกระแดะ คลองราม คลองทาทอง คลองนุย คลองคราม คลองดอนสัก เปนตน แมน้ํา ลํา คลองเหลา นี้มีบ ทบาทสํา คัญ ในการพัด พาตะกอนตา งๆ ลงสูพื้น ที่ช ายฝง ทํา ให อาวบานดอนมีลักษณะเปนหาดเลนที่ยื่นออกไปในทะเลประมาณ 1-3 กิโลเมตร บางตอนเกิดเปน ดิน ดอนสามเหลี่ย มปากแมน้ํา และดว ยระบบนิเ วศสามน้ํา (น้ํา กรอ ย) ทํา ใหพื้น ที่อา วบา นดอน อุดมสมบูรณไปดวยปาชายเลน บางบริเวณปรากฏแหลงหญาทะเล อันเปนแหลงที่อยูอาศัย แหลงวางไข ที่สําคัญของสัตวน้ํา รวมทั้งเปนแหลงทําการประมงที่สําคัญของชุมชนรอบๆ พื้นที่อาวบานดอน 38


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

2. ความเปนมาของโครงการ อยางไรก็ตามสภาพพื้นที่ปาชายเลนของอาวบานดอนถูกเปลี่ยนสภาพมาอยางตอเนื่อง อันเปน ผลจากการขยายตัวของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําโดยเฉพาะการเลี้ยงกุงแบบพัฒนาราวป 2538 เปนตนมา ถึงแมจะสรางรายไดจากการสงออกใหกับประเทศจํานวนมาก แตก็สรางความสูญเสียตอปาชายเลน อย า งกว า งขวางเช น กั น มิ เ พี ย งเท า นั้ น การเลี้ ย งกุ ง แบบพั ฒ นาโดยขาดมาตรการควบคุ ม ดานสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง ปลอยใหเกิดการปลอยน้ําเนาเสีย การใชสารเคมีและการฉีดขี้เลนจาก นากุงลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ นอกจากทําใหลําคลองตื้นเขินแลวยังสงผลกระทบตอระบบนิเวศชายฝง ทั้งระบบ สัตวน้ําชายฝงซึ่งเปนฐานทรัพยากรและแหลงประกอบอาชีพ สรางรายไดใหแกชุมชนประมง รอบอาวบานดอนเสื่อมโทรมลง ขณะที่ชาวบานซึ่งหันไปเลี้ยงกุงแบบพัฒนาตองเผชิญกับภาวะขาดทุน บางรายสูญเสียที่ดินทํากินใหแกสถาบันการเงินเนื่องจากนําที่ดินไปค้ําประกันเพื่อกูยืมเงินมาใชลงทุน ในการเลี้ยงกุง ขณะเดียวกันการเพิ่มขึ้นของประชากร การพัฒนาเครื่องมือทําการประมงใหมีประสิทธิภาพใน การจับสัตวน้ํา ผนวกกับความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ทําใหการแยงชิงทรัพยากร รุนแรงยิ่งขึ้น นอกจากนั้นในป พ.ศ.2547 โครงการซีฟูดแบงค (Sea Food Bank) ภายใตนโยบาย แปลงสินทรัพยเปนทุน ยังเปนปจจัยกระตุนใหเกิดการจับจองพื้นที่ทะเลอาวบานดอนอยางกวางขวาง ขอมูลการสํารวจในป 2552 ของสํานักงานประมงจังหวัดสุราษฎรธานีพบวา พื้นที่อําเภอดอนสัก อําเภอกาญจนดิษฐ อําเภอเมืองสุราษฎรธานี อําเภอทาฉางและอําเภอไชยา มีพื้นที่เลี้ยงหอยรวมกัน ทั้งสิ้น 80,139.91 ไร ในจํานวนนี้มีพื้นที่ที่ไดรับอนุญาตเพาะเลี้ยงจํานวน 777 แปลง รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 26,932.67 ไร ในขณะที่มีพื้นที่เลี้ยงหอยโดยไมไดรับอนุญาตมีจํานวนถึง 1,083 แปลง รวมเนื้อที่ 53,207 ไร โดยเขตอําเภอเมืองมีแปลงเลี้ยงหอยโดยไมไดรับอนุญาต 3 แปลงใหญ มีเนื้อที่รวมกันถึง 28,114.02 ไร การจับจองดังกลาวทําใหชุมชนประมงพื้นบานมีพื้นที่ทําการประมงลดลงเนื่องจากไม สามารถเขาไปทําการประมงในบริเวณคอกหอยได ซึ่งสะทอนถึงความไมเปนธรรมในการจัดการ ทรัพยากรของอาวบานดอน ปญหาเหลานี้เปนสาเหตุสําคัญที่บันทอนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ชุมชนประมงพื้นบานในพื้นที่อาวบานดอนอยางหลีกเลี่ยงไมได ในป พ.ศ. 2551 องคก ารพื้น ที่ชุม น้ํา นานาชาติ-ประจํา ประเทศไทยจึง ไดรว มกับ เครือ ขา ย อนุรัก ษอา วบา นดอน สว นบริห ารจัด การทรัพ ยากรปา ชายเลนที่ 4 และสํานัก งานประมงจัง หวัด สุราษฎรธานี ดําเนินโครงการจัดการสภาวะแวดลอมอยางบูรณาการเพื่อความยั่งยืนของวิถีชีวิตชุมชน ในอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการปาชายเลนเพื่อ อนาคต (Mangrove for The Future) โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ 1.) เพื่อการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน ในพื้น ที่ตา งๆ รอบอา วบา นดอน 2.) พัฒ นาและใชน วัต กรรมทางการเงิน ในการจัด การและฟน ฟู ปาชายเลนควบคูไปกับการพัฒนาทางดานการประกอบอาชีพของชุมชนผูดูแลรักษาทรัพยากร 3.) สงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางหนวยงานภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐ สถาบันการศึกษา องคกรเอกชน

39


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

และชุมชนในการจัดการปาชายเลน 4.) เพื่อเสริมสรางความรูความสามารถในการจัดการปาชายเลน และเสริมสรางจิตสํานึกของบุคคลที่เกี่ยวของทั้งระดับทองถิ่นและระดับชาติใหเห็นคุณคาและความสําคัญ ของการอนุรักษระบบนิเวศอยางยั่งยืน โดยมีระยะเวลาในการดําเนินงานตั้งแตพฤษภาคม 2554 – กันยายน 2554 3. แนวคิดและหลักการเบื้องตนของกลไกทางการเงินไบโอไรท ป ญ หาความยากจนมี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมในหลายมิติ บอยครั้งกระบวนการอนุรักษมักไดรับการวิพากษวิจารณวาเปนการละเมิดสิทธิ ของชุมชน บันทอนตัดโอกาสของคนชุมชนในการเขาถึงทรัพยากรในทองถิ่น เชน การประกาศจัดตั้ง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ นํ า ไปสู ก ารออกมาตรการทางกฎหมายจํ า กั ด สิ ท ธิ ข องชุ ม ชนท อ งถิ่ น ในการเข า ถึ ง ทรัพยากรในทองถิ่น ชาวปกากะญอไมสามารถทําไรหมุนเวียนตามวิถีชีวิตเดิมไดอีกตอไปเนื่องจาก ที่ดินถูกประกาศเปนเขตอนุรักษ การอพยพไลรื้อชุมชนเพื่อนําที่ดินไปใชในโครงการปลูกปา ฯลฯ การ จํากัดสิทธิของชุมชนไมเพียงกลายเปนชนวนความขัดแยงแตยังสงผลกระทบซ้ําเติมความยากจนใหแก คนในทองถิ่นรุนแรงยิ่งขึ้นและนําไปสูปญหาสังคมอื่นๆ ตามมา เชน ปญหาครอบครัว ปญหายาเสพติด เปนตน สถานการณดังกลาวไมเปนผลดีนักเนื่องจากชุมชนทองถิ่นควรเปนพันธมิตรที่มีศักยภาพ ไบโอไรท เปนนวัตกรรมกลไกทางการเงินเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความ หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนโดยใหความสําคัญควบคูไปกับการบรรเทาปญหาความยากจนของ ประชาชนในทองถิ่น องคการพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติไดนําแนวคิดไบโอไรทไปประยุกตในการทํางานดาน อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพและบรรเทาความยากจนในประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาลีและ ประเทศมาเลเซีย โดยสนับสนุนกองทุนสินเชื่อขนาดเล็กใหแกสมาชิกในชุมชนที่เขารวมโครงการ นําไปใชในการพัฒนาอาชีพที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อสรางรายไดใหแกคนยากจน ขณะเดียวกัน ชุมชนดําเนินกิจกรรมดานการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมควบคูไปดวย อย า งไรก็ ต ามป จ จุ บั น กลไกทางการเงิ น ไบโอไรท ไ ม ไ ด มี ก ระบวนการที่ ต ายตั ว แต ถู ก ปรั บ ประยุ กตใ ชให เหมาะสมสอดคลอ งกับสถานการณและวิถี ชุมชนในแตละพื้นที่ เปาหมายซึ่งมี ความ แตกตางกันไป ตัวอยางกระบวนการที่ไมยุงยากซับซอนเกินไปก็คือ ผูใหทุนใหการสนับสนุนกองทุน หมุนเวียนใหกับชุมชนเพื่อนําไปประกอบกิจกรรมดานการสงเสริมอาชีพหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ขณะเดียวกันมีการทําขอตกลงรวมกัน โดยผานการปรึกษาหารือระหวางผูใหทุน และชุมชน เพื่อกําหนดกิจกรรมดานการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง พัฒนาดัชนีชี้วัดความสําเร็จ หลังจากนั้นจึงสนับสนุนเงินทุนใหชุมชนดําเนินกิจกรรมดานการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต และการประกอบอาชี พ หากดํ า เนิ น กิ จ กรรมด า นการอนุ รั ก ษ ป ระสบความสํ า เร็ จ (โดยพิจารณาจากตัวชี้วัด) ชุมชนนั้นไมตองคืนเงินกลับไปใหผูใหทุน แตหากดําเนินกิจกรรมดานการ อนุรักษไมประสบความสําเร็จตามที่ตกลงรวมกันไว ชุมชนจะตองคืนเงินทุนที่นําไปลงทุนดานการ 40


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

สงเสริมอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตคืนใหกับผูใหทุนตามที่ไดทําบันทึกของตกลงกันไว ดังมีแนวคิด และกลไกตามภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แนวคิดและกลไกทางการเงินไบโอไรททพี่ ัฒนาขึ้นแบบไมซับซอนมากนัก

วิธีการศึกษา ในการประยุกตใชกลไกทางการเงินไบโอไรทภายใตโครงการจัดการสภาวะแวดลอมอยางบูรณาการ เพื่อความยั่งยืนของวิถีชีวิตชุมชนในอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี มีขั้นตอนกระบวนการดําเนินงาน ดังนี้ (ภาพที่ 2) 1.) เริ่มตนโครงการ เชิญผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศซึ่งมีประสบการณดานการใชกลไกทางการเงินไบโอไรท มารวมอบรมแลกเปลี่ยนกับทีมงานเจาหนาที่โครงการ แกนนําเครือขายอนุรักษอาวบานดอน เพื่อทํา ความเขาใจแนวคิดและหลักการของกลไกทางการเงินไบโอไรทใหเกิดความชัดเจน รวมทั้งวิเคราะห สภาพสังคม ชุมชน สถานภาพปาชายเลนเบื้องตน เพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมายแบบกวางๆ 2.) การพัฒนาโครงการ องคการพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติ-ประจําประเทศไทย ดําเนินโครงการฯ ภายใตการประสานอยาง ใกล ชิ ด กั บ เครื อ ข า ยอนุ รั ก ษ อ า วบ า นดอนซึ่ ง เป น ภาคี ห ลั ก ในการดํ า เนิ น งานได ดํ าเนิ น การพั ฒ นา โครงการ 2.1 การพัฒนากรอบคิดและยุทธศาสตรภาพรวม : หลังจากนั้นจัดประชุมเพื่อหารือระดม ความคิดเห็น วิเคราะหชุมชน กลุมเปาหมาย เพื่อกําหนดกรอบคิดและยุทธศาสตรการจัดการกองทุน หมุนเวียนขนาดเล็ก ซึ่งจะตองสนับสนุนใหแกกลุมชุมชนในแตละพื้นที่ไปดําเนินกิจกรรมดานการ สงเสริมอาชีพตามแนวคิดไบโอไรท

41


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2.2 การพัฒนาโครงการในระดับชุมชน : จัดเวทีเพื่อใหชุมชนไดรวมกันวิเคราะหสภาพ ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชน และร ว มกั น ระดมความคิ ด เห็ น เพื่ อ ให กิ จ กรรมส ง เสริ ม ด า นอาชี พ ตาม แนวคิดไบโอไรทชวยสนับสนุนการแกไขปญหาของชุมชนที่เกิดขึ้นอยูในปจจุบัน ในขณะที่กิจกรรม ดานการฟนฟูปาชายเลน ไดดําเนินการศึกษาประเมินระบบนิเวศของอาวบานดอนเบื้องตน รวมทั้ง พื้นที่เปาหมายในการฟนฟูปาชายเลนของแตละชุมชน หลังจากนั้นจึงจัดใหมีการอบรมแลกเปลี่ยน ระหวางนักวิชาการและชุมชนเพื่อผสมผสานวิธีการฟนฟูปาชายเลนใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ ความตองการชุมชน ที่สําคัญคือการการสรางความเขาใจของสมาชิกในแตละกลุมถึงเงื่อนไขงบประมาณสนับสนุน เชน สัดสวนการโอนเงินใหแกชุมชนอยางเหมาะสม สัดสวนการสงเงินคืน เนื้อที่ปาชายเลนที่ชุมชนจะ ดําเนินการฟนฟู เนื่องจากเปนเรื่องสําคัญที่จะตองใชประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณา โครงการในแตละระดับ 3.) กระบวนการพิจารณาโครงการ ในกระบวนการพิจารณาโครงการยึดหลักความโปรงใสและการมีสวนรวมของทุกฝาย โดยมีการ ตั้งคณะกรรมการในระดับอําเภอและระดับเครือขาย เพื่อพิจารณากลั่นกรองโครงการที่กลุม/ชุมชน เสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ประกอบดวย คณะกรรมการพิจารณาโครงการระดับอําเภอ คณะกรรมการพิจารณาโครงการระดับเครือขาย และคณะกรรมการโครงการระดับจังหวัด 4.) การจัดทําบันทึกขอตกลงระหวางชุมชนและโครงการ เนื่องจากกลไกการเงินไบโอไรทมีความผูกพันในเชิงกฎหมาย ดังนั้นภายหลังจากโครงการของ ชุมชนผานการพิจารณาของคณะกรรมการโครงการระดับจังหวัดแลว จึ งไดจัดทําบันทึกขอตกลง ระหวางชุมชนและโครงการ เพื่อเปนหลักประกันวากิจกรรมตางๆ จะถูกดําเนินงานไปตามที่วางแผนไว อย า งไรก็ ต ามข อ ตกลงดั ง กล า วมี ลั ก ษณะยื ด หยุ น สามารถปรั บ เปลี่ ย นได ต ามความเหมาะสมกั บ สถานการณแตตองอยูบนพื้นฐานของการมีสวนรวมของทุกฝายที่เกี่ยวของ 5.) การดําเนินโครงการ สมาชิกของกลุม/ชุมชนที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จัดใหมีการปรึกษาหารือรวมกันเพื่อ คัดเลือกตัวแทนสมาชิกรับผิดชอบในกระบวนการเบิกจายเงินและการจัดทําบัญชีของโครงการ โดยยึด หลักความรับผิดชอบรวมกัน ในระหวางที่ชุมชนดําเนินกิจกรรมดานการพัฒนาอาชีพและการฟนฟูปาชายเลน องคการพื้นที่ ชุมน้ํานานาชาติ-ประจําประเทศไทยและองคกรภาคีชวยสนับสนุนการแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นระหวาง การดําเนินงาน รวมถึงการพัฒนาศักยภาพและความเขมแข็งใหแกชุมชนและเครือขายในดานตางๆ เชน การจัดใหเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อผลักดันการแกไขปญหา อบรมเรื่องการบริหารจัดการกลุม อบรม เรื่องการพัฒนาอาชีพ การจัดการบัญชี เปนตน 42


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

6.) การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลโครงการขนาดเล็กหรือโครงการไบโอไรทเปนกระบวนการที่สําคัญที่จะชวยให การดําเนินโครงการขนาดเล็กของชุมชนประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว อยางไรก็ตาม โครงการฯ ไดตระหนักวา “ความสําเร็จ” และ “ความลมเหลว” ของโครงการขนาดเล็กในทัศนะหรือ มุมมองของชุมชนอาจมีความแตกตางกันไป เชน ชุมชนอาจประสบความสําเร็จในการดําเนินกิจกรรม ในแงของการสรางรายไดแตอาจไมประสบความสําเร็จในแงของการสรางความรวมมือของคนในชุมชน หรือในบางกลุมอาจประสบความสําเร็จในการใชโครงการขนาดเล็กสรางการเรียนรูและความเขมแข็ง ใหกับสมาชิกของกลุมหรือชุมชน แตประสบความลมเหลวในกิจกรรมสรางรายได เปนตน แตไมวาจะ เปนความสําเร็จหรือความลมเหลวลวนแตมีความสําคัญตอการสรางกระบวนการเรียนรูใหกับทั้งชุมชน และโครงการทั้งสิ้น หลั ก คิ ด สํ า คั ญ ในการติ ด ตามประเมิ น ผลก็ คื อ “กระบวนการมี ส ว นร ว มในการติ ด ตาม ประเมินผล” ทั้งในระดับโครงการฯ ระดับเครือขายอนุรักษอาวบานดอน และระดับชุมชน เพื่อใหเห็น ความสําเร็จและความลมเหลวในมิติที่รอบดานมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันก็ไมละทิ้งเปาหมายสําคัญโดย ใชกระบวนการติดตามประเมินผลในการควบคุมติดตามใหการดําเนินกิจกรรมของชุมชนอยูในกรอบ ขอตกลงของโครงการ

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานในการประยุกตใชกลไกทางเงินไบโอไรทในพื้นที่อาวบานดอน

43


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการศึกษาและวิจารณ ในชวงป 2552-2554 โครงการจัดการสภาวะแวดลอมอยางบูรณาการเพื่อความยั่งยืนของวิถี ชีวิตชุมชนในอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ไดใหการสนับสนุนกลุม องคกรชุมชนในพื้นที่ 7 ตําบล รอบพื้นทีอ่ าวบานดอน ในการดําเนินโครงการขนาดเล็กดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการสงเสริม อาชีพตามหลักการไบโอไรททั้งสิ้น 6 กลุม ประกอบดวย กลุมอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ําและฟนฟู ทรัพยากรกรชายฝงทาชนะ กลุมอนุรักษปา ชายเลนคลองพุมเรียง กลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ตําบลลีเล็ด กลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ม.3 และ ม.8 ตําบลคลองฉนาก กลุม อนุรักษปาชายเลนตําบลตะเคียนทอง กลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอําเภอดอนสัก รวมงบประมาณทั้งสิ้น 910,000 บาท กิจกรรมดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและอาชีพของแตละกลุมมี ความแตกตางกันไป ประกอบดวย การเลี้ยงปลาจํานวน 4 กลุม การจัดทําเครื่องมือประมงพื้นบาน จํานวน 1 กลุม การแปรรูปผลิตภัณฑชุมชนจํานวน 1 กลุม ในดานกิจกรรมการฟนฟูปาชายเลนจากขอตกลงรวมกันระหวางโครงการฯ และชุมชน มีพื้นที่ เปา หมายทั้ง หมด 500 ไร ประกอบดว ยการฟน ฟูปา ชายเลนในรูป แบบที่แ ตกตา งกัน ไป ไดแ ก การฟนฟูปาชายเลนในนากุงราง การฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่เสื่อมโทรมและปองกันการบุกรุก การปลูก เสริมพันธุไมปาชายเลนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ (เชน จาก) การปลูกปาชายเลนเพื่อปองกันตลิ่งพัง จนกระทั่ง ถึงเดือนมิถุนายน สามารถฟนฟูปาชายเลนรวมพื้นที่ 380 ไร คิดเปน 76% ของพื้นที่เปาหมาย

ภาพที่ 3 กิจกรรมเลี้ยงปลากระชังในพื้นที่ตําบลพุมเรียง ภาพที่ 4 การปลูกปาชายเลนในพื้นที่นากุงรางในพื้นที่ อําเภอไชยา ตําบลตะเคียนทอง อําเภอกาญจนดิษฐ

1.1 ไบโอไรทกับการแกไขปญหาความยากไรของคน (Human Poverty) : จนโอกาส จนอํานาจ จนศักดิ์ศรี แตเดิมหลักการไบโอไรทมุงเนนใหความสําคัญกับการแกไขปญหาความยากจนเชิงรายได (Income Poverty) เทานั้น แตจากกระบวนการประชุมปรึกษาหารือรวมกันหลายครั้งระหวางองคการ พื้นที่ชุมน้ํานานาชาติ-ประจําประเทศไทย เครือขายอนุรักษอาวบานดอนและตัวแทนชุมชน พบวาการ 44


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

ใช ห ลั ก การไบโอไรท ใ นการดํ า เนิ น งานในพื้ น ที่ ป ระเทศอิ น โดนี เ ซี ย ประเทศมาเลเซี ย ประเทศ คอสตาริกา และประเทศมาลี มีรายละเอียดสภาพทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจที่แตกตางกับ พื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก • การนิยามความยากจน (Poverty Definition) มีความแตกตางกัน โดยมีความเห็นวานิยาม ของคําวา “ความยากจน” ตามหลักการไบโอไรท เปนการใหความสําคัญและมองในแงความยากจนเชิง รายได (Income Poverty) เพียงดานเดียว ซึ่งเปนการนิยามความยากจนในมิติที่แคบเกินไป ทั้งนี้การ นิยามความยากจนควรครอบคลุมในมิติความยากไรของคน (Human Poverty) เชน การจนโอกาสใน การเขาถึงทรัพยากรพื้นฐานในการดํารงชีวิต จนอํานาจที่จะทําใหเกิดการเจรจาตอรองเกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรทั้งในระดับทองถิ่นและระดับนโยบายไดอยางเสมอหนา จนศักดิ์ศรีเพราะยังถูกดู แคลนวาเปนเพียงชาวประมงพื้นบานที่ไรความรู ฯลฯ ซึ่งการใหนิยามความยากจนในลักษณะเชนนี้ สอดคลองกับแนวคิดนักวิชาการหลายคนที่มิไดพิจารณาเฉพาะการมีรายไดนอยหรือการบริโภคนอย เทานั้น แตยังครอบคลุมถึงมิติอื่นๆ ที่มิใชตัวเงิน (Non-monetary Dimension) ดัง นั้น การดํา เนิน โครงการฯ ในพื้น ที่อา วบา นดอน ไดข ยายเปา หมายและผลลัพ ธข อง หลักการไบโอไรท ใหตอบสนองตอการแกไขปญหาความยากไรของคน (Human Poverty) โดย พัฒนากิจกรรมดานการพัฒนาศักยภาพเสริมเขาไปในกิจกรรมดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ ประกอบอาชีพ ก.) บทบาทในการสงเสริมการรวมกลุมของประมงพื้นบาน : การสนับสนุนโครงการขนาด เล็กหรือไบโอไรท มุง เนนใหการสนับสนุนกิจกรรมดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ ของชุมชนในรูปแบบของกลุม สมาชิก นอกจากเปนหลักประกันความสําเร็จของการดําเนินกิจกรรมแลว ยังเปนเงื่อนไขสรางการรวมตัวของคนในชุมชนในรูปแบบกลุม ขณะเดียวกันก็สรางกระบวนการการ เรียนรูผานการปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนของสมาชิกภายในกลุมและชุมชนเพื่อแกไขปญหาตางๆ ที่ เกิดขึ้นในชุมชน โดยแตละกลุมสามารถยกระดับใหเกิดการประสานงานทํากิจกรรมรวมกันในรูปแบบ “เครือขาย (Networks)” การรวมตัวในลักษณะนี้เปนผลดีในแงการสรางอํานาจใหกับชุมชนประมง พื้นบานรอบอาวบานดอน ทําใหสามารถเจรจาตอรอง ผลักดันการแกไขปญหาตางๆ ของชุมชนไดมาก ขึ้น ข.) บทบาทในการเสริมสรางศักยภาพดานความรูใหกับชุมชน : โครงการฯ ไดจัดใหมีการ ฝกอบรมพัฒนาศักยภาพสมาชิกของกลุมที่ไดรับการสนับสนุนโครงการขนาดเล็กในดานตางๆ เชน การอบรมเรื่องระบบนิเวศและการฟนฟูปาชายเลน การติดตามประเมินสภาพปาชายเลน รวมทั้ง สนั บ สนุ น ให เ กิ ด การประชุ ม เครื อ ข า ยอนุ รั ก ษ อ า วบ า นดอนเป น ประจํ า ทุ ก เดื อ น โดยสลั บ เปลี่ ย น หมุนเวียนไปตามชุมชนตางๆ ทั้งนี้เพื่อสรางเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของคนในชุมชน วิเคราะหสภาพ ปญหาและรวมกันจัดทําขอเสนอแนะในการแกไขปญหาตางๆ เพื่อนําเสนอและใชผลักดันการแกไข ปญหาตางๆ ทีเกิดขึ้นในพื้นที่ชายฝงของอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

45


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ค.) บทบาทในการสรางโอกาสใหชุมชน : การจัดตั้งกลไกคณะกรรมการโครงการฯ ไดสราง โอกาสใหชุมชนไดเขาไปนําเสนอปญหาและความตองการของชุมชนตอจังหวัดสุราษฎรธานี รวมทั้ง การประสานความรวมมือกับหนวยงานราชการตางๆ นอกจากนั้นยังสรางโอกาสในการเขาถึงแหลง งบประมาณโครงการขนาดเล็กที่จะหมุนเวียนกลับมาสูเครือขายอนุรักษอาวบานดอน และใชสําหรับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและอาชีพในชุมชนอื่นๆ ตอไป ที่สําคัญเครือขายอนุรักษอาวบานดอนสามารถ ใชเปนเงื่อนไขในการสรางแนวรวมของชาวบานในพื้นที่อื่นๆ รอบอาวบานดอนที่ปจจุบันยังไมเขารวม ใหเขารวมดําเนินกิจกรรมตางๆ กับเครือขาย 1.2 ความยั่ ง ยื น ด า นสิ่ ง แวดล อ มและงบประมาณ (Environmental and Financial Sustainability)

กลไกการเงินไบโอไรทเดิมแสดงใหเห็นวาแหลงทุนจะใหการสนับสนุนเงินทุนสําหรับการพัฒนา คุณภาพชีวิตหรือสนับสนุนการประกอบอาชีพ ขณะเดียวกันกลุมชุมชนที่ไดรับการสนับสนุนเงินทุน ดังกลาวจะตองดําเนินกิจกรรมดานการอนุรักษเปนการตอบแทนดวย หากดําเนินกิจกรรมดานการ อนุรักษประสบความสําเร็จ กลุมชุมชนที่ไดรับการสนับสนุนก็ไมตองคืนเงินกลับคืน แตหากดําเนิน กิจกรรมไมสําเร็จกลุมชุมชนตองคืนเงินที่นําไปลงทุนดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบ อาชีพกลับคืนใหแหลงทุน กระบวนการดั ง กล า วมี ค วามแตกต า งกั บ กระบวนการส ง เสริ ม พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และการ ประกอบอาชีพซึ่งดําเนินการในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี เนื่องจากมีขอตกลงรวมกันของ ผูเกี่ยวของ (องคการพื้นที่ชุมน้ํา เครือขายอนุรักษอาวบานและชุมชน) คือ การสนับสนุนเงินทุนดาน การสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพจะมีลักษณะเปนเงิน “หมุนเวียน” กลาวคือ ไมวากิจกรรมดานการอนุรักษจะประสบความสําเร็จหรือไม ชุมชนหรือกลุมไดขอรับการสนับสนุน เงินทุนจะตองคืนเงินทั้งหมดกลับคืนสูเครือขายอนุรักษอาวบานดอนภายใตเงื่อนไขและระยะเวลาที่ตก ลงรวมกันไว เพื่อจะไดนําเงินดังกลาวไปใชสําหรับสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ ในชุ ม ชนอื่ น ๆ ต อ ไป โดยชุ ม ชนหรื อ กลุ ม ที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น จะต อ งทํ า กิ จ กรรมด า น การอนุ รั ก ษ เช น การอนุ รั ก ษ แ ละฟ น ฟู ป า ชายเลน กิ จ กรรมเฝ า ระวั ง ชายฝ ง เป น สิ่ ง ตอบแทน (อาจเปรียบไดกับดอกเบี้ยเงินกู) ใหกับโครงการฯ ผลกําไรที่ไดจากการประกอบกิจกรรมดานอาชีพจะถูกจัดสรรแตกตางกันไป ตามขอตกลงที่เกิด จากการปรึกษาหารือของสมาชิกกลุม บางกลุมนําผลกําไรสวนหนึ่งจัดสรรใหกับสมาชิก และจัดสรรอีก สวนหนึ่งสําหรับเปนเงินสําหรับการบริหารจัดการกลุมและใชสําหรับดําเนินกิจกรรมดานการอนุรักษ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกคนอื่นๆ ไดในอนาคต (ภาพที่ 5)

46


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

ภาพที่ 5 แนวคิดและกลไกทางการเงินไบโอไรททพี่ ัฒนาขึ้นของโครงการ

1.3 แรงจูงใจของไบโอไรท จากการนําแนวคิดไบโอไรทมาใชดําเนินโครงการฯ ในพื้นที่อาวบานดอน พบวามีแรงจูงใจทําให สมาชิกในชุมชนเกิดความสนใจเขารวมดําเนินกิจกรรม ดังนี้ ก.) เงินทุนที่ไดรับการสนับสนุนจากโครงการฯ สําหรับนําไปพัฒนาดานอาชีพและคุณภาพชีวิต ถือไดวาเปนการจายดอกเบี้ยใน “ระดับที่ต่ํา” เมื่อเทียบกับการเสียดอกเบี้ยใหกับการกูยืมเงินจาก สถาบั น การเงิ น ธนาคารและนายทุ น หนี้ น อกระบบในจํ า นวนเงิ น และระยะเวลากู ยื ม เท า ๆ กั น ขณะเดียวกันดอกเบี้ยที่กลุมหรือชุมชนตองจายใหกับโครงการ (กิจกรรมดานการอนุรักษ) เปนดอกเบี้ย ที่สงผลดีและสรางประโยชนใหกับชุมชน (เชน ปาชายเลนที่อุดมสมบูรณเพิ่มขึ้นก็จะสงผลใหทรัพยากร สัตวน้ําซึ่งเปนแหลงประกอบอาชีพและแหลงรายไดของชุมชนเพิ่มขึ้นดวย) ข.) ดอกเบี้ยที่ชุมชนหรือกลุมตองจายใหกับโครงการฯ (กิจกรรมดานการอนุรักษ) สวนใหญมี ความยืดหยุนและสอดคลองกับความตองการของชุมชนที่มีอยูแลว เชน กรณีของตําบลลีเล็ดชุมชน ดําเนินกิจกรรมดานการอนุรักษดวยการปลูกตนจากในพื้นที่ปาชายเลนของหมูบาน เนื่องจากเห็นวาใน ชุมชนมีการใชประโยชนจากตนจากจํานวนมาก เชน การนํายอดจากไปทําใบจากมวนบุหรี่สงขายสราง รายไดระดับครอบครัวและชุมชน การใชกานใบของตนจากจํานวนมากเพื่อทําอุปกรณการประมงที่ เรียกวา “ชอนปก” การนําใบจากมาทําเปนตับจากสําหรับทําหลังคามุงบานเรือน เปนตน หรือกรณี ตําบลคันธุลี ชุมชนดําเนินกิจกรรมการปลูกปาฟนฟูในพื้นที่เสื่อมโทรมเพื่อจายเปนดอกเบี้ยใหกับ โครงการ เนื่องจากเห็นวาพื้นที่ดังกลาวสุมเสี่ยงตอการถูกนายทุนบุกรุก แผวถางทําลายและจับจอง ซึ่ง

47


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

จะสงผลกระทบตอชาวบานในพื้นที่ที่ทําประมงพื้นบาน การจัดกิจกรรมปลูกปาเพื่อฟนฟูปาชายเลน บริเวณดังกลาวรวมกับหนวยงานตางๆ จะเปนการแสดงสัญลักษณวาพื้นที่ดังกลาวชุมชนไดจัดการ ดูแลรวมกันกับหนวยงานตางๆ เพื่อปองกันไมใหนายทุนบุกรุก ทําลายพื้นที่ปาชายเลนบริเวณดังกลาว ค.) เงินทุนสนับสนุนไบโอไรทชวยใหเครือขายอนุรักษอาวบานดอน ซึ่งเปรียบเสมือนองคกร ตัวแทนของประมงพื้นบานในพื้นที่อาวบานดอนสามารถใชเปนเงื่อนไขขยายแนวรวมแสวงหาสมาชิก จากหมูบานตางๆ เขารวมกับเครือขายฯ ไดงายขึ้น และการมีสมาชิกเครือขายจํานวนมากและมีการ บริหารจัดการที่ดีพอสามารถจะชวยใหเครือขายฯ สามารถเขาไปมีบทบาทในการผลักดันการแกไข ปญหาของชาวประมงพื้นบานอาวบานดอนในระดับตางๆ ไดงายขึ้น ง.) แกนนําของกลุมหรือของชุมชนใชเงินทุนสนับสนุนดานการพัฒนาอาชีพเปนเงื่อนไขหรือเปน แรงจูงใจใหชาวบานในพื้นที่ของตนเขามารวมกลุมเพื่อทํากิจกรรมดานตางๆ ของชุมชน ทั้งในดานการ อนุรกั ษ กิจกรรมสาธารณะในชุมชน รวมทั้งเขารวมกระบวนการฝกอบรมพัฒนาศักยภาพในดานตางๆ ไดงายขึ้น ชาวบานที่มีอาชีพที่มั่นคงและมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีวิต ทําใหสามารถจัดสรรเวลาเขา รวมกิ จกรรมตางๆ ของชุม ชนไดงายขึ้น สามารถลดปญหาความขัดแยงในครอบครัวของแกนนํ า ชาวบานที่เขารวมกิจกรรมดานการอนุรักษ (เชน ไปทํางานดานการอนุรักษจนไมมีเวลาทํางานหา รายไดจนกลายเปนความขัดแยงในครอบครัว) นอกจากนั้นการมีอาชีพที่มั่นคงยังสามารถสรางความ มั่นใจใหกับคนในชุมชนซึ่งเปนผลดีในการขยายแนวรวมไปสูชาวบานคนอื่นๆ สรุปผลการศึกษา ผลจากการดําเนินโครงการจัดการสภาวะแวดลอมอยางบูรณาการเพื่อความยั่งยืนของวิถีชีวิตชุมชน อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยประยุกตใชกลไกทางการเงินไบโอไรท พบวา “ไบโอไรท” เปนเครื่องมือ ในการสรางแรงจูงใจใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการอนุรักษ ฟนฟูและดูแลทรัพยากรชายฝงและปาชายเลน นอกจากชวยสรางรายไดเสริมใหแกชุมชนเพื่อบรรเทาปญหาความยากจนในมิติของรายได (Income Poverty) แลวยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนเพื่อบรรเทาความยากจนในมิติความ ยากไรของคน (Human Poverty) ซึ่งมีความสําคัญในแงของการปกปองและแกไขปญหาตางๆ ของชุมชนและ เครือขา ยอนุ รัก ษอา วบา นดอน เชน การผลัก ดัน ใหเกิด การแกไ ขปญ หาความไมเปน ธรรมในการจัด การ ทรัพยากร การบุกรุกทําลายพื้นที่ปาชายเลนที่เกิดขึ้นในชุมชน

48


การประยุกตใชกลไกการเงินไบโอไรท เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูกับ: การฟนฟูทรัพยากรชายฝงในพื้นที่อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณทานผูวาราชการจังหวัดสุราษฎรธานี ผูอํานวยการสวนบริหารจัดการปาชายเลน ที่ 4 หัวหนาสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 13 (ทาฉาง) หัวหนาสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน ที่ 14 (ดอนสัก) สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสุราษฎรธานี เครือขายอนุรักษ อาวบานดอน โครงการปาชายเลนเพื่ออนาคต ตลอดจนชุมชนตางๆ ที่ไดใหการสนับสนุนโครงการ จัดการสภาวะแวดลอมเชิงบูรณาการเพื่อฟนฟูวิถีชีวิตชุมชนพื้นที่อาวบานดอน จังหวัด สุราษฎรธานี ดวยดีตลอดมา

เอกสารอางอิง จินตนา ชูเหล็ก และ นันทา สิทธิราช. 2541. การใชประโยชนจากปาชายเลนแบบดั้งเดิมและปจจุบันใน ภาคใตของประเทศไทย. องคการพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติ-ประเทศไทย/มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สิงตีพิมพหมายเลข 3.สนใจ หะวานนทและคณะ. 2550. รายงานสถานการณทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ขอมูลสารสนเทศดานปาชายเลน.กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. สํานักงานประมงจังหวัดสุราษฎรธานี. ขอมูลพื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง และปลาในกระชัง จังหวัดสุราษฎรธานี ป พ.ศ.2552 [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.fisheries.go.th/fposuratthani/images/downloads/fisheriesshore_53.pdf.//20 กรกฎาคม 2554. Eijk, P. van & R. Kumar, 2009. Bio-rights in theory and practice. A financing mechanism for linking poverty alleviation and environmental conservation.Wetlands International, Wageningen, The Netherlands. Plathong, J. 1988.Status of Mangrove Forest in Southern Thailand. Wetlands International-Thailand Programe/PSU, Publication No.5.

49


50

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของ เครือขายชุมชนจังหวัดตราด ประเทศไทย Developing Business Plan for Sustainable Mangrove Utilization: A Case Study on People ’s Participation Network in Trat Province, Thailand

รองศาสตราจารยอภิวันท กําลังเอก1 ดร.ชีวารัตน พรินทราะกูล2 1

ภาควิชาสหกรณ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ

2

บทคัดยอ การศึกษาโครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน เพื่อเปนแนวทางในการสราง ความเขมแข็งใหแกชุมชนรวม ทั้งสนับสนุนใหเกิดการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนในพื้นที่ อยางเหมาะสม ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ใชการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมจํานวน 3 ครั้งในพื้นที่ ศึกษา 6 ตําบล มีผูเขารวมประชุมประมาณ 30 คน การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 เปนการพิจารณา ถึงศักยภาพของชุมชนจากขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยใชแนวทางการวิเคราะหตามระบบเพชร ซึ่ ง พบว า ศั ก ยภาพของชุ ม ชนอยู ใ นระดั บ กลาง การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารครั้ ง ที่ 2 ใช แ นวคิ ด การ วิเคราะห SWOT เพื่อกําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาแผนธุรกิจ คือ แหลงผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ จากปาชายเลนที่มีคุณภาพ ตลอดจนมีการกําหนดพันธกิจ เปาหมายยุทธศาสตร และโครงการในระยะ สั้น กลาง ยาวจํานวน 8 โครงการ สําหรับการประชุมฯครั้งที่ 3 ที่ประชุมเห็นชอบรวมกันใหเลือก โครงการในระยะสั้น 2 โครงการมาพิจารณาไดแก โครงการสงเสริมการผลิตสัตวน้ําที่มีคุณภาพและได มาตรฐานและโครงการจัดตั้งกองทุน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ โดยมีการเลือกกิจกรรมนํารองคือ การเพาะเลี้ยงปูทะเลสําหรับแนวทางการจัดตั้งกองทุนฯไดมีการพิจารณาถึงวัตถุประสงค วิธีการจัดตั้ง ระเบียบการบริหารจัดการ และที่มาของแหลงทุน และการศึกษาพบวาปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จของ แผนฯขึ้นอยูกับความเชื่อมั่นและกระตือรือรนของประชาชนในพื้นที่ ผูนําชุมชนที่มีความคิดสรางสรรค มีคุณธรรม


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The paper elaborates a case study on the people’s participation in developing a business plan as a tool for strengthening the development of the local occupation at one hand, while another as a crucial contributor to support a sustainability of mangrove resources in the area. The study was designed to revolve around the concept of local participation, and in line with the UN Agenda 21 in that the local population has the right to choose the occupation in corresponding to their ways of life and surrounding environment. Thus the development of a business plan in this nature was an action research with active participation of the community members whose livelihoods depend mainly on the utilization of Tha Tapao and Nam Chiew mangrove forest in Trat province. Main activities were conducted through active participatory process of three workshops held in the target communities. Participants included representatives from all related stakeholders ranging from governmental agencies to the members of 6 sub districts about 30 persons for each workshop. The first operational workshop was conducted through the application of Porter’s diamond model in which the primary data and secondary data were used to determine a competitive capacity of the community. It revealed that the target communities had a capacity in the medium level with an average score of 51.02. In the second workshop, SWOT technique was used to identify ways to develop and improve a business related to the mangrove forest. This led to the development of the mission and the strategy in support to the clearly defined vision of “Source of Good Quality of Production and Processing Products from Mangroves. Additionally, 8 short, medium and long term projects were identified. The third workshop was to select the most possible projects and to assess sources of funds for the establishment of the funds for future occupational development in the target communities. Two short-term projects which would contribute to the business development plan namely the “Promotion of good quality and standard size marine products project” and “the Support fund for occupational development project” were selected. The mud crab raising was proposed as a pilot activity to support one of the aforementioned projects. The results of the workshops also suggest that major factors bearing on the achievement of the business development plan implementation include activeness and confidence of the people in the target areas, creative leader with open-mindedness and righteousness, good collection of data and analysis with the linkage with the community’ action plan; and support from related local and central governmental offices. Keyword: action research, local participation, diamond model, business plan, mangrove resource

52


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย

1. Introduction Thailand currently has one of the largest areas of mangrove in Southeast Asia with a total area of 2.6 million km2 with about 21 typical mangrove species (Yamada, I. 1986). Out of this, the mangrove areas of 120,000 km2 and 328,000 km2 are reported in the central and east parts of the Gulf of Thailand, respectively (UNEP 2005). Mangroves are very important and valuable resources. Mangrove forests have both ecological and economic functions, providing both a physical environment and a source of nutrients and also are known to function as a nursery ground for a wide variety of aquatic creatures (Macane, W. 1968), (Tomlinson, P.B. 1986). Despite economic prosperity resulting from the implementation of the Economic and Social Development Plans over the past few decades, Thailand has suffered a great deal of natural resources degradation and environmental pollution nationwide. Several reports have pointed out that most of these problems stemmed largely from heavy utilization of natural resources and environment (Flaherty, M. and Filipchuk, V. 1993). Particular depletion of large areas of Thai mangroves has been serious environmental and economic concern to Thailand and many developing countries. Human stressors have a direct impact on the degradation on the quality of mangrove ecosystem. And most of the cases, such over-exploitation was a prerequisite for infrastructure development and economic production, many of which were lacking an appropriate management and control. In response to the problems mentioned above and for sustainable use of mangrove, it needs involvement of local communities in identifying and developing jobs enabling to generate income for local residence. In the other hand, it will be crucial supporting mechanism for environmentally sustainable livelihoods among coastal communities. According to Negi, S.S. 2001, participation in case of natural resources management means the total or absolute involvement of local communities come together to evaluate their problems including manage available their natural resource to plan depend on sustainable basis. In this paper, the authors elaborate a case study on the people’s participation in developing a business plan as a tool for strengthening the development of the local occupation at one hand, while another as a crucial contributor to support a sustainability of mangrove resources in the area. The aims of study are to study community’s income derived from mangrove resources; to study community capacity in developing a business plan; to analyze new revenue streams and new opportunities for diversification of income sources of poor people; and to determine a guideline for setting up funds for streamlining occupational development. It should be note that the study is one of objectives of the UNEP GEF SCS project on “Reversing Environment Degradation Trends in the South China and Gulf of Thailand”. 2. Background and study site The study area covered the local communities in six local administrative organizations whose livelihood depend on nearby Thatapao Namchieo conservation mangrove forest area in Trat province. They are Nong Sa No, Nong Samet, Hung Nam Khow, Nam Chieo, Aoa Yai and Nong Kun Song sub-districts. Thatapao Namchieo conservation mangrove forest is under Trat Mangrove Demonstration Site of the aforementioned UNEP GEF SCS project. Thatapao

53


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Namchieo Mangrove Forest which has the areas of 9,245 ha. consists of intertidal mudflats around the shore of the shallow marine bay that forms the estuarine system of the Trat River. The area supports an extensive mangrove forest and some aquaculture ponds in loamy sand substratum. 3. Method of Study The study was conducted through and active participatory process of three operational workshops held in the target communities. Participants included representatives from governmental agencies and members of the target communities in six sub-districts, totaling 20-30 persons for each workshop. Below are the key contents of a study being conducted during 10 months. 3.1. Study of the source of income Secondary data were obtained from related units such as provincial fishery division, UNEP-GEF- SCS Project. Some primary data from the first workshop was collected and analyzed in conjunction with those secondary data. 3.2 Study of community capacity Primary and secondary data were analyzed by a “Diamond Model” (Porter, M.E.1985): The analysis covered production factors, domestic demands and related and support industry. Additionally, strategic factors, structure and competition environment of the country were included in the analysis. The research team used a percentage to identify levels of the community capacity which comprise 5 levels namely high (80.01-100.00), nearly high (60.0180.00), medium (40.01-60.00), nearly low (20.01-40.00) and low (0.01-20.00). 3.3 Study of ways to develop the community occupation Primary data on community capacity assessment which was collected during the second workshop on vision, mission and objectives as well as tactics was used through SWOT analysis (Albert Hamfrey in the 1960s and 1970s). 3.4 Determination of guideline to establish fund The third workshop was convened to determine projects timeframe and activities as well as to secure collaboration in implementation and practices to assess sources of funds for the establishment of funds for future occupational development in the target communities.

54


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย

4. Findings and Outcomes The findings and the outcomes were in the scope of the study objectives as follows:4.1 Source of Community Income from Dependency on Mangrove forest Population in the target communities received benefits from Tha Tapao and Nam Choiew mangrove forest in many ways. 39.5 percent of total population used mangrove for recreation, followed by 29.9 percent for fishing, 20.6 percent for construction and fishing tolls, 9 percent for non-timber forest products and 1 percent for fuel wood. It was found that people who live around the mangrove forest had their precise income mainly from fishing. More, 264 households in 4 sub districts had an annual income of 10,620,000 Baht or 40,277.27 Baht per household (DMCR 2007). 4.2 Community Capacity in Developing Business plan This study was conducted through the application of the diamond model concept in which the primary and secondary data were used to determine a competitive capacity of the community. Additionally, a SWOT analysis technique was also used to identify ways to develop and improve a business plan related to the mangrove forest. 4.2.1 Analysis of community capacity based on primary and secondary data following diamond model concept The overall assessment of competitive capacity of the community was used to make a decision in planning for the community’s business. This was analyzed in the forms of percentage ( Table 1), the summary of which are as follows:(1) The community in the target areas has a capacity in competition in the medium level with an average score of 51.02 (2) Industrial factors which were supportive and relevant are reviewed and considered from upstream to downstream. The review and consideration is done to see a linkage for carrying the occupation and for group formation. The community has a capacity at the high level or at 75.56 percentages. (3) Domestic demand and condition factors in production: the community has a capacity to complete at the medium level or at 58.34 percentages and 41.02 percentages respectively.

(4) Strategy, structure and advantage competitiveness factors: the community has a low capacity. This might stem from rapid and continues reduction in a number of related fishermen and middleman affected by the high production costs and deteriorated natural resources.

55


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Table 1 Summary of community capacity by average score of primary data and secondary data following Porter’s diamond model Score (Percentage) Average score Level Factor

primary

secondary

(percentage)

of capacity

Condition factors

69.53

12.50

41.02

medium

Domestic demands

50.0

66.67

58.34

medium

Industrial factors

51.11

100.00

75.56

nearly high

Strategy, Structure and rivalry

42.06

0.00

21.03

nearly low

Overall

55.60

46.43

51.02

medium

Furthermore, when reviewing the community capacity assessment of each sub-district by the four factors of Porter’s Diamond model, it was found that Nong Sa No and Hung Nam Khow have competitive capacity almost at the high level of 65.31 and 62.24 respectively. Table 2 Community Capacity based on primary data following the Diamond Model Score (Percentage) Sub-district

Factors

Demand

Industry

Strategy

Average score

Level of capacity

(percentage) Nong Sa No

74.30

100

43.33

61.90

65.31

nearly high

Nong Samet

74.30

50

53.33

47.61

59.18

medium

Hung Nam Khow

74.30

58.33

63.33

42.86

62.24

nearly high

Nong Chieo

51.43

33.33

60.00

28.57

46.94

medium

Aao Yai

74.30

16.67

50.00

42.86

53.06

medium

Nong Kun Song

68.57

41.67

36.67

28.57

46.94

medium

Overall

69.53

50.00

51.11

42.06

55.60

medium

56


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย

4.2.2 Strengths, Weakness, Opportunities and Threats Analysis (1) Strengths - The mangrove forest becomes richer and the rule and regulations in mangrove forest use is set up. - The community has increased its awareness in the importance of natural resources; - The group is formulated to establish community development funds; - Labor comes from households and so it is manageable; - Products from the community have good quality and freshness which the markets want and merchants are keen to collect them at the place. The community does not have to bear for the transport cost. (2) Weakness - Violations of law and regulations occur i.e. illegal logging, improper fishing tools, fishing during the egg-laying season. This is due to lack of information dissemination; - Amount of loans for occupation is of insignificance. Not enough loans are provided to the need by people; - The community has unskilled laborers. Labor wage is high. - The community is unable to set the price of its products; Middleman problems exist. The price of product is unstable. There is no marketing plan and no group formulation for this activity; - There is no budget to continue the group activities; - There is no system in collecting local wisdoms so they are at lost. (3) Opportunities - The Thai Constitution provides more opportunities for the community. Democratic system creates/attracts overseas’ interest for investment; - Economic system has been continuously developed; - High competition in production exists. The quality of the product can compete with that of other countries; - Law enforcement provides sense of security. People’s participation in establishing regulations or agreement is increased. Policy supports production or utilization of the natural resources is established i.e. land demarcation; - The idea of living with reconciliation is dominant and is being promoted; Communities still maintain their traditional way of life and are open for outside cultures. The target communities have tried to adopt sufficiency economy in their daily life. At the same time, they try to implant their children or the new generation on attitudes towards appropriate consumption; - Opportunities in infrastructure development in the target areas appear. (4) Threats - Politics is not stable. Frequent changes in administration discontinue the work/implementation; - Increase in gasoline prices adversely affected production costs resulting into less income and less bargaining power of the people; - Getting around the law and the ignorance of officers is prevalent; - Development funds are not equally dispersed.

57


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

4.3 Ways to develop occupation Following the community capacity assessment and the problem analysis using SWOT techniques in the target areas, the ways to develop occupation are clearly defined as follows: 4.3.1 Vision “Source of Good Quality of Production and Processing Products from Mangroves” is the vision of the community in developing their business plan. 4.3.2 Mission (1) Promote and support the people in the community to possess skills and knowledge in production and processing products made from mangrove forests with a good quality; (2) Enhance and stabilize the economy with quality and righteousness; (3) Develop the community’s capacity in marketing so as to support production and processed products and to increase the community’s capacity in competition; (4) Maintain biodiversity and enhance the mangrove forest and environment. 4.3.3 Strategy (1) The first strategy is to earn income from products derived from sustainably managed mangrove. Four projects were recommended to undertake as follows:(1.1) Promotion and enhancement of group formation for occupation (1.2) Promotion of good quality and standard size marine products (1.3) Research and development of occupation model (1.4) Human Resource development for production (2) The second strategy is to promote, strengthen and create opportunities for the community’s occupation. Four projects were recommended to undertake as follows:(2.1) Brand creation for marine products (2.2) Establishment of central market for distribution of commodities (2.3) Support fund for occupation development (2.4) Research and development of domestic and foreign marketing information system 4.3.4 Project The above eight projects are prioritized according to the importance, budget and responsible persons that come from brainstorm to generate idea. The prioritization of the projects is done based on the community’s decision and produce judgments with plan for implementation under the project timeframe being short, mid and long-term. (1) Short-term Project (within one-year period) comprises the following three projects:(1.1) Promotion of good quality and standard sized marine products project: it will earmark Baht 700,000 with one as a leader that representative from Hung Nam Khao subdistrict, being in charge of preparing an action plan. Representatives or group members from four administration committees will be collaboratively responsible for the project implementation. Hung Nam Khao sub-district has personal resources that could be responsible as consultant for this activity according to have an experience in crab aquaculture in mangrove area. (1.2) Support fund for occupation development project: it is expected this project will require Baht 100,000. Representatives or group members from four sub-districts, related governmental units will be in charge of the project running. (1.3) Promotion and enhancement of group formation for occupation project: it will earmark Baht 200,000 for implementation. Provincial cooperative office, provincial community development office and representatives or members of the group will undertake the project.

58


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย

(2) Mid-Term project (between one year to three year period) include the project as follows:(2.1) Human Resource development for production project: this project earmarks Baht 250,000, to be implemented by provincial community development office and people in the area. (2.2) Research and development for domestic and foreign marketing information system project: it is expected that baht 900,000 will be required and will be run by the provincial fishery office and education unit together with people and youth in the area (3) Long-term project (between 3 to 5 years period) covers the following:(3.1) Research and development for occupation models project: it will require the budget of Baht 900,000 with the provincial fishery officer and education unit in the area, being the project implementation. (3.2) Brand creation for marine products project: it will require Baht 700,000 for implementation. The Provincial Fishery Office, Provincial Commercial Office and relate stakeholders in the area will undertake the project. (3.3) Establishment of central market for distribution of commodities project: it will earmark Baht 2,000,000 for implementation and the responsible organizations will cover provincial agriculture office, provincial commercial officer, sub-district administration organization and representatives of the people in the area. The study team and the participants of the operational workshops agreed that there were two short-term projects which contribute to the business development plan namely the promotion of good quality and standard size marine products project and the support fund for occupational development project. Accordingly, the meeting determined activities and plan to raise mud crab as a piloting activity for the promotion of good and standard marine products project. Accordingly, the mud crab raising is selected as a pilot activity for the promotion of good and standard marines products project Table 3 Detailed Activities in Raising Mud crab. (short- term period) Activity

Budget (Baht)

1. Undertake project plan development 10,000 and mud crab raising activity 2 Survey and select target group

Responsibility -Representative from Hung Nam Kho subdistrict as a leader

3. Study operational method and needs of the participating members 4. Implement mud crab raising activities 690,000 and conduct meetings to report on activity progress

- Participating People from all four sites

5 Follow up, assess and conclude the results Of the mud crab activities

59


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

4.4 Ways to establish funds for occupational development The purpose of the study on the establishment of fund for occupational development is to identify sources of funds for the people in the target areas and to identify implementation methodology so as to obtain the support. Results of the operational workshop concluded that it was very important to set up the fund or find fund source for occupational development which is named as “Occupational Development Fund for four Sub-Districts”. The funds will be for promotion and development of the members’ occupation. Thirty one member committees were need to elected for running the funds will include the following. Three selected people each from the four sub-districts, totaling twelve persons. Including introduce three experts and four academics, moreover one to three representative each from Sub-district Administration Organizations Results from the study indicated directions of the fund as follows:(1) Initial set up funds are mobilized from the members (2) Funds received from the government‘s annual disbursement budget (3) Cash and in-kind donations from others (4) Subsidies/donations from international organizations and foreign countries (5) Interest gained from assets of the fund The study found that factors bearing on the achievement of the business development plan implementation cover the following:(1) Activeness and confidence of the people in the target areas: this will lead to the collaboration among all concerned persons in managing and solving problems (2) Creative leader with open-mindedness and righteousness: this will assure that the people’s opinion will be counted. (3) Good collection of data and the analysis with the linkage with the community‘s action plan to assure that it is not over manageable (4) Support from related governmental offices at both central and provincial levels in providing funds and in mobilizing the project implementation

60


โครงการพัฒนาแผนธุรกิจจากการพึ่งพิงปาชายเลนอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาการมีสวนรวมของเครือขายชุมชน จังหวัดตราด ประเทศไทย

5. Conclusion The study has demonstrated that participatory process in developing a business plan to strengthen the development of local occupation is an appropriate way for the community to manage their livelihoods depending on the mangrove resources as well as to support the sustainability of the mangrove resources. In other words, better livelihoods and sustainability of the mangroves are co-existent. Additionally, the research team made an attempt to assess possible economic background of local community surrounds the Trat Mangrove forest using the Porter Diamond Model and SWOT methods. It could be concluded that both methods are important in analyzing the community’s capacity and could support decision making process as well as activities planning. This process was complicated and required qualitative data which was not available. However, throughout the three operational workshops, the participants have realized the importance of the related data as well as have increased their knowledge and skills in analyzing and systemizing problems, and in identifying environmentally sustainable product. This has culminated into a viable project like the mud crab raising activity. The study also indicated that there are several important factors influencing the success of the business development plan implementation which must be taken into account. Acknowledgement This project was kindly funded by the Department of Marine and Coastal Resources (DMCR) and GEF for which this work was a part within a framework plan, component No. 3: Development of business plan for sustainability of Trat Province’s Mangrove. The research team wish to extend its profound appreciation to the involved executive and staff of the DMCR for their assistance and collaboration. Finally we are grateful to the residents in the study areas for their inputs and active participation throughout the implementation of the case study.

61


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Reference Yamada, I. 1986. Tropical Rain forests of Southeast Asia. University of Haii Press, Honolulu.Pp.117-120 UNEP (United Nations Environment Programme). 2005. Mangrove distribution in Thailand. Report of Natural Resource and Environmental status. Mangrove UNEP GEF SCS Project on “Reversing Environmental Degradation Trends in the South China Sea and Gulf of Thailand”, Bangkok, 60 pp (in Thai) Macnae, W. 1968. A general account of the fauna and flora of mangrove forest in the IndoWest Pacific region. Advances in Marine Biology, 6: 73-270. Tomlinson, P.B. 1986. The Botany of Mangroves. Cambridge University Press, Cambridge. United Kingdom. 413pp. Flaherty, M. and Filipchuk, V. 1993. Forest management in northern Thailand: A rural Thai perspective. Geoforum, 24: 263-275. Parnwell, M. 1988. Rural poverty, development and the environment: The case of North-east Thailand. Journal of Biogeography 15: 199-208. Rigg J. 1995. Counting the costs: Economic Growth and Environmental Change in Thailand. Institute of Southeast Asian Studies. Singapore.267 pp UNDP/ UNESCO. 1986. Mangrove of Asia and the Pacific: Status and Management. Technical Report of UNDP/ UNESCO Research and Training Pilot Programme on Mangrove Ecosystems. UNESCO, Paris. 538 p. World Bank. 1999. Thailand: Building Partnerships for Environment and Natural Resource Management, Environmental Sector Strategy Note, Bangkok, Thailand, 28pp. Buch-Hansen, M. Oksen, P., Prabudhanitisarn. 2006. Natuaral Resources Management in Thailand. Journal of Political Ecology. 13: 48-59. Kongsangchai, J. 1995. Problems of mangrove degradation in Thailand. In: Ecology and management of mangrove restoration and regeneration in East and Southeast Asia. Procceding of ECOTONE IV 18-22. January 1995. Wang tai Hotel, Surat Thani, Thailand. pp 119-128. Negi, S.S., 2001. Participatory natural resources management, New Dehli, India, pp 211 Porter, M.E.1985. Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance, The Free Press, New York, NY, Danca A. 2000. An explanation of the SWOT analysis process. http://www.stfrancis. edu/ba /ghkickul/stuwebs/btopics/works/swot.htm

62


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญ  ญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช Nipa Palm Management use Local Wisdom : Case study of Ban Khanabnak, Pak Phanang, Nakhon Si Thammarat

กฤษฎา สุทธินุน สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง บทคัดยอ การศึกษาในครั้งนี้เปนการรวบรวมองคความรูตางๆในการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น ของชุมชนบานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในทุกกระบวนการ ตั้งแตการคัดเลือก พันธุที่ไปปลูก การดูแลรักษา การปาดเอาน้ําหวานมาผลิตเปนน้ําตาล การทําน้ําสมจาก ตลอดจนเทคนิค ในการผลิตและปรุงแตงเหลาชุมชนใหมีเอกลักษณเฉพาะ วิธีการศึกษาใชวิธีรวบรวมขอมูลจากเอกสาร การสังเกตแบบมีสวนรวม การสัมภาษณและศึกษาเชิงลึก การสนทนากลุม และการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล ผลจากการศึกษาพบวา ตนจากเปนพืชที่พบเห็นไดโดยทั่วไปในบริเวณปาชายเลน เจริญงอก งามไดดีในดินเค็มหรือดินน้ํากรอยที่เปนโคลนตม ในแมน้ําลําคลอง ซึ่งมีน้ําทวมถึงตลอดเวลา หรือในที่ ลุมหรือแมแตดินดอนที่มีน้ําขึ้นถึงในบางฤดูกาล ตนจากสามารถพบไดตามชายฝงที่มีน้ํากรอย ปาก แมน้ํา ในจังหวัดสมุทรสาคร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา กระบี่ ตรัง สตูล เปนตน ตนจาก เปนพืชที่อยูคูกับสังคมชนบทมาเปนเวลานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งชุมชนชายฝง ประโยชน เชน ใบจาก นํามามุงหลังคา หรือทําฝาบาน มวนบุหรี่ ทําภาชนะตางๆ เชน ภาชนะตักน้ํา หมวก ไมกวาด ผลจาก และดอกออน สามารถนํามาทําเปนอาหาร กานใบ ผลจาก และลําตนที่แหง สามารถนํามาทําเปน เชื้อเพลิง ที่สําคัญที่สุดคือ การปาดเอาน้ําหวานจากตนจากเพื่อทําน้ําตาลสดและน้ําตาลปบ เปนการได ประโยชนจากตนจากที่มีคาดานเศรษฐกิจมากที่สุด ซึ่งตองใชภูมิปญญาทองถิ่นที่ละเอียดออนและสั่ง สมจากบรรพบุ รุ ษ มาเป น เวลาช า นานในการปาดเอาน้ํ า หวานจากพื ช ชนิ ด นี้ เพื่ อ นํ า มาใช ใ น ชีวิตประจําวัน เชน การทําขนมหวาน ใชบริโภคในครัวเรือน ตลอดจนสามารถนําน้ําตาลสดหรือน้ําตาล ป บ มาผลิ ต เหล า ชุ ม ชนที่ มี ร สชาติ ดี ก ว า เหล า ที่ ผ ลิ ต จากน้ํ า ตาลชนิ ด อื่ น ๆ นอกจากนี้ ต น จากยั ง มี ประโยชนทางดานนิเวศและการรักษาสภาพแวดลอม ตนจากที่ขึ้นอยูบริเวณริมชายฝง หรือริมคลองจะ เปนตัวชวยลดการกัดเซาะของชายฝง การดูดซึมกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนสาเหตุของภาวะโลก รอน นอกจากนี้ จากการทดลองของนักวิจัยพบวา ตนจากสามารถเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่นากุงราง จึงนับวาตนจากนาจะเปนพืชเศรษฐกิจทางเลือกใหมที่นอกจากจะปลูกเพื่อฟนฟูระบบนิเวศใหดีขึ้นแลว


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ยังเปนพืชที่ทําใหเกษตรกรมีรายไดดี โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปนพืชที่สามารถผลิตแอลกอฮอลเปน แหลงพลังงานทดแทนในอนาคต คําสําคัญ: ตนจาก, ภูมิปญญาทองถิ่น, ชุมชนบานขนาบนาก, น้ําตาลจาก, ภาวะโลกรอน Abstract This study aimed to gather local wisdom knowledge of Nypa forest management at Khanabnak, Pak Phanang, Nakhon Si Thammarat. Data were collected from each process started from species selection, tending, harvesting, sugar and vinegar producing and local whiskey producing and improving. The method of this study comprised of literature review, observation, with participation in-depth interview, focus group discussion and forum set up to analyze and synthesize data. The result showed that Nypa palm which is generally found in mangrove areas can grow in saline soil or brackish soil which water inundated. It also found in low land or upland where water inundated during spring tide in some seasons. Generally, Nypa palm can be found in coastal areas or river mouth with brackish water in Samut Sakhon, Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, Songkla, Krabi, Trang and Satun. Nypa palm is the plant that was used in daily life of local people especially in coastal communities. It provides many benefits such as leaves which made for thatch roof, cigarette, utensils, etc. young flower and fruit are edible; dry fruit and stem can be used as fuel. The most important benefit in terms of economy is harvesting for sugar. The sugar making process is a delicate local wisdom which is passed on from generation to generation. Sugar from harvesting is used in daily life such as dessert making, household consumption, including local whiskey making. Moreover, Nypa palm is benefit for ecosystem and environment balancing. Nypa forest which grow near seashore or river bank help to protect coastal erosion, absorb carbon dioxide which is the main cause of global warming. In addition, scientific research found that Nypa palm can be grown in abandoned shrimp farm. Therefore, this plant is classified as an alternative economic plant. It is not only for the rehabilitation of ecosystems but also for making good income, particularly alcohol production which would be an alternative source of energy in the future. Keyword: Nypa palm, local wisdom, Khanabnak, Nypa sugar, global warming

64


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทนํา "ตนจาก" เปนพืชดั้งเดิมทั่วไปของเกือบทุกชุมชนในบริเวณลุมน้ําปากพนัง โดยเฉพาะตําบล ขนาบนาก มีพื้นที่ไรจากทั้งที่มีอยูเดิมและปลูกขึ้นมาใหมรวมประมาณ 7,500 ไร ประชากรในชุมชน สวนใหญประกอบอาชีพทําไรจาก โดยการผลิตน้ําหวานจากตนจากมาทําน้ําตาลปบ จากการศึกษา ขอมูลพบวาประชากรในชุมชนมีรายไดเฉลี่ย 11,808 บาท/ เดือน/ครัวเรือน หรือ 94,464 บาท/ป/ ครัวเรือน ขณะที่รายไดเฉลี่ยของพื้นที่ลุมน้ําปากพนังมีเพียง 20,000 บาท/ครัวเรือน/ป (นริศ แกวศรี นวล, 2539) จึงถือไดวาเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการทําไรจาก ไดรับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สูง เมื่อ เทีย บกับ รายไดเ ฉลี่ย ของพื้น ที่ลุม น้ํา ปากพนัง ไรจ ากของชุม ชนบา นขนาบนากเปน พื้น ที่ที่มี เอกสารสิทธิ์ และมีการใชประโยชนทั้งตําบล บางหมูบานของตําบลขนาบนากมีอาชีพในการทําน้ําตาล จากทุกครัวเรือน โดยอาศัยภูมิปญญาในการนําน้ําหวานจากตนจากมาใชประโยชน ทําเปนน้ําสมจาก น้ําตาลจาก ( น้ําตาลปบ ) เทคนิคในการนําน้ําหวานสดจากตนจากตองใชภูมิปญญาซึ่งถายทอดกันมา หลายชั่วอายุคน แตเ ปนที่นาเสี ยดายวาขณะนี้ภูมิปญญาในการประกอบอาชีพไรจากกําลังจะสู ญ หายไปจากชุมชนตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม ความรูเหลานี้เกิดจากภูมิปญญาที่สรางสมมาจาก บรรพชนทั้งสิ้น จึงควรมีการฟนฟูและหาหนทางสงวนรักษาเปนแหลงเรียนรูใหอยูคูกับชุมชนตลอดไป ตลอดจนบํารุงรักษาพืชชนิดนี้ไวใชประโยชนอยางยั่งยืน ในลักษณะที่สอดคลองกับสภาพพื้นที่และวิถี ชีวิต ของชาวบาน งานวิจัย ชิ้น นี้เ ปน งานวิจัย เชิง คุณ ภาพ ใชเ วลาในการศึก ษาตั้ง แต มกราคม – มิถุนายน 2552 รวม 6 เดือน โดยเลือกพื้นที่ศึกษาที่ชุมชนขนาบนาก ตําบลขนาบนาก อําเภอปาก พนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนพื้นที่ทําการศึกษา วิธีการศึกษา 1. ทบทวนเอกสาร งานวิจัย ผลการวิจัยที่เกี่ยวของ เก็บขอมูลในชุมชนเปาหมาย โดยใชวิธีการ สัมภาษณเจาะลึกรายบุคคลผูมีอาชีพในการทําไรจากในชุมชนบานขนาบนาก และสัมภาษณกลุมยอย คณะกรรมการหมูบานและแกนนํากลุมในชุมชนบานขนาบนาก 2. สังเกตการณแบบมีสวนรวม สนทนากลุม (Focus group discussion) เพื่อใหประชาชนซึ่งเปน ตัวแทนจากกลุมที่ทําอาชีพเกี่ยวกับไรจากในพื้นที่ตําบลขนาบนาก ไดรวมกันนําเสนอภูมิปญญาทองถิ่น ในการจัดการไรจาก สภาพปญหา แนวทางแกไข และขอเสนอแนะ 3. สรุปรวบรวมและวิเคราะหขอมูล และจัดเวทีนําเสนอผลการศึกษา ในพื้นที่ จํานวน 2 ครั้ง

65


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการศึกษา จาก เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดหนึ่งของภาคใต เปนพืชที่จัดอยูในวงศ ARECACEAE หรือ PALMAE, NYPACEAE เดิม ชื่อวิทยาศาสตร nypa fruticans Wurmb ตนจากมีลําตนอวนสั้น อาจ เลื้อยตามผิวดินหากถูกน้ําเซาะหรืออยูใตผิวดินสามารถแตกเปน 2 งาม เพื่อการขยายพันธุ ซึ่งเรียกวา "จากเดิน" นอกจากนี้จากยังแพรพันธุดวยผลเมื่อผลสุกหลุดหลนจากทะลาย จากมีลําตนใตดินหรือ เหงาที่อวบอวน แบนและแข็ง เปนสีโคลนซอนเหลื่อมกันเหมือนมูลโค มีระบบรากเปนระบบรากฝอย เปนจํานวนมากซึ่งเอื้อตอการยึดดิน ตนจากเจริญเติบโตไดดีบริเวณชายฝงที่มีน้ํากรอย ดินออนและ หนาดินลึก แดดจา บริเวณเขตรอนทั่วไป สําหรับประเทศไทยพบทุกจังหวัดที่เปนชายฝง และตนจาก จะไมขึ้นในที่เค็มจัดจนเกินไป

ภาพที่ 1 ลักษณะลําตนของจากคลายมูลโค (บริเวณผิวดิน) ในไรจากชุมชนขนาบนาก

ลักษณะของพันธุจากที่ดีสําหรับการทําน้ําตาล สําหรับพันธุจากที่ใชในการทําน้ําตาลนั้นคนใต เรียกพันธุดีวา “พันธุยอย” มีลักษณะทั่วไปดังนี้ - พงจาก หรือโคนกานใบ (petiole) มีขนาดใหญ ไมสูง และไมแข็งเกินไป กานใบที่อยูถัดจากพง จากขึ้นไปผอม - ชอดอกตลอดจนกานชอมีขนาดใหญ น้ําหวานที่หยดแตละหยดมีขนาดใหญ - ทะลายที่ติดผล ไมคอยมีผลลีบ เมล็ดมีขนาดใหญ ทะลายนิ่ม ไมแข็งกระดาง และทะลายมี ปลองสั้น (อาจไดน้ําหวาน 2.5 ลิตร ตอวัน) - ใบยอยถี่ ใบใหญอวนสมบูรณ ใบยอยขนาดเล็กที่อยูลางสุด (ชาวบานเรียกหูใบ) จะอยูใกลผิว ดินเชนสูงไมเกิน 1 เมตรแตถาอยูตําแหนงสูง เชน 2.50 เมตร น้ําหวานจะไหลนอย

66


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพที่ 2 ลักษณะของลูกจากพันธดีสําหรับนําไปปลูก

การปลูกจาก ก.การปลู ก จากในนากุ ง ทิ้ ง ร า ง เริ่ ม โดยการทํา ลายคั น นาบางส ว นเพื่ อ ให น้ํา ขึ้ น ลงได การเตรียมกลาจากสําหรับปลูกในพื้นที่นากุงราง สวนใหญจะนิยมนํากลาจากที่มีความสูงประมาณ 2 ฟุต ใสปบที่ภายในบรรจุดินโคลนไว กอนนําไปวางในพื้นที่นากุงราง พบวาหลังปลูกกลาได 6 เดือน กลาจะ มีอัตราการรอดตายเกิน 75 เปอรเซ็นต ดังนั้น การที่นําตนจากไปปลูกทดแทนในนากุงทิ้งราง มีความ เปนไปไดสูงที่จะประสบผลสําเร็จ

ภาพที่ 3 การเตรียมลูกจากพันธุดีสําหรับนําไปปลูกในพื้นที่นากุงรางที่มีน้ําทวมขัง

ข.การปลูกจากในสภาพปาธรรมชาติ ถาใชผลรวงจากชอที่มีหนอเกิดขึ้นแลวจะไดผลดีที่สุด คือ 100% หรือนํากลาจากที่งอกจากผลแกแชน้ําไว 20 วัน จะมีการงอกสูงกวาและเร็วกวาผลที่ไมได แชน้ํา อยางไรก็ตามในสภาพธรรมชาติตนจากจะขยายพันธุดวยลําตนใตดินอยูแลว โดยการแตกเปน สองแฉกรุกพื้นที่ไปเรื่อยๆ จึงไมมีความจําเปนที่ตองปลูกจากผล เพราะตนจาก (rhizome) ที่อยูใตดิน ซึ่งชาวบานเรียกวา “หินจาก” จะมีอายุเปน 100 ป และยังสามารถขยายพันธุได ค.การปลูกจากในพื้นที่ใหม เกษตรกรในอําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช นิยมใชไม ปลายแหลมทิ่มดินปลูกใหเปนหลุม แลววางผลจากลงไป เพื่อใหรากของผลจากที่งอกแลวแทงลงไปได สะดวก ใชดินกลบผลจากไวเล็กนอยดวย บางคนใชเสียมแทงเปนรู ใสดินตมหรือดินโคลนลงไปใน หลุมพอเสมอปากรู แลวจึงใสผลจากลงไป

67


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การบํารุงรักษาสวนจาก มีการตัดแตงใบเฉพาะใบที่แกจัดเทานั้น หรือไว 5 – 7 ใบตอตน ยกเวนผูที่มีอาชีพเย็บจากจะ ตัดใบเหลือเพียง 2 – 3 ใบเทานั้นเพื่อไวเลี้ยงหนอ ในกรณีที่ตนจากมีการแตกกอและเพิ่มจํานวนทําให รับแสงไดนอยลง จําเปนตองตัดใบทิ้งทั้งกอ ชาวบานเรียกวิธีการนี้วา “ฆาจาก” การฆาจากตองทําลาย ทุกยอดไมใหเหลือ เพื่อใหลําตนขาดอาหาร จากก็จะตายยกกอ สวนการบํารุงรักษา การริดกิ่ง การตัด สาง (thinning) ตลอดจนถึงการกําจัดวัชพืชนั้น ทําเฉพาะในชวง 2 ปแรกของการปลูก สวนการตัดแตง กิ่ง และการตัดสางจะกระทําเมื่อจากอายุ 2 ปขึ้นไป นอกจากนี้เกษตรกรบางรายไดนําปุยนาขาวสูตร 16-20-0 บางรายใชปุยปาลม และปุยยูเรียมาใชในไรจาก โดยการขุดพรวนดินรอบโคนจากแลวหวาน ปุยรอบโคน แตการใสปุยนี้สวนใหญยังไมเปนที่นิยมเพราะถือวาเปนการสิ้นเปลืองคาใชจาย การพัก แปลง ในการเขาไปใชประโยชนนั้น โดยทั่วไปจะมีการแบงพื้นที่ไรจากออกเปนแปลงยอย 2 -3 แปลง กลาวคือเมื่อปาดน้ําหวานมาประมาณ 3 -5 เดือนก็จะพักแปลง เปลี่ยนไปใชแปลงอื่น เพื่อใหตนจากมี โอกาสพักฟนตัวใหมอีกครั้ง ดังนั้น เมื่อถึงฤดูการผลิตใหมก็จะเปลี่ยนพักแปลงสลับกันไป วิธีการนี้จึง เรียกวาวิธีการสลับหมุนเวียน การใชประโยชนจากตนจากในพื้นที่ตําบลขนาบนาก ยอดจาก นํามาใชเพื่อทําใบจากมวนบุหรี่ หอขนมตมซึ่งทําจาก ขาวเหนียว น้ํากะทิ และน้ําตาล จาก เรียกวา “ปด” หรือจะนํามาทําเปนภาชนะตักน้ํา เรียกวา “หมาจาก” สวนกานของใบออนใชทําเปน เชือกมุงหลังคา เรียกวา “ตอกบิด” หรือจะนํามาสานทําเปนที่รองกนหมอขาวหมอแกงในครัว เรียกวา “กันหมอ” หรือ “เสวียนหมอ”

ภาพที่ 4 การใชประโยชนจากยอดจาก

ใบแก นํามาทําหมวกกันแดดกันฝนรูปทรงคลายหมวกของชาวเวียดนาม เรียกวา “เปยว” หรือ จะนํามาเย็บเปนจากตับใชมุงหลังคาหรือฝาบาน

68


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพที่ 5 การใชประโยชนใบจากแก

การใชสวนตาง ๆ มาประกอบอาหาร ผลออนอายุประมาณ 4 เดือนของจาก สามารถนํามา หั่นเปนชิ้นบาง ๆ เพื่อทําเปนผักดองหรือเปนผักแกง สวนผลจากอายุประมาณ 5-7 เดือนนั้นเนื้อในผล จาก(endosperm) สามารถรับประทานไดโดยทําขนมหวานน้ําเชื่อม

ภาพที่ 6 การใชสวนตาง ๆ มาประกอบอาหาร

ภาพที่ 7 การผลิตน้ําสมจาก

การทําน้ําสมจาก คือการนําน้ําหวานสดไมใสเปลือกเคี่ยม มาหมักไวในไหประมาณ 10 วัน ก็ จะเกิดกรดน้ําสมเพื่อใชมาบริโภค เรียกวา “น้ําสมจาก” การทําน้ําตาลจาก การทําน้ําตาลที่อําเภอปากพนัง แทบทุกพื้นที่นิยมปาดกานชอผล (infructescence) มากกวาใช กานชอดอก (inflorescence) เพราะกานดอกมักใหปริมาณและความเขมขนน้ําหวานนอยกวา 1.การเตรียมอุปกรณในการทําน้ําตาลจาก ประกอบดวย - มีดปาดตาลหรือที่เรียกกันในทองถิ่นวา “ทับ” กระบอกไมไผเจาะรูเพื่อสอดทะลายได สําหรับ รองรับน้ําหวาน และไมเคี่ยมสําหรับรักษาน้ําหวานใหคงรูป - เตาเคี่ยวน้ําตาลกอดวยดินเหนียว กระทะขนาด 60 ลิตร และเชื้อเพลิงซึ่งหาไดในพื้นที่ไดแก ไมสมอทะเล ทางจากหรือผลจากแหง บางครั้งก็ซื้อฟนที่เปนตนยางพาราจากแหลงอื่น

69


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพที่ 8 ทะลายจากที่พรอมสําหรับปาด

2.ขั้นตอนการเตรียมทะลาย การเตรียมกอนปาดเอาน้ําหวาน เปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุด เพราะหากเตรียมไมถูกวิธีจะไมมี น้ําหวานการเตรียมเริ่มจากเลือกทะลายผลที่ไมออนหรือแกจนเกินไป แลวดูสีของผลที่เริ่มเปลี่ยนเปนสี น้ําตาลแดง ถามีสีน้ําตาลเขม เปนทะลายที่แกเกินไป ภาษาทองถิ่นเรียกวา “เปนตาคาง” เมื่อคัดเลือก ทะลายไดแลว จะทําการนวดทะลาย ซึ่งมีวิธีการแตกตางกันตามพื้นที่ เชน การโยกกานไปมาแลว หรือ รีดดวยเทาบริเวณที่จะปาดทําน้ําหวานคือบริเวณโคนทะลาย สวนหัวจะทําการเคาะดวยไมหุมยาง เปน เวลา 9 วัน ตีครั้งแรก 3 วัน เวน 3 วัน ครั้งที่สอง 3 วัน และจะเวนอีก 3 วัน จึงตีครั้งสุดทายอีก 3 วัน ในการตีจะใชไมหรือกานใบของจากตี โดยจะตีวันละ 40-50 ครั้งเทานั้นจากเบาไปหาหนัก ในบางราย อาจจะตีเพียง 2 ครั้งคือ ตีครั้งแรก 3 วัน และเวนไปอีก 10 วัน จึงจะตีครั้งสุดทายอีก 3 วัน โดยตีวันละ 90 ครั้ง

ไมตีนวดตนจากทําจากไมลําพู

ไมตีนวดตนจากทําจากยาง

ไมตีนวดตนจากหุม ดวยแผนยาง

ภาพที่ 9 ไมสําหรับตีนวดทะลายจากรูปแบบตาง ๆ

3.การเก็บเกี่ยวหรือการปาดตาล หลังจากที่ทําการนวดหรือตีครบตามจํานวนวันแลว ก็ตัดทะลายหรือผลทิ้งเหลือแตกานทะลาย และตัดกานทะลายเปนชิ้นแวนบาง ๆ หนาเพียง 1-2 มม. ดวย “ทับ” ซึ่งมีลักษณะเปนมีดโคง ปาด 2-3 ครั้ง แลวเอากระบอกไมไผรองรับน้ําหวาน การปาดนิยมทําในชวงตอนเย็น หลังจากนั้นก็ทิ้งไว 1 คืน ในตอนเชาก็ปาดซ้ําอีก 1 ครั้ง ใสกระบอกเดียวกันที่ยังไมเต็ม ซึ่งเรียกวา “ลางหนา”

70


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพที่ 10 การปาดน้ําหวานจาก

กอนการปาดน้ําหวานมีการใสเปลือกไมเคี่ยม (Cytolebium lanceolatum) ไวในกระบอก เพราะ สารประกอบโพลิ ฟน อล ในไม เคี่ยมจะช วยป อ งกัน และยับ ยั้ง การเจริญ เติ บโตของจุ ลิน ทรีย รั กษา น้ําหวานไมใหบูดเปรี้ยวแลว และทําใหน้ําตาลเปนกอนเหนียว เปนปกไดงายและแหงเร็วขึ้น ปริมาณ ของไมเคี่ยมที่ใสในแตละกระบอกที่รองรับน้ําหวานประมาณ 10 กรัม หรือ 1/3 กํามือ โดยการปาดให เปนแผนบางรองกนกระบอกกอนรองรับน้ําหวาน โดยเฉลี่ยน้ําตาล 1 ปบจะใชเปลือกเคี่ยม 0.5-1 กก.

ภาพที่ 11 ใสเปลือกไมเคีย่ มในกระบอกเพือ่ ปองกันการบูดเสียของน้ําหวาน

4.กรรมวิธีการแปรรูปจากน้ําหวานเปนน้ําตาล 1.หลังจากที่ปาดใหมทิ้งไว 2-3 ชั่วโมง จนถึงประมาณ 11.00 น. ก็จะเริ่มเก็บกระบอกรองรับ น้ําหวาน กรองเอาเปลือกเคี่ยมออก โดยเท รวมในกระทะขนาด 60 ลิตร หรือกระทะใบบัว โดยทั่วไป น้ําหวาน 1 กระทะหรือประมาณ 60 ลิตร จะใหน้ําตาล 12.50 กิโลกรัม 2.ทําการตมเคี่ยวประมาณ 3-5 ชั่วโมง กั้นขอบกระทะไมใหน้ําตาลไหลลนขอบดวย “มอ” ก็จะ ไดน้ําตาลขนเหนียวมีสีน้ําตาลออนขึ้นฟอง จึงยกลงจากเตา 3.ทําการตีดวยเหล็กสปริงคลายที่ตีไข ซึ่งเรียกวา “การโซมน้ําตาล” ซึ่งเปนการทําใหน้ําตาล เย็นตัว และแข็งตัวเร็วขึ้น ถาไมโซมน้ําตาลจะแข็งเปนตังเม กอนเทบรรจุปบขนาด 25 กิโลกรัม คุณสมบัติของน้ําตาลดูไดจากความแข็ง สี และรสชาติ น้ําตาลที่มีคุณสมบัติดีจะแข็ง แหง สีทอง และหวาน ถาคุณสมบัติไมดีจะนุมหรือเหลว ในการแปรรูป ใชน้ําหวาน 6 ปบ จะไดน้ําตาล 1 ปบ หมายความวา อัตราสวนของน้ําหวานตอ น้ําตาลคือ 6:1 และ 1 กอจะทําเพียง 1 ทะลายเทานั้น แรงงาน 2 คน จะทําไดเพียง 5 ไรตอวัน คือคน หนึ่งตองดูแลไฟขณะเคี่ยวน้ําหวาน อีกคนหนึ่งเก็บน้ําหวานและปาดตาล ตนจากอายุนอยน้ําหวาน (sap) อาจมีมากกวา แตเปอรเซ็นตน้ําตาลนอยในขณะที่จากอายุมาก น้ําหวานอาจมีนอยกวา แต

71


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เปอรเซ็นตน้ําตาลสูง ในการปลูกจากเพื่อการผลิตน้ําหวานตองมีปริมาณใบที่โตเต็มที่ 3-4 ใบ รวมทั้ง ใหมีใบออนที่ยังไมคลี่ 1 ใบ จะทําใหน้ําหวานออกดี หากมีใบเหลือนอยจะทําใหปริมาณน้ําหวานลด

ภาพที่ 12 การกรองเอาเปลือกเคีย่ มกอนนําไปเคี่ยว โดยใชเวลาในการเคี่ยวประมาณ 3-5 ชั่วโมง

ภาพที่ 13 เคีย่ วจนน้ําตาลเปนสีทอง นํามาตีหรือโซมดวยเหล็กตีคลายที่ตอกไข กอนบรรจุปบ

นอกจากนี้ประชาชนในอําเภอปากพนังนิยม นําน้ําตาลจาก (jaggery) มาตมกลั่นสุรารับประทาน กันในหมูบาน โดยบดเครื่องปรุง ไดแก เปลือกลําพู ดีปลีเชือก พริกขี้หนูแหง ชะเอม พริกไทย กานพลู ลูกจันทร รกจันทร เปนผงแลวเติมลงไปกอนตมกลั่น เพื่อใหมีรสชาตินารับประทานและเก็บรักษาไวไดนาน ภาพที่ 14 สุราชุมชนผลิตจากน้ําตาลจาก

ปญหาและอุปสรรค ในการทําไรจากของชุมชนขนาบนาก 1.ปริมาณไมฟนในพื้นที่ลดนอยลง ตองซื้อไมฟนจากตางถิ่น 2.การลดลงของไมเคี่ยมและเปลือกเคี่ยม เนื่องจากมีการใชพื้นที่ปลูกปาลมและพืชเศรษฐกิจ อยางอื่นเพิ่มขึ้น ปจจุบันตองอาศัยไมเคี่ยมที่ฝงดินหรือรากเคี่ยมจากทองถิ่นอื่น ๆ 3.กระบอกไมไผรองรับน้ําหวานหายาก แตก็อาจทดแทนไดดวยกระบอกพลาสติกได 4.ขาดแคลนแรงงาน หนุมสาวมักออกไปประกอบอาชีพในเมือง 5.ภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการทําน้ําตาลจากขาดผูถายทอด 72


แนวทางการจัดการปาจากโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษา บานขนาบนาก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

แนวทางการสงเสริมและขอเสนอแนะ 1.ทําการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ภูมิปญญาทองถิ่นการทําน้ําตาลจาก จากหนวยงานที่เกี่ยวของ 2.ชาวตําบลขนาบนากควรปลูกตนเคี่ยมตามริมไรปลายสวนที่พอจะมีพื้นที่วาง เพื่อลดปญหา การขาดแคลนไมเคี่ยม 3.ควรใหชุมชนสงเสริมการทําน้ําตาลจากอยางจริงจัง โดยแนะนําการปลูกจากในพื้นที่อื่นที่มี สภาพพื้นที่ใกลเคียงกับชุมชนขนาบนาก ทั้งนี้เนื่องจากอาชีพทําไรจากสามารถสรางรายไดที่ดีใหแก ครอบครัวเกษตรกรไดเปนอยางดี 4.หนว ยงานที่เ กี่ยวข อ งควรแนะนํ าการจัด ตั้ง เป นศู นย การเรียนรูชุ มชน คอยเปน พี่เ ลี้ย งให คําแนะนํา ทั้งนี้เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและสนับสนุนองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่นที่ สั่งสมมานานใหเปนที่รูจักและแพรหลายยิ่งขึ้น 5.ควรสนับสนุนและเตรียมความพรอมในการพัฒนาทักษะที่มีความจําเปนในการนําเสนอภูมิ ปญญาทองถิ่น โดยใชสถานที่จริงและวิทยากรในทองถิ่นที่ประกอบอาชีพไรจากจริง ในการตอนรับ นักทองเที่ยวหรือคณะที่เขาไปศึกษาดูงานในชุมชน 6.ชุมชนควรใหความสําคัญกับเยาวชนในทองถิ่น ในการนําเสนอเผยแพรแกบุคคลภายนอก ทั้งนี้ เพื่อสรางความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง และสรางจิตสํานึกที่ดีในการพัฒนาใหชุมชนของ ตนเองเปนชุมชนที่เขมแข็ง 7.สถานศึกษาในชุมชนหรือผูเกี่ยวของควรผลักดันใหเกิดหลักสูตรของชุมชน โดยเนื้อหาการ เรียนการสอนที่มาจากทองถิ่น ทั้งนี้เพื่อใชแลกเปลี่ยนเผยแพรในทองถิ่นที่มีความแตกตางกัน

73


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสวนจากจันทรังษี โดยคุณโกวิทย จันทรังษี ที่อนุเคราะหขอมูล และเปดโอกาสให ไดเรียนรูวิธีปลูกจากในนากุงทิ้ง ตลอดจนเปนสื่อกลางในการหาขอมูล ขอบคุณสมาชิกชุมชนบานขนาบนากทุกทาน ที่ใหขอมูล ใหสัมภาษณและรวมเวทีชุมชนทั้ง 2 ครั้ง ตลอดจนการสาธิตและการผลิตน้ําตาลจากทุกขั้นตอน โดยเฉพาะอยางยิ่งคุณลุงภักดี - ปาสอด สุขเกษม ผูถายทอดภูมิปญญาทีสําคัญ และขอบคุ ณ ที่ สุ ด รศ.ดร. นพรั ต น บํ ารุ ง รั ก ษ จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร ที่ ใ ห คําแนะนําทางวิชาการ จนงานวิจัยเรื่องนี้สําเร็จ ลุลวงไปดวยดี

เอกสารอางอิง นพรั ต น บํ า รุ ง รั ก ษ .รายงานการวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาด า นนิ เ วศวิ ท ยา ประโยชน ใ ช ส อย และการ ขยายพันธุตนจากในพื้นที่ลุมน้ําปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ. กรุงเทพฯ, 2540. นพรัตน บํารุงรักษ.ตนจาก พืชเศรษฐกิจของปาชายเลน. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. บริษัท เฟองฟา พริ้นติ้ง จํากัด, 2544. นริศ แกวศรีนวล. การจัดการไรจาก. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, วิทยานิพนธสาขาการจัดการ สิ่งแวดลอม, 2539. ประเวศ วะสี.การสรางสรรคภูมิปญญาไทยเพื่อการพัฒนา ใน เสรี พงศพิศ (บก.) ภูมิปญญาทองถิ่นกับ พัฒนาชนบท กรุงเทพฯ : มูลนิธิภูมิปญญา, 2536. สามารถ จันทรสูรย.ภูมิปญญาทองถิ่น ใน เสรี พงศพิศ (บก.) ภูมิปญญาทองถิ่นกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : มูลนิธิภูมิปญญา, 2536 สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จประเจาอยูหัว,เลมที่21.2545. สํานักบริหารจัดการในพื้นที่ปาอนุรักษ. การมีสวนรวมของชุมชนเกี่ยวกับไมปาลมเศรษฐกิจในพื้นที่ โครงการหมูบานพิทักษปารักษาสิ่งแวดลอม ทองที่จังหวัดนครศรีธรรมราช , 2546. FAO and wetlands international. 2006. Mangrove guidebook for Southeast Asia. 268 P.

74


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร Mangrove Forest Utilization of Nayord Thong –Thung Pri Community

วีณา หนูยิ้ม สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 3 อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง 92110 บทคัดยอ จากการศึกษาการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร ตําบลวังวน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ระหวางเดือนมกราคม – ธันวาคม 2551 ผลปรากฏวา ชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร มีพัฒนาการและกระบวนการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนอยางเปนระบบ ในป พ.ศ. 2551 ผลิตภาชนะจักสาน 16 ผลิตภัณฑ รวม 2,539 ชิ้น ใชกานจากปริมาณ 488,144 กาน ปริมาตร 561,117.80 ลู ก บาศก เ ซนติ เ มตร มี ร ายได จํ า นวน 124,118 บาท และแนวโน ม ความต อ งการใช ประโยชนกานจากเดือนสิงหาคม 2552 ธันวาคม 2552 มิถุนายน 2553 ธันวาคม 2553 ธันวาคม 2554 และ ธันวาคม 2555 ปริมาณ 59,138 64,608 72,812 81,016 97,425 และ 113,834 กาน คิดเปนปริมาตร 65,254.346 70,734.207 78,953.998 87,173.789 103,613.371 และ 120,052.953 ลูกบาศกเซนติเมตร โดยประมาณการจากสมการ Yi = 31790.575 + 1367.398 Xi และ Yj = 37855.043 + 1369.965 Xj ตามลําดับ คําสําคัญ: จาก ภาชนะจักสาน จังหวัดตรัง


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract This study was carried out during January – December 2008 at Nayord Thong – Thung Pri community. The results showed that community members have a systhematic way on utilizing and develop mangrove. They used 488,144 leafstalks 561,117.80 cubic centimeter totally to produce 2,539 pieces of 16 basketry products.The regression analysis with equation Yi = 31790.575 + 1367.398 Xi ,showed trend on quantity of palm leafstalk demand in August 2009, December 2009, June 2010, December 2010, December 2011 and December 2012 with the values of 59,138 64,608 72,812 81,016 97,425 and 113,834 leafstalks, respectively. The regression analysis with equation Yj = 37855.043 + 1369.965 Xj , showed demand of palm leafstalk demand volume during the some period with the valus of 65,254.346 70,734.207 78,953.998 87,173.789 103,613.371 and 120,052.953 cubic centimeter, respectively. Keyword: Nypa palm, Basketry, Trang province

บทนํา ป า ชายเลนเป น สั ง คมพื ช ที่ ขึ้ น อยู บ ริ เ วณชายฝ ง ทะเล ลํ า คลอง ปากแม น้ํ า หรื อ ปากอ า ว ระหวางชายฝงถึงบริเวณที่มีน้ําเค็มขึ้นสูงสุด ในสภาพที่เปนดินเลนหรือดินเลนปนทราย ปาชายเลนใน ประเทศไทยพบขึ้นกระจายอยูทั่วไปบริเวณชายฝงทะเลภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต ปาชายเลน ที่สมบูรณพบในภาคใตชายฝงทะเลอันดามันบริเวณพื้นที่จังหวัดระนอง พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล ในประเทศไทยมีพันธุไมปาชายเลนทั้งหมด 78 ชนิด โดยจําแนกเปนพันธุไมปาชายเลนแทจริง จํานวน 33 ชนิด และพันธุไมที่ปรับตัวเขากับสภาพความเค็มเพื่อใหขึ้นอยูไดในสภาวะที่มีน้ําทะเลทวมถึง จํานวน 45 ชนิด พันธุไมปาชายเลนที่หลอมรวมเปนผืนปามีความสําคัญตอระบบนิเวศชายฝง และมี บทบาทสําคัญตอวิถีชีวิตของชุมชน อยางเชน โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ มีระบบรากค้ําจุนชวย ปอ งกั น การกั ด เซาะชายฝ ง โปรงแดง และถั่ ว มี ร ะบบรากหายใจช ว ยดู ด ซั บออกซิ เ จนในอากาศ ขณะเดี ย วกั น เนื้ อ ไม ส ามารถใช ทํ า เป น โครงสร า งอาคาร ขนํ า ที่ พั ก และเชื้ อ เพลิ ง เปลื อ กไม ใ ห สี ธรรมชาติใชยอมผา และฝกของถั่วขาว พังกาหัวสุมดอกแดง ใชปรุงเปนอาหารหวาน ตนจาก เปนพันธุไมปาชายเลนอีกชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญตอระบบนิเวศปาชายเลน และมี บทบาทสําคัญตอวิถีชีวิตชุมชนชายฝงมาชานานโดยเฉพาะชุมชนชายฝงแมน้ําปะเหลียน ชายฝง แมน้ําปะเหลียนเปนถิ่นกําเนิดปาชายเลนผืนใหญขนาดเนื้อที่ 44,200 ไร พื้นที่ดังกลาวประกอบดวย พันธุไมปาชายเลนคอนขางหลากหลายรวมถึงตนจาก และเปนที่ตั้งของชุมชนรวม 27 หมูบาน ชุมชน ดังกลาวตางเก็บเกี่ยวผลผลิตจากปาชายเลนมาใชประโยชนในรูปแบบตาง ๆ กัน อยางกรณี ชุมชน นายอดทอง-ทุงไพร ทองที่ตําบลวังวน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ไดจัดการปาชายเลน เนื้อที่ 3,200 ไร จัดแบงเปนพื้นที่ปาอนุรักษ 2,000 ไร ปาใชสอย 1,000 ไร และปาจาก 200 ไร ชุมชนไดเก็บเกี่ยว ผลผลิตจากตนจากมาใชประโยชน และแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ เชน ใบจากทั้งทางเย็บติดดวย 76


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร

หวายทําเปนตับ จากใชมุงหลังคาหรือทําฝาบาน ใบจากตากแหงตัดทอนเปนใบยาสูบ และกานจาก วัสดุเหลือใชจากการผลิตใบยาสูบใชเปนวัตถุดิบผลิตภาชนะจักสาน การใชประโยชนดังกลาวถือเปน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและปาชายเลนของชาติที่สําคัญที่สุด ปาจากหรือปาชายเลนเปนฐาน สรางงาน สรางอาชีพ และรายไดใหแกชุมชนชายฝงแมน้ําปะเหลียนอยางตอเนื่อง การศึกษาการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง-ทุงไพร เปนการศึกษา กระบวนการและรูปแบบการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน ศึกษาความตองการและแนวโนมการใช ประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนบานนายอดทอง-ทุงไพร เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนการ บริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต วิธีการศึกษา ทําการศึกษาและเก็บขอมูลจาก สมาชิกกลุมจักสานบานนายอดทอง-ทุงไพร หมูที่ 5 ตําบลวังวน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ในระหวางเดือนมกราคม – ธันวาคม 2551 วิเคราะหขอมูลตามหลักการ ทางคณิตศาสตร และ สถิติ และวิเคราะหความถดถอยดวยคอมพิวเตอร โปรแกรม Microsoft excel ผลการศึกษาและวิจารณ 1. กระบวนการและรูปแบบการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน 1.1 กระบวนการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน 1.1.1 การจัดตั้งกลุมจักสาน กลุมจักสานบานนายอดทอง - ทุงไพร เริ่มกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2546 โดยมีองคกรพัฒนาภาคเอกชน (NGO) เขามาชวยแนะนําแนวคิดเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุม และประยุกตใชประโยชนจากผลผลิตปาชายเลน ซึ่งบรรพบุรุษชุมชนบานนายอดทอง - ทุงไพรมี พื้นฐานทางดานการจักสานเปนทุนเดิมอยูแลว จึงเกิดการรวมกลุมอยางไมเปนทางการผลิตเสวียนหมอ จําหนายเปนอาชีพเสริม ป พ.ศ. 2548 สมาชิกกลุมจํานวน 3 คน ไดศึกษาดูงานกลุมจักสาน ณ บานบางเต ตําบลคลองลุ อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง เปนระยะเวลา 3 ชั่วโมง ชวยใหตัวแทนกลุมไดเรียนรูเกี่ยวกับวิธีการเหลา กานจากและการขึ้นรูปผลิตภัณฑ และไดนําผลิตภัณฑตัวอยางมาเปนตนแบบพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ของกลุมเองจํานวน 3 ชิ้น ไดแก ผอบ แจกัน และกลองใสกระดาษทิชชู หลังจากนั้นตัวแทนกลุมทั้ง 3 คน ไดขยายผลสูสมาชิกกลุม เกิดการเรียนรูและสามารถผลิต ภาชนะจักสานรูปแบบใหม นอกเหนือจากเสวียนหมอ ไดแก ตะกราผลไม กระเชาผลไม จานรองแกว ที่ใสแกว ที่วางโทรศัพท กลองใสกระดาษทิชชู โคมไฟ แจกัน และผอบขนาดตางๆ กัน อยางประณีต สวยงาม ป พ.ศ. 2549 กลุ ม จั ก สานได มี ค ณะกรรมการบริ ห ารงานกลุ ม จดทะเบี ย นกลุ ม อย า งเป น ทางการใชชื่อวา “ กลุมกานจาก ” และ จดทะเบียนผลิตภัณฑจักสานเปนสินคาหนึ่งตําบลหนึ่ง

77


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลิตภัณฑ ( One Tumbon One Produce ) พรอมกับ เปดรับสมัครสมาชิกเพิ่มขยายผลจากระดับ หมูบานสูระดับตําบล สมาชิกทั้งหมด 41 คน ป พ.ศ. 2550 สมาชิกกลุมไดเขาอบรมเพื่อยกระดับฝมือ ผลิตภาชนะจักสานที่มีความสวยงาม ประณีตออกสูตลาด พรอมๆ กับตั้งเปาถายทอดภูมิปญญาดังกลาวสูเยาวชนและชุมชนอยางตอเนื่อง 1.1.2 การเก็บเกี่ยวผลผลิตปาชายเลนมาใชประโยชน เริ่มจากการตัดยอดจากหรือทาง จากบริเวณโคนตนนํามาสับและดึงใบออนออกมา ปกติยอดจาก 1 ยอด จะไดใบออนจํานวน 85-105 ใบ หลั ง จากนั้ น คลี่ ใ บและดึ ง แผ น ใบออกมาเพื่ อ ตากหรื อ รมควั น ทํา ใบยาสู บ ต อ ไป ส ว นที่ เ หลื อ อยู ประกอบดวยกานจากและเศษแผนใบ ใบออนจํานวน 85-105 ใบที่ไดจากยอด 1 ยอด เฉลี่ยจํานวนใบ 95 ใบ แตละใบประกอบดวยกานจากจํานวน 3 กาน ประกอบดวยแกนกลางซึ่งนิยมใชทําไมกวาด จํานวน 95 กาน กานตัวผูสําหรับผลิตภาชนะจักสานจํานวน 95 กาน และกานตัวเมียจํานวน 95 กาน เชนกัน กานจากและเศษแผนใบที่เหลือดังกลาว เปนวัสดุเหลือใชที่ชุมชนเก็บทิ้ง แตสมาชิกกลุมจักสาน จะนํามาใชเปนวัตถุดิบผลิตภาชนะจักสานจํานวน 18 ชนิดไดแก เสวียนหมอ ถาดผลไม โคมไฟ กลอง ใสกระดาษทิชชู แกวน้ํามีฝา ที่ใสแกวน้ํา จานรองแกว เขง ตะกราหูหิ้ว ผอบ แจกัน กระเชาดอกไม กระถางตนไม จานรองใหญ ฝาชี ที่ใสปากกาดินสอ ที่วางโทรศัพท และที่ใสชอน 1.2 กระบวนการผลิตภาชนะจักสาน 1.2.1 การเตรียมกานจาก เริ่มจากการเหลากานจากใหมีผิวเรียบ และคัดแยกออกเปน 3 ขนาด (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ขนาดและปริมาตรของกานจากที่ใชผลิตภาชนะจักสาน ขนาดของกานจาก ลําดับที่ กานจากขนาด เสนผาศูนยกลาง ( ม.ม.) ความยาว ( ซม.) 1 เล็ก 1.5 90 2 กลาง 1.8 115-120 3 ใหญ 2.0-2.5 133-135

ปริมาตร (ลบ.ซม. ) 0.53 0.97 – 1.01 1.39 – 2.20

หลังจากนั้นจะจัดเตรียมกานจากเปนกอง ( ชุด ) ตามจํานวนที่ตองการใชผลิตภาชนะจักสาน ชนิดนั้นๆ อยางเชน โคมไฟ ใชกานจากทั้งหมด 160 กาน จัดแบงเปน 8 กอง กองละ 20 กาน เปนตน 1.2.2 กานจากสําหรับทําเชือก ใชกานแกนกลางผาซีกตลอดกานจะไดกานจากเสนบางๆ 2 เสน เสนหนึ่งจับโคน อีกเสนจับปลายทบเปนเสนคูขนาน เครียวทั้งสองเสนเขาดวยกันใหแนนตลอด ทั้งเสน คลายเชือกเตรียมไวสําหรับใชผูกภาชนะจักสานในขั้นตอนทําฐานกอนขึ้นรูปภาชนะจักสาน 78


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร

1.2.3 วิ ธี ก ารผลิ ต ภาชนะจั ก สาน การสานภาชนะจั ก สานมี 4 ขั้ น ตอน ประกอบด ว ย ขั้นตอนการทําฐาน การทําลายหรือขึ้นรูป การทําขอบฐาน และการทํารางพัด ขั้นตอนสุดทายทําการ เคลือ บผิว ภาชนะจัก สานดว ยสว นผสมของน้ํา มัน วานิช และน้ํา มัน สนสัด สว น 1:1 ปลอ ยทิ้ง ไวใ น อุณหภูมิหอง 1 คืน ไดภาชนะจักสานพรอมจําหนาย

2. ความตองการและแนวโนมการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน 2.1 ปริมาณและปริมาตรกานจาก จากการศึกษา พบวา ชุมชนบานนายอดทอง – ทุงไพร ผลิตภาชนะจักสานแตละชนิด ใชกานจากขนาด ปริมาณ และปริมาตรที่แตกตางกัน อยางเชน เสวียนหมอ ขนาดเล็ก ใชกานจากขนาดกลาง จํานวน 128 กาน คิดเปนปริมาตร 129.28 ลูกบาศกเซนติเมตร เสวียนหมอขนาดกลางใชกานจากขนาดกลาง จํานวน 224 กาน คิดเปนปริมาตร 226.24 ลูกบาศกเซนติเมตร และเสวียนหมอขนาดใหญใชกานจากขนาดใหญ จํานวน 224 กาน ปริมาตร 492.8 ลูกบาศกเซนติเมตร เปนตน (ตารางที่ 2) 2.2 ผลผลิตภาชนะจักสาน กลุมจักสานผลิตภาชนะจักสานจําหนายทั้งหมด 16 ผลิตภัณฑ รวม 2,539 ชิ้ น จํ า แนกเป น ภาชนะจั ก สานที่ ผ ลิ ต ในเดื อ นมกราคม กุ ม ภาพั น ธ มี น าคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม 2551 จํานวน 8/177 10/211 15/426 16/176 16/153 13/114 11/137 15/244 12/157 12/225 12/194 และ 11/325 ผลิตภัณฑ/ชิ้น ตามลําดับ (ตารางที่ 3) จากผลผลิตจํานวนดังกลาวขางตน ชวยใหกลุมจักสานมีรายไดจากการจําหนายภาชนะจักสาน เปนเงินจํานวนทั้งหมด 124,118 บาท กลุมจะมีเงินกองทุนสนับสนุนการดําเนินงานรวม 12,411.30 บาท เฉลี่ยตอเดือน 10,343.17 บาท (ตารางที่ 4)

79


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 2 ปริมาณและปริมาตรกานจากที่ใชผลิตภาชนะจักสานชนิดตางๆ ภาชนะจักสาน 1.เสวียนหมอ 1.1 ขนาดเล็ก 19 ซม. 1.2 ขนาดกลาง 24.5ซม. 1.3 ขนาดใหญ 30ซม. 2.ถาดผลไม 2.1 ขนาด 26 ซม. 2.2 ขนาด 28 ซม. 2.3 ขนาด 34 ซม. 2.4 ขนาด 34 ซม. รูปรี 2.5 ขนาด 34 ซม. 2.6 ขนาด 40.5 ซม. 2.7 ขนาด 45 ซม. 3.โคมไฟ 3.1ขนาดใหญ 3.2 ขนาดเล็ก 4.กลองใสกระดาษทิชชู

492.8

129.28 226.24 492.8

492.8 492.8 563.2 774.4

193.92 193.92 193.92 492.8 492.8 563.2 774.4

128 224 224

129.28 226.24

192 192 192 224 224 256 352

193.92 193.92 193.92

161.6

67.84 50.88 38.16 50.88

229.44

6.ที่ใสแกวน้ํา

160 160 288 กลอง 160 ฝา 128 168 ตัวแกว 96 ฝา 72 96

7. จานรองแกว

96

50.88

50.88

8. เขง 8.1 ขนาดใหญ 8.2 ขนาดเล็ก

192 160

5.แกวน้ํามีฝา

80

ปริมาณกานจาก ปริมาตรกานจากที่ใชผลิต ( ลบ.ซม.) ( กาน ) กานเล็ก กานกลาง กานใหญ ปริมาตรรวม

161.6 84.8

84.8 161.6

89.04 50.88

352.0 161.6

352.0 161.6


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร

ตารางที่ 2 (ตอ) ภาชนะจักสาน 9.ผอบ 9.1 ขนาดใหญ 9.2 ขนาดกลาง 9.3 ขนาดเล็ก 9.4 ขนาดจิ๋ว

10.ตะกรามีหู 10.1 ตะกราทรงกลม 10.2 ตะกราทรงเหลี่ยม 11.แจกัน 12.กระเชาดอกไม 12.1 ขนาด 13.5 ซม. 12.2 ขนาด 22 ซม. 13.กระถาง 13.1 ขนาด 25 ซม. 13.2ขนาด16.5 ซม. 14.จานรองใหญ 15.ฝาชี 16.ที่ใสปากกาดินสอ 16.1 ทรงกลม 16.2 ทรงรี 17.ที่วางโทรศัพท 18.ที่ใสชอน

ปริมาณกานจาก ปริมาตรกานจากที่ใชผลิต ( ลบ.ซม.) ( กาน ) กานเล็ก กานกลาง กานใหญ ปริมาตรรวม 384 ตัว 192 ฝา 192 384 ตัว 192 ฝา 192 320 ตัว 160 ฝา 160 192 ตัว 96 ฝา 96

192 224 128 96 128

211.2 211.2 193.92 193.92 161.6

387.84 246.4

84.8 50.88 50.88

101.76

422.4 492.8 129.28 50.88

161.6 129.28 129.28 704 67.84 129.28 50.88 50.88

422.4 492.8 129.28 50.88 129.28

129.28

160 128 128 320 128 128 96 96

422.4

161.6 129.28 129.28 704 67.84 129.28 50.88 50.88

81


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 3 ผลผลิต ปริมาณและปริมาตรกานจากที่ใชผลิตภาชนะจักสานในป พ.ศ.2551 เดือน มกราคม 2551 กุมภาพันธ 2551 มีนาคม 2551 เมษายน 2551 พฤษภาคม 2551 มิถุนายน 2551 กรกฎาคม 2551 สิงหาคม 2551 กันยายน 2551 ตุลาคม 2551 พฤศจิกายน 2551 ธันวาคม 2551 รวม

ผลผลิต (ผลิตภัณฑ/ชิ้น )

ปริมาณกานจาก (กาน)

ปริมาตรกานจาก (ลบ.ซม.)

8/177 10/211 15/426 16/176 16/153 13/114 11/137 15/244 12/157 12/225 12/194 11/325 16/2,539

28,864 36,798 71,274 31,648 26,912 26,976 27,712 48,520 35,232 41,408 37,728 75,072 488,144

32,026.72 41,508.88 78,250.64 35,844.48 27,756.80 35,649.60 38,260.16 63,375.44 48,667.20 44,979.48 42,890.24 71,908.16 561,117.80

ตารางที่ 4 ผลผลิต รายไดและเงินกองทุนกลุมจักสาน เดือน มกราคม 2551 กุมภาพันธ 2551 มีนาคม 2551 เมษายน 2551 พฤษภาคม 2551 มิถุนายน 2551 กรกฎาคม 2551 สิงหาคม 2551 กันยายน 2551 ตุลาคม 2551 พฤศจิกายน 2551 ธันวาคม 2551 รวม

82

รายได (บาท) 6,595 9,530 17,390 8,365 6,620 7,185 8,200 14,060 9,870 9,100 10,018 17,185 124,118

เงินกองทุน (บาท) 659.5 953 1,739 836.5 662 718.5 820 1,406.00 987.00 910.00 1,001.80 1,718.50 12,411.30

หมายเหตุ

เฉลี่ย 10,343.17


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร

2.3 ความตองการใชกานจาก กลุมจักสานไดใชกานจากเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตภาชนะจักสาน จํานวน ทั้งหมด 488,144 กาน รวม 561,117.80 ลูกบาศกเซนติเมตร (ตารางที่ 3) 2.4 แนวโนมความตองการใชกานจาก จากผลการวิเคราะหความถดถอยไดสมการ Yi = 31790.575 + 1367.398 Xi และ Yj = 37855.043 + 1369.965 Xj แสดงใหเห็นวาแนวโนมความ ตองการใชประโยชนกานจากในเดือนสิงหาคม 2552 ธันวาคม 2552 มิถุนายน 2553 ธันวาคม 2553 ธันวาคม 2554 และ ธันวาคม 2555 มี จํานวน 59,138 64,608 72,812 81,016 97,425 และ 113,834 กาน คิดเปนปริมาตร 65,254.346 70,734.207 78,953.998 87,173.789 103,613.371 และ 120,052.953 ลูกบาศกเซนติเมตร ตามลําดับ 3. แนวทางการวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนอยางยั่งยืน ป พ.ศ. 2551 ชุมชนนายอดทอง-ทุงไพร ใชกานจากผลิตภาชนะจักสานจํานวน 488,144 กาน ซึ่งยอดจาก 1 ยอด มีใบเฉลี่ย 95 ใบ แตละใบได 2 กาน ดังนั้น กานจากจํานวนดังกลาวไดจากตนจาก จํานวน 2,570 ตน หากปลูกตนจากระยะ 4×4 เมตร ชุมชนมีปาจาก เนื้อที่ 60 ไร ก็เพียงพอสําหรับใช เปนวัตถุดิบผลิตภาชนะจักสาน และเมื่อวิเคราะหปริมาณการใชประโยชนของชุมชนแลว จะเห็นไดวา ความต อ งการใช ป ระโยชน ป ริ ม าณและปริ ม าตรก า นจากเพิ่ ม สู ง ขึ้ น (ตารางที่ 5) สํา หรั บ ชุ ม ชน นายอดทอง-ทุงไพร มีพื้นที่ปาจาก 200 ไร คาดวาพื้นที่ปาชายเลนที่มีอยูสามารถรองรับความตองการ ใชประโยชนไดถึงป พ.ศ. 2558 ตารางที่ 5 แสดงแนวโนมปริมาณและปริมาตรการใชประโยชนกานจากของชุมชน ป พ.ศ. 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

แนวโนมการใชประโยชนกานจาก จํานวนกาน 488,144 685,048 881,944 1,082,157 1,275,760 1,472,665 1,669,572 1,866,476

ปริมาตร (ลบ.ซม. ) 561,117.80 758,392.74 955,667.70 1,152,943.00 1,350,217.60 1,547,492.60 1,744,767.50 1,942,042.60

พื้นที่ปาจาก รองรับวัตถุดิบ (ไร ) 60 72 92 114 134 156 176 198

83


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ควรสงเสริมใหชุมชนผลิตภาชนะจักสานเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากการสงเสริมดังกลาวทําใหประชาชน/ชุมชนไดรับผลประโยชน และกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝงไดรับผลประโยชน ดังนี้ ผลประโยชนที่ชุมชนจะไดรับ 1.ชุมชนมีอาชีพ และรายได ชวยใหเศรษฐกิจในภาพรวมของชุมชนดีขึ้น 2.ชุมชนมีความรัก ความสามัคคี รวมกลุมอยางเปนระบบ ทําใหสังคมภายในชุมชนสงบ รมเย็น 3. ชุมชนมีการเรียนรูและเกิดองคความรูดานการบริหารจัดการกลุมและการจัดการทรัพยากร ปาชายเลน 4.ชุมชนเขมแข็ง ภาคภูมิใจในผลงาน/กิจกรรมอนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน เพราะไดรับการยอมรับจากสังคมภายนอก ผลประโยชนที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงจะไดรับ 1.ชุมชนตระหนักถึงความสําคัญและคุณคาของปาชายเลนอยางเดนชัด มูลคาทางเศรษฐกิจ สามารถโนมนาวใหชุมชนอนุรักษและใชประโยชนปาชายเลนอยางเปนระบบ มีกฎ กติกา มีสวนรวมใน การอนุรักษปาชายเลน เกิดกลุมและเครือขายอนุรักษปาชายเลนเพิ่มมากขึ้น ชวยใหกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง บริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนสัมฤทธิ์ผลไดอยางรวดเร็ว 2.ชุมชนเก็บเกี่ยวผลผลิตจากปาชายเลนมาใชประโยชนโดยไมกระทบตอระบบนิเวศ สังคมพืช ปาชายเลนมีการสืบพันธุตามธรรมชาติ ประกอบกับชุมชนอนุรักษปาชายเลนอยางตอเนื่อง ทําใหมี พื้นที่ปาชายเลนเพิ่มขึ้น ระบบนิเวศชายฝงทะเลสมบูรณและมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงขึ้น และ ที่สําคัญพื้นที่ปาชายเลนดังกลาวจะชวยลดปญหาการกัดเซาะชายฝง 3.ผลิตภัณฑ หรือ นวัตกรรมจากปาชายเลน สามารถใชเปนสื่อใหสาธารณชนไดรับทราบเปนที่ ประจักษถึงคุณคาปาชายเลน เปนวิธีการประชาสัมพันธบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง สรุปผลการศึกษา 1.กระบวนการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนชายฝงแมน้ําปะเหลียน เริ่มตนจาก การรวมกลุมสมาชิกผูสนใจ รวมกันผลิตภาชนะจักสานเพื่อจําหนายตั้งแตป พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบัน (ป พ.ศ. 2551) สามารถผลิตภาชนะจักสาน จํานวน 16 ผลิตภัณฑ รวม 2,539 ชิ้น ใชกานจากทั้งหมด จํานวน 488,144 กาน คิดเปนปริมาตร 561,117.80 ลูกบาศกเซนติเมตร 2.เมื่ อ เปรี ย บเที ย บความต อ งการใช ป ระโยชน ป ริ ม าณและปริ ม าตรก า นจากของชุ ม ชน นายอดทอง-ทุงไพร ผลปรากฏวา ในชวง 3 เดือนแรก คือ เดือนมกราคม กุมภาพันธ และมีนาคม พ.ศ. 2552 84


การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลนของชุมชนนายอดทอง – ทุงไพร

ความตองการใชประโยชนมีคาสูง ชวง 2 เดือนถัดมาความตองการกลับลดลงอยางรวดเร็ว และเริ่มมีคา สูงขึ้นเล็กนอยในชวงเดือนมิถุนายน กรกฎาคม และ สิงหาคม ในเดือนกันยายน กลับลดลง สูงขึ้นใน เดือนถัดไป และลดลง สูงขึ้นอีกครั้งในเดือนธันวาคม ทั้งนี้อาจเนื่องจากปจจัยดังตอไปนี้ 2.1 ชุมชนนายอดทอง-ทุงไพร ไมมีการวางแผนการผลิตทีแ่ นนอน ชุมชนจะทําการผลิตภาชนะ จักสานเฉพาะชวงเวลาวาง จากงานประจํา และเมื่อมีการสั่งผลิตเทานั้น 2.2 ชุ ม ชนนายอดทอง-ทุ ง ไพร มี ป ระเพณี ทําบุ ญ และเทศกาลประจํา หมู บ า นในช ว งเดื อ น เมษายน- พฤษภาคม ของทุกป อาจเปนเหตุผลหนึ่งที่ทําใหความตองการใชประโยชนลดลง 3.แนวโนมความตองการใชประโยชนปริมาณและปริมาตรก านจากเพื่อผลิ ตภาชนะจักสาน ชุมชนนายอดทอง-ทุงไพร มีแนวโนมความตองการใชประโยชนกานจากสูงขึ้น อยางไรก็ตามการศึกษา ครั้งนี้เปนเพียงกรณีศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนระดับชุมชน เทานั้น กรณีมีการศึกษาตอยอดจําเปนตองพิจารณาถึงปจจัยอื่นประกอบดวย 4.ชุมชนไดยึดถืออาชีพผลิตภาชนะจักสาน ใชกานจากอยางตอเนื่อง จึงมีความจําเปนตอง รณรงคใหชุมชนอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนเพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณนายถาวร จิ่วตั่น ที่ปรึกษานายกองคการบริหารสวนตําบลวังวน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง นางสุนันท จิ่วตั่น ประธานกลุม นางสุจินต ไขริน รองประธานกลุม นางนภาพร ปูขาว นางนิภานันท ทองชู และสมาชิกกลุมจักสานกานจากบานนายอดทอง-ทุงไพร ทุกทานที่มีสวนชวยและ สนับสนุนใหการศึกษาในครั้งนี้สําเร็จลงดวยดี

85


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง กรมปาไม. 2542. พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทย. สํานักวิชาการปาไม.กรมปาไม.กรุงเทพฯ.155 น. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. 2550. พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทย. สํานักอนุรักษทรัพยากร ปาชายเลน. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง.กรุงเทพฯ. 149 น. จิตรา หลีกภัย. - ตนจาก. ชุมรมอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม.โรงเรียนสภาราชินี.จังหวัดตรัง.2 น. ( ฉบับโรเนียว ) จุรีย ลิกขะไชย. 2545.จักสานจากกระจูด.ใน:หัตถกรรมพื้นบานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ. สํานักพัฒนาการประชาสัมพันธ กรมประชาสัมพันธ. กรุงเทพฯ. 27 - 28. นพรัตน บํารุงรักษ. 2540. การศึกษาดานนิเวศวิทยา ประโยชนใชสอยและการขยายพันธุตนจากใน พื้นที่ลุมน้ําปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กรุงเทพฯ. 65น. นพรัตน บํารุงรักษ. 2544. ตนจาก...พืชเศรษฐกิจของปาชายเลน. สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ.กรุงเทพฯ.59 น. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. นานมีบุคสพับลิเคชั่น. กรุงเทพฯ. 1488 น. วงจันทร วงศแกว. 2540. ศักยภาพของจาก (Nypa frutican Wurmb.) ในการอนุรักษชายฝง. ใน: การสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติครั้งที่ 10 . สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. วันที่ 25-28 สิงหาคม 2540 ณ โรงแรมเจบีหาดใหญ จังหวัดสงขลา. I-8 (1-6). วิบูรณ ลี้สุวรรณ. 2541. ชุดมรดกศิลปหัตถกรรมไทยเครื่องจักสานไทย. องคการคาของคุรุสภา. กรุงเทพฯ .82 น. วินัย วิริยะปานนท.2527. เครื่องจักสาน.สํานักพิมพแพรพิทยา. กรุงเทพฯ. 76 น. World Agroforestry Centre.2006. : http://www.worldgroforestrycentre.org/ Wikimedia.Foundation. 2009. : http://en.wikipedia.org/

86


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต1 ระวี ถาวร2 ลัดดา วิไลศรี3 สมหญิง สุนทรวงษ4 2,4

แผนงานประเทศไทย ศูนยฝกอบรมศาสตรชุมชนแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (RECOFTC) 3 มูลนิธิกองทุนไทย

1. บริบทชุมชนและฐานทรัพยากร หมูบานเปร็ดในตั้งอยูหมูที่ 2 ตําบลหวงน้ําขาว อําเภอเมือง จังหวัดตราด อยูหางจากตัวอําเภอ เมืองประมาณ 13 กิโลเมตร มีเนื้อที่หมูบานประมาณ 2,367 ไร ประกอบดวยพื้นที่อยูอาศัย ที่สาธารณะ 994 ไร(42%) และพื้นที่เกษตรกรรม 1,337 ไร (58%) ประกอบดวยสวนยางพารา สวนผลไม บอเพาะเลี้ยง สัตวน้ําแบบธรรมชาติ ประชากรทั้งหมดจํานวน 650 คน จํานวน 164 ครัวเรือน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ อาชีพ หลักคือ ทําสวนผลไม เชน ทุเรียน เงาะ มังคุด เปนตน และสวนยางพารา นอกจากนี้ยังมีอาชีพ ประมงทั้ ง ประมงพื้ น บ า น และเพาะเลี้ ย งสั ต ว น้ํ า ได แ ก ทํ า นากุ ง เลี้ ย งปลาเก า ปลากระพงแบบ ธรรมชาติ ในพื้นที่ตดิ กับปาชายเลน ปาชายเลนบานเปร็ดในมีเนื้อที่ประมาณ 12,000 ไร อยูหางจากหมูบานประมาณ 1 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตก เปนปาที่ผานการทําสัมปทานทําไมและนากุงมาแลว จากปญหาการทําลายปาชาย เลนอยางหนักในชวงป พ.ศ. 2526 – 2527 ทําใหชาวบานคัดคานนายทุนที่เขามาทํานากุง และเริ่ม ฟนฟูปาชายเลนในป พ.ศ. 2530 เปนตนมาอยางตอเนื่องกวา 23 ป 2. ปรากฎการณความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบในทองถิ่น ชุมชนบานเปร็ดในสะทอนวาปญหาสภาวะโลกรอนเกิดมาจากการลดลงของปาไมถึงแมวาปา ชายเลนบานเปร็ดในวันนี้จะกลับมาสมบูรณ แตโดยภาพรวมพื้นที่ปาของประเทศยังคงถูกบุกรุก ทําลายทําใหตนไมนอยลง มลพิษมากขึ้น เปนผลใหอุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไดพบปรากฏการณ ที่สังเกตเห็นเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ชัดเจนในชวง 2-3 ปที่ผานมาอยางนอย 3 ประการ 1

กรณีศึกษาภายใตโครงการวิจัยเรื่อง แนวคิดและรูปแบบของ REDD ที่เหมาะสมในการจัดการทรัพยากรปาไมอยางยัง่ ยืนและ เปนธรรมในบริบทสังคมไทย ชุดโครงการพัฒนาความรูและยุทธศาสตรดานความตกลงพหุภาคีระหวางประเทศดานสิ่งแวดลอม สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.)


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ประการแรกคือ ฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไป ฤดูฝนมีชวงยาวขึ้น ฤดูหนาวสั้นลงสงผลกระทบตอ อาชีพทําสวนผลไม คือ ผลไมออกดอกติดผลชา จํานวนชอดอกนอยทําใหผลผลิตที่ไดนอยลงดวย เกิดเชื้อราในผลไมม ากขึ้ น เช น ทุเ รียน อากาศที่ แ ปรปรวนยังทําใหคนในชุ มชนป วยง าย ทํ าให มี คาใชจายเพิ่มขึ้น ประการที่สองคือ สภาพอากาศมีความแปรปรวนและรุนแรงมากขึ้น เชน แดดแรง อากาศรอน กวาเดิม ฟาฝนคะนอง ลมพัดแรงขึ้น สงผลใหไมผลตางๆโคนลม ดอกเงาะรวง อากาศรอนทําใหเกสร ดอกไมเหี่ยวเฉาไหมจึงติดผลนอย ปลาในบอเลี้ยงไมคอยกินอาหารทําใหเติบโตชา เกิดโรคระบาดเปน แผล อากาศรอนมากๆปลาจะลอยหัวเนื่องจากปริมาณออกซิเจนในน้ํานอย พบสาหรายในบอปลา เพิ่มขึ้น พบแมลงบางชนิดเพิ่มขึ้น เชน ยุง เพลี้ยไฟ ประการที่สาม น้ําทะเลสูงขึ้นทําใหน้ําทะเลหนุนเขามาทวมบอกุง บอปลาเกิดความเสียหาย การกัดเซาะชายฝง ทําใหตนไมหนาทะเลโคนลม การแกปญหาของชาวบานคือวางเตายางบริเวณ หนาทะเล และปกหลักไมไผ เพื่อลดความรุนแรงของคลื่นและกลายเปนแหลงที่อยูอาศัยของสตวน้ํา จากการประเมินรวมกับชุมชนถึงผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศพบวา อาชีพ ทําสวนผลไมจึงไดรับผลกระทบมากที่สุด รองลงมาคือ อาชีพเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา อาชีพเก็บหาสัตวน้ําใน ปาชายเลน และอาชีพที่ไดรับผลกระทบนอยที่สุดคือสวนยางพารา 3. พัฒนาการจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน กอนป 2526 มีปาชายเลนอุดมสมบูรณกวา 300,000 ไร อุดมสมบูรณไปดวยสัตวน้ํานานาชนิด ในปาชายเลนที่สําคัญ เชน ปลาหมอไทย ปลากระบอก บริเวณหนาทะเลมีปลากระเบน ปลาโลมา ชวงปาถูกทําลาย จุดเปลี่ยนของบานเปร็ดใน (ตั้งแตปพ.ศ. 2526 – 2530) สภาพปาที่เคยอุดมสมบูรณเริ่มเสื่อมโทรม อันเนื่องมาจากนโยบายใหสัมปทานการทําไมแก นายทุนเพื่อตัดไมและเผาถานกวา 1,000 ไร กลุมนายทุนตองการจะเอาพื้นที่ปาชายเลนมาทํานากุง ทําใหปาเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว ชาวบานไดรับผลกระทบจากการที่ปาถูกทําลาย เกิดการรวมตัวกัน เพื่อตอตาน ตอมามีเจาหนาที่ปาไม ทหารเรือ ตํารวจและนักการเมืองเขามาชวยเหลือสนับสนุนจน นายทุนตองออกนอกพื้นที่ ชวงฟนฟูปา (ตั้งแตปพ.ศ. 2530 – 2543) เริ่มฟนฟูปาโดยการจัดกิจกรรมปลูกปาครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2530 และตอมาในป พ.ศ.2541 ไดเกิด “กลุมอนุรักษและพัฒนาปาชายเลนบานเปร็ดใน” ขึ้น โดยมีการแบงกลุมยอยออกเปน 6 กลุมๆละ 20 ครัวเรือน เพื่อแบงเขตรับผิดชอบดูแลปาชายเลน ตอมาในป พ.ศ. 2542 เริ่มจัดทําแผนการจัดการ ปาชายเลนและสรางขอตกลงในการใชประโยชนในแตละพื้นที่จัดการโดยมีผลบังคับใชในป พ.ศ.2543

88


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิต

มีการสรางขอตกลงในการทําเตายางเพื่อเปนที่อาศัยของปลาและการปรับเปลี่ยนเครื่องมือในการ จับปลา สําหรับนากุงกําหนดใหตองมีบอพักขี้เลน ปาและทรัพยากรทางทะเลกลับมาอุดมสมบูรณอีกครั้ง เกิดความรวมมือในการจัดการดูแลปา มากขึ้นเพราะคนในชุมชนและชุมชนใกลเคียงเขาใจและเห็นความสําคัญมาก เกิดกองทุนในการดูแลปา มีแผนการจัดการปาชายเลนระยะ 5 ป (พ.ศ. 2546-2550) ขอตกลงในการใชประโยชน การทําเตายาง สามารถเป น แหล ง ปะการั ง เที ย มให สั ต ว น้ํ า ได เ ข า มาอยู อ าศั ย และช ว ยป อ งกั น เรื อ อวนรุ น ได ด ว ย นอกจากนี้ไดเกิดกลุมองคกรภายในชุมชน 19 กลุม ซึ่งทุกกลุมมีสวนชวยในการดูแลรักษาปา และกลุม องคกรภายนอกเขามาใหการสนับสนุนจํานวน 17 องคกร ชวงเครือขาย/ขยายผลและพัฒนาวิจัยใหม (ตั้งแตปพ.ศ. 2543 – ปจจุบัน) หลายหน ว ยงานเริ่ ม เข า มาให ก ารสนั บ สนุ น ทั้ ง ในด า นข อ มู ล ทางวิ ช าการ การศึ ก ษาวิ จั ย งบประมาณ และการฝกอบรมตางๆ ในปพ.ศ. 2544 เริ่มสรางเครือขายความรวมมือระดับจังหวัดทํา ใหชุมชนและกลุมอนุรักษฯมีความเขมแข็งเพิ่มขึ้น ปจจุบันไดขยายพื้นที่จัดการปาเปนเครือขาย 6 ตําบลใกลเคียง มีคณะกรรมการรวมและแผนการจัดการปารวมกัน ปพ.ศ. 2545 ชุมชนเริ่มทดลองเพิ่ม ผลผลิตสัตวน้ําโดยการทําธนาคารปูดํา บานปลา พรอมทั้งปลูกปาและมีการศึกษาการเปลี่ยนแปลง ของประชากรปูดํา รวมทั้งมีการติดตามการพังทลายของหนาทะเล ซึ่งเปนงานวิจัยรวมกับกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) บทเรียนการปกปองและฟนฟูปาของชุมชนทําใหเปนที่รูจักและเปนแหลง เรียนรูของหนวยงานตางๆ และสิ่งที่นาภาคภูมิใจของคนเปร็ดในที่สุดคือเมื่อ ป พ.ศ. 2551 สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ เสด็จมาเยี่ยมชมปาชายเลนบานเปร็ดใน 5. รูปแบบการจัดการปาชายเลนบานเปร็ดใน 1) การฟนฟูและจัดการปาชายเลนโดยชุมชน คําถามที่สําคัญคือ ชุมชนมีแนวคิดและการฟนฟู จัดการปาชายเลนอยางไร? มียุทธศาสตร และกิจกรรมหลักๆอะไรบาง พบวาการฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรสัตวน้ํา พรอมกับการสรางและ พัฒนาองคกรเพื่อมาประสานงานจัดการปาถือ เปนยุทธศาสตรแรกเมื่อมีการรวมตัวกันของชุมชนใน การจัดการทรัพยากร ภายหลังที่ชุมชนรวมตัวกันคัดคานการสัมปทานพื้นที่ปาชายเลนของนายทุนได สําเร็จ โดยฐานแนวคิดและหลักการฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนที่สําคัญ 5 ประการ กลาวคือ 1) การ ฟนฟูตองสอดคลองกับระบบนิเวศดั้งเดิมทั้งสังคมพืชที่ขึ้นในแตละบริเวณ 2) การฟนฟูใชทั้งการปลูก และการสงเสริมการสืบตอพันธุตามธรรมชาติ 3) จัดการเชื่อมโยงกับระบบนิเวศบกและทะเล ตั้งแตการ รักษาปาบกที่หมูบาน การลดการใชสารเคมีพื้นที่เกษตรกรรมและนาปลาธรรมชาติที่ติดปาชายเลน รวมทั้งมีแผนการฟนฟูสัตวน้ํา เชน การกําหนดเขตอนุรักษพันธุสัตวน้ําเพื่อสงเสริมการขยายพันธุตาม ธรรมชาติ การสรางแหลงขยายพันธุสัตวน้ําเชน บานปลา ธนาคารปูควบคูไปกับการฟนฟูระบบนิเวศ ปาดวย 3) เนนการมีสวนรวมของผูใชประโยชน เก็บหาจากปา ชาวบานในชุมชน รัฐ และชุมชนใกลเคียง

89


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

4) มีการติดตาม ประเมินผลสภาพปาอยูสม่ําเสมอ 5) การเสริมสรางความเขมแข็งขององคกรชุมชนใน การบริหารจัดการ 6) การสงเสริมบทบาทหญิงชาย และผูที่ใชประโยชนจากปา 7) การเชื่อมโยงระบบ เศรษฐกิจและสวัสดิการชุมชนกับกระบวนการฟนฟู และจัดการปา โดยการใชกลไกกลุมออมทรัพยใน การเชื่อมโยง การบริ ห ารจั ด การใช แ ผนการจั ด การป า และทรั พ ยากรของชุ ม ชนเป น เครื่ อ งมื อ ในการ ดําเนินงาน ซึ่งแผนการจัดการดังกลาวจะมีการสรุป ทบทวนและปรับปรุง จากคนในชุมชนและสมาชิก ของกลุมทุกๆ ป กิจกรรมการจัดการปาชายเลนถูกบรรจุอยูในแผนงานหลักๆ 6 แผน ดังนี้ 1) แผนการฟนฟู/บํารุง/ปองกัน/การใชประโยชน ไดแก • สรางขอตกลงผานคําขวัญ “หยุดจับรอยคอยจับลาน” โดยมีคณะกรรมการปา, ผูเก็บหา ปูแสม (ในและนอกชุมชน) และผูรับซื้อเขามามีสวนรวม • กิจกรรมปลูกปา โดยปรับเปลี่ยนเปนกิจกรรมใหคนมาศึกษาดูงานจะรวมกันปลูกปา • ธนาคารปู โดยการนําแมพันธุปูมาไวในกระชังเพื่อขยายพันธุ 2) แผนการศึกษาวิจัย : ทําวิจัยเรื่องเตายางกับการลดปญหาการกัดเซาะชายฝง 3) แผนการบริหารจัดการองคกรและเครือขาย • การทบทวนกฏระเบียบ ชุมชนมีการทําแผนและทบทวนกฏระเบียบทุกๆ 3 ป เพื่อปรับปรุง กิจกรรมใหสอดคลองกับสถานการณ • เวทีประชุมเครือขาย 6 ตําบล เพื่อขยายเครือขายความรวมมือในการจัดการทรัพยากร ปาไมระดับตําบล 6 ตําบล รวมกับคณะกรรมการปาและ องคการบริหารสวนตําบลทั้ง 6 ตําบล 4) แผนประชาสัมพันธ เพื่อสนับสนุนและเสริมศักยภาพใหกับเยาวชนในหมูบานจึงไดมีการจัด กิจกรรมเสียงตามสายประชาสัมพันธขอมูลตางๆซึ่งจะจัดทุกเสาร-อาทิตย และการจัดคาย เยาวชน 5) แผนกองทุนจัดการปา เปนเครื่องมือหนึ่งที่ใชในการดูแลปาชายเลน 6) แผนการติดตามประเมินผล โดยเนนการมีสวนรวมในการเฝาระวังปาโดยใหผูเก็บหาสัตวน้ํา มีสวนรวมในการเฝาระวังและใหขอมูล ขาวสาร 2) ตนทุนในการจัดการปา ตนทุนในการจัดการปาชุมชนใหความสําคัญกับ “คน” มากที่สุดเพราะคนเปนผูขับเคลื่อนงาน ดานการอนุรักษและปกปอง การรวมมือทั้งแรงกาย แรงใจ ความเสียสละ ความสามัคคี คนนอกชุมชนเอง ก็มีส วนสํ าคั ญเนื่ องจากไดเ ขามาใชประโยชน จากปาเชน กันจึ งตอ งมี การสรางความเขาใจ เพราะ ความสําเร็จนั้นปจจัยสําคัญคือความรวมมือจากคนในชุมชนและนอกชุมชน ตนทุนที่สอง คือ “ความรู” ทั้งความรูทางวิชาการและความรูทองถิ่นเปนตนทุนที่สําคัญ ตนทุนที่สามคือ “เงิน” ที่ใชในการดําเนิน 90


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิต

กิจกรรมตางๆ โดยจากการประเมินพบวาในรอบป ชุมชนมีการใชจายงบประมาณ 230,000 บาท ในการจัดการปาคิดเปน 19 บาทตอไรตอป โดยมีการใชจายเชน ซื้ออุปกรณและเครื่องมือตางๆ ไดแก เรือ น้ํามัน กลาไม การพัฒ นาบุคลากร ดังนั้ น คน ความรูเทคนิคทางวิชาการผนวกกับความรู ทองถิ่น งบประมาณ ถือวาเปนตนทุนในการจัดการปาของชุมชนเปร็ดใน 3) การมีสวนรวมในการจัดการปา บทบาทการมีสวนรวมในการจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดในแบงเปน 2 กลุม คือ 1) กลุม และองคกรภายในชุมชน 10 องคกร 2) กลุมองคกรภายนอกชุมชน 15 องคกร ซึ่งภายในชุมชนไดแก 1) กลุมอนุรักษและพัฒนาปาชายเลนบานเปร็ดในมีบทบาทเปนตัวประสานหลักในการจัดการปาชุมชน ชายเลน 2) กลุมผูนําชุมชน ใหความรวมมือและรวมวางแผนทํางานรวมกับกลุมอนุรักษฯ 3) กลุมสัจจะ ออมทรัพยทําหนาที่ชวยบริหารเงินกองทุนดูแลปาฯ 4) กลุมผูรับซื้อ ใหความรวมมือในการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ไมรับซื้อปูที่ไมไดขนาดและไมรับซื้อปูชวงหยุดจับปู 5) กลุมผูเก็บหา ใหความรวมมือใน การปฏิบัติตามกฎระเบียบ รวมคิด ตัดสินใจและกําหนดกฎระเบียบ “หยุดจับรอย คอยจับลาน” และ ชวยสอดสองดูแลปาชายเลน 6) กลุมเยาวชน ชวยประชาสัมพันธขาวสารผานโครงการเสียงตามสาย และรวมกิจกรรมคายเยาวชน 7) กลุมแมบาน มีหนาที่ทําอาหาร ตอนรับผูที่มาศึกษาดูงาน รวมทํา กิจกรรม เขารวมประชุมกับกลุมอนุรักษฯและเสนอความคิดเห็น 8) วัด เปนที่ปรึกษา ใชพื้นที่วัดทํา กิจกรรม 9) กลุมผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ใหความรวมมือไมปลอยน้ําเสียลงคลอง 10) โรงเรียน ใหความ รวมมือในการทํากิจกรรม กลุม/องคกรภายนอกชุมชนที่เขามามีบทบาทการมีสวนรวมจัดการปาชายเลนมีจํานวน 17 องคกร ซึ่ง มี บ ทบาทการเขามามี ส วนร วมแตกต างกั น ไปหน ว ยงานที่ มี บ ทบาทสนับ สนุน กระบวนการและ วิชาการเปนหลักมี 8 หนวยงาน หนวยงานที่สนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ บุคลากรในกิจกรรม การจัดการปามี 9 โดยมีบทบาทและความสัมพันธดังแสดงในรูปที่ 1

91


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

พัฒนาชุมชน กองทุนเพื่อสังคม อบต. กรมทรัพยากร ทางทะเลและ

พอช. GTZ

RECOFTC

กลุมเยาวชน

พระสุบิน กลุมสัจจะ สะสมทรพย กลุมผูรับ ซื้อ

กลุมผู เก็บหา

กลุมผูเพาะ เลี้ยงสัตวน้ํา

กลุมอนุรักษฯ กลุมบานพัก โฮมสเตย โรงเรียน

สาธารณสุข กรมประมง

กลุม แมบาน

มหาดไทย (ตํารวจ กรมปาไม

คณะกรรมการ หมูบาน

สารสนเทศน้ํา UNEP/UNDP

วัด

GSEI

อพท.

TF

รูปที่ 1 ความสัมพันธของกลุม/องคกรที่มีบทบาทตอการอนุรักษปาชายเลนบานเปร็ดใน สนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากร สนับสนุนกระบวนการ/วิชาการ

4) ผลประโยชนที่ไดรับจากการจัดการปา ผลประโยชนที่ไดจากการจัดการปาของชุมชนนั้นมีความสอดคลองกับแรงจูงใจดังกลาวขางตน คือ การมีแหลงทรัพยากรสัตวน้ํา ซึ่งถือวาเปนผลผลิต (goods) จากระบบนิเวศปาชายเลน ซึ่งมงคล(2548) ไดศึกษาพบวามีความหลากหลายทั้งชนิดและปริมาณของประชากรปลาคอนขางสูง พบปลาทั้งสิ้น 33 วงศ 55 ชนิด ปาชายเลนไดจึงเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําวัยออนที่สําคัญสรางความอุดมสมบูรณ ของผลผลิตสัตวน้ํา จากการศึกษาการเก็บหาชาวบานที่ประกอบอาชีพจับปูแสมในชุมชน ซึ่งปูแสมก็ เพิ่มอยางตอเนื่องอยางชัดเจนจากที่มีขอตกลง “หยุดจับรอยคอยจับลาน” จากที่เคยจับไดเฉลี่ยเพียง 7-8 กิโลกรัมตอคน โดยคนที่จับไดมากสุดประมาณ 30 กิโลกรัมแตตองใชเวลาเกือบทั้งคืนในป พ.ศ.2541 ตอมาป 2546-48 จากการศึกษาพบวาปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกปโดยใน ป พ.ศ. 2548 มีผลผลิตรวมราว 50 ตัน มูลคาทางเศรษฐกิจ 2.5 ลานบาท(ระวี, 2548) และในป พ.ศ. 2552 มีปริมาณ ปูแสมเพิ่มขึ้นเปน 95 ตัน คิดเปนมูลคา 4.7 ลานบาท (Silori et al, 2009)

92


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิต

% contribution

100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00

Landless

Small

Medium

Large

Agriculture

0.00

21.36

34.88

25.38

Fish & Shrimp farming

0.00

55.97

58.98

72.33

Daily wage

17.68

2.62

0.00

0.15

Crab collection

69.43

18.95

4.95

1.50

Honey collection

1.84

0.21

0.36

0.00

Agrotourism

0.00

0.03

0.83

0.54

Other income

11.05

0.85

0.00

0.08

รูปที่ 2 สัดสวนแหลงรายไดของชาวบานเปร็ดในตามการครอบครองที่ดิน ที่มา: Silori et all, 2009)

นอกจากนี้ยังพบวาจํานวนคนจับปูในชุมชนมีจํานวนมากขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ.2541 ปจจุบันมีคนจับปูแสมอยางนอย 70 คน นอกจากนี้ยังพบวาสัดสวนรายไดของครอบครัวที่ไมมีที่ดิน ทํากินมีรายไดมาจากผลผลิตปาชายเลนถึงรอยละ 71 จากปูแสมรอยละ 69 รอยละ 2 มาจากการเก็บ หาน้ําผึ้ง ดังรูปที่ 3 นอกจากนี้ยังมีผลผลิตอื่นๆจากปาที่พบมากขึ้น เชน น้ําผึ้ง ทําใหชาวบานเก็บ น้ําผึ้งปานํามาขายเปนรายได หรือ ใชกินเอง จาการสํารวจเมื่อป พ.ศ. 2552 ชาวบานสามารถเก็บหา น้ํา ผึ้งไดประมาณ 400-500 ขวด คิดเปนมูลคาประมาณ 100,000 – 125,000 บาท นอกจากรายได จากผลผลิตจากปาแลวชุมชนยังมีกิจกรรมจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การเขามาศึกษาดูงานของคณะ ตางๆ ประมาณปละ 300-500 คน สรางรายไดจากกิจกรรมโฮมสเตย คาอาหาร การศึกษาระบบนิเวศ ปาชายเลนเกิดเงินหมุนเวียนในชุมชนปละ 100,000-130,000 บาท เปนตน กลองที่ 1 ตนทุนและผลประโยชนดานเศรษฐกิจในการจัดการปาในป พ.ศ.2522 -งบประมาณ (ตนทุนที่เปนตัวเงิน) ที่ใชในการจัดการปา 230,000 บาทตอป -ผลตอบแทนทีเ่ ปนผลผลิตจากปา (ทางตรง) ปูแสม 4.7 ลานบาท น้ําผึ้ง 1 แสนบาท -ผลตอบแทนบริการจากปา (ทางออม) กิจกรรมการทองเทีย่ วเชิงนิเวศ 130,000 บาท -รวมผลตอบแทนที่เปนตัวเงิน 4.93 ลานบาท

93


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ดังที่กลาวขางตนเปนบทบาทปาชายเลนตอการพัฒนาดานเศรษฐกิจชุมชน ซึ่งเกิดจากผลผลิต จากระบบนิเวศปาชายเลนแล ว ยังพบวาความหลากหลายทางชีวภาพกลั บคืน นกหลายชนิดเริ่ ม กลับมาใชพื้นที่มากขึ้น ทั้งนกกาบบัว นกอีโกง นกระสาแดง นกกระสานวล เปดแดง เหยี่ยวแดง ซี่ง เปนตัวชี้วัดอยางหนึ่งวามีระบบหวงโซอาหารที่ดีขึ้น นอกจากนี้สัตวบางอยางที่เคยหายไปก็กลับมา เชน ลิงแสม กบอีแอ และหอยหลอดที่หายไปในชวงการสัมปทานปา และทํานากุง (สมศักดิ์ และคณะ, 2547) นอกจากนี้ยังเปนแหลงพักพิงของนกอพยพ รวมทั้งคางคาวแมไกที่มักเขามาใชพื้นที่ทุกๆ ป ความสมบูรณของปาไดสรางบริการทางนิเวศแกชุมชนทั้งการที่เปนแนวกันลม พายุที่มีความรุนแรง มากขึ้นจากความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การไดรับลูกสัตวน้ําวัยออน แรธาตุ อินทรียวัตถุจากปา ในขณะที่กระแสน้ําขึ้นลงในบอเลี้ยงสัตวน้ําเปนตน นอกจากนี้ยังมีคุณคาทางดานจิตใจ เชน ความภาคภูมิใจ ความสามัคคี หมูบานอยูเย็นเปนสุข การไดรับการยอมรับจากคนทั่วไป ดังนั้นการคงอยูของปาชายเลนจึงเปรียบเสมือนการสงตอมรดกให รุนลูกรุนหลานใหดูแลรักษาตอไปซึ่งชุมชนถือวาเปนผลประโยชนที่สําคัญอยางหนึ่งของชุมชน 5) กองทุนปาชุมชน: กลไกเชื่อมโยงการจัดการปากับระบบสวัสดิการชุมชน กอ นที่ชุม ชนจะมีก ารตั้ง และจัด การกองทุน ในการดูแ ลปา จะมีก ารใชง บประมาณตาม รายกิจกรรมเชน ทําเสนทางศึกษาธรรมชาติ ซื้อเรือ ฟนฟูปา ซึ่งจะไดรับการสนับสนุนเปนรายกิจกรรม จากภายนอก ตอมาในปพ.ศ. 2548 จึงไดจัดตั้งกองทุนดูแลปาขึ้นมาโดยไดเชื่อมโยงการจัดการปาสู สวัสดิการชุมชนและการเสริม สรา งเยาวชนรุน ใหมม าทํา งานสานตอ ชื่อ “กองทุน เพื่อ การจัด การ ปาชายเลน ชุมชนบานเปร็ดใน” ปจจุบันกองทุนเพื่อการจัดการปาชายเลนบานเปร็ดในมีงบประมาณ 500,000 บาท (ขอมูลป 2552) โดยมีเปาหมายหลัก คือ “การพึ่งตนเองในการจัดการปาและเสริมสราง สวัสดิการแกคนดูแลปา” โดยมีแบงกระบวนการในการทํางานออกเปน 2 ระยะ กลาวคือ ระยะที่ 1 คนหาตนทุนและระดมทุน ใหความสําคัญกับทุนภายในชุมชนเปนหลัก โดยมีรีคอฟ เปนผูคนหาและริเริ่มรวมกับชุมชนในการศึกษาแหลงทุนภายในชุมชน และพบวาชุมชนมีกองทุนหลาย กองทุน แตไมมีกองทุนที่เปนทุนสําหรับการจัดการทรัพยากรฯ จึงมีการระดมความคิดเพื่อรวบรวมทุน จากกองทุนภายในชุมชนเปนอันดับแรก และมีการระดมทั้งจากผูรับซื้อปูแสมที่สมทบเขากองทุน 25 สตางคตอกิโลกรัม จากกิจกรรมบริการในชุมชน ไดแก รายไดหลังจากหักคาใชจายคาอาหารศึกษา ดูงานและคาเชาเรือ, 10% ของรายไดจากบานพักโฮมสเตย, คาสมทบจากศึกษาดูงาน นอกจากนี้ยัง มีงบประมาณสมทบจากภายนอกที่ไดมาทั้งจาก RECOFTC เพื่อเปนทุนสมทบกองทุนเพื่อการจัดการ ปาฯ, สารสนเทศน้ํา รางวัลโลกสีเขียว

94


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ระยะที่ 2 สรางระบบการจัดการกองทุน พัฒนากระบวนการทํางานของคน การตั้งคณะกรรมการกองทุน สรางขอตกลงระเบียบกองทุน กลไกการบริหารจัดการ ระบบรายงานกองทุน ระบบติดตาม ประเมินผล ซึ่งจะมีการบริหารจัดการเชื่อมโยงกับกองทุนออมทรัพยที่มีอยูแลวเพื่อใหเกิดการเชื่อมโยง สูสวัสดิการตอไป โดยมีวัตถุประสงคของกองทุน 2 ขอ ประการแรกเพื่อสรางความยั่งยืนและความเปน ธรรมในการจัดการและใชสอยทรัพยากรปาชายเลน และประการที่สอง เพื่อสรางความมั่นคงดาน สวัสดิการใหกับผูดูแลปาและผูใชสอยปาชายเลน รูปแบบการบริหารจัดการจะใหกลุมสัจจะออมทรัพยเปนผูบริหารเงิน โดยมีผูรับผิดชอบบริหาร เงินกองทุน 3 คนไดแก จากกลุมอนุรักษ 1 คน ทําหนาที่บริหารเงินเพื่อใชจายในกิจกรรมจัดการปา และจากกลุมสัจจะออมทรัพย 2 คน ทําหนาที่ดูแลบัญชี และไดมีการจัดสรรดอกผลที่ไดจากกองทุน เพื่อใชในกิจกรรมตางๆดังนี้ 1) เงินสวัสดิการของคณะกรรมการกองทุน 25% 2) เสริมสรางและพัฒนางานบุคคลากร 10% 3) หนุนเสริมงานเยาวชน 10% 4) สมทบคาบํารุงวัสดุอุปกรณเพื่อการดูแลปา 30% 5) สมทบคาน้ํามันเรือในการตรวจปา 25% กระบวนการใชจายเงินจะมีประธานกลุมสัจจะเปนผูดูแลการใชจายในกิจกรรมโดยจะเบิกเงิน สํารอง 3 เดือนครั้ง (ไตรมาส) จากกลุมสัจจะ ครั้งละประมาณ 3,000 – 5,000 บาท โดยเฉลี่ยป พ.ศ. 2552 มีคาใชจายเกี่ยวกับปาเฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท/เดือน ปละประมาณ 30,000 บาท การจัดทําบัญชีจะ ทํา 3 เดือนครั้งหนึ่ง โดยใชกลไกกลุมสัจจะออมทรัพย เพื่อใหมีการรายงานความเคลื่อนไหวของ กองทุนสูคณะกรรมการทานอื่น รวมทั้งตอชุมชนตอไป

95


96

25 สต./กก.

ผูรับซื้อปูแสม

ผูเก็บหาปู

คาสมทบทุน จากการมาดู

สิ่งแวดลอมดี

ผลผลิตจาก ปา

แหลงเรียนรู

กองทุนดูแล ปา

ปาชายเลนชุมชน บานเปร็ดใน

เงินที่เหลือจาก คาเชาเรือ (หลัง หักคาใชจาย

10% ของรายไดจาก บานพักโฮมสเตย

เงินที่เหลือจาก คาอาหารดูงาน (หลังหักคาใชจาย

เงนตน 100%

เงินตน

สนับสนุนจาก RECOFTC (70,000 บาท)

สนับสนุนจาก สารสนเทศน้ํา (70,000 บาท)

เงินสํารอง จายเฉพาะ หนา

กลุมสัจจะ ออมทรัพย

เงินสวัสดิการ คณะกรรมการ 25% พัฒนาบุคคลากร 10% งานเยาวชน 10% บํารุงอุปกรณดูแลปา 30% คาน้ํามันตรวจปา 25%

จัดสรรดอกผล ดังนี้

คณะกรรมการชุดใหญ 23 ทาน ดํารงตําแหนงในวาระคราวละ 3 ป คณะทํางานประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก การเงิน ฝายตรวจสอบ คณะกรรมการ (ผูใหญบาน และส.อบต.) ประชาสัมพันธ

โครงสรางการบริหารจัดการ

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


การจัดการปาชายเลนชุมชนบานเปร็ดใน เพื่อการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิต

6. บทบาทและทิศทางของปาชุมชนกับการแกไขปญหาความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในป 2552 -2553 แผนงานประเทศไทย รีคอฟ ไดดําเนินงานวิจัย ในหัวขอ แนวคิดและรูปแบบ ของเรดด ที่ เ หมาะสมในการจั ด การทรั พ ยากรป าไม อ ย า งยั่ ง ยื น และเป น ธรรมในบริ บ ทสั ง คมไทย (Concept and Model of Appropiated REDD for Sustainable Forest Management and Justice in Thai Context) พบวา ปาชายเลนชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด และเก็บกักคารบอนไวในรูปเนื้อไม ดังนั้นการฟนฟู เสริมสรางความสมบูรณปาชายเลน หรือปลูกปาชายเลนจึงเปนแนวทางหนึ่งในการ แกไขปญหาความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Mitigation) นอกจากนี้ยังมีบทบาทดานการเปนฐาน ในการปรับตัวตอผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (adaptation) โดยเฉพาะเรื่อง ความมั่นคงทางอาหาร อาชีพ รายได ของกลุมอาชีพตางๆ ที่เสี่ยงตอการไดรับผลกระทบจากความ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้ง ชวยปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติที่จะเกิดรุนแรงและถี่มากขึ้น ชุมชนบานเปร็ดในได รวมกันฟนฟูปาที่ถูกทําลายและความเสื่อมโทรมจากการสัมปทานปาไม นากุง ในเนื้อที่กวา 12,000 ไร มากวา 23 ป ตั้งแต ป พ.ศ. 2530 เปนแหลงชวยเก็บกักคารบอน โดย ในป พ.ศ. 2553 สถาบันธรรมรัฐเพื่อการสังคมและสิ่งแวดลอมไดศึกษาพบวาการฟนฟูปาชายเลนของ ชุมชนชวยดูดซับคารบอนไดออกไซต 1,205 ตันตอป นอกจากนี้ชุมชนยังมีความมุงมั่นตั้งใจที่จะเพิ่ม พื้นที่ปาโดยการซื้อพื้นที่นากุงราง 40 ไรในป พ.ศ. 2553 โดยใชเงินกองทุนปาชุมชนจํานวน 2.8 แสนบาท และกําลังดําเนินการฟนฟู นอกจากนี้ยังมีแผนในการระดมทุนเงินเพื่อซื้อพื้นที่นากุงรางเพิ่มอีก 100 ไร โดยเชื่อมโยงกับภาคเอกชน ธุรกิจที่จะเขามาหนุนเสริม ซึ่งเปนโอกาสที่ดีที่จะสรางตัวอยางรูปธรรม หรือ โมเดลที่เ ชื่อ มโยงกับ กลไกสากลภายใตอนุสัญ ญาวาดวยความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ (UNFCCC) คือ กลไกที่เรียกวา “การลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความ เสื่อมโทรมของปา หรือที่เรียกวา เรดด (REDD) รวมทั้งเปนแหลงเรียนรู ถายทอดกระบวนการฟนฟู ระบบนิเวศปาชายเลนจากนากุงรางทั้งแกภายในและภายนอกตอไป 7. กลไกการสนับสนุนชุมชนจัดการปาเพื่อแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากการศึกษารูปแบบการจัดการปา กลไกการจัดการแบงปนผลประโยชนในระดับทองถิ่นซึ่ง ชุมชนเปร็ดในเปนชุมชนรูปธรรม และมีกลไกระดับชุมชนที่พรอมจะรองรับกลไกในระดับตางๆทั้งจาก ระดับนโยบาย ระดับจังหวัด เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงกลไกการสนับสนุนการจัดการปาเพื่อแกไขความ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยชุมชนมีขอเสนอดังนี้ 1) ใหชุมชนเขามามีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการและ ฟนฟูปาในการแกไขความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ตั้งคณะกรรมการระดับชาติ ที่ประกอบดวยตัวแทนครอบคลุมความหลากหลายของกลุม อาชี พ ชาติ พั น ธ ตั ว แทนจากภาคชุ ม ชนจากภู มิ ภ าค 4 ภู มิ ภ าค ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ตั ว แทน

97


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สถาบันการศึกษา และจัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดที่ประกอบดวยตัวแทนชุมชนเขาไป เปนกรรมการ 60 เปอรเซ็นตเพื่อเปนกลไกเชื่อมโยงระดับชาติกับทองถิ่น 3) ใหสิทธิชุมชนในการเขาถึงและใชประโยชนในปาชุมชนไดอยางเปนธรรมและยั่งยืน 4) หนุ น เสริ ม ให ส ร า งแผนการจั ด การป า ที่ เ ป น รู ป ธรรมชั ด เจนครอบคลุ ม การแก ไ ขความ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การรองรับปรับตัวจากผลกระทบ และการพัฒาคุณภาพชีวิต ความเปนอยู 5) สนับสนุนการจัดตั้งกองทุนดูแลปาระดับชุมชนที่เชื่อมโยงกับระบบสวัสดิการชุมชน และ รองรับกลไกระดับชาติ ระดับจังหวัด 6) มีพื้นที่นํารองสรางรูปแบบ หรือ โมเดล การจัดการปาเพื่อแกไขปญหาความเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ( Mitigation ) รวมทั้งการรองรับการปรับตัว (adaptation) จากผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาพื้นที่นํารองใหครอบคลุมความหลากหลายของระบบนิเวศและบริบท สังคมวัฒนธรรม 7) ใหหนวยงาน/องคกรทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันวิชาการเขามาหนุนเสริมความรูเรื่องการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 8) จัดตั้งกองทุนระดับชาติ (กลไกการเงินระดับชาติ) เพื่อสนับสนุนชุมชนในการจัดการดูแล และฟนฟูปาโดยใหมีคณะกรรมการกองทุนมาจากหลากหลายภาคี และมีตัวแทนชุมชน และ ใหชุมชนเสนอโครงการเพื่อขอการสนับสนุนภายใตเกณฑการพิจารณาที่ยอมรับรวมกัน เชน มีแผนการจัดการปาที่ชัดเจน มีกลไกรองรับ 9) ปรับปรุงนโยบายกฎหมายใหสอดคลองเชื่อมโยงกลไกในระดับตางๆ ที่หนุนเสริมการจัดการ ปาในระดับทองถิ่น 10)พัฒนาระบบติดตาม และตรวจสอบพรอมทั้งความยั่งยืนของปาโดยการมีสวนรวมของภาคี ตางๆในระดับจังหวัดและระดับชาติ

98


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง Experiences on Coastal Forest Rehabilitation by Community Action in the TsunamiAffected Areas, Phang-Nga and Ranong Province

ประดิษฐ บุญปลอด1 ธนิรัตน ธนวัฒน2 1,2

เจาหนาที่วิชาการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย 16/151 เมืองทองธานี อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

บทคัดยอ ชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติสึนามิ เมื่อปลายป 2547 ในบางสวนของพื้นที่จังหวัดพังงาและ จังหวัดระนอง ไดรวมกันฟนฟูสภาพปาไมที่เสียหายทั้งจากภัยพิบัติและพื้นที่ซึ่งมีสภาพเสือ่ มโทรมอยูเ ดิม ไปพรอมๆ กับการจัดการปาไมอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญตอพื้นที่ทั้งตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา ทั้งนี้ เพื่อประโยชนทั้งในดานการปองกันและลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติ เพื่อประโยชนใชสอย เพื่อการปรับภูมิทัศน และเพื่อเปนแนวเขตปองกันการบุกรุกทําลาย ในการนี้ ชุมชนตางๆ ไดใชความรู และภูมิปญญาทองถิ่นเปนหลัก โดยคอยๆ เรียนรูและเปดรับความรูเชิงวิชาการเขามาผสมผสาน มีการ เรียนรูการใชแผนที่และเครื่องมือจับพิกัด ในการวางแผนและจัดการพื้นที่ ชุมชนมีวิธีการดําเนินงานทั้ง ดวยตนเองและขอความรวมมือจากหนวยงานภายนอก ตัวอยางเชน กรณีการเตรียมกลาไม และการ ติดตามผล เปนตน โดยที่ผานมาพบวาการดําเนินงานตางๆ มีคาใชจายไมมากนัก เนื่องจากเปนการ รวมแรงกันในชุมชน แตยังมีขอจํากัดในการเขาไปฟนฟูระบบนิเวศปาชายหาดที่ถูกทิ้งรางซึ่งสวนใหญ เปนของเอกชนและหนวยงานรัฐ อยางไรก็ตาม ประสบการณครั้งนี้ทําใหชุมชนไดขอสรุปวา การตั้งรับ และปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตองอาศัยความรูและความรวมมือทั้งภายในและภายนอก ชุมชน คําสําคัญ: การฟนฟูปาไมชายฝง การมีสวนรวมของชุมชน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Mangrove rehabilitation activities have been processed through the collaboration of the victim communities of the 2004 Asian Tsunami Disaster, in Phang-nga and Ranong provinces. These communities have driven their rehabilitation activities based on sustainable mangrove management approach. Namely, the management have been taken into account for all holistic areas covered upstream areas until downstream areas. With this, it can contribute them to secure the benefits of mangroves resources in term of protecting disaster; mitigating a severe of disaster; providing foods and basic needs and earning materials; enhancing a good environment and being the buffer zones. All conservation activities have been created through their local wisdom and knowledge. They have also applied and combined the technical and academic knowledge with their own knowledge. For example, they learned how to benefit a mapping technique and GPS using in a planning process of their management plans. They have conducted their activities by themselves as well as getting supports from the external organizations such as seeding preparation and monitoring process. As the results, it found the local activities were achieved with a few budget because of their corporations. Nevertheless, there is some limitation for them to handling mangrove rehabilitation in the deteriorated forests because most of these areas belong to the government and private sector. In conclusion, all activities allow the communities to be able to prepare and cope with any changes in the future that need both local knowledge and external support to deal with. Keyword: Coastal Forest Rehabilitation, Community Participation

บทนํา หลังจากเหตุการณภัยสึนามิ เมื่อ ปลายป 2547 ซึ่ง สง ผลกระทบตอ ชุม ชนที่อ ยูอ าศัย และ กิจกรรมตางๆ บริเวณชายฝงภาคใตของประเทศ การดูแลฟนฟูและเยียวยาผูไดรับผลกระทบได ดําเนินการโดยเรงดวน ตามดวยการฟนฟูแหลงทองเที่ยวที่มีความสําคัญดานเศรษฐกิจ สวนการฟนฟู ปาไมบริเวณชายฝงที่ไดรับความเสียหาย ก็ดําเนินการในไมชา การดําเนินงานในสถานการณดังกลาว มีหนวยงานที่รับผิดชอบและหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่สนใจ รวมทั้งองคกรและ บุคคลตางๆ ที่ประสงคจะมีสวนรวมในการชวยเหลือดานตางๆ เปนจํานวนมาก แตการประสานงานทั้ง ระดับภูมิภาคและทองถิ่น กลับมีลักษณะตางคนตางทํา ตางมีแผนและเปาหมายของตนเอง จนหลาย พื้นที่ก็ไมสามารถตั้งรับกับความชวยเหลือเหลานั้นไดอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ สําหรับการฟนฟูปาไมที่ไดรับความเสียหายจากภัยสึนามิ ไดดําเนินการโดยหนวยงานของรัฐ ซึ่งไดรับงบประมาณเฉพาะกิจใชในการปลูกปาทดแทนในพื้นที่ซึ่งไดรับความเสียหาย โดยเฉพาะ บริเวณแนวชายฝงดานนอกที่ติดทะเล ทั้งปาชายเลนและปาชายหาด แตกระนั้น ก็ไมครอบคลุมพื้นที่ ซึ่งเสียหายตามแนวคลองในปาชายเลน การปลูกฟนฟูสวนใหญมักจางแรงงานจากภายนอกพื้นที่เขา ไปดําเนินการ เนื่องจากตองเรงใหแลวเสร็จตามแผน ประกอบกับการชักชวนชุมชนเขามามีสวนรวม ในขณะนั้ น ยั ง ไม ส ามารถดํ า เนิ น การได เพราะชุ ม ชนเองก็ มี ภ ารกิ จ ที่ ต อ งฟ น ฟู ค วามเสี ย หายของ ครอบครัว หลังจากนั้น ไดมีการทยอยปลูกปาชายเลนโดยองคกรสาธารณประโยชนตางๆ รวมกับ 100


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง

ชุมชนในพื้นที่บริเวณที่เหลืออยูซึ่งกระจายอยูทั่วไป ทั้งดําเนินการแบบเรงดวนและแบบคอยเปนคอยไป แตสวนใหญเปนเพียงการปลูกปา โดยขาดการบํารุงรักษาและจัดการอยางตอเนื่อง 1. หลักการและกระบวนการดําเนินงาน การรวบรวมประสบการณครั้งนี้ เกิดขึ้นจากสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดมีโอกาสทํางานรวมกับ ชุมชนชายฝงและหนวยงานตางๆ ดําเนินการฟนฟูระบบนิเวศปาไมในพื้นที่บริเวณชายฝงที่ประสบ ภัย สึน ามิ ในระยะที่ไ ดผา นพน ภาวะฉุก เฉิน และไดมีก ารซอ มแซมในพื้น ที่ค วามเสีย หายไปแลว เปนสวนใหญ จึงเนนการฟนฟูระยะยาวโดยมุงหวังที่จะใหเกิดประโยชนตอชุมชน และชวยลดความ เสียหายหากเกิดภัยในคราวตอไป การดําเนินงานที่ผานมายึดหลักการวา คนและปาตางก็เปนองคประกอบหนึ่งในระบบนิเวศ ชายฝง จึงตองจัดการปาใหเกื้อกูลตอการอยูรอดของคน และการจัดการคนใหเกื้อกูลตอการอยูรอดของปา ดวยหลักการดําเนินงานที่สําคัญ 3 ประการ ไดแก การมีสวนรวม การบูรณาการ และการเรียนรู ซึ่งมี ประสบการณสําคัญ ดังนี้ 1) การมีสวนรวม: โดยชุมชนเปนฐานในการดําเนินงานและขยายความรวมมือไปยังหนวยงาน ตางๆ ริเริ่มจากผูนําชุมชนทั้งผูนําทางการและไมเปนทางการ ขยายความรวมมือสูสมาชิกใน ชุมชนโรงเรียน รวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานภายนอก ทั้งนี้ ไดมี กระบวนการพัฒนาศักยภาพของผูนําชุมชนและการพัฒนาเครือขายควบคูกันไป 2) การเรียนรู: โดยใชภูมิปญญาทองถิ่นและองคความรูทางวิชาการในระยะแรกชุมชนยากที่จะ เชื่อความรูจากนักวิชาการหรือบุคคลภายนอก ในขณะที่นักวิชาการเองก็ไมมั่นใจภูมิปญญา ทองถิ่นเชนกัน มักมีการลองผิดลองถูกในบางครั้ง จึงตองมีการสรุปบทเรียนรวมกันอยาง สม่ําเสมอ 3) การบูรณาการ: ทั้งมิติดานสิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจหลังประสบภัยพิบัติใหมๆ ชุมชนและหลายๆ ฝาย เริ่มเห็นความสําคัญของปาไมในการปองกันคลื่นลมทะเลมากขึ้น จึง มัก นึก ถึง มิติดา นสิ่ง แวดลอ ม รวมถึง มิติท างสัง คมที่ตอ งการสรา งความตระหนัก ให กวางขวาง ตอมาเมื่อดําเนินการไดระยะหนึ่งแลว ปาไมเริ่มฟนตัว ก็เกิดความสนใจตอมิติ ดานเศรษฐกิจ ในการปลูกพืชอาหาร แหลงอาศัยของสัตวน้ํา และการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ตามมา กระบวนการฟนฟูปาไมที่ผานมา มีกิจกรรม 3 กลุม (ดังแผนภาพดานลาง) ไดแก การสํารวจ พื้นที่และเตรียมการ เพื่อใหการดําเนินการแตละครั้ง สอดคลองกับลักษณะพื้นที่และความตองการของ ชุมชนการดําเนินการปลูกปาและอื่นๆ เพื่อฟนฟูระบบนิเวศ และการพัฒนากระบวนการจัดการปาไม โดยชุมชน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอระบบนิเวศและชุมชน

101


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สํารวจพื้นที่และเตรียมการ วางแผนรวมกับชุมชน ประสานงานหนวยงานผูรับผิดชอบพื้นที่ เตรียมแผนที่และเครื่องมือจับพิกัด GPS

สํารวจและบันทึกขอมูล สํารวจแหลงกลาไม จัดเตรียมกลาไมหรือพันธุ สัตวน้ํา เตรียมพื้นที่และอปกรณ

ปลูกปาและฟนฟูระบบนิเวศปาไม กําหนดวันและเวลาดําเนินการ ประชาสัมพันธเชิญชวนรวมกิจกรรม ปลูกปา พรอมจัดทําแปลงติดตามอัตรารอด ติดตามและบํารุงรักษา ดําเนินกิจกรรมฟนฟูระบบนิเวศอื่นๆ ประเมินผล

พัฒนากระบวนการจัดการปาไมโดยชุมชน เขาใจขอมูลชุมชนและการใชประโยชนจากปาไม พัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชน สํารวจพื้นที่และตรวจสอบสิทธิที่ดิน สงเสริมบทบาทเยาวชนและสตรี กําหนดแนวเขตและกฎระเบียบการใชประโยชน เครือขายการจัดการปาไมระหวาง แผนภาพแสดงกระบวนการฟนฟูปาไมโดยชุมชน 3.พื้นที่และรูปแบบการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝง พื้นที่ดําเนินงานครอบคลุม 4 บริเวณ ในจังหวัด ระนองและจั ง หวั ด พั ง งา ภาคใต ข องประเทศไทย ซึ่ ง ไดรับผลกระทบจากภัยสึนามิ ไดแก (1) อาวกะเปอรและ ชายฝ ง นาคา อํ า เภอกะเปอร แ ละอํ า เภอสุ ข สํ า ราญ จังหวัดระนอง (2) ชายฝงคุระบุรี อําเภอคุระบุรี (3) เกาะ คอเขา อําเภอตะกั่วปา (4) ชายหาดคึกคัก อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา สําหรับพื้นที่ชายฝงในบริเวณนี้ มีลักษณะ แคบๆ วางตัวจากทิศเหนือสูทิศใต ลาดเทไปทางดานทิศ ตะวันตก แมจะคํานึงถึงการฟนฟูปาไมในบริเวณชายฝง แตก็ไดคํานึงถึงระบบนิเวศที่เกี่ยวเนื่อง ครอบคลุมตั้งแต ตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา จึงพบวามีระบบนิเวศปาไมทั้ง ปาบก ปาพรุ ปาชายเลน และปาชายหาด

แผนที่แสดงพื้นที่ดําเนินงาน 102


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง

จากการสํารวจพื้นที่ปาไมในบริเวณนี้ พบวายังพื้นที่ซึ่งเสียหายจากภัยสึนามิ และบางสวน เปนปาเสื่อมโทรมจากการสัมปทานปาไมในอดีต ดังนั้น การฟนฟูปาไมโดยชุมชนครั้งนี้ จึงดําเนินการ ครอบคลุมทั้งหมด รวมทั้งเปนการฟนฟูพื้นที่เพื่อใหมีระบบนิเวศที่สมบูรณเพื่อปองกันคลื่นปองกันลม และปองกันการกัดเซาะตลิ่ง การปลูกไมเพื่อเปนแนวเขตปองกันการบุกรุก และเพื่อประโยชนในการ ใชสอยของชุมชนดวย 3.1 การเตรียมกลาไม • การเลือกชนิดพันธุ การเลือกชนิดพันธุไมในการปลูกและฟนฟูจะคํานึงถึงสภาพพื้นที่และวัตถุประสงคในการฟนฟู เนนการใชพันธุที่ไมที่หางายในทองถิ่น และสามารถเจริญเติบโตไดดีในสภาพพื้นที่นั้นๆ พิจารณาได จากพันธุไมเดิมที่มีในพื้นที่ ลักษณะดิน คลื่นลม แสง สภาพภูมิอากาศ ความเค็มและระดับการขึ้น-ลง ของน้ํา โดยตองสอดคลองกับวัตถุประสงคในการปลูกและฟนฟู ซึ่งสรุปตัวอยางพันธุไมที่ใชในการปลูก เพื่อวัตถุประสงคตางๆ ไดดังตารางดานลาง ทั้งนี้พบวามีพันธุพืชที่หลากหลาย ซึ่งบางชนิดสามารถใช ปลูกไดเพื่อหลายวัตถุประสงคเชนกัน ตารางแสดงพันธุไมที่ใชปลูกในพื้นที่ชายฝงจําแนกตามวัตถุประสงค วัตถุประสงค ปองกันคลื่นลม ปองกันการกัดเซาะ ตลิ่ง เพื่อประโยชน ใชสอย

ปาชายเลน โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ

ปาชายหาด สนทะเล -

ปาบก ไผ ไผ

สนทะเล

ปรับภูมิทัศน

โกงกาง, พังกาหัวสุมดอกแดง, ถั่วขาว, แสม, ฝาดดอกแดง, โปรงแดง, จาก -

กระถินเทพา, สัก, ขี้ผึ้ง ปา, ตะเคียน, สะตอ, มะขาม, ขี้เหล็ก, ไผ ราชพฤกษ

ใชเปนแนวเขต

-

สนทะเล, ตีนเปดทะเล, จิกทะเล, ปอทะเล -

มะฮอกกานี, กระทอน ปา, ปุย, ตะเคียน, ไผ

• แหลงกลาไม การเตรียมกลาไมสําหรับปลูกและฟนฟูในพื้นที่ปาไมในบริเวณชายฝง มีการจัดหาหลาไมจาก 3 แหลง ไดแก 1) ชุมชนจัดเตรียมเอง โดยการสรางเรือนเพาะชําขึ้นในชุมชนเพื่อเปนการสงเสริมการ เรียนรูจากการปฏิบัติ หรือจัดหาฝกและเมล็ดในทองถิ่น ซึ่งทําใหชุมชนสามารถเลือก พันธุไมตรงตามวัตถุประสงคและสภาพพื้นที่ รวมถึงพันธุไมหายาก ลดการพึ่งพาจาก

103


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภายนอกและความบอบช้ําของกลาไมจากการขนสง โดยพบวากลาไมที่เพาะชําหรือ จัดหาในทองถิ่นจะมีอัตราการรอดตาย และเจริญเติบโตไดดีกวา 2) ซื้อกลาไมจากชุมชนอื่น โดยเลือกชุมชนที่มีสภาพพื้นที่ใกลเคียงและระยะทางในการ ขนสงไมไกลจากพื้นที่ฟนฟู 3) ขอการสนับสนุนจากหนวยงานในพื้นที่ ไดแก สถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สถานีเพาะชํากลาไมจังหวัด กรมไม รวมถึงหนวย งานวิจัยในพื้นที่ เชน สถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงอันดามัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3.2 การปลูก ประสบการณในการปลูกเพื่อฟนฟูพื้นที่และเพื่อวัตถุประสงคอื่นๆ โดยทั่วไป พบวา ชุมชนจะมี การประชุมเตรียมการรวมกัน แมจะริเริ่มโดยผูนําชุมชน แตก็จะไดรับความรวมมือจากสมาชิกในชุมชน ดวยดี เตรียมการ โดยนําเขาเปนวาระของการประชุมหมูบานประจําเดือนและหารือเพิ่มเติมกับ ผูนําชุมชน เพื่อกําหนดกิจกรรมแตละครั้ง พรอมแบงงานกัน เชน การสํารวจพื้นที่ การ เตรียมกลาไม การเตรียมพื้นที่ การเตรียมอาหารและน้ําดื่ม การประชาสัมพันธภายในชุมชน และภายนอก การแจงขอมูลแก อบต. และหนวยงานที่เกี่ยวของ เปนตน ขยายแนวรวม โดยใหคนในชุมชนและชุมชนใกลเคียงไดเขามารวมทํากิจกรรม รวมทั้ง สนับสนุนใหเยาวชนในโรงเรียนเขามามีสวนรวมดวย อาจมีการแจกหมวกหรือเสื้อปลูกปาใน บางครั้ง เพื่อจูงใจใหเยาวชนและชุมชนเขามามีสวนรวม และเปนสัญลักษณแสดงใหเห็นวา บุค คลนั้น ไดเ ขา รว มกิจ กรรม ซึ่ง กิจ กรรมการปลูก ปาแตล ะครั้ง สามารถดํา เนิน การได ประมาณ 2,000-3,000 กลา หรือ 20,000 ฝก เพราะในแตละครั้งจะมีกําลังคนในชุมชนและ ชุมชนใกลเคียง รวมกิจกรรมประมาณ 40 - 60 คน ยกเวนการจัดกิจกรรมรณรงคในวัน สําคัญหรือการมีนักเรียนเขารวมกิจกรรม และปลูกโดยใชฝกสําหรับพื้นที่ปาชายเลนซึ่งงาย กวาสามารถปลูกไดสูงสุด 40,000 ฝก การใชจายในการจัดกิจกรรมปลูกปา ซึ่งมีทั้งคาใชจายที่เกิดขึ้นในชุมชนและคาใชจายที่ เกิดขึ้นภายนอก สรุปไดดังนี้ คาใชจายที่เกิดขึ้นชุมชน ประกอบดวย o คาเพาะชํากลาไม ในบางครั้งหรือบางพื้นที่ o คาน้ํามันเรือในการเก็บหาฝก บางฤดูกาล (สําหรับปาชายเลน) o คาน้ํามันเรือหรือรถยนตในการขนสงฝก กลาไม และคน ไปปลูกในบางพื้นที่ o คาไมหลัก (stake) และอุปกรณในการปลูกดวยตนกลา o คาอาหารกลางวันสําหรับผูเขารวมกิจกรรม o คากําจัดวัชพืชในเตรียมพื้นที่บางแหง −

104


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง

คาใชจายที่เกิดขึ้นภายนอกชุมชน ประกอบดวย o คาน้ํามันในการขนกลาไม จากนอกชุมชน o คากลาไมในบางครั้งซึ่งจัดซื้อจากชุมชนอื่นๆ (สวนใหญไดรับการอนุเคราะหจากสถานี เพาะชํากลาไม และสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน) การจัดกิจกรรมปลูกปาโดยชุมชนโดยทั่วไป ซึ่งดําเนินการในพื้นที่ที่ไมตองเตรียมพื้นที่ดวยการ กําจัดวัชพืช และไมรวมการจัดกิจกรรมรณรงคในวันสําคัญ จะมีคาใชจายสูงสุด 15,000 บาท โดย สามารถปลูก เสริม ปา ชายเลนไดป ระมาณ 2,000 กลา ในพื้น ที่ 5 ไร (400 ตน ตอ ไร) จึง คิด เปน คาใชจายเฉลี่ย 3,000 บาทตอไร ทั้งนี้ ทุกครั้งที่ชุมชนปลูกปาจะไมมีการจางแรงงานจากภายนอกเขา มาดําเนินการ และไมจายเปนคาตอบแทนดานแรงงานแกคนในชุมชน โดยปกติ เมื่อจัดกิจกรรมแลวเสร็จก็มีการพูดคุยกัน เพื่อทบทวนปญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งในชวงแรกๆ พบวาปญหาในการเตรียมกลาไม การประชาสัมพันธในชุมชน เปนตน โดยจะนําไปปรับปรุงในการจัด กิจกรรมครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังนําไปสูการพูดคุยในเรื่องตางๆ กันมากขึ้น กิจกรรมดังกลาวจึงเปน มากกวาการปลูกปา 3.3 การติดตามผล ใชวิธีการติดตามผลอยางงาย โดยการทําแปลงติดดามดวยการทําสัญลักษณไวในพื้นที่ปลูก นับจํานวน ตนกลาหรือฝกในแปลงดังกลาวแลวจดบันทึกไวพรอมกับพิกัด GPS อยางนอย 2 แปลง หลังจากวันปลูก ประมาณ 3 เดือน ทําการนับตนที่รอดเพื่อคํานวณอัตราการรอด และทําการปลูกซอมหากมีการตายมาก การติดตามผลที่ผานมา ไดดําเนินการในพื้นที่ปาชายเลนเปนสวนใหญ เนื่องจากมีการปลูกในพื้นที่ ขนาดใหญ สวนพื้นที่ปาชายเลนและปาบก จะมีลักษณะปลูกเปนหยอมและเปนแนว โดยพบวาอัตรารอดที่ ผานมามีมากวารอย 80 อยูเสมอ ยกเวนการปลูกในบางพื้นที่ซึ่งเปนลักษณะการทดลองปลูก ที่ชุมชนใหขอมูล วา เคยมีพัน ธุไ มช นิ ดหนึ่งขึ้ น อยู จึ ง อยากลองปลูก แตก็พ บวา หากสภาพแวดลอ มของพื้น ที่เ ปลี่ยน เช น เสนทางน้ําเค็มเขามามากเกินไป ก็ไมสามารถปลูกพืชชนิดเดิมนั้นได 3.4 การจัดการปาโดยชุมชน มีทั้งการริเริ่มดําเนินการขึ้นใหมและการสงเสริมการดําเนินงานที่มีอยูเดิมใหมีความเขมแข็งมากขึ้น ประกอบดวยกิจกรรม ไดแก การสํารวจแนวเขตปาของชุมชน ติดปายแนวเขต สํารวจความหลากหลายและ ความสมบูรณของปา สํารวจการใชประโยชนจากปา การกําหนดกฎระเบียบการใชประโยชนและแตงตั้ง คณะกรรมการ การกําหนดแผนในการฟนฟูและบํารุงรักษา รวมถึงกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพชุมชน เมื่อ ชุมชนมีความพรอมจะดําเนินการขอขึ้นทะเบียนปาชุมชนกับกรมปาไมเพื่อสรางความมั่นใจแกชุมชน และการ ยอมรับจากหนวยงานราชการตางๆ

105


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพแสดงการสํารวจรวจความสมบูรณและแนวเขตปา

ภาพแสดงการติดปายแนวเขต

4.ความรูและภูมิปญญาที่เกี่ยวของ ในการฟน ฟูแ ละจัด การปา โดยชุม ชน ซึ่ง ชุม ชนมีบ ทบาทเปน หลัก ในการดํา เนิน การตา งๆ หนวยงานภายนอกมีบทบาทเปนเพียงผูสนับสนุน ดังนั้น จึงมีการใชความรูและภูมิปญญาทองถิ่นที่ ชุมชนมีอยู และเคยปฏิบัติกนั มาเปนสวนใหญ การยอมรับความรูเชิงวิชาการจากภายนอกยังเปนไปได ยาก นอกจากวาไดมีการลงมือทําหรือพิสูจนแลว จึงจะยอมรับ อยางไรก็ตาม ประสบการณครั้งนี้จะเนนการรวบรวมความรูและภูมิปญญาทองถิ่นเปนหลัก เนื่องจากเห็นวาความรูเชิงวิชาการสามารถหาไดไมยากนัก 4.1 ความรูเชิงวิชาการ ความรูเชิงวิชาการที่ชุมชนตองเรียนรูในการฟนฟูปาไมชายฝง สวนใหญเปนความรูที่ไดจากการ ถายทอดจากนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญดานการจัดการปาไม รวมถึงความรูที่ไดจากการศึกษาเอกสาร วิชาการและงานศึกษาวิจั ยตางๆ ได แก ความรูเรื่ องวิธี การเลือ กพื้นที่ฟ นฟู การเตรียมพื้นที่ การ คัดเลือกชนิดพันธุไม การเพาะชํากลาไม ระยะหางการปลูกฟนฟู เปนตน โดยพบวาความรูที่ไดจาก หลักวิชาการที่ตองนําไปใชโดยการเชื่อมโยงกับวิธีปฏิบัติ การมีสวนรวม และความเชื่อของชุมชน กอนที่ชุมชนจะยอมรับความรูเหลานี้ พบวาแตละชุมชนไดมีการพูดคุย หารือ และวิเคราะหขอดี ขอเสียกันกอน เนื่องจากมีสภาพพื้นที่และบริบทของชุมชนตางกัน และมักมีการผสมผสานกับความรู ของชุมชนอยูเสมอ 4.2 ความรูและภูมิปญญาทองถิ่น ความรูและภูมิปญญาในทองถิ่นเปนความรูที่จําเปนตอการฟนฟูปา เนื่องจากเปนความรูที่เกิด จากประสบการณ การเรียนรูและนํามาปรับใชในพื้นที่ มีการสืบทอดดวยการปฏิบัติรวมกันมาอยาง ตอเนื่อง สวนใหญไมมีการบันทึกไวเปนเอกสาร เปนความรูที่อยูในตัวคน ไดแก ความรู ความเชื่อ และ พฤติกรรม ซึ่งจะแตกตางไปตามบริบทชุมชน โดยความรูและและภูมิปญญาทองถิ่นในการปลูกฟนฟูปา สรุปได ดังนี้

106


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง

• ชวงเวลาน้ําขึน้ -น้ําลง แมมตี ารางเวลาขึ้นลงของน้ําทะเลที่จัดทําโดยนักวิชาการ แตพบวา มีความคาดเคลื่อนจากสภาพของแตละพื้นที่ ซึ่งชุมชนจะมีความรูดังกลาวอยูในชุมชนโดย อาศัยจากดูจากขางขึ้นขางแรมกี่ค่ํา โดยวันที่เหมาะสมในการปลูกปาชายเลนควรเปนวันที่ น้ําทะเลลงจนแหงในชวงเชาและแหงนานไมนอยกวา 4 ชั่วโมง สวนใหญจะอยูระหวาง 8–15 ค่ํา • ชวงเวลาที่เลือกในการปลูกปา หลายชุมชนเชื่อวาการปลูกปาชายเลนในชวงฤดูฝนจะมี อั ต รารอดสู ง กว า เนื่ อ งจากมี ป ริ ม าณน้ํ า มาก ประกอบกั บ เป น ช ว งที่ มี ฝ ก โกงกาง และ สอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชนที่จะมีเวลาวางมากเนื่องจากไมสามารถประกอบอาชีพได จึง สะดวกตอการเขารวมกิจกรรมปลูกปา รวมถึงการจัดกิจกรรมในวันสําคัญตางๆ อยางไรก็ ตามสําหรับชุมชนมุสลิมควรหลีกเลี่ยงในการทํากิจกรรมในชวงถือศีลอด • การเลือกพันธุไมในการปลูกปาชายเลน สวนใหญชุมชนจะเลือกพันธุโดยพิจารณาจาก ตนไมที่มีอยูเดิม แตหลายชุมชนไดมีการลองผิดลองถูกและสังเกตหลายครั้ง จนทําใหทราบ วาพันธุไมชนิดใดเหมาะกับสภาพแวดลอมแบบใด ดังนี้ โกงกางใบใหญ ชอบดินเลนออนและลึก สามารถเจริญเติบโตไดในบริเวณหนาที่มีคลื่นลม โกงกางใบเล็ก ชอบดินเลนออน มักขึ้นถัดมาจากโกงกางใบใหญประมาณ 10 เมตร แสมดําและถั่ว ชอบดินโคกและทราย บริเวณกลางปาชายเลน พังกาหัวสุมดอกแดง ชอบดินเลนแข็งบริเวณที่ติดกับเขตปาบก เติบโตไดดีในพื้นที่กวางๆ จาก ชอบดินเลนออนริมคลอง น้ําคอนขางกรอย ไมมีคลื่นลมจัด โปรงแดง ชอบดินเหนียว บริเวณกลางปาจนถึงเขตปาบก ตะบูนขาวและตะบูนแดง ชอบดินเลนแข็ง บริเวณกลางปา หากปลูกบริเวณชายปาริม ทะเลจะไมรอด เพราะตองปลูกดวยเมล็ดซึ่งจะลอยน้ํา • วิธีการปลูก แบงไดเปน 2 วิธี คือ การปลูกดวยตนกลา และการปลูกดวยฝกหรือเมล็ด โดย มีรายละเอียด ดังนี้ การปลูกดวยตนกลา เปนวิธีที่ตองใชความระมัดระวังในการปลูกมาก และใชเวลานาน สําหรับปาบกและปาชายหาดควรมีการเตรียมขุดหลุมเตรียมไวกอนวันปลูก สวนปาชายเลน ควรขนกลาไมไปวางกระจายตามจุดตางๆ โดยในเรือขนาดเล็กตั้งแตชวงที่น้ํายัง ลง ไมแหงสนิท ขั้นตอนการปลูกโดยไปแกะถุงเพาะชําออกในบริเวณพื้นที่ปลูก เพื่อใหตน กลาบอบช้ํานอยที่สุด และมีการผูกตนกลากับหลักปองกันการลม วิธีการนี้นิยมใชปลูกใน ปาบกและปาชายหาด สวนปาชายเลนนิยมปลูกดวยตนกลาในกรณีที่เปนพื้นที่หนาทะเล ที่คลื่นลมมาก หรือในชวงที่ไมมีฝกหรือเมล็ดพันธุ ปลูกดวยฝกหรือเมล็ด นิยมใชในการปลูกปาชายเลนเนื่องจากเปนวิธีที่ใชเวลาในการ ปลูกนอยสามารถปลูกไดจํานวนมากตอครั้ง ขนสงงาย แตตองเปนชวงที่มีฝกหรือเมล็ดพันธุ เปนพื้นที่ที่ไมมีลิงแสมรบกวน ไมมีคลื่นลมมาก และดินเลนคอนขางออน โดยวิธีการปลูก −

107


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ดวยฝกจะปลูกโดยแทงฝกลงไปในดิน 1 ใน 3 สวนของฝก หรือกดใหเมล็ดจมอยูในดิน เลนครึ่งเมล็ด เวนระยะระหวางตนไว 1 เมตร เพื่อเวลามีตนตายจะไดไมเกิดชองวาง โดย พบวาหากปลูกในพื้นที่ที่มีวัชพืช เชน ถอบแถบน้ํา เหงือกปลาหมอ วิธีการนี้จะมีอัตรา รอดสูงกวาการปลูกดวยตนกลา โดยมีการกําจัดวัชพืชกอนปลูกและปลูกใหถี่เพื่อปองกัน วัชพืช • กรณีการปลูกจาก ความรูของชุมชนในการปลูกและจัดการปาจากในพื้นที่อาวกะเปอร จังหวัดระนอง ไดแก การเก็บเมล็ดพันธุซึ่งตองเลือกเมล็ดจากที่แกซึ่งมีสีน้ําตาลเขม โดยตัด มาทั้งทลายแลวนํามาเก็บไวบนฝงจนหลุดจากทลาย จะเปนเมล็ดที่มีคุณภาพเมื่อนําไปปลูก จะมีอัตราการรอดสูง สวนวิธีการปลูกจากโดยทั่วไปมี 2 วิธี คือ การปลูกดวยเมล็ดใน ลักษณะตั้งตรงจะตองฝงเมล็ดในดินใหไดครึ่งเมล็ด เพื่อปองกันเมล็ดจากหลุดลอยไปในน้ํา เวลาน้ําขึ้นและลมคลื่นกระทบชายฝง และการปลูกดวยการวางเมล็ดแนวนอน ซึ่งเปน ลักษณะที่จากงอกเองตามธรรมชาติ “แตชุมชนบานแหลมนาว มีความเชื่อวาหามใชเทาเหยียบแทนใชมือเวลาปลูก ดวยมีความเชื่อวาตน

จากเปนพืชที่มีบุญคุณตอมนุษย ใชใบจากมุงหลังคาเรือน กระทอมหรือที่พักอื่นๆ เพื่อปองกันแดด ลม ฝน และสวนอื่นๆ ของตนจากสามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งหมด นี่เปนสวนหนึ่งของความเชื่อที่ เคารพตอธรรมชาติ”

ภาพแสดงการปลูกจากโดยเมล็ดของชุมชนบานแหลมนาว

108


ประสบการณการฟนฟูปาไมในพื้นที่ชายฝงโดยชุมชนในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ จ.พังงา และ จ.ระนอง

ในขณะที่ชุมชนบานบางติบ จะตองมีการใชไมเสียบไวกับลูกจากที่คัดไว แลวนําไปปกในเลน เพื่อเปนการกันไมใหลูกจากลอยไปกับคลื่นลม ความรูที่ไดจากการปฏิบัติงานทั้ง 2 รูปแบบนี้ ไดนํามาประยุกตใชทั้ง 2 รูปแบบนําหลักวิชาการ ผสมผสานกับหลักความเชื่อ คานิยมที่ชุมชนยอมรับ ในการจัดการปาไมในบริเวณชายฝง เปนการ ผสมผสานที่ ล งตั ว โดยยึ ด ชุ ม ชนเป น ศู น ย ก ลางในการขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรม ชุ ม ชนได รั บ ประโยชน ทรัพยากรปาไมชายฝงเกิดความยั่งยืน 5.ขอคนพบ จากภัยพิบัติที่ชุมชนบริเวณชายฝงไดรับจากคลื่นยักษสึนามิ ทําใหมีการตื่นตัวและตระหนักถึง คุณคาของปาไมบริเวณชายฝงกันมากขึ้น ซึ่งหลายชุมชนก็ระบุเองวาเมื่อกอนไมเคยมีการรวมปลูกปา มี แ ต ห น ว ยงานราชการเข า มาดํ าเนิ น การ แต เ มื่ อ ได ร ว มปลู ก ก็ จ ะช ว ยดู แ ลรั ก ษาด ว ย เพราะเห็ น ประโยชนจากคราวเกิดภัยที่ผานมาวาสามารถชวยรักษาชีวิตและทรัพยสินไวได นอกจากนี้ ชุมชนยัง ตระหนักถึงคุณคาของปาบกในการเปนแหลงตนน้ํา ปองกันการพังทลายของหนาดิน และการรักษา ระบบนิเวศคลอง ซึ่งเชื่อมโยงมายังชายฝงดวย ในการฟนฟูและจัดการพื้นที่ปา พบวา แผนที่และภาพถายดาวเทียม ไดเขามาเปนเครื่องมือ สําคัญ ในการชวยคิดชวยวางแผน ซึ่งที่ไมผานยังไมมีการนํามาใชมากนัก นอกจากนี้ แผนที่ยังเปน เครื่องมือในการสื่อสารและเสริมสรางความตระหนักไดเปนอยางดี ปจจัยแหงความสําเร็จ ที่ไมอาจปฏิเสธไดก็คือผูนํา ซึ่งมีทั้งผูนําที่เปนทางการและไมเปน ทางการ แตอยางไรก็ตาม แกนนําชุมชนก็มีความสําคัญไมดอยกวากัน นับวามีสวนสําคัญในการชวย แบงหนาที่และประสานงาน แตทั้งนี้ ทุกฝายที่เขามามีสวนรวมจะตองมีเปาหมายและวัตถุประสงค รวมกันและสอดคลองกันกอน มีการเคราะหสถานการณและสภาพพื้นที่กอนลงมือปฏิบัติงาน สวนรูปแบบการทํางานแบบเปนหุนสวนทั้งคนและงบประมาณ เนื่องจากปจจุบันชุมชนไดรับ งบประมาณสนับสนุนจากหลากหลายภาคสวน จึงตองปรับมีระบบการจัดการใหสอดคลองกัน และมี การเชื่อมโยงภาคีพัฒนา หนวยงานภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อหนุนเสริมความเขมแข็งของชุมชนและเครือขาย สําหรับ ปญหาอุปสรรคและขอจํากัด พบวา หลายๆ ชุมชนยังมีขอจํากัดในดานการสื่อสาร โดยที่ผานเฉพาะแกนนํา ยังไมสามารถสื่อสารทั่วถึงภายในชุมชน มีการประสานงานกับองคกร ปกครองสวนทองถิ่นนอย นอกจากนี้ ยังไมสามารถพัฒนาผูนําใหมๆ ขึ้นมามีบทบาทรวมได สวนในแงของการฟนฟูปาไมในบริเวณชายฝง ยังมีขอจํากัดที่ชุมขนจะในการเขาไปฟนฟูพื้นที่ ปาชายหาดที่เสียหายและถูกทิ้งราง เพราะพื้นที่เหลานั้นสวนใหญเปนพื้นที่ถือครองสิทธิ์โดยเอกชน และอยูในการดูแลของหนวยงานภาครัฐ จึงยากตอการเขาไปรวมจัดการ

109


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

110


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอนใน Biodiversity and Local Livelihoods in Coastal Area: Case study of the coastal local communities, in the inner gulf of Thailand1

กาญจนา วิเศษ Program Officer, CSR Asia Center at AIT, aeykan@yahoo.com

บทคัดยอ การศึ ก ษานี้ ตอ งการคน หาว า กลยุ ทธ ใดที่ สามารถใช ใ นการส ง เสริ มและก อ ให เ กิด ความยั่ง ยื น ของ ทรัพยากรชายฝง ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่ชายฝงอยางควบคูกันไป โดยใชกรณีศึกษาชุมชนชายฝง ในพื้นที่อาวไทยตอนใน เนื่องจากเปนพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบทางดาน สิ่ ง แวดล อ มจากการพั ฒ นาด า นต า งๆ เป น ผลให ท รั พ ยากรถู ก ทํ า ลายและหมดไปอย า งรวดเร็ ว การศึก ษาไดใ ชว ิธ ีก ารสัม ภาษณเ ชิง ลึก ในการเก็บ ขอ มูล ในพื ้น ที ่ และยัง ใชก ารสนทนากลุ ม ผลการศึกษา พบวากลยุทธที่เหมาะสมในการสงเสริมความยั่งยืนตอทรัพยากรความหลากหลายทาง ชีวภาพและวิถีชีวิตชุมชนชายฝง จะตองสามารถชวยบรรเทาสถานการณปญหาที่ชุมชนชายฝงประสบ ตองสอดคลองกับความตองการและสามารถสงเสริมโอกาสและความมั่นคงตอวิถีชีวิตคนชายฝงได และ สิ่งสําคัญ ตองสงเสริมความเขมแข็งและศักยภาพของชุมชนในการจัดการทรัพยากรชายฝงของตนได อยางยั่งยืน โดยมีภาคีหลักในระดับตางๆ รวมทั้งภาคเอกชน ซึ่งเปนผูไดรับประโยชนอยางมากจาก ทรั พ ยากร ควรดํา เนิ น ธุร กิ จ ด ว ยหลั ก ความรั บ ผิ ดชอบต อสั ง คม ชว ยเหลือ ต อ กิ จ กรรมการจั ด การ ทรัพยากรที่อยางยั่งยืน โดยเฉพาะสนับสนุนตอชุมชนชายฝง ซึ่งการรวมมือกันระหวางภาคสวนที่ เกี่ยวของ คําสําคัญ: ทรัพยากรชายฝง, ความหลากหลายทางชีวภาพ, วิถีชีวิตชุมชนชายฝง

1

งานวิจัยประกอบการศึกษา International Msc Programme (Nature Conservation and Biodivesrity), Saxion University of Applied Sciences and University of Greenwich (UK)


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract This research aims to investigate the local livelihoods conditions in coastal area and the relationships between biodiversity and local livelihoods. The next aim is to find out the way to enhance the sustainability of biodiversity and local livelihoods in coastal area. The research was done through the case study that is the coastal area in the inner Gulf of Thailand. Two coastal communities in the Khok Kham sub-district and Bang kachao sub-districts, Samut SaKhon province represented for the target areas of the study. According to the aim of the research, the framework of the study was set by base on the concept of Sustainable Livelihoods Approach (SLA). Following the frame work; the suitable strategies to enhance the sustainable biodiversity and local livelihoods in coastal area were developed and suggested. Namely, there are 9 themes for the policies needed that can contribute to enhance a sustainable of both biodiversity and local livelihoods. The suitable management approaches were advised from this research were the community-based management and co-management. The principles and concerns of both managements were found and recommended. The action plans and implementations to move forward and build up the activities comprise of 5 aspects. These aspects are the action plan on area based management; temporal-based management; rule and ordinances of utilization; traditional life and social inclusion promotion; economic opportunities and livelihoods’ security enhancement. Furthermore, four key stakeholders including their roles and contributions for the management and implementation were clarified. This research also provides the recommendation for relevant stakeholders to implement the action plans. The general key issues and concerns for moving forward and enhancing the biodiversity and local livelihoods in the coastal area were recommended to the policy makers and the community by this research. Keyword: Biodiversity, Coastal Area, Local Livelihoods

1. Rational Although, the global community agrees that biodiversity should be preserved, at the same time it cannot prohibit the local people to use the resources. Hence, win-win situation should be considered to conserve biodiversity while at the same time enhance their livelihoods. This is an aim of the research. The possible solution is to change local people activities into a sustainable way. Sustainable use and management may be a proper way to create a win-win situation. 2. Objective and research questions 2.1Objective 1) To investigate the local livelihoods conditions in coastal areas and the relationships between biodiversity and local livelihoods in coastal areas in term of use and management. 2) To find out the way to enhance a sustainability of biodiversity and local livelihoods in coastal areas. 2.2 Main research questions What are the suitable strategies to enhance a sustainable biodiversity and local livelihoods in coastal areas? Case study of coastal local community in the inner gulf of Thailand.

112


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

Sub research questions 1) How are the existing living conditions of local communities in coastal areas? 2) What are the factors influencing the local livings in coastal areas? How do they effect? 3) What are the good examples of biodiversity management by the coastal communities? 4) How do the coastal communities use and rely on nature and biodiversity? 5) How can the coastal communities adapt themselves to live and maintain the nature? 6) What are the policy instruments and appropriate management approaches that should be applied to sustain both biodiversity and local livelihoods? How should the stakeholders involve and contribute on those management approaches? 7) What are the action plans and implementations that should be defined to enhance a sustainable biodiversity and local livelihoods? 3. Research methodology The research was done through the case study that is the coastal area in the inner Gulf of Thailand. Two coastal communities in the Khok Kham sub-district and Bang kachao subdistricts, Samut SaKhon province represented for the target areas of the study. According to the aim of the research, the framework of the study was set by base on the concept of Sustainable Livelihoods Approach (SLA). The framework describes the scope that this research would investigate and find out in each step of the study. There are four main elements that this research focused on, as defined in the framework, which are the internal factors (livelihoods capitals) and external factors (vulnerability contexts) influencing the local livelihoods in coastal area, the transforming of structures and processes to solve and enhance the sustainable biodiversity and local livelihoods and the action plans and implementations to act on those processes. (See as figure 1) In-depth interviews with the key stakeholders such as the coastal households, the communities’ leaders for gathering the required data for summarizing the livelihoods capitals and the relationship of the biodiversity and local livelihoods in the coastal area.. Furthermore, the focus group discussion was applied for giving the representatives of the communities to reflect about existing management of the communities and the development that they need. The opinions and recommendations of the experts were asked for contributing to the development of the suitable strategies. The secondary data were needed to collect the data related the vulnerability contexts. Finally, all of data were combined to drawing the suitable strategies to enhance the sustainable biodiversity and local livelihood in the coastal area.

113


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Figure 1: Framework for the study 4.

Findings and conclusion

4.1 Local livelihoods and biodiversity in coastal areas

As identified and synthesized, there are several external factors that can cause change to the livelihoods. The table 1 concluded and described how these factors effect to the livelihoods capitals of the coastal communities. According to the objective, the local livelihoods situation and the relationships between biodiversity and local livelihoods in coastal areas are explained. All of the findings can be grouped into three main aspects are as the table 2.

114


The coastal resources has been over harvesting

Coastal resources exploitation trend

The households lost their land

The environment was varied and the nature was getting poor.

The abundance of coastal resources is declined such as mangrove.

Loss of biodiversity and the integrity of ecosystem

Resources degradation and habitat change

- Land ownerships change

Coastal erosion

- Land use conversion

Deterioration of mangrove area

Shrimp farming crisis

Shocks

- Social relation decrease

- Invasion of industries and urban area to the coasts.

Communities could develop the traditional way to protect and mitigate the erosion Communities could develop the conservation activities on their own knowledge

Some households lost the property and needed to move away Household has had less income because of less products. Some people abandoned fishing and farming and looked for new job

The problem pushed the local communities work together for finding the solutions to protect their area Because of the decreasing of resources, It urged the communities to be aware of their resources and they joined together to work on conservation.

Declining of resources because of over exploitation, communities were alert to protect their nature and resources.

Aimed to generate more income, but the more harvesting brought less the amount of products that the communities can earn.

Lost their capacities to cope with the dept and poverty problem that were affected from the crisis

Communities were alert to protect the nature, in case the development ruined their area.

Raised awareness and empower knowledge

Human capital

More employments and job offered

Promoted sustainable development

Economic capital

Households’ income was collapsed after crisis. Some of them sold out their lands and property.

Not directly relevant

More harvesting caused to the decreasing of the resources and then it drove the communities cooperate and change their way of exploitation.

- More population, immigrant came to work in the area

- Land utilization dramatically changed.

Effected and changed habitat condition

Coastal development trend

Nature area degradation

Enhanced the participation

Social capital

Promoted sustainable development

Physical capital

Focused on conservation and restoration

Natural capital

Policies trend on natural resources management

Trends

Vulnerability contexts

Table 1: The influence of the vulnerability contexts on the livelihoods’ capitals

ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

115


116 Households’ occupations changed

- Conflicts were happened because of the job’s competition.

Lacked of chances pushed more harvesting and then land use may be converted more.

Unstable of jobs and income, and then more exploitation was added

- Traditional life were abandoned, they neglect to find more opportunities in other area

Households’ income were not ensured and secured

Conflicts of resource use occurred because of the production’s competition.

Lacked of products can push more harvesting and then land use may be converted more.

- Paid more money to buy foods.

Product has been found less, and then more exploitation was added

- Lost some food and nutrient.

Effected to the products of the households and then they struggled due to losing of income

Lacked of food can push more harvesting and then land use may be converted more.

Not directly relevant

Not directly relevant

Competition of occupations

Economic capital

Insecurity of foods pressed more capturing of fishery resources

Note: Summarized from the results of the study

(Loss chance of earning)

Employment

(Products and prices has been decreased)

Productivity and prices

(Hard to find the daily foods form the nature)

Food availability

Seasonality

- Water quality in the area was poor

Destroyed the habitat of the living resources.

Wastewater and water pollution - Caused a pollution in the area

- Reduced the social inclusion

Coastal areas were used for supporting their opportunities

Competition caused more harvesting and unsustainable use

Conflict of resources utilization - Obstructed the participation process.

Social capital

Physical capital

Natural capital

Vulnerability contexts

Struggled and worried

Struggled and worried

Needed to develop the capabilities for working and finding more chance to gain foods.

Still could not handle with this problem.

Live independently, cannot harmonize the idea and capabilities to cope with any problems.

Human capital

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


Opinion on conservation and resources management promotion - The organizations should seriously take in to account and sincere - The management must fit with community’s activities. - Enhancing and raising awareness. Need for some contributions: such as budgets, equipments and power to control the use of resources

Human capital - The capacities to handle the problems were developed but they still need the empowering. - The local knowledge was employed to contribute the conservation activities. - Obtaining supports and assistances from the external agencies but some organizations just came to take a benefit – not be sincere to join.

Note: Summarized from the results of the study

Some of them also that the resources are important for future use and next generations.

Social capital - Traditional life style was altered, next generation will neglect the fishing and farming. - Social inclusion has been changed. - Have social groups to protect their nature.

Table 2: The significant aspects and conditions of the local communities The situations and stresses Local interest and needs Natural capital Dependence on the resource: - Mangrove lost and fishery resources has been - For their basic needs: Psychological declined needs and safety needs. - Conflict of resources use and illegal fishing - For their the economic opportunities: Physical capital Small-scale fishing, Artisanal fishing, - Coastal areas were converted and affected by the expansion of the industries and urban area. Aquaculture farming and Salt production farming - Land ownership was changed - Encounter with the severe of coastal erosion - For their traditional life, culture, adaptation and learning - Face with environmental problems, wastewater and pollution As the perception of the local people on Economic capital the biodiversity value, most of - Economic opportunities are unsecure. households realised that the resource are - Fishery yields and income have been less. benefit directly and indirectly for them - Need to find extra job or abandoned the fishing

- Most of households are aware and concern on the importance of the conservation - Fishery styles of communities still go on as the traditional styles and do not focus on over harvesting. - The communities applied their knowledge to run the conservation activities and protect their nature. - There is a linkage in the regional level. - Policies promote the management of community. - The communities have got the funding support and knowledge empowerment from the external agencies. - The schools in the area join the conservation activities. Many networks and other communities have come to visit and share the experiences between each other. Constraints of the local management (from weaknesses and threats) - The management is not intensive and the number of leaders and members are less - The social participation is decreased. - Land ownership changed. - A feeling of taking care of the resources has been declined and the next generations neglect. - The movement cannot gain the good cooperation from stakeholders; especially, from the local government. - Urban and industrial area expansion affect to the nature and coastal areas. - Waste water discharge problem and water pollution effect to the abundance of coastal resources. - The coastal erosion is severe - Many migrants move into the area - Technology of the commercial fishery has been rapidly developed and it is hard to protect the over harvesting. - Cannot protect the illegal fishing.

Local capabilities Potential of the local management (from strengths and opportunities) - There are several social groups that work on conversation issues in each resource. The leaders of each group have a linkage and work together.

ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

117


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” 4.2 The suitable strategies for enhancing a sustainable biodiversity and local

livelihoods in coastal areas in Thailand The suitable strategies for enhancing a sustainable biodiversity and local livelihoods should be considered and used at both national and local level. The strategy recommended by Masalu (2003) should generate a balance between national and local interests simultaneously, - not only concerning about the foreign income but also the local interests. Importantly, these strategies should integrate several sectors and involvement of local people as well. Allison and Ellis (2001) identified livelihood strategies that can be drawn into two main themes which are: natural resources based activities and non-resources based activities. For the alternative resources exploitation, Zorini et al (2004) commented that the strategies should be developed covering all social, economic and ecological criteria. And the alternative of livelihoods’ promotion should be based on the environmental characteristics and ecological conditions (Kuhlmann , 2002) Therefore, the suitable strategies that this research suggested would contribute to the crucial concerns as follows; - Solving the problem situations that the local communities in coastal areas face. - Promoting the opportunity and security of the local livelihoods in coastal areas. - Ensuring local community’s dependence on coastal resources by enhancing the local capabilities to manage coastal resources and conserve nature. Following the framework; the research discovered the significant results to answer to main research question. The suitable strategies to enhance the sustainable biodiversity and local livelihoods in coastal area were developed and suggested in term of the needed policy themes, the suitable management approaches and the stakeholders’ involvement. There are 9 themes for the policies needed that can contribute to enhance a sustainable of both biodiversity and local livelihoods. (See as figure 2) The suitable management approaches were advised from this research were the community-based management and co-management. The principles and concerns of both managements were found and recommended. The good choice of the management at local should be fit with the needs and the problems level of that area. Importantly, the management at local level of Thailand need the supports and the level the assistances needed depend on the capability of the community. The action plans and implementations to move forward and build up the activities comprise of 5 aspect (See as figure 2). Furthermore, four key stakeholders including their roles and contributions for the management and implementation were clarified. Namely which are the government (at both national and local level) can offer the authority power, regulation and control, empowerment and funding. The local resources user (community) can bring their awareness, responsibilities and traditional knowledge. The agents (NGOs, the academic institute) can give their skill on the academic knowledge, research as well work on empowerment and inspiration other parties. Last is the business sector, who gains a lot of benefits from the resources and deteriorate the resources and local livelihoods, need to join. The business sector can contribute awareness, responsibilities and funding to other key stakeholders

118


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

Figure 2: Suitable strategies for enhancing a sustainable biodiversity and local livelihoods in coastal areas (suggested by this research)

119


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

5.

Recommendation

This research also provides the recommendation for relevant stakeholders to implement the action plans. The general key issues and concerns for moving forward and enhancing the biodiversity and local livelihoods in the coastal area were recommended to the policy makers and the community by this research. 5.1 Recommendation to implement the actions plans

Local community

Communities can play a key role to define their rules and ordinance in the utilization of resources. For instance, they can develop a sustainable use by identifying the suitable tools, methods and species of utilization; prohibiting the destructive utilization and increase the number of the resources. In addition, they should bring their willingness and develop the activities by their own way, to protect nature and enhance their economic opportunities and social participation within their area.

Government

Government can contribute to the plans by using their legitimacy and authority power in order to declare the conservation zone and the protected area. Moreover, they can release the regulations and control to reduce the impacts of the activities that can destroy coastal resources and livelihoods. They can also support with technical knowledge and facilitating community’s skills to finally manage their resources, enhance economic opportunities and give funding to conservation activities in the community.

Change agents

The key roles and contributions

NGOs, universities, academic and research institutions can contribute with their knowledge and research to support decision making by governmental agencies. They can also help to understand the situation, build capability, and support funding for the community in order to perform these tasks. Furthermore, they can link all stakeholders to work and join in the implementation of these tasks.

Business sector

Stakeholder s

The stakeholders need to take action and give support to the action plans, as suggested, this can play a role and contribute in several aspects as follows; Table 2: Stakeholders’ key roles and contributions

These sectors are the enterprises, such as the industries in the area and the commercial fishery, which gain the benefit from the resources or can produce the impacts to the coastal areas. These businesses should share their responsibilities and change their behaviour to use the resources in sustainable way. They should also follow the rules and do not generate negative effects to the area. Furthermore, these businesses can join the activities or support with funding for the community.

120


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

5.2 The key issues and concerns for enhancing the biodiversity and local livelihoods

in coastal areas. 1) Recommendation for policy makers to move forward Government agencies are the policy makers and play an important role to define the direction on the development and management of every country. These recommendations are provided for these government agencies whose work is related to enhance the biodiversity and local livelihoods in coastal areas; especially, for the governments of developing countries. Due to the fact that the rural people in coastal areas of the world live in these countries and rely on the biodiversity and coastal resources. • Promote an integrated and bottom up approach: Zagonari, (2008) said that the result of integrated management is always more beneficial than non-integrated management. In addition Hegarty (1997) discovered that coastal development models with a top down approach did not work well because this approach was disorderly and not based on the needs of local people and it brought conflicts in the development. The management by participatory processes is recognized worldwide as generator of sustainability. According to the experiences of the community-based management and comanagement promotion in many countries; their result could strengthen the socio-political and governance at a local level, increase socio-economic benefits of the communities, build the social network of relevant stakeholders, solve the conflict of resources use and promote the traditional rules and right of local communities (Ramachandran, 2005; Rakotoson and Tanner, 2006; Maliao et al., 2009 and Thomson and Gray, 2009) Therefore, the government agencies of developing countries can promote an integrated and bottom up approach by applying both concepts that would help to bring benefits to the local community and their livelihoods. • Develop the legislation, institutional formation and improve the administration system. The mechanism of legislation, institution and administration to support the integrated management and participatory processes must be raised by the government. For example, although, the policies and coastal resources management of the Southeast Asia counties were emphasized on decentralization and local involvement (Pomeroy, 1995), some researchers reported that these countries are still lacking legal control and they have weaknesses, the local enforcement and monitoring (Nasuchon and Charles, 2010). Therefore, the development of new legislation and institutional formation at national and local level can support this change (Pomeroy,1995). Furthermore, Masalu, (2000) remarked that governmental administration systems must promote effectiveness of integrated management. Namely, government should establish a specific organization to be in charge, coordinate and engage the activities and resources utilization in coastal areas to go on within a consistent direction. Nasuchon and Charles, (2010) also quoted that the development of informational and institutional systems is important to enhance a successful of management. • Overcome the poverty The poverty pressure in developing countries can hinder and may discourage the local people to join in the management plans. Nasuchon and Charles (2010) reflected that, communities’ management is not easy to generate successful outcomes, because while local people need to struggle to obtain food, money for their survival, resources conservation would

121


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

be less important. As interviews showed, this research also found that some households realised the importance of conservation, but they do not have time to contribute because they need to earn money every day. Hence, besides conserving the coastal resource, developing countries need to work on poverty reduction. When local people have sufficient basic needs and can earn their living, then they can pay more attention on resources management. Therefore, for these countries, a main issue to focus on, is to take into account people, not only working on resources conservation (Pomeroy, 1995). 2) Recommendation for the coastal communities to gain achievement Except other stakeholders, the communities are a main to play role on this enhancement. In this case, if they do not care for their resources, any sector can help them to save nature for their future. This research discovered that there are crucial key issues that the community organization; or any group in the community who work on conservation and resources management, should consider in order to gain a better management, as recommend below. • Having awareness, willingness and devotion People may not see the importance of the resources because they have seen them every day. From the good examples reviewed, many communities started to work on conservation because they faced the problems and they lost their livelihoods’ security. However, the community should not wait for the problems to come; they must be aware and invest their management as soon as possible. The feeling of ownership and willingness to take care of nature should be built within the communities (Bampen, 2010, pers comm.; Bangkaew and Milintangul, 2010, pers comm.). Although, the communities can understand nature conservation well, they do not take action; and then, the management cannot occur. Nowadays, people in society tend to think that it is not their business, if they cannot achieve tangible benefits. Therefore, public consciousness must be urgently raised within the communities. • Encouragement of the social relationship and inclusion: A harmony in community can generate a strong conservation effort and management. If local people have a good relationship, they can develop a mutual, concrete belief, and make a disciplinary social system which all people will accept, following the same rules. The local people in the communities may have doubts about sharing responsibilities because they may be afraid that they would lose opportunities. Hence, the benefits of conservation and resources management should be promoted to make them realise this. Definitely, the benefit of the resources management and conservation cannot be seen at once but it tends to generate outcomes in a long term period. The demonstrations of activities are needed to make people perceive the profits and join these activities in the communities. • Developing the capability and knowledge and strengthening their organization The community should develop the capabilities and apply the traditional knowledge to contribute to the management because they know better than the others. The establishment of the organization can also help the communities to have their own network and representatives to perform the management (Rivera and Newkirk, 1997). Having good and strong leaders is a key role because they can move forward to achieve the community management. (Chaksuin 2010, pers comm. and Chotthong 2010, pers comm.)

122


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

However, in general, the communities still need assistances in term of knowledge, skill and finance to enhance a better management. Furthermore, the power and voice of the community must be recognized in a formal way. • Connecting with other network Community may be conservative and do not want to deal with external parties. Most of cases in Thailand found that, the communities suspected that the government agencies came to take advantage of the situation and will exclude them out from the resources. Thus, the communities should be open and trust each other to work together. In conclusion, the suitable strategies that were suggested from this research may have some specific details that cannot fit for other areas because each community has their own characters and different interests. There are not a standard format of the strategies that can be used by coping from one area and passing to another area. Thus, the further research should find more evidences or add more practical ways to improve these strategies.

References Books: English Department for International Development (DFID). 1999. Sustainable livelihoods guidance sheets, UK Department for International Development, London. Retrieved from: http://www.nssd.net/pdf/ sectiont.pdf at 20 March 2010. Pomeroy R.S.and Guieb R. Rivera. 2005. Fishery Co-management, A Practice Handbook. Ottawa, CA: The International Development Research Centre (IDRC) and CABI Publishing. The Millennium Ecosystem Assessment (MEA) . 2005. Ecosystems and Human Well-being A Framework for Assessment. Washington DC, US: Island Press. World Bank Thailand. 2006. Thailand Environment Monitor 2006: Marine and Coastal Resources. Bangkok, TH: World Bank Thailand. World Bank Thailand. 2004. Thailand Environment Monitor 2004: Biodiversity. Bangkok, TH: World Bank Thailand. Thai Department of Fisheries (DOF), 2008, The Master plan on marine fishery resources management. Bangkok, TH: Sangdad Media Group. Department of Marine and Coastal Resources (DMCR), 2008, The report of a status and situation of the marine and coastal resources of Thailand in 2007. Bangkok, TH: Ploy media, com, Ltd. Department of Marine and Coastal Resources (DMCR), 2009. The Strategic Plan of Mangrove Management. Bangkok, TH: DMCR. Keowan Bampen et al. 2009. The final report of “The synthesis of the costal resource management of the communities in the southern part of Thailand Project”, supported by The Thailand Research Fund.

123


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Nonglak Rojanasaeng. 2008. Problems and Prospects of Adaptive Co-management of Fishery and Coastal Reources iin Phangnga Bay, Sounthern Thailand. Thesis (Ph.D) The University of Wisconsin – Madison. Prapawasit Nittharath, et al. 2006. The Assessment on Coastal Resources Productivity and Management in the Inner Gulf of Thailand (Tha Chin - Mae Klong River Basin). Bangkok, TH: Chulalongkorn University Press. Satumanatpan Suvaluck. 2010. Coastal Management: Integration to Sustainability. Nakorn Pathom. TH: Mahidol University Press. Journals; Allison Edward H. and Ellis Frank. 2001. The livelihoods approach and management of small-scale fisheries. Marine Policy 25: 377–388 Carlsson and Berkes. 2005. Co-management: concepts and methodological implications. Journal of Environmental Management 75: 65-76. Kuhlmann K.-J. 2002. Evaluations of marine reserves as basis to develop alternative livelihoods in coastal areas of the Philippines. Aquaculture International 10: 527–549 Maliao Ronald J., et al. 2009. Performance of community-based coastal resource management (CBCRM) programs in the Philippines: A meta-analysis. Marine Policy 33: 818–825. Masalu Desiderius C.P. 2000. Coastal and marine resource use conflicts and sustainable development in Tanzania. Ocean & Coastal Management 43: 475-494 Masalu Desiderius C.P. 2003. Challenges of coastal area management in coastal developing countries—lessons from the proposed Rufiji delta prawn farming project, Tanzania. Ocean & Coastal Management 46 : 175–188. Nasuchon Nopparat and Charles Anthony. 2010. Community involvement in fisheries management: Experiences in the Gulf of Thailand countries. Marine Policy 34: 163– 169 Pomeroy Robert S. 1995. Community-based and co-management institutions for sustainable coastal fisheries management in Southeast Asia. Ocean & Coastal Management 27: 143-162. Pomeroy Robert S., 2006. et al. Coping with disaster: Rehabilitating coastal livelihoods and communities. Marine Policy 30: 786–793 Rakotoson Lalaina R. and Tanner Kathryn. Community-based governance of coastal zone and marine resources in Madagascar. Ocean & Coastal Management 49 : 855–872. Ramachandran A., et al. 2005. Coastal regulation zone rules in coastal panchayats (villages) of Kerala, India vis-a` -vis socio-economic impacts from the recently introduced peoples’ participatory program for local self-governance and sustainable development. Ocean & Coastal Management 48: 632–653. Rivera r. and Newkirk G. F. 1997. Power from the people: a documentation of nongovernmental organizations' experience in community based coastal resource management in the Philippines. Ocean & Coastal Management 36: 73-95 Thomson Kaleekal and Gray Tim. 2009. From community-based to co-management: Improvement or deterioration in fisheries governance in the Cherai Poyil fishery in the Cochin Estuary, Kerala, India?. Marine Policy 33: 537–543 Zorini L. Omodei, et al.2004. Participatory appraisal for potential community-based mangrove management in East Africa. Wetlands Ecology and Management 12: 87–102. Interviews:

124


ทรัพยากรชายฝงและความหลากหลายทางชีวภาพ กับวิถีชีวิตชุมชนชายฝง: กรณีศึกษาชุมชนชายฝงในพื้นที่อาวไทยตอน

Aksornkoae Sanit, Prof.Dr.. Former president of Thailand Environment Institute. 1 June 2010. Bangkaew Busarin. The College of Population Studies Chulalongkorn Univesrity. Research staff. 15 July 2010. Chaksuin Saisunee. WWF Thailand. Project manager of the Conserving Endangered Dolphins, Inner Gulf of Thailand. 8 June 2010. Chotthong Benjamas. Thailand Environment Institute. Project manager and Researcher (Level 5). 14 July 2010. Duanglomchan Worapol, Bunruam.Narin and teams. The erosion protection and mangrove rehabilitation group of Kok kham community. The leaders, 23 may 2010 Khok Kham community and Bang kachao community. Members. May and June 2010 Keowan Bampen. School of Agricultural Extension and Cooperatives, Sukhothai Thammathirat Open University. Assoc. Prof. 24 June 2010. Milintangul Chanettee.The College of Population Studies Chulalongkorn Univesrity. Research staff. 15 July 2010. Puwachiranon Sombat, of the Marine and Coastal Reources Center (Samut Sakhon). Director. 4 June 2010. Satumanatpan Suvaluck, Dr.. Faculty of Environment and Resources Studies, Mahidol University, Assoc. Prof. 2 June 2010. Suraswadi Pinsak, Dr.. Marine Resource Conservation and Restoration Division, Department of Marine and Coastal Resources. Director. 7 June 2010

125


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

126


เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล Food recipes from mangrove edible plants at Satun province

ประนอม ชุมเรียง1 รอฝอะ ตาวาโต2 ซาฟนา องศารา3 1,2,3

ศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล ตําบลตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000

บทคัดยอ การศึกษาคนควาเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล เปนการรวบรวมภูมิปญญาเกี่ยวกับพืชกิน ไดในปาชายเลน เก็บขอมูลโดยการสอบถามจากปราชญชาวบานเกี่ยวกับชนิดพันธุไมปาชายเลนที่ นํามารับประทานไดรวมทั้งสูตรและวิธีการปรุงอาหารตามแบบฉบับทองถิ่น พบวา เมนูอาหารพื้นบาน ที่ทําจากพืชกินไดในปาชายเลนนั้น มีทั้งสิ้น 21 เมนู จากพืชปาชายเลนจํานวน 12 ชนิด สามารถ แบงเปนเมนูชูสุขภาพตามหลักของกรมอนามัยได 4 กลุม คือ กลุมที่ 1 เมนูชูสุขภาพที่ใหใยอาหารสูง กลุมที่ 2 เมนูชูสุขภาพกลุมที่ใหแคลเซียมสูง กลุมที่ 3 เมนูชูสุขภาพกลุมที่ใหวิตามินเอและธาตุเหล็ก สูง และกลุมที่ 4 เมนูชูสุขภาพกลุมที่มีไขมันต่ํา อยางไรก็ตาม พบวา มีหลายเมนูที่มีคุณประโยชน มากกวา 1 อยาง คําสําคัญ: เมนูอาหาร, พืชปาชายเลน, จังหวัดสตูล

Abstract Local knowledge about the food recipes from mangrove forest edible plants have been systematically gathered by interviewing local experts. There are 21 food recipes which produced from 12 mangrove plant species. According to Department of Health, these recipes can be classified as “the health recipe” by dividing recipes into 4 groups, including group 1: recipes that contain high fiber, group 2: recipes that contain high calcium, group 3: recipes that contain high vitamin A and Iron, and group 4: recipes that contain low fat. Each recipe, however, can be evolved in health benefit more than one group. Keyword: Food recipes, mangrove edible plants, Satun province


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

บทนํา ปาชายเลนเปนปาที่มีความสําคัญอยางมากมายมหาศาลทั้งทางดานเศรษฐกิจและนิเวศวิทยา เพราะปาชายเลนเปนที่รวมของพืช สัตวน้ําและสัตวบกนานาชนิด ซึ่งมีความสําคัญและมีประโยชนตอ การดํารงชีวิตของมนุษยหลายรูปแบบที่สามารถสนองความตองการทั้งทางดานการใชประโยชนจาก เนื้อไม การสรางที่อยูอาศัย แหลงเก็บหาสัตวน้ํา กุง หอย ปู ปลา ฯลฯ อีกทั้งยังเปนแหลงรวมยารักษาโรค นอกจากนี้พืชปาชายเลนยังสามารถนํามาประกอบอาหารไดอีกดวย ซึ่งบางชุมชนที่อยูใกลปาชายเลน นิยมนํามาประกอบอาหาร ทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน เพื่อบริโภคในครัวเรือนและเปนแหลง วัตถุดิบในการทําผลิตภัณฑชุมชน ซึ่งรูปแบบและวิธีการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนมีที่มา ทั้งจากการถายทอดจากบรรพบุรุษและการเรียนรูจากประสบการณตรง ปาชายเลนจัง หวัดสตูล มีพัน ธุไมมากมายหลายชนิดทั้งชนิ ดที่ไมตน ไมพุ ม ไมลมลุก ไม จําพวกปาลม ตระกูลเฟริ์น โดยพันธุไมเหลานี้ สามารถนํามาทําเปนอาหารรับประทานได ซึ่งถือวาเปน ผลผลิตจากปาชายเลนในชุมชน โดยอาศัยหลักภูมิปญญาทองถิ่นชาวบานที่อาศัยอยูตามชายฝง วา พันธุไมแตละชนิดใชทําอาหารอะไรไดบาง ไมวาจะเปน แกงกะทิ แกงคั่ว ตม ทอด และยังสามารถ นํามาทําเปนผักสดหรือผักลวกจิ้มไดอีกดวย การเผยแพรความรูเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล แกประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะ เยาวชนในสถานศึกษาตามแนวชายฝง เพื่อเปนการสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น และยังเปนแนวทางอีก ทางเลือกหนึ่งในการประกอบอาชีพธุรกิจการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ขายความเปนอัตลักษณเกี่ยวกับ อาหารการกินของทองถิ่น หรือการตอยอดขยายผลแปรรูปอาหารจากพืชปาชายเลนในรูปแบบอื่นๆ ตอไป และหากมี การสงตัวอยางอาหารจากพืชปาชายเลนวิเคราะหหาคุณคาทางโภชนาการตาม หลักเกณฑมาตรฐานได จะชวยเพิ่มมูลคาของพันธุไมในปาชายเลนทางดานเศรษฐกิจในรูปแบบของ คลังอาหารอีกอยางหนึ่ง ดังนั้นเพียงแคใครสักคนไดอานแลวไดรูถึงประโยชนและคุณคาของพันธุพืชใน ปาชายเลนโดยที่ยังไมตองชิม ลิ้มลอง ก็เกิดประโยชนแลวในการที่จะชวยกันอนุรักษและใชประโยชน ปาชายเลนอยางยั่งยืนตลอดไป ซึ่งอันที่จริงยังมีอีกหลากหลายเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนตาม ภูมิภาคและจังหวัดอื่นที่อยูติดชายฝงและปาชายเลน ที่รอการพิสูจนทาชิมและเผยแพรใหคนทั่วไปไดรับรู วิธีการศึกษา 1. สอบถามและศึกษาวิธีการประกอบอาหารจากพืชปาชายเลนจากผูรูในทองถิ่นจังหวัดสตูล 2. ตรวจเอกสารที่เกี่ยวของ 3. ทดลองทําอาหารทั้งหมด 21 เมนู ปรุงรส ชิม และโชวเมนูเดนตามงานตางๆ

128


เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล

ผลการศึกษาและวิจารณ เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนของจังหวัดสตูล เปนอีกเมนูหนึ่งที่มีจุดเดนของผักพื้นบานปาชายเลน ซึ่งเปนเมนูที่ไดมาจากภูมิปญญาทองถิ่นของชาวบานที่อาศัยอยูในชุมชนชายฝงจังหวัดสตูล พืชในปา ชายเลนที่นํามาประกอบอาหารสามารถทําไดทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน และเปนสมุนไพรรักษา อาการไมสบายเล็กๆ นอยๆ กระทั่งรักษาโรคตางๆ ไดในตัว นับเปนภูมิปญญาที่นาอนุรักษไวอยางยิ่ง แตมีพืช 1 ชนิดไมไดเปนพืชที่ขึ้นอยูในจังหวัดสตูล คือ ชะคราม ใบเขียว ไดนําพันธุชะครามนี้มาจาก จังหวัดเพชรบุรีมาทดลองปลูก หลังจากนั้นไดคิดคนเมนูตางๆ ตามวิถีชุมชนชายฝงสตูล (ตารางที่ 1) นอกจากนั้ น ยั ง พบว า แต ล ะพื้ น ที่ จะมี เ มนู ที่ แ ตกต า งกั น ออกไป อยา งเช น แกงคั่ ว ชะครามปู ท ะเล จังหวัดเพชรบุรี (ทวี, 2551) แกงคั่วหอยแครงใบชะครามบานบางขุนไทร จังหวัดเพชรบุรี (ไพโรจน,ไม ระบุปที่พิมพ) ตมบวชกะทิฝกถั่วขาว(ถั่วดํา) ของบานทองหลาง จังหวัดพังงา และโกงกางใบใหญชุบ แปงทอดหนากุง ของบานบางลา จังหวัดภูเก็ต ตารางที่ 1 พืชปาชายเลนที่ใชประกอบอาหารของจังหวัดสตูล พืชอาหารปาชายเลน 1. ขลู

สวนที่ใช ยอดออน, ใบ

เมนู

1. ยําขลูกุงสด 2. น้ําพริกกุงสับยอดขลู 2. จาก หัวจากออน, ลูกจาก 3. แกงคั่วเนื้อหัวจากออน 4. ลูกจากลอยแกว 5. แกงกะทิชะครามหอยปะ, หอยขาว, ปลายาง 3. ชะคราม ยอดออน, ใบ 6. ยําชะครามกุงสด 7. น้ําพริกหวานชะครามลวก 8. ชะครามไขเจียว 4. ถอบแถบน้ํา (สาวดํา) ยอดออน, ใบ 9. ตมกะทิสาวดํา, (เถาถอบแถบ) 10. น้ําพริกกุงสับสาวดํา 5. ถั่วขาว (โรย) ฝก 11. ยําฝกโรย (ถั่วขาว) 6. ปรงหนู ยอดออน, ใบ 12. แกงสมปรงหนู 7. เปงทะเล ยอดออนหรือหยวก 13. แกงกะทิหยวกเปงกุงสด 14. แกงสมหยวกเปงกุงสด 15. ยําหยวกเปงกุงสด 16. น้ําพริกหวานหยวกเปงลวก 8. ลําเท็ง ยอดออน, ใบ 17. แกงเลียงลําเท็งกุงสด 9. ลําพู ผล 18. น้ําพริกกุงสดลําพู 10. ลําแพน ผล 19. โปะแตกลําแพน 11. สาหรายสาย (ลาโตส) ทั้งตน 20. น้ําพริกลาโตส 12. เหงือกปลาหมอดอกมวง ดอก 21. ดอกเหงือกปลาหมอดอกมวงชุบแปงทอด

129


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตัวอยางเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล แกงคั่วเนื้อหัวจากออน เครื่องปรุง เครื่องแกง เนื้อสัน 1 ถวย พริกแหง 40 เม็ด พริกขี้หนูสด 20 เม็ด หัวจากออน 2 ถวย ตะไคร 2 ตน พริกไทย ½ ชอนชา หัวกะทิ ½ ถวย ขมิ้น 2 ซม. กระเทียม 5 กลีบ หางกะทิ 3 ถวย กะป 1 ชอนโตะ น้ําตาลปบ ½ ชอนโตะ เกลือ วิธีทํา โขลกเครื่องแกงทั้งหมดใหละเอียด ตักใสหมอเติมหางกะทิ 1 ถวย คนใหเขากัน ยกขึ้นตั้งไฟคน เรื่อยๆ ใหเครื่องแกงสุก ใสเนื้อรอจนน้ําเนื้อแหงจึงใสหางกะทิที่เหลือ คนเรื่อยๆ จนเดือดใสหัวจากออน ชิมรสตามชอบ ใสหัวกะทิเดือดอีกครั้งยกลงรับประทานได เกร็ดเล็กเกร็ดนอย หัวจากออนตองลวกในน้ําเดือดกอน 2-3 ครั้ง รสชาติจะไมฝาดเกินไป และในการเลือกลูกจากออน สําหรับแกงสังเกตไดจากสีของผลจะมีสีน้ําตาลแดงนิด ๆ ถามีสีน้ําตาลเขมจะแกเกินไปไมเหมาะสําหรับ นําไปแกง การแกงกะทิหรือตมกะทิตางๆ เมื่อสุกแลวใหรีบยกลงจากเตาทันที เพราะถาตั้งไวความรอนทียัง หลงเหลืออยูบนเตาจะทําใหกะทิแตกมัน แกงสมหยวกเปงกุงสด เครื่องแกง พริกสด ขมิ้น กระเทียม กะป

20 2 4 1

เม็ด เซนติเมตร กลีบ ชอนโตะ

เครื่องปรุง น้ํามะขามเปยก ½ กุงสด 10 น้ําเปลา 3 หยวกเปงฝานชิ้นบาง ๆ 1 เกลือ น้ําปลาและน้ําตาลปบ

ถวย ตัว ถวย ถวย

วิธีทํา โขลกเครื่องแกงทั้งหมดใหละเอียด ลวกหยวกเปงในน้ําเดือดสักพัก ยกลงตักใสน้ําเย็นทันที น้ําเปลาใสหมอ น้ํามะขามเปยก เครื่องแกง เกลือ น้ําตาลปบ คนใหเขากัน ยกขึ้นตั้งไฟพอเดือด ใสหยวก เปง ชิมรสเปรี้ยวหวานเค็มตามใจชอบ ใสกุงสด เดือดอีกครั้งยกลง 130


เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล

ตมกะทิสาวดํา (ถอบแถบน้ํา) หอยกัน เครื่องปรุง ยอดสาวดําเด็ดใบ 4 ถวย หอยกันแกะเอาเนื้อ 1 ถวย หัวกะทิ ½ ถวย หางกะทิ 2 ½ ถวย หอม 4 หัว กะป ½ ชอนชา เกลือ วิธีทํา นําหางกะทิใ สหมอ กะปละลายน้ําและเกลือ ยกขึ้นตั้งไฟพอเดือด บุบหอมพอแตกใสลงไป ใส หอย ใสยอดสาวดํา เดือดอีกครั้งชิมรสใหถูกปาก ใสหัวกะทิพอเดือด ยกลง เกร็ดเล็กเกร็ดนอย การตมกะทิผักตาง ๆ สวนมากไมนิยมใส น้ําตาลเพราะกะทิมีความหวานในตัวอยูแลว

ยําขลูกุงสด เครื่องปรุง ยอดขลูซอย 2 ถวย กุงลวกสับหยาบๆ ½ ถวย หัวกะทิ ¼ ถวย มะพราวคั่วตําละเอียด ½ ถวย พริกขี้หนูสวน 20 เม็ด พริกไทยดํา ½ ชอนชา กะปเผา 2 ชอนโตะ เกลือ ½ ชอนชา น้ํามะขามเปยก ¼ ถวย วิธีทํา ตํา พริ ก ขี้ ห นู ส วน พริ ก ไทยดํา กะป เกลื อ ให ละเอียด ตักใสถวย เติมน้ํามะขามเปยก มะพราว คั่ ว ตํ า ละเอี ย ด หั ว กะทิ หอมแดงซอย ใส กุง ลวก ยอดขลูซอย เคลาใหเขากัน ชิมรส เปรี้ยว มัน เค็ม ตามชอบ รับประทานได

ชะครามไขเจียว

น้ําพริกลาโตด

เครื่องปรุง ไขไก 3 ฟอง น้ํามันพืช 1 ถวย ใบชะครามออน 1 ถวย น้ําเปลา 1 ชอนโตะ มะเขือเทศ 1 ผล วิธีทํา ใบชะครามมาลางใหสะอาดดวยน้ําเปลา เด็ด ใบออกจากกาน นําไปตมในน้ํารอนสักพัก ยกลง ใสใ นน้ํ า เย็น ทั น ที แลว คั้น กั บ น้ํา เปลา อีก 2 – 3 น้ํา หรือใชใบสดก็ได ตอกไขใสถวยตามดวยใบ ชะคราม น้ําเปลา มะเขือเทศซอย แลวตีสวนผสม ทั้งหมดใหเขากัน ใสน้ํามันในกระทะตั้งไฟใหรอน เทสวนที่เตรียมไวในน้ํามันที่รอนพอเหลืองกลับ ดาน สุกยกลง กินกับขาวสวยรอนๆ อหรอยอยา บอกใครเชียว

เครื่องปรุง พริกขี้หนูสวน 25 เม็ด กะปเผา 2 ชอนโตะ มะพราวคั่วตําละเอียด 1 ถวย เกลือ ½ ชอนชา กะทิ 1 ถวย น้ํามะขามเปยก 2 ชอนโตะ หอมซอย 5 หัว สาหรายสายสด 1 จาน วิธีทํา ตําพริกขี้หนูสวน กะปเผา เกลือใหละเอียดตัก ใส ถ ว ย ใส น้ํ า มะขามเป ย ก กะทิ มะพร า วคั่ ว ตํ า ละเอียด หอมซอย คนใหเขากัน ชิมรสตามใจชอบ รับประทานกับ สาหร า ยสด และที่ลื ม ไม ไ ดต อ งมี ปลาทูหรือปลาหางแข็งยางคูกับน้ําพริกสาหรายสด กินเวลาเที่ยงอรอยยิ่งนัก 131


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ลูกจากลอยแกว

ยําฝกโรย (ถั่วขาว)

เครื่องปรุง เนื้อในลูกจากออน 2 ถวย น้ําตาลทราย 1 ถวย เกลือ ½ ชอนชา น้ําเปลา 3 ถวย น้ําแข็งเปลา วิธีทํา เทน้ําเปลาใสหมอ ใสเนื้อในลูกจากออน ยกขึ้น ตั้งไฟใหเดือดสักพัก ใสน้ําตาล เกลือ พอเดือดยก ลง ตั้งไวใหเย็น เวลารับประทานใสน้ําแข็งเล็กนอย ทานตอนอากาศรอน ๆ ชุมปอดนักเชียว เกร็ดเล็กเกร็ดนอย การเลือกลูกจากที่มีเนื้อในขนาดพอเหมาะ คือ ไมนิ่มและแข็งจนเกินไปตองสังเกตที่สีของผล คือ ตองมีสีเทาออน ๆ ถาสีของผลเปนสีดําแสดงวาแก เกินไป

เครื่องปรุง ฝกถั่วขาว 50 ฝก มะพราวขูดขาว 1 ถวย น้ําตาล ½ ถวย เกลือ ½ ชอนชา น้ําขี้เถา 5 ถวย น้ําเปลา 5 ถวย วิธีทํา ขูดเปลือกฝกถั่วขาวออกใหหมด เติมน้ําเปลา ใสหมอ ยกขึ้นตั้งไฟใหเดือดสัก พัก ยกลงรินน้ํา ออก ใสน้ําขี้เถา ยกขึ้นตั้งไฟใหเดือดอีกครั้งคอยดู วา ฝก ถั่ว ขาวที่ ตม นิ่ม หรื อยั ง แล วชิ ม ดู วา ฝก ยั ง ฝาดอีกหรือเปลา ถาไมฝาดและนิ่มไดที่แลวใหใช ตะแกรงตักขึ้นมาใสจาน นํามะพราว น้ําตาล และ เกลือ มาเคลาใหเขากัน ชิมรส รับประทานเปน ของหวาน

โปะแตกลําแพน เครื่องปรุง หอยแมลงภูขนาดกลางแกะเนื้อ 10 ตัว กุงสด 10 ตัว หมึกหั่นชิ้นพอคํา 5 ตัว เนื้อปลากะพง 2 ชิ้น ลูกลําแพน 5 ผลใหญ ตะไคร 2 ตน ขาหั่นแวน 6 แวน กระเทียม 4 กลีบ ใบมะกรูด 5 ใบ พริกขี้หนูสวน 10 เม็ด น้ําพริกเผา 2 ชอนโตะ น้ําเปลา 2 ถวย น้ําตาลทราย 2 ชอนชา วิธีทํา หั่นผลลําแพนเปนชิ้น ใสหมอ เติมน้ําเปลายกขึ้นตั้งไฟตมใหเปอย ยกลง ยีผลลําแพนใหละเอียด กองเอาแตน้ํา ยกขึ้นตั้งไฟอีกครั้งใหเดือด ใสเกลือ ตะไคร กระเทียมบุบพอแตก ขาหั่นแวน หอยแมลงภู กุง หมึก และปลา เดือดอีกครั้งใสพริกขี้หนูสวนบุบพอแตก น้ําพริกเผา ใบมะกรูดฉีก ชิมรสเปรี้ยว เผ็ด เค็ม ตามชอบ กินกับขาวสวยรอนๆ ซดน้ําโปะแตกคลองคอยิ่งนัก

132


เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล

กลุมเมนูชูสุขภาพของอาหารจากพืชปาชายเลน ผัก เปนอาหารที่จําเปนตอชีวิต นอกเหนือจากการกินอาหารใหครบ 5 หมู ก็จําเปนอยางยิ่ง จะตองเนนเรื่องการกินผัก แตปญหาสําหรับผัก ผลไม ทุกวันนี้ อยูที่การใชสารเคมีมากจนเกินไป ใน การปลูกจนเหลือปนเปอนและตกคางในอาหารที่เรานํามาบริโภคทางในการบริโภค ผัก ของชาวบาน ชุมชนชายฝงจังหวัดสตูล จึงอยูที่พืชผักพื้นบานที่ทนตอดิน ฟา อากาศ และโรคพืช โดยเฉพาะ พืชใน ปาชายเลน ซึ่งเปนพืชที่หาไดงายในทองถิ่น เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน จังหวัดสตูล เปนเพียงตัวอยางเพื่อเปนแนวทางในการกินอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี โดยบางเมนูนั้นสามารถเปนเมนูที่กินรวมเมนูอื่นๆ บนโตะอาหารในแตละมื้อได ซึ่ง แบงเมนูชูสุขภาพตามที่กรมอนามัยไดแบงแยกไว จํานวน 4 กลุม คือ กลุมที่ 1 เมนูชูสุขภาพที่ใหใย อาหารสูง ไดแก ชะครามไขเจียว, ยําหยวกเปงกุงสด, ยําขลูกุงสับ, ยําชะครามกุงสดและยําฝกโรย กลุมที่ 2 เมนูชูสุขภาพกลุมที่ใหแคลเซียมสูง ไดแก แกงกะทิชะครามหอยปะ, แกงคั่วเนื้อหัวจากออน, แกงกะทิหยวกเปงกุงสดและตมกะทิสาวดํา กลุมที่ 3 เมนูชูสุขภาพกลุมที่ใหวิตามินเอและธาตุเหล็กสูง ไดแก เหงือกปลาหมอชุปแปงทอด, น้ําพริกลาโตส, ลูกจากลอยแกว, น้ําพริกชะคราม หยวกเปงลวก และน้ําพริกกุงสับผักสดรวมมิตร (ขลู, สาวดําและลําพู) และกลุมที่ 4 เมนูชูสุขภาพกลุมที่มีไขมันต่ํา ไดแก โปะแตกลําแพน, น้ําพริกกุงสับผักสดรวมมิตร (ขลู, สาวดําและลําพู), น้ําพริกชะคราม หยวกเปงลวก, แกงเลียงลําเท็ง, แกงสมหยวกเปงกุงสดและแกงสมปรงหนู เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนสวนใหญจะ เปนเมนูชูสุขภาพที่ใหใยอาหารสูง และมีไขมันต่ํา สําหรับเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนอาจจะเปนเมนู ใหมสําหรับใครหลายๆ ทาน แตถึงอยางไรก็ตามเมนูอาหารปาชายเลนก็ลวนแลวแตมีคุณประโยชน ทั้งนั้น เพียงแตเมนูชูสุขภาพเปนเพียงการสื่อสารดานโภชนาการอีกชองทางหนึ่งที่จะทําใหคนไทย ตระหนักรู และเลือกกินอาหารพวกสุขภาพที่ดีตอตนเองไดไมวาจะกินอาหาร นอกบานหรือในบาน เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน กลุมใหใยอาหารสูง

ยําขลูกุงสับ สรรพคุณ แกอาการปวดเมื่อย ขับระดู ขาว แกแผลอักเสบ รักษาอาการบิด ขับเหงื่อ ชวย บรรเทาโรคเกี่ยวกับทางเดินปสสาวะ เปนยาชวยยอย

ยําฝกโรย (ถั่วขาว) ถั่วเปนแหลงคารโบไฮเดรต และไขมัน ใหพลังงานตอรางกาย

133


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน กลุมใหแคลเซียมสูง

ชะครามไขเจียว สรรพคุณ มีสารเบตาเคโร ทีนสูง ชวยตานอนุมูลอิสระลดความเสีย่ งตอการเกิดโรคมะเร็ง รักษารากผมและแกผมรวง

แกงคั่วเนือ้ หัวจากออน สรรพคุณ รักษาอาการ นิ่วในไตขับหินปูน รักษาเกี่ยวกับทางเดินปสสาวะ แกเมาเหลา เมาคลื่น

เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน กลุมใหวิตามินเอและธาตุเหล็กสูง

น้ําพริกลาโตส สาหรายสาย มีแรธาตุที่มีความจําเปน ตอมนุษยอยูหลายชนิด เชน วิตามิน เอ บี ซี กรดโฟ ลิค แคลเซียม ไอโอดีน และธาตุเหล็ก เปนตน

134

ลูกจากลอยแกว กินชวงอากาศรอนๆ ใสน้ําแข็งกิน แลวชื่นใจ


เมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล

เมนูอาหารจากพืชปาชายเลน กลุมที่มีไขมันต่ํา

แกงเลียงลําเท็ง สรรพคุณ แกปวดบวม เคล็ดขัดยอก ขับพยาธิ ขับเสมหะ แกทองผูก รักษาอาการตับ อักเสบ

โปะแตกลําแพน สรรพคุณ แกปวดบวม เคล็ดขัดยอก ขับพยาธิ ขับเสมหะ แกทองผูก

สรุปผลการศึกษา ความรูเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนจังหวัดสตูล โดยการสอบถามเกี่ยวกับชนิดพันธุไมปาชายเลน ที่คนในชุมชนชายฝงจังหวัดสตูล ใชประกอบอาหารมีจํานวน 12 ชนิด ไดแก ขลู, จาก, ชะครามใบเขียว, ถอบแถบน้ํา (สาวดํา), ถั่วขาว (โรย), ปรงหนู (ปใหญ), เปงทะเล, ลําเท็ง, ลําพู, ลําแพน, สาหรายสาย (ลาโตด) และเหงือกปลาหมอดอกมวง สามารถนํามาประกอบอาหารไดทั้งหมด 21 เมนู สูตรและและ วิธีการปรุงอาหารไดจากผูรูในทองถิ่น จากนั้นทดลองปรุงอาหารแตละเมนูวาสามารถปรับประทานได และปรับปรุงใหมีรสชาติที่ดีขึ้น ตามวิถีชีวิตทองถิ่นของคนจังหวัดสตูล ที่รับรองไดวาอรอย แตหา รับประทานไมไดงายๆ เนื่องจากพืชในปาชายเลนบางชนิดตองรอใหถึงฤดูกาลออกดอกออกผลกอน จึง ไดมีโ อกาสไดลิ้ม รส ทั้ง นี้ ไดทํา การขยายผลโดยการจัด นิท รรศการอาหารจากพืช ปา ชายเลน ตามสถานที่ตางๆ เปดโอกาสใหผูรวมงานไดชิมพรอมทั้งติดชม จะเห็นไดวาอาหารจากพืชปาชายเลนที่หาไดจากธรรมชาติ ปรุงดวยวิธีการที่ไมสลับซับซอน ผสมดวยวัตถุดิบจากธรรมชาติที่เก็บมาเอง และอาหารธรรมชาติจากปาชายเลนนี้เองที่ทําใหคนใน ชุมชนชายฝงในสมัยโบราณมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีพลานามัยที่ดี ซึ่งนับวาเปนความภาคภูมิใจอยาง ยิ่งของคนในชุมชนชายฝงเลยที่เดียว

135


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณเจาหนาที่ ทีมงานของศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล ที่มักจะรวมดวยชวยกันประกอบ อาหารในงานเลี้ยง เนื่องในโอกาสวันสําคัญตางๆ ซึ่งประหยัด อรอย และไดคุณคาทางโภชนาการ ปราศจากสารเคมี และสืบเนื่องจากคําบอกเลาเกี่ยวกับการปรุงอาหารจากพืชปาชายเลน จากคุณอุเส็น ชูงาม และ คุณจินตนา ปูหยัง ที่ไดรับการถายทอดจากมะหรือแม จึงไดแนวคิดกันวาเรานาจะรวบรวม และทดลองปรุงอาหารที่ทําจากพืชปาชายเลน ตามวิถีชีวิตของการกินอยูของคนจังหวัดสตูล ซึ่งก็ได คุณ รอฝอะ ตาวาโต หัว หนา ทีม งานแมค รัว พรอ มดว ยคุณ เจะ ตม นัน ตสิน , คุณ ฮาเมี๊ย ะ หลีนิ่ง , คุณจินตนา ปูหยัง และคุณละออง ศิริรัตน เปนลูกมือ สําหรับบรรดาผูชาย เปนฝายจัดหาวัตถุดิบและ จัดเตรียมเครื่องปรุงไดแก คุณอุเส็น ชูงาม, คุณอนันท โพธิ์ทอง, คุณปรีชา ขุนไกร คุณมาซีหรน เจะงะ, คุณอําพร ศิริรัตน และคุณประสิทธิ์ รัตนา รวมกันปรุง ชิม โชว และทําผลงานออกมาเปน เนื้อหาสาระไดโดย คุณไซนับ ตาวาโต, คุณนันทิกานต ปะดุกา และคุณซาฟนา องศารา ทั้งนี้ ตองขอขอบพระคุณเปนอยางยิ่ง ไปยังผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานจัดการทรัพยากรทางชายฝง และปาชายเลน คุณสมศักดิ์ พิริยะโยธา อดีตผูอํานวยการสวนสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน ผูที่จุดประกายในการรวบรวมและจัดการองคความรูจากภูมิปญญาทองถิ่น ขอขอบพระคุณเปนอยางมาก สําหรับนายมงคล ไขมุกด อดีตหัวหนาสถานีวิจัยและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 3 (สตูล) ที่คอย ชี้แนะและใหคําแนะนํา ขอขอบพระคุณผูรูในทองถิ่นทุกทานที่ใหขอมูลและสุดทายตองขอขอบคุณทุกทาน ที่เคยไดชิมและติชมกับรายการเมนูอาหารจากพืชปาชายเลนที่เราไดนําไปจัดแสดงในสถานที่ตางๆ เอกสารอางอิง กองโภชนาการ. 2547. 190 เมนู ชูสุขภาพ. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพองคการ สงเคราะหทหารผานศึก. นนทบุรี. 36 น. ทวี พงศวิวัฒน. 2548. 180 ตํารับ ผักพื้นบานอาหารไทย. พิมพครั้งที่ 2, บริษัท สํานักพิมพแสงแดด จํากัด, กรุงเทพฯ. 287 น. www.sangdad.com ไพโรจน นาครักษา. ไมระบุปที่พิมพ. เรื่องของหอย. ศูนยสงเสริมการเรียนรูและพัฒนาทรัพยากรปา ชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร). 87 น. สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. 2552. พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทย (ฉบับปรับปรุงใหม). กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร. 167 น. สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 3. 2551. คูมอื ศึกษาพืชสมุนไพรปาชายเลน. กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง. บริษัท หาดใหญเบสทเซลล แอนด เซอรวิส จํากัด. หาดใหญ. 93 น. 136


Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province. Siriwan Siriboon Researcher. College of Population Studies. Chulalongkorn Univeristy, Bangkok 10330. Thailand.

บทคัดยอ ประเทศไทยมีช ายฝ ง ทะเลยาวทั้ง สิ้ น ประมาณ 2,667 กิโ ลเมตร แตใ นช วง2-3 ทศวรรษที่ ผา นมา ชายฝงทะเลไทยประสบปญหาวิกฤตอัน เนื่องมาจากการกัดเซาะชายฝง ซึ่งสาเหตุสําคัญเกิดจาก กิจกรรมของมนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติชายฝงอันเปนผลพวงมา จากการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม พื้นที่ที่ประสบปญหาการกัดเซาะชายฝงในระดับวิกฤตพื้นที่ อาวไทยตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดสมุทรปราการซึ่งตั้งอยูบนแนวชายฝงใกลปากแมน้ําเจาพระยา พื้นที่บริเวณนี้สูญเสียปาชายเลนไปเพราะการตัดไมทําลายปาเพื่อการเพาะเลี้ยงชายฝง โดยการเลี้ยง กุงแบบพัฒนา และการขุดบอเลี้ยงปลา คนในชุมชนชายฝงจังหวัดสมุทรปราการไดพยายามอยาง ยิ่งยวดที่จะรักษาชายฝงและลดปญหาการกัดเซาะชายฝงดวยวิธีการสรางสิ่งกอสรางชายฝง อาทิเชน การทํากําแพงกันคลื่น การสรางเขื่อน การทิ้งหิน การวางไสกรอกทราย การปกไมไผ และปกเสาไฟฟา วิธีการดังกลาวทําไดเพียงการประทังปญหา และหลายพื้นที่พบวาสิ่งกอสรางเหลานั้นเปนตัวกระตุนให เกิดการกัดเซาะเพิ่มขึ้น คนในชุมชนบานขุนสมุทรจีนเล็งเห็นวา วิธีการสรางโครงสรางเพียงลําพังไม อาจแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงและการสูญเสียพื้นที่ปาชายเลนได คนในชุมชนจึงใหความสําคัญ กับการจัดการและการวางแผนงานเพื่อการแกไขปญหาที่กอใหเกิดผลกระทบตอความมั่นคงในชีวิต บทเรียนที่ชุมชนไดรับคือ “การจัดการแบบปรับเปลี่ยน” เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยแกปญหาชายฝงไดดี และสิ่งสําคัญที่คนในชุมชนไดเรียนรูคือ ความมั่นคงในชีวิตไมไดจํากัดวงแคบๆไวเพียงเรื่องเศรษฐกิจ เทานั้น แตตองเปนความมั่นคงที่เกิดจากการที่ชุมชนมีอิสระที่จะสะทอนความตองการของตน และมี อิสระที่ปลอดจากความกดดันอันเกิดจากความกลัว โดยเฉพาะในเรื่องของการบริหารจัดการที่ตอง เกี่ยวของสัมพันธกับภาคีอื่นๆ ในทายที่สุด ผลการศึกษานี้พบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จใน การใชการจัดการแบบปรับเปลี่ยนประกอบดวย 6 REs ไดแก REvalue, REcondition, REstrategy, REprocess, REstructure และ REsearch


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The coastlines of Thailand of 2,667 kilometers long have been changed drastically in the last few decades. The hot issue is the coastal erosion problems. In the past, the coastlines have been changed mainly by natural processes. However, with the economic development, the dramatic changes were closely related to the process of industrialization and the modernization of the society. It was found that the hot spot of erosion is in the upper Gulf of Thailand particularly in Samut Prakarn province. The coastline change at the Chao Phraya Rivermouth was mainly due to the cutting of mangrove trees for converting to the fish and shrimp ponds and human settlement is one cause of coastal erosion in this area. The coastal communities in Samut Prakarn province tried several ways to reduce the harmful of coastal erosion by constructing coastal protections such as sea wall, breakwater, stone mound, sand sausage, bamboo rows, groyne and concrete pole. The activities, however, could not stop the erosion despite accelerate the erosion rate. The coastal communities particularly the community member of Ban Khun Samut Chin realized that the hard structure alone could not solve the coastal erosion, the mangrove rehabilitation program as well as coastal management needed to be set up to solve the problem that can be harmful human security. The lesson learned from the management stated clearly that the so called “Adaptive Management” is the crucial means to solve the problem. Moreover, the members of Ban Khun Samut Chin have learned that human security is not merely the security in terms of economic but human security should be expand to “freedom from want” and “freedom from fear” within the 7 scopes defined by the United Nations namely; economic security, food security, health security, environmental security, personal security, community security and political security. Moreover, the six REs namely REvalue, REcondition, REstrategy, REprocess, REstructure and REsearch were proposed as underlying factors determining the success of application of Adaptive Management for generating human security along coastline. Keyword: Coastal erosion, Mangroves, Human security, Adaptive Management

1. Frame Conditions and Project Rationale: The coastlines of Thailand of 2,667 kilometers long cover 23 provinces out of 77 provinces of the country have been changed drastically in the last few decades. The hot issue is the coastal erosion problems. In 2007, the World Bank estimated that Thai coastal land has been lost 2 square kilometers per year with the damage of 6 billion baht. The changing of Thai coasts in the last decade were 15.8% in the Andaman Seacoasts and 37% in the Gulf of Thailand coasts. Most are stable of 84.2% for the Andaman seacoasts and 63% for the Gulf coasts, while it appears that approximately 90% of the Gulf coasts are now classified as erosion (Absornsuda Siripong, 2010). The information on global warming indicated that the world temperature could possibly be increased from 1.2 to 20C or even up to 3.5 to 50C in the next 40-50 years. Thus, these phenomena will have a significant impact on the variation of severe climate change and coastal changes. (ธนวัฒน จารุพงษสกุล และคณะ, 2552). Even though the coastline changes both from natural and man-made causes in various parts of Thailand, the man-made causes contributed more loss. In the past, the coastlines have been changed mainly by natural processes. However, with the economic development since

138


Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

1970’s, the dramatic changes were closely related to the process of industrialization and the modernization of the society, which experienced a big change during 1980’s due to aquaculture boom, cutting mangrove and followed by severe coastal erosion. The high depletion and degradation of mangrove forests were harmful to human security since the mangrove forests have proven one of their ecological roles as barriers against winds, waves and erosions, helping to lessen the loss. John Pernetta, a project director for the United Nations Environment Program said “The mangroves are extremely important in forming an effective barrier against any type of wave…It takes the energy out of the wave, so while the forest itself will be trashed, it will protect the infrastructure behind it” (Siriwan Siriboon and Nittharatana Praphavasith, 2006). The use of Landsat satellite data indicated clearly that the coastline change at the Chao Phraya Rivermouth was mainly due to the cutting of mangrove trees for converting to the fish and shrimp ponds and human settlement is one cause of coastal erosion in this area (Absornsuda Siripong, 2010; Suwannodom, Siriboon and Praphavasith, 1998). The land-use changes are the evidence of the impact of human activities on coastline change. It was found that mangrove forest in Samut Prakarn, a province situated near the Chao Phraya rivermounth, reduced from 3,750 rais in 1975 to only 1,950 rais in 1993 (Department of Marine and Coastal Resources, 2009). Extensive cutting of mangrove area promotes erosion rate. It was found that the hot spot of erosion in Samut Prakarn province is 30 kilometers out of 45 kilometers of its coastline length. The coastal communities in Samut Prakarn province tried several ways to reduce the harmful of coastal erosion by constructing coastal protections such as sea wall, breakwater, stone mound, sand sausage, bamboo rows, groyne and concrete pole (ธนวัฒน จารุพงษ สกุล และคณะ, 2552). The activities, however, could not stop the erosion despite accelerate the erosion rate. The coastal communities particularly the community member of Ban Khun Samut Chin realized that the hard structure alone could not solve the coastal erosion, the mangrove rehabilitation program as well as coastal management needed to be set up to solve the problem that can be harmful human security. The lesson learn from the management stated clearly that the so called “Adaptive Management” is the crucial means to solve the problem. Moreover, the members of Ban Khun Samut Chin have learned that human security is not merely the security in terms of economic but human security should be expand to “freedom from want” and “freedom from fear” within the 7 scopes defined by the United Nations namely; economic security, food security, health security, environmental security, personal security, community security and political security (http://en.wikipedia.org/ wiki/Human_security). This research aimed to elucidate: 1. The process of applying “Adaptive Management” to solve the problem on coastal erosion and to encourage mangrove rehabilitation program in Ban Khun Samut Chin, a village situated in Leam Fapa Sub-district, Prasamut Chedi District in Samut Prakarn Province. 2. The underlying factors affecting the success in applying the “Adaptive Management” for coastal management. 2. Research Methodology. Two types of data collection on both the quantitative and qualitative methods were utilized.

139


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

1. Quantitative Approach: The survey was conducted by the College of Population Studies, Chulalongkorn University in the year 2010. Two questionnaires were administered in this survey, namely the household schedule and the individual questionnaire for the head of household or his/her spouse. The structured interview with questionnaire provided quantitative information on the socio-economic and environmental background of the community. The level of community participation on the environmental activities and mangrove rehabilitation programs as well as the level of community awareness on the benefit and value of mangrove forest was also detected from the questionnaire. All 59 households with 235 household members were interviewed. 2. Qualitative Approach: Two methods of data collection, namely in-depth interview and focus group discussion, were applied to add up some more detailed information on the process of applying “Adaptive Management” on public participation on solving environmental degradation, coastal erosion and mangrove rehabilitation activities. Totally 23 key informants were interviewed. 3. Analytical Background of the Research Sites: Historical Socio-economic and Mangrove Perspectives. Ban Khun Samut Chin is a small village situated on the coastal line of Leam Fapa Subdistrict, Prasamut Chedi District in Samut Prakarn Province. The village is located at the Chao Phaya rivermouth for more than 150 years. Last 20 decades, there are more than 400 houses in the village. Due to the high rate of coastal erosion, community members had to move out of the village. In 2011, there are only 70 houses left in the community. The secondary data derived from the research project “The Area Integration Studies for Resolutions of Coastal Erosion Problems of Samutprakarn Province: Pilot Project of Shore Protection Measure at Ban Khunsamut Chin, Leam Fapa Sub-district, Prasamut Chedi District” revealed that three-fourth of the households was nuclear family with the average household member of 5. Almost 80 percent of community members were born in the community. The average duration of stayed in the community is about 30 years and most of the members have close relationship among another since the majority are relatives or close neighbors. (ธนวัฒน จารุพงษสกุล และคณะ, 2552). The coastal communities, mainly fishermen, lead a simple lifestyle following the selfsufficiency philosophy. The majority has low education since being fishermen does not need to have high education. They were small-scaled fishery of estimated 4,500 baht per month for income. Approximately 70% of the fishery households were with debts related to money loans for occupational purposes. The degrees of dependency on coastal resources and coastal environment were very high among the villagers. Community records on the changes in the fish community and fishery resources revealed the declining trend in terms of diversity total catch and size composition. The coastal erosion, degradation of coastal resources and coastal environment were one of the major threats to community well-beings and quality of life affecting their occupations and economic stabilization. Secondary data derived from research conducted in Ban Khun Samut Chin as shown in Table 1 indicated that the community members viewed mangrove forest as the property of the community. The mangroves played many significant roles that benefit the community. The degree of mangrove-dependency was very high among the community members. If the forest are degraded or reduced in area, the coastal communities would lose the opportunity to gain these natural welfares from mangroves. (Aksornkoae,1993; Sathirathai, S. 1997.). There were many activities related directly and indirectly to mangrove rehabilitation programs

140


Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

(Suwannodom, S., N. Paphavasit and S. Siriboon. 2000). Many group activities were set up in relation to mangrove conservation such as Environmental Conservation Group and Ecotourism Group. It is clear from this study that the level of participation in any mangrove rehabilitation activity was highly correlated with the degree of mangrove-dependency. (Siriboon, 2005) Table 1 Percentage of respondents according to the perception on mangrove forests as coastal welfare center. The advantage of mangrove forest Percent 0.0 No advantage 74.4 Breeding ground 61.9 Food source 37.5 Source of income 55.7 Barrier against wind/storm 29.5 Stabilize soil erosion 33.0 Mangrove wood for consumption 8.5 Maintenance of good environment 5.7 Tourist attraction 3.4 Maintenance of good water quality 0.6 Pier for fishermen 2.8 Medical herbs from forests 1.7 Source of knowledge 0.0 Maintenance of fresh air 2.8 Environment/ecology conservation 1.1 Do not know/ No answer Since the coastal erosion in the community is in crisis condition, it was found that about one-fifth of household heads reported having household member moved out permanently during last 5 years mainly due to not owning land and house and economic reasons such as being unemployed and having insufficient of income. Somjai: We have to move all the time. We became poor. We have to spend what we earn for moving. Some one aged 67 aged 68 moved for new houses not less than 5 or 6 times. In my case when I was young and staying with my parents, I had to move 5 times. Now I have my own family, I have moved 3 times already. I could not save money. I spent almost all of my money on moving. 4. Application of “Adaptive Management” on Coastal Development Adaptive management focuses on learning and adapting through partnerships of all stakeholders who learn together how to create and maintain sustainable coastal rehabilitation program. Adaptive management requires the participation of stakeholders. Stakeholders should be involved early in the adaptive management cycle, to help assess the problem and design activities to solve it. Stakeholders can help to implement and monitor those activities and participate in the evaluation of result (Paphavasith et.al; 2011). The process of “Adaptive Management” as presented in Figure 1 starting from the step of problem assessment where community members get together to define community problems and set priority of the problems. In Ban Khun Samut Chin, the study found that 85 percent of all community members assess that coastal erosion is the most important problems of the community. (ศิริวรรณ

141


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ศิริบุญ บุศริน บางแกว และ ชเนตตี มิลินทางกูร, 2554). The problem assessment leaded to civic awareness, community members got together and form “civic group/organization” in order to set activities on solving coastal erosion problems which in terns geared the community to work in the form of partnership. The community, however, have limitation on knowledge, budget and human resources. The need on capacity building brought the community to the outside world and started having civic network. Prapan :

We all share the same problem. Every house, 100% of people say same thing. That’s coastal erosion. It’s really trouble us. We were forced to move, to escape. We have no land. We could not afford to buy new land. We have to get together to solve this problem. It’s not a problem of each one, it’s a community problem. Veerachai: We have to work hand in hand for our mother land. We face the same problem. We need to share otherwise we all could not survive. Wiwat : Good group need good leader. Somsak: Right. If we don’t have leader we could not form group. Manusnan: We are lucky, our head man is very brave Suriya: She is very smart, very brave. Local leaders are key persons of inspiration. After having a concensus on community problem, the next step that the community members of Ban Khun Samut Chin performed was making a design on activities that will be conducted to solve coastal erosion and mangrove depletion. The statistics on Table 2 indicated that more than 90 percent of household heads informed that they frequently get together to discuss about solving coastal erosion problems. In order to gain sustainable development, the community members designed to set up a plan for organizing and setting up system of work for sustainability. Somporn:

In my point of view, setting up plan is crucial. We have to work by setting up framework and direction. If we have plan, we can have good system that can help us to monitor and to evaluate what we should do or what we should correct.

The next step of “Adaptive Management” is implementation. The implementation does not only mean just to get together or providing cooperation occasionally since implementation that will lead to the success of the program is to participate. Participation involves the whole process starting from formulating or thinking together, working together, analyzing together as well as evaluating together. The statistics in Table 2 indicated that the majority of community members of Ban Khun Samut Chin knew that their community had plan for coastal management and they participated in setting the plan. Moreover, about 60 percent of the community members knew that their community arranged activities and high proportion of community members participated in activities. The information derived from qualitative research also confirmed that the majority of community members participated in community activities. Viroj: Most of us participated. We did many things. In the previous day, we did everything based on our knowledge and local talent. We made bamboo row to reduce wave energy. We built up stone mound, set up poles. Oh, we did almost everything that we could think of. Pigoon: Getting together to discuss topics on coastal erosion should provide chance to others to share their opinions. No one should dominate. No personal interest. No conflict of interest.

142


Â

Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

Table 2 Percentage of household heads in relation to public participation in activities on coastal development

Frequency of getting together to discuss about solving coastal erosion problems Sometimes Frequently Always Total Know that community had plan No plan Having plan Do not know Total Participating on setting up plan No Yes Total Knowing that community has activity No activity Having activity Do not know/No answer Total Participating in activities Less than 50% 50-69% 70-99% 100% Total

Percent

Number

8.6 67.2 24.2 100.0

5 39 15 58

29.3 69.0 1.7 100.0

17 40 1 58

30.0 70.0 100.0

12 28 40

34.5 56.9 8.6 100.0

20 33 5 58

21.2 12.1 33.4 30.3 100.0

7 4 11 10 32

In the point of view of the community members monitoring is a crucial tool for measuring the success of the program. Since local community has some limitation on knowledge, budget and human resources, capacity building is needed. The Department of Marine Science, Faculty of Science and the College of Population Studies, Chulalongkorn University with the financial support from Thailand Research Fund conducted a workshop on capacity building on monitoring and evaluating the success of program on solving coastal erosion during June 21to 23, 2010. The workshop could help providing the community members particularly young generation to learn more on monitoring and evaluation. The community members of Ban Khun Samut Chin utilized the knowledge from the workshop on capacity building on monitoring and evaluation for setting up the coastal management plan under the supervision of the College of Population Studies and Department of Marine Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University. With the financial support from Thailand Research Funds, the first draft of the coastal development plan was commented by academic persons, policy makers, executors and stakeholders from various fields. The comment provided valuable knowledge for community members to adjust the final draft of the plan and ensure that the plan can be used for monitoring and evaluating the results for sustainable coastal development program and mangrove rehabilitation program. Â

143


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Samart: Monitor and evaluation is important things. We can use the findings as indicators of success. We can conduct self evaluation. The success of the project can be easily evaluate by examining the change of income, fishery products and cost of living. Factors underlying the success of applying “Adaptive Management” The findings from the study lead to the critical review on factors determining suitable development of coastal development and mangrove resources. In this analysis, the six REs namely REvalue, REstrategy, REprocess, REstructure, REcondition and REsearch were proposed as underlying factors determining the success of applying “Adaptive Management ” on sustainable development of coastal environment and mangrove resources as shown in picture 1 and the detailed information on the six REs were presented followed. Figure 1 The 6 RE’s as underlying factors determining the success of applying “Adaptive Management”

REvalue Assess problem

Adjust

REcondition Design

REsearch Evaluate

Implement

Monitor

REstrategy & REprocess

REstructure

1. Revalue. In order to encourage community member to assess to the problem of the community, the first step is to revalue the existing value of mangrove and perception of community members on development. It was seen that the current direction of national development focused on the material and monetary profit which resulted in natural resources exploitation, including over utilization of mangrove forests and products. The success of mangrove rehabilitation program run by community members of Ban Khun Samut Chin suggested that the revalue on the concept of materialization to self-sufficiency guided by His Majesty King Bhumibol Adulyadej should be introduced. His Majesty‘s vision on selfsufficiency is the important step toward a balanced development that will sustain both human being and the natural environments. The concept of self-reliance concentrated on the principles of producing enough to live on while preserving the integrity of the environment which is the most essential for sustainable development. Our findings also suggested that the coastal erosion has provided the good opportunity to revalue the benefit from mangroves that was not limited only on direct use values from the mangrove outputs that can be directly consumed. The benefit from the forests was also on indirect values that are mainly functional benefits. They are more concerned with ecological functions such as breeding and nursing grounds, maintaining coastal productivity, natural pollution control as well as shoreline stabilization and shore line protection. Moreover, option

144


Â

Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

values which can be values from biodiversity that can be used in the future as well as the culture and heritage values of maintaining mangroves for the next generation should be informed or distribute to the villagers . 2. REcondition. In order to encourage the community member to give a design on the activities that will related to solve coastal erosion problems and mangrove rehabilitation programs, it is necessary to convince the local communities that there is no specific model or blue print for the co-management of coastal and mangrove development. The model will have to vary with the unique ecological and socio-economic conditions in each area. Therefore, there is the need for the design of coastal and mangrove development scheme which is sitespecific to suit the objectives of the coastal communities. With different goals and objectives for coastal restoration, the same basic blue print cannot be drawn as previously carried out. Moreover, the government must provide technical, educational and financial support for the local community organizations that have the fundamental responsibility in encouraging participating in coastal management. The co-management system is not just passing all the responsibilities from the government to the community organizations. It requires the sharing of work and responsibilities between the governmental agencies and local communities. Local communities have the right to use and manage the coastal resources. The community rights, however, can be attenuated by the governmental organizations, in particular the Ministry of Natural Resource and Environment or the governmental agencies at provincial level. They should retain the rights to monitor and sanction in order to protect the misuse of coastal resources. 3. REstrategy. It was suggested that in implementation process, the strategy in terms of top-down management or centralization should be reformed and changed to bottom-up management and decentralization. It was clear from this study that the success of coastal management in Ban Khun Samutchin depended upon the public participation and awareness. The findings from this study suggested that coastal resource management should not solely be the government responsibility. The decision to allow local management efforts should be based on the capability of communities to enforce their local rules or mandates effectively. Governmental organizations should act as mentors or supervisors not executors. Management of coastal resources should be the joint responsibility of the local communities and the government. 4. REprocess. The findings suggested that in implementation, the co-management was proposed and required active participation from all stakeholders with joint responsibility among the tripartite namely, governmental organization, non-governmental organization and local communities. Such effective co-management will require the active participation of existing coastal community organizations. This would allow the representatives of such organizations to have the right to express their opinions and make decision regarding to the management plan and regulations. The findings also suggested that the process of co-management should be channeled from individual level, community organizations or groups within community up to the network building outside the community. Community capacity building should be commenced from human resource development. Local wisdom together with village intellectuals needed to be promoted. The awareness of young generation on the consciousness of coastal conservation and rehabilitation should be initiated. The co-management process should begin within the community and expand to the net work outside the community particularly the network building with other nearby communities.

Â

145


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Prakong: Networking is very important. Firstly, network building should start within the Community through family ties, kinship and neighbour. Wittaya: Network within the community is good but we cannot work alone, we need support from outside. At the beginning, governmental organization should play their roles as supervisors or mentors. The important concept that we need to bear in mind is the continuation of the activities. Otherwise, the program can never be sustained. 5. REstructure. Monitoring is the important part of coastal management. The findings from this study suggested that joining in any coastal management or activities should be restructured from cooperation to participation since it involved voluntary associations and informal networks in which individuals and groups were engaged in public activities. The integrated study on the complex ecological-social-economic linkage site-specific needed to be encouraged. These integrated findings would be most beneficial to the future coastal management. 6. REsearch. Conducting research is essential for evaluation. It was evident from this study that the empirical research on the value of mangrove, particularly the ecological and economic values of mangrove to community is indeed need. It is also important to gather more detailed research-based data on the linkage between mangroves and coastal erosion. The multidisciplinary researches on ecological risk assessment and coastal erosion as well as socio-economic conditions of communities are essential. These data can be transformed and integrated onto public awareness program. Moreover, the time series data was need to elucidate the long term changes in ecological and socio-economic conditions in coastal areas. It was suggested that the local communities should be responsible for the monitoring program. The community members, particularly direct stakeholders on coastal management, should be trained to do monitoring as well as carry out the pilot survey to identify the key indicators in environmental monitoring and evaluating program. Such capacity building program will reinforce the coastal communities with potential to sustaining the mangrove and coastal productivity. This will in turn increases the human security through coastal and mangrove rehabilitation program in such a way that human security not only refers to socio-economic and environmental security but the security can be expand to the concepts of “freedom from want” and “freedom from fear”. Acknowledgement The author would like to express appreciation to a number of institutions and individuals who assisted in work. This study is a part of project “Interaction between Population Dynamics and Human Security in Thai Society” under Human Security Research Cluster, Chulalongkorn University. The project was funded by the Higher Education Research Promotion and National Research University Project of Thailand, Office of the Higher Education Commission. I greatly appreciate the assistance from Associate Professor Dr. Worawet Suwanrada, principle investigator of the project and Associate Professor Dr. Vipan Prachuabmoh, Dean of the College of Population Studies, Chulalongkorn University. Some parts of this study utilized secondary data from the project “The Area Integration Studies for Resolutions of Coastal Erosion Problems of Samutprakarn Province: Pilot Project of Shore Protection Measure at Ban Khunsamut Chin, Leam Fapa Sub-district, Prasamut Chedi District”. I am grateful to the support of Professor Dr. Sanit Aksornkoae., Associate Professor Nittharatana Praphavasith, Professor Dr. Thanawat Jarupongsakul, Ms. Bussarin Bangkaew and Ms. Chanettee Milintangkul .

146


Generating Human Security along Coastline via Adaptive Management: Case Study of Khun Samut Chin Village, Samut Prakarn Province.

References

ธนวัฒน จารุพงษสกุล และคณะ, 2552 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาบูรณาการเชิงพื้นที่ เพื่อการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง จังหวัดสมุทรปราการ: กรณีนํารองเพื่อการออกแบบ ณ บานขุนสมุทรจีน ต.แหลมฟาผา อ.พระสมุทรเจดีย สิงหาคม 2552 ศิริวรรณ ศิริบุญ บุศริน บางแกว และ ชเนตตี มิลินทางกูร, 2554 รายงานความกาวหนา “โครงการวิจัย การสรางเสริมศักยภาพชุมชนในการตรวจติดตามและประเมินความสําเร็จ ในการแกไขปญหา การกัดเซาะชายฝงบริเวณบานขุนสมุทรจีน จังหวัดสมุทรปราการ” กรกฎาคม 2554 Aksornkoae, S., N. Paphavasit and G. Wattayakorn 1993. Mangrove of Thailand: Present Status of Conservation, Use and Management. ISME Mangrove Ecosystems Technical Reports Vol. I: The Economic and Environmental Values of Mangrove Forests and their Present State of Conservation in the Southeast Asia/Pacific Region. B.F. Clough, Project Coordinator: 83-133 Department of Marine and Coastal Resources, 2009Statistics on Mangroves Forest in Thailand in 2009. Paphavasith, N. et, al; 2011Integrated Mangrove Rehabilitation in Ban TongTaSae Mangrove Community Forest, Trang Province on the Andaman Coastline of Thailand. Progress Report (First Year), January, 2011 Sathirathai, S. 1997.Economic Valuation of Mangroves and the Roles of Local Communities in the Conservation of Natural Resources: Case Study of Surat Thani, South of Thailand. International Development Research Centre, Ottawa, Canada. Siriboon, S. 2005.Integrity of the Environment for Sustainable Development in Thai Coastal Areas. Paper presented at the International Workshop on Research on Population, Resources and Environment, 11-18 August 2005, College of Environmental Sciences, Peking University, Beijing, China. Siriboon, S. and Paphavasith, N. 2006Integrating Ecological Consideration into Post-tsunami Mangrove Rehabilitation Program in Relation to Public Participation. Paper presented at the International Conference on Population and Development in Asia: Critical Issues for a Sustainable Future. 20-22 March 2006, Phuket Province, Thailand. Siripong, Absornsuda. 2010 Detect the Coastline Changes in Thailand by Remote Sensing. International Archives of the Photogrammetry, Remote Sensing and Spatial Information Science,Volume XXXVIII, Part 8, Kyoto Japan 2010 Suwannodom , S. S.Siriboon and N. Paphavasit 1998. An Approach to Rehabilitate Mangrove Forest in Thailand. Proceeding of the Fifth International Conference on Remote Sensing for Marine and Coastal Environment. Vol. II. 5-7 October, 1998. San Diego, California, USA :II – 241-247. Suwannodom, S., N. Paphavasit and S. Siriboon. 2000. Multiple Uses of Mangrove Forests in Thailand. Proceeding of the Second International Conference on Geospatial Information in Agriculture and Forestry. Vol. I. 10-12 January, 2000. Lake Buena Vista, Florida, USA:I – 596-600.

147


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

148


บทความวิจัย session 2 : การฟนฟูปาชายเลนเพื่อปองกันภัยพิบัติ



การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลนเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา The Mangrove Reforestation Project for the Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary

บุษยา บุนนาค1 ภาวิณี พัฒนจันทร2 บัณฑิต ตีรชุล3ี ศุภรักษ โสมรัตนานนท4

5

Tommaso Savini

6

George Andrew Gale 1,5,6

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี ศูนยวิจัยและบริการเพื่อชุมชนและสังคม 3,4 สถาบันพัฒนาและฝกอบรมโรงงานตนแบบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 126 ถ.ประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กทม. 10140 2

บทคัดยอ เขตบางขุนเทียนเปนบริเวณเดียวของกรุงเทพมหานครที่มีพื้นที่ติดชายทะเล ปจจุบันมีสภาพเปนนากุง บอเลี้ยงหอยแครงซึ่งใชระบบเลี้ยงแบบธรรมชาติ และมีการเลี้ยงหอยแมลงภูบริเวณชายฝง นอกจากนี้ ยังคงมีพ้นื ที่ปาชายเลนซึ่งมีขนาดพื้นที่ลดลงอยางมากจากอดีต โครงการฯ โดยการสนับสนุนของบริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี โดยความรวมมือของสํานักงานเขตบางขุนเทียน และชาวบานในพื้นที่ ไดรวมกันฟนฟูปาชายเลนและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดวยการปลูกและดูแลปาชายเลนบริเวณริมคลองและริมชายฝง นอกจากความ รวมมือของชุมชน จะทําใหเกิดความรูสึกมีสวนรวม และเปนเจาของ นักวิจัยในโครงการฯยังไดรวมกับ ชุมชนในการศึกษาเพื่อนําความรูที่ไดมาใชในการจัดการปาชายเลนและทรัพยากร เชน การติดตาม อัตรารอดของกลาไม การติดตามการปนเปอนโลหะหนัก การเพิ่มศักยภาพการเลี้ยงสัตวน้ํา การศึกษา พฤติกรรมลิงแสมเพื่อการอนุรักษ ชุมชนนกน้ํา-นกทะเลและนกชายเลน การศึกษาความเปนไปไดใน การสลายพลังงานคลื่นของโครงสรางปองกันแนวชายฝง เปนตน ซึ่งผลลัพธที่ปรากฎนอกจากเปนการ ฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรแลว ยังเปนการสงเสริมใหปาชายเลนเปนแหลงทองเที่ยวที่สามารถให ความรูเชิงนิเวศแกประชาชน การพัฒนาอาชีพของเกษตรกรซึ่งชวยเสริมสรางรายไดควบคูไปกับการ รักษาระบบนิเวศ การเสริมสรางความสามารถของชุมชนใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม โดยใชฐานความรูจากงานวิจัย คําสําคัญ: การฟนฟูปาชายเลน, พื้นที่ชายฝงกรุงเทพฯ


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Bangkhuntien is the only district of Bangkok that has the coastal area. At present, the area is used for shrimp and cockle ponds with the green-lipped mussel farm along the coastal line. The mangrove area has declined drastically from the past. With the support from the Petroleum Authority of Thailand Exploration and Production (PTTEP), King Mongkut’s University of Technology Thonburi has conducted the project on reforestation and rehabitation of the mangrove with the help of the Bangkhuntien District Office and the communities. Mangrove were planted and maintained along the canals and in the coastal area. Researchers and communities collaborated in conducting research and apply the knowledge in the management of mangrove resources, e.g. monitoring tree survival, heavy metal contamination, increasing production of aquaculture, study of eco-behavioral profile of longtailed macaque, study of communities of waterbirds/shorebirds and sea birds and the study on the possibility of breaking wave energy. The output and expected outcome of the project are the rehabilitation of mangrove and resources which will support mangrove eco-tourism, development of knowledge which could help the communities in their occupation and to enhance the ability of the communities to cope with the change in environment. Keyword: mangrove rehabilitation, Bangkok coastal area

บทนํา เขตบางขุนเทียนเปนหนึ่งใน 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยูทางทิศใตของกรุงเทพฯและมี พื้นที่ติดอาวไทย มีพื้นที่ทั้งหมด 155.432 ตารางกิโลเมตร แตในปจจุบันเหลือเพียง 123.26 ตารางกิโลเมตร เนื่องจากพื้นที่ริมทะเลบางขุนเทียนไดถูกน้ําทะเลกัดเซาะ เขตบางขุนเทียนประกอบดวยแขวง 2 แขวง คือ แขวงแสมดําและแขวงทาขาม มีลักษณะเปนที่ราบลุม และเปนเขตเดียวของกทม.ที่มีพื้นที่ติดทะเล โดยความยาวสวนที่ติดทะเลประมาณ 5 กิโลเมตร เรียก ปาชายเลนกรุงเทพมหานคร (สํานักงานเขต บางขุนเทียน,2554) และพื้นที่ดังกลาวมีความเกี่ยวของกับโครงการพระราชดําริ ไดแก โครงการแกไข ปญหาน้ําทวม กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล(แกมลิง) พื้นที่สวนใหญในเขตบางขุนเทียนถูกกําหนดการ ใชที่ดินเปนประเภทชนบทและเกษตรกรรม ซึ่งสอดคลองกับอาชีพ การทํานากุง ที่นับไดวาเปนอาชีพ ดั้งเดิมเกาแกของทองที่ซึ่งทํามาตั้งแตตนป พ.ศ. 2500 การเพาะเลี้ยงในระยะเริ่มแรกสวนมากเปนแบบ ธรรมชาติ (extensive) สวนใหญผูเพาะเลี้ยงนิยมใชพื้นที่ปาชายเลนที่คอนขางสมบูรณ เพราะชวยลด ตนทุนเกี่ยวกับพันธุสัตวน้ําและอาหารที่มีปริมาณอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ ตอมาในป 2527 ไดปรับปรุง วิธีการเลี้ยงโดยนําหลักวิชาการมาดัดแปลงเรียกวา การเลี้ยงแบบพัฒนา(intensive) มีการใหอาหารกุง และเริ่มปลอยพันธุกุงกุลาดําและจากนั้นมีการเลี้ยงกุงกุลาดําอยางแพรหลาย ตอมาเมื่อเลี้ยงกันมากขึ้น ราคากุงกุลาดําจึงตกต่ํา ประกอบกับปญหาน้ําเสียซึ่งเกิดจากการถายเทน้ําเสียจากนากุงเอง โรงงาน อุตสาหกรรมและน้ําทิ้งจากชุมชน เมื่อนําน้ําทะเลเพื่อหมุนเวียนเขามาใชในนากุงทําใหกุงเปนโรคหรือ เลี้ยงไมโตและตายในที่สุด (กรุงเทพธนาคม, 2545; สมพร ผาตินาวิก และ คํารณ ไทรฟก, 2543) ปจจุบัน เกษตรกรจึงหันมาเลี้ยงกุงแชบวยแบบธรรมชาติเปนสวนใหญ เพราะในสภาพที่คุณภาพน้ําทะเลที่ไมดีนัก 152


การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลนเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา

กุงแชบวยทนไดดีกวากุงกุลาดํา แมชาวบานจะประสบปญหาในเรื่องผลผลิตที่ลดลงก็ตามชาวบานใน ทองที่หมู 9 และหมู 10 (พื้นที่บริเวณตอนลางของเขตบางขุนเทียนซึ่งเปนพื้นที่ในเขตน้ําขึ้นสูงสุด-น้ํา ลงต่ําสุด) ยังคงมีรายไดจากการประกอบอาชีพทํานากุง ประมาณ 75,000-100,000 บาท/ป ซึ่งถือไดวา เปนอาชีพที่ทํารายไดสูงพอสมควรเมื่อเทียบกับรายไดเฉลี่ยอาชีพรับจางของประชาชนในเขตบางขุนเทียน คือประมาณ 55,000 บาท/ครัวเรือน/ป จึงทําใหอาชีพเลี้ยงสัตวน้ํายังคงมีการประกอบอาชีพอยูในพื้นที่ (กรุงเทพธนาคม, 2545) อยางไรก็ตามผลจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและการที่พื้นที่ แถบชายฝงบางขุนเทียนถูกกัดเซาะโดยมีระยะการถดถอยของชายฝง 1.4 – 4.5 เมตร/ป และการทรุดตัวของ ชายฝง 1 – 2 เซนติเมตร ตอป ทําใหปาชายเลน ซึ่งเดิมในป พ.ศ. 2533 มีขนาดพื้นที่ 4.34 ตารางกิโลเมตร ลดลงเหลือพื้นที่ปาเพียง 0.32-0.48 ตารางกิโลเมตรในป พ.ศ. 2545 (ศูนยวิจัยภัยธรรมชาติ, 2550; มัลลิกา ใจเกื้อ, 2545) จากปญหาอันเนื่องมาจากการลดลงของพื้นที่ปาชายเลน การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมและ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง ส ง ผลต อ อาชี พ คุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล อ มของชุ ม ชน มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ซึ่งมีนโยบายและหลักการที่ชัดเจนตั้งแตเริ่มมีวิทยาเขตบางขุนเทียน ในการที่จะฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ มจธ.จึงไดรวมกับสํานักงานเขตและชุมชนในการรวมกันฟนฟู ปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติ ดวยการปลูกและดูแลปาชายเลนบริเวณริมคลองและริมชายฝงโดย การสนับสนุนของบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปดตรเลียม จํากัด(มหาชน) นอกจากความรวมมือของ ชุมชน ทําใหเกิดความรูสึกในการมีสวนรวม และเปนเจาของโครงการรวมกันแลว นักวิจัยยังไดรวมกับ ชุมชนในการศึกษาเพื่อนําความรูที่ไดมาใชในการจัดการปาชายเลนและทรัพยากร ซึ่งผลจากการศึกษา ดังกลาวชุมชนสามารถจะนําไปใชในการจัดการปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางตรงและ ทางออม อันจะนําไปสูการฟนฟูและรักษาปาชายเลน วัตถุประสงค เพื่อฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนเพิ่มความสามารถของชุมชนในดานที่ สงผลตอการฟนฟูและรักษาปาชายเลน วิธีการศึกษา โครงการฯ เกิดขึ้นจากความรวมมือกันระหวาง มจธ. สํานักงานเขตบางขุนเทียน ชุมชน ในการ ที่จะฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติ ดวยการปลูกและดูแลปาชายเลนบริเวณริมคลองและ ริ ม ชายฝ ง และพั ฒ นาความรู ค วามสามารถของชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การป า ชายเลนและ ทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งนําไปสูการฟนฟูและรักษาปาชายเลน โดยไดรับการ สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานจาก บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ตั้งแต พ.ศ. 2550 และซึ่งโครงการมีหลักการดําเนินงานดังนี้

153


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

• โครงการตองมีที่ปรึกษาที่เปนผูเชี่ยวชาญ • จัดใหมีโครงสรางโครงการและตารางเวลากิจกรรม และทําใหชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ โครงการ • เนนความรวมมือและการแลกเปลี่ยนขอมูลของชุมชนในทองถิ่น ในการเขามามีสวนรวมใน การจัดใหมีการปลูกปาในบริเวณริมคลองและริมชายฝง • การสรางความรวมมือและเครือขายระหวางโรงเรียนตางๆในบริเวณใกลเคียงและอื่นๆโดยมี มจธ. เปนศูนยกลางในการใหขอมูลและประสานทางวิชาการ • การสรางความรวมมือและเครือขายระหวางมหาวิทยาลัยตางๆในประเทศ หนวยงานภาครัฐ และเอกชนในการฟนฟูพื้นที่ • การนําประเด็นปญหาดานคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ไปพัฒนาเปนโครงการวิจัย และพัฒนารวมกับนักวิจัยใน มจธ. ซึ่งมีการทํางานวิจัยในลักษณะของสหสาขาวิชา (Interdisciplinary ) และการสรางเครือขายงานวิจัยรวมกับสถาบันวิจัยตางๆทั้งในและนอกประเทศ การศึกษาวิจัยที่มีประโยชน ในดานสิ่งแวดลอม เชนคุณภาพน้ําและความอุดมสมบูรณของแหลงน้ํา การศึกษาเพื่อการอนุรักษสัตวที่ อาศัยในพื้นที่ปาชายเลน เชน ลิงแสม นกน้ํา นกชายเลน เปนตน ผลการศึกษาและวิจารณ เนื่องจากพื้นที่บางขุนเทียนเปนพื้นที่ที่มีการออกโฉนดที่ดินทั้งหมดแลว ดังนั้นในการดําเนินงาน โครงการจึงตองไดรับความรวมมือจากชุมชนเปนอยางมากในการที่จะปลูกปาชายเลนในพื้นที่ของ ตนเอง และดูแ ลพื้น ที่ปา บริเ วณริม ฝง คลอง ซึ่ง จากการประสานงานกับ หนว ยงานทอ งถิ่น ไดแ ก สํานักงานเขตบางขุนเทียน นิคมสหกรณบานไร (ผอ. ณรงคพล พัฒนศรี) ผูนําชุมชนคลองศรีกุมาร (นาย สุชาติ ฉายอรุณ) อดีตผูใหญบาน (นายปญญา ชางเจริญ) และอดีตผูนําชุมชนแสนตอ (นายสอน พึ่งสาย) โรงเรียนประถมศึกษาในพื้นที่ จํานวน 3 แหง คือ โรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ โรงเรียนวัด ประชาบํารุง และโรงเรียนแกวขําทับอุปถัมภ เพื่อขอคําแนะนําและแลกเปลี่ยนประสบการณในการฟนฟู ทรัพยากรปาชายเลนในพื้นที่ และความรวมมือกับชุมชน ซึ่งขอมูลดังกลาวนําไปใชในการกําหนดกลยุทธ ในการดําเนินงานรวมกับที่ปรึกษาโครงการ ผลการสอบถามชาวบาน ผูนําชุมชน อดีตผูนําชุมชน และ อดีตผูใหญบาน ในพื้นที่เกี่ยวกับสาเหตุที่สนับสนุนและไมสนับสนุนการฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่ พบวา สาเหตุที่ไมสนับสนุนฟนฟูปาชายเลน ไดแกความตองการใหที่ดินในเขต พัฒนาเพื่อเปนแหลงเศรษฐกิจ ซึ่งการประกาศเปนพื้นที่สีเขียว (พื้นที่อนุรักษ พื้นที่เกษตรกรรม) ทําใหไมสามารถพัฒนาระบบขนสง และสาธารณูปโภคในพื้นที่ การเปลี่ยนกรรมสิทธิ์การเปนเจาของพื้นที่จากชาวบานเปนนายทุน และ ชาวบานเปนผูเชาพื้นที่ทําใหชาวบานไมสามารถตัดสินใจได ความเชื่อวาการปลูกไมปาชายเลนในบอ เลี้ยงกุงจะทําใหผลผลิตสัตวน้ําลดลง ประสบการณจากการบริจาคที่ดินแนวริมชายฝงแตภาครัฐไม สามารถดํา เนิน การลดการกัด เซาะได (ปจ จุบัน พื้น ที่ดัง กลา วอยูใ นทะเล) การจัด กิจ กรรมปลูก ปา 154


การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลนเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา

ที่ชาวบานไมมีสวนรวม ไมมีการติดตามผลและไมสอบถามความคิดเห็นของชาวบานในแตละพื้นที่ปลูก เปนตน สาเหตุที่สนับสนุนและตองการมีสวนรวมในการฟนฟูปาชายเลน ไดแก ความตองการรักษา พื้นที่เพื่อประกอบอาชีพ (บอเลี้ยงกุง)ในที่ดินของตนเอง ตองการความรูเกี่ยวกับภาวะโลกรอนและ นิเวศนวิทยา ความตองการประกอบอาชีพทองเที่ยวเชิงเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ เปนตน และ พบวาบริเวณคลองพิทยาลงกรณ ระยะจากบริเวณกลางคลอง ดานละ 40 เมตร ถูกกําหนดเปนพื้นที่ อนุรักษปาชายเลนโดยนิคมสหกรณบานไร เนื่องจากเปนคลองที่ขุดและดูแลโดยนิคมสหกรณบานไร ซึ่งพื้นที่ดังกลาวสามารถดําเนินกิจกรรมรวมกับชุมชนไดทันที จากขอมูลดังกลาวนําไปสูกลยุทธในการ ดําเนินงานในพื้นที่โดยการหารือรวมกับที่ปรึกษาโครงการฯและชาวบานที่สนับสนุนการฟนฟูปาชายเลน ดั ง นี้ 1. การปลู ก ในพื้ น ที่ ริ ม คลองและบ อ เลี้ ย งกุ ง เริ่ ม จากกลุ ม ชาวบ านที่ เ ข า ร ว มโครงการฯ โดย ชาวบานเปนผูปลูก ซึ่งใชกลาไมในพื้นที่ หรือ กลาไมจากโครงการฯ และ นักวิจัยและผูแทนชุมชนใน โครงการเปนผูติดตามเก็บขอมูลเชิงวิชาการ เชน อัตราการเติบโต อัตรารอด ปจจัยที่มีผลตอการเติบโต ลักษณะทางนิเวศนวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีการฟนฟูปาชายเลน 2. การแลกเปลี่ยนประสบการณ ในการฟนฟูปาชายเลน ระหวางพื้นที่ซึ่งเคยประสบปญหาการพังทลายของแผนดิน และ การลดลงของ ทรัพยากรสัตวน้ํา 3. งานวิจัยและพัฒนาองคความรูดานทรัพยากรปาชายเลน ซึ่งประกอบดวย 3.1 Eco-behavioral Profile of a Semi-provisioned Long-tailed Macaque (Macaca fascicularis) Population in Bangkok (Thailand) and Implications for Conservation 3.2 การศึกษาชุมชนนกน้ํา ในเขตบางขุนเทียนกรุงเทพมหานคร 3.3 Monitoring of Water Quality and Plankton Communities in Bangkhuntien District, Bangkok 3.4 การเพิ่มศักยภาพการผลิตสัตวน้ําในบอเลี้ยงแบบ Extensive ดวยระบบวนประมง 3.5 การศึกษาระดับการปนเปอนโลหะหนักในแหลงน้ํา การดูดซับโลหะหนักใน แหลงน้ําโดยไมโกงกาง และ ความสามารถในสะสมโลหะหนักของหอยแมลงภูเพื่อใชติดตามการ ปนเปอนโลหะหนักในสิ่งแวดลอม 6 การจัดการทรัพยากรปูแสม ต.บางตะบูน จ.เพชรบุรี และ บานตน ลําแพน ต.ยี่สาร จ.สมุทรสงคราม ซึ่งผลจากการดําเนินงานโครงการฯ ไดแก ผลการติดตามอัตรารอดของพันธุไมโกงกางที่ปลูกอยู แนวริมคลองและริมชายฝง พบวามีคาอยูระหวาง 30-90% ของจํานวนพันธุไมโกงกางที่ปลูก และอัตรา การเจริญของโกงกางใบใหญมีความสูงจากคอรากถึงยอดในชวงระยะเวลา 2 ป (พ.ศ. 2551-2552) ระหวาง 1-2 ม. ทั้งนี้การตายและสูญหายของพันธุไมมีสาเหตุสําคัญที่เกิดจากการทํากิจกรรมตางๆของ มนุษย เชน การสัญจรทางเรือซึ่งทําใหเกิดการกัดเซาะบริเวณริมคลอง การรบกวนผิวดินของผูประกอบ อาชีพเก็บลูกพันธุหอยแครงทําใหโอกาสการสะสมดินตะกอนเกิดขึ้นไดนอย เปนตน นอกจากนี้ยังมีผล จากงานในโครงการอื่นๆ ทั้งเปนผลที่เกิดจากงานวิจัยและจากขอมูลทางนิเวศนวิทยา เชน การจัดทํา ป า ยให ค วามรู เ รื่ อ งนกน้ํ า นกชายเลน นกทะเล ที่ พ บในเขตบางขุ น เที ย น บริ เ วณเส น ทางศึ ก ษา ธรรมชาติ ปายใหความรูพฤติกรรมลิงแสมและขอแนะนําในการปฏิบัติตอลิงแสมในพื้นที่ ขอเสนอแนะ อัตราการปลอยเลี้ยงและขนาดของหอยแครงที่ใชเลี้ยงในบอที่เหมาะสมกับปริมาณธาตุอาหารในบอ

155


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เลี้ยงเพื่อเปนทางเลือกใหกับเกษตร การจัดตั้งชมรมอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมของเครือขาย โรงเรียนรอบวิทยาเขต วิธีการจัดการทรัพยากรปูแสมซึ่งชุมชนสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง เปนตน ผลจากการศึกษาดูงานของชุมชนที่ประสบผลสําเร็จในการฟนฟูปาชายเลนและการประชุมกัน รวมระหวางนักวิจัยและชุมชนเกี่ยวกับแนวคิดในการฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่ สามารถสรุปไดดังนี้ 1.การปลูกไมชายเลนริมบอกุงนั้นจะทําใหกิจกรรมการดูดเลนของบอยุงยากมากขึ้นเพราะจะตองคอย ระวังกลาไมที่ปลูกอยูตามขอบบอ และการดูดเลนยังจะทําใหไมชายเลนที่ปลูกเสี่ยงตอตายจากการถูก เลนทับถม 2.ควรมีการศึกษาเพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรตัดสินใจเกี่ยวกับการทําวนประมงไดดีขึ้น เชน ขนาดพื้นที่ปลูกตนไม บริเวณที่ควรปลูก ชนิดพันธุตนไมที่ปลูก สัดสวนตนไมตอพื้นที่มีประโยชน อยางไรในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา รวมถึงขอมูลในการจัดการและการลงทุน เปนตน

(ก) (ข) รูปที่ 1 แนวฟนฟูปาชายเลนบริเวณริมชายฝง (ก) เริ่มปลูก (ข) หลังปลูก 2 ป

รูปที่ 2 ปายใหความรูเรื่องนกน้ํา นกชายเลน นกทะเล ที่พบในเขตบางขุนเทียน บริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาติ

156


การฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากรธรรมชาติในโครงการปลูกปาชายเลนเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา

รูปที่ 3 ปายใหความรูเรื่องพฤติกรรมของลิงแสมในพื้นที่และขอแนะนําการปฏิบัติตัวของนักทองเที่ยว บริเวณเสนทาง ศึกษาธรรมชาติ โรงเรียนบางตะบูนวิทยา รูปที่ 4 การแลกเปลี่ยนประสบการณของเกษตรกรและกลุมอนุรักษปาชายเลน บานเปร็ดใน

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ การดําเนินงานเพื่อฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากร พื้นที่บางขุนเทียน ยังคงตองปรับแผนการ ดําเนินงานเพื่อความเหมาะสมกับบริบทและการเปลี่ยนแปลงของชุมชน แตการมีสวนรวมของชุมชนใน ฟนฟูปาชายเลนและทรัพยากร การวิจัยและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรซึ่งชวยเสริมสรางรายไดควบคู ไปกับการรักษาระบบนิเวศ การเสริมสรางความสามารถของชุมชนใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดลอมโดยใชฐานความรูจากงานวิจัย จะชวยสนับสนุนใหชุมชนสามารถจัดการปาชายเลนและ ทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางตรงและทางออม อันจะนําไปสูการฟนฟูและรักษาปาชายเลนอยางยั่งยืน ภัย คุกคามที่จะเกิดไดแกการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ในที่ดินเปนนายทุนซึ่งไมไดเปนคนในพื้นที่และหวังกําไรจาก การลงทุนซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาเปนที่อยูอาศัยและแหลงคาขาย หากภาครัฐมีนโยบายที่จะดําเนินการ ฟนฟูระบบนิเวศและเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนไดรวดเร็ว การจัดซื้อที่ดินคืนเพื่อการดําเนินงานนับเปน แนวทางหนึ่งที่ควรทําได กิตติกรรมประกาศ

157


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ขอขอบคุณชุมชนที่มีสวนรวมในโครงการ ไดแก สํานักงานเขตบางขุนเทียน นิคมสหกรณบานไร (ผอ. ณรงคพล พัฒนศรี) ผูนําชุมชนคลองศรีกุมาร (นาย สุชาติ ฉายอรุณ) อดีตผูใหญบาน (นาย ปญญา ชางเจริญ) และอดีตผูนําชุมชนแสนตอ (นาย สอน พึ่งสาย) และชาวบานทุกทาน คณะครูและนักเรียนโรงเรียน ไดแก โรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ โรงเรียนวัดประชาบํารุง โรงเรียนแกวขําทับอุปถัมภ และโรงเรียน บางตะบูนวิทยา ที่ใหความรวมมือ การสนับสนุน การอํานวยความสะดวกและเสนอแนะในการดําเนิน โครงการ และขอขอบคุณ ศ.ดร. สนิท อักษรแกว ในการเปนที่ปรึกษาโครงการ และขอขอบคุณ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ที่ใหการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการ

เอกสารอางอิง กรุงเทพธนาคม, บริษัท, 2545. รายงานฉบับสมบูรณการศึกษาโครงการพัฒนาในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม เขตบางขุนเทียนและเขตทุงครุ เสนอตอสํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร มัลลิกา ใจเกื้อ, 2545. การประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการติดตามการใชประโยชนที่ดิน และคุณภาพน้ํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สายวิชาการจัดการทรัพยากรชีวภาพ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. ศูนยวิจัย ภัยธรรมชาติ, 2550. รายงานฉบับสมบูรณโครงการป องกันและแกไขป ญหาการกัดเซาะ ชายฝงทะเลบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร เสนอตอสํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร สภาวิจัยแหงชาติ, 2540. สรุปการเปลี่ยนแปลงชายฝงพื้นที่บริเวณบางขุนเทียน. อัดสําเนา. กรุงเทพฯ สมพร ผาตินาวิก และ คํารณ ไทรฟก, 2543. การกําหนดความเหมาะสมสําหรับการเลี้ยงกุงกุลาดําใน พื้นที่ชายฝงทะเล กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานพัฒนาที่ดินชายทะเล, กระทรวงเกษตร และสหกรณ. 16 หนา สํานักงานเขตบางขุนเทียน, 2554, สถานที่ทองเที่ยว, วันที่คนขอมูล 30 มิถุนายน 2554, จาก กรุงเทพมหานคร, เวปไซด:http://portal.bangkok.go.th/subsite/index.php?strOrgID=00104 1&strSection= aboutus&intContentID=378&intListID=233

158


การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร Inducing Growth Rhizophora apiculata by Biotechnique at Abandoned Shrimp Farms in Samutsakorn Province

สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 E-mail: sukhanrat@hotmail.com

บทคัดยอ การศึกษาหัวเชื้อราปฏิปกษสดจากปาชายเลน จํานวน 3 ชนิด ไดแก Trichoderma viride, Trichoderma hazianum และ Trichoderma hamatum จํานวนโคโลนีเฉลี่ย 3 x 103 cfu/gm ใสที่โคนตน การรดน้ํา และการผสมกับดินเลน ในถุงเพาะกลาไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) นาน 6 เดือน พบวา การเจริญกลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยหัวเชื้อราปฏิปกษ Trichoderma viride ใสที่โคนตน ปลูกที่ ระยะหาง 1x1 เมตร จํานวน 20 ตนตอชนิดเชื้อราปฏิปกษ บริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัด สมุทรสาคร ระหวาง 2551-2553 มีการเจริญเติบโตของจํานวนใบ มีคาเทากับ 125 เปอรเซ็นต ความสูง 112.5 เปอรเซ็นต และขนาดลําตน 89.29 เปอรเซ็นต โดยมีอัตราการรอดตนโกงกาง 100 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับตนควบคุมรองลงมา T. hamatum และ T. hazianum ตามลําดับ จากผลการเจริญเติบโต และการรอดโกงกางใบเล็ ก ส ง ผลให บ ริ เ วณนากุ ง ร า งที่ ป ลู ก ด ว ยเทคนิ ค ทางชี ว ภาพสามารถลด คารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศไดเพิ่มขึ้นกวาปกติประมาณ 2 เทา คําสําคัญ: Trichoderma, เชื้อราปฏิปกษสด, โกงกางใบเล็ก, นากุงราง


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The study of Antagonistic fungi spawn from mangrove forest were investigated in the area of Abandoned Shrimp Farms, Kokum Sub-District, Samutsakon Province between 2008-2010. Three species namely Trichoderma viride Trichoderma hazianum and Trichoderma hamatum, with colony 3 x 103 cfu/gm.were studied with Rhizophora apiculata seeding by 3 methods such as put at stub, fred water at the stub and mixed with mangrove soil for 6 month. It was found that the Rhizophora apiculata with antagonistic fungi namely Trichoderma viride by put at the stub method were hightest growth. The samples were planted by 1X1 meter for 20 plants/ antagonistic fungi. The growth of Rhizophora apiculata leaves were 125%, 112.5 % of height and 89.29 % of stem and 100 % of survival rate were conducted when comparisoned with control plant, followed by T. hazianum T. hamatum respectively. From the result the growth rate and survival rate of R. apiculata by biotechnique plants were reduced CO2 in atmosphere approximate 2 times Keyword: antagonistic fungi, Trichoderma Rhizophora apiculata , Abandoned Shrimp Farms

บทนํา ปจจุบันพื้นที่ปาชายเลนของประเทศไทยถูกบุกรุกและไดเปลี่ยนสภาพมาใชประโยชนในดาน ตางๆอยางมากมาย เชน การทํานาเกลือ การทํานากุง การประมง เปนตน จนทําใหพื้นที่ของปาชายเลน ลดลงอยางตอเนื่อง กอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศปาชายเลนหลายประการและความเสื่อมโทรม ตอ ทรัพ ยากรปาชายฝงทะเลเปน อยางมาก ทั้ง ยัง สงผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจ ของประชาชนและ ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของประเทศอีกดวย ดังนั้นจึงศึกษาหาแนวทางการฟนฟูปาชายเลนที่ถูก ทําลายจากการทํานากุง นาเกลือ และการประมง โดยการนําพันธุไมเบิกนํา บริเวณปาชายเลน ไดแก ตนโกงกางใบเล็ก(Rhizophora apiculata) ตนโกงกางใบใหญ(Rhizophora macronata) ตนแสมขาว (Avicennia alba) ตนแสมทะเล (Avicennia marina) ตนโปรง(Ceriops sp.) ตนตาตุม (Xylocarpus sp.) และอื่นๆ (อรวรรณ และคณะ, 2552) ไปปลูกบริเวณปาชายเลนที่ถูกทําลายจากการทํานากุง พบวา ตองใชเวลาในการจัดการปาชายเลน บริเวณนากุงรางคืนสูสถานภาพสมดุลธรรมชาติ ใชเวลานานถึง 10 ป (สนิทและคณะ 2547) และมีอัตราการเจริญเติบโตและการรอดของตนโกงกางใบเล็ก บริเวณ นากุงราง จังหวัดสมุทรสงคราม 45.75 และ 66.67 เปอรเซ็นตตามลําดับ (ศรินทร, 2536) ดังนั้นในการ วิจัยครั้งนี้ จึงมุงที่จะศึกษาหาแนวทางในการจัดการปาชายเลนบริเวณนากุงราง ดวยเทคนิคทางชีวภาพ โดยการชักนําการเจริญเติบโตดวยเชื้อราปฏิปกษที่แยกเชื้อไดจากบริเวณปาชายเลน จังหวัดสมุทรสาคร ดวยวิธีการ 3 วิธี ไดแก การใสเชื้อราปฏิปกษที่โคนตน การรดน้ํา และการผสมกับดินเลน หลังจากนั้น นํากลาไมเบิกนําที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษไปปลูกบริเวณนากุงราง เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโตและเพิ่ม การรอดของตนไม ลดระยะเวลาในการจัดการปาชายเลนบริเวณนากุงรางใหคืนสูสถานภาพสมดุล ธรรมชาติและใชระยะเวลาการฟนฟูนอยลงกวาปกติ เพื่อแกปญหาภาวะโลกรอน ชวยลดประมาณ กาซคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศ เนื่อ งจากไมโ กงกางใบเล็ก (Rhizophoro apiculata) 160


การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร

สามารถลดปริมาณคารบอนไดสูง 7-28 ตันคารบอน ตอไร ตอป และแสมทะเล (Aricennia marina) สามารถลดปริมาณคารบอนได 2.27 ตันตอคารบอน ตอไร ตอป (ชลิดา และลัดาวัลย, 2550) วิธีการศึกษา 1. การเจริญเติบโตดวยหัวเชื้อราปฏิปกษ บริเวณนากุงราง นําหัวเชื้อราปฏิปกษสด จํานวน 3 ชนิด ไดแก T. viride T. hazianum T. hamatum จํานวน โคโลนีเฉลี่ย 3 x 103 cfu/gm ทดลองเพาะกลาไมเบิกนําโกงกางใบเล็ก 3 วิธี ไดแก การใสที่โคนตน รดน้ํา และการผสมกับดินเลน ดังนี้ การใสที่โคนตน ใสหัวเชื้อราปฏิปกษสด น้ําหนัก 40 กรัมที่โคนตน การรดน้ํา นําน้าํ หัวเชื้อราปฏิปกษรดบนตน ในชวงเชาและเย็น นาน 15 วัน การผสมกับดินเลน อัตราสวน 1:3 ใสราํ ขาว และ ไมใสรําขาว บมบริเวณน้ําทวมถึงนอย นาน 6 เดือน ทุกๆเดือน วัดการเจริญเติบโตกลาไมเบิกนํา ไดแก จํานวนใบ ความสูง ขนาดลําตน การรอด และการเกิดโรค เปรียบเทียบกับกลาไมควบคุม วิเคราะหเปรียบเทียบ การเจริญเติบโตกลาไมที่เพาะดวยหัวเชื้อราปฏิปกษกับกลาไมควบคุม หลังจากนั้นนํากลาไมที่เพาะ ดวยหัวเชื้อราปฏิปกษ อายุ 6 เดือน ไปปลูกที่ระยะหาง 1x1 เมตร จํานวน 20 ตนตอชนิด บริเวณนากุง ราง ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ทุกๆเดือนวัดการเจริญเติบโตกลาไม ไดแก จํานวนใบ ความสูง ขนาดลําตน การรอด และการเกิดโรค นาน 18 เดือน วิเคราะหเปรียบเทียบการเจริญเติบโตกลาไมที่ เพาะดวยหัวเชื้อราปฏิปกษกับกลาไมควบคุม วัดธาตุอาหารหลักในดินเลนไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซียม และอัตราการยอยสลายใบไมโกงกางใบเล็ก 2. การวิเคราะหขอมูล Seeding growth imcrement = (L – F ) / t % Seeding growth imcrement compare with control = (TG - cont) x 100 / cont F = first time measurement L = last time measurement T = period of time measurement TG = test with antagonistic fungi

ดรรชนีความหลากหลาย วิเคราะห โดย Shanon-Wiener ‘s index(H) คํานวณโดยใชสูตร H=

เมื่อ

H = ดรรชนีความมากมาย Pi = สัดสวนระหวางจํานวนตนของพันธไมหนึ่ง(i) ตอจํานวนตนของพันธุไมทั้งหมดในแปลง S = จํานวนชนิดพันธุไมทั้งหมด

N(%) โดย Kjeldahl Test P(%)โดยการวัดคาดูดกลืนแสง K(%) โดยการวัดคาดูดกลืนแสง

161


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการศึกษาและวิจารณ เมื่อนําหัวเชื้อราปฏิปกษสด จํานวน 3 ชนิด ไดแก Trichoderma viride Trichoderma hazianum และTrichoderma hamatum จํานวนโคโลนีเฉลี่ย 3 x 103 cfu/gm รูปที่ 1 เพาะกลาไมเบิกนําโกงกางใบเล็ก ดวย 3 วิธี ไดแก การใสหัวเชื้อราปฏิปกษที่โคนตน รดน้ําและการผสมกับดินเลน นาน 6 เดือน พบวา กลาไมโกงกางใบเล็กที่ใส T. viride ที่โคนตนมีการเจริญเติบโตของจํานวนใบมีคาเทากับ 27 เปอรเซนต ความสูง 50 เปอรเซนต และขนาดลําตน 26.6 เปอรเซนต อัตราการรอด 100 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบ กับตนกลาไมควบคุม รองลงมา ไดแก ตนกลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยหัวเชื้อรา T. hamatum และ T. hazianum ตามลําดับ รูปที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบการใชหัวเชื้อราปฏิปกษทั้ง 3 วิธี พบวาการใสเชื้อรา ปฏิปกษสดที่โคนตนสามารถชักนําการเจริญเติบโตดีกวาการรดน้ําและการใสหัวเชื้อราปฏิปกษผสมกับ ดินเลน อัตราสวน 1 : 3 นอกจากนี้พบวากลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยเทคนิคทางชีวภาพโดยการ ใสหัวเชื้อราปฏิปกษที่โคนตนและรดน้ํา สามารถควบคุมเชื้อราที่กอโรคใบจุดเนื่องจาก Fusarium sp. ไดสูงถึง 100 เปอรเซ็นต ในขณะที่กลาไมที่เพาะโดยไมใชเทคนิคทางชีวภาพเกิดเปนโรค เนื่องจาก กลาไมโกงกางใบเล็กที่ใสเชื้อราปฏิปกษมีระบบรากที่แข็งแรงและมากกวาตนควบคุม ประกอบกับ เชื้อราปฏิปกษที่โครงสรางรากชวยในการดูดธาตุอาหารหลักในรูปที่ไมเหมาะสมไดทําใหกับกลาไม สามารถดูดธาตุอาหารไดดีกวาปกติ (รูปที่ 3) สงผลใหกลาไมเบิกนําเจริญเติบโตไดดีกวาตนกลาไม ควบคุม 2-3 เทา (Frank,2005) การเจริ ญ เติ บ โตต น โกงกางใบเล็ ก ที่ เ พาะด ว ยเทคนิ ค ทางชี ว ภาพ แปลงที่ ป ลู ก ด ว ยกล าไม โกงกางใบเล็กที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษระยะหาง 1x1 เมตร จํานวน 20 ตน บริเวณนากุงราง ตําบล โคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ดังรูป 4 พบวาโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษ T. viride มีการ เจริญเติบโตของจํานวนใบมีคาเทากับ 125 เปอรเซนต ความสูง 112.5 เปอรเซนต และขนาดลําตน 89.29 เปอรเซนต การรอดตนโกงกางมีคาเทากับ 100 เปอรเซนต เมื่อเปรียบเทียบกับตนกลาไม ควบคุม รองลงมา ไดแก ตนกลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยหัวเชื้อรา T. hamatum T. hazianum ตามลําดับ ดังรูปที่ 5-6 เนื่องจากอัตราการยอยสลายใบไมโกงกางใบเล็ก บริเวณนากุงราง แปลงที่ปลูก ดวยกลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยเทคนิคทางชีวภาพ ใชเวลาในการยอยสลายใบไมโกงกางใบเล็ก นอยกวาแปลงที่ปลูกดวยกลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะกลาที่ไมใสเชื้อราปฏิปกษ(แบบเดิม) (สุกาญจน และคณะ 2554) และมีค วามสอดคลอ งกับ การยอ ยสลายใบไมเ บิก นํา บริเ วณปา ชายเลนที่ส มดุล ธรรมชาติ บริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ 2540 (จิรศักดิ์, 2542, Sukhan, 2001, สนิทและคณะ, 2547, สุกาญจน 2550) เนื่องจากปจจัยทางกายภาพ ไดแก ปริมาณธาตุอาหารหลักใน ดิน เชน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซียม……. เปอรเซ็นต ความเค็มเฉลี่ย 15-20 ppt น้ําขึ้นน้ําลง อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา 5-7 mg/l บริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร มีคาใกลเคียงกับบริเวณปาชายเลนที่สมดุลธรรมชาติ บริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ 2540 (จิรศักดิ์, 2542) แมวาปจจัยทางชีวภาพ เชน จํานวนชนิดพืช สัตว และจุลินทรีย 162


การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร

เชน ความมากมายเชื้อรา อายุตนไมโกงกาง 2 ป บริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ 2551 มีคาความมากมายเชื้อรา อายุตนไมโกงกาง นอยกวาบริเวณปาชายเลนสมดุลธรรมชาติ บริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ 2540 ซึ่งมีอายุ 5 ป (Sukhan, 2001) ดังนั้น ถาหาก ตนไมโกงกางใบเล็ก บริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร เจริญเติบโตจนกระทั่งอายุ ประมาณ 4-5 ป จะกลายเปนระบบนิเวศปาชายเลนที่สมดุลธรรมชาติ เพราะมีปริมาณธาตุอาหารหลัก ไดแก โปรแตสเซียม ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัสที่คืนสูดินเลนใกลเคียงกับปาธรรมชาติ ดังตารางที่ 1 นอกจากนี้ พบวาธาตุอาหารหลักในดินเลนฤดูรอนมีคามากที่สุด รองลงมา ไดแก ฤดูฝนและฤดูหนาว ตามลําดับ เนื่องจากดินเลนไดรับธาตุอาหารหลักจากการยอยสลายใบไมโกงกางใบเล็กดวยจุลินทรีย เชน เชื้อรา โดยเชื้อราจะทําการยอยสลายองคประกอบของใบไมโกงกางใบเล็ก ไดแก lignocelluloses เชน cellulose ในใบไม ซึ่งมี cellulose ปริมาณสูงถึง 80 เปอรเซ็นต ของเศษซากทั้งหมด สวนที่ เหลืออีก 20 เปอรเซ็นต ไดจากสวนอื่นๆของพืช ไดแก กิ่ง กาน ผล เมล็ด ของเศษซากทั้ง หมด (Meepol, 2002) ประกอบกับในฤดูรอนพบความหลากหลายทางชีวภาพเชื้อรามากที่สุดที่จะชวยในการ ยอยสลายใบไมเบิกนําใหกลายเปนธาตุอาหารหลัก จึงทําใหในฤดูรอนมีธาตุอาหารในดินเลน มากที่สุด สรุปผลการศึกษา หัวเชื้อราปฏิปกษสดจากปาชายเลน จํานวน 3 ชนิด ไดแก Trichoderma viride Trichoderma hazianum และ Trichoderma hamatum จํานวนโคโลนีเฉลี่ย 3 x 103 cfu/gm ใสที่โคนตน การรดน้ํา และการผสมกับดินเลนใสในถุงเพาะกลาไมเบิกนําโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) นํากลาไม เบิกนําที่เพาะไดดวยเทคนิคทางชีวภาพ อายุ 6 เดือน ไปปลูกบริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัด สมุทรสาคร ระหวาง 2551-2553 พบวากลาไมโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยหัวเชื้อราปฏิปกษ T. viride สามารถเพิ่มการเจริญเติบโตของจํานวนใบ ความสูง และขนาดลําตนดีที่สุด มีคาเทากับ 125 112.5 และ 89.29 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับตนควบคุม รองลงมา ตนโกงกางใบเล็กที่เพาะโดยผสมหัว เชื้อราปฏิปกษ T. hamatum และ T. hazianum ตามลําดับ โดยมีอัตราการรอดของตนไมโกงกางที่ เพาะดวยเทคนิคทางชีวภาพมีคาสูงถึง 100 เปอรเซ็นต ซึ่งการใชเทคนิคทางชีวภาพเพาะกลาไมเบิก นําโกงกางใบเล็กจะทําใหไดระบบนิเวศปาชายเลนบริเวณนากุงรางสมดุลธรรมชาติภายในเวลา 4-5 ป เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดการปาชายเลนบริเวณนากุงรางแบบไมใชเทคนิคทางชีวภาพ และชวยลด คารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศไดเพิ่มชี้นกวาปกติสูงถึง 2 เทา เนื่องจากจํานวนใบตนโกงกาง ที่เพาะดวยเทคนิคทางชีวภาพมีจํานวนใบมากกวาปกติ 2 เทา

163


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เสนอแนะ ควรผลิตหัวเชื้อราปฏิปกษสดเปนหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ดเพื่อใหสะดวกตอการจําหนวยและ การนําไปใชประโยชนแบบบูรณาการ ในการปองกัน และการนําไปใชประโยชน ในดานตางๆ ไดแก ดานการเกษตร (Sharma et al 2009) (Frank 2005) อุตสาหกรรม และการจัดการปาชายเลนแบบ ยั่งยืน ดังนี้ A. เพาะกลาไมเบิกนําชนิดอื่นๆ บริเวณปาชายเลนดวยหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ดใหมีความ แข็งแรง ทนทานตอโรคและสามารถเจริญเติบโตไดดี การรอดสูง กอนนําไปปลูกในพื้นที่ เสื่อมโทรม ในภาวะโลกรอน เพื่อลดปริมาณคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ ที่สําคัญลด ระยะเวลาการจัดการระบบนิเวศคืนสูสมดุลธรรมชาติ(กําลังศึกษาวิจัย) B. การเพาะกลาไมผัก ไดแก ผักสลัด ผักคะนา ผักบุง พืชสวน พืชไร ไมยืนตน ดวยหัวเชื้อรา ปฏิปกษอัดเม็ดเพื่อลดการใชสารเคมีฆาเชื้อโรค มีความแข็งแรง ทนทานตอโรคและสามารถ เจริญเติบโตไดดี การรอดสูง กอนนําไปปลูกในพื้นที่เสื่อมโทรม ในภาวะโลกรอน เพื่อลด ปริมาณคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ ที่สําคัญลดระยะเวลาการจัดการระบบนิเวศคืนสู สมดุลธรรมชาติ(กําลังศึกษาวิจัย) C. การผลิตปุยชีวภาพจากวัสดุเหลือใช เชน กากเมล็ดสบูดํา ดวยหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ดเพื่อ การนําวัสดุเหลือใชไปใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ ลดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม(กําลัง ศึกษาวิจัย) D. การผลิตเยื่อกระดาษจากวัสดุเหลือใช เชนกาบกลวยน้ําวา ดวยหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ด เพื่อการนําวัสดุเหลือใชไปใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ ลดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม (กําลังศึกษาวิจัย) E. การผลิตเอทานอลจากวัสดุเหลือใช เชน กากเมล็ดสบูดําดวยหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ด(กําลัง ศึกษาวิจัย) กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สําเร็จไดดวยดี ขาพเจาขอขอบคุณ สภาวิจัยแหงชาติที่ใหเงินสนับสนุนเงินงบประมาณแผนดิน ประจําป 2552 และ 2553 ศาสตราจารย ดร. สนิท อักษรแกว และรองศาสตราจารย ดร.เลขา มาโนช ที่ ประสิทธิ์ประสาทความรู และขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม สถานี พั ฒ นา ทรัพยากรปาชายเลนที่ 7 (สมุทรสงคราม) และโครงการแกไขปญหาการกัดเซาะและฟนฟูพื้นที่ชายฝงทะเล พื้นที่นากุงราง อําเภอโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร โดยการมีสวนรวมของประชาชน ที่เอื้ออํานวย สถานที่วิจัย 164


การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร

เอกสารอางอิง ชลิดา ศรีลัดดา ลัดาวัลย พวงจิตร, 2550 การเก็บกักคารบอนของสวนปาชายเลนอําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประมวลผลงานวิจัยการประชุมวิชาการระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ “ปาชายเลน: รากฐานเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝง,” วันที่ 12-14 กันยายน 2550 จังหวัดเพชรบุรี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. จิรศักดิ์ ชูความดี. 2542. การรวงหลนและการยอยสลายของซากพืชปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร, กรุงเทพ ฯ. สนิ ท อั ก ษรแก ว กนกพร บุ ญ ส ง สุ นั น ทา สุ ว รรโณดม วิ โ รจน ธี ร ธนากร ลดาวั ล ย พวงจิ ต ร นพรัตน บํารุงรักษ ชาญยุทธ สุดทองคง เอกพล อวมนุช โชคชัย ยะชูศรี ศิริลักษณ รื่นศิริกุล ประเสริฐ ทองหนูนุย จิระศักดิ์ ชูความดี จิราณีย ไชยปริวงศ เสานุภา กองกมล ชาตรี ไฝจิต นันทวัน บุณยะประภัศร เสาวภา อังสุภานิช กัลยา วัฒยากร สนใจ หะวานนท ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ ริวรรณ ศิริบุญ อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ วิมล ศรีศุข 2547: การจัดการสวนปาชายเลน แบบผสมผสานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม บริเวณชายฝงทะเลของประเทศ ไทย โครงการวิจัยโดยนักวิจัยชื่อ : ศ.ดร.สนิท อักษรแกว สํานักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว) กรุงเทพ สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ สายัณห สมฤทธิ์ผล และ อัชฌาณัท รัตนเลิศนุสรณ, 2553. รายงานการ วิจัย การใชประโยชนเชื้อราปฏิปกษจากดินเลนในการควบคุมโรคเนาบนโกงกางใบเล็กและแสมขาว คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ. 2550. อัตราการยอยสลายและการหมุนเวียนธาตุอาหารในปาชายเลน จังหวัดสมุทรสาคร และความหลากหลายทางชีวภาพเชื้อราดินเลน. คณะวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ 2552 . ความหลากหลายทางชีวภาพเชื้อราบนฝกโกงกางใบเล็กและแสม ขาว:การใชประโยชนเชื้อรา Trichoderma viride วารสารการจัดการปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ปที่ 3 ฉบับที่ 5(2552) สุกาญจน รัตนเลิศนุสรณ สายัณห สมฤทธิ์ผล และอัชฌาณัท รัตนเลิศนุสรณ 2554 ความหลากหลาย ทางชีวภาพเชื้อราดินเลนและการฟนฟูตนกลาโกงกางใบเล็กและแสมขาวดวยเชื้อราดินเลน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี ศรินทร ตันติพุกนนท, 2536 การเจริญเติบโตและอัตราการรอดของตนออนไมปาชายเลน 3 ชนิดที่ปลูก บนพื้นที่นากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ อรวรรณ พรานไชย, สนิท อักษรแกว และลดาวัลย พวงจิตร. 2550. การฟนฟูปาชายเลนบนพื้นที่ นากุงราง บริเ วณ อํา เภอขนอม จัง หวัด นครศรีธ รรมราช ประมวลผลงานวิจัย การประชุม วิชาการระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ “ปาชายเลน: รากฐานเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝง ,”

165


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

วันที่ 12-14 กันยายน 2550 จังหวัดเพชรบุรี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. Frank,A.B. 2005. Mycorrhizae: the challenge to evolutionary and ecology theory Mycorrhiza, 15(4): 277-281 Meepol, W. 2002. Litter production and site Characteristice in relation to structure and composition of mangrove forest in Raong provice southern Thailand. Ph.D. Thesis University of the Phillppines Los Banos. Sukhan, K. 2001. Decomposition Rates and Associated Degradation Fungi on mangrove Leaf Litters of Rhizophora apiculata and A. alba at Thachine estuary Samut Sakhon Province. Ph.D. thesis. Kasatsart University, Bangkok Thailand. Sharma, D.K. Pandey, A.K. and Lata. 2009. Use of Jatropha curcas hull biomass for bioactive compost production. In Biomass and Bioenergy 33. p. 159-162.

รูปที1่ หัวเชื้อราปฏิปกษสดและหัวเชื้อราปฏิปกษอัดเม็ด

รูปที2่ (A)

166

A.รดน้ํา

B.โคนตน

C.1:3ใสรํา

D. 1:3ไมใสรํา

การเจริญเติบโตกลาไมโกงกางใบเล็ก(seeding plants) ที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษ โดยการรดน้ํา


การชักนําการเจริญเติบโตโกงกางใบเล็กดวยเทคนิคทางชีวภาพ บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร

(B)

การเจริญเติบโตกลาไมโกงกางใบเล็ก(seeding plants) ที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษโดยการใสเชือ้ ราปฏิปกษ ที่โคนตน C-D) การเจริญเติบโตกลาไมโกงกางใบเล็ก(seeding plants) ที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษผสมดินเลนใสรําและ ไมใสรํา อายุ 6 เดือน พ.ศ 2551-2552

A

B

รูปที3่ A. ระบบรากกลาไมโกงกางใบเล็กที่ไมใสเชือ้ ราปฏิปกษ(ซาย)และใสเชื้อราปฏิปกษ(ขวา) B. ภาพตัดตามขวางรากกลาไมมีเชื้อรา ปฏิปกษแทรกระหวางโครงสราง 1:2 ใสรํา

1:2 ไมใสรํา

1:3 ใสรํา

1:3 ไมใสรํา

รูปที4่ %การเจริญเติบโตกลาไมโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร

167


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

A

รูปที5่

B

(A) การเจริญเติบโตตนโกงกางใบเล็กที่เพาะดวยเชื้อราปฏิปกษ (B) การเจริญเติบโตตนกางกางใบเล็กที่ไมใสเชือ้ รา ปฏิปกษ (ควบคุม) บริเวณนากุงราง จังหวัดสมุทรสาคร อายุ 8 เดือน พ.ศ 2551-2552

รูปที่ 6 %การเจริญเติบโตตนโกงกางใบเล็ก(R. apiculata) บริเวณนากุงราง ตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ระหวาง พ.ศ 2551- 2553

ฤดู ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูรอน

168

N(%) (w/w) 1.06

P(%) (w/w) 0.07

K(%) (w/w) 3.69

0.94

0.09

4.86

0.88

0.20

5.27


การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศชายฝง ในพื้นที่อันดามันตอนบน Integrated Reef to Ridge Approach to Conservation of North Andaman Coastal Zone

สมศักดิ์ สุนทรนวภัทร1 เพชรรุง สุขพงษ2 1,2 IUCN-ประเทศไทย (องคการระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ) สํานักงานสนามคุระบุรี อําเภอคุระบุรี จังหวักพังงา 82150 บทคัดยอ ในบริเวณพื้นที่ชายฝงอันดามันตอนบน มีความหลากหลายทางระบบนิเวศและความหลากหลายทาง ชีวภาพสูง ซึ่งประกอบไปดวยระบบนิเวศตางๆ รวมทั้งพบพันธุพืชและสัตวที่ใกลสูญพันธุและหายาก ดังนั้นการอนุรักษและจัดการระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพเหลานี้ จําเปนตองมีการ ผสมผสานและคํานึงถึงทุกระบบนิเวศ จึงเรียกการจัดการระบบนิเวศแบบนี้วา “หลักการอนุรักษและ ฟนฟูระบบนิเวศจากภูเขาสูทะเล” ซึ่งหมายถึงยุทธศาสตรการผสมผสานการจัดการ พื้นที่ที่ดิน พื้นที่ แหลงน้ํา ทรัพยากรสิ่งมีชีวิต และการใชอยางยั่งยืนและมีความเสมอภาค หลักการดังกลาวนี้ไดมีการ ประยุ ก ต ใ ช ห ลั ก การ 12 ข อ ของอนุ สั ญ ญาความหลากหลายทางชี ว ภาพ ผลของการดํา เนิ น การ มีหลากหลายกลุมและหลายระดับในพื้นที่ชายฝงมีสวนรวมในการวางแผนและดําเนินกิจกรรมและ รับผิดชอบการดําเนินงานรวมกันตามความถนัดในแตละพื้นที่ระบบนิเวศ กลุมเหลานี้มีความรูสึกวา เปนเจาของกิจกรรมการอนุรักษนั้นๆ และอยูบนความตองการของชุมชนจริงๆ และรวมทั้งมีการเขาถึง และใชประโยชนจากทรัพยากรที่กลุมตางๆ ไดทําการอนุรักษและดูแลรวมถึงการเฝาระวังอยางชาญ ฉลาด ตลอดจนมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรในระดับทองถิ่น และเกิดเครือขายอนุรักษ ในระดับชุมชนและในระดับภูมินิเวศที่เขมแข็งที่จะจัดการและดูแลทรัพยากรเพื่อความยั่งยืนในอนาคต คําสําคัญ: หลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเล, ระบบนิเวศชายฝง, โครงการ BMZ


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The North Andaman Coastal Zone in Thailand is an area of high biodiversity and high value of various ecosystems including found some rare and endangered animals and plants species. Therefore, integrated all ecosystems to conservation and management is necessary or so called this approach “Ridge to Reef Principle” where a strategy for the integrated management of land, water and living resources that promotes conservation and sustainable use in a equitable way. This principle has adopted from convention on Biodiversity outlines 12 principles that form the basis for the ecosystem approach. These principles have been used to guide the implementation of the project. The outcome of project implementation can show the appropriate balance between conservation and use of biological diversity. Because all level of stakeholders have been involved from planning process and responsibilities of the project also stakeholders have sense of belonging and based on their needs. All levels of stakeholders have access to the resources and where under their conservation and management including of conduct monitoring change of the ecosystem. Finally, at the end of the project stakeholders at landscape level have process for capacity building to strengthen their networks at landscape level in order to have better management and conservation of local natural resources in the future. Keyword: Ridge to Reef principle, Coastal Ecosystem, BMZ Project

หลักการอนุรักษและฟนฟูจากภูเขาสูทะเล ในการอนุรักษระบบนิเวศนั้นมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองผสมผสานการจัดการทุกระบบนิเวศ ในภูมินิเวศเดียวกัน ในบริเวณพื้นที่ชายฝงอันดามันตอนบนก็เชนกัน มีความหลากหลายทางระบบ นิเวศมากประกอบไปดวยระบบนิเวศตางๆ เชน ระบบนิเวศภูเขาสูงและปาดงดิบ ระบบนิเวศแมน้ํา ลําคลอง ระบบนิเวศเกษตร ระบบนิเวศชายฝงที่ประกอบไปดวยพื้นที่ปาชายเลน ปาชายหาด ปาพรุ หญาทะเล และแนวปะการัง นอกจากนั้นยังพบพันธุพืชและสัตวหายากและใกลสูญพันธุ เชน พลับพลึงธาร นกตะกรุมหัวลาน นกหัวโตมลายู ปูเจาฟา พะยูน และเตาทะเล เปนตน แตละระบบนิเวศที่กลาวมาจะ มีความเชื่อมโยงและมีความผูกพันระหวางกัน ระบบนิเวศใดนิเวศหนึ่งถูกทําลายยอมไดรับผลกระทบ ตออีกระบบนิเวศอื่นๆ ที่อยูใกลเคียง เชน การทําลายปาบนพื้นที่ภูเขาตนน้ํา ยอมเกิดการชะลาง พังทะลายของหนาดิน ทําใหเกิดตะกอนทับถมในระบบนิเวศแมน้ําลําคลอง และพื้นที่ปากแมน้ํา ใหเกิด การตื้นเขินและทําลายพื้นที่หญาทะเลและแหลงทําการประมง เปนตน ดังนั้นการอนุรักษและจัดการ ระบบนิเวศเหลานี้จําเปนตองมีการผสมผสานและคํานึงถึงทุกระบบนิเวศ จึงเรียกการจัดการระบบนิเวศ แบบนี้วา “หลักการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศจากภูเขาสูทะเล” ซึ่งหมายถึงยุทธศาสตรการ ผสมผสานการจัดการ พื้นที่ที่ดิน พื้นที่แหลงน้ํา ทรัพยากรสิ่งมีชีวิต และการใชอยางยั่งยืนและ มีความเสมอภาค (Reef to Ridge, a strategy for the integrated management of land, water and living resources that promotes conservation and sustainable use in a equitable way). หลักการดังกลาวนี้ไดมีการประยุกตใชหลักการ 12 ขอของอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ 170


การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศชายฝงในพื้นที่อันดามันตอนบน

อาทิเชน การผสมผสานการจัดการทุกระบบนิเวศเขาดวยกัน การมองการจัดการในระยะยาว การใหความสําคัญกับโครงสรางระบบนิเวศและคุณคาตางๆ การมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของที่ หลากหลาย ใชขอบเขตของระบบนิเวศเปนหลัก การสรางความเปนเจาของและใชอยางยั่งยืน เทาเทียมกัน การพิจารณาถึงความสมดุลยระหวางการอนุรักษและการใชความหลากหลาย ทางชี ว ภาพ การแลกเปลี่ ย นข อ มู ล นั ก วิ ช าการและภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และการสร า งความ เขมแข็งและใหการศึกษากับเยาวชน เปนตน กรณีศึกษาโครงการ BMZ โครงการ BMZ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก German Federal Ministry of Economic Cooperation and Development (BMZ) เราจึงเรียกโครงการนี้สั้นๆ ตามแหลงทุนวา โครงการ BMZ ในพื้นที่โครงการ BMZ (การใชหลักนิเวศวิทยาและดานเศรษฐกิจสังคมในการฟนฟูระบบนิเวศชายฝง และการอนุรักษพื้นที่ประสบภัยสึนามิของประเทศในมหาสมุทรอินเดีย) ซึ่งอยูในพื้นที่ อําเภอตะกั่วปา อํ า เภอคุ ร ะบุ รี จั ง หวั ด พั ง งา และอํ า เภอสุ ข สํ า ราญ อํ า เภอกะเปอร จั ง หวั ด ระนอง เป น แหล ง ที่ มี ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณมากแหงหนึ่งของประเทศไทย และมีระบบนิเวศที่หลากหลาย เชน บนพื้นที่ตนน้ํา จะมีระบบนิเวศปาไมและภูเขาสูงสลับซับซอนที่เปนแหลงตนน้ําลําธารหลายสาย ระบบ นิเวศแมน้ําลําคลอง และระบบนิเวศเกษตร สวนพื้นที่ชายฝงหรือพื้นที่ทายน้ําจะประกอบไปดวย ระบบ นิเวศปาชายเลนที่อุดมสมบูรณและมีพื้นที่มากแหงหนึ่ง ของประเทศไทย และมีระบบนิเวศปาพรุ ระบบ นิเวศปาชายหาด และระบบนิเวศหญาทะเลและปะการัง นอกจากนั้นยังพบพันธุไม และพันธุสัตวปา และสัตวทะเลหายาก เชน พลับพลึงธาร กลวยไมปากนกแกว รองเทานารี ปูเจาฟา นกตะกรุมหัวลาน นกหัวโตมลายู เตาทะเล และพะยูน เปนตน โครงการนี้จึงเปนกรณีศึกษาหนึ่งที่ใชหลักการ “การ จัดการอนุรักษและฟนฟูจากภูเขาสูทะเล” มาปรับใชในการดําเนินกิจกรรมโครงการและมีรายละเอียด ขั้นตอนการดําเนินการและผลที่ไดรับดังตอไปนี้ ขั้นตอนการดําเนินการ ระยะแรกเกี่ยวของกับการรวบรวมขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและดานเศรษฐกิจ สังคมที่มีอยูในปจจุบัน และรวมทั้งการประเมินในดานตางๆ โดยผูเชี่ยวชาญและเจาหนาที่ของ IUCN เชน ดานเศรษฐกิจและสังคม สถานภาพของความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศตางๆ ใน พื้นที่โครงการ เชน การประเมินสภาพพื้นที่ปาไมนอกเขตอนุรักษ การประเมินสถานภาพของระบบ นิเวศเกษตร การสํารวจระบบนิเวศแมน้ําลําคลอง การสํารวจพลับพลึงธาร ประเมินสถานภาพของหญา ทะเลและปะการัง การติดตามพะยูนและเตาทะเล การสํารวจพันธุนกน้ําชายฝงและนกอพยพ เปนตน ขอมูลเหลานี้จะมีการนําเสนอในระดับชุมชนและระดับจังหวัด เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน รับฟงขอคิดเห็น เพิ่มเติมตางๆ และเพื่อใชประโยชนของขอมูลในดานตางๆ ของหนวยงานและชุมชนที่เกี่ยวของ

171


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ระยะที่สองจะเกี่ยวของกับการวางแผนกิจกรรมตางๆ ที่จะดําเนินการในแตละพื้นที่ โดยมีการนํา ขอมูลจากการสํารวจ จากการศึกษา และจากการประเมินในดานตางๆ มาประกอบการพิจารณา และ นําขอมูลเหลานี้ใชในการผสมผสานในแผนงานและยุทธศาสตรตางๆ ที่มีอยูแลว ทั้งในระดับชุมชน ระดับ อบต. และระดับจังหวัด ในระยะการวางแผนนี้จะเปนการงางแผนงานรวมกันกับชุมชน องคกร พัฒนาเอกชน และหนวยงานของรัฐในพื้นที่ที่เกี่ยวของ เพื่อใหแผนงานเหลานั้นเปนแผนงานที่เปนไป ไดจริงๆ ไมซ้ําซอนกับแผนงานที่มีอยู และเปนไปตามความตองการของชุมชนและของหนวยงาน รวมทั้งมีการวิเคราะหรวมกันวาองคกรชุมชนใดหรือหนวยงานใดมีความถนัดดานไหนบาง เพื่อที่จะให มี ส ว นร ว มรั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น กิ จ กรรมนั้ น ๆ ตามความสามารถและความถนั ด ของกลุ ม หรื อ หนวยงานของตนเองในแตละพื้นที่ ระยะสุดทายเปนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ตามแผนงานที่รวมกันวางไว ตามความถนัดของ แตละองคกร และความเหมาะสมของแตละพื้นที่ โดยผูที่มีสวนเกี่ยวของทั้งหลาย ไมวาจะเปนหนวยงาน ของรัฐ องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรชุมชน ภายใตโครงการ BMZ ไดมีหนวยงานจากองคกรพัฒนา เอกชน 5 องคกร กลุมอนุรักษตางๆ ของชุมชน 9 กลุม และหนวยงานรัฐในระดับพื้นที่อีก 2 หนวยงาน ที่รวมรับผิดชอบและดําเนินกิจกรรมในแตละพื้นที่และแตละสาขางานที่หนวยงานหรือกลุมของตนเอง ถนัด นอกจากนั้นยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณระหวางกัน มีการติดตามความกาวหนาของ โครงการรวมกัน และมีการสรุปบทเรียนรวมกันอยางสม่ําเสมอตลอดโครงการ นอกจากนั้ น กิ จ กรรมการเสริ ม สร า งศั ก ยภาพให แ ก อ งค ก รประชาชนในพื้ น ที่ ก็ ไ ด มี ก าร ดําเนินการควบคูกันไปดวย เพื่อใหมีการบริหารจัดการกลุมและการดําเนินกิจกรรมโครงการเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการทํากิจกรรมการรณรงคสรางจิตสํานึกในการอนุรักษแกหลากหลาย กลุมเปาหมายในพื้นที่ การประสานงานตางๆ ในระดับจังหวัดและระดับชาติเพื่อใหเกิดผลในระดับ นโยบายในดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนั้นยังมี กิจกรรมการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรรวมกับชุมชนควบคูกันไปดวย เชน การติดตามการ เปลี่ ย นแปลงของพลั บ พลึ ง ธาร การติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงของหญ า ทะเล และการติ ด ตามการ เปลี่ยนแปลงของแมน้ําลําคลองและคุณภาพน้ํารวมกับกลุมเยาวชน เปนตน ผลของการดําเนินงาน ผลของการดําเนินกิจกรรมโครงการ ที่มีหลากหลายกิจกรรมที่ดําเนินการในแตละพื้นที่และ ในแตละระบบนิเวศโดยหลากหลายหนวยงานและองคกรชุมชนที่เกี่ยวของ ตัวอยางกิจกรรมตอไปนี้ เปนผลของงานที่ชี้ใหเห็นถึงความเชื่อมโยงเขาดวยกันแตละระบบนิเวศ ตั้งแตระบบนิเวศภูเขาจนถึง ระบบนิเวศชายฝง

172


การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศชายฝงในพื้นที่อันดามันตอนบน

ในพื้นที่ตนน้ํา การอนุรักษบนพื้นที่ตนน้ําก็มคี วามสําคัญตอระบบนิเวศตางๆ ที่ตอเนื่องทัง้ ในพื้นที่กลางน้ําและ ปลายน้ํา เพราะระบบนิเวศบนพื้นที่ตนน้ําประกอบไปดวยภูเขาสูงสลับซับซอนและปาดงดิบ เปนแหลง พื้นที่ตนน้ําและเปนแหลงกําเนิดแมน้ําลําคลองหลายสายที่ไหลจากภูเขาสูทะเล ในความเปนจริงพื้นที่ บนตนน้ําจะประกอบไปดวยพื้นที่ในเขตอนุรักษ (เขตอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา) เขตปาไมนอกพื้นที่อนุรักษ และเขตพื้นที่อาศัยและพื้นที่การเกษตรของชุมชนตางๆ สภาพปญหา ตางๆ ที่พบ เชน การบุกรุกที่ดินปาไมเพื่อการทําการเกษตรเชิงเดี่ยว โดยเฉพาะปาลมน้ํามันและ ยางพารา การชะลางพังทะลายของหนาดิน การทับถมของตะกอนในแมน้ําลําคลองทําใหแมน้ําลําคลอง ตื้นเขิน การลักลอบลาสัตวและไมมีคา การใชสารเคมีตางๆ ในพื้นที่เกษตรกรรม และปญหาขยะมูล ฝอยและ น้ําเสีย เปนตน ดั ง นั้ น กิ จ กรรมต า งๆ ในพื้ น ที่ ต น น้ํา ก็ มี ก ารดํา เนิ น การเพื่ อ ที่ จ ะลดป ญ หาดั ง ที่ ก ล า วมา ตัวอยางเชน กิจกรรมการสงเสริมและสาธิตการเกษตรบนพื้นที่ตนน้ํา ที่เปนการทําการเกษตรเชิง อินทรียและเปนการเกษตรแบบผสมผสาน เปนตนวา มีการปลูกพืชที่หลากหลายชนิดพันธุที่แตกตาง ในระดับ ความสูง และใชป ระโยชนที่แ ตกตา งกัน ยางพารา กาแฟ ปาลม น้ํามัน และผลไมเ ปน พืช เศรษฐกิจหลัก ปลูกไมพื้นเมืองเพื่อการใชสอย และมีพืชที่ใชเปนอาหารและสมุนไพรเพื่อการดํารงชีพ มีการทําปุยชีวภาพแทนการใชปุยวิทยาศาสตร มีการทําปุยหมักจากวัชพืชและวัสดุเหลือใช และการทํา กิจกรรมตางๆ เพื่อลดการชะลางพังทะลายของหนาดิน เปนตน สวนกิจกรรมการอนุรักษในพื้นที่ตนน้ํา มีหลากหลายกิจกรรม เชน การรณรงคสรางความตระหนักในการอนุรักษปา การปลูกปาในพื้นที่ปา ชุม ชน การติด ตามการเปลี่ย นแปลงของระบบนิเ วศแมน้ําลํา คลอง การอนุรัก ษวัง ปลาและแมน้ํา ลําคลองเพื่อใหแมน้ําลําคลองและพันธปลากลับมาอุดมสมบูรณอีกครั้ง การฟนฟูสองตลิ่งคลองเพื่อลด การพังทะลายของสองตลิ่ง กิจกรรมที่กลาวมาทั้งหมดนี้ มีการดําเนินการในพื้นที่ปาตนน้ําตําบลคุระ และตําบลแมนางขาว อําเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา และในพื้นที่ตนน้ําตําบลนาคา อําเภอสุขสําราญ ตําบลกะเปอร ตําบลบานนาและตําบลเชี่ยวเหลียง อําเภอกะเปอร จังหวัดระนอง รวมทั้งการอนุรักษ พลับพลึงธาร พืชเฉพาะถิ่นหนึ่งเดียวในโลกที่พบเฉพาะที่คลองนาคา คลองตาผุด คลองนางยอน คลอง บางปง และคลองบางปรุ ในพื้นที่จังหวัดพังงาตอนบนและระนองตอนลางเทานั้น ใหมีการอนุรักษ จัดการในระดับพื้นที่ และการประสานงานกับหนวงงานรัฐที่เกี่ยวของเพื่อหาแนวทางใหเกิดการอนุรักษ และจัดการในระดับนโยบายดวย เนื่องจากพืชน้ําชนิดนี้ยังไมไดเปนพืชที่ถูกคุมครองโดยกฏหมายใดใด ที่มีอยู ในบริเวณเขตปาไมนอกเขตอนุรักษ เชน เทือกเขาแมนางขาว อําเภอคุระบุรี ไดมีการสราง เครือขายอนุรักษเขาแมนางขาวขึ้นมาโดยชุมชนที่อาศัยอยูรอบๆ เทือกเขา 7 ชุมชน และมีการรวมมือ กับหนายงานตางๆ ในพื้นที่ที่เกี่ยวของ มีการประชุมปรึกษาหารือในแตละชุมชน เพื่อหาแนวทางแบบ มีสวนรวมในการปองกันการบุกรุกพื้นที่ปาเพื่อการเกษตร การลักลอบลาสัตวปา และการตัดไมหายาก

173


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

และเพื่อเปนการอนุรักษปาไมและเขาแมนางขาวเอาไวเพื่อใหเปนแหลงตนน้ําลําธารและแหลงใช ประโยชนของชุมชนในอนาคต ขณะเดียวกันทางเครือขายไดทําการสํารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพของเขาแมนางขาวดวย ปากฏวาเปนปาที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มีการพบสัตวปาที่ หายาก เชน นกเงือก คางแวนถิ่นใต มีตนไมขนาดใหญมากมายและดอกบัวผุด รวมทั้งมีน้ําตกและจุด ชมวิวที่สวยงาม จึงไดทําการพัฒนาเปนเสนทางทองเที่ยวศึกษาธรรมชาติโดยชุมชนอีกดวย ปาชุมชนบนพื้นที่ตนน้ําบานบางลําพู อําเภอกะเปอร จังหวัดระนอง ก็ไดมีการอนุรักษและสราง กฏเกณฑตางๆ รวมกับชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งมีการทําแนวเขตปาชุมชนใหชัดเจน รวมกันระหวางชุมชนและหนวยงานปาไมในพื้นที่ เพื่อปองกันการบุกรุกแนวเขตปา และรักษาใหเปน ปาตนน้ําและมีการนําน้ํามาใชเพื่อการอุปโภคบริโภคในชุมชน การพัฒนากิจกรรมทองเที่ยวในพื้นที่ตนน้ํา ก็มีการดําเนินการในพื้นที่ตําบลนาคา อําเภอสุขสําราญ เกี่ยวกับการลองแพแลพลับพลึงธารในชวงที่ดอกพลับพลึงธารออกดอกระหวางเดือนตุลาคมถึงเดือน ธันวาคมของทุกๆ ป และในพื้นน้ําตําบลบานนา และตําบลเชี่ยวเหลียง อําเภอกะเปอร มีการทองเที่ยว ชมน้ําตกละอองดาว ชมวิวบนยอดเขาพอตาโชงโดง ชมน้ําพุรอน และการลองแพคลองกะเปอร เพื่อให ชุมชนมีรายไดเสริมจากกิจกรรมการทองเที่ยวดังที่กลาวมา ในพื้นที่ชายฝง ในพื้นที่ชายฝงหรือพืน้ ที่ทายน้ําที่ประกอบไปดวยระบบนิเวศตางๆ เชน ระบบนิเวศปาชายเลน ปาชายหาด ระบบนิเวศหญาทะเล และระบบนิเวศปะการัง ในสภาพปจจุบันพื้นที่ปาชายเลนมีโอกาส ลดลงและเสื่อมโทรมลงไดถาหากวารัฐไมมีนโยบายที่ชัดเจนและการมีสวนรวมจากภาคประชาชนใน การดูแล รวมทัง้ โครงการพัฒนาตางๆ ทั้งของรัฐและเอกชนที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เชน โครงการ พัฒนาที่อยูอาศัย โครงการกอสรางสิ่งสาธารณูปโภคตางๆ เชน ทาเรือ ถนนหนทาง การขุดลอก คูคลองบริเวณปาชายเลน สถานที่กําจัดขยะ โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม บอเลี้ยงกุง ปญหาขยะและ มลพิษ และอื่นๆ นอกจากนัน้ การเขาครอบครองของภาคเอกชนและการมีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินบริเวณ ปาชายเลนในรูปแบบตางๆ ลวนเปนสาเหตุของการทําใหปาชายเลนลดลงและเสื่อมโทรมรวดเร็วยิ่งขึน้ ตลอดจนจะมีผลกระทบตอการทํามาหากินของชุมชนอีกดวย กิจกรรมที่เกี่ยวของในพื้นที่ปาชายเลนและปากแมน้ํา สวนมากแลวจะเกี่ยวของกับการฟนฟู ปาชายเลนที่เสื่อมโทรมจากภัยสึนามิและฟนฟูเพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ เปนตนวา ไดมี การจัดสรางเรือนเพาะชําไมปาชายเลนที่หลากหลายชนิดพันธุโดยกลุมอนุรักษในพื้นที่อาวกะเปอร ได ทําการเพาะพันธุกลาไมปาชายเลนนานาชนิด เชน จาก โกงกางใบใหญ โกงกางใบเล็ก แสม ตะบูน ถั่วขาว โปรงแดง หงอนไกทะเล พังกาหัวสุมดอกแดง ฝาดดอกแดง และตีนเปด เปนตน เพื่อการฟนฟู พื้นที่ปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหมีความหลากหลายทางชนิดพันธุ และการปลูกจากที่บริเวณอาวกะเปอร เพื่อการใชสอยโดยกลุมผูหญิงและคนไทยพลัดถิ่น รวมทั้งการสรางเครือขายอนุรักษอาวกะเปอรที่ 174


การใชหลักการอนุรักษจากภูเขาสูทะเลในการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศชายฝงในพื้นที่อันดามันตอนบน

ประกอบดวยชุมชนตางๆ ที่อาศัยรายลอมอาว นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมการอนุรักษหอยหวานและ หอยขาวในพื้นที่อาวกะเปอรดวยที่บริเวณแหลมพอตา มีการประชุมปรึกษาหารือระหวางเครือขายและ กลุมผูใชประโยชนในชุมชนตางๆ จนสามารถสรางกฏระเบียบตางๆ ในการอนุรักษหอยรวมกันได เชน มีการสรางกฏเกณฑตางๆ ในการเก็บหาหอยรวมกันเพื่อใหเกิดความยั่งยืน และมีการจัดตั้งเขตอนุรักษหอย ขึ้นมาเพื่อเปนแหลงขยายพันธุหอยหวานและหอยขาวดวย เปนตน สวนแนวหญาทะเลพบวาพื้นที่หญาทะเลที่บริเวณปากอาวคุระบุรี จังหวัดพังงา มีการพบแนว หญาทะเลเปนแหงๆ เชน ที่ปากอาว แหลมไมตาย อาวทุงนางดํา เกาะพระทอง อาวบางติบ และดาน เหนือเกาะคอเขา เปนตน พบวามีการพบหญาทะเลทั้งหมด 11 ชนิด และมีพื้นที่หญาทะเลมากที่สุดใน พื้นที่อันดามันตอนบน ภายใตโครงการ BMZ ไดมีการสํารวจพื้นที่หญาทะเลเพิ่มเติมรวมกับชุมชนและ มีการจัดทําฐานขอมูลพื้นที่หญาทะเลรวมกับศูนยชีวะภูเก็ตเพื่อการใชประโยชนในดานตางๆ ในสภาพปจจุบันหญาทะเลบางแหงตองสูญเสียไป เนื่องมาจากการทําการประมงที่ผิดวิธี และ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตางๆ บนพื้นที่ชายฝง เชน มีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน เปนตนวา การกอสราง การพัฒนาโครงการทาเรือ ทําใหเกิดตะกอนทับถมที่บริเวณหญาทะเลเปนจํานวนมากและทําใหหญา ทะเลในบริเวณดังกลาวตองตายไป นอกจากนั้นในบางแหงแหลงหญาทะเลอยูในสภาวะอันตรายอยางยิ่ง เชน ที่ปากอาวคุระบุรีซึ่งมีแหลงหญาทะเลที่ใหญที่สุดของอําเภอคุระบุรีและอันดามันตอนเหนือ แตมี ทาเรือประมงพาณิชยขนาดใหญตั้งอยูใกลๆ และมีการปลอยน้ําเสีย ขยะมูลฝอย น้ํามันเครื่อง และ มลพิษอื่นๆ ลงสูแนวหญาทะเลดังกลาวเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นในบริเวณนี้ยังมีบอเลี้ยงกุง และ ชุมชนขนาดใหญอาศัยอยูอยางหนาแนน สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตมีผลเสียตอแหลงหญาทะเลที่ปากอาว คุระบุรีทั้งสิ้น ถาไมมีการควบคุมดูแลและจัดการที่ดี ในอนาคตอาจจะมีการสูญเสียหญาทะเลบริเวณนี้ อีกแหงและอาจจะมีการสูญเสียสัตวทะเลหายาก เชน พะยูน ไปจากพื้นที่นี้ก็ได และจะสงผลกระทบตอ แหลงทํามาหากินของชุมชนชายฝงในอนาคตก็เปนได กิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการ BMZ ที่เกี่ยวของกับการจัดการและอนุรักษในพื้นที่หญาทะเล เชน ไดมีการอนุรักษแนวหญาทะเลรวมกับชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ มีการกําหนดเขตการ จัดการแนวหญาทะเลรวมกันระหวางชุมชนที่ใชประโยชน อบต. และองคกรพัฒนาเอกชนตางๆ รวมทั้ง การติดตามการเปลี่ยนแปลงของแนวหญาทะเลรวมกับชุมชน ศูนยชีวะภูเก็ต ศูนยอนุรักษที่ 5 ภูเก็ต โดยเฉพาะแนวหญาทะเลที่อาวทุงนางดํา เพราะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากภัยสึนามิ นอกจากนั้น ยังมีการทํากิจกรรมการรณรงคอนุรักษหญาทะเลรวมกับกลุมเยาวชน เพื่อใหชุมชนและผูที่อาศัยที่ บริเวณปากแมน้ําเกิดความเขาใจถึงความสําคัญของระบบนิเวศหญาทะเล รวมทั้งสาเหตุที่ทําใหเกิดผล กระทบตอระบบนิเวศหญาทะเลอีกดวย

175


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การพัฒนาศักยภาพขององคกรชุมชน นอกจากนั้นการพัฒนาศักยภาพของกลุมองคกรชุมชนตางๆ ที่รวมดําเนินกิจกรรมโครงการและ การสรางเครือขายชุมชนใหมีความเขมแข็งก็มีความจําเปนอยางยิ่ง ทางโครงการจึงจัดใหมีการศึกษาดู งานในดานตางๆ และการรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุมอื่นๆ ทั้งในและนอกพื้นที่ ที่เปนงานที่เกี่ยวของ กับกิจกรรมตางๆ ที่กลุมนั้นดําเนินการและเปนงานที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการกลุมและองคกร แกคณะกรรมการกลุมและสมาชิก รวมทั้งผูนําของชุมชนดวย รวมทั้งการฝกอบรมในดานตางๆ การ บริหารงบประมาณโครงการ การเขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนทุน การทําแผนที่ การนําเสนอและการ ทําสารคดีสั้น การเขียนรายงาน และการอบรมดานอาชีพตางๆ เปนตน นอกจากนั้นยังมีการพัฒนา ศักยภาพใหกลุมผูหญิงและคนไทยพลัดถิ่นในพื้นที่ดําเนินการอีกดวยรวมทั้งการสงเสริมอาชีพเสริมแก กลุมเปราะบางนี้ดวยเชนกัน เชน การสนับสนุนการใชประโยชนจากผลิตภัณฑจากแกกลุมคนไทยพลัดถิ่น การสนับสนุนการผลิตและดานการตลาดแกผลิตภัณฑกลุมแมบานบานบางลําพูและบานนา เปนตน ปจ จุบัน ไดเ กิด เครือ ขา ยภาคประชาชนในพื้น ที่ที่เ ขม แข็ง เชน เครือ ขา ยอนุรัก ษเ ขาแมน างขาว เครือขายทองเที่ยวโดยชุมชนอันดามันเหนือ เครือขายอนุรักษอาวกะเปอร เครือขายอนุรักษแมน้ําลํา คลอง และปจจุบันเครือขายชุมชนชายฝงในพื้นที่อันดามันตอนบนไดกลายเปนสวนหนึ่งของเครือขาย ชุม ชนชายฝง อั น ดามั น ที่ ศู น ย อ นุรั ก ษ ที่ 5 ภูเ ก็ ต และองค ก รพั ฒ นาเอกชนในพื้ น ที่ อั น ดามั น เป น ผู ผลักดันและสนับสนุนหลัก

สรุป การใชหลักการอนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศจากภูเขาสูทะเลมาประยุกตใชในพื้นที่ชายฝงอันดามัน นับวามีความเหมาะสมกับพื้นที่เปนอยางยิ่งเนื่องจากมีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมีความ หลากหลายทางชีวภาพสูง มีหลากหลายกลุมและหลายระดับในพื้นที่ชายฝงมีสวนรวมในการวางแผน และดําเนินกิจกรรมและรับผิดชอบการดําเนินงานรวมกันตามความถนัดในแตละพื้นที่ระบบนิเวศ กลุมเหลานี้มีความรูสึกวาเปนเจาของกิจกรรมการอนุรักษนั้นๆ และอยูบนความตองการของชุมชน จริงๆ และรวมทั้งมีการเขาถึงและใชประโยชนจากทรัพยากรที่กลุมตางๆ ไดทําการอนุรักษและดูแล รวมถึงการเฝาระวังอยางชาญฉลาด ตลอดจนมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรในระดับ ทองถิ่น และเกิดเครือขายอนุรักษในระดับชุมชนและในระดับภูมินิเวศที่เขมแข็งที่จะจัดการและดูแล ทรัพยากรเพื่อความยั่งยืนในอนาคต

176


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นทีโ่ ครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอม แหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ Fecundity, Hatchability, Survival and Growth of Sesarmid Crabs (Episesarma versicolor Tweedie) Collected from Mangrove Area. The King’s Royalty Initiated Laem Phak Bia Environmental Research and Development Project

พรกมล สิงหคํา1 ศ.วิทย ธารชลานุกิจ2 ผศ.ดร.สุรัตน บัวเลิศ3 ผศ.ดร.เรืองวิชญ ยุน พันธ4 1

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี 76100 2,4 ศูนยพัฒนาเทคโนโลยีอาหารสัตวน้ํา คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 2,3 วิทยาลัยสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดยอ การสํารวจเบื้องตนของปูแสมเพศเมียโดยไมระบุชนิด ระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549–ตุลาคม พ.ศ. 2550 และการศึกษาความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) ในพื้นที่ปาชายเลนโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอม แหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี พบวา แมปูแสมทุกชนิดนั้นมีไขแกนอก กระดองตลอดทั้งป แตจะพบชุกชุมมากใน 2 ชวง คือชวงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม และชวงเดือนมีนาคมเมษายน โดยเฉพาะแมปูแสมกามขาวที่มีไขนอกกระดองจํานวน 310 ตัว ในระหวางเดือนมิถุนายน– สิงหาคม พ.ศ. 2551 พบแมปูมีความดกไขเฉลี่ย 56,406±18,088 ฟอง และความสัมพันธระหวาง น้ําหนักกับความดกไขดังสมการ y=1,738.7x+12,489 (R2=0.2486; p<0.01) ในการทดลองเพาะเลี้ยง พบอัตราการฟกเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 76.90 อัตรารอดของลูกปูแสมวัยออน พบวา ระยะ Zoea ระยะ Megalopa และระยะ First crab มีอัตรารอดเฉลี่ยรอยละ 18.43, 4.53 และ 50.29 ตามลําดับ การ เจริญเติบโตของลูกปูมีน้ําหนักเฉลี่ยเทากับ 0.0108 กรัม และความกวางของกระดองโดยประมาณ เฉลี่ ย เท า กั บ 0.49 มิ ล ลิ เ มตร ผลที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาสามารถนํ า ไปใช เ ป น แนวทางในการจั ด การ ทรัพยากรปูแสมในพื้นที่ของโครงการฯใหมีประชากรมากขึ้น ซึ่งเปนประโยชนตอชาวประมงในพื้นที่ สืบไป คําสําคัญ: ความดกไข, อัตราการฟก, อัตรารอดและการเจริญเติบโตของปูแสม, ปูแสม, ปาชายเลน แหลมผักเบี้ย


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The basic survey of females sesarmid crab during November 2006 to October 2007 and study on fecundity, hatchability, survival and growth of sesarmid crabs (Episesarma versicolor Tweedie) was conducted both in mangrove area at the Initiated Laem Phak Bia Environmental Research Phetchaburi province. The results showed that gravid females could be seen all year round but the peaks were in August-October and March-April. Next time the 310 gravid females sesarmid crab were collected randomly during June to August 2008.The crabs were measured and weighted, laid eggs were weighted and counted and the fertilized were hatched in aquaria. The mean fecundity of the average body weight female crab was 56,406±18,088 eggs.The body weight - fecundity relationship were y=1,738.7x+12,489 (R2=0.2486; p<0.01), basic nursing shown the average hatching rate of sesarmid crab were 76.90 % survival rates from Zoea, Megalopa and First crab were 18.43, 4.53 and 50.29 %, respectively. The growth of sesarmid crab larvae had mean weight of 0.0108 g. and mean carapace width of 0.49 mm. The results obtained from the study can be used as a guide for managing the sesarmid crab to increase population and sustainability for fishermen in the area. Keyword:

Fecundity, Hatchability, survival and growth of sesarmid crabs, Episesarma versicolor, Laem Phak Bia mangrove

บทนํา ปาชายเลนเปนระบบนิเวศที่มีความสําคัญมาก เนื่องจากเปนระบบนิเวศที่อยูระหวางระบบนิเวศ บกกับระบบนิเวศน้ํา เปนแหลงที่มีคุณคาทางนิเวศโดยเฉพาะสัตวน้ํา เนื่องจากปาชายเลนเปนแหลง อาศัยของสัตวน้ําวัยออน และสัตวหนาดินจําพวกปู หอยชนิดตางๆ อีกทั้งเปนแหลงรองรับตะกอนที่มา จากที่ตางๆ รวมถึงเปนแหลงกรองของเสียที่สําคัญ จึงมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ํา ดิน ซึ่งเปนปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่มีผลตอสัตวน้ําเปนอยางยิ่ง ปูแสมเปนสัตวน้ําที่อาศัยอยูในปาชายเลน เปนปูที่อยูในวงศ Grapsidae สุรินทร (2516) กลาว วาในอาวไทยมีอยู 37 ชนิด สวนเฉลิมวิไล (2525) กลาววาปูพวก Grapsid ในอาวไทยมีอยูราว 38 ชนิด ปูแสมจัดเปนสัตวน้ําที่สําคัญชนิดหนึ่งของไทย ปจจุบันมีการนํามาบริโภคมากขึ้นโดยเฉพาะ นํามาทําปูดองหรือปูเค็ม ซึ่งพัน (2544) ไดศึกษาอนุกรมวิธานของปูแสม(Grapsidae) ในอาวปตตานี กลาววา ปูแสมที่ชาวบานนิยมนํามาทําเปนปูเค็ม 3 ชนิด คือ (Varuna litterata), (Episesarma mederi) และ (Episesarma vesicolor) การบริโภคจึงทําใหมีการจับปูแสมตามธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น รวมถึงเปน การทําลายสภาพปาชายเลนธรรมชาติ ซึ่งเปนบริเวณถิ่นที่อยูอาศัยและแหลงอาหารของปูแสมอีกดวย การจับปูแสมของชาวบานจึงสงผลใหปูแสมตามธรรมชาติลดลงอยางรวดเร็ว สงผลกระทบตอระบบ นิเวศในพื้นที่ปาชายเลน และที่สําคัญปูแสมที่อาจเหลือรอดเปนพอพันธุ แมพันธุ ไมสามารถวางไขเพื่อ เพิ่มปริมาณปูแสมคืนสูธรรมชาติไดอยางเพียงพอ นอกจากนี้บทบาทของปูแสมตามที่(ณิฏฐารัตน และ คณะ, 2546) ไดกลาววา ปูแสมนับวามีบทบาทสําคัญมากทางดานนิเวศวิทยาโดยกิจกรรมหลายอยาง ของปูแสมลวนสงผลตอความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศปาชายเลน เชน พฤติกรรมการกินอาหาร 178


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ของปูแสมที่กินพวกซากพืชซากอินทรียสารตางๆ เปนการชวยลดระยะเวลาในการยอยสลายอินทรีย สารเหลานี้ใหเร็วขึ้นสงผลใหเกิดการหมุนเวียนธาตุอาหารไดอยางมีประสิทธิภาพ และพบวาการขุดรู ของปูแสมยังมีสวนชวยในการเพิ่มความรวนซุย และเพิ่มปริมาณออกซิเจนในดินอีกดวย ปา ชายเลนบริ เ วณโครงการศึก ษาวิ จั ย และพัฒ นาสิ่ ง แวดล อ มแหลมผั ก เบี้ ยอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี เปนพื้นที่หนึ่งที่พบปูแสมอาศัยอยูเปนจํานวนมาก นฤชิต (2544) รายงานวา พบปูครอบครัว Grapsidae จํานวน 10 ชนิด ซึ่งมีปูแสมจํานวน 4 ชนิด และมีชาวบานเขาไปใชประโยชน ดวยการจับปูแสมเพื่อนํามาบริโภคและขายเปนรายไดสูครอบครัว จากการศึกษารายงานการวิจัย เกี่ยวกับปูแสมของไทยในปจจุบัน ปูแสมชนิด (E. versicolor) ยังมีการศึกษานอย ทางผูวิจัยจึงจําเปน ตองทําการศึกษาเพื่อหาขอมูลเพิ่มเติม ทั้งนี้เพื่อเปนการสนับสนุนงานวิจัยดานนี้ ดังนั้นไมวาจะเปน การศึกษาความดกของไข อัตราการฟก การเจริญเติบโตและอัตรารอดของปูแสม จึงมีความสําคัญและ จะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการนําไปใชเพื่อการเพาะเลี้ยงปูแสม ทั้งเพื่อการประกอบเปนอาชีพ หรือเปนการอนุรักษเพื่อใหมีปูแสมในระบบนิเวศปาชายเลนที่สมบูรณ รวมถึงเปนการเพิ่มปริมาณปูแสม ในธรรมชาติ อันนําไปสูการวางแผนเพื่อการอนุรักษทรัพยากรปูแสม และสภาพแวดลอมปาชายเลน ของโครงการฯในอนาคต วัตถุประสงค 1. เพื่อสํารวจเบื้องตนของปูแสมเพศเมียบริเวณโครงการฯ และศึกษาชีววิทยาบางประการของ ปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor) ไดแก ความดกไขและความสัมพันธระหวางความ ดกไขกับน้ําหนักตัว 2. เพื่อศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการของน้ํา ไดแก อุณหภูมิ ความเปนกรด-ดาง ความ เค็ม และปริมาณออกซิเจนละลายน้ําบริเวณปาชายเลนของโครงการฯ 3. เพื่อทดลองเบื้องตนในการฟกไขและอนุบาลลูกปูแสมกามขาว (E. versicolor) วิธีการศึกษา 1. พื้นที่ศึกษาและแผนการสํารวจปูแสมบริเวณโครงการฯ รวบรวมปูแสมเพศเมียในระยะเวลาหนึ่งปคือตั้งแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2549 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550ในบริเวณปาชายเลนธรรมชาติซึ่งครอบคลุมบริเวณประมาณ 7.8 ไร ของพื้นที่บริเวณ โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตําบลแหลมผักเบี้ย อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยการวางแปลงตามแนวสะพานเสนทางศึกษาธรรมชาติปาชายเลน จนถึงดานหนาทะเล จํานวน 5 แปลง พื้นที่แปลงละ 50x50 ตารางเมตร ดังภาพที่ 1

179


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพที่ 1 บริเวณพื้นที่ในการศึกษาปูแสมและปจจัยสิ่งแวดลอมของน้าํ ในโครงการฯ

2. การศึกษาชีววิทยาบางประการของแมพันธุปูแสม (E. versicolour) 2.1 การศึกษาความดกไขของปูแสม (Fecundity) ทําการรวบรวมแมพันธุปูแสมที่มีไขนอกกระดอง (ภาพที่ 2) ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษาเฉพาะปูแสม ชนิด (E. versicolour) บริเวณแนวปาแสมดานติดชายทะเล โดยทําการสุมเก็บตัวอยางแมปูแสมกระจาย ทั่วพื้นที่ศึกษา ตั้งแตเดือนมิถุนายน-สิงหาคม พ.ศ. 2551 เดือนละ 2 ครั้ง ไดจํานวน 310 ตัว นํามา ทํา การวัดขนาดความกว างและความยาวของกระดอง จากนั้นนํ าไปชั่งน้ํ าหนักดวยเครื่องชั่งไฟฟ า ทศนิยม 4 ตําแหนงโดยชั่งน้ําหนักตัวของปูแสมกอน แลวครูดไขปูออกจากจับปงเพื่อชั่งน้ําหนักสด ทั้งหมด จากนั้นสุมตัวอยางไข (small sample) ประมาณ 5-6 เปอรเซ็นตแลวแยกออกเปน 3 ซ้ํา เทาๆกันเพื่อนํามาประเมินความดกไข ตามวิธีการของ Lagler (1950) และหาคาความดกไขสัมพัทธ (Relative fecundity) จากสูตร

ความดกไขสัมพัทธ = จํานวนไข(ฟอง) น้ําหนักแมปูที่ชั่งได (กรัม) ภาพที่ 2 ปูแสมที่มีไขนอกกระดอง

180


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

3. การทดลองฟกไขและอนุบาลลูกปูแสมวัยออน 3.1 การศึกษาอัตราการฟกไขของปูแสม นําแมปูแสมที่มีไขแกนอกกระดอง โดยคัดเลือกแมปูแสมที่มีไขเปนสีคล้ําน้ําตาลเทา (ไขปูจะ คอยๆพัฒนาจากไขออน ซึ่งมีสีเหลือง สีสม จนเปนสีน้ําตาลเขมออกมวงจนถึงสีเทาดํา ตามลําดับ)และ มีจุดตาสีดําอยูภายในไข โดยทําการวัดขนาดและชั่งน้ําหนักแมปู จากนั้นนํามาเลี้ยงเพื่อใหแมปูฟกเปน ตัวออนในตูกระจกขนาด 23x46x28.5 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่มีความเค็มของน้ํา 25 พีพีที ระดับความ ลึกของน้ําประมาณ 15 เซนติเมตรโดยใชแมปูจํานวน 5 ตัว ทําการขุนแมปูแสมดวยเนื้อปลาเปด บดละเอียดในเวลาเชา และเย็น จนไขฟกออกเปนตัวแลวจึงนําแมปูออกจากตู จากนั้นสุมตัวอยางลูกปูแสม วัยออนดวยการใชบีกเกอรขนาด 100 มิลลิลิตร ตักสุมลูกปูในตูกระจกที่มีน้ําปริมาตร 15 ลิตร มา 5 ครั้ง เพื่อนับจํานวนลูกปูที่ได จากนั้นจึงคํานวณกลับเปนจํานวนลูกปูในปริมาตร 15 ลิตร แลวนํามาคํานวณ หาคาอัตราการฟกตามสูตรดังนี้ อัตราการฟก(เปอรเซนต) =

จํานวนลูกปูแรกฟกที่นับได (ตัว) x 100 จํานวนไขปูที่นําไปฟก* (ฟอง) * จํานวนไขปูที่นําไปฟกนั้น ทําการประมาณจํานวนโดยอิงจากการศึกษาความดกของไขครั้งที่ผานมา

3.2 การศึกษาอัตรารอดและการเจริญเติบโต ทําการทดลองอนุบาลตามระยะพัฒนาการของปูวัยออน (Larval stage of the crab) ซึ่งนําลูกปู วัยออนจากการเพาะพัน ธุขา งตน มาแบง ใสตูก ระจกขนาด 12.5x25.5x15.3 ลูก บาศกเ ซนติเ มตร จํานวน 15 ตู โดยทําการสุมตัวอยางมาอนุบาลลูกปูแสมวัยออนในระยะ Zoea จากแมพันธุทั้ง 5 ตู มา ตูละ 600 ตัว แยกอนุบาลจํานวน 3 ตูๆละ 200 ตัวในน้ําปริมาตร 3 ลิตร ที่มีความเค็ม 25 สวนในพัน จากนั้นใหคอยๆลดความเค็มลงจนเหลือ 15 สวนในพัน(โดยคํานวณการเติมน้ําจืดลงในตูทดลองจาก สูตร m1v1 = m2v2) ใหอากาศตอเนื่องตลอดเวลา และใหโรติเฟอรกินเปนอาหารในปริมาณมากเกิน พอดีเล็กนอยวันละ 2 ครั้ง (เชา-เย็น) และเมื่อสังเกตวาลูกปูเขาสูระยะ Megalopa ซึ่งระยะนี้ใชเวลา อนุบาลประมาณ 10 – 15 วัน จึงคอยเปลี่ยนอาหารเปนไรน้ําเค็ม ระยะ Megalopa-First crab จะใช เวลาอีกประมาณ 10 – 15 วัน ลูกปูระยะนี้มีการกินกันสูงมาก ระยะนี้จะใหวัสดุในการหลบซอนโดยใช ตาขายสีฟาเพื่อใหลูกปูเกาะยึด เมื่อสังเกตลูกปูมีลักษณะเหมือนพอแมควรลดปริมาณน้ําใหนอยลงแลว หากิ่งและใบแสมใสไวในตูทดลอง สังเกตพฤติกรรมแลวนํามาชั่งน้ําหนักและขนาด เมื่อสิ้นสุดการ ทดลองทําการตรวจสอบอัตรารอดโดยทําการประเมินตามสมการ อัตราการรอดตาย (เปอรเซนต) = จํานวนลูกปูที่เหลือรอดเมื่อสิ้นสุดการทดลอง(ตัว) x 100 จํานวนลูกปูที่ปลอยในตู (ตัว)

181


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

3.3 การวิเคราะหคุณภาพน้ําในระหวางการฟกไขและอนุบาลลูกปูแสมวัยออน ทําการวิเคราะห ทุกๆ 7 วัน ซึ่งคุณภาพน้ําที่ทําการวิเคราะห ไดแก อุณหภูมิของน้ํา ความเค็ม และออกซิเจนละลายวัด โดยใชเครื่อง YSI Model 85 คาความเปนกรด-ดางของน้ําวัดโดยใชเครื่องวัดพีเอช YSI 63 ความเปน ดาง ปริมาณไนไตรท และปริมาณแอมโมเนีย ตรวจวัดโดยอิงวิธีของ APHA, AWWA and WPCF (1995) 4. การวิเคราะหขอมูล คํานวณหาความสัมพันธระหวางความดกไขกับน้ําหนักของตัวปู และความสัมพันธระหวาง ความดกไขกับความกวางของกระดอง โดยใชวิธีสมการถดถอย (Regression Analysis) ซึ่งหาความสัมพันธ ของจํานวนไข (F) ฟอง กับน้ําหนักตัวปู (W) ตามสมการที่ฐิติทิพยและบุญชัย (2547 อางถึง Tan, 1973) ไดดังนี้

แทนคาในการวิเคราะหครั้งนี้คือ เมื่อ

F = a+bW F = จํานวนไข (ฟอง) W = น้ําหนักตัวปู (กรัม) a,b = คาคงที่,คาสัมประสิทธ

การวิเคราะหทางสถิติ นําขอมูลของคุณภาพน้ําจากการตรวจวัดในภาคสนามของการศึกษา ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการของน้ํา และคุณภาพน้ําระหวางการฟกไขและอนุบาลลูกปูแสมวัยออน มา หาคาเฉลี่ย±คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใชโปรแกรม SPSS for Windows Release 11.5 5. การศึกษาคุณภาพน้ําในปาชายเลน ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ําในปาชายเลนในวันเดียวกันกับการเก็บตัวอยางปูแสมชวงเวลาน้ําขึ้น สูงสุด ดวยเครื่องมือวัดคุณภาพน้ําภาคสนาม ซึ่งกําหนดจุดเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําออกเปน 2 สวน คือ 1) พื้นที่ดานหนาทะเลนอกเขตปาชายเลน จํานวน 2 จุด ซึ่งหางจากปลายสะพาน 50 เมตร และ 100 เมตร 2) พื้นที่ตามแนวสะพานเขามาดานในปาชายเลน จํานวน 7 จุด ระยะหางกันจุดละ 100 เมตร ผลการศึกษาและวิจารณ 1. การสํารวจเบื้องตนของปูแสมเพศเมียในพื้นที่ปาชายเลนบริเวณโครงการฯ จากการสํารวจเบื้องตนของปูแสมเพศเมียทุกชนิดในพื้นที่ปาชายเลนของโครงการศึกษาวิจัย และพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในระยะเวลา 1 ป คือตั้งแตเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 พบปูแสมจํานวน 3 ชนิด ไดแก ปูแสมกามขาว 182


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

(E.versicolor) ปูแสมกามแดง (Episesarma singaporense) และปูแสมกามทอง (Sesarma eumolpe) จากการศึกษามีน้ําหนักตัวเฉลี่ยทั้งหมด 23.63 กรัม มีความดกไขปูเฉลี่ย 64,579 ± 26,252 ฟอง จํานวนแมปูแสมที่มีไขนอกกระดองในรอบป เปรียบเทียบกับจํานวนประชากรปูแสมตัวเมียที่สุมจับได ในแตละเดือน พบวา เดือนที่พบปูแสมที่มีไขนอกกระดองมากที่สุด ไดแกเดือนพฤษภาคม ตุลาคม กรกฎาคม และกันยายน พ.ศ. 2550 จํานวนที่พบคือ 57, 51, 48, และ 35 ตัว ตามลําดับ เดือนที่พบไข ปูนอกกระดองนอยที่สุดไดแก เดือนกุมภาพันธ มกราคม สิงหาคม พ.ศ. 2550 และธันวาคม พ.ศ. 2549 จํานวนที่พบคือ 8, 9, 9 และ13 ตัว ตามลําดับ สวนเดือนที่ไมพบไขนอกกระดองเลย ไดแกเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 (ภาพที่ 3) จํานวนแมปูแสมมีไขที่พบในรอบป

90

80

70

60

50 จํานวนปู (ตัว)

ตัวเมียมีไข ตัวเมียไมมีไข

40

30

20

10

0 พ.ย.-06 ธ.ค.-06

ม.ค.-07 ก.พ.-07 มี.ค.-07 เม.ย.-07 พ.ค.-07 มิ.ย.-07 ก.ค.-07 ส.ค.-07 ก.ย.-07 ต.ค.-07 เดือน/ป

ภาพที่ 3 จํานวนตัวอยางแมปูแสมทุกชนิดที่พบในรอบป

สําหรับความดกไขของปูแสมในรอบหนึ่งปโดยไมไดจําแนกชนิดนั้น เปนขอมูลโดยภาพรวมของ ชวงฤดูวางไขของปูแสมในบริเวณโครงการฯ ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความดกไขของปูแสมมากที่สุดไดแก เดือนกันยายน สิงหาคม และตุลาคม พ.ศ. 2550 ความดกของไขเฉลี่ยในแตละเดือน คือ 81,826 ฟอง 75,670 ฟอง และ 74,622 ฟอง ตามลําดับ สวน เดือนที่มีความดกของไขนอยที่สุด ไดแก เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม พ.ศ. 2549 และเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ความดกของไขเฉลี่ยในแตละเดือน คือ 0.00 ฟอง 34,1886 ฟอง และ 45,719 ตามลําดับ ดังนั้นจึงกลาวไดวาชวงฤดูที่มีการวางไขชุกชุมของปูแสมในบริเวณปาชายเลนของโครงการฯ ระหวาง เดือนสิงหาคมถึงตุลาคม และอีกชวงคือระหวางเดือนมีนาคมถึงเมษายน (ภาพที่ 4)

183


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” จํานวนไขเฉลี่ย 100,000.00 90,000.00 80,000.00

จํานวนไข (ฟอง)

70,000.00 60,000.00 จํานวนไขเฉลี่ย

50,000.00 40,000.00 30,000.00 20,000.00 10,000.00

พ .ย .07

ก. ย. -0 7

ส. ค. -0 7

ม.ิ ย. -0 7

เม .ย .07

ม.ี ค. -0 7

ม. ค. -0 7

พ .ย .06

ต. ค. -0 6

0.00

เดือน

ภาพที่ 4 ความดกไขของปูแสมในรอบหนึ่งป

2. ความดกไขและความสัมพันธระหวางความดกไขกับน้ําหนักตัวปูแสม (E. versicolor) จากการศึกษาความดกไขปูแสม (E. versicolor) จํานวน 310 ตัว พบวา ปูแสมเพศเมียที่มีไข นอกกระดองมีชวงความกวางของกระดองระหวาง 26 - 38 มิลลิเมตร มีคาเฉลี่ย ± คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( x ±SD) เทากับ 32.57 ± 2.16 มิลลิเมตร มีนา้ํ หนักตัวของแมปูอยูในชวง 9.9083 - 40.4616 กรัม มีคาเฉลี่ย ± คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( x ±SD) เทากับ 25.2582 ± 5.1862 กรัม โดยมีความดกไขของปู แสมปริมาณต่ําสุดจํานวน 18,800 ฟอง และมีปริมาณไขสูงสุดจํานวน 175,000 ฟอง ซึ่งมีความดกไข เฉลี่ย เทากับ 56,406 ± 18,088 ฟอง ความดกไขสัมพัทธเฉลี่ยเทากับ 2,260 ฟอง/น้ําหนักแมปู ซึ่งมี ความสอดคลองกับงานวิจัยของบัญชาในป 2549 เรื่องนิเวศวิทยาและชีววิทยาประมงของปูแสมสกุล Neoepisesarma ในปาชายเลนอาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ทีไ่ ดทําการศึกษาความดกไข ของปูแสม (N. mederi) ตั้งแตขนาดความกวางกระดอง 26.09 – 33.24 มิลลิเมตร พบวามีความดกไข อยูในชวง 9,428 – 91,568 ฟอง รวมถึงงานวิจัยของฐิติทพิ ย และบุญชัยในป 2547 ไดทําการศึกษา เรื่องการเพาะพันธุและอนุบาลปูแสม (Episesarma mederi H.Milne) (Edward,1854) วัยออนในความ เค็มตางกัน ซึ่งศึกษาความดกของไขปูแสมดวยและพบวา แมปูแสมขนาดความกวางกระดองระหวาง 2.42-3.30 เซนติเมตร น้ําหนัก 12.80-32.00 กรัม มีความดกของไข 18,300-51,810 ฟอง เฉลี่ย 47,755 ± 15,348 ฟอง และมีคาใกลเคียงกับการศึกษาของสุวรรณา (2519) ไดศึกษาความดกของไข ของปูแสม (N. mederi) ในปาชายเลนคลองครุ จังหวัดสมุทรสาคร พบวาปูแสมขนาดความกวาง 184


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

กระดอง 27.50 – 39.00 มิลลิเมตร จะมีความดกของไขอยูใ นชวง 10,125 – 81,150 ฟอง จากปูแสม จํานวน 310 ตัวเมื่อนํามาทดสอบความสัมพันธระหวางความดกไขกับน้ําหนักตัวปูแสม พบวาความดก ไขและน้ําหนักตัวแมปูแสมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99 % (P<0.01) แสดงวา ความดกไขมคี วามสัมพันธกับน้ําหนักตัวปูแสมคิดเปนรอยละ 49.90 เมือ่ นํามาทํากราฟวิเคราะห ความสัมพันธจะมีคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) เทากับ 0.2486 แสดงวาน้ําหนักตัวปูแสมมีอิทธิพล ตอความดกไขเพียงรอยละ 24.86 ดังภาพที่ 5 ความสั มพันธระหวางความดกไข กับน้ําหนักตัวปู

จํานวนไขปู (ฟอง)

200,000 y = 1738.7x + 12489

150,000

R2 = 0.2486

100,000 50,000 0 0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

น้ําหนักตัวปู (กรัม)

ภาพที่ 5 ความสัมพันธระหวางความดกไขกับน้ําหนักตัวปูแสม

3. อัตราการฟก อัตรารอดและการเจริญเติบโตของปูแสมวัยออน จากตัวอยางแมพันธุปูแสมจํานวน 5 ตัว อัตราการฟกของปูแสมที่ทําการทดลองในเบื้องตนนี้ พบวา คาอัตราการฟกเฉลี่ยของปูแสมทั้งหมดคิดเปนรอยละ 76.90 อัตรารอดของลูกปูแสมวัยออน (ภาพที่ 6-7) พบวา ระยะ Zoea ระยะ Megalopa และระยะ First crab มีอัตรารอดเฉลี่ยรอยละ 18.43, 4.53 และ 50.29 ตามลําดับ ซึ่งอัตรารอดต่ําสุดจะอยูในชวงระยะ Megalopa เนื่องจากมีการกินกันเอง สูง เมื่อทดลองอนุบาลตอไปอีก 20 วัน อัตรารอดของระยะ First crab มีอัตรารอดเฉลี่ยรอยละ 27.59 สวนการเจริญเติบโตของลูกปูแสมวัยออน ตลอดการทดลอง 50 วันนั้น พบวาการเจริญเติบโตของลูกปูแสม ระยะ First crab มีชีวิตรอดเพียงจํานวน 11 ตัว มีลักษณะรูปรางเหมือนพอแมแตมีขนาดเล็กกวามาก พบการลอกคราบในตูทดลอง เมื่อนํามาชั่งน้ําหนักพบลูกปูแสมมีน้ําหนักอยูในชวง 0.0051 - 0.0195 กรัม มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.0108 กรัม ความกวางของกระดองโดยประมาณอยูในชวง 0.40 – 0.58 มิลลิเมตร มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.49 มิลลิเมตร จากการศึกษาของฐิติทิพย และบุญชัย (2547) พบวาชวงระยะเวลา ในการเจริญของปูแสม (N. mederi) ตั้งแตเริ่มฟกออกจากไขเปนตัวออนจนถึงระยะที่เปนลูกปูในระยะแรกนั้น

185


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

มีความกวางกระดอง 1.00 มิลลิเมตร จะใชเวลาประมาณ 45 วัน แสดงใหเห็นวาการเจริญเติบโตของปู แสมตั้งแตฟกออกจากไขจนมีขนาดโตพอที่จะเขาขายการทําประมงนั้น จะตองใชเวลามากกวา 45 วัน

(1)

(2)

ภาพที่ 6 (1) ระยะโซเอีย้ (Zoea) (2) ระยะ Megalopa ของลูกปูแสมวัยออน

ภาพที่ 7 ลักษณะลูกปูแสมวัยออนที่เหลือรอด

186


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

จากการทดลองเพาะเลี้ยงปูแสมในเบื้องตนสามารถเขียนแบบระยะพัฒนาการของการเจริญเติบโตของ ปูแสมไดดังภาพที่ 8

ภาพที่ 8 ระยะพัฒนาการของตัวออนปูแสม

4. การศึกษาแนวทางการจัดการเพิ่มผลผลิตปูแสมในบริเวณปาชายเลนธรรมชาติของ โครงการฯ เพื่อใหเกิดแนวทางการจัดการในการอนุรักษปูแสม จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรปูแสม ในบริเวณปาชายเลนของโครงการฯ ทํ าใหมีแผนการจัดการสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศป าชายเลน เกี่ยวกับปูแสมในบริเวณโครงการฯ เชน 1) สนับสนุนการมีสวนรวมภาคประชาชนระหวาง โครงการฯ กับชาวบานบริเวณโครงการฯ และพื้นที่ใกลเคียง โดยการเสวนาและขอความรวมมือ หาขอตกลงใน การงดจับปูแสมที่มีไขนอกกระดอง และงดจับปูแสมในชวงฤดูวางไขชุกชุมเพื่อการอนุรักษปูแสม 2) กําหนดมาตรการและข อตกลงระหวางชาวบ านในการเขาไปใช พื้น ที่ปาชายเลนธรรมชาติ ข อง โครงการฯ 3) หามจับปูแสมที่มีขนาดเล็ก เพื่อใหปูแสมเพศเมียมีโอกาสไดวางไข 4) หามจับปูแสมเพศ เมียที่มีไขนอกกระดอง 5) สรางความตระหนักเกี่ยวกับคุณคาและความสําคัญของปูแสมที่มีตอระบบ นิเวศปาชายเลนรวมถึงประชาสัมพันธเกี่ยวกับมาตรการการอนุรักษปูแสมใหชาวบานเขาใจ 6) ฟนฟู และใหความสําคัญกับระบบนิเวศปาชายเลน 7) สงเสริมอาชีพทดแทนหรืออาชีพเสริม เพื่อลดปริมาณ การทําการประมงในระบบนิเวศปาชายเลน 8) ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยดานการอนุรักษปูแสม 9) ควรมีการเผยแพรความรูและทําความเขาใจกับชาวประมงอยางตอเนื่อง ทั้งนี้แนวทางการจัดการทรัพยากรปูแสมและระบบนิเวศปาชายเลนตางๆ ก็เพื่อใหมีทรัพยากรปู แสมดํารงอยูตามธรรมชาติอยางสมดุล อันจะสงผลดีตอระบบนิเวศปาชายเลนอยางอุดมสมบูรณ และมี ประโยชนกับมนุษยอยางตอเนื่องสืบไป

187


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

5. การศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการของน้ําในปาชายเลน สําหรับปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการของน้ําในปาชายเลน ไดแก อุณหภูมิ ความเปนกรดดา ง ความเค็ ม และปริ มาณออกซิเ จนละลายน้ํ า พบว า อุณ หภู มิ อ ยูใ นช ว ง 23.33 - 31.07 องศา เซลเซียส ความเปนกรด-ดางอยูในชวง 7.17 - 7.94 ความเค็มอยูในชวง 24 - 35 พีพีที และปริมาณ ออกซิ เจนละลายน้ําอยู ในชว ง 1.43 - 7.50 มิล ลิก รัม ตอ ลิต ร ป จจั ยดั ง กลาวสามารถส งผลต อ การ ดํารงชีวิตของปูแสมโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงความเค็มซึ่งจะทําใหลูกปูแสมที่มีขนาดเล็กทนทานตอ ความเค็มในชวงที่แคบกวาปูแสมตัวเต็มวัย อยางไรก็ตามคุณภาพน้ําในบริเวณปาชายเลนนี้ยังมีความ เหมาะสมตอการอยูอาศัยของปูแสมตามธรรมชาติ

สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาวิจัยดังกลาวสรุปไดวาปูแสมเพศเมีย 3 ชนิด ไดแก ปูแสมกามขาว (E.versicolor) ปูแสมกามแดง (Episesarma singaporense) และปูแสมกามทอง (Sesarma eumolpe) มีไขนอก กระดองตลอดทั้งป จะพบชุกชุมมากใน 2 ชวง คือชวงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม และชวงเดือนมีนาคมเมษายน ส ว นการศึ ก ษาเฉพาะปู แ สมก า มขาวจํ า นวน 310 ตั ว พบแม ปู มี ค วามดกไข เ ฉลี่ ย 56,406±18,088 ฟอง มีความสัมพันธระหวางความดกของไขกับน้ําหนักเปนไปในทิศทางบวก การ ทดลองเพาะเลี้ยงเบื้องตนพบอัตราการฟกเฉลี่ยของปูแสมรอยละ 76.90 อัตรารอดต่ําสุดจะอยูในชวง ระยะ Megalopa และการเจริญเติบโตเปนไปตามพัฒนาการของลูกปูระยะตางๆ สวนคุณภาพน้ําในปา ชายเลนมีความเหมาะสมตามเกณฑธรรมชาติ ผลที่ไดจากการศึกษาสามารถนําไปใชเปนแนวทางใน การจัดการทรัพยากรปูแสมในพื้นที่ของโครงการฯ เพื่อเปนการอนุรักษทรัพยากรปูแสมใหคงอยูสืบไป กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา โครงการศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นาสิ่ ง แวดล อ มแหลมผั ก เบี้ ย อั น เนื่องมาจากพระราชดําริ ที่สนับสนุนทุนวิจัยในครั้งนี้ ขอบพระคุณศาสตราจารยวิทย ธารชลานุกิจ และ คณะอาจารยที่ใหคําปรึกษาดวยดีเสมอมา และขอบคุณเพื่อน พี่ นอง ทุกคนที่ชวยเหลือสําหรับการเก็บ ขอมูลภาคสนาม รวมถึงกําลังใจดีๆที่มีใหกันจนประสบความสําเร็จไปดวยดี

188


ความดกไข อัตราการฟก อัตรารอด และการเจริญเติบโตของปูแสมกามขาว (Episesarma versicolor Tweedie) บริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

เอกสารอางอิง เฉลิมวิไล ชื่นศรี. 2525. ปูแสมในทะเลไทย. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. ฐิติทิพย ดวงเงิน และบุญชัย เจียมปรีชา. 2547. การเพาะพันธุและอนุบาลปูแสมวัยออนในความเค็มตางกัน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 65/2547 กรมประมง ศูนยวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุงทะเลจังหวัด สมุทรสงคราม, สมุทรสงคราม. ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ. 2546. คูมือวิธีการประเมินแบบรวดเร็วเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมพื้นที่ฝงทะเล : ระบบนิเวศปาชายเลน. ประสุขชัยการพิมพ, กรุงเทพฯ. นฤชิต ดําปน. 2544. ทรัพยากรสัตวน้ําในพื้นที่ปาชายเลนบริเวณโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. บัญชา สบายตัว. 2549. นิเวศวิทยาและชีววิทยาประมงของปูแสมสกุล Neoepisesarma ในปาชายเลน อาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญาโท. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. พัน ยี่สิ้น. 2544. รายงานการวิจัยเรื่องอนุกรมวิธานของปูแสม (Grapsidae) ในอาวปตตานี. คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, ปตตานี.สุรินทร มัจฉาชีพ. 2516. ปูแสมในอาวไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. สุวรรณา จิตรสิงห. 2519. การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับชีวประวัติทางนิเวศวิทยาและพฤติกรรมบาง ประการของปูแสม. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. APHA, AWWA and WPCF. 1995. Standard Methods for the Examination of Water and Westwater. 21th edition American Health Publishers Association. Washington, D.C. 1,134 pp. Lagler, K.F. 1950. Study in Freshwater Fishery Biology. J.W. Edward, Ann Arbor, Michigan. 568 p. Tan, K, S. 1973. Fisheries biological Study of Groupers in the South China Sea. MFRD working papers of trainees, SEAFDEC. Vol.3, pp. 31-62.

189


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

190


สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน Limonoids from Xylocarpus spp.

ขนิษฐา พุดหอม1 ธเนศวร นวลใย2 ชนินทร สาริกภูติก3 วารินทร ระวังภัย4 1,2,4

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 โปรแกรมเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

3

บทคัดยอ จากการศึกษาองคประกอบทางเคมีของ seed kernel ของพืชสกุลตะบูน (Xylocarpus spp.) ทั้งสาม สายพันธุคือ ตะบูนขาว (X. granatum), ตะบูนดํา (X. moluccensis), และตะบัน (X. rumphii) พบวาได สารกลุมลิโมนอยดชนิดใหมทั้งหมด 13 ชนิด และที่มีรายงานแลว 16 ชนิด และจากการศึกษายังพบวา สถานที่และชวงเวลาในการเก็บตัวอยางมีผลทําใหสารที่ไดมีความแตกตางกัน เชนในกรณีของตะบูนดํา ที่เก็บจากจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดภูเก็ต สารลิโมนอยดที่แยกไดเกือบทั้งหมดไมแสดงฤทธิ์การ ตานเชื้อแบคทีเรีย และการแสดงความเปนพิษตอเซลลมะเร็งมีเพียงสารกลุม genudin เทานั้นที่แสดง ฤทธิ์ในการตานการอักเสบ และสารในกลุมนี้ไมแสดงความเปนพิษตอเซลลปกติ ซึ่งเปนขอดีในการที่ จะพัฒนาในดานเภสัชวิทยาตอไปในอนาคต คําสําคัญ: ตะบูนขาว, ตะบูนดํา, ตะบัน, ลิโมนอยด


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Chemical investigation on seed kernels of three mangrove plants belonging to the genus Xylocarpus (Meliaceae), including X. granatum, X. moluccensis and X. rumphii, led to the isolation of 13 new limonoids with structural diversity, along with 16 known derivatives. The study also revealed that limonoids were found in all Xylocarpus plants, but their distribution and content vary between different species. In addition, it was found that ecology system and sample collected period significantly affect the chemical constituents of plants in this genus, as observed in the case of X. moluccensis collected from Samutsongkram and Phuket province. Isolated limonoids were evaluated for their antimicrobial activity against nine pathogen bacterial strains, for their cytoxicity on five human tumor cell lines, and for their anti-inflammatory effect. Although most of them showed weak or no activity in antimicrobial and cytotoxicity assays, only gedunin-type limonoids exhibited significant inhibitory activity against nitric oxide (NO) production from activated macrophages, suggesting the compounds has anti-inflammatory activity. Importantly, this type limonoid did not display any significant acute toxicity on normal cell lines. Therefore these limonoids might be potential benefits for pharmaceutical uses in the future. Keyword:

Herbs, Xylocarpus granatum, Xylocarpus moluccensis, Limonoids

Xylocarpus rumphii,

บทนํา ปจจุบันการใชพืชสมุนไพรเพื่อเปนยารักษาโรคกําลังเปนที่สนใจ เนื่องจากมีความปลอดภัยและ มีผลขางเคียงนอย พืชปาชายเลนเปนอีกกลุมที่นาสนใจ เนื่องจากปาชายเลนมีความอุดมสมบูรณ และ มีความหลากหลายทางระบบนิเวศซึ่งสงผลตอโครงสรางขององคประกอบทางเคมีของพืชเหลานี้ดวย จากงานวิจัยที่ผานมาพบวาพืชปาชายเลนและปาชายหาดกวา 60 สายพันธุมีการนํามาใชเปนยารักษา โรค และเมื่อนําสารบริสุทธิ์ที่แยกไดจากพืชเหลานี้มาทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ พบวาใหผลการทดสอบ ที่สอดคลองกับการใชเปนยารักษาโรคแผนโบราณ เชน ตนโพทะเล (Thespesia populnea) ซึ่งแพทย พื้นบานไดนํามาใชเปนยาสมานแผลและฆาเชื้อในแผล มีขอมูลทางวิทยาศาสตรที่สนับสนุนภูมิปญญา คือ สารสกัดไดคลอโรมีเทน (dichloromethane) จากเนื้อไม (wood) และแกนไม (dark heartwood) สามารถยังยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค Bacillus subtilis, Staphylococcus aureus และ Enterococcus faecalis พืชสกุลตะบูน (Xylocarpus spp.) เปนพืชปาชายเลนที่จัดอยูในวงศ Meliaceae ซึ่งมีทั้งหมด สามชนิดคือ ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum), ตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) และตะบัน (Xylocarpus rumphii) จากการศึกษางานวิจัยที่ผานมาพบวา พืชในสกุล Xylocarpus มีสารกลุมลิโม นอยด เ ป น องค ป ระกอบทางเคมี ที่ สํา คั ญ โดยเฉพาะสารลิ โ มนอยด ป ระเภท phragmalin และ mexicanolide และสารกลุมนี้มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่นาสนใจ เชน ตานการกัดกินและฆาแมลง ตานการ 192


สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน

อักเสบ ยับยั้งเซลลมะเร็ง เปนตน งานวิจัยนี้มุงเนนที่จะศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดของ พืชทั้งสามชนิด วิธีการศึกษา วัสดุและอุปกรณ เมล็ดตะบูนขาว (X. granatum) เก็บจากจังหวัดสมุทรสงคราม ในเดือนธันวาคม 2551 เมล็ด ตะบูนดํา (X. moluccensis) เก็บจากจังหวัดสมุทรสงครามในเดือนพฤษภาคม 2552 และจากจังหวัด ภูเก็ตในเดือนธันวาคม 2552 และเมล็ดตะบัน (X. rumphii) จากจังหวัดระยอง ในเดือนเมษายน 2552 วิธีการทดลอง 1. นําเมล็ดตะบูนขาว, ตะบูนดํา และตะบัน มาผาและนําสวนในสุด (seed kernels) มาตาก แดดใหแหง บด และแชดวยตัวทําละลายเมธานอล (methanol) เปนเวลา 3 วัน 2. กรองและนําสวนเมธานอลที่ไดมาทําใหเขมขนโดยใชเครื่องระเหยสูญญากาศ 3. นําสารสกัดหยาบที่ไดมาทําการพารทิชัน (partition) ระหวางตัวทําละลายเอธิลอะซีเทท (EtOAc) และน้ํา 4. นําสวนสกัด EtOAc มาระเหยตัวทําละลายออกโดยใชเครื่องระเหยสุญญากาศ 5. นําสารสกัดหยาบมาแยกใหบริสุทธิ์โดยใชเทคนิค column chromatography และ HPLC 6. พิสูจนเอกลักษณของสารที่แยกไดโดยใชเทคนิคทาง spectroscopy เชน NMR, IR เปนตน 7. นําสารบริสุทธิ์ที่แยกไดมาทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย ความเปนพิษตอเซลลมะเร็ง และ ตานการอักเสบ ผลการศึกษาและวิจารณ การสกัดแยกสารจากเมล็ดตะบูนขาว จากการนําสวนสกัด EtOAc ของเมล็ดตะบูนขาวมาทําการแยกใหไดสารบริสุทธิ์ดวยเทคนิค คอลัมนโครมาโทกราฟและพิสูจนโครงสรางดวยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปตางๆพบสารลิโมนอยด ประเภท protolimonoid ที่ยังไมมีรายงานมากอน 3 ชนิด (1-3) ซึ่งใหชื่อวา protoxylocarpin F, G และ H ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบสารลิโมนอยดชนิดอื่นที่เคยมีรายวิจัยมาแลวอีก 11 ชนิดคือ xyloccensin K (4), O (5), P (6), xylogranatin C (7), mexicarnolide (8), methyl angolensate (9), proceranolide (10), 7-oxo-7-deacetylgenudin (11), 7-deacetylgenudin (12), chisocheton F (13) และ 21-acetyloxy21,23:24,25-diepoxy-7-hydroxy-4,4,8-trimethylcholest-14-en-3-one (14) ซึ่งมีโครงสรางดังแสดงใน รูปที่ 1

193


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

รูปที่ 1 แสดงโครงสรางของลิโมนอยดทแี่ ยกไดจากเมล็ดตะบูนขาว

.

การสกัดแยกสารจากเมล็ดตะบูนดํา ในการวิจัยนี้ไดทําการศึกษาเมล็ดตะบูนดําที่เก็บจากพื้นที่ปาชายเลน 2 แหลงคือจากจังหวัด สมุทรสงคราม (ภาคกลาง) และจากจังหวัดภูเก็ต (ภาคใต) เพื่อดูอิทธิพลของสภาพแวดลอมที่มีผลตอ องค ป ระกอบทางเคมี ข องพื ช ชนิ ด นี้ จากการนํา ส ว นสกั ด EtOAc ของเมล็ ด ตะบู น ดํา ที่ เ ก็ บ จาก สมุทรสงครามมาทําการแยกใหไดสารบริสุทธิ์ดวยเทคนิกคอลัมนโครมาโทกราฟ พบสารลิโมนอยด ประเภท mexicanolide ชนิดใหม 3 ชนิด และใหชื่อวา moluccensin H, I และ J (15-17) ขณะที่การ สกัดแยกสารจากสวนสกัด EtOAc ของเมล็ดที่เก็บจากภูเก็ต พบองคประกอบทางเคมีซึ่งเปนสาร ลิโมนอยดที่แตกตางกัน คือพบสารลิโมนอยดชนิดอีกใหม 3 ชนิด ไดแก thaimoluccensin A (18) ซึ่ง เปนลิโมนอยดประเภท andirobin และ thaimoluccensin B และ C (19-20) ซึ่งเปนลิโมนอยดประเภท phragmalin นอกจากนี้ยังพบสารลิโมนอยดที่เคยมีรายงานวิจัยมากอนอีก 8 ชนิด คือ mexicarnolide (8), 7-oxo-7-deacetylgenudin (11), 7-deacetylgenudin (12), 3β-deacetylfissinolide (21), 2hydroxyfissinolide (22), moluccensis H (23), I (24), และ xyloccensin E (25) ซึ่งสารที่แยกได ทั้งหมดมีโครงสรางดังแสดงในรูปที่ 2

194


สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน

รูปที่ 2 แสดงโครงสรางของลิโมนอยดทแี่ ยกไดจากเมล็ดตะบูนดํา

การสกัดแยกสารจากเมล็ดตะบัน ในทํานองเดียวกับการสกัดแยกสารจากเมล็ดตะบูนขาวและตะบูนดํา เมื่อนําสวนสกัด EtOAC มาทําการแยกดวยเทคนิคคอลัมนโครมาโทรกราฟ และ HPLC พบวาสารบริสุทธิ์ที่แยกไดเปนสารลิโมนอยด ประเภท phragmalin ชนิดใหม 3 ชนิด คือ xylorumphiin A (26), B (27) และ C (28) และประเภท mexicanolide ชนิดใหมอีก 1 ชนิดคือ xylorumphiin D (29) ซึ่งมีโครงสรางดังแสดงในรูปที่ 3 และยังพบลิโมนอยดซึ่ง เคยพบในพืชสกุลตะบูนชนิดอื่นอีก 3 ชนิด ไดแก xyloccensin K (4), methyl angolensate (9) และ xyloccensin E (25)

รูปที่ 3 แสดงโครงสรางของสารลิโมนอยดที่แยกไดจากเมล็ดตะบัน

195


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ ในการศึกษานี้ไดนําสารลิโมนอยดที่แยกไดทั้งหมดมาทําการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ 3 ชนิด คือฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียกอโรค ความเปนพิษตอเซลลมะเร็ง และฤทธิ์ตานการอักเสบ ในการทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย ไดทําการศึกษากับเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและแกรม ลบรวมทั้งสิ้น 9 ชนิด ไดแก Bacillus subtilis, Staphylococcus aureus, Staphylococcus hominis, Staphylococcus epidermidis, Enterococcus faecalis, Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa, Proteus vulgaris และ Salmonella typhimurium จากการทดสอบพบวาสารลิโมนอยด เหลานี้ไมมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียหรือมีฤทธิ์อยางออนมาก เชน สาร 16 ที่แสดงการตานเชื้อแบคทีเรีย S. hominis และ E. faecalis ที่ระดับ MIC 256 g/mL สําหรับการทดสอบความเปนพิษตอเซลลมะเร็ง ในการศึกษาไดทําการทดสอบกับเซลลมะเร็ง 5 ชนิด คือ CHAGO (มะเร็งปอด), SW-620 (มะเร็งกระเพาะอาหาร), KATO-3 (มะเร็งลําไส), BT-474 (มะเร็งเตานม) และ Hep-G2 (มะเร็งตับ) พบวามีเฉพาะสาร 7, 11 และ 12 ที่แสดงความเปนพิษตอ เซลลมะเร็งปอดและตับอยางออนโดยมีคา IC50 อยูในชวง 9.16-16.00 M ในขณะที่สารลิโมนอยดชนิด อื่นไมแสดงความเปนพิษตอเซลลมะเร็งทั้ง 5 ชนิดที่ทดสอบ ในการทดสอบฤทธิ์ตานการอักเสบโดยพิจารณาจากความสามารถในการยับยั้งการผลิต nitric oxide (NO) ใน macrophage cell ที่กระตุนใหเกิดการอักเสบ พบวามีเฉพาะสารลิโมนอยดประเภท gedunin (11-12) ที่แสดงฤทธิ์ตานการอักเสบที่ดี โดยเฉพาะสาร 11 ซึ่งสามารถยับยั้งการผลิต NO ดวยระดับ IC50 <10 M นอกจากนี้ผลการทดสอบความเปนพิษเฉียบพลัน (acute toxicity) ตอเซลล ปกติ ยังพบวามีความเปนพิษนอยและอยูระดับที่ยอมรับได สรุปผลการศึกษา จากงานวิจัยขางตนสามารถแยกสารกลุมลิโมนอยดชนิดใหมทั้งหมด 13 ชนิด และที่มีรายงาน แลว 16 ชนิด จากพืชทั้ง 3 สายพันธุคือ ตะบูนขาว (X. granatum), ตะบูนดํา (X. moluccensis) และ ตะบัน (X. rumphii) ซึง่ มีโครงสรางทีห่ ลากหลาย และจากการวิจัยยังพบวาสถานทีแ่ ละเวลาที่เก็บตัวอยาง มีผลตอชนิดและปริมาณของสารลิโมนอยดดวย เมื่อนําสารเหลานี้มาทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ แมวา สารลิโมนอยดที่ไดจะไมแสดงความเปนพิษตอเซลลมะเร็งและการตานเชือ้ แบคทีเรีย แตพบวาลิโมนอยด ประเภท gedunin มีผลตานการอักเสบในระดับดีมากซึ่งจะศึกษาในเชิงลึกตอไป

196


สารลิโมนอยดจากพืชสกุลตะบูน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และกองทุน 90 ปจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สําหรับเงินทุน ในการวิจัยในครั้งนี้ คุณสมบัติ กาญจนไพหาร และคุณประนอม ชุมเรียง สําหรับตัวอยางพืชที่ใชใน งานวิจัย

เอกสารอางอิง Ravangpai, W., Sommit, D., Teerawatananond, T., Sinpranee, N., Palaga, T., Pengpreecha, S., Muangsin, N., Pudhom, K. Bioorganic & Medicinal Chemistry Letters, 2011, 21, 4485-4489 Ravangpai, W., Theerawattananond, T., Pengpreecha, S., Muangsin, N., Pudhom, K. Acta Crystallographica Section E, 2011, 67, o158-o159 Sarigaputi, C., Nuanyai, T., Teerawatananond, T., Pengpreecha, S., Muangsin, N., Pudhom, K. Journal of Natural Products, 2010, 73, 1456-1459 Sarigaputi, C., Teerawatananond, T., Pengpreecha, S., Muangsin, N., Pudhom, K. Acta Crystallographica Section E, 2011, 66, o1348-o1349 Pudhom, K., Sommit, D., Nuclear, P., Ngamrojanavanich, N., Petsom, A. Journal of Natural Products, 2010, 73, 263-266 Pudhom, K., Sommit, D., Nuclear, P., Ngamrojanavanich, N., Petsom, A. Journal of Natural Products, 2009, 72, 2188-2191

197


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

198


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟน ตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร Red Snail Ovassiminea brevicula as Indicator of Mangrove in Tha Chin Mangrove Plantation, Samut Sakhon Province

ณัฐกิตทิ์ โตออน1 ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์2 ธัญญารัตน ตาธุวัน3 ณัฐจีรา งาวงาม4 ฐิตาภัทร ธรรมพร5 1,2

ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 3,4,5 ศูนยสงเสริมการเรียนรูแ ละพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สมุทรสาคร 74000

บทคัดยอ การศึกษาติดตามการกระจายและความหนาแนนของหอยสีแดง Ovassiminea brevicula ในพื้นที่ปลูก ปาชายเลนทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินการในพื้นที่ปาแสม ธรรมชาติและปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 2 ป โดยในชวงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548 ทําการเตรียม แปลงทดลองในแตละพื้นที่โดยแบงออกเปน 4 แปลง ขนาด 10x10 ตารางเมตร ไดแก (1) แปลง ทดลองที่ไมมีการตัดไมในแปลงออก (2) แปลงตัดไมแลวนํามาสุมกองและเผา (3) แปลงตัดไมแลว นํา ออกไปทิ้ง ดา นนอก และ (4) แปลงตัด ไมแ ลว นํา มาสุม รวมกองบนพื้น ดิน ภายในแปลงทดลอง หลังจากเตรียมแปลงแลวทําการปลูกไมโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata) ลงในแปลงทดลอง แลวติดตามการเปลี่ยนแปลงการกระจายและความหนาแนนของหอยสีแดงในแปลงทดลองตามชวงอายุ ของโกงกางปลูกในแปลงทดลองไดแกชวงอายุ 1 ป 1.5 ป 2 ป และ 4.5 ป ผลการศึกษาพบวาในพื้นที่ ปาแสมธรรมชาติเมื่อปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป แปลงที่ตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) มีความหนาแนนของหอยสีแดงสูงใกลเคียงกับแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) เนื่องจาก ปริมาณรมเงาของโกงกางปลูก ในแปลงทดลองเติบ โตมากพอที่สามารถใหร มเงาและความชุมชื้ น รวมทั้งเศษไมใบไมที่รวงทับถมและตนกลาไมแสมธรรมชาติบนพื้นดินมีมากขึ้น สวนพื้นที่ปาโกงกาง ปลูกทดแทนพบความหนาแนนของหอยสีแดงมากที่สุดในแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) เนื่องจากปริมาณรมเงาและความหนาแนนของกลาไมแสมธรรมชาติ การกระจายและความชุกชุม ของหอยสีแดงมีความสัมพันธกับปริมาณรมเงา มวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืช และความหนาแนนของ กลาไมแสมธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นตามชวงอายุที่ของปาชายเลนปลูกทดแทนที่เพิ่มขึ้น การศึกษาติดตาม การกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดงสามารถนํามาใชเปนดัชนีบงชี้และติดตามการฟนตัวคืนกลับ สูสภาวะสมดุลของปาชายเลนปลูกทดแทนได คําสําคัญ: หอยสีแดง Ovassiminea brevicula, การฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Monitoring on the distribution and abundance of Assimineid red gastropod, Ovassiminea brevicula in Tha Chin Mangrove plantation, Samut Sakhon Province as the assessment of mangrove rehabilitation effect was carried out. Natural Avicennia forest and Rhizophora plantation of 2 years were selected in comparison. In June 2005, each mangrove forest was divided into 4 plots of size 10x10 m. : 1) plot without tree being removed, 2) plot with clear cutting and burned, 3) plot with clear cutting and branches removed outside and 4) plot with clear cutting but dead branches remained on the surface. Distribution and abundances of red snails in the plantations were monitored at interval of 1, 1.5, 2 and 4.5 year. It was found that the high density of red snails in the Avicennia plot with clear cutting but dead branches remained on the surface was comparable to the plot without tree being removed due to the humidity from the forest canopy accumulated litter falls as well as the abundance of Avicennia seedlings. In the Rhizophora plantation, the highest density of red snail was recorded at the plot of clear cutting and burned due to the high density of the canopy and Avicennia seedlings. The results showed the distribution and abundances of red snails in the mangrove plantations were closely related to humidity, litter falls and Avicennia seedlings presented in the plots. Assimineid red snail can be used as the indicator of mangrove rehabilitation in the mangrove plantations.

บทนํา หอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนสัตวทะเลหนาดินกลุมหอยฝาเดียวในวงศ Assimineidae ที่พบอาศัยชุกชุมในบริเวณปาชายเลน (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์และคณะ, 2540; ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2545; อมรศักดิ์ ทองภู, 2543; Frith et al, 1976; Suzuki et al., 1997a,b; Suzuki et al., 2002) มีบทบาทความสําคัญในระบบสายใยอาหาร การหมุนเวียนธาตุอาหารและสารอินทรียในบริเวณปาชายเลน การกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดงสามารถนํามาใชเปนดัชนีบงชี้ความอุดมสมบูรณของปาชายเลน ปลูกทดแทน เนื่องจากความหนาแนนของหอยชนิดนี้มากขึ้น ตามปริมาณสารอินทรียที่เพิ่มขึ้นตาม อายุของปาชายเลน โดยพบการกระจายชุกชุมในบริเวณปาชายเลนปลูกที่มีรมเงาไมปกคลุม และมี ปริมาณสารอินทรียคอนขางสูง สวนปาธรรมชาติพบการกระจายหนาแนนในบริเวณที่มีเศษกิ่งไมใบไม รวงทับถมกัน และบริเวณที่มีตนออนของกลาไมธรรมชาติขึ้นกระจายอยูตามพื้นดิน (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2540; อมรศักดิ์ ทองภู, 2543; ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2545; ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2550; Suzuki et al., 2002) การศึกษานี้เปนการติดตามและประเมินผลการฟนตัวคืนกลับสู สภาวะสมดุลของปาชายเลนปลูกทดแทนในพื้นที่ที่ถูกทําลายในลักษณะแตกตางกัน โดยทําการศึกษา ติดตามและเปรียบเทียบการกระจายและความหนาแนนของหอยสีแดงระหวางบริเวณตางๆ เทียบกับ พื้นที่ปาชายเลนที่อยูในสภาพปกติซึ่งไมไดมีการตัดฟนหรือเตรียมแปลง ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถ นํามาใชเปนแนวทางจัดการฟนฟูสภาพปาชายเลนเสื่อมโทรม เพื่อใหการปลูกและฟนฟูปาชายเลน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถชวยใหสมดุลของระบบนิเวศปาชายเลนกลับคืนมาดวยเวลาอัน เหมาะสม 200


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

วิธีการศึกษา พื้นที่ศึกษา ทําการศึกษาในพื้นที่ปาแสมธรรมชาติและปาโกงกางปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแม น้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร โดยในชวงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548 ดําเนินการเตรียมแปลงทดลองใน แตละพื้นที่โดยแบงออกเปน 4 แปลง ขนาด 10x10 ตารางเมตร (รูปที่ 1) ประกอบดวย (1) แปลง ทดลองที่ไมมีการตัดไมในแปลงออก (2) แปลงตัดไมแลวนํามาสุมกองและเผา (3) แปลงตัดไมแลว นําออกไปทิ้งดานนอก และ (4) แปลงตัดไมแลวนํามาสุมรวมกองบนพื้นดินภายในแปลงทดลอง ทั้งนี้ ในชวงกอนการเตรียมแปลงทดลองพื้นที่ปาแสมธรรมชาติมีแสมทะเล (Avicennia marina) ขนาดใหญ ความสูง 7-10 เมตร เปนไมเดนขึ้นกระจายทั่วไป พื้นดินชุมชื้นมีสาหรายสีเขียวขึ้นปกคลุม สําหรับ พื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนซึ่งในที่นี้จะเรียกวาปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป (เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เนื่องจากในชวงที่ดําเนินการเตรียมแปลงทดลอง (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548) มีสภาพเปน ปาปลูกโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata) อายุประมาณ 2 ป มีความสูงประมาณ 2 เมตร พันธุไมอื่นบริเวณนี้ไดแก ลําพู (Sonneratia caseolaris) โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza) พังกาหัวสุมดอกขาว (B. sexangula) โปรงแดง (Ceriops tagal) โปรงขาว (C. decandra) และถั่วขาว (B. cylindrica) ตามพื้นดินมีตนกลาไมแสมทะเลธรรมชาติขึ้นกระจายทั่วไป ตามพื้นดิน เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้แตเดิมเปนปาแสมธรรมชาติแตมีการทดลองนําไมโกงกางใบใหญ มาปลูกแทน และภายหลังเตรียมแปลงทดลองในสองพื้นที่นี้ไดปลูกโกงกางใบใหญ (R. mucronata) ขนาดความสูง 50-70 เซนติเมตร ทดแทนลงในแปลงทดลองที่ตัดไมออก มีระยะปลูก 1.5x1.5 เมตร แตละแปลงทดลองจะมีตนโกงกางใบใหญ 36 ตน ซึ่งปจจุบันโกงกางใบใหญที่ปลูกในแปลงทดลองมี อายุประมาณ 4.5 ป (พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)

รูปที่ 1 พื้นที่ศึกษาบริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร ปาแสมธรรมชาติ A1=แปลงทดลองที่ไมมีการตัดไมในแปลงออก, A2=แปลงตัดไมแลวนํามาสุมกองและเผา, A3=แปลงตัดไมแลวนําไปทิ้งดานนอก และ A4=แปลงตัดไมแลวนํามาสุมกองบนพื้นดินภายในแปลง

201


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป: R1=แปลงทดลองที่ไมมีการตัดไมในแปลงออก, R2=แปลงตัดไมแลวนํามา สุมกองและเผา, R3=แปลงตัดไมแลวนําไปทิ้งดานนอกและ R4=แปลงตัดไมแลวนํามาสุมกองบนพื้นดินภายใน แปลง

การเก็บและวิเคราะหตัวอยางหอยสีแดง O. brevicula เก็บตัวอยางหอยสีแดง O. brevicula แบบสุมในแปลงทดลองโดยใชตารางนับสัตว (Quadrat) ขนาด 0.25 ตารางเซนติเมตร จํานวนแปลงทดลองละ 4 ซ้ํา เก็บตัวอยางดินตะกอนชั้นผิวลึกประมาณ 1 เซนติเมตร นํามารอนผานตะแกรงขนาดตา 0.5 มิลลิเมตร และรักษาสภาพดวยน้ํายาฟอรมาลิน 10% ที่ทําใหเปนกลาง แลวนํามานับจํานวนหาความหนาแนน ตัวอยางหอยสีแดงในที่เก็บตัวอยางใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 นํามาวัดขนาดความยาวเปลือกดวยเวอรเนียคารลิเปอรแบบดิจิตอล (digital venier carliper) ศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอมในภาคสนาม ไดแกวัดคาความเค็ม อุณหภูมิ และ ความเปนกรด-เบสของน้ําในดิน การวิเคราะหปริมาณสารอินทรียในดินตะกอน (organic content) โดย วิธี Ignition loss และศึกษามวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืช การวิเคราะหขอมูล ทําการเปรียบเทียบการกระจายและความหนาแนนของหอยสีแดง O. brevicula ในพื้นที่ปาแสม ธรรมชาติและพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป ตามชวงอายุของตนโกงกางปลูกในแปลงทดลอง ประกอบดวยชวงที่ปาโกงกางปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1 ป (กลางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549) 1.5 ป (กลางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549) 2 ป (ปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550) และ 4.5 ป (ตนเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552)

ผลการศึกษาและวิจารณ การกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดง O. brevicula 1. พื้นที่ปาแสมธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงการกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดงตามชวงอายุของโกงกางปลูกใน แปลงทดลองในพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ (รูปที่ 2) พบวาชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1 ป ไมพบ การกระจายของหอยสีแดงทุกแปลงทดลอง เนื่องจากในชวงนี้สภาพอากาศคอนขางแหงแลง พื้นดิน แหงแข็งและแตกเปนรองระแหง จากการที่ฝนทิ้งชวงนานและการทวมถึงของน้ําทะเลมีนอยจากสภาพ พื้นที่เปนที่ดอน การไมพบหอยสีแดงอาศัยอยูในแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) ในชวงนี้อาจมีผล มาจากสภาพอุ ณหภูมิ อากาศสู ง ของแปลงทดลองอื่น ซึ่ง อยู ในบริ เ วณใกลกั น เมื่ อป าปลูก ในแปลง ทดลองมีอายุ 1.5 ป พบหอยสีแดงมีความหนาแนนมากที่สุดในแปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบน พื้นดิน (A4) (15 ตัวตอตารางเมตร) เนื่องจากในแปลงทดลองมีปริมาณเศษไมใบไมทับถมตามพื้น 202


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

มากกวาในแปลงทดลองอื่น จากการที่กิ่งไมทอนไมที่ตัดแลวกองบนพื้นดินเก็บกักเศษใบไมกิ่งไมใหอยู ในแปลงทดลอง เศษไมใบไมเหลานี้มีความสําคัญในแงที่อยูอาศัยและที่หลบรอนของสัตวทะเลหนาดิน รวมทั้งหอยสีแดงในปาชายเลนที่ถูกถาง (Suzuki et al., 1997b) ในชวงปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป พบหอยสีแดงมากที่สุดในแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) (19 ตัวตอตาราเมตร) แปลงตัดไมแสม แลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) พบนอย (5 ตัวตอตารางเมตร) สวนอีกสองแปลงทดลองไมพบหอยสีแดง และเมื่อปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป พบความหนาแนนในแปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบน พื้นดิน (A4) มีคาสูง (15 ตัวตอตารางเมตร) ใกลเคียงกับแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) (14 ตัว ตอตารางเมตร) ในชวงนี้ไมโกงกางที่ปลูกในแปลงทดลองมีความสูงมากพอ (2.12-3.20 เมตร) ที่สามารถ ใหรมเงาและความชุมชื้น ประกอบกับเศษไมใบไมที่รวงทับถมและตนกลาไมแสมธรรมชาติบนพื้นดินมี มากขึ้นทําใหเกิดสภาพแหลงอาศัยยอย (microhabitat) ซึ่งหอยสีแดงจะไดรับประโยชนในแงชวยเพิ่ม ความชุมชื้นและลดปญหาการสูญเสียน้ําออกจากตัว ความอุดมสมบูรณของอาหารและแหลงอาศัย (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์และคณะ, 2540; อมรศักดิ์ ทองภู, 2543; Frith et al, 1976; Suzuki et al., 1997; Suzuki et al., 2002) สอดคลองกับรายงานของ อมรศักดิ์ ทองภู (2543) และ Suzuki et al. (2002) ที่พบ หอยสีแดงอาศัยชุกชุมในบริเวณที่มีเศษไมใบไมทับถมตามพื้นและบริเวณที่มีตนกลาไมตามธรรมชาติ ตามพื้นดิน ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1 ป

0.8 0.6 0.4 0.2

NF

NF

NF

NF

20 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0

16 14 12 10 8 6 4 2 0

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป

NF A1

A2

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

0

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

ความหนาแนน (ตัว /ตร.ม.)

1

NF A3

A4

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1.5 ป

16 14 12 10 8 6 4 2 0

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป

A1

A2

A3

A4

รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงความหนาแนนของหอยสีแดง O. brevicula ตามชวงอายุของปาปลูกในแปลงทดลองในพื้นที่ ปาแสมธรรมชาติ จังหวัดสมุทรสาคร

การกระจายขนาด (Size distribution) ของหอยสีแดง O. brevicula ในพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ (รูปที่ 3) พบในชวงประมาณ 3-8 มิลลิเมตร แปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) พบหอยสี แดงขนาดใหญมีความยาวเปลือกเฉลี่ย 7.51±0.96 มิลลิเมตร รองลงมาคือแปลงตัดไมแสมแลวนําไป ทิ้งดานนอก (A3) (7.06±0.84 มิลลิเมตร) ในแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) และแปลงตัดไมแสม

203


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

แลวเผาภายในแปลง (A2) พบการกระจายของหอยสีแดงขนาดเล็ก ซึ่งในแปลงตัดไมแสมแลวเผาภายในแปลง (A2) จะพบหอยสีแดงขนาดเล็กอาศัยอยูตามชองวางตามรอยแตกของพื้นดิน

9

Mean: 6.61±0.88 Min: 4.96, Max: 7.81

6

9

3

0

0

12 9

แปลง A3

15

n= 8 Mean: 7.06±0.84 Min: 5.50, Max: 7.80

12

6 3

แปลง A2

n= 12 Mean: 6.94±1.28 Min: 3.90, Max: 8.40

6

3

15 จํานวน (ตัว)

12

จํานวน (ตัว)

จํานวน (ตัว)

12

15

แปลง A1

n= 14

จํานวน (ตัว)

15

9

แปลง A4

n= 15 Mean: 7.51±0.96 Min: 5.51, Max: 8.50

6 3

0

0

1

2

3

4 5 6 ขนาด (มิลลิ เมตร)

7

8

9

1

2

3

4

5 6 ขนาด (มิลลิเมตร)

7

8

9

รูปที่ 3 การกระจายขนาดของหอยสีแดง O. brevicula ในแปลงทดลองพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ จังหวัดสมุทรสาคร

2. พื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป การเปลี่ยนแปลงความชุกชุมของหอยสีแดง (รูปที่ 4 ) ชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1 ป พบการกระจายเฉพาะในแปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบนพื้นดิน (R1) แตมีความหนาแนนต่ํา (1 ตัวตอตารางเมตร) เนื่องจากสภาพความแหงแลงและอุณหภูมิสูงซึ่งไมเหมาะตอการดํารงชีวิตของ หอยสีแดงและสัตวทะเลหนาดินอื่นดวย ชวงปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1.5 ป พบความหนาแนนใน แปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบนพื้นดิน (R4) และแปลงที่ไมมีการตัดไมโกงกางออก (R1) มีคา ใกลเคียงกัน (13 และ 12 ตัวตอตารางเมตร ตามลําดับ) และสูงกวาแปลงทดลองอื่น เนื่องจากแปลงที่ ไมมีการตัดไมโกงกางออก (R1) มีความชุมชื้นจากรมเงาของไมโกงกางปลูกขนาดใหญในแปลงทดลอง (ความสูง 3.75-4.30 เมตร) สวนแปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบนพื้นดิน (R1) ไดรับอิทธิพลของน้ํา ทะเลทวมถึงทําใหพื้นดินมีความชุมชื้นในชวงที่เศษไมใบไมและตนกลาธรรมชาติตามพื้นยังมีนอย สวน แปลงตัดไมโกงกางแลวนําไปทิ้งดานนอก (R3) และแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) เปน ที่ดอนน้ําทะเลทวมถึงนอย ในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป พบความหนาแนนของหอย สีแดงในทุกแปลงทดลองมีคาต่ํา (1-5 ตัวตอตารางเมตร) ยกเวนแปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบน พื้นดิน (R4) ไมพบหอยสีแดง เนื่องจากในชวงนี้เปนชวงฤดูฝนที่สภาพอากาศมีอุณหภูมิสูง และเมื่อ ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป พบความหนาแนนของหอยสีแดงในแปลงตัดไมโกงกางแลวเผา ภายในแปลง (R2) มีคามากที่สุด (81 ตัวตอตารางเมตร) สวนแปลงทดลองอื่นพบในชวง 18-27 ตัวตอ 204


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

ตารางเมตร โดยเฉพาะแปลงที่ไมมีการตัดไมโกงกางออก (R1) มีความหนาแนนต่ําที่สุด เนื่องจากตาม พื้นมีน้ําทวมขังทําใหดินมีลักษณะเปนโคลนเหลว สีดํา และกลิ่นของซัลไฟดจากการหมักหมมของใบ โกงกางที่หลนทับถมในแปลง ซึ่งไมเหมาะสําหรับการอาศัยของหอยสีแดงรวมทั้งสัตวทะเลหนาดินอื่น ประกอบกับโกงกางปลูกในแปลงมีขนาดใหญขึ้น (เสนผาศูนยกลาง (diameter) 4.78-7.32 เซนติเมตร และความสูง 7.00-7.32 เมตร) ปกคลุมทั้งแปลงทําใหแสงแดดสองลงไมถึงพื้นดิน แปลงตัดไมโกงกาง แลวนําไปทิ้งดานนอก (R3) และแปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบนพื้นดิน (R4) พบกลาไมแสม ธรรมชาติขึ้นกระจายทั่วไปตามพื้นดิน ประกอบกับไมโกงกางปลูกในแปลงทดลองเติบโตจนสามารถให รมเงาปกคลุมและความชุมชื้น (ความสูง 3.0-6.0 เมตร) แตการที่มีไมแสมธรรมชาติขึ้นหนาแนนใน แปลงทดลอง ( 20-60 ตนตอตารางเมตร) และมีความสูงมาก (60-350 เมตร) จนปกคลุมทําใหแสงแดด สองลงในแปลงทดลองไดนอย (ความเขมแสง 45.67-60.33 ลักซ) ประกอบกับพื้นดินมีลักษณะเปน โคลนออนและแองน้ําทวมขังทั่วไปจากการทวมถึงของน้ําทะเล ซึ่งสภาพดังกลาวอาจไมเหมาะกับการ อาศัยอยูของหอยสีแดง สวนแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) เปนที่ดอนน้ําทะเลทวมถึง นอยดินเปนโคลนเหนียวคอนขางแข็ง ไมโกงกางที่ปลูกในแปลงทดลองมีการเติบโตใกลเคียงกับใน แปลงทดลองอื่น (ความสูง 3.0-4.0 เมตร) ซึ่ง สามารถใหรม เงาปกคลุม ประกอบกับ กลา ไมแ สม ธรรมชาติมีความหนาแนนสูง ( 64-104 ตนตอตารางเมตร) ทําใหพื้นดินมีความชุมชื้น ในแปลงทดลอง นี้แสงแดดสามารถสองลงมาถึงพื้นดินมากกวาแปลงทดลองอื่น (ความเขมแสง 122.00 ลักซ) เนื่องจาก ไมโกงกางปลูกในแปลงทดลองบางสวนตายในตอนแรกซึ่งอาจเกิดจากหนาดินถูกจากการเผาเพื่อ เตรียมแปลงทดลองในชวงแรก โกงกางใบใหญที่ปลูกในแปลงจึงไมเบียดกันแนนมากไปและทําใหแสง สองลงมาไดมาก การอาศัยอยูในแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) ของพวกหอยสีแดง นอกจากไดรับประโยชนในแงความหลากหลายของแหลงอาศัย ที่พักหลบรอนและความชุมชื้นจากรม เงาไมปองกันการสูญเสียน้ําออกจากรางกายแลว ยังไดประโยชนดานอาหารจําพวกสาหรายที่ขึ้นตาม พื้นหนาดินจากการที่แสงแดดสองลงถึงพื้นดวย ผลการศึกษาตรงกับรายงานของ อมรศักดิ์ ทองภู (2543) พบวาในบริเวณปาชายเลนจังหวัดสมุทรสงคราม พบหอยสีแดงอาศัยชุกชุมในบริเวณที่มีใบไม ทับถมตามพื้น และบริเวณที่มีแสงแดดสองถึงมากกวาบริเวณอื่นๆ (93 และ 81 ตัวตอตารางเมตร ตามลําดับ)

205


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

2

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1 ป ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

1.5 1 0.5

NF

NF

NF

0

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป

4 2

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 1.5 ป

NF

100

NF

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

6

14 12 10 8 6 4 2 0

ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป

80 60 40 20

0

0

R1

R2

R3

R4

R1

R2

R3

R4

รูปที่ 4 การเปลี่ยนแปลงความหนาแนนของหอยสีแดง O. brevicula ตามชวงอายุของปาปลูกในแปลงทดลองในพื้นที่ ปาโกงกางปลูกทดแทน จังหวัดสมุทรสาคร

ขนาดของหอยสีแดงในพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป (รูปที่ 5 ) มีความยาวเปลือก ในชวงประมาณ 3-8 มิลลิเมตร เชนเดียวกับพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ แปลงตัดไมโกงกางแลวนําไปทิ้ง ดานนอก (R3) และแปลงตัดไมโกงกางแลวนํามากองบนพื้นดิน (R4) พบหอยสีแดงขนาดใหญมีขนาด ความยาวเปลือกเฉลี่ย 6.66±0.87 และ 6.56±0.65 มิลลิเมตร ตามลําดับ สวนแปลงที่ไมมีการตัดไม โกงกางออก (R1) และแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) พบหอยสีแดงขนาดเล็กความยาว เปลือกเฉลี่ย 5.26±1.14 และ 6.08±1.05 มิลลิเมตร ตามลําดับ เชนเดียวกับการรายงานของ อมรศักดิ์ ทองภู (2543) พบวาในบริเวณที่มีใบไมทับถมและบริเวณที่มีที่มีแสงแดดสองมีความหลากหลายขนาด ของหอยสีแดงมากที่สุด พบตั้งแตขนาด 2-8 มิลลิเมตร แตบริเวณที่มีสภาพแวดลอมจํากัดตอการอาศัย เชนบริเวณหาดเลนจะพบเฉพาะหอยสีแดงขนาดใหญ (5-7 มิลลิเมตร) ซึ่งจะไมพบหอยสีแดงที่มีขนาด เล็กในบริเวณนี้เลย จํานวน (ตัว)

12 9 6 3 0

206

n= 18 Mean: 5.26±1.14 Min: 3.24, Max: 7.63

แปลง R1 จํานวน (ตัว)

15

35 30 25 20 15 10 5 0

n= 81 Mean: 6.08±1.05 Min: 3.54, Max: 7.89

แปลง R2


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

จํานวน (ตัว)

15 12

n= 25 Mean: 6.66±0.87 Min: 4.10, Max: 8.20

แปลง R3

18 15 จํานวน (ตัว)

18

9 6 3

12 9

แปลง R4

n= 27 Mean: 6.56±0.65 Min: 4.70, Max: 8.00

6 3

0

0

1

2

3

4

5 6 ขนาด (มิลลิเมตร)

7

8

9

1

2

3

4

5 6 ขนาด (มิลลิเมตร)

7

8

9

รูปที่ 5 การกระจายขนาดของหอยสีแดง O. brevicula ในแปลงทดลองพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุประมาณ 6 ป จังหวัดสมุทรสาคร

ปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอการกระจายของหอยสีแดง O. brevicula พื้นที่ปาแสมธรรมชาติพบอุณหภูมิของน้ําในดินระหวางแปลงทดลองมีคาแปรผันในชวง 25.8029.95 OC แปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) มีคาต่ําตลอดระยะเวลาศึกษา อุณหภูมิของน้ําในดินมี คาสูงสุดในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป (28.29±1.12 OC) ความเค็มของน้ําในดิน (15.034.0 psu) และความเปนกรดเบสของน้ําในดิน (7.18-8.01) ระหวางแปลงทดลองมีคาแปรผันสูงขึ้นอยู กับฤดูกาลและอิทธิพลการทวมถึงของน้ําทะเล โดยมีคาสูงสุดในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป (27.63±4.64 psu และ 7.58±0.30 ตามลําดับ) ความเขมแสงระหวางแปลงทดลองมีคาแปรผันสูง (3.10-32017.0 Lux) แปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) และแปลงตัดไมแสมแลวนําไปทิ้ง ดานนอก (A3) มีคาสูงกวาแปลงทดลองอื่นโดยเฉพาะในชวงฤดูแลงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป ปริมาณสารอินทรียในดินระหวางแปลงทดลองจัดอยูในเกณฑสูง (9.38-17.50%) และมีคาสูงสุดในชวง ที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป (16.38±0.85%) ความหนาแนนของกลาไมแสมธรรมชาติ (seedling) มีคาสูงในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป โดยเฉพาะในแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) และแปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) (177±158.81 และ 104±12.00 ตนตอตารางเมตร ตามลําดับ) (รูปที่ 6) มวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืชไดแก รากอากาศ (pneumatophore) รากใตดิน (roots) เศษใบไม (leave) กิ่งไม (branches) ซากพืช (debrit) ตนออนของกลาไมธรรมชาติ (seedling) และผล (fruit) พบวาตลอดระยะเวลาศึกษามวลชีวภาพระหวางแปลงทดลองโดยรวมมีคาสูงสุดในแปลงที่ไมมี การตัดไมแสมออก (A1) รองลงมาคือแปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) (รูปที่ 7) มวลชีวภาพ สวนตางๆของพืชสวนใหญเพิ่มมากขึ้นตามอายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

207


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” A1 A2 A3 A4

30 29

35 30 25

ความเค็ม (psu)

27 26

20 15

25 ND

A1 A2 A3 A4

15000 10000 5000

7 7 7

A1 A2 A3 A4

15 10 5

ND

0 1.5 ป 2 ป อายุ ของป าปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

A1 A2 A3 A4

200 150 100 50 0

0 1 ป

ND

7 7

20 ปริมาณสารอินทรีย (%)

ความเขมแสง (Lux)

20000

8

0

35000

25000

8

ND

5

23

30000

8

10

24

A1 A2 A3 A4

8

จํานวนกลาไม (ตน/ตร.ม.)

อุณหภูมิ (OC)

28

A1 A2 A3 A4

40

ความเปนกรด-เบส

31

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลู กในแปลงทดลอง

4.5 ป

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงปจจัยสิ่งแวดลอมในแปลงทดลองพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ จังหวัดสมุทรสาคร Pneumatophore

120

A1 A2 A3 A4

120

100

80 60 40

60 40 20

20

A1 A2 A3 A4

350

Debrit

300

A1 A2 A3 A4

150 100 50

A1 A2 A3 A4

2 1

10 8 6 4 2 0

0 4.5 ป

Seedling

3 2

12

200

1.5 ป 2 ป อายุของป าปลูกในแปลงทดลอง

A1 A2 A3 A4

4 3

14

250

1 ป

Leave

1 0

0

Branches

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

5 4

80

0

A1 A2 A3 A4

Root

100 มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

140

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

160

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของป าปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

รูปที่ 7 การเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืชปาชายเลนในแปลงทดลองพืน้ ที่ปาแสมธรรมชาติ จังหวัด สมุทรสาคร

สวนพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป พบอุณหภูมิของน้ําในดิน (24.17-30.00 OC) ความ เค็มของน้ําในดิน (5.7-46.5) และความเปนกรดเบสของน้ําในดิน (6.8-7.9) มีคาแปรผันสูงระหวาง แปลงทดลอง อุณหภูมิและความเค็มของน้ําในดินมีคาสูงสุดในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป (28.76±0.87 OC และ 40.13±4.77 psu ตามลําดับ) ความเค็มของน้ําในดินมีการเปลี่ยนแปลงตาม ฤดูกาลและอิทธิพลการทวมถึงของน้ําทะเล ความเขมแสงระหวางแปลงทดลองมีคาแปรผันสูง (28.13200.9 Lux) ความเขมแสงมีคาสูงสุดในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป (2010.13±807.87 Lux) ปริมาณสารอินทรียในดินจัดอยูในเกณฑสูง (9.51-17.00%) เชนเดียวกับพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ และมีคาสูงสุดในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 2 ป (16.63±0.48%) ความหนาแนนของกลาไม แสมธรรมชาติ (seedling) มีคาสูงในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป โดยมีความหนาแนน 208


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

สูงสุดในแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) และแปลงตัดไมโกงกางแลวนําไปทิ้งดานนอก (R3) (71±30.55 และ 45±12.86 ตนตอตารางเมตร ตามลําดับ) (รูปที่ 8) สวนมวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืชเพิ่มมากขึ้นตามอายุของปาปลูกในแปลงทดลอง ในชวงที่ปาปลูกในแปลงทดลองมีอายุ 4.5 ป พบมวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืชมีคาสูงในแปลงตัดไมโกงกางแลวเผาภายในแปลง (R2) และแปลง ตัดไมโกงกางแลวนําไปทิ้งดานนอก (R3) ในขณะที่แปลงที่ไมมีการตัดไมโกงกางออก (R1) มีคาต่ํากวา แปลงทดลองอื่น ยกเวนมวลชีวภาพของเศษใบไมซึ่งเปนผลผลิตจากโกงกางปลูกขนาดใหญในแปลง

24 22 20 R1 R2 R3 R4

3500 2500 2000 1500 1000

ND

500

R1 R2 R3 R4

20 ปริ มาณวสารอินทรี ย (%)

ความเขมแสง (Lux)

3000

ความเปนกรด-เบส

26

15 10 5

R1 R2 R3 R4

8 7.8 7.6 7.4 7.2 7 6.8 6.6 6.4 6.2 R1 R2 R3 R4

80 70 จํานวนกลาไม (ตน/ตร.ม.)

28

ความเค็ม (psu)

อุณหภูมิ (OC)

30

R1 R2 R3 R4

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

R1 R2 R3 R4

32

60 50 40 30 20 10

0

0

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

0

4.5 ป

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

1 ป

4.5 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

Branches

160 140 120

R1 R2 R3 R4

90 80 70 60 50

80 60 40

0 1 ป

1.5 ป 2 ป อายุข องป าปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

100 80 60 40

Seedling

9 8

R1 R2 R3 R4

20 10

120

R1 R2 R3 R4

0

Debrit

30

0

Leave

140

20

40

20

160

มวลชีว ภาพ (กรัม/ตร.ม.)

40 30 20 10 0

50

100

R1 R2 R3 R4

Root

60 มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

R1 R2 R3 R4

Pneumatophore

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

มวลชีวภาพ (กรัม/ตร.ม.)

รูปที่ 8 การเปลี่ยนแปลงปจจัยสิ่งแวดลอมในแปลงทดลองพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทน จังหวัดสมุทรสาคร

7 6 5

R1 R2 R3 R4

4 3 2 1 0

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

1 ป

1.5 ป 2 ป อายุของปาปลูกในแปลงทดลอง

4.5 ป

รูปที่ 9 การเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพสวนต างๆ ของพืช ปาชายเลนในแปลงทดลองพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทน จังหวัดสมุทรสาคร

209


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การวิเคราะหคาสหสัมพันธระหวางความหนาแนนของหอยสีแดง O. brevicula กับปจจัยสิ่งแวดลอม ในบริเวณปาชายเลนพบวา ความหนาแนน ของหอยสีแ ดงไมแ สดงความสัม พัน ธอ ยา งเดน ชัด กับ อุณหภูมิของน้ําในดิน ความเค็มของน้ําในดิน ความเปนกรด-เบสของน้ําในดิน ความเขมแสง และ ปริมาณสารอินทรียในดินตะกอน แตทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงสภาพปาชายเลนจนสงผลกระทบตอการ เปลี่ยนแปลงองคประกอบสัตวทะเลหนาดิน การกระจาย และความหนาแนนของหอยสีแดงในบริเวณ ปาชายเลน ยอมหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับสัตวเหลานี้ การพบหอย สีแดงมีการกระจายชุกชุมในบริเวณที่มีรมเงาไมปกคลุม บริเวณที่มีเศษไมใบไมทับถม และบริเวณที่มี ตนกลาไมธรรมชาติขึ้นตามพื้นดินเปนสิ่งชี้ถึงความตองการสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับการ ดํารงชีวิต สําหรับปริมาณสารอินทรียซึ่งมีความสําคัญในแงแหลงอาหารของสัตวทะเลหนาดินมีคาจัด อยูในเกณฑที่สูงมากในทุกแปลงทดลอง การกระจายของหอยสีแดงจึงไมแสดงความสัมพันธที่เดนชัด กับปริมาณสารอินทรีย จึงสามารถกลาวไดวาอุณหภูมิของน้ําในดิน ความเค็มของน้ําในดิน ความเปน กรด-เบสของน้ําในดิน ความเขมแสง และปริมาณสารอินทรียในดินตะกอน ปริมาณรมเงาจากตนไม มวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืช ความอุดมสมบูรณของอาหาร และการทวมถึงของน้ําทะเลเปนปจจัย สิ่งแวดลอมที่มีความสําคัญและมีอิทธิพลตอการกําหนดการกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดงใน ปาชายเลน การศึกษานี้พบวาความหนาแนนของหอยสีแดงมีความสัมพันธทางตรงกับความหนาแนน ของกลาไมแสมธรรมชาติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ทั้งในพื้นที่ปาแสมธรรมชาติ (r=0.47) และพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป (r=0.85) สวนความสัมพันธระหวางความหนาแนนของ หอยสีแดงกับมวลชีวภาพสวนตางๆของพืช พบวาความหนาแนนของหอยมีความสัมพันธทางตรงกับ มวลชีวภาพสวนตางๆ ของพืช โดยเฉพาะมวลชีวภาพของรากใตดิน เศษใบไม ซากพืช และตนกลาไม แสมธรรมชาติ (r= 0.40, 0.54,0.40, 0.42 ตามลําดับ) สวนพื้นที่ปาโกงกางปลูกทดแทนอายุ 6.5 ป พบ ความสัมพันธทางตรงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) กับมวลชีวภาพของรากอากาศ ซากพืช และ กลาไมแสมธรรมชาติ (r= 0.82, 0.41 และ 0.88 ตามลําดับ) หอยสีแดง O. brevicula เปนสัตวทะเลหนาดินอีกชนิดหนึ่งที่ใชเปนดัชนีความอุดมสมบูรณของ ปาชายเลนได ซึ่งในการกระจายตัวของหอยสีแดงตามลักษณะถิ่นที่อยูอาศัยยอย (microhabitat) มีการ กระจายตัวแบบรวมกลุมในบริเวณปาชายเลนปลูกที่มีรมเงาและมีปริมาณอินทรียสารคอนขางสูง ใน การศึกษาครั้งนี้พบหอยสีแดงมีการกระจายตัวในบริเวณที่ปริมาณรมเงาของไมโกงกางปลูก บริเวณที่มี เศษไมใ บไมที่รว งทับ ถม และบริเ วณที่มีตน กลา ไมแ สมธรรมชาติบ นพื้น ดิน ในปา ชายเลนปลูก โดยเฉพาะในแปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) ในชวงที่ปาปลูกมีอายุ 4.5 ป พบการกระจาย ตัวของหอยสีแดงมีความชุกชุมใกลเคียงกับปาชายเลนธรรมชาติในแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) และมากกวาแปลงปลูกปาอื่นๆ

210


การใชหอยสีแดง Ovassiminea brevicula เปนดัชนีการฟนตัวของปาชายเลนปลูกทดแทน บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาพบวาความชุกชุมของหอยสีแดงจะเพิ่มขึ้นตามอายุของปาปลูกทดแทน เนื่องจาก การเพิ่มปริมาณรมเงาไมปกคลุม ปริมาณเศษไมใบไม และตนกลาไมตามธรรมชาติตามพื้นดิน ซึ่ง หมายถึงการเพิ่มความหลากหลายของแหลงอาศัย วิธีการเตรียมพื้นที่เพื่อปลูกปาชายเลนโดยการสุม กองเศษไมใบไมตามพื้นดิน นอกจากใหประโยชนกับหอยสีแดงและสิ่งมีชีวิตอื่นในแงการเปนแหลง อาหาร แหลงอาศัย หลบซอนตัวจากศัตรูและความรอน ยังสงผลโดยตรงตอตนไมที่ปลูกใหมในดาน การคลุ ม ดิ น เพื่ อ ป อ งกั น ความร อ นจากสภาวะอุ ณ หภู มิ สู ง รวมทั้ ง ยั ง ช ว ยให เ กิ ด สภาพแวดล อ มที่ เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตของลูกไมปาชายเลนธรรมชาติในบริเวณนั้นดวย ดังจะเห็นไดในพื้นที่ ปาแสมธรรมชาติ ที่แปลงตัดไมแสมแลวนํามากองบนพื้นดิน (A4) มีความหนาแนนของหอยสีแดง ใกลเคียงกับแปลงที่ไมมีการตัดไมแสมออก (A1) และมีการเติบโตของตนโกงกางที่ปลูกในแปลง (2.04.5 เมตร) มากกวาแปลงตัดไมแสมแลวเผาภายในแปลง (A2) (2.0-3.0 เมตร) และแปลงตัดไมแลว นําไปทิ้งนอกแปลง (A3) (1.5-3.0 เมตร) รวมทั้งพบกลาไมแสมธรรมชาติมีความหนาแนนสูง นอกจากนี้ พบวาในการปลูกปาชายเลนทดแทนเมื่อตนไมที่ปลูกโตขึ้นมากควรมีการตัดสางเพื่อเปดใหแสงแดด สองลงถึงพื้นดินเพื่อใหเกิดการยอยสลายซากไมใบไมที่ทับถมตามพื้นดินเปนไปอยางปกติ ซึ่งจะเห็น ไดในแปลงที่ไมมีการตัดไมโกงกางออก (R1) ซึ่งมีไมโกงกางขนาดใหญหนาแนนและใหรมเงาปกคลุม จนแสงแดดสองลงไดนอย มีการหมักหมมของซากไมใบไมเนา ดินมีสีดําและกลิ่นเหม็นของซัลไฟด ใน บริเวณพบหอยสีแดงอาศัยอยูนอยและไมมีตนกลาของไมธรรมชาติขึ้น ในขณะที่แปลงตัดไมโกงกาง แลวเผาภายในแปลง (R2) เปนบริเวณที่แสงแดดสองลงถึงพื้นดินมากกวาแปลงทดลองอื่นและมีกลาไม แสมธรรมชาติมีความหนาแนนสูงพบความหนาแนนของหอยสีแดงสูงมาก การศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปไดวาการกระจายและความชุกชุมของหอยสีแดงสามารถนํามาใช เปนดัชนีบงชี้การฟนสภาพของปาชายเลนปลูกทดแทนไดซึ่งจะสัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณ รมเงาจากตนไมที่ปลูก ปริมาณเศษไมใบไมที่ตกทับถมกันบนพื้นดิน และความหนาแนนของตนกลาไม ธรรมชาติที่ขึ้นบนพื้นดินตามชวงอายุของปาชายเลนปลูกทดแทนที่เพิ่มมากขึ้น สําหรับการเตรียม พื้นที่ปลูกปาชายเลน การนําซากกิ่งไมเศษไมมาสุมกองตามพื้นดินเปนวิธีการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดที่สามารถชวยใหสมดุลของระบบนิเวศกลับคืนมาไดเร็วกวาการเตรียมแปลง ในลักษณะอื่นๆ

211


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ มอริตากา นิชิฮิรา อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ สนิท อักษรแกว สนใจ หะวานนท และวัฒนา พรประเสริฐ. 2540. ผลของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนที่มีตอทรัพยากรประมง: กรณีศึกษาปาชายเลนบานคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม. ใน เอกสารประกอบการสัมมนา ระบบนิเวศวิทยาปาชายเลน ครั้งที่ 10, IV-2 หนา 1-15. จังหวัดสงขลา 25-28 สิงหาคม 2540. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. กรุงเทพมหานคร. ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ วันวิวาห วิชิตวรคุณ นิพัทธ สมกลีบ อัฉราภรณ เปยมสมบูรณ อิชฌิกา ศิวาย พราหมณ อาจอง ประทัตสุนทรสาร และอมรศักดิ์ ทองภู. 2545. บทที่ 8 การประเมินความอุดม สมบูรณของปาชายเลนปลูกทดแทน. ใน รายงานผลการวิจัย ผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลน จังหวัดสมุทรสงครามตอโครงสรางประชากรแพลงกตอนสัตวและสัตวทะเลหนาดิน. หนา 151181. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. กรุงเทพฯ. ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ อิชฌิกา ศิวายพราหมณ กรอร วงษกําแหง พรเทพ พรรณรักษ และบัญชา สบายตัว. 2550. การประเมินความอุดมสมบูรณของปาชายเลนปลูกบนพื้นที่นากุงรางอําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ. ใน ประมวลผลงานวิจัยการประชุมวิชาการระบบนิเวศปาชายเลน แหงชาติ “ปาชายเลนรากฐานเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝง”. กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ. หนา 276-287. อมรศักดิ์ ทองภู. 2543. การกระจายตัวของหอยสีแดง (Ovassiminea brevicula) ตามถิ่นที่อยูอาศัย (Microhahitat) ในบริเวณปาชายเลนปลูก บานคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม. โครงการปญหา พิเศษภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. Frith, D. W., Tantanasiriwong, R. and O. Bhatia. 1976. Zonation of macrofauna on amangrove shore, Phuket Island. Phuket Mar Biol. Center Res Bull. 10 : 1-37. Suzuki, T. Nishihira, M. and N. Paphavasit. 2002. Size structure and distribution of Ovassiminea brevicula (Gastropoda) in a Thai mangrove swamp. Wetlands Ecology and Management. 10: 265–271. Suzuki, T., M. Nishihira, N. Paphavasit, S. Shikamo, Y. Nakasone, A. Piumsomboon and E. Aumnuch. 1997a. Ecological Distribution and Community Structure of Benthic Animals in Samut Songkhram Mangrove Swamp, Thailand. In : Nishihira, M. (eds.) : Benthic Communities and Biodiversity in Thai Mangrove Swamp. pp. 41-77 Suzuki, T., Nishihira, M., Paphavasit, N., Shikano, S., Nakasone, Y., Piumsomboon, A. and Aumnuch, E. 1997b. Effect of deforestation on the benthic communities in Samut Songkram Mangrove Swamp, Thailand. In Nishihira, M. (Editor) Benthic Communities and Biodiversity in Thai Mangrove Swamps. Biological Institute, Tohoku University, Japan. pp 79-96.

212


ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทยตอนบน Diversity of molluscs in mangrove areas of the Upper Gulf of Thailand

ไพรินทร เพ็ญประไพ1 วัลภา ทองดียิ่ง2 ณรงคฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา3 ศักดา อิงเอนุ4 สามารถ นิคมจิตร5 1,2,3,4,5

ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบน 120/1 หมู 6 ตําบลบางหญาแพรก อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

บทคัดยอ ศึกษาความหลากชนิดของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชลบุรี สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี จํานวน 13 พื้นที่ ตั้งแตเดือน เมษายนถึงสิงหาคม 2553 พื้นที่ปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบนประกอบดวยพันธุไมชายเลนชนิด เดน คือ แสมขาว แสมทะเล โกงกางใบเล็ก พบการแพรกระจายของหอย 40 ชนิด 21 วงศ จําแนก ชนิดเปนหอยฝาเดียว 29 ชนิด 11 วงศ และหอยสองฝา 11 ชนิด 10 วงศ หอยชนิดเดน ไดแก หอยสี แดง Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) หอยขี้นก Littoraria melanostoma (Gray,1839) และ หอยเจดีย Cerithidae obtusa (Lamarck,1822) พบความหลากชนิดของหอยมากที่สุดพื้นที่ปาชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม จํานวน 21 ชนิด 14 วงศ เมื่อพิจารณาจากลักษณะของปาชายเลนที่สํารวจทั้ง 13 พื้นที่ แบงเปนปาชายเลนแบบเดี่ยว 5 พื้นที่ และปาชายเลนแบบผสม 8 พื้นที่ พบความหลากชนิด ของหอยจํานวน 25 ชนิด 14 วงศ และ 38 ชนิด 19 วงศ ตามลําดับ คําสําคัญ: หอยในปาชายเลน, อาวไทยตอนบน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The diversity of molluscs in mangrove forest of the Upper Gulf of Thailand was investigated in April to August 2010. The sampling sites were comprised of 13 areas from Chon Buri, Samut Prakan, Bangkok, Samut Sakhon, Samut Songkhram and Phetchaburi Province. Mangrove forest is remains very narrow band of the mangrove with the dense mangrove species of Avicennia marina, A. alba and Rhizophora apiculata. Totally of 40 species mollusks were found belong to 21 families. Gastropods were found 29 species belong to 11 families and bivalves were found 11 species belong to 10 families. The dominant molluscs were as follows: Assiminea brevicula (Pfeiffer, 1854) Littoraria melanostoma (Gray, 1839) and Cerithidae obtusa (Lamarck, 1822). The most diverse of taxa number was found in Samut Songkhram Province of 21 species belong to 14 families. Study area was divided into 2 types of mangrove characterized 5 mono mangrove flora and 8 mixed mangrove flora. The composition of molluscs was found 25 species belong to 14 families in mono mangrove flora and 38 species belong to 19 families in mixed mangrove flora. Keyword: mollusk in mangrove forest, Upper Gulf of Thailand

บทนํา อาวไทยตอนบนเปนแหลงรับน้ําจืดและตะกอนจํานวนมากที่มาจากแมน้ําสายสําคัญทั้ง 5 สาย ไดแก แมน้ําเพชรบุรี แมน้ําแมกลอง แมน้ําทาจีน แมน้ําเจาพระยา และแมน้ําบางปะกง ระบบนิเวศ บริเวณชายฝงสวนใหญจึงเปนระบบนิเวศน้ํากรอย ซึ่งถือเปนสภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับปาชาย เลน พื้นที่ชายฝงจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ในป พ.ศ. 2536 มีพื้นที่ปาชายเลนรวม 37,1992 ไร และในป พ.ศ. 2547 มีพื้นที่ปาชาย เลนเพิ่มขึ้นเปน 51,620 ไร ทั้งนี้อาจเนื่องจากนโยบายของรัฐในการฟนฟู ปองกันรักษาและอนุรักษปา ชายเลน ในป พ.ศ. 2539 (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2553) โดยสภาพทั่วไปของปาชายเลนมี ลักษณะเปนปาเดี่ยวและปาผสม มีพันธุไมซึ่งประกอบไปดวย แสมขาว (Avicennia alba Bl.) แสมทะเล (Avicennia marina (Forsk.) Vierh.) และโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir) เปนพันธุไม ชนิดเดน การศึกษาสัตวหนาดินในพื้นที่ปาชายเลน เชน กลุมหอย นับวามีบทบาทสําคัญในระบบนิเวศปา ชายเลน เนื่องจากเปนผูชวยยอยสลายอินทรียสารในปาชายเลน และถายทอดพลังงานในวงจรหวงโซ อาหารสูระดับที่สูงขึ้นไป ดังนั้น การศึกษาความหลากหลายของหอยทะเลบริเวณพื้นที่ปาชายเลนอาว ไทยตอนบนครั้งนี้ จะทําใหทราบถึงขอมูลทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ สําหรับการเปน ขอมูลพื้นฐานทางวิทยาศาสตรที่จะนําไปสูการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมบนฐานความหลากหลาย ทางชี ว ภาพและการสร า งความมั่ น คงของฐานทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล อ ม ที่ มี ก ารใช ป ระโยชน ต าม ศักยภาพอยางยั่งยืน 214


ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทย

วิธีการศึกษา ศึกษาความหลากชนิดของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน เชิงคุณภาพโดยวิธีการ เดินสํารวจ และเชิงปริมาณโดยศึกษาความหนาแนนดวยตารางนับสัตวสี่เหลี่ยม (Quadrate) ขนาด 1x1 ตารางเมตร จํานวน 13 พื้นที่ๆ ละ 3 สถานี ตั้งแตเดือนเมษายน ถึงเดือนสิงหาคม 2553 ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชลบุรี สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี (ภาพที่ 1 และตารางที่ 1) รักษาสภาพตัวอยางดวยแอลกอฮอล 70% จําแนกชนิดในหองปฏิบัติการ เอกสารที่ใชในการจําแนกชนิด ดังนี้ ธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์ และคณะ (2551), วันทนา อยูสุข (2541), Abbott and Dance (2000), Beesley, et al. (1998), Carpenter and Niem (1998), Habe (1975), Kira (1965), Lamprell and Healy (1998), Lamprell and Whitehead (1992), Okutani (2000), Radwin and D’Attilio (1996), Reid (1986) และ Vongpanich (1996)

ภาพที่ 1 สถานีเก็บตัวอยางหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน

215


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 1 สถานีเก็บตัวอยางหอยบริเวณปาชายเลนอาวไทยตอนบน สถานี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

พิกัด UTM X 618695 610623 605421 608444 612880 624070 637679 654035 671531 679487 699106 713093 710395

Y 1443645 1457761 1472284 1476548 1481501 1486867 1493036 1493109 1496088 1494822 1492108 1486909 1475988

บริเวณที่ศกึ ษา ต.แหลมผักเบีย้ จ.เพชรบุรี ต.บางขุนไทร จ.เพชรบุรี ต.คลองโคน จ.สมุทรสงคราม ต.แหลมใหญ จ.สมุทรสงคราม ต.บางแกว จ.สมุทรสงคราม ต.กาหลง จ.สมุทรสาคร ต.บางหญาแพรก จ.สมุทรสาคร เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ ต.แหลมฟาผา จ.สมุทรปราการ ต.บางปูใหม จ.สมุทรปราการ ต.คลองดาน จ.สมุทรปราการ ต.คลองตําหรุ จ.ชลบุรี ต.เสม็ด จ.ชลบุรี

ลักษณะปา ปาเดี่ยว ปาเดี่ยว ปาเดี่ยว ปาผสม ปาผสม ปาผสม ปาผสม ปาผสม ปาเดี่ยว ปาเดี่ยว ปาผสม ปาผสม ปาผสม

ผลการศึกษาและวิจารณ พื้นที่ปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน มีลกั ษณะเปนปาเดี่ยว และปาผสม พันธุไมชนิดเดน ไดแก แสมขาว (Avicennia alba Bl.) แสมทะเล (Avicennia marina (Forsk.) Vierh.) และโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir) และโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Bl.) พบการแพรกระจาย ของหอยจํานวน 40 ชนิด 21 วงศ จําแนกเปนหอยฝาเดียว 29 ชนิด 11 วงศ และหอยสองฝา 11 ชนิด 10 วงศ พบความหลากชนิดของหอยมากที่สุดพื้นที่ปาชายเลนสถานีที่ 5 จังหวัดสมุทรสงคราม จํานวน 21 ชนิด 14 วงศ และความหลากชนิดนอยที่สุดในพื้นที่ปาชายเลนสถานีที่ 13 จังหวัดชลบุรี จํานวน 8 ชนิด 5 วงศ (ภาพที่ 2 และตารางที่ 2) ใกลเคียงกับผลการศึกษาของ Printrakoon et al., 2008 พบ หอย 47 ชนิด (หอยฝาเดียว 31 ชนิด และหอยสองฝา 16 ชนิด) แตเนื่องดวยการศึกษาครั้งนี้มีสภาพ ความหลากหลายของพื้นที่นอ ยกวาการศึกษาของ Printrakoon et al., 2008 ซึ่งอาจเปนสาเหตุทําให พบจํานวนชนิดนอยกวาเล็กนอย

216


ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทย

Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854)

Salinator burmana (Blanford,1867)

Cerithidae cingulata (Gmelin, 1791) Cerithidae obtusa (Lamarck,1822)

Cassidula aurisfelis (Bruguiere,1789)

Ellobium aurisjudae (Linnaeus,1758)

Melampus taeniolatus (Hornbron&Jacquinot, 1852)

Haminoea sp.

Littoraria melanostoma (Gray, 1839)

Littoraria pallescens (Philippi,1864) Littoraria carinifera (Menke, 1830)

Littoraria articulata (Philippi, 1846)

Nerritina violacea (Gmelin,1791)

Stenothyra glabra (Adams, 1861)

Enigmonia aenigmatica (Holten, 1802)

Onchidium sp.

Theora cadabra (Eames & Wilkins, 1957)

Heterocardia gibbosula Stoliczka, 1871

Tellina (Pistris) serricostata Tokunaga, 1906

Saccostrea sp.

ภาพที่ 2 หอยทีพ่ บในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553

217


218

Assimineidae Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) Amphibolidae Salinator burmana (Blanford,1867) Ellobiidae Cassidula aurisfelis (Bruguiere,1789) Cassidula nucleus (Gmelin,1791) Cassidula mustelina (Deshayes,1830) Ellobium aurisjudae (Linnaeus,1758) Ellobium aurismidae (Linnaeus,1758) Melampus granifer (Mousson, 1849) Melampus taeniolatus Hombron & Jacquinot, 1854 Melampus flavus (Gmelin, 1849) Haminoeidae Haminoea sp. Littorinidae Littoraria articulata (Philippi,1846) Littoraria melanostoma (Gray,1839) Littoraria pallescens (Philippi,1846) Littoraria carinifera (Menke, 1830) Littoraria sp. 1 Littoraria sp. 3

Species

+

+

+ +

+ +

+

+

+

+

+ +

+ +

+

+

+ + + +

+

+

5

+ +

+

+

+

+

+

+

4

+

+

+

+

3

+

+

2

+

1

+

+

+

+

+ +

+

+

+

+ +

+

+ + +

+

+

+

+ +

+

+ + +

+ + + +

+

สถานีเก็บตัวอยาง 6 7 8

+

+ +

+

+ +

+

+

9

+

+

+ +

+

+

10

+ + +

+

+

+

11

+

+ +

+

+ +

+

+

+

12

ตารางที่ 2 ชนิดและการแพรกระจายของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553

+

+ +

+

13

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


Littorinidae Littoraria sp. 4 Littoraria sp. 5 Littoraria sp. 8 Nassariidae Nassarius stolatus (Gmelin,1791) Naticidae Natica tigrina (Roding, 1798) Neritidae Nerritina violacea (Gmelin,1791) Clithon oualaniensis (Lesson,1831) Onchidiidae Onchidium sp. Potamididae Cerithidae cingulata (Gmelin,1791) Cerithidae obtusa (Lamarck,1822) Cerithidae quadrata (Sowerby,1866) Stenothyridae Stenothyra glabra Adams, 1861 Arcidae Anadara granosa (Linnaeus,1758)

Species

+ +

1

+

+

+ +

+

+ +

+

+ + +

+

+

4

+

3

+

2

+

+

+

+

5

+

+ +

+

+ +

+

+

+

+ +

+

สถานีเก็บตัวอยาง 6 7 8

+

+

+

+

9

+

+

+

10

+ +

+

11

+

+

+

12

ตารางที่ 2 (ตอ) ชนิดและการแพรกระจายของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553

+

+ +

+

13

ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทย

219


220

หมายเหตุ + พบการแพรกระจาย

Solenidae Siligua winteriana Dunker, 1852 Glauconomidae Glauconome cf. chiensis Gray, 1828 Anomiidae Enigmonia aenigmatica (Holten, 1802) Corbiculidae Corbicula (Corbiculina) australis (Deshayes,1830) Mactridae Heterocardia gibbosula Stoliczka, 1871 Tellinidae Macoma (Pinguimacoma) Cygnus (Hanley, 1844) Tellina (Pistris) serricostata (Tokunaga, 1906) Semelidae Theora cadabra (Eames & Wilkins, 1957) Veneridae Marcia hianntina (Lamarck,1818) Ostraeidae Saccostrea sp.

Species 1

+

+

2

+

+

3

+

+

+

+

+

5

+

+

+

+

4

+

+

สถานีเก็บตัวอยาง 6 7 8

+

9

10

11

+

+

12

ตารางที่ 2 (ตอ) ชนิดและการแพรกระจายของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553 13

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทย

พื้นที่ปาชายเลนที่มีลักษณะเปนปาผสม (สถานีที่ 4-8 และ 11-13) พบความหลากชนิดของหอย 38 ชนิด 19 วงศ โดยชนิดที่พบแพรกระจายทุกพื้นที่ ไดแก Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) Littoraria melanostoma (Gray,1839) และ Nerritina violacea (Gmelin,1791) ความชุกชุมของหอย บริเวณปาผสมพบวา Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) มีความหนาแนนเฉลี่ยมากที่สุด 132.17 ตั ว /ตารางเมตร รองลงมาคื อ Cerithidae cingulata (Gmelin,1791) 6.79 ตั ว /ตารางเมตร และ Salinator burmana (Blanford,1867) 4.38 ตัว/ตารางเมตร (ภาพที่ 3)

Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854)

Salinator burmana (Blanford,1867)

Cerithidae cingulata (Gmelin,1791)

other

ภาพที่ 3 ความหนาแนนของหอยที่พบบริเวณปาชายเลนแบบผสม จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553

พื้นที่ปาชายเลนที่มีลักษณะเปนปาเดี่ยว (สถานีที่ 1-3 และ 9-10) พบความหลากชนิดของหอย 25 ชนิด 14 วงศ โดยชนิดที่พบแพรกระจายทุกพื้นที่ ไดแก Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) และ Cerithidae obtusa (Lamarck, 1822) ความชุกชุมของหอยบริเวณปาเดี่ยวพบวา Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) มีความหนาแนนเฉลี่ยมากที่สุด 69.00 ตัว/ตารางเมตร รองลงมาคือ Stenothyra glabra (Adams, 1861) 21.60 ตัว/ตารางเมตร และ Cerithidae cingulata (Gmelin,1791) 3.47 ตัว/ ตารางเมตร (ภาพที่ 4) ความหนาแนนเฉลี่ยของหอยในปาชายเลนบริเวณอาวไทยตอนบน ปาผสมมีคามากกวาปาเดี่ยว โดยปาผสมมีความหนาแนนเฉลี่ย 161.75 ตัว/ตารางเมตร และปาเดี่ยวมีความหนาแนนเฉลี่ย 112.47 ตัว/ตารางเมตร และ Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) มีความหนาแนนเฉลี่ยมากที่สุดในปาชายเลน ทั้งสองชนิด

221


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

วราริน วงษพ านิ ช (2551) ศึก ษาสั ตว พื้น ทะเลบริเ วณป าชายเลนอาวภู เก็ต พบ Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) เปนหอยชนิดเดนในพื้นที่ปาชายเลนปลูกอายุ 1 ป ปาชายเลนปลูกอายุ 8 ป และพื้นที่ปาธรรมชาติ จากการศึกษาในครั้งนี้พบ Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) มีการแพรกระจายในปาชาย เลนทุ ก พื้ น ที่ ทั้ ง แบบป า เดี่ ย วและป า ผสม เช น เดี ย วกั บ การศึ ก ษาของจํ า ลอง โตอ อ น (2542) พบ Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) เปนหอยกลุมเดนในปาชายเลน สอดคลองการศึกษาของศิริ ลักษณ เจนชางกล, 2544 ในปาแสมบริเวณปอมพระจุลจอมเกลา ซึ่งพบ Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) มีความหนาแนนเฉลี่ยสูงสุด และพบหอยฝาเดียว 15 ชนิด ซึ่งใกลเคียงกับการศึกษาใน ครั้งนี้ที่พบหอยฝาเดียว 12 ชนิด

Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854)

Cerithidae cingulata (Gmelin,1791)

Stenothyra glabra (Adams,1861)

other

ภาพที่ 4 ความหนาแนนของหอยที่พบบริเวณปาชายเลนแบบเดี่ยว จากการสํารวจระหวางเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม 2553

สรุปผลการศึกษา ความหลากชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทยตอนบน พบการแพรกระจาย 40 ชนิด 21 วงศ จําแนกเปนหอยฝาเดียว 29 ชนิด 11 วงศ และหอยสองฝา 11 ชนิด 10 วงศ หอยชนิดเดน ไดแก หอยสีแดง Assiminea brevicula (Pfeiffer,1854) หอยขี้นก Littoraria melanostoma (Gray,1839) และ หอยเจดีย Cerithidae obtusa (Lamarck,1822) พื้นที่ปาชายเลนสถานีที่ 5 จังหวัดสมุทรสงครามพบความหลากชนิดของหอยมากที่สุด จํานวน 21 ชนิด 14 วงศ และความหลากชนิดนอยที่สุดในพื้นที่ปาชายเลนสถานีที่ 13 จังหวัดชลบุรี จํานวน 8 ชนิด 5 วงศ 222


ความหลากหลายชนิดของหอยในปาชายเลนพื้นที่อาวไทย

พื้นที่ปาชายเลนที่มีลักษณะเปนปาผสมพบความหลากชนิดของหอย จํานวน 37 ชนิด 19 วงศ มากกวาพื้นที่ปาชายเลนที่มีลักษณะเปนปาเดี่ยวซึ่งพบเพียง 24 ชนิด 14 วงศ กิตติกรรมประกาศ คณะผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ ผศ.ธี ร ะพงศ ด ว งดี ที่ ใ ห ค วามช ว ยเหลื อ ในการจํ า แนกชนิ ด ตั ว อย า ง ขอขอบคุ ณ เจาหนาที่ ศูนย วิจัยทรั พยากรทางทะเลและชายฝงอ าวไทยตอนบน ทุกท านที่ ใหค วาม ชวยเหลือในการเก็บตัวอยาง ขอบคุณ คุณสมบัติ ภูวชิรานนท ผูอํานวยการศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเล และชายฝงอาวไทยตอนบน คุณสุชาติ สวางอารียรักษ และคณะบุคคลอื่นๆ ที่ไมไดกลาวถึงในที่นี้ที่ให ขอเสนอแนะและตรวจแกไขรายงานฉบับนี้

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. 2553. รายงานสถานการณทรัพยากรทางทะเลและชายฝงของ ประเทศไทย ประจําป 2552. ไทภูมิ พับลิชชิง่ จํากัด. 80 หนา จําลอง โตออน. 2542. สัตวทะเลหนาดินขนาดใหญ และการกระจายตัวของปูกามดาบในปาชายเลน บริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา วิทยาศาสตรทางทะเล บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์, ธีระพงศ ดวงดี และณรงคพล สิทธิทวีพัฒน. 2551. คูมืออันดามัน หอยทะเล ไทย. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 328 น. วราริน วงษพานิช. 2551. การศึกษาสัตวพื้นทะเลบริเวณปาชายเลนอาวภูเก็ต. เอกสารวิชาการฉบับที่ 2/2551. สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง. กรุงเทพฯ. 32 หนา. วันทนา อยูสุข. 2541. หอยทะเล. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ศิริลักษณ เจนชางกล. 2544. ความหลากหลายทางดานชนิดและความชุกชุมของหอยฝาเดียวในปา แสมบริเวณปอมพระจุลจอมเกลา จังหวัดสมุทรปราการ. งานวิจัยระดับปริญญาตรี ภาควิชา ชีววิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Abbott, R.T. and Dance, S.P. 2000. Compendium of Seashells. Odyssey Publishing. 411 pp. Beesley, P. L., Ross, G.J.B. & Well, A. (eds). 1998. Mollusca: The Southern Synthesis. Fauna of Australia. Vol. 5. CSIRO Publishing: Melbourene, Part A xvi 563 pp. Part B viii 565-1234 pp. Carpenter, K.E. and V.H. Niem (eds). 1998. The Living Marine Resources of The Western Central Pacific Vol. 1. FAO. ROME. 686 pp.

223


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Habe, T. 1975. Shell of the Western Pacific in Color Vol.II. HOIKUSHA Publisshing. 233 pp. Kira, T. 1965. Shell of the Western Pacific in Color Vol.I. HOIKUSHA Publisshing. 224 pp. Lamprell, K. and Healy, J. 1998. Bivalves of Australia Vol. 2. Backhuys Publishers, Leiden, Netherlands. 288 pp. Lamprell, K. and Whitehead, T. 1992. Bivalves of Australia Vol. 1. Crawford House Press Pty Ltd, Australia. 182 pp. Okutani, T. 2000. Marine Mollusks in Japan. Tokai University Press, Tokyo, Japan. 1173 pp. Printrakoon, C., Wells, F. E. and Chitramvong, Y. 2008. Distribution of mollusks in mangrove at six sites in the Upper Gulf of Thailand. The Raffles Bulletin of Zoology No. 18. p. 247-257. Radwin, G. E. and D'Attilio A. 1996. Murex Shells of the World An Illustrated Guide to the Muricidae. Stanford University Press, United States of America. 238 pp. 32 plate. Reid, D. G. 1986. The littorinid mollusks of mangrove forests in the Indo-Pacific region. Britsh Museum (Natural History) London. 228 pp. Vongpanich, V. 1996. The Arcidae of Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication No. 16. Funny Publishing. Bangkok Thailand. p. 177-192.

224


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก Nematode diversity in the western mangrove forest of the Gulf of Thailand

สุชาติ สวางอารียรักษ1 พัชราภรณ เยาวสุต2 สมบัติ ภูวชิรานนท3 องคจันทร ภาสดา4 1,2,3,4

ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 120/1 หมู 6 ตําบลบางหญาแพรก อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000

บทคัดยอ การศึกษาประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลบริเวณพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยตอนบนฝงตะวันตก ดําเนินการเก็บตัวอยางฤดูแลง (เมษายน 2552) และฤดูฝน (สิงหาคม 2552) บริเวณพื้นที่ปาชายเลน ที่มีอายุแตกตางกัน ประกอบดวย ปาชายเลนธรรมชาติฝงตะวันตกปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร พบไสเดือนตัวกลมทะเล 45 สกุล ชนิดเดน ประกอบดวย Anoplostoma sp. Terschellingia sp. Halalaimus sp. และ Trissonchulus sp. ความหนาแนนเฉลี่ย 643 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ปาปลูกป 2535 จังหวัดสมุทรสงคราม พบไสเดือนตัวกลมทะเล 43 สกุล ชนิดเดน ประกอบดวย Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. และDaptonema sp. ความหนาแนนเฉลี่ย 1,078 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร และปาปลูกป 2540 จังหวัดเพชรบุรี พบไสเดือนตัวกลมทะเล 39 สกุล ชนิดเดน ประกอบดวย Terschellingia sp. Microlaimus sp. Daptonema sp. และ Ptychalaimellus sp. ความหนาแนนเฉลี่ย 848 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร การทดสอบทางสถิติ พบวาไมมีความแตกตางระหวางความหนาแนน ของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ และไมพบความสัมพันธระหวางไสเดือนตัวกลมทะเลกับปริมาณ อินทรียสารและขนาดอนุภาคดินตะกอน คําสําคัญ: ไสเดือนตัวกลมทะเล, ปาชายเลนอาวไทย, อายุของปาชายเลนที่ปลูก


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Nematode communities were investigated in April and August 2009 at the western mangrove forests of the Gulf of Thailand. The sampling site was comprises 3 different mangrove plantations ages. The results of Samut Sakhon natural mangrove forest showed 45 genus with mean total density of 643 ind.10 cm-2. The dominant genus of nematodes consisted of Anoplostoma sp. Terschellingia sp. Halalaimus sp. and Trissonchulus sp. In Samut Songkhram mangrove plantation in 1992, nematodes were composed of 43 genus with mean total density of 1,078 ind.10 cm-2. Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. and Daptonema sp. were the dominant genera. In Petchaburi mangrove plantation in 1997, nematodes were composed of 39 genus with mean total density of 848 ind.10 cm-2. Terschellingia sp. Microlaimus sp. Daptonema sp. and Ptychalaimellus sp. were the dominant genera. Statistically test indicated non-significantly difference in location. In term of grain size and organic matter, non-significant correlation was found for nematode density. Keyword: nematode mangrove, mangrove in Gulf of Thailand, mangrove plantations ages

บทนํา ระบบนิเวศปาชายเลนเปนระบบนิเวศชายฝงที่มีความสําคัญยิ่ง บริเวณพื้นที่โดยรอบอาวไทย ตอนในฝงตะวันตกมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลนเพื่อทํานากุง การขยายเขตชุมชนเมือง และ อุ ต สาหกรรม ก อ ให เ กิ ด ความเสื่ อ มโทรมของสภาพพื้ น ที่ ป า ชายเลน และส ง ผลกระทบให ค วาม หลากหลายทรัพยากรชีวภาพลดลง ในชวงระยะเวลา 16 ป (พ.ศ. 2518-2534) นั้นจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี สูญเสียพื้นที่ปาชายเลนไปรอยละ 99.23 96.58 และ 96.18 ตามลําดับ (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2549) การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมจะมีผลตอเนื่องตอความ หลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะกลุมสัตวหนาดินเนื่องจากสภาพพื้นที่ปาชายเลนเปนแหลงมีความ หลากหลายของแหลงที่อยูอาศัย (Heterogeneity) ของกลุมสัตวหนาดิน ซึ่งสัตวหนาดินขนาดเล็ก (Meiobenthic fauna) จัดเปนกลุมสัตวหนาดินที่มีความสําคัญในระบบนิเวศในการชวยยอยอินทรียสาร จากซากพืช และเศษใบไมกิ่งไมที่มีมากในพื้นที่ปาชายเลน ชวยใหเกิดการหมุนเวียนธาตุอาหารใน ระบบนิเวศปาชายเลน และชวยเพิ่มความอุดมสมบรูณใหกับปาชายเลนอีกทางหนึ่ง พรอมทั้งตัวสัตว หนาดินขนาดเล็กยังเปนอาหารที่สําคัญสําหรับสัตวทะเลหนาดินขนาดใหญ (Macrobenthic fauna) และสัตวน้ําโดยทั่วไป (อิชฌิกา ศิวายพราหมณ และคณะ, 2550) โดยพบวาไสเดือนตัวกลมทะเล (Free living nematode) เปนสัตวกลุมเดนของสัตวหนาดินขนาดเล็กที่พบรอยละ 70-90 ของแตละ พื้นที่ศึกษา (วัลภา ทองดียิ่ง และคณะ, 2553; จิราวรรณ ใจเพิ่ม, 2553) นอกจากนี้ไสเดือนตัวกลม ทะเลสามารถใชเปนตัวบงชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมได (จิราวรรณ ใจเพิ่ม, 2552; Alongi et.al., 1983; Mirto et.al., 2002) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมนี้จะมีผลตอโครงสรางประชาคม และการกระจายตัวของไสเดือนตัวกลมทะเล ไสเดือนตัวกลมทะเลแตละชนิดมีความทนทานตอการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน ตลอดจนการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่แตกตาง 226


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก

กันไป การศึกษาความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลครั้งนี้ เพื่อใชเปนแนวทางเบื้องตนสําหรับ การวางแผนประเมินความสมบูรณของพื้นที่ปาชายเลน (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2550) และ เปนตัวบงชี้ถึงสภาพแวดลอม (จิราวรรณ ใจเพิ่ม, 2553; Alongi et. Al., 1983) ตลอดจนใชติดตาม ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมโดยใชเปนดัชนีชี้วัดทางชีววิทยา (Biological indicator) ในปา ชายเลนที่ทําการศึกษาและปาชายเลนอื่น ๆ ในโอกาสตอไป วิธีการศึกษา 1. สถานที่ศึกษา พื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก 3 แหง ประกอบดวย (รูปที่ 1) 1.1 พื้นที่ปาชายเลนจังหวัดสมุทรสาคร เปนปาชายเลนธรรมชาติที่เปนปาสงวนแหงชาติ มี พันธุไมแสมทะเล (Avicennia marina (Forsk.) Vierh.) และแสมขาว (A. alba Bl.) เปนพันธุไมเดน นอกจากนี้ยังพบไมโกงกางใบใหญ ตะบูนขาว โกงกางใบเล็กลําพู แสมดํา พังกาหัวสุมดอกแดง โปรง แดง ตาตุมทะเล ฝาดดอกขาว โพธิ์ทะเล ถั่วขาว ตนจาก และชะคราม (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และ คณะ, 2549) รูปที่ 1 แผนที่แสดงจุดเก็บตัวอยางไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก 1) ปาชายเลนธรรมชาติ จังหวัดสมุทรสาคร 2) ปาชายเลนปลูกป 2535 จังหวัดสมุทรสงคราม และ 3) ปาชายแลนปลูกป 2540 จังหวัดเพชรบุรี

1.2 พืน้ ที่ปาชายเลนจังหวัดสมุทสงคราม ปาปลูกป 2535 มีพันธุไมแสมขาว (Avicennia alba Bl.) และลําพู (Sonneratia caseolaris(L.) Engl.) เปนพันธุไมเดน สวนพันธุไมชนิดอืน่ ๆ ขึ้นอยูกระจัด กระจายไดแก โกงกางใบใหญ โกงกางใบเล็ก จาก และปรงทะเล (ฐิตินันท ศรีสถิต และคณะ, 2545)

227


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

1.3 พื้นที่ปาชายเลนจังหวัดเพชรบุรี ปาปลูกป 2540 มีพันธุไมแสมทะเล (Avicennia marina) แสมขาว (A. alba) เปนพันธุไมเดน นอกจากนี้พบไมแสมดํา โกงกางใบเล็ก และโกงกางใบใหญ (ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ, 2549) 2. การเก็บตัวอยางและการวิเคราะหขอมูล 2.1 การเก็บตัวอยางดินและการเตรียมตัวอยางสัตวหนาดินขนาดเล็กพื้นที่ปาชายเลนแหงละ 4 สถานี ตามวิธีของ Somerfield and Warwick (1996) และ Warwick et al. (1998) โดยดําเนินการ เก็บตัวอยางในเดือ นเมษายน และสิงหาคม 2552 เพื่อ เปนตัวแทนฤดูแลง และฤดูฝน ตามลําดับ ดวยกระบอกพลาสติก (syringe) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 เซนติเมตร สุมเลือกจุดเก็บตัวอยาง 4 จุด ตอสถานี แตละจุดเก็บตัวอยางดวยกระบอกพลาสติกจํานวน 2 กระบอก และเก็บรักษาตัวอยางดวย ฟอรมาลิน 10 เปอรเซ็นตที่ปรับเปนกลางแลว เพื่อนําไปจําแนกที่หองปฏิบัติการลําดับตอไป พรอมนี้ เก็บตัวอยางดินศึกษาคุณสมบัติและคุณลักษณะดินตะกอน โดยการวิเคราะหขนาดอนุภาคดิน (Grain size) เพื่อจัดชนิดของอนุภาคดินตะกอนดินตาม Wentworth Grade Classification และการวิเคราะห ปริมาณสารอินทรียในดิน (Organic matter) ดวยวิธี Ignition loss (Buchanan, 1984) 2.2 การวิเคราะหขอมูล • ดัชนีความหลากหลายทางชนิด (Shannon-Wiener diversity index) คํานวณตามวิธีของ Clarke and Warwick (1994) • ดัชนีความสม่ําเสมอทางชนิด (Pielou’s evenness index) • เปรียบเทียบความแตกตางระหวางพื้นที่ และฤดูกาล โดยการทดสอบทางสถิติดวยวิธี analysis of variance (ANOVA) แบบ One-factor with replications • วิเคราะหรูปแบบลักษณะประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเล ดวยเทคนิคการใชหลายตัวแปร (multivariate analysis) ไดแกการวิเคราะห MDS (multidimensional scaling) โดยการใชโปรแกรม สําเร็จรูป PRIMER 5 ผลการศึกษาและวิจารณ 1. คุณภาพของดินตะกอนในปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก คุ ณ สมบั ติ แ ละคุ ณ ลั ก ษณะดิ น ตะกอนพื้ น ที่ ศึ ก ษามี ลั ก ษณะเป น โคลนเหลวที่ มี อิ น ทรี ย ส าร คอนขางสูง รายละเอียดตารางที่ 1 ซึ่งเปนลักษณะทั่ว ๆ ไปของพื้นที่ปาชายเลน การวิเคราะหทางสถิติ พบวาไมมีความแตกตางทางสถิติของดินตะกอนและอินทรียสารระหวางพื้นที่ศึกษา (ตารางที่ 1) 2. องคประกอบชนิด การแพรกระจายและปริมาณความชุกชุม ไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และ เพชรบุรี พบจํานวนทั้งสิ้น 56 สกุล จาก 17 วงศ ปริมาณความชุกชุมเฉลี่ยระหวาง 433-1,403 ตัว/10 228


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก

ตารางเซนติเมตร (รูปที่ 2 และตารางที่ 2) อันดับที่มีจํานวนชนิดมากที่สุดคือ Chormadorida พบ จํานวนทั้งสิ้น 43 ชนิด โดยวงศ Chormadoridae ในอันดับนี้มีจํานวนชนิดมากที่สุด 9 ชนิด รองลงมา เปนอันดับ Enoplida พบ 7 ชนิด จาก 3 วงศ และอันดับ Monhysterida พบ 6 ชนิด จาก 2 วงศ ตามลําดับ (ตารางภาคผนวก) ไสเดือนตัวกลมทะเลชนิดที่มีความชุกชุมมากที่สุดไดแก Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. และ Daptonema sp. สอดคลองกับการศึกษาของชวาพร (2547) ที่ทําการศึกษาประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลบริเวณปาชายเลนอาวไทยตอนใน พบไสเดือน ตัวกลมทะเลชนิด Terschellingia cf longicaudata Daptonema sp. Haliplectus sp. และ Sabatieria sp. ชุกชุมมากที่สุด ผลการวิเคราะหทางสถิติพบวาการแพรกระจายและความชุกชุมของชนิดไสเดือน ตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตกพื้นที่ศึกษาไมมีความแตกตางทางสถิติ การศึกษาใน ครั้งนี้พบไสเดือนตัวกลมทะเลชนิดที่แตกตางกันออกไปบางเล็กนอย แตชนิดเดนที่พบไดทุกพื้นที่ปา ชายเลนที่สํารวจคือ Terschellingia sp. ซึ่งเปนชนิดที่สามารถนํามาใชเปนตัวบงชี้คุณภาพสิ่งแวดลอม ในภาวะที่มีอินทรียสารสูงและมีออกซิเจนต่ํา (จิราวรรณ ใจเพิ่ม, 2553) และพบเปนชนิดเดนในหลาย ๆ พื้นที่ที่มีการสํารวจผานมา (ตารางที่ 3) อาจกลาวไดวาจากลักษณะของปาชายเลนที่ทําการศึกษา เปนปาธรรมชาติและเปนปาปลูกที่อายุมากกวา 10 ป ทําใหมีการสะสมมวลชีวภาพของพืชและสัตว มากขึ้น และสงผลใหสภาพดินตะกอนมีปริมาณอินทรียสารเพิ่มมากขึ้น ปริมาณอินทรียสารสวนหนึ่งจะ ถูกยอยสลายจากกิจกรรมของแบคทีเรียในการใชออกซิเจนยอยสลายอินทรียสาร (จิราวรรณ ใจเพิ่ม, 2553) สงผลใหดินพื้นทะเลปาชายมีสภาพขาดออกซิเจน หรือจากสภาพดินตะกอนปาชายเลนเปน โคลนชองวางระหวางอนุภาคตะกอนมีขนาดเล็กมากหรือไมมีเลย ทําใหการแทรกตัวของออกซิเจนลงสู ชั้นดินพื้นทะเลไดปริมาณนอยมากบริเวณผิวพื้นทะเลหรือแทบไมไดเลย (Hylleberg & Riis-Vestergaard, 1984) ทําใหดินพื้นทะเลเกิดสภาวะขาดออกซิเจน ตารางที่ 1 คาเฉลี่ยของดินตะกอนในพื้นทีป่ าชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก สถานี ฤดู สมุทรสาคร แลง ฤดูฝน ฤดู สมุทรสงคราม แลง ฤดูฝน ฤดู เพชรบุรี แลง ฤดูฝน

Median Grain size mm 0.06±0.00 0.06±0.01 0.08±0.01 0.08±0.01 0.06±0.02 0.06±0.01

Silt-clay % dry weight 73.61±3.31

Organic Matter % dry weigh

72.68±7.72 78.92±6.99

13.54±0.05

81.57±5.43 64.13±6.78

12.32±1.80

63.92±4.34

9.38±1.56

14.50±0.76

12.58±1.30

10.97±0.97

229


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลการวิเคราะหทางสถิติปริมาณความหนาแนนของไสเดือนตัวกลมทะเล พบวามีความแตกตาง ทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05) ระหวางฤดูสํารวจ กลาวคือ ฤดูแลงพบความหนาแนนเฉลี่ยสูง กวาฤดูฝน (ตารางที่ 4) แมวาไมพบความแตกตางทางสถิติของดินตะกอนและอินทรียสารระหวางพื้นที่ ศึกษาแตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญระหวางพื้นที่สํารวจ (p < 0.05) ซึ่งอาจจะมีความแตกตาง ตามลักษณะของแหลงที่อยูอาศัยขนาดยอย (micro-habitat) ของแตละพื้นที่ และพบวาไมมีความสัมพันธ ระหวางไสเดือนตัวกลมทะเลกับขนาดอนุภาคดินตะกอน และปริมาณอินทรียสาร พื้นที่ปาชายเลนธรรมชาติฝงตะวันตกปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร พบไสเดือนตัวกลม ทะเล 45 สกุล จาก 17 วงศ (ตารางภาคผนวก) ความหนาแนนเฉลี่ยฤดูแลงมากกวาฤดูฝน (ตารางที่ 2) ชนิดเดนๆ ประกอบดวย Anoplostoma sp. Terschellingia sp. Halalaimus sp. และ Trissonchulus sp. การวิเคราะหความแตกตางทางสถิติระหวางฤดู พบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05) ความหนาแนนเฉลี่ย 643 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ฤดูแลงพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 37 สกุลจาก 16 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 855 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Anoplostoma sp. Halalaimus sp. Terschellingia sp. และ Sabatieria sp. ตามลําดับ ขณะที่ฤดูฝนพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 33 สกุลจาก 15 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 433 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Daptonema sp. Haliplectus sp. และ Halalaimus sp. ตามลําดับ รูปที่ 2 ความชุกชุมเฉลี่ย (ตัว/10 ตารางเซนติเมตร) ของไสเดือนตัวกลมทะเล พื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก จังหวัดสมุทรสาคร (SK) สมุทรสงคราม (SS) และเพชรบุรี (PB)

พื้นที่ปาชายเลนปลูกป 2535 จังหวัดสมุทรสงคราม พบไสเดือนตัวกลมทะเล 43 สกุล จาก 17 วงศ (ตารางภาคผนวก) ความหนาแนนเฉลี่ย 1,078 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร พบความชุกชุมเฉลี่ยฤดู แลงมากกวาฤดูฝน สอดคลองกับการศึกษาของชวาพร จิตตนูนท (2547) ทําการศึกษาประชาคม ไสเดือนตัวกลมทะเล บริเวณปาชายเลนบานคลองโคลน จังหวัดสมุทรสงคราม การวิเคราะหความ แตกตางทางสถิติระหวางฤดูพบวาไมมีความแตกตางทางสถิติ (p > 0.05) ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. และ Daptonema sp. 230


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก

ฤดูแลงพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 33 สกุลจาก 17 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 1,403 ตัว/ 10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Daptonema sp. Metachromadora sp. และ Ptycholaimellus sp. ตามลําดับ สวนฤดูฝนพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 38 สกุลจาก 16 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 754 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Halalaimus sp. Trissonchulus sp. และ Hopperia sp. ตามลําดับ ตารางที่ 2 คาเฉลี่ย คาต่ําสุด และคาสูงสุดของไสเดือนตัวกลมทะเล พื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ความหนาแนน

สมุทรสาคร

สมุทรสงคราม

เพชรบุรี

(ตัว/10 ตารางเซนติเมตร)

ฤดูแลง

ฤดูฝน

ฤดูแลง

ฤดูฝน

ฤดูแลง

ฤดูฝน

เฉลี่ย

855

433

1403

754

1016

681

ต่ําสุด

612

284

1136

230

536

430

สูงสุด one way ANOVA

1082

614

1692

1200

1714

1163

p < 0.05

p < 0.05

p < 0.05

พื้นที่ปาชายเลนปลูกป 2540 จังหวัดเพชรบุรี พบไสเดือนตัวกลมทะเล 39 สกุล จาก 16 วงศ (ตารางภาคผนวก) ความหนาแนนเฉลี่ย 848 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร พบความชุกชุมเฉลี่ยฤดูแลง มากกวาฤดูฝน (ตารางที่ 2) การวิเคราะหความแตกตางทางสถิติระหวางฤดูพบวามีความแตกตาง อยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05) ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Microlaimus sp. Daptonema sp. และ Ptychalaimellus sp. ฤดูแลงพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 38 สกุลจาก 16 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 1,016 ตัว/ 10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Microlaimus sp. Daptonema sp. และ Ptycholaimellus sp. ตามลําดับ และฤดูฝนพบไสเดือนตัวกลมทะเลทั้งหมด 29 สกุลจาก 15 วงศ ความหนาแนนเฉลี่ย 681 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ชนิดเดน ๆ ประกอบดวย Terschellingia sp. Ptycholaimellus sp. Anoplostoma sp. และ Sphaerolaimus sp.

231


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณความหนาแนน และชนิดเดนของไสเดือนตัวกลมทะเลจากการศึกษานี้ กับการศึกษาอื่น ๆ บริเวณพื้นที่ปาชายเลนอาวไทย สถานที่

ปาชายเลนคลองโคลน จังหวัดสมุทรสงคราม

ปาชายเลนคลองบางกรานอย จังหวัดเพชรบุรี

ปาชายเลนอาวปากพนังฝง ตะวันออก จังหวัดนครศรีธรรมราช

ปาชายเลนฝงตะวันตกปากแมน้ํา ทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

ปาชายเลนคลองโคลน จังหวัดสมุทรสงคราม

ปาชายเลนบางขุนไทร จังหวัดเพชรบุรี

ชนิดเดน Terschellingia cf longicaudata Daptonema sp. Haliplectus sp. Sabetieria sp. Terschellingia cf longicaudata Paradontophora sp. Sabetieria sp. Haliplectus sp. Dorylaimopsis sp. Daptonema sp. Desmodora sp. Terschellingia cf longicaudata Haliplectus sp. Perspiria sp. Anoplostoma sp. Terschellingia sp. Halalaimus sp. Trissonchulus sp. Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. Daptonema sp. Terschellingia sp. Microlaimus sp. Daptonema sp. Ptychalaimellus sp.

ความหนาแนน (ตัว/10 ตาราง เซนติเมตร)

ที่มา

133-699

ชวาพร จิตตนูนท (2547)

180-684

ชวาพร จิตตนูนท (2547)

498-2,863

จิราวรรณ ใจเพิ่ม (2553)

284-1,082

การศึกษาครั้งนี้

230-1,692

การศึกษาครั้งนี้

430-1,714

การศึกษาครั้งนี้

ความหลากหลายทางชนิดของไสเดือนตัวกลมทะเล พื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก พบวา ดัชนีความหลากหลายทางชนิดมีคาเฉลี่ยอยูในชวง 2.48-2.66 และความสม่ําเสมอทางชนิดเฉลี่ยมีคา อยูในชวง 0.69-.82 แสดงใหเห็นวาปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตกจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี มีจํานวนชนิดคอนขางมากและมีชนิดที่ชุกชุมอยูหลายชนิด ซึ่งสอดคลองกับการศึกษา ประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลบริเวณปาชายเลนชายฝงอาวไทยตอนใน (ชวาพร จิตตนูนท, 2547) 232


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก

โดยมีคาความหลากหลายทางชนิดเฉลี่ยอยูในชวง 2.84-3.16 และคาความสม่ําเสมอทางชนิดเฉลี่ยอยู ในชวง 0.77-0.87 (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 คาเฉลี่ย ของจํานวนชนิด ดัชนีความหลากหลายชนิด และดัชนีความสม่ําเสมอทางชนิด ของไส เ ดื อ นตั ว กลมทะเล พื้ น ที่ ป า ชายเลนอ า วไทยฝ ง ตะวั น ตก จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี Station สมุทรสาคร (SS) สมุทรสงคราม (SK) เพชรบุรี (PB)

Species number ฤดูแลง ฤดูฝน 37 33 33 38 38 29

Diversity index ฤดูแลง ฤดูฝน 2.58 2.48 2.54 2.55 2.66 2.53

Evenness index ฤดูแลง ฤดูฝน 0.88 0.98 0.82 0.89 0.86 0.91

รูปที่ 3 การวิเคราะหชนิดและความหนาแนนของประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก จังหวัดสมุทรสาคร (SK) สมุทรสงคราม (SS) และเพชรบุรี (PB) ดวย MDS on ln (x+1) transformed abundances, stress = 0.12)

การวิเคราะหความแปรปรวนลักษณะประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ดวยเทคนิคแบบหลายตัวแปรดวยวิธี Cluster และ MDS ซึ่งแสดงความแตกตางลักษณะประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเล จากการใชเทคนิคหลายตัว แปรศึกษาชนิดสัตวพื้นทะเลขนาดกลาง สามารถแยกประชาคมไสเ ดือ นตัว กลมทะเลออกไดเ ปน 3 กลุมใหญ (รูปที่ 3) กลุมที่ 1 จัดเปนกลุมใหญขอมูลหลักประกอบดวยขอมูลฤดูแลงของพื้นที่จังหวัด สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ปริมาณความหนาแนนระหวาง 367-1,518 ตัว/10 ตารางเมตร กลุมที่ 2 ประกอบดวยขอมูลฤดูฝนจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ปริมาณความหนาแนนระหวาง 282-1,048 ตัว/10 ตารางเมตร สวนกลุมที่ 3 ประกอบดวยขอมูลหลักพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณ ความหนาแนนระหวาง 482-1,620 ตัว/10 ตารางเมตร แมวาผลการวิเคราะหแสดงถึงความแตกตาง

233


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ลั ก ษณะประชาคมไส เ ดื อ นทะเลในแต ล ะพื้ น ที่ แ ละฤดู ก าล ที่ อ าจจะเกิ ด จากความแตกต า งด า น สภาพแวดลอมของแตละพื้นที่ซึ่งไมไดดําเนินการศึกษาในครั้งนี้ โดยเฉพาะความหลากหลายของแหลง ที่อยูอาศัยขนาดยอยที่เหมาะสมตอประชากรไสเดือนตัวกลมทะเล อยางไรก็ตามขอมูลนี้สามารถใช เปนแนวทางเบื้องตนสําหรับการศึกษาตอไป สรุปผลการศึกษา 1. พื้ น ที่ ป า ชายเลนอ า วไทยฝ ง ตะวั น ตกจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร สมุ ท รสงคราม และเพชรบุ รี พบไสเดือนตัวกลมทะเล 3 อันดับไดแก Enoplida Chromadora และMonhysterida รวมทั้งสิ้น 56 สกุล จาก 17 วงศ (ตารางภาคผนวก) ชนิดเดนที่พบประกอบดวย Terschellingia sp. Anoplostoma sp. Halalaimus sp. และ Daptonema sp. ตามลําดับ การแพรกระจายและความชุกชุมของชนิดไสเดือนตัว กลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตกไมมีความแตกตางทางสถิติ 2. ความหนาแนนเฉลี่ยของไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตก จังหวัด สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี มีคาระหวาง 433-1,403 ตัว/10 ตารางเซนติเมตร ฤดูแลงมี ความหนาแนน เฉลี่ยมากกวาฤดูฝนทุกพื้นที่ศึกษา และมีความแตกตางทางสถิติอ ยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05) ระหวางฤดูสํารวจ องคประกอบของไสเดือนตัวกลมทะเลพื้นที่ปาชายเลนธรรมชาติ จังหวัด สมุทรสงครามมีความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05) กับพื้นที่ปาชายเลนปลูกป 2535 จังหวัดสมุทรสาคร และปาชายเลนปลูกป 2540 จังหวัดเพชรบุรี โดยความหนาแนนไสเดือนตัวกลม ทะเลพื้นที่ปาชายเลนปลูกป 2535 จังหวัดสมุทรสงครามมีคาเฉลี่ยสูงสุด สวนพื้นที่ปาชายเลน ธรรมชาติ จังหวัดสมุทรสาคร และปาชายเลนปลูกป 2540 จังหวัดเพชรบุรีมีคาเฉลี่ยใกลเคียงกัน 3. ดินตะกอนพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝงตะวันตกมีลักษณะเปนโคลนเหลว ขนาดอนุภาค ตะกอนดินเฉลี่ย 0.068±0.01 มิลลิเมตร ปริมาณอินทรียสารเฉลี่ย 12.21±2.02 เปอรเซ็นตน้ําหนักแหง ไมมีความแตกตางทางสถิติของดินตะกอนระหวางพื้นที่ศึกษา และไมมีความสัมพันธระหวางไสเดือน ตัวกลมทะเลกับขนาดอนุภาคดินตะกอนและปริมาณอินทรียสาร กิติกรรมประกาศ คณะผูวิจัยขอขอบคุณเจาหนาที่ สถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 6 (จังหวัดเพชรบุรี) และ สถานีพัฒนาทรัพ ยากรปา ชายเลนที่ 7 (จัง หวัด สมุท รสงคราม) ที่อํา นวยความสะดวกในการเก็บ ตัวอยาง และเจาหนาที่ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบนที่ชวยเหลือระหวางการ ดําเนินงานตางๆ ตลอดจนผูที่ไมไดกลาวนามในที่นี้ที่ใหขอเสนอแนะและตรวจแกไขรายงานฉบับนี้จน เสร็จสมบูรณ

234


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก

เอกสารอางอิง จิราวรรณ ใจเพิ่ม. 2553. ชุมนุมสิ่งมีชีวิตไสเดือนตัวกลมทะเลในบริเวณอาวปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 159 หนา. ชวาพร จิตตนูนท. 2547. ประชาคมไสเดือนตัวกลมทะเลบริเวณปาชายเลนชายฝงอาวไทยตอนใน. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 151 หนา. ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ อิชฌิกา ศิวายพราหมณ สุพิชญา วงศชินวิทย ศิริมาศ สุขประเสริฐ กรอร วงษ กําแหง และ บัญชา สบายตัว. 2550. สัมผัสชีวิตเจาถิ่นปาเลน. ใน: ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ อิชฌิกา ศิวายพราหมณ และ พรเทพ พรรณรักษ (บรรณาธิการ) พลิกปาฟนสูศูนยฯสิรินาถราชินี. หนา 101-205. ฐิตินันท ศรีสถิต สุวลักษณ สาธุมนัสพันธุ และจิระศักดิ์ ชูความดี. 2545. อัตราการรอดของกลาไมที่ ปลูกในพื้นที่ดินเลนงอกใหม ตําบลคลองโคลน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. ใน: การ สัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 12 “สรางเสริม ประยุกตความรูสูชุมชน”. วันที่ 28-30 สิงหาคม 2545. คณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติชายเลนแหงชาติ สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. นครศรีธรรมราช. หนา I-15. วัลภา ทองดียิ่ง พัชราภรณ เยาวสุต สุชาติ สวางอารียรักษ สมบัติ ภูวชิรานนท และสุระชัย ภาสดา. (อยูระหวางการตีพิมพ). ประชาคมสัตวพื้นทะเลขนาดกลางในพื้นที่ปาชายเลนฝงตะวันตกของ อาวไทย. ใน: การประชุมวิทยาศาสตรทางทะเล 2553. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. อิชฌิกา ศิวายพราหมณ ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ พรเทพ พรรณรักษ สุพิชญา วงศชินวิทย และ กรอร วงษกําแหง. 2550. เคหาสนสีเขียว. ใน: ณิฏฐารัตน ปภาว สิทธิ์ อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ อิชฌิกา ศิวายพราหมณ และ พรเทพ พรรณรักษ (บรรณาธิการ) ปาชายเลนปราณบุรี...การเกื้อกูลสรรพชีวิตชายฝง. หนา 129-204. Alongi, D.M. 1990. Community dynamics of free-living nematodes in some tropical mangrove and sandflat habitats. Bulletin of Marine Science. 46(2): 358-373. Alongi, D.M., D.F. Boesch and R.J. Diaz. 1983. Colonization of meiobenthos in oilcontaminated subtidal sands in the lower Chesapeake Bay. Marine Biology. 72: 325-335. Buchanan, J.B.1984. Sediment analysis. In: Holme, N.A. & A.D. Mcintyre (eds.). Methods for the study of marine benthos. Blackwell Scientific Publication, California, USA. pp. 41-65. Clarke, K.R. and R.M. Warwick. 1994. Change in Marine Community: An Approach to Statistic Analysis and Interpretation. National Environment Research Council, United Kingdom. 144 pp. Hylleberg, J. & H. Riis-Vestergaard. 1984. Marine environments : the fate of detritus. Akademisk Forlag, Denmark. 288 pp. Mirto, S., T. La Rosa, C. Gambi, R. Danovara and A. Mazolla. 2002. Nematode community response to fish-farm in the western Mediterranean. Journal of Environment Pollution. 116: 203-214.

235


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Warwick, R.M., H.M. Platt and P.J. Somerfield. 1998. Free-living marine nematodes. Part III. British Monhysterids. Synopses of the British Fauna (New Series) No. 53. Field Studies Council, Shrewsbury. 296 pp. Somerfield, P.J. and R.M. Warwick. 1996. Meiofauna in Marine Pollution Monitoring Programmes: A Laboratory Manual. Ministry of Agriculture, Fisheries and Food Directorate of Fisheries Research, Lowestoft. 71 pp.

ตารางผนวก รายชื่อชนิด จํานวนชนิด ความหลากหลายทางชนิด ความสม่ําเสมอทางชนิด และความ ชุกชุม (ตัว/10 ตารางเซนติเมตร) ของไสเดือนตัวกลมทะเล ในพืน้ ที่ปาชายเลนอาวไทย ฝงตะวันตกทําการศึกษา อันดับ Enoplida

วงศ Anoplostomidae Leptosomatidae Oxystominidae

Chormadorida Chormadoridae

Cyatholaimidae

Selachinematidae Desmodoridae

236

ชนิด Anoplostoma sp. Trissonchulus sp. Metacylicolaimus sp. Halalaimus sp. Oxystomina sp. Metoncholaimus sp. Viscosia sp. Chromadora sp. Neochromadora sp. Ptycholaimellus sp. Comesoma sp. Dorylaimopsis sp. Dolicholaimus sp. Hopperia sp. Perrickia sp. Sabatieria sp. Acanthonchus sp. Cyatholaimus sp. Longicyatholaimus sp. Nannolaimoides sp. Paracanthochus sp. Paralongicyatholaimus sp. Demonema sp. Halichoanolaimus sp. Desmodora sp. Metachromadora sp. Sigmophoranema sp. Microlaimus sp.

สมุทรสาคร ฤดูแลง ฤดูฝน 234.63 14.38 37.75 45.75 0.50 103.38 16.63 0.63 2.38 1.13 11.88 1.13 14.63 15.63 36.38 46.25

15.13 0.88 59.75 1.25 19.50

1.50 5.50 2.38 5.50 1.25 0.25 8.50

สมุทรสงคราม ฤดูแลง ฤดูฝน 282.75 38.13 67.75 47.00 0.38 152.00 90.13 0.88 0.63 8.38 0.63 29.25 80.13

0.25 19.50 27.38

61.75 0.75

29.38 0.56

1.00 0.50 31.13 75.50 0.13

0.75 19.00 60.38

66.63 0.38

6.50 46.63 0.25 26.00 1.00

15.13

16.25

26.38 2.63 0.13

18.63

60.00

0.63 11.50 0.38 2.25 36.88 2.50 3.25 2.63

เพชรบุรี ฤดูแลง ฤดูฝน 65.35 35.19 17.50 11.38

19.75

17.13

20.75 4.75

13.69 0.56

5.63

8.75

12.00

4.75

3.69

1.00 3.88 0.63

2.13 25.50 86.50 1.38 5.50

3.00 14.75 6.13

6.38 20.50 35.75 0.13 135.63

0.75 12.44

6.25

13.63

72.00


ความหลากหลายของไสเดือนตัวกลมทะเลในพื้นที่ปาชายเลนอาวไทยฝง ตะวันตก สมุทรสาคร

อันดับ

วงศ

Chormadorida Leptolaimidae Haliplectidae Aegialoalaimidae Desmoscolecidae

Xyalidae

Sphaerolaimidae Linhomoeidae

Monhysterida

Axonolaimidae Monhysteridae

Siphonolaimidae

เพชรบุรี

ชนิด ฤดูแลง

Leptolaimidae

สมุทรสงคราม

Antomicron sp. Camacolaimus sp. Leptolaimoides sp. Leptolaimus sp. Procamacolaimus sp. Haliplectus sp. Aegialoalaimus sp. Desmolorenzenia sp. Desmoscolex sp. Pareudesmoscolex sp. Daptonema sp. Linhystera sp. Theristus sp. Sphaerolaimus sp. Parasphaerolaimus sp. Desmolaimus sp. Disconema sp. Megadesmolaimus sp. Metalinhomoeus sp. Paralinhomoeus sp. Terschellingia sp. Parodontophora sp. Cobbia sp. Cobbia sp.(Wieseria) Monhystera sp. Paramonohystera sp. Promonhystera sp. Siphonolaimus sp. Species number Species diversity; H/ Evenness; J/

ฤดูฝน

5.38 0.13 10.38 33.75 6.25 1.75 0.13 39.13 0.25 27.88 14.38

1.38

1.50 37.25 5.25

ฤดูแลง 0.13 11.25

0.63 12.25 1.38 15.50 0.25 0.38 1.13

ฤดูฝน 10.75

9.06

0.38 4.25 41.38 6.25 0.38 0.25 0.25 30.38 0.75

3.00 24.00 13.88 7.25 3.75 0.25 80.75 0.25

2.06 21.38 9.25 0.25 1.13

60.88

30.75

39.25

32.44

5.63

5.00 0.13

25.63

16.31

5.00 33.38 4.00 0.13

41.38

ฤดูแลง 0.63 3.75

ฤดู แลง

122.50

74.13 0.75

20.38 1.18 0.13

107.88 1.38

129.38 0.25

249.75 14.38

1.13

244.38 5.63 1.13 0.38

262.75 4.75

196.9 4 1.56

2.00

0.25

0.50 6.50 37 2.58 0.97

0.63 33 2.48 0.93

Density (ind./10 cm2) 854.93

433.04

0.63 33 2.54 0.95 1403.1 6

6.88 38 2.55 0.96

0.38 5.75 38 2.66 1.00

753.92 1015.63

29 2.53 0.95 681.4 0

237


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

238


เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอน ระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลบานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร Comparison of Sediment level and Sedimentation Rate between inside and outside Bamboo Wall Erosion Protection Structure at Kok Kham, Meuang District, Samutsakorn.

สมภพ รุงสุภา สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 บทคัดยอ วัดการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอน หลังและหนาแนวปกไมไผ ชายฝงตําบลโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ฝงตะวันออกของแมน้ําทาจีน เปรียบเทียบระหวางฤดูมรสุม กับ นอก ฤดูมรสุม การเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเฉลี่ย (เซนติเมตร) หลังแนวปกไมไผ ชวงฤดูมรสุม (เดือน มกราคม-เมษายน) และ นอกฤดูมรสุม (เดือนพฤษภาคม-กันยายน) อยูในชวง (-0.7) – 7.7, 2.5-16.5 และ หนาแนวปกไมไผ เทากับ 3.3-9.3 และ 4.8-16.0 เซนติเมตร อัตราการตกตะกอน หลังแนวปก ไมไ ผ ชว งฤดูม รสุม (เดือ นเมษายน 2553) และนอกฤดูม รสุม (เดือ นกรกฏาคม 2553) เทา กับ 3,990.97 และ 1,425.50 กรัม/ตารางเมตร/วัน หนาแนวปกไมไผ เทากับ 4,359.61 และ 1,255.80 กรัม/ตารางเมตร/วัน ตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเฉลี่ยหลังปกไมไผมีคาใกลเคียงกับหนา แนวปกไมไผในชวงฤดูมรสุม แตมีคาต่ํากวาในชวงนอกฤดูมรสุม ในขณะที่อัตราการตกตะกอนหลัง แนวปกไมไผมีคาต่ํากวาหนาแนวปกไมไผในชวงฤดูมรสุม แตมีคาสูงกวาในชวงนอกฤดูมรสุม อัตรา การตกตะกอนทั้งหลังและหนาแนวปกไมไผชวงมรสุมสูงกวานอกมรสุม ประมาณ 3 เทา จากผล การศึกษาแสดงวาแนวปกไมไผมีผลทําใหเกิดการตกตะกอนหลังแนวปกไมไผ แตไมสามารถกักเก็บ ตะกอนไวได โดยตะกอนจะมีการตกหลังแนวปกไมไผในชวงฤดูมรสุมมากกวานอกฤดูมรสุม คําสําคัญ: การกัดเซาะชายฝง, เตายาง, แนวปกไมไผ, ปาชายเลนตามธรรมชาติ


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Sediment level and rate were measured between behind and in front of Bamboo Wall Erosion Protection structure in monsoon and non-monsoon period, Kok Khalm, Meaung District, Samutsakorn Province, east-side of Tachin River mouth. Average Sediment level, from marked ruler, behind Bamboo Wall in monsoon (January-April) and non-monsoon period (May-September) were (-0.67) – 7.67, 2.50-16.50 and 3.33-9.33, 4.83-16.00 cm. Sedimentation rate were 3,990.97, 1,425.50 and 4,359.61,1,255.80 grams/square meter/day. In monsoon period sediment level between behind and in-front-of Bamboo Wall was not different but lower in non-monsoon period at behind Bamboo Wall than in-front-of. Sedimentation rate, from sedimentation trap, behind Bamboo wall lower in monsoon period than in-front-of Bamboo wall but higher in non-monsoon period. Sedimentation Rate in this area was 3-times higher in monsoon period than non-monsoon, but Bamboo Wall couldn’t efficient to collected. The sedimentation was successfully increased in non-monsoon period behind Bamboo Wall than in monsoon period. Keyword: Coastal Erosion, Bamboo Wall, Sediment level, Sedimentation Rate

บทนํา การกัดเซาะชายฝงของประเทศไทยเกิดขึ้นอยางรุนแรงในหลายพื้นที่ พบวาการกัดเซาะชายฝง เกิดขึ้นในทุกจังหวัดบริเวณอาวไทย โดยอัตราการกัดเซาะรุนแรงมากกวา 5.0 เมตร ตอป (ซึ่งจัดเปน พื้นที่วิกฤต หรือพื้นที่เรงดวน) เกิดขึ้นในพื้นที่ชายฝง 13 จังหวัด คือ จันทบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี และนราธิวาส ระยะทางรวม 180.9 กิโลเมตร ประมาณรอยละ 10.9 ของแนวชายฝง ทะเลอาวไทย การกัดเซาะชายฝงระดับปานกลางเฉลี่ย 1.0-5.0 เมตรตอป (ถือเปนพื้นที่เสี่ยง) พบใน 14 จังหวัด คือ ตราด จันทบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี และนราธิวาส ระยะทางรวม 305.1 กิโลเมตร หรือ ประมาณรอ ยละ 18.4 แนวชายฝง ทะเลอา วไทยตอนบน ตั้ง แตป ากแมน้ํา บางปะกง จัง หวัด ฉะเชิงเทรา จนถึงปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร เปนพื้นที่ที่มีความออนไหว และมีการกัดเซาะ ขั้นรุนแรงมากที่สุด บริเวณชายฝงอันดามัน แมวายังมีปาชายเลนเหลืออยูมาก แตสวนใหญไดมีการใช ประโยชนไมเพื่อการเผาถานมาเปนเวลานาน ปาชายเลนหลายพื้นที่ตามแนวชายฝงไมมีปริมาณ หนาแนนเพียงพอที่จะตานภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะ Tsunami ไดเทาที่ควร ทําใหปาชายเลนถูกทําลาย ถึงบริเวณที่หางจากแนวชายฝงประมาณ 100- 150 เมตร ดังนั้น การปกปองแนวชายฝงทะเลจากภัย ธรรมชาติ จึงจําเปนตองมีปาชายเลนที่สมบูรณอยูอยางหนาแนนไมนอยกวา 150 เมตร จากแนวชายฝง บริเวณฝงตะวันออกของแมน้ําแมกลอง อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เปนบริเวณหนึ่งที่มีการ กัดเซาะรุนแรง ระหวาง พ.ศ.2517-2552 พบวาใน 3 ตําบล ไดแก บางหญาแพรก (ฝงตะวันออก) โคกขาม 240


เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอนระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลบานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

และพันทายนรสิงห มีพื้นที่กัดเซาะหายไปถึง 22.18, 601.89 และ 753.58 ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 1) คิดเปนอัตราการกัดเซาะ ถึง 0.74, 20.06 และ 25.12 ไร/ป กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซึ่งมี หนาที่ในการดูแลรักษาชายฝงรวมกับชาวบานในพื้นที่ซึ่งไดมีการนําภูมิปญญาชาวบานคือการใชไมไผ ตงขนาดใหญมาทําเปนแนวลักษณะคลายกําแพงเพื่อลดแรงคลื่นและเพิ่มการตกตะกอนหลังแนวปกไม ไผนั้น ซึ่งเปนแนวคิดมาจากการสังเกตุเห็นวาหลังแนวปกหอยแมลงภูในบริเวณใกลเคียงมีการงอกของ ดินเลนเกิดขึ้น แตอยางไรก็ตามเนื่องจากเปนการลงมือทําในลักษณะทดลองแบบชาวบาน ยังขาด ขอมูลที่จําเปนหลายอยางโดยเฉพาะอยางยิ่งยังไมมีการประเมินประสิทธิภาพในการลดแรงคลื่นและ เพิ่มตะกอน ซึ่งมีความจําเปนในการพัฒนารูปแบบ ลักษณะการวางและอาจตองใชโครงสรางอื่นๆมา เสริมใหมีประสิทธิภาพทั้งในการลดแรงคลื่นและเพิ่มการกักเก็บตะกอนยิ่งขึ้น ตารางที่ 1 พื้ น ที่ ช ายฝ ง ที่ ถู ก กั ด เซาะบริ เ วณฝ ง ซ า ยของแม น้ํ า แม ก ลอง อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สมุทรสาคร รายตําบลในแตละชวงเวลา ระหวาง พ.ศ.2517-2552 (จาก กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง, 2553) อัตราการกัดเซาะ(ไร/ป)

พื้นที่ชายฝงที่ถูกกัดเซาะ (ไร)

ตําบล

2517-2537

2537-2552

2517-2552

2517-2537

2537-2552

2517-2552

บางหญาแพรก (ฝงตะวันออก)

38.23

2.65

22.18

1.91

0.18

0.74

โคกขาม

350.99

332.97

601.89

17.55

22.19

20.06

พันทายนรสิงห

543.60

216.43

753.58

27.18

14.43

25.12

รวม

932.81

552.06

1,377.65

หมายเหตุ 1 ไรเทากับ 1,600 ตารางเมตร หรือ 0.0016 ตารางกิโลเมตร (จาก สมภพ และคณะ, 2552)

วัตถุประสงคของบทความนี้เพื่อวัดประสิทธิภาพของแนวปกไมไผชลอคลื่นในการดักตะกอนระหวาง ชวงฤดูมรสุมและนอกฤดูมรสุม วิธีการศึกษา วัดการเปลี่ยนแปลงของระดับตะกอนหลังแนวปกไมไผ และ หนาแนวปกไมไผ ดวยไมเมตรวัด ระดับ (รูปที่ 2) บริเวณแนวปกไมไผชลอคลื่น หนาศูนยอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 2 (จ.สมุทรสาคร) หมู 3 ตําบลโคกขามอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร (รูปที่ 1) ลักษณะโครงสรางเปน เสาไมไผขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 นิ้ว ยาว 6 เมตรปกลงพื้นทองทะเล จัดวางใหเปนรูปทรงสามเหลี่ยม จํานวน 90-100 ลํา ใหหัวสามเหลี่ยมเขาหาหนาคลื่น โดยปกเปน 4 แถว สลับกันเพื่อปดชองวาง (รูปที่ 3)

241


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

และวัดอัตราการตกตะกอนดวยทออคีลิคใส เสนผาศูนยกลาง 2 นิ้ว ยาว 30 เซนติเมตร (รูปที่ 4) (สมภพ รุงสุภา และ คณะ (2552)) โดยวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับตะกอนทุกเดือนระหวางเดือน มีนาคม 2552-เดือนมีนาคม 2553 และวัดอัตราการตกตะกอน ในเดือนเมษายน และ กรกฏาคม 2553 ตำบลโคกขาม อำเภอเมือง สมุทรสาคร N

#

#

12

11

10 #

7#

6#

8#

9#

4#

3#

2#

1#

รูปที่ 1 จุดวัดระดับตะกอน และ อัตราการตกตะกอน หมู 3 ตําบลโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

รูปที่ 2 ไมเมตรวัดระดับ

รูปที่ 3 แนวปกไมไผ

รูปที่ 4 ทอวัดอัตราการตกตะกอน

242


เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอนระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลบานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

ผลการศึกษาและวิจารณ ระดับตะกอน (เซนติเมตร) เทียบกับระดับเริ่มตนที่ ระดับ 50 เซนติเมตร ในเดือนสิงหาคม 2551 แสดงเปนชวงการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง (ตารางที่ 1) และคํานวนเปนคาเฉลี่ยของการ เปลี่ยนแปลงระดับตะกอนทั้งบริเวณหลังและหนาแนวปกไมไผ (ตารางที่ 2) ซึ่งจะแบงเวลาเปน 2 ชวง คือชวงฤดูมรสุม ระหวางเดือนมกราคม-เมษายน ซึ่งบริเวณที่ทําการศึกษาจะมีคลื่นลมแรงปะทะชายฝง โดยตรง และชวงนอกฤดูมรสุม ระหวางเดือนพฤษภาคม-กันยายน ซึ่งสวนใหญคลื่นลมจะสงบ ในขณะ ที่ชวงที่เหลือจะเปนชวงเปลี่ยนฤดูคลื่นลมอาจแรงบางสงบบางไมแนนอน บริเวณหลังแนวปกไมไผ ในชวงฤดูมรสุม มีคาการเปลี่ยนแปลงในลักษณะถูกกัดเซาะ ในขณะที่ชวงนอกฤดูมรสุมจะมีการ เพิ่มขึ้นของระดับตะกอนมากกวาฤดูมรสุม สําหรับบริเวณหนาแนวปกไมไผในชวงฤดูมรสุมจะมีการ ลดลงหรือ กัดเซาะและเพิ่มขึ้น ในชวงนอกฤดูม รสุม (ตารางที่ 1) โดย ชวงการเปลี่ย นแปลงระดับ ตะกอนหลังแนวปกไมไผจะเพิ่มขึ้นอยางมากเทียบกับหนาแนวปกไมไผในชวงนอกฤดูมรสุม อยางไรก็ ตามในภาพรวมทั้งบริเวณโดยใชคาเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเฉลี่ย (ตารางที่ 3) กลับพบวา บริเวณหนาแนวปกไมไผกลับมีการเพิ่มขึ้นของระดับตะกอนในชวงนอกฤดูมรสุมสูงกวาหลังแนวปกไม ไผ (รูปที่ 2) ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงของระดับตะกอนดังกลาวพบวาหลังแนวปกไมไผ บางบริเวณที่ติด กับชายฝง จะมีการลดลงมากและบางบริเวณจะเพิ่มขึ้นบางซึ่งทําใหคาเฉลี่ยรวมของทั้งบริเวณหลังแนว ปกไมไผต่ํากวาบริเวรนอกแนวปกไมไผเล็กนอย และการที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเพิ่มขึ้น มากในชวงนอกฤดูมรสุมนั้นเปนเพราะคลื่นลมที่สงบกวาในชวงมรสุมนั้นเอง อัตราการตกตะกอนเฉลี่ย (ตารางที่ 4) หลังแนวปกไมไผและหนาแนวปกไมไผ มีคาสูงมาก ในชวงฤดูมรสุม เทียบกับชวงนอกฤดูมรสุม ตรงขามกับระดับการเปลี่ยนแปลงตะกอน ทั้งนี้เพราะการ วัดอัตราการตกตะกอนดวยทออคลีริคใสนั้นจะเปนการวัดปริมาณตะกอนที่เกิดจริงจากการกระทําของ คลื่นลม การที่หนาแนวปกตะกอนในชวงฤดูมรสุมมีอัตราการตกตะกอนสูงเพราะบริเวณนี้จะมีการ กระทําของคลื่นลมสูงกวาดานหลังแนวปกไมไผ ที่คลื่นลมลดความแรงลงหลังผานแนวปกไมไผ จึงทํา ใหตะกอนหนาแนวปกไมไผตกลงในที่ดักตะกอนมากกวาดานหลังแนวปกไมไผ ในขณะที่ชวงนอกฤดู มรสุม คลื่นลมทั้งดานหนาและหลังแนวปกไมไผไมรุนแรงสวนใหญคลื่นลมสงบจึงทําใหตะกอนสามารถ เขาไปถึงชายฝงผานแนวปกไมไผไดมากกวา ไมฟุงกระจายตรงหนาแนวปกไมไผจึงทําใหอัตราการ ตะกอนหลังแนวปกไมไผสูงกวาดานหนาแนวปกไมไผแตจะยังต่ํากวาในชวงฤดูมรสุม(ตารางที่4 รูปที่3)

243


244

หมายเหตุ -

5.3 (-1-13) 7.3 (-1-15)

9.5 (0-22) 13.3 (0-32)

12.7 (-3-25) 15.0 (5-21)

16.5 (5-29) 16.0 (9-20)

2.5 (-4-9) 4.8 (-3-10)

2.5 (-4-9) 3.7 (-4-9)

0.0 (-8-6) 6.0 (0-9)

0.3 (-7-7) 6.2 (0-9)

-0.7 (-9-5) 3.3 (0-6)

1.5 (-6-8) 5.5 (0-9)

7.7 (-7-22) 9.3 (-10-17)

-6.8 (-20-8) 0.0 (-13-5)

4.2 (-5-10) 3.3 (-5-20)

6.5 (0-11) 2.3 (-6-7)

มี.ค.-52 เม.ย.-52 พ.ค.-52 มิ.ย.-52 ก.ค.-52 ส.ค.-52 ก.ย.-52 ต.ค.-52 พ.ย.-52 ธ.ค.-52 ม.ค.-53 ก.พ.-53 มี.ค.-53

สค.-51

คาติดลบหมายถึงระดับตะกอนลดลงเมื่อเทียบกับระดับเริ่มตน ฤดูมรสุม ระหวาง เดือนมกราคม-เมษายน นอกฤดูมรสุมระหวางเดือนพฤษภาคม-กันยายน ชวงที่เหลือเปนชวงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล

เฉลี่ยหนาแนวปกไมไผ

เฉลี่ยหลังแนวปกไมไผ

จุดวัดระดับตะกอน

ตารางที่ 3 การเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเฉลี่ยและคาต่ําสุด-สูงสุด (เซนติเมตร) หลังและหนาแนวปกไมไผ

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอนระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลบานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเฉลีย่ ระหวางหลังและหนาแนวปกไมไผ

ตารางที่ 4 อัตราการตกตะกอนเฉลี่ย (กรัม/ตารางเมตร/วัน) ฤดู ฤดูมรสุม (เม.ย.53) นอกฤดูมรสุม(ก.ค.53)

หลังแนวปกไมไผ 3,990.97 1,425.50

หนาแนวปกไมไผ 4,359.61 1,255.80

รูปที่ 6 อัตราการตกตะกอน (กรัม/ตารางเมตร/วัน)

245


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สรุปผลการศึกษา ประสิทธิภาพของแนวปกไมไผชลอคลื่นโดยการวัดการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนเทียบกับ ชวงเวลาเริ่มตนในเดือนสิงหาคม 2551 จะทําใหทราบการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนวาเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงซึ่งเมื่อเทียบกับระดับตะกอนดานนอกแนวปกไมไผก็จะทําใหทราบวาแนวปกไมไผมีผลทําให ระดับตะกอนเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาไร ถาเพิ่มขึ้นมากกวาดานหนาแนวปกไมไผ ก็หมายถึงมีประสิทธิภาพ ในการกักเก็บตะกอนไวภายในดานหลังแนวปกไมไผ ซึ่งจะเปนผลทั้งจากความสามารถในการชลอลง ความแรงของคลื่นและความสามารถในการทําใหตะกอนที่ผานเขามาแลวสามารถตกลงที่พื้นสะสมอยู ไดโดยไมถูกนําออกไปในขณะน้ําลงหรือเมื่อมีคลื่นลมรุนแรง ในขณะที่การวัดอัตราการตกตะกอนดวย ทออครีลิคใสนั้นจะเปนการวัดความสามารถในการนําตะกอนมากับน้ําทะเลที่ไหลเขามาแลวปะทะกับ แนวปกไมไผ ซึ่งตะกอนจะมาจากทั้งทะเลดานนอกและการฟุงกระจายขึ้นมาของตะกอนจากพื้นทะเล ดานหนาแนวปกไมไผ โดยในฤดูมรสุมที่มีคลื่นลมแรงนั้นจะทําใหคลื่นปะทะกับแนวปกไมไผเกิดความ ปนปวนดานหนาแนวปกไมไผจึงทําใหเกิดการฟุงกระจายของตะกอนมากกวากวานอกฤดูมรสุม และ ตะกอนนี้ก็จะไหลผานแนวปกไมไผเขาไปยังดานในติดชายฝงได ซึ่งในกระบวนการที่คลื่นลมรุนแรง และเกิดการปะทะกับแนวปกไมไผจึงทําใหตะกอนที่ตกลงในทอดักตะกอนดานหนาแนวปกไมไผสูงกวา ดานหลังแนวปกไมไผและสูงกวาในชวงนอกฤดูมรสุม จากผลการวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับตะกอนและอัตราการตกตะกอนสามารถกลาวไดวา แนวปกไมไผสามารถทําใหเกิดการตกตะกอนเพิ่มขึ้นจริงเมื่อเทียบกับดานหนาแนวปกไมไผ แตจะ เกิดเฉพาะในชวงนอกฤดูมรสุม ทั้งที่อัตราการตกตะกอนหรือปริมาณตะกอนในชวงมรสุมสูงกวาก็ตาม เนื่องจากแนวปกไมไผในลักษณะที่ทําการวัดนี้สามารถชลอคลื่นและเก็บกักตะกอนไดจริงแตในกรณีที่ คลื่ น ลมไม รุ น แรงมากนั ก หรื อ ในช ว งนอกฤดู ม รสุ ม จึ ง จํ า เป น ต อ งมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบ เช น เพิ่ ม โครงสร างด านล างแนวป ก ไม ไผ เ พื่อ ป อ งกั น ไม ให ต ะกอนที่ เ พิ่ง ตกลงมาและยั ง อาจไม แข็ ง ตัว ไหล ยอนกลับออกไมไดอีก หรือวิธีการวางเชน จํานวนชั้น และระยะหางจากแนวชายฝง เพื่อเพิ่มเวลา และระยะทางใหตะกอนมีโอกาศตกและสะสมตัวไดมากขึ้น จาก ธวัต แทนไฮ (2549) (อางโดย สมภพ รุงสุภา และ คณะ, 2552) ศึกษาการปองกันการกัด เซาะชายฝงและการทับถมของตะกอนดิน โดยใชไมไผรวก บริเวณปาชายเลน ตําบลคลองดาน อําเภอ บางบอ จังหวัดสมุทรปราการ เทียบระหวางบริเวณที่มีการปกไมไผ กับ ไมมีการปกไมไผ พบวา บริเวณที่มีการปกไมไผมีการกัดเซาะนอยกวาบริเวณที่ไมมีการปกไมไผ เทากับ 0.00-62.00 และ 42.00-483.00 เซนติเมตร ตามลําดับ ในขณะที่การทับถมของตะกอนดินบริเวณที่มีการปกไมไผสูงกวา บริเวณที่ไมมีการปกไมไผ อยูในชวง 36.83-46.00 และ 14.33-19.67 เซนติเมตร ตามลําดับ แสดงถึง การปกไมไผมีสวนชวยใหการกัดเซาะลดนอยลงและเพิ่มการทับถมของตะกอนดินได ซึ่งสอดคลองกับ ผลการวัดในครั้งนี้ ทั้งนี้ ปราโมทย โศจิศุภร (2552) ตรวจวัดคลื่นดานหลังแนวปกไมไผที่ชายฝงทะเล สถานตากอากาศบางปู อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ซึ่งปกแนวไมไผทึบ 1 แนวดานหลัง แนวไมไผปก 246


เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแนวปกไมไผตอการเปลี่ยนแปลงระดับและอัตราการตกตะกอนระหวางนอกและในฤดูมรสุม : ตําบลบานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

ชิดกันแตมีระยะหางอีก 4 แนว แนวไมไผทางฝงขวายาวประมาณ 400 เมตรอยูหางฝงประมาณ 200 เมตร และทางฝงซายของสะพานยาวประมาณ 700 เมตร อยูหางฝงประมาณ 150 เมตร พบวาเปน คลื่นขนาดเล็กจนถึงปานกลาง ความสูงคลื่นไมมากเนื่องจากวาจุดที่ตรวจวัดเปนเขตใกลฝงที่น้ําตื้น มาก ชายฝงลาดมาก คลื่นนาจะแตกตัวกอนเคลื่อนเขาหาฝง คาบคลื่นมีคาอยูในชวง 3-4 วินาที แนว ไมไผดังกลาวสามารถลดพลังงานคลื่นไดประมาณ 10-34 เปอรเซ็นตซึ่งนอยกวาที่คาดคิดไว โดยคาด วาเมื่อปกแนวไมไผชิดกันมากๆ นาจะลดคลื่นไดมาก แตพบวาคลื่นดังกลาวสามารถผานชองแคบ เล็กๆ ไปได จะเห็นไดวาแนวไมไผไมสามารถลดทอนคลื่นขนาดเล็กไดมากนัก แตไมมีผลตอการกัด เซาะชายฝงเนื่องจากคลื่นขนาดเล็กไมมีพลังงานเพียงพอที่จะทําใหเกิดการกัดเซาะทองน้ําและชายฝงได ทั้งนี้จากผลการวัดครั้งนีแ้ ละจากรายงานที่กลาวแลว แนวปกไมไผชลอคลื่นที่ตําบลโคกขาม จะ มีประสิทธิภาพในการลดพลังงานคลืน่ ไดประมาณใกลเคียงกับ 10-34 เปอรเซนต โดยจะมีประสิทธิภาพ มากสําหรับคลื่นขนาดเล็กที่พบในชวงนอกฤดูมรสุม และไมคอยมีผลในการลดพลังงานคลื่นเนื่องจาก ไมสามารถทําใหเกิดการตกตะกอนหลังแนวปกไมไผไดในชวงฤดูมรสุม ผลการวัดการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนและอัตราการตกตะกอน เพื่อวัดประสิทธิภาพของแนว ปกไมไผ นั้นพบวาสามารถประยุกตใชการวัดระดับการเปลี่ยนแปลงดวยไมเมตรวัดระดับ ในการวัด ประสิทธิภาพของแนวปกไมไผหรือโครงสรางปองกันอื่นๆ โดยติดตั้งไมเมตรวัดระดับนอกและหลัง โครงสรางนั้นๆ และทําการวัดระดับตะกอนที่เปลี่ยนแปลงไปอยางนอย เดือนละ1 ครั้งเทียบกับเวลา เริ่มตน โดยมีจํานวนจุดวัดไมนอยกวา 6 จุดในแตละบริเวณที่ระยะหางตางๆกันตามความเหมาะสม ก็จะสามารถนํามาคํานวนการเปลี่ยนแปลงระดับตะกอนวาเพิ่มหรือลดลงอยางไร เทาไร ในชวงไหนของป ก็จะสามารถประเมินประสิทธิภาพเพื่อนําไปปรับปรุงเพิ่มเติมรูปแบบและลักษณะการปกแนวปกไมไผ และโครงสรางปองกันการกัดเซาะชายฝงแบบอื่นๆได กิตติกรรมประกาศ บทความนี้เปนสวนหนึ่งใน โครงการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการแกปญหา การกัดเซาะและฟนฟูพื้นที่ชายฝงทะเล โดยการมีสวนรวมของประชาชน จังหวัดสมุทรสาคร ไดรับการ สนับสนุนโดย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

247


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง สมภพ รุงสุภา, พิพัฒน พัฒนผลไพบูลย และ ศศิธร พวงปาน, 2552. “ความสัมพันธของอัตราการ ตกตะกอนและปริมาณตะกอนแขวนลอยกับการกัดเซาะชายฝง” วันที่ 30 สิงหาคม 2552. Thailand Research Symposium 2009: 26-30 สิงหาคม 2552 ปราโมทย โศจิศุภร, 2552. ประสิทธิภาพของแนวไมไผในการลดพลังงานคลื่นบริเวณสถานตากอากาศ บางปู (ติดตอสวนตัว) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2553. โครงการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการ แกปญหาการกัดเซาะและฟนฟูพื้นทีช่ ายฝงทะเล โดยการมีสวนรวมของประชาชน จังหวัด สมุทรสาคร.,

248


ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต The Habitat and Threats to Aegialitis rotundifolia in Phuket

สมบัติ กาญจนไพหาร กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง บทคัดยอ การศึกษาถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต ได ดําเนินการศึกษาในพื้นที่ปาชายเลนคลองอูตะเภา บริเวณริมชายฝงทะเลบานทาฉัตรไชย อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทําการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ถึงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2551 โดยวาง แปลงศึกษาขนาด 10 X 10 ตารางเมตร จํานวน 46 แปลง ครอบคลุมทั่วพื้นที่ ที่พบตนใบพายขึน้ อาศัยอยู ผลการศึกษาพบวา ตนใบพายจํานวน 51 ตน ขึ้นกระจายเปนกลุมครอบคลุมพื้นที่ขนาด 400 ตารางเมตร ในปาชายเลนริมชายฝงทะเลบริเวณปากคลองอูตะเภา ซึ่งมีน้ําทะเลทวมถึงบอยและมีเนื้อดินเปนทราย ละเอียดปนดินเลน คาความสูงเฉลี่ยของตนใบพาย 1.01 เมตร โดยตนที่สูงที่สุดมีขนาด 3.10 เมตร และในการศึกษาภัยคุกคามที่เปนอันตรายตอการอยูรอดของตนใบพาย พบวามีภัยคุกคาม 4 ประการ ดังนี้ ประการแรกตนใบพายมีลักษณะลําตนและกิ่งที่เปราะหักงาย ประการที่สอง พบซากกิ่งไมและเศษ สิ่งของลอยมากระแทกหรือทับถมบนลําตน ประการที่สาม ลักษณะของผลและเมล็ดมีเปลือกหุมหนาใช เวลาในการงอกยาวนานและมีหนอนแมลงเจาะทําลายดานในเมล็ด จึงเปนอุปสรรคตอการสืบพันธุ ตามธรรมชาติ ประการที่สี่ การพัฒนาพื้นที่ชายฝงบริเวณรอบพื้นที่ที่เปนถิ่นที่อยูของตนใบพาย ซึ่งเสี่ยง ตอการถูกเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ในอนาคต คําสําคัญ: ถิ่นที่อยูอาศัย, ภัยคุกคาม, ปาชายเลน, ใบพาย


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The study on the habitat and threats to Aegialitis rotundifolia in Phuket was carried out at Khlong U-Tapao mangrove forest, Phuket province during June 2007 to February 2008. Forty-six sample plots of 10 X 10 m2 were laid around the area of which A. rotundifolia was found. The result revealed the existence of fifty-one A. rotundifolia were occupying on the area of less than 400 m2 in shoreline mangrove on sandy clay soil near estuary. The average height of A. rotundifolia was 1.01 m. and the highest was 3.10 m. Four threats to A. rotundifolia were found in the area. As following, The weak character of delicate branches and stem of A. rotundifolia were easily injured and died. The seedlings of A. rotundifolia were hit and run over with the dead branches and other floating. The bend seed and the trick pericarp fruit of A. rotundifolia was the cause of damaged before sprouted. The insect and the worms were boring and damaging the seed of A. rotundifolia. And the extensive coastal development around the habitat was the cause of A. rotundifolia declining. And the habitat was at risk to changing in the future. Keyword: Habitat, Threats, Mangrove, Aegialitis rotundifolia.

บทนํา ปาชายเลนเปนกลุมสังคมพืชที่ขึ้นยูตามชายฝงทะเล ปากแมน้ํา อาว ทะเลสาบและเกาะในบริเวณที่มี ดินเลน และอยูระหวางน้ําขึ้นสูงสุดและลงต่ําสุด ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพันธุไมขึ้นอยูกับ ภูมิอากาศ ความเค็มของน้ํา การขึ้นลงของกระแสน้ํา ความรุน แรงของคลื่นและการสะสมตัวของ ตะกอน สรายุทธ (2554) ไดสรุปไววา ปาชายเลนประกอบดวยพืชสองกลุมใหญๆ คือพืชบกและพืช ทะเล พืชบกเปนกลุมพรรณพืชประกอบดวย ไมยืนตน ไมพุม ไมลมลุก ปาลม ไมอิงอาศัย กาฝาก เปนองคประกอบหลัก สวนพืชทะเล ไดแก สาหราย พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทยเทาที่มีการ บันทึกมีเพียง 168 ชนิด จาก 118 สกุล 54 วงศ โดยเปนไมยืนตนและไมพุมเพียง 102 ชนิด 69 สกุล 37 วงศ ในจํานวนนี้เปนพันธุไมปาชายเลนที่แทจริง 41 ชนิด 22 สกุล 14 วงศ (ไมยืนตนและไมพุม 36 ชนิด 19 สกุล 12 วงศ) ที่เหลือเปนพันธุไมบกที่ขึ้นรวมกับพันธุไมปาชายเลน พันธุไมเดนที่เปนไมปา ชายเลนแทจริงในประเทศไทย สวนใหญเปนพันธุไมในวงศไมโกงกาง (Rhizophoraceae) ซึ่งประกอบดวย พันธุไม 10 ชนิด ใน 4 สกุล สําหรับแหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติของพืชในระบบนิเวศปาชายเลนซึ่ง ขึ้นอยูในสภาพแวดลอมที่มีกระแสน้ําขึ้นลงและน้ํามีความเค็มและดินมีลักษณะเปนเลน พืชปาชายเลน จึงตองมีการปรับตัวเพื่อใหสามารถอยูรอดและเจริญเติบโตไดนั้น อภิชาติ (2543) ไดกลาวไววา สังคม พืชปาชายเลนมีการปรับตัวโดยการมีตอมขับเกลือ ผิวใบมีผนังหนา ใบอวบน้ํา ลําตนมีชองอากาศและ มีรากหายใจในลักษณะแตกตางกัน มีผลและเมล็ดที่ลอยน้ําได บางชนิดมีเมล็ดที่งอกตั้งแตอยูบนตน เพื่อชวยในการสืบพันธุตามธรรมชาติ จังหวัดภูเก็ตแมจะมีพื้นที่ปาชายเลนไมมากนัก แตเนื่องจากสภาพภูมิศาสตรของเกาะภูเก็ต เปนสวนหนึ่งของอาวพังงา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ชายฝงทะเลของจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ มีพนื้ ทีป่ า 250


ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต

ชายเลนซึ่งนับวาผืนใหญที่สุดของประเทศและมีความหลากหลายของชนิดพันธุไมปาชายเลนมาก จึง แพรกระจายมายังพื้นที่ชายฝงที่เปนปาชายเลนของจังหวัดภูเก็ตดวย ชัยสิทธิ์ (2542) ไดสรุปไววา ปา ชายเลนในจังหวัดภูเก็ต มีพันธุไมปาชายเลนทั้งที่เปนไมยืนตน ไมพุมและไมพื้นลาง จํานวน 43 ชนิด 33 สกุล 26 วงศ และไดสํารวจพบพันธุไมปาชายเลนที่คอนขางหายากและและมีโอกาสที่จะสูญพันธุ ชนิดหนึ่ง คือ ใบพาย Aegialitis rotundifolia Roxb. ในวงศ Plumbaginaceae ซึ่งเปนไมพุมขึ้นอยู บริเวณปาชายเลนคลองอูตะเภา อําเภอถลาง โดยพบตนใบพายจํานวน 35 ตน ขึ้นอยูบนชายฝงทะเล ที่มีดินเปนดินเลนปนทรายจัด มีน้ําทะเลทวมถึงสม่ําเสมอ และเจริญเติบโตอยูภายใตเรือนยอดของไม แสมดํา (Avicennia officinalis) โดยตนใบพายที่ใหญที่สุดมีความสูง 2.5 เมตร เปนที่นาเสียดายวาปา ชายเลนในจังหวัดภูเก็ตมีสภาพเสื่อมโทรมและมีแนวโนมที่ลดจํานวนลง จนนาวิตกวาตนใบพายอาจจะ สูญพันธุในอนาคต ศักดิ์อนันตและจินตนา (2550) ไดวิเคราะหภัยคุกคามในอดีตและปจจุบันตอระบบ นิเวศปาชายเลนในคาบสมุทรไทย พบวาสาเหตุที่ทําใหปาชายเลนเสื่อมโทรม ไดแก การตัดไมทําลาย ปาชายเลนทั้งการใหสัมปทานทําไมปาชายเลนและการใชประโยชนของชุมชน การทําเหมืองแร การ เพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง การเกษตรกรรม การพัฒนาชายฝง การปลอยน้ําทิ้ง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง การหมุนเวียนของน้ําจืดและน้ําทะเล การศึกษาสํารวจครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมขอมูลแหลงที่ ขึ้นอาศัยอยูของตนใบพาย ชีพลักษณของตนใบพาย สภาพแวดลอมในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ สถานภาพการดํารงอยูและภัยคุกคามตอตนใบพายในพื้นที่ปาชายเลนคลองอูตะเภา อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ความรูที่ไดจากการศึกษาจะเปนขอมูลสําหรับนําไปใชในการพิจารณาวางแผนการจัดการ สงวนคุมครองตนใบพายใหสามารถอยูรอดทามกลางความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ปา ชายเลนที่คอนขางรวดเร็วและรุนแรงในจังหวัดภูเก็ตและประเทศไทย วิธีการศึกษา พื้นที่ศึกษา ปาชายเลนบริเวณปากคลองอูตะเภา ทองที่บานทาฉัตรไชย หมูที่ 5 ตําบลไมขาว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยศึกษาขอมูลจากเอกสารอางอิงและลงพื้นที่สํารวจเบื้องตนเพื่อวางแผนการสํารวจ ระยะเวลาดําเนินการ มิถุนายน 2550 ถึง กุมภาพันธ 2551 การวางแปลงสํารวจ วางแปลงตัวอยางขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 46 แปลง ครอบคลุมพื้นที่ปาชายเลนที่ พบตนใบพายขึ้นอาศัยอยู ตั้งแตริมชายฝงทะเลขึ้นไปจนสุดขอบปาชายเลนดานในซึ่งเปนแนวปา แคบๆ

251


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การเก็บขอมูลโครงสรางปาชายเลน - เก็บขอมูลในแปลงตัวอยาง 10 x 10 ตารางเมตร บันทึกขอมูลตนไมใหญ หรือ tree (หมายถึง ตนไมที่มีขนาดเสนรอบวงตั้งแต 14 เซนติเมตรขึ้นไป ทีร่ ะดับความสูงจากพื้นดิน 1.30 เมตร หรือที่ ระดับความสูง 20 เซนติเมตร เหนือคอรากบนสุดที่แตะพื้นดินในกรณีวัดตนโกงกาง) โดยบันทึกขอมูล ชนิดพันธุไม ความสูง ความโตและตําแหนงของตน ขนาดเรือนยอด ความสูงกิ่งแรก - เก็บขอมูลในพื้นที่ขนาด 4 x 4 ตารางเมตร ของทุกแปลงตัวอยาง 10 x 10 ตารางเมตร ทุกแปลง บันทึกชนิดและจํานวนไมหนุมหรือลูกไม หรือ sapling (หมายถึงตนไมที่มีขนาดเสนรอบวง นอยกวา 14 เซนติเมตร ทีร่ ะดับความสูงจากพื้นดิน 1.30 เมตร หรือที่ระดับความสูง 20 เซนติเมตร เหนือคอรากบนสุดที่แตะพื้นดินในกรณีวัดตนโกงกาง) - เก็บขอมูลในพื้นที่ขนาด 1 x 1 ตารางเมตร ของทุกแปลงตัวอยาง 10 x 10 ตารางเมตรทุก แปลง บันทึกชนิดและจํานวนกลาไม หรือ seedling (หมายถึงตนไมที่มีความสูงนอยกวา 1.30 เมตร) เก็บขอมูลชีพลักษณตนใบพาย - ติดหมายเลขประจําตน บันทึกตําแหนงตน ความสูง ลักษณะลําตน ราก กิ่ง ใบ ดอก ผลและ เมล็ด เก็บตัวอยางดิน - เก็บตัวอยางดิน 3 จุด คือ บริเวณริมชายฝงทะเล บริเวณตอนกลาง และดานในสุดของพื้นที่ ที่พบตนใบพาย จุดละ 2 ตัวอยาง ตามระดับความลึกของดิน คือ ระดับ 1 – 30 เซนติเมตร และ ระดับ 31 – 70 เซนติเมตร วัดคา pH ของดินและนําดินไปหาขนาดอนุภาคดินและคาอินทรียวัตถุในดิน เก็บขอมูลสภาพแวดลอมและสิ่งที่กออันตรายตอตนใบพาย - บันทึกสภาพแวดลอมทั้งที่ปรากฏในแปลงสํารวจและนอกแปลงสํารวจ บันทึกสิ่งที่กอใหเกิด ความเสียหายตอตนใบพาย ลักษณะการกอใหเกิดความเสียหายและอาการของตนใบพาย เก็บผลหรือฝกใบพายไปเพาะชํา - เก็บผลใบพายที่แกจัด คัดผลที่ไมมีรูหนอนเจาะ นําไปเพาะชําในกระบะเพาะชํา 2 กระบะ โดยใชดินเพาะชําตางกัน ไดแก ดินเลนปนทรายที่นํามาจากแหลงขึ้นอาศัยตามธรรมชาติ และดินรวนสี น้ําตาล บันทึกขอมูลอัตราการงอกของฝก ผลการศึกษาและวิจารณ สภาพทั่วไปของถิ่นที่ขึ้นอาศัยตามธรรมชาติ (Habitat) บริเวณพื้นที่ที่สํารวจพบตนใบพาย Aegialitis rotundifolia มีสภาพภูมิประเทศเปนชายฝงทะเล ซึ่งอยูดานในของชองแคบระหวางชายฝงตอนบนของเกาะภูเก็ตและชายฝงตอนลางของจังหวัดพังงา ลักษณะชายฝงมีความลาดเอียงต่ํา น้ําทะเลทวมถึงบอยเกือบทุกวัน มีสังคมพืชปาชายเลนขึ้นตามริม 252


ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต

ขอบชายฝงเปนแนวแคบๆ กวาง 50 - 70 เมตร ลักษณะเปนปาโปรงตนไมขึ้นไมหนาแนน พื้นดินมี ลักษณะเปนทรายละเอียดผสมดินเลน มีสีเทาถึงเทาดํา จากการศึกษาคาอินทรียวัตถุของดิน ที่ระดับความลึก 0 – 30 เซนติเมตร และระดับความลึก 31 – 70 เซนติเมตร ตามแนวตั้งฉากกับชายฝงทะเล 3 จุด คือบริเวณปาชายเลนริมชายฝงทะเล บริเวณ ปาชายเลนตอนกลาง แปลงสํารวจ และบริเวณปาชายเลนดานในสุด ผลการวิเคราะหมีคาดังนี้ ที่ระดับ ความลึก 0 – 30 เซนติเมตร มีคา 5.61, 3.83 และ 3.67 เปอรเซ็นตตามลําดับ ซึ่งมีคาสูงกวาที่ระดับ ความลึก 31 – 70 เซนติเมตร ซึ่งมีคา 4.61 , 3.65 และ 3.37 เปอรเซ็นตตามลําดับ พบวาดินมีคา ปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ํา คือ 3.37 – 5.61 เปอรเซ็นต โดยดินชั้นบนมีคาอินทรียวัตถุสูงกวาดิน ชั้นลาง และมีคามากที่สุดบริเวณริมชายฝงทะเล และคาจะลดลงตามแนวลึกเขาสูชายฝงดานใน ซึ่ง สอดคลองกับที่ ดรุณวรรณและคณะ (2549) ไดสรุปไววา พื้นที่ปาชายเลนที่อยูต่ํากวา (ใกลทะเล) มี โอกาสไดรับสารอินทรียที่ไหลลงสูทะเล และสะสมสารอินทรียไดมากกวาปาชายเลนที่อยูเหนือขึ้นไป สวนคา pH ของดินทั้ง 2 ระดับความลึก พบวาดินมีคาความเปนกรดออนๆ คือ 6.13–6.62 โดยคาความเปนกรดของดินชั้นบนนอยกวาดินชั้นลาง และคาความเปนกรดจะเพิ่มขึ้นจากริมชายฝง ดานนอกเขาสูปาชายเลนดานใน โดยคา pH ที่วัดไดมีดังนี้ ระดับความลึก 0 – 30 เซนติเมตร มีคา pH ที่ 6.62 , 6.35 และ 6.37 ตามลําดับ และในชั้นดินที่ระดับความลึก 31 – 70 เซนติเมตร มีคา pH ที่ 6.45 , 6.16 และ6.13 ตามลําดับ โครงสรางปาชายเลนบริเวณที่ศึกษา พบตนใบพาย Aegialitis rotundifolia Roxb. จํานวนทั้งสิ้น 51 ตน ซึ่งเปนไมพุมขนาดเล็กมี ความสูงตั้งแต 0.25 – 3.10 เมตร และคาความสูงเฉลี่ย 1.01 เมตร ในกลุมไมใหญ (tree) พบทั้งสิ้น 11 ชนิด พันธุไมที่พบจํานวนมากที่สุด ไดแก โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Bl.) พบ 118 ตน มีความสูงเฉลี่ย 6.15 เมตร ขึ้นกระจายทั่วพื้นที่ที่ศึกษา พันธุ ไมที่พบรองลงมา ไดแก โปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C. B. Rob.) พบ 41 ตน ถั่วขาว (Bruguiera cylindrica Bl.) พบ 25 ตน แสมดํา (Avicennia officinalis L.) พบ 16 ตน เปนพันธุไมเดนที่มีความสูง เฉลี่ย 6.94 เมตร และมีพื้นที่ครอบคลุมเรือนยอดมากที่สุด สวนชนิดพันธุไมที่พบจํานวนนอย ไดแก โกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) และแสมขาว (Avicennia alba Bl.) พบชนิดละ 5 ตน ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum Koen.) พบ 3 ตน ตาตุมทะเล (Excoecaria acallocha L.) พบ 2 ตน สวนพันธุไมที่พบเพียงชนิดละ 1 ตน ไดแก มังคะ (Cynometra iripa Kostel.) เล็บมือนาง (Aegiceras corniculatum (L.)Blanco) และสีง้ํา (Scyphiphora hydrophyllacea Gaertn. f.)

253


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ลักษณะการขึ้นอยูอาศัยของตนใบพายในสภาพธรรมชาติ ตนใบพาย Aegialitis rotundifolia ที่สํารวจพบ มีจํานวนทั้งสิ้น 51 ตน ขึ้นอาศัยอยูใกลๆกันเปน กลุม จํานวน 2 กลุม กลุมแรกมีจํานวน 21 ตน อีกกลุมมีจํานวน 19 ตน สวนที่เหลือจํานวน 11 ตน ขึ้นกระจายตัวหางจากกลุมทั้งสองราว 10 เมตร หากนับจํานวนแปลงสํารวจที่มีตนใบพายขึ้นอาศัย อยู พบวามีเนื้อที่เพียง 400 ตารางเมตรเทานั้น โดยตนใบพายขึ้นอยูไดทั้งในบริเวณที่โลง และบริเวณ ใตเรือนยอดของตนแสมดํา (Avicennia officinalis L.) แสมขาว (Avicennia alba) และโกงกางใบเล็ก ( Rhizophora apiculata Bl.) ที่แสงแดดสามารถสองผานเรือนยอดลงไปถึงพื้นดิน ตนใบพายเปนตนไม ประเภทไมพุม จากการสํารวจพบวาตนที่สูงที่สุด มีความสูง 3.10 เมตร หากแยกตนใบพายตามชวง ชั้นความสูง พบวา ชวงชั้นความสูงที่ระดับต่ํากวา 1 เมตร มีจํานวน 33 ตน ชวงชั้นความสูงที่ระดับ 1.00 – 1.99 เมตร มีจํานวน 13 ตน ชวงชั้นความสูง 2.00 – 2.99 เมตร มีจํานวน 4 ตนและชวงชั้น ความสูง 3.00 เมตรขึ้นไป มีจํานวน 1 ตน ชีพลักษณของตนใบพาย ใบพาย เปนตนไมประเภทไมพุม สูง 1-3 เมตร ลําตน มีลักษณะอวบน้ําเมื่อสัมผัสดวยมือจะ รูสึกนิ่ม เปลือกเรียบสีน้ําตาล แตกกิ่งทั่วลําตน กิ่งมีเปลือกเรียบเปนมัน สีน้ําตาล มีรอยแผลเปนวงรอบ กิ่งซึ่งเปนรอยของกาบกานใบที่หลุดรวงไป โคนตนอวบใหญมีพูพอนที่เกิดจากรากคลายนิ้วมือเปนฐาน ยึดลําตนไวกับพื้นดิน ใบ เปนใบเดี่ยว แผนใบหนาอวบ ผิวใบดานบนเกลี้ยงเปนมันสีเขียวสด ฐานใบ กวางเกือบกลม ปลายใบมนมีติ่งแหลมเล็กนอย เสนกลางใบสีเขียวออนเห็นไดชัดเจน กานใบอวบยาว โคนกานใบมีกาบแผโอบรอบกิ่ง ใตแผนใบมีตอมเกลือและขับเกลือออกทางใบ ดอก เปนแบบชอ ออก ตามงามใบ ไมมีกานดอก ที่ฐานดอกมีกลีบเลี้ยงคลายนิ้วมือประกบกันเปนหลอดหุมดอกตูมไว กลีบ ดอกสีขาวมี 5 กลีบ บานโผลออกจากกลีบเลี้ยง เกสรตัวผูสีเหลือง มี 5 อัน ออกดอกเดือนมีนาคม – มิถุนายน โดยในเดือนมิถุนายนที่ทําการสํารวจพบตนใบพายที่ยังออกดอก จํานวน 2 ตน ผล มีรูปทรง ยาวเรียว (Capsule) ขนาด 4 – 5 เซนติเมตร มีสันเปนเหลี่ยมตามความยาวของผล จํานวน 5 แนว ผลออนมีสีเขียวลักษณะตรง ผลแกจะโคงงอคลายผลกลวยมีสีน้ําตาล เมื่อผลแกจัดเปลือกหุมจะแยก ออกมี เ มล็ ด หรื อ ต น อ อ นอยู ภ ายใน ออกผลเดื อ นเมษายน – กรกฎาคม ผลแก เ ดื อ นมิ ถุ น ายน – กันยายน โดยในเดือนมิถุนายนที่ทําการสํารวจพบตนใบพายติดผล จํานวน 23 ตน มีจํานวนผลรวม ทั้งสิ้น 499 ผล ผลยังมีสีเขียวสด ผลการศึกษาการงอกของผลใบพายโดยการเพาะชํา ในการศึกษาการงอกของผลใบพาย โดยการคัดเลือกผลแกของตนใบพายที่มีลักษณะสมบูรณไม มีหนอนแมลงเจาะผล จํานวน 40 ผล นํามา เพาะชําในวัสดุ 2 ชนิด คือ เพาะชําในกระบะทรายซึ่ง 254


ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต

นํามาจากแหลงที่ตนใบพายขึ้นอยู จํานวน 24 ผล และเพาะชําในกระบะดินที่มีเนื้อดินรวนสีน้ําตาลแดง จํานวน 16 ผล พบวา - ผลแกที่เพาะชําในกระบะทรายปนเลนที่นํามาจากแหลงธรรมชาติที่ตนใบพายขึ้นอยูจํานวน 24 ผล พบวางอกเปนตนออน จํานวน 19 ตน (79 %) และไมงอกเลย จํานวน 5 ผล (21 %) ฝกแรก ที่งอกใชเวลา 19 วัน ฝกสุดทายที่งอก ใชเวลา 31 วัน - ผลแกที่เพาะชําในกระบะดินที่มีเนื้อดินรวนสีน้ําตาลแดง จํานวน 16 ผล พบวางอกเปนตน ออน จํานวน 5 ตน (31%) และไมงอกเลยจํานวน 11 ผล (69 %) ฝกแรกที่งอกใชเวลา 18 วัน ฝก สุดทายที่งอกใชเวลา 24 วัน จากการศึ ก ษาการงอกของเมล็ ด ใบพายพบว า การงอกใช เ วลาค อ นข า งนาน เมล็ ด ใบพาย สามารถงอกไดดีในดินทรายละเอียดปนเลนที่นํามาจากแหลงธรรมชาติที่ตนใบพายขึ้นอาศัยอยู แสดง ถึงความสําคัญของปจจัยแวดลอมที่เหมาะสมมีผลตอการงอกของเมล็ดใบพายโดยเฉพาะปจจัยที่ เกี่ยวกับเนื้อดินที่ ลักษณะดินที่เหมาะสมคือทรายละเอียดปนดินเลน ภัยคุกคามที่มีผลตอการลดจํานวนลงของตนใบพาย จากการลงไปศึกษาเก็บขอมูลตนใบพายในแหลงที่ขึ้นอยูอาศัยตามธรรมชาติ ไดสังเกตพบวามี ปญหาหรือภัยคุกคามหลายประการที่อาจสงผลทําใหตนใบพายตองอยูในสถานะที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ ในปจจุบัน ไดแก 1. ลักษณะเฉพาะของลําตนและกิ่งกานของใบพายที่เปราะและอวบน้ํา จึงงายตอการหักหรือ โคนลม 1.1 ลําตนที่คอนขางอวบน้ําและไมแข็งแรงของใบพาย ทําใหก่งิ กานงายตอการฉีกหักเมื่อถูก คลื่นกระแสน้ําทะเลในชวงที่มีคลื่นลมแรงพัดโถมเขาใส โดยเฉพาะในชวงที่ตนใบพายกําลังติดผลดก ซึ่งกิ่งจะตองรับน้ําหนักที่เพิ่มมากขึ้นโอกาสที่กิ่งจะหักจึงมีคอนขางสูง โดยระหวางที่ทําการสํารวจเก็บ ขอมูล พบวามีกิ่งที่มีผลออนติดคอนขางดก หักลงอยูกับพื้นดิน จํานวน 2 กิ่ง ลักษณะของลําตนที่ เปราะหักงายเชนนี้จึงเปนอุปสรรคตอการอยูรอดและการสืบพันธุตามธรรมชาติของตนใบพาย 1.2 ตนใบพายมีโคนตนแบบพูพอน ซึ่งเกิดจากรากที่มีลักษณะเปนแทงคลายนิ้วมือซึ่งแตก ออกจากโคนตน ทําหนาที่ยึดลําตนใหสามารถอยูติดกับพื้นดินที่มีลักษณะเปนทรายละเอียดปนเลน แมวาจะมีโคนตนลักษณะอวบใหญ แตจากการสังเกตพบวาจํานวนรากที่แตกออกมาจากโคนตนมี จํานวนคอนขางนอย และยังพบวาบริเวณโคนตนของตนใบพายที่มีอายุหลายปมีลักษณะแตกเปนโพรง หรือทะลุเปนชอง เมื่อฐานลําตนเกิดเปนโพรงจึงทําใหความสามารถในการแบกรับน้ําหนักเรือนยอด ไมมั่นคง เสี่ยงตอการหักหรือโคนลมไดงายในสภาวะที่คลื่นลมแรง 2. ลักษณะเฉพาะของผลใบพายที่เปนอุปสรรคตอการงอกทําใหความสามารถในการแพรพันธุ ลดลง

255


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2.1 ผลแกของตนใบพายมีรูปรางเรียวยาวและโคงงอ เมื่อผลรวงลงสูพื้นดิน จะไมทิ้งตัวปก ลงในดินเหมือนเชนฝกหรือตนออนของพันธุไมในวงศโกงกาง ดังนั้นในชวงที่ระดับน้ําทะเลขึ้นสูง จะ ไหลเขาทวมพื้นที่ดังกลาวและผลแกของตนใบพายที่รวงหลนตามพื้นดินจะถูกพัดเคลื่อนยายออกจาก บริเวณพื้นที่เดิมเนื่องจากผลใบพายลอยน้ําไดและมีขนาดเล็ก ซึ่งหากผลใบพายถูกพัดพาไปตกใน พื้นที่ที่มีสภาพดินและสภาพแวดลอมไมเหมาะสม เมล็ดที่อยูภายในก็จะไมสามารถงอกเปนตนออนได จึงเปนสาเหตุใหมีตนใบพายจํานวนนอยมากขึ้นในแหลงที่อยูตามธรรมชาติ 2.2 ผลแกของตนใบพายมีเปลือกหุมที่คอนขางแข็งแรงและเหนียว เมล็ดซึ่งอยูภายในตองใช เวลานานคอนเดือนกวาจะยืดตัวออกเพื่อสรางรากเกาะยึดพื้นดินและดันเปลือกหุมใหหลุดออกเพื่อชูใบ ออนคูแรก ลักษณะการงอกที่คอนขางยากดังกลาวนับวาเปนอุปสรรคตอการสืบพันธุตามธรรมชาติ 2.3 มีหนอนแมลงเจาะผลใบพายเพื่อวางไขและเติบโตเปนตัวหนอนกัดกินเนื้อเมล็ดเสียหาย จากการเก็บผลใบพายจํานวนหนึ่ง ที่มีลักษณะเปนรูคลายถูกแมลงเจาะ เมื่อนําผลมาผาพบวามีหนอน ตัวเล็กๆอาศัยอยูภายในผล และกัดกินเนื้อดานในผลทําใหเมล็ดเสียหายไมสามารถงอกเปนตนกลาได นับวาตัวหนอนแมลงเปนอุปสรรคอยางหนึ่งที่ขัดขวางการสืบพันธุตามธรรมชาติของตนใบพาย 3. อันตรายจากขยะที่เขาไปติดอยูในปาชายเลน จากการสํารวจบริเวณรอบพื้นที่ปาชายเลนที่ศึกษาตนใบพาย พบวาเปนแหลงที่อยูอาศัยของ ชาวบาน ซึ่งพื้นที่รกรางที่อยูชิดขอบปาชายเลนที่อยูหางจากจุดที่พบตนใบพายประมาณ 40 เมตร เปนพื้นที่ทิ้งขยะของชาวบานมีขยะมากมายถูกนํามาทิ้งเปนกองกระจายทั่วพื้นที่ ซึ่งขยะบางสวนไดถูก คลื่นพัดลงไปติดอยูในปาชายเลน จึงทําใหมีขยะจํานวนมากอยูในปาชายเลนทั้งเศษชิ้นไมและพลาสติก ขวดแกว ถุงและกระสอบ เสื้อผา รองเทา และอุปกรณเครื่องใชในบานที่ชํารุด ซึ่งขยะเหลานี้สามารถ สรางความเสียหายตอตนใบพายได ทั้งจากการชนกระแทกลําตนจนหักโคน หรือทับจนตนไมหักหรือ ตาย ขยะถุงพลาสติกที่ลอยไปคลุมทับกลาไมจนตายหรือไมสามารถเจริญเติบโต ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได ตลอดเวลา 4. การพัฒนาพื้นที่บริเวณรอบปาชายเลน พื้นที่บริเวณที่ดําเนินการศึกษานี้อยูไมไกลจากสะพานสารสินและสะพานเทพกษัตรี ซึ่งเชื่อม ระหวางจังหวัดพังงาและจังหวัดภูเก็ต รัฐบาลไดอนุมัติงบประมาณเพื่อกอสรางสะพานศรีสุนทรขึ้นมา อีกหนึ่งสะพาน เพื่อทดแทนสะพานสารสินที่จะยกเลิกการใชเปนถนนโดยคงรักษาไวเปนสถานที่ ทองเที่ยว ซึ่งการกอสรางตอมอของสะพานศรีสุนทรอาจสงผลกระทบทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ กระแสน้ําบริเวณใกลเคียงรวมถึงพื้นที่ที่ตนใบพายขึ้นอาศัยอยู อันอาจจะสงผลใหจํานวนตนใบพายลด จํานวนลงได นอกจากนี้ทางจังหวัดยังเคยทําโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงดานทิศเหนือของเกาะภูเก็ต เพื่อสรางศูนยประชุมนานาชาติ สําหรับใชในการประชุมระดับโลกและสงเสริมดานการแสดงสินคาของ ผู ผ ลิ ต สิ น ค า รายใหญ จ ากต า งประเทศ ซึ่ ง หากโครงการดั ง กล า วได รั บ ความเห็ น ชอบและจั ด สรร 256


ถิ่นที่อยูอาศัยและภัยคุกคามตอตนใบพาย (Aegialitis rotundifolia) ในจังหวัดภูเก็ต

งบประมาณเพื่อดําเนินโครงการดังกลาว ผืนปาชายเลนคลองอูตะเภาที่ตนใบพายขึ้นอาศัยอยูจะถูก เปลี่ยนสภาพเปนอาคารสิ่งกอสราง สรุปผลและขอเสนอแนะ 1. ตนใบพาย Aegialitis rotundifolia มีสภาพแหลงที่ขึ้นอาศัยอยูตามธรรมชาติเปนปาชายเลน โปรงริมชายฝงทะเลบริเวณใกลปากคลอง มีเนื้อดินเปนดินทรายละเอียดปนเลนซึ่งมีอินทรียวัตถุต่ําและ เปนกรดออนๆ 2. ตนใบพาย มีจํานวนทั้งสิ้น 51 ตน ขึ้นครอบครองพื้นที่เพียง 400 ตารางเมตร ซึ่งนับวามี นอยมากทั้งในดานจํานวนประชากรและขนาดของพื้นที่ที่ขึ้นอาศัยเมื่อเทียบกับสังคมพืชปาชายเลน โดยรวม 3. ในการศึกษาชีพลักษณของตนใบพาย พบวาใบพายเปนไมพุมมีความสูงประมาณ 3 เมตร มี ลําตนที่อวบน้ําและเปราะหักงาย มีแผนใบที่มีตอมเกลือเพื่อขับเกลือออกทางใบ มีผลเรียวยาวโคงงอ เมล็ดมีเปลือกหุมหนา 4. การทดสอบความสามารถในการงอกของเมล็ดใบพาย พบวาเนื้อดินเปนปจจัยสําคัญประการ หนึ่งที่มีผลตอการงอก โดยพบวาดินทรายละเอียดปนเลนมีความเหมาะสมตอการงอกสูงกวาดินรวน 5. ภัยคุกคามที่มีผลตอความอยูรอดของตนใบพาย ไดแก 5.1 คุณลักษณะเฉพาะของลําตนใบพายที่อวบน้ําและเปราะหักงาย 5.2 ผลและเมล็ดที่โคงงอและเปลือกหุมเมล็ดที่หนาเปนอุปสรรคตอการงอกและสืบพันธุตาม ธรรมชาติ รวมทั้งหนอนแมลงที่มาเจาะผลและกินเนื้อภายในเมล็ดจนเสียหายไมสามารถงอกได 5.3 ปญหาขยะตางๆจากบริเวณรอบๆพื้นที่ ถูกพัดพามากระแทกตนหักหรือทับตนไมตาย 5.4 ปญหาการพัฒนาพื้นที่ชายฝงบริเวณรอบพื้นที่ที่ตนใบพายขึ้นอาศัยอยู ไดแก การสราง สะพานแหงใหมเ ชื่อ มระหวางจังหวัดพั งงาและภูเก็ ต และโครงการสรางศูน ยประชุม นานาชาติใ น อนาคต อาจทําใหมีการเปลี่ยนสภาพพื้นที่แหลงที่อยูของตนใบพายไปอยางสิ้นเชิง 6. สถานภาพของตนใบพายในระบบนิเวศปาชายเลนบริเวณปากคลองอูตะเภา อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต อยูในภาวะนาเปนหวงตอการสูญพันธุอยางยิ่ง 7. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงควรดําเนินการสงวนคุมครองตนใบพายโดยดําเนินการ ดังนี้ 7.1 จัดทําเปนแปลงสงวนพันธุไมปาชายเลนที่ใกลสูญพันธุเพื่อเก็บรักษาไวในสภาพ ธรรมชาติ (In situ) โดยการมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น 7.2 นําเมล็ดใบพายไปเพาะชําขยายพันธุใหมีจํานวนมากขึ้น 7.3 นํากลาไมใบพายที่เพาะชํา ไปปลูกในแหลงที่อยูตามธรรมชาติ เพื่อชวยเพิ่มจํานวน ประชาการ

257


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

7.4 คัดเลือกพื้นที่ที่มีสภาพแวดลอมเหมาะสมคลายคลึงกับแหลงที่ขึ้นอยูตามธรรมชาติ เพื่อ จัดทําแปลงรวบรวมพันธุไม (Ex situ) โดยนํากลาใบพายที่เพาะชํามาปลูก ซึ่งหากแหลงที่อยูอาศัยตาม ธรรมชาติของตนใบพายถูกทําลายเปลี่ยนสภาพไปอยางถาวร ตนใบพายยังมีพื้นที่ใหสามารถขึ้นอาศัย อยูได ไมสูญพันธุไปจากเกาะภูเก็ต 7.5 หลักฐานอางอิงการสํารวจพบตนใบพาย เพื่อใหไดขอ สรุปสถานภาพของตนใบพายและ หาวิธีสงวนคุมครองมิใหลดจํานวนลงหรือสูญพันธุไปจากประเทศไทย กิตกกรรมประกาศ ขอขอบคุณ เจา หนา ที่ทุก คนจากสถานีวิจัย และพัฒ นาทรัพ ยากรปา ชายเลนที่ 2 (ภูเ ก็ต ) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สําหรับการสํารวจภาคสนามและเพาะชํากลาไม เจาหนาที่จากศูนย ศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติทางทะเล จังหวัดภูเก็ต กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพรรณพืช ราษฎรบานทาฉัตรไชย ตําบลไมขาว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต สําหรับการรวมประชุมและขอมูลตางๆ

เอกสารอางอิง ชัยสิทธิ์ ตระกูลศิริพาณิชย, 2542. รายงานวิจัยเรื่องปาชายเลนจังหวัดภูเก็ต, สถานีวิจัยและนุรักษปา ชายเลนที่ 1 (ภูเก็ต) สํานักวิชาการ กรมปาไม กรุงเทพฯ. 47 หนา. ศักดิ์อนันต ปลาทอง และจินตนา ปลาทอง, 2550. ภัยคุกคามในอดีตและปจจุบันตอระบบนิเวศปาชาย เลนในคาบสมุทรไทย: ขอเสนอแนะเพื่อการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน, ใน ผลงานวิจัยการประชุมวิชาการระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ปาชายเลน: รากฐานเศรษฐกิจ พอเพียงของชุมชนชายฝง, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. หนา 55 – 64. สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน และรุงสุริยา บัวสาลี, 2554. ปาชายเลน: นิเวศวิทยาและพรรณไม, กรม อุทยานแหงชาติ สัตวปาและพรรณพืช. กรุงเทพฯ. หนา 23 – 24, 446 – 449. อภิชาติ รัตนวีระกุล, 2543. โครงสรางและการสืบพันธุตามธรรมชาติของพันธุไมปาชายเลนยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ในรายงานการสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 11, สํานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ. กรุงเทพฯ. หนา V6 (1 – 16).

258


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์1 ศิริวรรณ ศิริบุญ2 สมบัติ ภูวชิรานนท3 สมศักดิ์ พิริยโยธา4 จิรศักดิ์ ชูความดี5 กฤษณี อดุลยธนกาญจน6 1

ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3,4,5,6 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บทคัดยอ แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลนเปนการสรุปจากกรอบและแนวทาง การติดตามและประเมินผลโครงการปลูปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงพระเจริญพระชนมพรรษา การติดตามและประเมินผลความสําเร็จ ของการปลู ก ป า เป น ขั้ น ตอนสํา คั ญ ต อ งอาศั ย การทํา งานร ว มกั น ระหว า งนั ก วิ ท ยาศาสตร แ ละ นักสังคมศาสตรตลอดจนชุมชนเอง การติดตามและประเมินผลเปนการสรางเสริมศักยภาพชุมชนให สามารถดํา เนิน การไดเ องโดยมีก รมทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝง เปน พี่เ ลี้ย งและใหคํา ปรึก ษา เกณฑและตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนประกอบดวยองคประกอบหลัก 4 สวนคือ เกณฑและตัวชี้วัดดานความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน เกณฑและตัวชี้วัดดานความ อุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝง เกณฑและตัวชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อการพัฒนา ศักยภาพของชุมชนในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนและเกณฑและตัวชี้วัดดานประสิทธิภาพของ การบริหารจัดการโครงการ การติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลนควรเปนกิจกรรมที่ ตอเนื่องของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง Abstract Gulideline on monitoring and assessment on the success of mangrove rehabilitation is the summary from the Working Group Report on the Guideline on the Assessment of Mangrove Rehabilitation Program inorder to commemorate Her Majesty the Queen Sirikitr 72nd Birthday. Monitoring and assessment on the success of mangrove rehabilitation is one of the important step that required the displinary works among scientist, social scientists and coastal communities. It is important to initiate the capacity building program for the local communities in monitoring and evaluation as the integral part of the management plan. Criteria and indicators in the monitoring and assessment on the success of mangrove rehabilitation consisted of 4 components namely forestry productivity, coastal productivity public participation in the mangrove management and the efficiency of the program


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

management. Monitoring and assessment of mangrove rehabilitation should be one of the important tasks in the Marine and Coastal Department.

บทนํา กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดดําเนินการโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ ในโอกาสทรงพระเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา ในชวงพ.ศ.2546-2550 โดยมีวัตถุประสงคและเปาหมายเพื่อสนองแนวพระราชดําริและสืบสานพระราช ปณิธานของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ ในการอนุรักษปาชายเลนใหคงอยู อํานวยประโยชนเปนแหลง อาหารที่ยั่งยืนของคนไทย และเปนการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพและรักษาสภาพแวดลอม และ ความสมบูรณของระบบนิเวศปาชายเลนและบริเวณชายฝง ซึ่งภายใตการดําเนินการของโครงการนี้ได ทําการฟนฟูสภาพปาชายเลนครอบคลุมพื้นที่ 23 จังหวัด โดยเมื่อสิ้นสุดโครงการปลูกปาชายเลนถาวร เฉลิมพระเกียรติฯ ในป พ.ศ.2550 แลวจะมีการดําเนินการดูแลรักษาอยางตอเนื่องภายใตโครงการ อนุรักษปาชายเลนอยางยั่นยืน นางนิศากร โฆษิตรัตน อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดมี คําสั่งที่ 391/2550 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2550 แตงตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลโครงการ ปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ ในโอกาสทรง พระเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา เพื่อติดตามและประเมินผลโครงการดังกลาว จากมติที่ประชุม คณะกรรมการติ ด ตามและประเมิ น ผลโครงการปลู ก ป า ชายเลนถาวรเฉลิ ม พระเกี ย รติ ใ นวั น ที่ 9 พฤศจิ ก ายน 2550 ให แ ต ง ตั้ ง คณะทํ า งานกํ า หนดกรอบและแนวทางการติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการโดยมีหนาที่ในการเสนอกรอบและแนวทางการติดตามและประเมินผลตอคณะกรรมการฯ ภายในเวลา 3 เดื อ น ซึ่ ง คณะทํ า งานฯประกอบด ว ยตั ว แทนกรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ไดนําเสนอกรอบและแนวทางการติดตาม และประเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ ในโอกาสทรงพระเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา ตอคณะกรรมการฯเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2551 นับตั้งแตนั้นมากรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงยังไมไดมีแนวทางในการปฏิบัติเพื่อการติดตามและ ประเมิ น ผลการปลู ก และฟ น ฟู ป า ชายเลนอย า งเป น รู ป ธรรม สาเหตุ สํ า คั ญ อาจเป น เพราะมี ก าร เปลี่ยนแปลงนโยบายและการดําเนินการภายในกรมเอง จึงไมไดดําเนินการตอเนื่อง การติดตามและ ประเมินผลการปลูกและฟนฟูโดยมีเกณฑและตัวดัชนีชี้วัดตางๆ ในทัศนคติของผูปฏิบัติรับผิดชอบใน กรมเองคิดวานาจะเปนเรื่องยากแกการปฏิบัติและไมทราบจะเริ่มตนอยางไรดี ดังนั้นวัตถุประสงคของ การนําเสนอแนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลนในครั้งนี้เพื่อใหเปนที่ ประจั ก ษ แ ก บุ ค คลทั่ ว ไปว า มี ก ารริ เ ริ่ ม เพื่ อ ดํ า เนิ น การในเรื่ อ งนี้ ต ลอดจนวิ เ คราะห ป ญ หาและแนว ทางแกไขเพื่อใหสามารถดําเนินการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลนเปนไปได ในทางปฏิบัติ 260


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

เรามาเริ่มตนกันที่การปรับความคิดริเริ่มเรื่องการติดตามและประเมินผล การปลูกและฟนฟูปาชายเลนเปนมาตรการหนึ่งในการลดผลกระทบเนื่องจากกิจกรรมใช ประโยชนปาชายเลน การปลูกและฟนฟูปาชายเลนไมเพียงแตมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มผลผลิตและ พื้นที่ปาแตยังมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มความสมบูรณของสัตวน้ําในบริเวณปาชายเลนและบริเวณ ชายฝง ตลอดจนชวยปองกันการกัดเซาะชายฝง ผลงานวิจัยแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาการปลูกและ ฟนฟูปาชายเลนชวยเพิ่มความอุดมสมบูรณของอาหารทั้งสารอาหาร ปริมาณอินทรียสาร ปริมาณ แพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว ปริมาณสัตวทะเลหนาดิน และเพิ่มความหลากหลายของถิ่นที่อยู อาศัยของสัตวน้ํา ตลอดจนสัตวอื่นที่เขามาอาศัยปาชายเลนเปนแหลงอาหารหรือที่พักพิงชั่วคราว เชน นกอพยพและลิง เมื่อมีการปลูกและฟนฟูปาชายเลนขึ้นแลว มักมีคําถามจากชุมชนและบุคคลทั่วไปถึง ระยะเวลาที่ใชในการปลูกปาชายเลนวามีความอุดมสมบูรณใกลเคียงกับปาธรรมชาติวาควรเปนเวลากี่ ป เราจะรูไดอยางไรวาปาชายเลนปลูกมีความสมบูรณสามารถใชประโยชนได การประเมินความสําเร็จ ของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนควรดําเนินตามวัตถุประสงคของการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ซึ่งมี วัตถุประสงคในการปลูกและฟนฟูปาชายเลนในแตละพื้นที่แตกตางกัน เชน การปลูกและฟนฟูปาชาย เลนเพื่อเปนปราการกันคลื่นลมตามธรรมชาติหรือปองกันการกัดเซาะชายฝงหรือการปลูกปาชายเลน เพื่อคืนความอุดมสมบูรณใหกับบริเวณชายฝง และเพิ่มผลผลิตการประมง ดังนั้น ในการดําเนินการ ประเมินความสําเร็จของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนวาบรรลุวัตถุประสงคหรือไมนั้นเปนขั้นตอนที่ สําคัญ การประเมินความสําเร็จของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนอาจประเมินจากผลผลิตและมวล ชีวภาพของพันธุไม หรือการใชสิ่งมีชีวิตบางกลุมเปนตัวชี้วัด เชน แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว สัตวทะเลหนาดิน เชน ปูแสม เคย และกุงตลอดจนปลาและนก เปนตน ระยะเวลาการฟนตัวของปา ชายเลนขึ้นอยูกับปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆ โดยเฉพาะความอุดมสมบูรณของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ ความเค็ม ปริมาณแสง ความเปนกรดดางของดินและน้ํา และระดับการทวมถึงของน้ําทะเล ดังนั้น การบูรณาการขอมูลคุณภาพสิ่งแวดลอม และทรัพยากรชีวภาพที่มีอยูแลวกับการศึกษาในปจจุบันเพื่อ ประเมินการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศปาชายเลนนับเปนสวนสําคัญในการประเมินความสําเร็จของการ ปลูกปาชายเลน ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งของการติดตามและประเมินการปลูกและฟนฟูปาชาย เลนจําเปนตองมีการวางแผนอยางมีระบบและดําเนินการแบบบูรณาการ ทั้งนักวิจัยฝายวิทยาศาสตร และสังคมศาสตร จึงจะทําใหเห็นภาพรวมความสําเร็จทั้งหมด เทาที่ผานมามักเปนการดําเนินการระยะ สั้นและไมมีความตอเนื่อง ดังนั้นควรมีรูปแบบการประเมินการปลูกและการฟนฟูปาชายเลนเปนวิธี มาตรฐานใกลเ คี ย งกัน และเป น การดํ าเนิ น การของชุ มชนร วมกั บหน วยงานภาครั ฐ ในการประเมิ น ความสําเร็จของการปลูกและฟนฟูปาชายเลน

261


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การเตรียมตัวเปนพี่เลี้ยงและใหคําปรึกษาดานการประเมินผลความสําเร็จของโครงการปลูก และฟนฟูปาชายเลน คณะทํางานฯ ไดกําหนดกรอบและแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการปลูกชายเลน ถาวรเฉลิมพระเกียรติโดยยึดหลักวา โครงการปลูกปาชายเลนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ ในโอกาส ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา ไดดําเนินการไปมากพอควร การดําเนินการเพื่อติดตามและ ประเมินผลโครงการ ควรเนนใหเห็นผลในภาพใหญคือ เมื่อมีการดําเนินการปลูกปาและฟนฟูปา ชายเลนแลวปาชายเลนปลูกมีการเติบโตดีหรือไม มีความอุดสมบูรณของพื้นที่ปาในระดับใด ทั ้ง นี ้ค วามอุด สมบูร ณข องทรัพ ยากรปา ชายเลนสง ผลถึง ทรัพ ยากรชายฝ ง และชุม ชน นอกจากนี้ เ มื่ อ ป า เติ บ โตขึ้ น แล ว จะมี แ นวทางการจั ด การอย า งไรร ว มกั บ ชุ ม ชน ซึ่ ง นั บ เป น ขั้น ตอนหนึ่ง ที่เ สริม ศัก ยภาพในการมีสว นรว มของชุม ชนในการจัด การทรัพ ยากรปา ชายเลน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงทางดานทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ควรทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงและผูประสานงานที่ทําใหเกิดการทํางานรวมกันของทุกฝายที่ เกี่ยวของกับการใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน การปลูกฝงความตระหนักที่มีตอทรัพยากรปาชาย เลน ไมควรจํากัดเฉพาะเรื่อง “การปลูกปา” แตตองเสริมสรางคุณคาของระบบนิเวศปาชายเลนที่มี ประโยชนทั้งทางตรงและทางออมเพื่อเปนมรดกสําหรับชนรุนหลัง ในการดําเนินการของโครงการปลูก ปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ในบางพื้นที่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดมีความพยายาม สรางเครือขายและงบประมาณเสริมเพื่อใหการดําเนินการของโครงการสามารถบรรลุลวงไปในกิจกรรม ตางๆอยางครบถวนตามเปาหมาย ในขณะนี้แมโครงการปลูกปาชายเลน เฉลิมพระเกียรติฯ ไดสิ้นสุด ลงแลวในบางพื้นที่ แตยังมีความตอเนื่องของกิจกรรมการปลูกและฟนฟูปาชายเลนอยู แสดงถึงความ เขมแข็งของเครือขายและการมีสวนรวมของชุมชน กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ จึงมีดังตอไปนี้ 1. การประเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ ควรมุงเนนเพื่อประเมิน โครงการวาไดบรรลุวัตถุประสงคหรือไมโดยเฉพาะในสวนที่รณรงคและสงเสริมใหประชาชนทุกหมู เหลารวมทั้งองคกรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนรวมกันฟนฟูปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหกลับคืน ความอุดมสมบูรณและในสวนเพื่อฟนฟูทะเลไทยใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ และมีศักยภาพในการ อํานวยผลผลิตสัตวน้ําอยางยั่งยืน ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการรวบรวมจากขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) ซึ่งเปนผลจากการดําเนินงานประจําของหนวยงานตางๆ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เองหรือขอมูลที่เกี่ยวของจากหนวยงานอื่นมาพิจารณาความสมบูรณของขอมูลในการที่จะกําหนด เกณฑและตัวชี้วัด หากยังไมสมบูรณตองเสนอใหมีการดําเนินการเก็บขอมูลเพิ่มเติมหรือทําวิจัยลึก เฉพาะเรื่อง 262


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

2. การประเมินผลโครงการควรเปนการติดตามประเมินผล จุดแข็ง ความตอเนื่องของโครงการ ตลอดจนอุปสรรคของโรงการ ซึ่งคณะทํางานจะกําหนดตัวชี้วัดที่สามารถนําไปปฏิบัติไดเพื่อใหได ขอมูลที่สามารถนําไปปรับและพัฒนาแผนดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคไดดียิ่งขึ้น 3. การดําเนินการประเมินผลโครงการตลอดจนการประเมินการปลูกและฟนฟูปาชายเลนควร เปนกิจกรรมหนึ่งของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ในการเตรียมความพรอมใหชุมชนเขามามี สวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลนและเปนการสรางเครือขายระหวางหนวยงาน ภาครัฐ องคการเอกชน องคการบริหารสวนทองถิ่นและชุมชน การดําเนินการและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการปลูกปาชายเลนยอมแตกตางกันตาม ขอจํากัดของพื้นที่ที่แตกตางกันของแตละสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน โดยเฉพาะพื้นที่ปาชาย เลน การกระจายของพื้นที่ปาชายเลนตลอดจนสภาพความอุดมสมบูรณและความเสื่อมโทรมของปา ชายเลนที่แตกตางกัน นอกจากนี้ยังมีความแตกตางกันในเรื่องขนาดของชุมชนที่อาศัยอยูในบริเวณปา ชายเลนหรือบริเวณชายฝงตลอดจนการกระจายตัวของชุมชน ซึ่งมีความหลากหลายเนื่องจากสิทธิการ ครอบครองและประกอบอาชีพของชุมชนเปนสําคัญ ความพรอมของชุมชนในการมีสวนรวมในกิจกรรม ของโครงการก็มีความสําคัญเพราะเปนแรงขับเคลื่อนใหโครงการบรรลุวัตถุประสงค การประเมินความ อุดมสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลนมีความสัมพันธโดยตรงกับสภาพพื้นที่ รูปแบบของการปลูกและ ฟนฟูปาชายเลน ตลอดจนกิจกรรมที่เกี่ยวของ ดังนี้ ควรมีการเลือกตัวแทนพื้นที่เพื่อดําเนินการ ติดตามและประเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถ ประเมินโดยใชเกณฑและตัวชี้วัดที่สอดคลองกับพื้นที่ ในการติดตามและประเมินผลโครงการปลูกปา ชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติในพื้นที่ศึกษาจะประกอบดวยองคประกอบหลัก 4 สวนคือ 1. เกณฑและตัวชี้วัดดานความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน เปนการประเมินผล ความสมบูรณของปาชายเลนที่กําลังฟนฟูและพัฒนาคือมีอายุ 4-5 ปขึ้นไป 2. เกณฑและตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝง ซึ่งมีความสัมพันธ โดยตรงกับรูปแบบการปลูกและฟนฟูปา วัตถุประสงคของการปลูกและฟนฟูปาชายเลน โครงสรางปาและ อายุของปาดวย 3. เกณฑและตัวชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาศักยภาพของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน ซึ่งจําเปนตองคํานึงถึงแหลงขอมูลที่เกี่ยวของแตละ ชุมชน การเก็บรวบรวมขอมูลในพื้นที่ศึกษาตองสอดคลองกับกิจกรรมที่ดําเนินการอยูในพื้นที่นั้น การ เปลี่ยนแปลงตามชวงเวลากอนที่จะมีการดําเนินการโครงการปลูกปาชายเลนและภายหลังที่มีการ ดําเนินโครงการ ตลอดจนกลุมประชากรเปาหมายที่เปนผูใหขอมูลและศักยภาพของผูเก็บขอมูลจะมีผล ตอความถูกตอง แมนยําและเชื่อถือไดของการศึกษา 4. เกณฑและตัวชี้วัดดานประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโครงการ เปนการ ดําเนินการในมิติประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดมีการดําเนินการ

263


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ไปแลวบางสวน แตควรเพิ่มเติมในสวนการพิจารณาการใชงบประมาณทั้งหมด และประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานวาเครือขายสามารถชวยเหลือภาคราชการไดมากนอยแคไหน และตองมีการประเมินใน มิติประสิทธิผลวาประชาชนไดรับประโยชนจากโครงการอยางไรบาง สําหรับเกณฑและตัวชี้วัดใชกําหนดจากการรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวของเปนขอมูลทุติยภูมิที่ ดําเนินการในระบบนิเวศปาชายเลนในประเทศไทย และจากเกณฑมาตรฐานสากลตามความเหมาะสม ในกรณีที่ยังไมมีขอมูลงานวิจัยเพียงพอสําหรับกําหนดเกณฑและตัวชี้วัดก็เสนอใหมีการดําเนินงานวิจัย ในเชิงลึกหรือมีการเก็บขอมูลใหมอยางเปนระบบและตอเนื่อง เกณฑและตัวชี้วัดความสําเร็จของการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ในการดําเนินการติดตามและประเมินผลของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง อาจอิงเกณฑ และตัวชี้วัดความสําเร็จของการปลูกและฟนฟูปาชายเลนที่เสนอโดยคณะทํางานฯ เพียง บางองค ป ระกอบก็ ไ ด ต ามสภาพความพร อ มของบุ ค คลากรและงบประมาณ สามารถกํ า หนดการ ประเมินผลความสําเร็จเปนระดับ เชน อาจกําหนดวาการประเมินผลเบื้องตนเปนการใชเกณฑและ ตัวชี้วัดเฉพาะดานความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน เนื่องจากมีขอมูลที่ตอเนื่องจากการวิจัย เฉพาะเรื่องโครงสรางปาชายเลนและการเติบโต ตลอดจนอัตราการรอดของการปลูกปาอยูแลว เมื่อ บุคคลากรไดรับการอบรมเพิ่มเติมจึงดําเนินการประเมินผลในองคประกอบดานอื่นเพิ่มขึ้น 1. เกณฑและตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน เกณฑและตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน ในการติดตามและประเมินผลครั้งนี้ เปนปาชายเลนที่กําลังฟนฟูและพัฒนา พื้นที่ศึกษาควรเปนพื้นที่ที่มีการปลูกและฟนฟูปาเปนเวลา 4-5 ปขึ้นไป ในการประเมินจะตองทําการวางแนว transect line ตั้งฉากจากริมน้ําเขาในแผนดิน ในแตละ แนว transect line วางแปลงตัวอยางขนาด 10X10 เมตร แตละแปลงหางกัน 50 เมตร โดยแปลงแรก (ริมน้ํา) ควรจะอยูหางจากขอบแปลง 10 เมตร จํานวนแปลงตัวอยางควรครอบคลุมพื้นที่อยางนอย 0.5% ของพื้นที่ทั้งหมด ตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลนในเบื้องตนคือความหนาแนน ของไมตน และ/หรือเปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดตอพื้นที่ 1. ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลนในเบื้องตนใชลักษณะ ดังนี้ 1) ความหนาแนนของไมตน (จํานวนไมตนตอพื้นที่) และ/หรือ 2) เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดตอพื้นที่ โดยไมตน หมายถึงตนไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางที่ระดับอก (diameter at breast height, DBH) มากกวา 4 เซนติเมตร ในกรณีของไมโกงกางซึ่งมีรากค้ํายันหรือรากค้ําจุน (still root or prop root) หมายถึงเสนผานศูนยกลางระดับเหนือคอรากค้ํายัน 20 เซนติเมตร 264


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

2. เกณฑกําหนด เกณฑกําหนดความอุดมสมบูรณของปา พิจารณาจากความหนาแนนของไมตน และ/หรือ เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดดังนี้ 1) อุดมสมบูรณระดับมาก หมายถึงปาชายเลนที่มีความหนาแนนของไมตนมากกวา 395 ตน/ไร และ/หรือมีการปกคลุมเรือนยอดมากกวา 90% 2) อุดมสมบูรณระดับปานกลาง หมายถึงปาชายเลนที่มีความหนาแนนของไมตนระหวาง 100-นอยกวา 395 ตน/ไร และ/หรือมีการปกคลุมเรือนยอดระหวาง 70 - นอยกวา 90% 3) อุดมสมบูรณระดับนอย หมายถึงปาชายเลนที่มีความหนาแนนของไมตนนอยกวา 100 ตน/ไร และ/หรือมีการปกคลุมเรือนยอดนอยกวา 70% นอกจากนี้อาจประเมินความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลนจากจํานวนตนของกลาไมที่รอด ตาย ความแข็ง แรงของกล าไม ที่ ขึ้น ความเหมาะสมของชนิ ดพั น ธ ไม ที่ ปลู ก และการสืบ พั นธุ ต าม ธรรมชาติดังตารางที่ 1 ซึ่งคาตางๆ ที่จะนํามาใชเปนเกณฑตองมีการรวบรวมจากผลงานวิจัยการ ประเมินการเติบโตของพันธุไม ศักยภาพและการทดแทนตามธรรมชาติ โครงสรางปาและปริมาตรไม เปนตน ในการประเมินผลโครงการถาสามารถเสนอขอมูลใหเห็นวาปาที่ปลูกแตละพื้นที่มีความสมบูรณ เพิ่มขึ้นเทาไร คิดเปนรอยละเมื่อเทียบกับขอมูลเดิมก็จะชวยใหพิจารณาไดงายขึ้นถึงความคุมทุนในแง ของการใชงบประมาณ ตารางที่ 1 เกณฑและตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน หัวขอ ตัวชี้วัด ความสมบูรณของ 1.ความหนาแนนของไมตน ทรัพยากรปาชายเลน 2.เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอด

3.เปอรเซ็นตการรอดตาย 4.ความแข็งแรงของกลาไมที่ขึ้น

5.ความเหมาะสมของชนิดพันธุไม

เกณฑ 1.อุดมสมบูรณมาก ความหนาแนนของไมตนมากกวา 395 ตน/ไร 2.อุดมสมบูรณปานกลาง ความหนาแนนของไมตน 100-394 ตน/ไร 3.อุดมสมบูรณนอย ความหนาแนนของไมตนนอยกวา 100 ตน/ไร 1.อุดมสมบูรณมาก มีการปกคลุมเรือนยอดมากกวา 90% 2.อุดมสมบูรณปานกลาง มีการปกคลุมเรือนยอดระหวาง 70-89% 3.อุดมสมบูรณนอย มีการปกคลุมเรือนยอดนอยกวา 70% จํานวนตนของกลาไมที่รอดตาย ความแข็งแรงของกลาไมที่ขึ้น -ลักษณะของใบ การแผขยายของเรือนยอด -ความแข็งแรงของลําตน -การแผกระจายของระบบราก สอดคลองกับพันธุไมเดิม ตามสภาพภูมิอากาศและความถี่ของการขึ้น ลงของน้ําทะเล

ที่ปลูก -สอดคลองกับชนิดพันธุไมดั้งเดิม -ขนาดของกลาไมที่ปลูก 6.ความสามารถในการสืบพันธุตาม การสืบพันธุตามธรรมชาติ -ชนิดพันธุไมที่ขึ้นอยู ธรรมชาติ -ความหนาแนนของกลาไมตามธรรมชาติ

265


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2. เกณฑและตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝง เกณฑและตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝง มีความสัมพันธโดยตรงกับรูปแบบการ ปลูกและฟนฟูปาชายเลน วัตถุประสงคของการปลูกและฟนฟูปาชายเลน โครงสรางปาชายเลนและอายุ ของปาชายเลนดวยตลอดจนความตอเนื่องจากการจัดการปาชายเลนดวย ซึ่งในสวนนี้ไดมีผลงานวิจัย ทางดานนี้ซึ่งดําเนินการโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเอง ในสวนที่เกี่ยวของกับทรัพยากร ประมงและคุณภาพสิ่งแวดลอมทางทะเลและโดยมหาวิทยาลัยและหนวยงานอื่น เชน กรมประมง เปนตน ดังนั้นจึงสามารถใชขอมูลจากแหลงขอมูลทุติยภูมิมาทําการวิเคราะหและประมวลผลตามเกณฑและ ตัวชี้วัดเพื่อสรุปสถานภาพความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝงในพื้นที่ศึกษาไดเบื้องตน ประกอบกับ การศึกษาในเชิงลึกเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝงอีกครั้งหนึ่ง สําหรับเกณฑและ ตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชายฝงแบงออกไดเปน 3 ระดับคือ 1. ตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชีวภาพ ไดแก องคประกอบและความ หนาแนนของแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว สัตวทะเลหนาดิน ปลาและสัตวทะเลที่มีคุณคาทาง เศรษฐกิจ สวนใหญใชดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนความหนาแนนและมวลชีวภาพเปน ตัวชี้วัด 2. ตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรประมงบางกลุม เชน การปรากฏของสัตวบาง กลุม เชน หอย ปูและปลา ที่สัมพันธกับการฟนตัวของปาชายเลน สวนใหญจะใชสัตวน้ําเศรษฐกิจใน พื้นที่ เชน หอยแครง ปูแสม ปูทะเล ปลากระบอก เปนตน นอกจานี้ มีกลุมสัตวทะเลหนาดินและปลา บางกลุมที่ใชเปนตัวชี้วัดการฟนตัวของปาชายเลน เชน หอยสีแดงขนาดเล็ก Assiminea brevicula และปลาบู เปนตน 3. ตัวชี้วัดดานความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศชายฝง ซึ่งเปนการวิจัยเชิงลึกตองบูรณาการ ข อ มู ล ด า นทรั พ ยากรชี ว ภาพในส ว นต า งๆ มาวิ เ คราะห ถึ ง ความซั บ ซ อ นของสายใยอาหารและ เสถี ย รภาพของระบบนิ เ วศ ซึ่ ง สามารถทํ า ได ต ามอายุ ข องป า ชายเลนปลู ก ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ตอบคํ า ถาม ภาพรวมวาปาที่ปลูกและฟนฟูที่เขาใกลสูความสมดุลมากนอยเพียงใด นอกเหนือจากการประเมิน ทางดานทรัพยากรปาไมชายเลนอยางเดียว ซึ่งตองมีการศึกษาระยะเวลาการฟนตัวของประชากรสัตว ทะเลหนาดินและทรัพยากรประมงโดยมีการทดแทนที่ (Succession) ของกลุมสิ่งมีชีวิตตางๆ จนถึง ระยะขั้นสุดทาย ซึ่งเปนปาชายเลนที่มีลักษณะสภาพสมดุลหรือมีเสถียรภาพสูง ปาชายเลนที่มีความ อุดมสมบูรณจะมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงและมีสายใยอาหารที่ซับซอน ระยะเวลาการฟนตัว ของปาชายเลนขึ้นกับปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆโดยเฉพาะความอุดมสมบูรณของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ ความเค็ม ปริมาณแสง ความเปนกรดเปนดางของดินและน้ําและระดับการทวมถึงของน้ําทะเล ซึ่งการ ประเมินในระดับนี้จําเปนตองขอความรวมมือจากนักวิชาการภายในกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เองและหนวยงานอื่น 266


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

ตารางที่ 2 เกณฑและตัวชี้วัดความสมบูรณของทรัพยากรชายฝง หัวขอ ความสมบูรณของ ทรัพยากรชายฝง ทรัพยากรชีวภาพ

ตัวชี้วัด 1.แพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว

เกณฑ องคประกอบชนิดและความหนาแนน/ปริมาตร

2.สัตวทะเลหนาดิน -ครัสเตเซียน (Crustacean) -หอยขี้นก -ไสเดือนทะเล หนอนถั่ว -ปูกามดาบ 3.สัตวน้ําเศรษฐกิจ -กุงทะเล -หอยแครง -ปูแสม ปูทะเล -ปลากระบอก ปลากะพงขาว 4.สัตวน้ําที่สัมพันธกับการฟนตัวของปาชายเลน -หอยสีแดงขนาดเล็ก (Assiminea breviala) -ปลาตีน ปลาบู -กลุมปูแสม -กุงดีดขัน

จํานวนตัว/ตารางเมตร

น้ําหนัก/การจับทําประมง

จํานวนตัว/ตารางเมตร

3. เกณฑและตัวชี้วัดการใชประโยชนและการมีสวนรวมเพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการ จัดการทรัพยากรปาชายเลน การจัดทําเกณฑและตัวชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนใน การจัดการทรัพยากรปาชายเลนตามที่ปรากฏดานลางนี้เปนเพียงการกําหนดเกณฑและตัวชี้วัดขั้น พื้นฐานเทานั้น ซึ่งการนําเกณฑและตัวชี้วัดเหลานี้ไปใชในทางปฏิบัติมีมิติที่ตองคํานึงถึงดังนี้ มิติที่ 1: แหลงขอมูลที่ใช ผูที่รับผิดชอบในการประเมินควรทบทวนวรรณกรรมและเอกสาร การวิจัย ตลอดจนเอกสารของทางราชการที่เชื่อถือไดวามีขอมูลตางๆ เหลานั้นอยูหรือไม โดยเฉพาะ ข อ มู ล ในระดั บ ชุ ม ชนแต ล ะชุ ม ชน หากไม มี ข อ มู ล จากแหล ง ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ มี ค วามจํ าเป น ต อ งเก็ บ รวบรวมขอมูลใหม มิติที่ 2: พื้นที่ที่ศึกษา เนื่องจากโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติฯมีหลักกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมคือ 1) การปลูกปาชายเลนในพื้นที่สําคัญเรงดวน 2) การปลูกปาเสริมและปรับปรุงสภาพปา ชายเลน และ 3) การจัดทําเขตพิทักษปาชายเลนและรักษสัตวปา ซึ่งพื้นที่แตละแหงมีกิจกรรมแตกตาง กัน ดังนั้นการสรางคําถามเพื่อการเก็บรวมรวบขอมูลจึงตองคํานึงถึงความแตกตางกันของกิจกรรมใน พื้นที่ศึกษาดวย

267


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

มิติที่ 3: เวลา เนื่องจากการปลูกปาชายเลนไมไดดําเนินการพรอมๆ กันในทุกพื้นที่ ความ แตกตางกันของการเจริญเติบโตของพื้นที่ปา ควรถูกนํามาใชในการพิจารณาประกอบกับการเก็บ รวบรวมขอมูลดวย โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนจากพื้นที่ปาชายเลน การเก็บ รวบรวมขอมูลควรมีระยะเวลาในการอางอิงที่แนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งตองชี้ใหเห็นการเปลี่ยน ระหว า งช ว งเวลาก อ นที่ จ ะมี โ ครงการและภายหลั ง จากที่ มี ก ารดํ า เนิ น โครงการ เพื่ อ จะได เ ห็ น ถึ ง ผลกระทบของโครงการวามีผลอยางแทจริงตอการเปลี่ยนแปลงในชุมชนหรือไม เพียงใดและในทิศทางใด มิติที่ 4: ผูเก็บขอมูล ใครคือผูเก็บขอมูลเปนประเด็นที่ตองใหความสนใจ เพราะศักยภาพของ ผูเก็บขอมูลจะมีผลตอความละเอียดลึกซึ้งในประเด็นที่ศึกษา ความถูกตอง แมนตรง และเชื่อถือไดของ การศึกษา มิติที่ 5: ผูใหขอมูล จะเปนประชากรกลุมเปาหมายที่จะเปนตัวชี้บงวาจะไดขอมูลในระดับใด หากผู ใ ห ข อ มู ล คื อ ผู นํ า ชุ ม ชน ผลการศึ ก ษาที่ ไ ด จ ะเป น ข อ มู ล ในระดั บ ชุ ม ชน ซึ่ ง เป น ภาพรวม (aggregate) เกี่ยวกับชุมชน หากผูใหขอมูลคือประชาชนที่พักอาศัยในชุมชน ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจะ สะทอนใหเห็นถึงภาพของการใชประโยชนจากปาชายเลนในระดับครัวเรือน และการมีสวนรวมของ สมาชิกครัวเรือนหรือครัวเรือนแตละครัวเรือนในการดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับโครงการ มิติที่ 6: การกําหนดเกณฑเพื่อการขี้วัด ตามที่ปรากฏในเอกสาร “การกําหนดเกณฑเพื่อ การชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการทรัพยากรปา ชายเลน” ดังปรากฏรายละเอียดที่แนบมาพรอมนี้ เปนการนําผลงานวิจัยที่เกี่ยวขงกับการจัดการ ทรัพยากรปาชายเลนโดยชุมชนที่มีการวิจัยไวแลวมากําหนดเกณฑ เพื่อการชี้วัด ดวยเหตุนี้ ตัวชี้วัด บางตัวซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติฯ จึงไมมีเกณฑที่กําหนดเพื่อการชี้วัด อยางไรก็ตาม สิ่งที่ผูศึกษาควรดําเนินการคือ ศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ตองการชี้วัดโดย เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน - หลังการดําเนินโครงการ

268


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

ตารางที่ 3 เกณฑและตัวชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการ ทรัพยากรปาชายเลน หัวขอ 1. การใชประโยชน

2. การมีสวนรวม

หัวขอยอย/ประเด็น 1.1 การใชประโยชนจากไมเพื่อการใชสอยประจําวัน - การสรางที่พักอาศัย เสาบาน หรือสะพาน - การทําเฟอรนิเจอรหรือของใชในบาน - การทําอุปกรณประมงหรือเครื่องมือสําหรับประกอบอาชีพ - นํามาใชเผาถาน หรือเปนเชื้อเพลิง - นํามาใชในการรักษา (สมุนไพร) 1.2 การใชประโยชนจากสัตวน้ํา - สัตวน้ําที่จับไดจากแนวเขตปาชายเลนที่ชาวบานนํามาใช ประกอบอาหาร - การขายสัตวน้ําที่จับไดจากแนวเขตปาชายเลนไมวาจะเปน ปลา กุง หอย ปู หรือสัตวอื่นๆ 1.3 ประโยชนทางเศรษฐกิจอยางอื่น - การมีรายไดทั้งทางตรงจากการทองเที่ยวเชิงอนุรักษปา ชายเลน - การมีรายไดทางออมจากการทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาชาย เลน - การเพาะเลีย้ งสัตวน้ําในพื้นที่แนวเขตปาชายเลนที่เปน พื้นที่โครงการ - การสรางงานในพื้นที่อันเนื่องมาจากโครงการหรือกิจกรรม ที่เกี่ยวกับโครงการ 1.1 การมีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการฟนฟู อนุรักษ หรือ พัฒนาปาชายเลน - ประเภทของกิจกรรม - จัดมานานกี่ป - ความตอเนื่องหรือความสม่ําเสมอ - จํานวนครั้งที่จัดตอป - จํานวนคนที่เขารวมเฉลี่ยตอครั้ง

ตัวชี้วัด 1. รอยละของครัวเรือนที่ใช 2. การประเมินผลที่ไดในรูปของตัวเงิน 3. เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน – หลังการดําเนินโครงการ

1. รอยละของครัวเรือนที่ใช 2. การประเมินผลที่ไดในรูปของตัวเงิน 3. เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน -

หลังการดําเนินโครงการ 1. รอยละของครัวเรือนที่ใช 2. การประเมินผลที่ไดในรูปของตัวเงิน 3. เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน -

หลังการดําเนินโครงการ

1. รอยละของกิจกรรมหรือคาเฉลี่ยของ

ประเด็นที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรม 2. เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน หลังการดําเนินโครงการ

269


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 3 (ตอ) หัวขอ

หัวขอยอย/ประเด็น

ตัวชี้วัด

1.3 การบริหารจัดการอยางยัง่ ยืน - การสรางเครือขายความรวมมือกับชุมชน/องกกร/

หนวยงานอื่นนอกชุมชน - ชุมชนมีจุดแข็งอะไรในการจัดการเรื่องปาชายเลน - ชุมชนมีจุดออนอะไรในการจัดเรื่องปาชายเลน 1.2 การบริหารจัดการ - การมีกลุมรับผิดชอบการจัดการ - จํานวนกลุม - จํานวนสมาชิก - ความตอเนื่องของการจัดการ - การกําหนดหนาที/่ บุคคลเพื่อการจัดการ - การนําเรื่องที่เกี่ยวกับการฟนฟู อนุรักษ หรือพัฒนา ปาชายเลนในชุมชนมาหารือกันในที่ประชุม คณะกรรมการหมูบานหรือชุมชน

1. รอยละของกิจกรรมหรือคาเฉลี่ยของ

ประเด็นที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรม 2. เปรียบเทียบระหวางชวงเวลา กอน หลังการดําเนินโครงการ

ตารางที่ 4 การกําหนดเกณฑเพื่อการชี้วัดการใชประโยชน การมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาศักยภาพของชุมชน ในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน ลําดับ

ประเด็น

ตัวชี้วัด ต่ํา

1. 1.1

1.2 1.3 1.4 2. 2.1

การใชประโยชน การใชประโยชนจากไมเพื่อการใชสอย ประจําวัน 1.1.1 การใชไมจากปาชายเลนเพื่อสรางทีพ ่ ัก อาศัยของใชในบานและอุปกรณประมง 1.1.2 การใชสมุนไพรจากปาชายเลน การจับสัตวน้ําจากแนวปาชายเลน การมีรายไดทั้งทางตรงและทางออมจากการ ทองเที่ยวเชิงอนุรกั ษ การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในพื้นที่แนวเขต ปาชายเลน การมีสวนรวม การมีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ การฟนฟู อนุรักษ หรือพัฒนาปาชายเลน 2.1.1 จํานวนครั้งที่จัดกิจกรรมตอป 2.1.2 จํานวนคนที่เขารวมกิจกรรม

270

เกณฑ ปานกลาง

สูง

รอยละของครัวเรือนที่ใช

<30

30 – 60

70 และมากกวา 25 และมากกวา

รอยละของครัวเรือนที่ใช

<15

15 – 24

รอยละของครัวเรือนที่ใช

<3

3–9

รอยละของครัวเรือนที่ใช รอยละของครัวเรือนที่มีรายไดจาก การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ รอยละของครัวเรือนี่เพาะเลี้ยงสัตว น้ําในพื้นที่แนวเขตปาชายเลน จํานวนกิจกรรมที่มี

<30 <5

30 - 59 5 - 19

60 และมากกวา 20 และมากกวา

<5

5 – 14

15 และมากกวา

คาเฉลีย่ จํานวนครั้งของกิจกรรมที่ จัดตอป รอยละของจํานวนคนในชุมชนที่ เขารวมกิจกรรม (คิดจากจํานวน คนในชุมชนทั้งหมด)

0 หรือ 1 <10

2-4

5 และมากกวา

10 – 39

40 และมากกวา

10 และมากกวา


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

ตารางที่ 4 (ตอ) ลําดับ

ประเด็น

ตัวชี้วัด ต่ํา

การบริหารจัดการ 2.2.1 การนําเรื่องที่เกี่ยวกับการฟนฟู อนุรักษ หรือพัฒนาปาชายเลนในชุมชนมาหารือกันที่ ประชุมคณะกรรมการหมูบานหรือชุมชน

2.2

คาเฉลีย่ จํานวนครั้งตอปของ การนําเรื่องที่เกี่ยวกับการ ฟนฟู อนุรักษ และพัฒนาปา ชายเลนมาหารือในที่ประชุม คณะกรรมการหมูบานหรือ ชุมชน

<3

เกณฑ ปานกลาง

สูง

3 – 5 ครั้ง

6 ครั้งและ

มากกวา

หมายเหตุ: โครงการวิจัยที่ใชในการอางอิงประกอบดวย 1.

2.

3. 4.

5.

สุนันทา สุวรรณโณดม สุธาวัลย เสถียรไทย และศิริวรรณ ศิริบุญ. 2541. การศึกษาโครงสรางทางประชากร เศรษฐกิจและ สังคมของชุมชนปาชายเลนบริเวณอาวมหาชัย : วัตถุประสงคและระเบียบวิธีวิจัย ใน ชุมชนปาชายเลนอาวมหาชัย : แนวคิดเพื่อการฟนฟู พัฒนา และการอนุรักษ วิทยาลัยประชากรศาสตร เอกสารหมายเลข 270 ธันวาคม 2541 26 หนา. สุนันทา สุวรรณโณดม ศิริวรรณ ศริบุญ, บุศริน บางแกว และชเนตตี มิลินทางกูร. 2541. ชุมชนปาชายเลนอาวมหาชัย : แนวคิดเพื่อการฟนฟู พัฒนา และการอนุรักษ. วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาบัย เอกสารหมายเลข 270 ธันวาคม 2541 24 หนา. สุนันทา สุวรรณโณดม ศิริวรรณ ศิริบุญ, บุศรินบางแกลว และชเนตตี มิลินทางกูร. 2542. ความสัมพันธระหวางประชากร กับระบบนิเวศวิทยาของปาชายเลน: อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช สุนันทา สุวรรณโณดม ศิริวรรณ ศิริบุญ บุศริน บางแกว ชเนตตี มิลินทางกูร และนันทนา เลิศประสบสุข. 2543. รายงาน การศึกษาลักษณะทางประชากร สังคม และสภาพแวดลอมชุมชนหมูบานประมง จังหวัดพังงา. โครงการศึกษาประชากร และสิ่งแวดลอม: ปจจัยทางประชากรและเศรษฐกิจที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงนากุงในประเทศไทย. วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.เอกสารหมายเลข 281 กันยายน 2543. สนิท อักษรแกว และคณะ. 2547. การจัดการสวนปาชายเลนแบบผสมผสานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม บริเวณชายฝงทะเลของประเทศไทย.วิทยาลัยประชากรศาสตร.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.เอกสารหมายเลข 290 กันยายน 2545. 14 หนา.

4. เกณฑและตัวชี้วัดประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโครงการ การประเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรตินั้ น กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝงไดดําเนินการไปบางแลว การติดตามและประเมินผลโครงการควรดําเนินการในมิติประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลดวยซึ่งตองมีการพิจารณาการใชงบประมาณทั้งหมดและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานวาเครือขาย สามารถชวยเหลือภาคราชการไดมากนอยแคไหน มีความสําคัญในการประเมินประสิทธิผลของการดําเนินงาน ดวย นอกจากนี้ สํานักงบประมาณไดดําเนินการประเมินความคมคาดานงบประมาณของโครงการปลูกปาไป แลวในหนวยงานที่เกี่ยวของไมใชเฉพาะกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอยางเดียว การประเมินประสิทธิภาพ ของการบริหารจัดการโครงการควรดําเนินการประเมินเพิ่มเติมจากที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดําเนินการมาแลวเพื่อใหมีความสมบูรณมากขึ้น ซึ่งในขณะนี้ยังไมมีการประเมินในมิติประสิทธิผลวาประชาชน ไดรับประโยชนจากโครงการอยางไร จึงควรมีการประเมินความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ ที่เกี่ยวของ ดังตารางที่ 5

271


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 5 การประเมินความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ที่เกี่ยวของ หัวขอ ความพึงพอใจของประชาชน ในพื้นที่ที่เกี่ยวของ

ตัวชี้วัด 1. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 2. ความพึงพอใจการใชประโยชนทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง 3. ความพึงพอใจในการรับบริการ - ขอมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝง - ความรูดานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง -วางแผนนโยบายทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง 4. ความพึงพอใจในการมีสวนรวม

เกณฑ รอยละความพึงพอใจของประมชาชนในพื้นที่ที่ เกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเล และชายฝง (การ บริหารจัดการการใชประโยชน การมีสวนรวม ฯลฯ)

ทําอยางไรการดําเนินการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลนจึงจะดําเนินไป อยางตอเนื่อง การดําเนินการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลน ควรเปนกิจกรรมหนึ่งของ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงในการเตรียมความพรอมใหชุมชนมีสวนรวมอยางแทจริงในการ จัดการทรัพยากรปาชายเลน และเปนการสรางเครือขายระหวางหนวยงานภาครัฐ องคการเอกชน องค ก ารบริ ห ารส ว นท อ งถิ่ น และชุ ม ชนให ทํ า งานร ว มกั น เป น โอกาสการสร า งเสริ ม ศั ก ยภาพของ บุคคลากรที่รับผิดชอบโดยตรงในกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยการฝกอบรมเกณฑและ ตั ว ชี้ วั ด การติ ด ตามและประเมิ น ผลการปลู ก และฟ น ฟู ป า ชายเลน นอกจากนี้ ยั ง ต อ งมี ก ารจั ด สรร งบประมาณสําหรับการฝกอบรมและการวิจัยเชิงลึกในกรณีที่ยังขาดขอมูลหรือตองการคําตอบเฉพาะ เรื่อง ในแตละพื้นที่ศึกษาถามีการกําหนดแปลงถาวรสําหรับการตรวจติดตามและประเมินผล สามารถ พัฒนาเปนศูนยเรียนรูระบบนิเวศปาชายเลนไดอยางแทจริง สามารถประมวลความรูที่ไดจากการ ติดตามและประเมินผลรวมกับภูมิปญญาชุมชนในการถายทอดองคความรูแกบุคคลทั่วไป นอกจากนี้ ขอมูลที่ไดจากการติดตามและประเมินผลการฟนฟูปาชายเลนสามารถนําไปใชในการตัดสินใจในการ วางแผนแนวทางในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนรวมกับชุมชนอีกดวย

272


แนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปา ชายเลน

กิตติกรรมประกาศ บทความแนวทางการติดตามและประเมินผลการปลูกและฟนฟูปาชายเลน เปนการสรุปจาก รายงานกรอบและแนวทางการติดตามและเมินผลโครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงพระเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา เสนอ โดยคณะทํางานกําหนดกรอบและแนวทางติดตามและประเมินผลโครงการ กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. 2551. กรอบและแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการการ ปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา. 45 หนา ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ. 2549. สถานภาพและแนวทางการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝงอาวไทยตอนในฝงตะวันตก. ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบนและ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 578 หนา ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ. 2551. การประเมินเสถียรภาพของระบบนิเวศปากแมน้ําที่ไหลลงสู ทะเล (Estuary) อาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. กลุมวิจัยและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงและจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 601 หนา

273


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

274


บทความวิจัย session 3 : ปาชายเลนกับการแกไขปญหาโลกรอน



แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน The Concept of Mangrove Management for Global Warming Mitigation

นพรัตน กายเพชร1 รัตนะ บุลประเสริฐ2 สยาม อรุณศรีมรกต3 วันเพ็ญ เจริญตระกูลปติ4 1,2,3

4

คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) จังหวัดนครปฐม 10400 คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

บทคัดยอ การจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอนเปนแนวคิดสําหรับการพัฒนานโยบายและแผน ดานการจัดการทรัพยากรปาชายเลนของภาครัฐเพื่อประโยชนดานการบรรเทาภาวะโลกรอน และ ตอบสนองแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียวตามทิศทางการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 11 โดยเปนกรอบแนวคิดและระเบียบวิธีการวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบดัชนีชี้วั ด เศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน กรอบแนวคิดการวิจัยมาจากสมมติฐานวาอัตราสวน การใช ป ระโยชน ที่ ดิน ประเภทป า ไม พื้น ที่ เ กษตรกรรม และพื้ น ที่ น อกภาคเกษตร ภายใต ตั ว แปร ควบคุมการใชประโยชนที่ดินแตละประเภท สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงของอัตราสวนของมูลคา ทางเศรษฐกิจและปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกตอหนวยพื้นที่ได ระเบียบวิธีการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ประกอบด ว ย 1)การจั ด ทํ า ดั ช นี ชี้ วั ด เศรษฐกิ จ คาร บ อนต่ํ า จากการใช ป ระโยชน ที่ ดิ น 2)การสร า ง แบบจําลองการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน และ 3)การเปรียบเทียบรูปแบบ เศรษฐกิจและเสนอแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา คําสําคัญ: เศรษฐกิจคารบอนต่ํา, พื้นที่ปาไม, พื้นที่เกษตรกรรม, พื้นที่นอกภาคเกษตร


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The mangrove management for global warming mitigation is a concept for development of mangrove resource management policy and plan in government for global warming mitigation and response to the path of the 11st national economic and social development plan – Green Economy. It is a conceptual framework and research methodology in a research project of “comparison low-carbon economy index by land use”. The conceptual framework was developed by the hypothesis – the land use ratio of forest area, agricultural area and nonagricultural area under the control factors of each land use types can control the ratio of economic value and greenhouse gas emission per unit of area. The research methodology include 3 procedures – 1)the development of low-carbon economy index by land use, 2)the model development of low-carbon economic development by land use, and 3)the comparison economic type and propose the guideline for low-carbon economic development. Keyword: Low-carbon Economy, Forest Area, Agricultural Area, Non-agricultural Area

บทนํา การลดภาวะโลกรอนตองอาศัยระยะเวลานานทั้งการลดลงของความเขมขนของกาซเรือนกระจกที่ สะสมอยูในชั้นบรรยากาศโลกและการไมทําใหปริมาณกาซเรือนกระจกจากพื้นที่ไปสะสมเพิ่มขึ้นในชั้น บรรยากาศ ดั ง นั้ น แนวทางปฏิ บั ติ เ ท าที่ ม นุ ษ ย จ ะทํ า ได คื อ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพการจั ด การพื้ น ที่ ประเภทแหลงดูดซับกาซเรือนกระจกและแหลงปลดปลอยกาซเรือนกระจกใหมีความสมดุลกันโดยมี ตั ว ชี้ วั ด เชิ ง ปริ ม าณที่ ชั ด เจนจนสามารถเชื่ อ ได ว า จะไม เ กิ ด การปลดปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกสู ชั้ น บรรยากาศโลก หรืออยางนอยคือการควบคุมใหอยูในระดับต่ํา กลาวเฉพาะพื้นที่ปาชายเลนซึ่ง มี คุณสมบัติในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด(กาซเรือนกระจกที่สําคัญและมีการปลดปลอยจากการ พัฒนาเศรษฐกิจมาก) การรักษาขนาดเนื้อที่ปาชายเลนจึงถือเปนแนวทางปฏิบัติที่ตอบสนองปญหา ภาวะโลกร อ นได ดี อี ก แนวทางหนึ่ ง นอกจากนี้ ในระดั บ พื้ น ที่ ข องแต ล ะจั ง หวั ด หรื อ ภาคก็ มี ก าร ดําเนินการตางๆ เพื่อรักษาขนาดเนื้อที่ปาชายเลนรวมทั้งปลูกฟนฟูในบริเวณที่เสื่อมโทรมโดยตระหนัก ถึงความสําคัญของบทบาทปาชายเลนตอภาวะโลกรอน อยางไรก็ตาม การกําหนดเปาหมายขนาดเนื้อ ที่ ป า ชายเลนสํ า หรั บ แต ล ะจั ง หวั ด หรื อ ภาคอย า งชั ด เจนในฐานะกลไกการดู ด ซั บ ก า ซ คารบอนไดออกไซดใหมีความสมดุลนั้น เปนแนวทางปฏิบัติที่ควรมีการดําเนินการในระยะถัดไปจากนี้ ทั้งนี้ นอกจากเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอนแลว ยังมีประโยชนดานภาพลักษณของประเทศไทยใน สังคมโลกซึ่งมีผลไปถึงภาคเศรษฐกิจของประเทศที่ยังพึ่งพาการสงออกอยูมาก รวมทั้งประโยชนที่ใกล ตัวประชาชน เชน การรักษากลไกสรางคุณภาพอากาศที่ดี แหลงสัตวน้ําชายฝงและภูมิทัศนที่สวยงาม ตามธรรมชาติ ซึ่งนํามาสูการประกอบอาชีพและธุรกิจตางๆ ของประชาชนจํานวนมาก ตลอดจน ประโยชนในฐานะแนวกันชนสีเขียว(Green Buffer Zone หรือ Green Belt) ทั้งระหวางเขตเมืองที่ ติดตอกันและระหวางชุมชนกับพื้นที่ทะเล 278


แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน

การกําหนดเปาหมายขนาดเนื้อที่ปาชายเลนสําหรับแตละจังหวัดหรือภาคอยางชัดเจนในฐานะ กลไกการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดใหมีความสมดุลนั้น จําเปนตองใชทักษะความรูเบื้องตนดาน การคํานวณปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกและปริมาณการดูดซับกาซเรือนกระจกของพื้นที่แต ละประเภทซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ทั้ ง สองด า นแตกต า งกั น ไป ภายใต เ งื่ อ นไขนี้ จึ ง เป น อุ ป สรรคในระดั บ ปฏิบัติการที่มีความแตกตางดานความรูความสามารถของผูปฏิบัติ การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบดัชนี ชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดินมีแนวคิดที่คาดวาจะสามารถนําไปดําเนินการเพื่อ บรรลุวัตถุประสงคขางตนได โดยสลายขอจํากัดดานความรูและทักษะในการคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจก ซึ่งอาจนําไปสูการจัดการปาชายเลนเพื่อตอบสนองปญหาโลกรอนไดอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น งานวิจัยในระยะ 8 ปที่ผานแสดงถึงความสนใจในการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํามากขึ้น โดย พบวางานวิจัยทั้งหมดใหความสําคัญตอการสรางความสมดุลของกาซเรือนกระจกหรือการลดปริมาณ การปลดปลอยกาซเรือนกระจกระหวางพื้นที่ดูดซับกาซเรือนกระจกและพื้นที่ปลดปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งไดนํามาพัฒนาเปนสมมติฐานและกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ เชน งานวิจัยเรื่องการบรรเทาการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโดยการเก็บกักคารบอนดวยระบบนิเวศปาไมในประเทศอินโดนีเซีย (Luis Godinho และคณะ, 2003) การวางแผนพั ฒ นาเมื อ งคาร บ อนต่ํา ของประเทศมาเลเซี ย (Ho Chin Siong และ Fong Wee Kean ,2007) การวางผังพื้นที่ในเมือง Shenzhen ประเทศจีน เพื่อสรางเมืองคารบอนต่ํา (Lu Jia, 2009) การศึกษาเรื่องแบบจําลองเชิงบูรณาการทางเศรษฐกิจ พลังงานและสิ่งแวดลอม(Economics-Energy-Environment System: 3Es) ภายใตนโยบายคารบอนต่ํา ในปกกิ่งประเทศจีน (Liu Dacheng และคณะ, 2010) กรอบแนวคิดการวิจัย อัตราสวนการใชประโยชนที่ดินประเภทปาไม พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่นอกภาคเกษตร ภายใต ตั วแปรควบคุม การใชป ระโยชนที่ ดิ น แต ล ะประเภท สามารถควบคุ ม การเปลี่ ย นแปลงของ อัตราสวนของมูลคาทางเศรษฐกิจและปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกตอหนวยพื้นที่ได

279


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

GDP

Land

National GHG

Forest

FC

Agricultur AC

Non-agriculture NC

LCE Index

LCE Standard

LCED Model

Mixed Economy

Non-agricultural

LCED Pathway for Mixed Economy

LCED Pathway for Non-agricultural

GDP : Gross Domestic Product LCE : Low-carbon Economy LCED : Low-carbon Economic Development FC : ตัวแปรควบคุมการใชประโยชนที่ดินประเภทปาไม AC : ตัวแปรควบคุมการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรม NC : ตัวแปรควบคุมการใชประโยชนที่ดินประเภทนอกภาคเกษตรกรรม

วิธีการศึกษา 1. การจัดทําดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน ตัวแปรที่จะนํามาจัดทําดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน ประกอบดวย อัตราสวนของการใชประโยชนที่ดินและอัตราสวนของมูลคาการผลิตในผลิตภัณฑมวลรวมจําแนกตาม ประเภทการใชประโยชนที่ดิน 3 รูปแบบ คือ ปาไม เกษตรกรรม และนอกภาคเกษตร รายละเอียดดังนี้

280


แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน

1) อัตราสวนของการใชประโยชนที่ดิน : จําแนกขนาดเนื้อที่ปาไม พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ นอกภาคเกษตร โดยใชฐานขอมูลการใชที่ดินเพื่อการเกษตรของประเทศไทย พ.ศ.2543 (สํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร, 2554) และคํานวณเปนอัตราสวนรอยละตอเนื้อที่รวม 1.1) ปาไม : จําแนกเปน 2 กลุม คือ ปาสงวนแหงชาติและปาอื่นๆ 1.2) การเกษตรกรรม : จําแนกเปน 4 กลุม คือ นาขาว พืชไร สวนผัก ไมดอก ทุงหญาเลี้ยงสัตว ที่วางหรือที่รกราง, ไมผลและไมยืนตน, ปศุสัตวและการเกษตรอื่นๆ, ชุมชนที่อยูอาศัย 1.3) นอกภาคเกษตร : กําหนดเปน 1 กลุม โดยใชพื้นที่นอกภาคเกษตรกรรม ทั้งนี้ การจําแนกกลุมตัวแปรยอยขางตนเปนการกําหนดเงื่อนไขตัวแปรควบคุม เพื่อความ สอดคลองตอฐานขอมูลการใชประโยชนที่ดินของประเทศไทยในป พ.ศ.2543 ซึ่งเปนตัวแปรที่มีผลตอ การเปลี่ยนแปลงของมูลคาการผลิตและปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกตามกรอบแนวคิดใน การวิ จั ย สํ า หรั บ การจํ า แนกกลุ ม ย อ ยของพื้ น ที่ เ กษตรกรรม เป น การจั ด กลุ ม ประเภทของพื ช ที่ เพาะปลูกที่มีอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดใกลเคียงกันตามเกณฑของ Hairiah และคณะ (2001) และจําแนกการใชประโยชนที่ดินประเภทการปศุสัตวและการเกษตรอื่นๆ และชุมชนที่อยูอาศัย เปนกลุมยอยตางหาก เนื่องจากมีลักษณะของการปลอยกาซเรือนกระจกแตกตางกันอยางชัดเจนโดย พิจารณาเปรียบเทียบกิจกรรมของทั้งสองประเภทการใชประโยชนที่ดิน 2) อัตราสวนของมูลคาการผลิตในผลิตภัณฑมวลรวม : จําแนกมูลคาการผลิตภาคเกษตรกรรม และภาคนอกเกษตรจากผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศไทย ณ ราคาปจจุบัน พ.ศ. 2543 (สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2554) โดยในภาคเกษตรกรรมจะจําแนกเปน 2 ตัวแปรยอย คือ เกษตรกรรม และการปาไม และคํานวณเปนอัตราสวนรอยละตอคารวม ตารางที่ 1 จําแนกกลุมตัวแปรในการจัดทําดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน ประเภทการใชประโยชน ที่ดิน (1) ปาไม

(2) เกษตรกรรม

(3) นอกภาคเกษตร

ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน (1)อัตราสวนของขนาดเนื้อที่ (2)มูลคาการผลิต (รอยละตอเนื้อที่รวม) (รอยละตอ GDP) ปาสงวนแหงชาติ ปาอื่นๆ นาขาว/พืชไร/สวนผัก/ไมดอก/ทุงหญาเลี้ยงสัตว/ที่วางหรือที่รกราง ไมผลและไมยืนตน ปศุสัตวและการเกษตรอื่นๆ ชุมชนที่อยูอาศัย พื้นที่นอกภาคเกษตร

สาขาการปาไม ภาคเกษตรกรรม (ยกเวนการปาไม)

ภาคนอกเกษตร

หมายเหตุ : จัดกลุมตัวแปรตามกรอบแนวคิดการวิจัย

281


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2. การสรางแบบจําลองการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน แบบจําลองที่จะพัฒนาขึ้นในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใชประเมินสถานการณเศรษฐกิจ คารบอนต่ําในเบื้องตน เพื่อทราบแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกและ มูลคาการผลิตของระบบเศรษฐกิจในพื้นที่ประเมิน มีขั้นตอนดังนี้ 1) กําหนดมโนทัศนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา : มโนทัศนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา สําหรับประเทศไทยในการวิจัยครั้งนี้ คือการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไมทําใหปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก ของประเทศไทยสูง กวา ในป พ.ศ.2543 และไมทํา ใหผ ลิต ภัณ ฑม วลรวมต่ํากวา ในป พ.ศ.2543 ซึ่งแนวคิดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดินนี้ จะอาศัยการควบคุมอัตราสวนการใช ประโยชนที่ดินแตละประเภทภายใตเงื่อนไขของตัวแปรควบคุม(ตารางที่) 2) วิธีประเมิน : ใชดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดิน โดยเก็บรวบรวม ขอมูลตามกลุมตัวแปร แลวนํามาคํานวณเปนอัตราสวนรอยละ พรอมเทียบกับเกณฑมาตรฐานในการ กําหนดเกณฑมาตรฐานเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดินนั้น จะเก็บรวบรวมขอมูลตาม กลุมตัวแปรของดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดินมาคํานวณเปนอัตราสวนรอยละ โดยใชขอมูลของประเทศไทยป พ.ศ.2543 3. การเปรียบเทียบรูปแบบเศรษฐกิจและเสนอแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา เปรียบเทียบเศรษฐกิจ 2 รูปแบบดวยแบบจําลองการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา โดยคัดเลือก จังหวัดที่มีโครงสรางเศรษฐกิจสอดคลองตามวัตถุประสงค คือ รูปแบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิตนอก ภาคเกษตรกรรม และเศรษฐกิจแบบผสม มีรายละเอียดดังนี้ 1) กําหนดจังหวัดตัวอยาง 2 รูปแบบเศรษฐกิจ โดยกระจายพื้นที่ใหครอบคลุมทุกภูมิภาคของ ประเทศไทย ตารางที่ 2 จังหวัดกลุมตัวอยางในการเปรียบเทียบเศรษฐกิจคารบอนต่ํา จังหวัด ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(เหนือ) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ใต) ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคใต

รูปแบบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิตนอกภาคเกษตร1 เชียงใหม พระนครศรีอยุธยา หนองคาย นครราชสีมา กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ภูเก็ต

เศรษฐกิจแบบผสม2 พะเยา ชัยนาท เลย อํานาจเจริญ สุพรรณบุรี ตราด ชุมพร

1 เศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิตนอกภาคเกษตรกรรม หมายถึง โครงสรางเศรษฐกิจที่มีอัตราสวนของมูลคาการผลิตนอกภาคเกษตรกรรม มากกวารอยละ 70 ของผลิตภัณฑจังหวัด 2 เศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง โครงสรางเศรษฐกิจที่มีอัตราสวนของมูลคาการผลิตนอกภาคเกษตร รอยละ 40-70 ของผลิตภัณฑจังหวัด 282


แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน

2) เก็บรวบรวมขอมูลตามกลุมตัวแปรของดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชน ที่ดินและนํามาคํานวณเปนอัตราสวนรอยละของคารวม 3) เปรียบเทียบคาดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจคารบอนต่ําจากการใชประโยชนที่ดินของแตละรูปแบบ เศรษฐกิจกับเกณฑมาตรฐาน 4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ําสําหรับแตละรูปแบบเศรษฐกิจ การจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอนตามแนวคิดการวิจัย ตามกรอบแนวคิดในการวิจัยไดจําแนกการใชประโยชนที่ดินเปน 3 ประเภท คือ ปาไม พื้นที่ เกษตรกรรม และพื้นที่นอกภาคเกษตรกรรม ซึ่งจะนํามาถึงแนวทางการบริหารจัดการอัตราสวนรวมถึง คุณ ลั ก ษณะของแต ล ะประเภทพื้ นที่ เพื่ อ รั ก ษาสถานะเศรษฐกิ จ คาร บ อนต่ํ า ของประเทศไทยและ แนวทางปฏิบัติในระดับพื้นที่ เชน ระดับภาค ระดับจังหวัด เปนตน ในกรณีของพื้นที่ปาชายเลนนั้น คือสวนหนึ่งของพื้นที่ปาไมโดยรวม ดังนั้น ในขั้นการปฏิบัติเฉพาะปาชายเลน สามารถดําเนินการได โดยหักลบพื้นที่ปาบกออกไป สรุป แนวคิดการจัดการปาชายเลนเพื่อการบรรเทาภาวะโลกรอน เปนการพัฒนาวิธีการที่สะดวกขึ้น สําหรับผูมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรปาชายเลนโดยสลายขอจํากัดดานความรูและทักษะดานการ คํานวณปริมาณกาซเรือนกระจก แตสามารถสรางผลลัพธในการควบคุมปริมาณการปลดปลอยกาซ เรือนกระจกโดยรวมของประเทศไดตามการมีสวนรวมรับผิดชอบในภาคการจัดการปาไม (ปาชายเลน)

283


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2554. บัญชีประชาชาติ : Gross Domestic Product at Current Market Price (2000) ; http://www.nesdb.go.th/Default.aspx? tabid=96 วันที่ 1 มิถุนายน 2554 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2554. การใชที่ดินเพื่อการเกษตรของประเทศไทยระดับประเทศ ภาค จังหวัด พ.ศ.2543. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ; http://www. oae.go.th/ewt_news.php?nid=4542 วันที่ 1 มิถุนายน 2554 Hairiah K, Sitompul SM, van Noordwijk M and Palm CA. 2001. Methods for sampling carbon stocks above and below ground. ASB Lecture Note 4B. 4B. Bogor, Indonesia. International Centre for Research in Agroforestry, SEA Regional Research Programme. 23 p. Ho Chin Siong and Fong Wee Kean. 2007. Planning for Low Carbon City- The case of Iskandar Development Region, Malaysia. Toward Establishing Sustainable Planning and Governance II, Sungkyunkwan University, Seoul, Korea on 29-30 November 2007. Liu Dacheng, Yang Xiaoou, TAN Xianchun, WU Ruihao, and WANG Li. 2010. Study on Integrated Simulation Model of Economic, Energy and Environment Safety System under the Low-carbon Policy in Beijing. 2010 International Congress on Environmental Modelling and Software. Modelling for Environment’s Sake, Fifth Biennial Meeting, Ottawa, Canada. Luis Godinho, Erwin Nacuray, Maron M. Cardinoza, and Rodel D. Lasco. 2003. Climate Change Mitigation Trough Carbon Sequestration: The Forest Ecosystems of Timor Leste. Proceedings from 1st National Workshop on Climate Change, Deli, 19 November 2003. Lu Jia. 2009. Spatial Planning in Shenzhen to built a Low Carbon City. 45th ISOCARP Congress 2009.

284


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย A Status of Carbon Sequestration of a Mangrove Forest in Thailand

สาพิศ ดิลกสัมพันธ ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 E-mail: sapit.d@ku.ac.th

บทคัดยอ ปาชายเลนมีประโยชนทั้งทางตรงและทางออมนานัปการแกชุมชนในทองถิ่น นอกจากนี้ยังเปนแหลง กักเก็บคารบอนซึ่งจัดเปนการบริการทางนิเวศวิทยา (ecological services) ที่สําคัญในการบรรเทา ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน บทความนี้ไดรวบรวม ขอมูลสถานภาพในการกักเก็บคารบอนในพืชพรรณของปาชายเลนในประเทศไทย ประกอบดวยการ แปรผันของปริมาณคารบอนใน พรรณไมปาชายเลนชนิดตางๆ การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของ ปาชายเลนในภูมิภาคตางๆ และศักยภาพในการดูดซับคารบอนของการปลูกปาชายเลน นอกจากนี้ ยัง เนนความเชื่อมโยงของลักษณะสังคมพืชกับสถานภาพในการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ ทั้งนี้ ขอมูลที่ไดจากการรวบรวมเหลานี้สามารถนําไปประยุกตใชสําหรับการจัดการปาชายเลนเพื่อเพิ่มการ ดูดซับคารบอนโดยการปลูกและฟนฟูปาชายเลนและการลดการปลอยคารบอนจากการทําลายปาและ ความเสื่อมโทรมของปาตอไปในอนาคต คําสําคัญ: ปาชายเลน, สังคมพืช, การกักเก็บคารบอน, ปริมาณคารบอน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract A mangrove forest can provide both direct and indirect benefits to local people in various ways. It can also serve as an important carbon sink, one of ecological services, to mitigate the climate change problem recently facing our mankind. This article reviews the status of carbon sequestration of a mangrove forest in Thailand. The particular issues are addressed: variation in carbon contents in various mangrove tree species; carbon storage in tree biomass of a mangrove forest distributing in various parts of Thailand; and carbon sequestration potential of mangrove reforestation. In addition, the status of the carbon stocks as related to their plant communities is also discussed in great details. The available information could be, therefore, applied to future management of a mangrove forest in order to increase carbon sink through mangrove reforestation and restoration and to reduce carbon emissions from deforestation and forest degradation. Keyword: Mangrove forest, Plant community, Carbon sequestration, Carbon content.

บทนํา ปาชายเลน หรือปาโกงกาง (mangrove forest หรือ intertidal forest) เปนสังคมพืชที่ขึ้นอยูตาม ชายฝงทะเลบริเวณที่มีระดับน้ําทะเลทวมถึง พบไดในบริเวณชายฝงทะเล ปากแมน้ํา อาว ทะเลสาบ และเกาะ ทําใหสังคมพืชปาชายเลนประกอบดวยพรรณไมที่มีลักษณะทางสรีรวิทยา และการปรับตัว ทางโครงสรางที่คลายกันเพื่อใหสามารถดํารงอยูในสิ่งแวดลอมนี้ได สวนใหญเปนพรรณไมที่ไมผลัดใบ พบอยูทั่วไปในเขตรอน (tropical region) และกึ่งรอน (subtropical region) บางเล็กนอย มีพรรณไม สกุลโกงกาง (Rhizophora) เปนพรรณไมสําคัญ และมีพรรณไมสกุลอื่นขึ้นปะปนอยูดวย ทรัพยากรปาชายเลน นอกจากจะมีประโยชนทั้งทางตรงในสวนของผลผลิตเนื้อไมและเปนแหลงของปา เชน ใบจาก น้ําผึ้ง และสมุนไพร เปนตน ใชในการสรางรายไดและเปนปจจัยในการดํารงชีวิตใหแกชุมชนในทองถิ่นแลว ยังมีประโยชนทางออม หรือบริการทางนิเวศวิทยา (ecological services) อีกหลายประการ เชน เปนแหลงผลิตและหมุนเวียนธาตุอาหาร ชวยในการกักกรองขยะและสารพิษ ทําหนาที่ในการกําบัง คลื่นลมและปองกันการกัดเซาะชายฝง และโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนแหลงกักเก็บคารบอน ซึ่งเปนสวน สํา คัญ ในการลดปริม าณกา ซคารบ อนไดออกไซดที่เ ปน สาเหตุสําคัญ ของปญ หาการเปลี่ย นแปลง สภาพภูมิอากาศ (climate change) ในปจจุบัน ปาชายเลนสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศ (carbon sequestration) ผาน กระบวนการสังเคราะหแสง (photosynthesis) เพื่อสรางอินทรียสารซึ่งมีคารบอนเปนองคประกอบ แต ในขณะเดียวกันก็มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศจากการหายใจของพืช (autotrophic respiration) ไดแก การหายใจของใบ ลําตน ราก และสวนอื่นๆ สวนที่เหลือจากการหายใจจึงนํามา สะสมไวในรูปของมวลชีวภาพ (biomass) ทั้งในสวนเหนือพื้นดิน (ลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายัน) และใตดิน (ราก) เรียกวาการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ หรืออาจเรียกเปน carbon stock ของปาชายเลน 286


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

นั้นๆ (สาพิศ, 2550) ดังนั้น ในการประเมินการกักเก็บคารบอนของปาไมจึงไดจําแนกแหลงสะสม คารบอนของปาไม (forest carbon pool) อันประกอบดวย คารบอนที่สะสมในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (living-aboveground biomass) มวลชีวภาพใตดิน (living-belowground biomass) ไมที่ตายแลว (dead organic matter in wood) ซากพืช (dead organic matter in litter) และอินทรียวัตถุในดิน (soil organic matter) ตลอดจนผลิตภัณฑไม (harvested wood product) (Watson, 2009) แตสวนใหญ นิยมเปรียบเทียบเฉพาะการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพเปนสําคัญ โดยทั่วไปความแตกตางของ การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาไมขึ้นอยูกับความแตกตางของมวลชีวภาพมากกวาปริมาณ คารบอนที่สะสมในพรรณไมแตละชนิด โดยความแตกตางของมวลชีวภาพของปาชายเลนขึ้นอยูกับ ปจจัยหลายประการ เชน องคประกอบของสังคมพืช ความหนาแนนของหมูไม อายุ ลักษณะภูมิอากาศ และลักษณะภูมิประเทศ เปนตน (สาพิศ, 2550) ในปจจุบันการประยุกตการจัดการปาไมเพื่อบรรเทาปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถดําเนินการไดหลายแนวทาง ทั้งการเพิ่มการดูดซับและลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จากภาคปาไม เชน การปลูกปาในพื้นที่ที่ไมเคยเปนปาหรือเคยเปนปามากอน (afforestation/reforestation) ภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด (clean development mechanism, CDM) การลดการปลอยกาซเรือน กระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปาในประเทศกําลังพัฒนา (reducing emissions from deforestation and forest degradation in developing countries, REDD plus) เปนตน นับเปน มาตรการที่ทั่วโลกกําลังใหความสําคัญอยูในขณะนี้ สําหรับประเทศไทยในอดีตเคยมีพื้นที่ปาชายเลน มากกวา 2 ลานไร แตตอมาในป พ.ศ. 2539 ปาชายเลนลดลงเหลือเพียง 1,047,390 ไร เนื่องจากมีการ เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปนนากุง แหลงชุมชน และพื้นที่อื่นๆ (ธงชัย และ จิรวรรณ, 2540) อยา งไรก็ต าม ปญ หาดัง กลา วที่เ กิด ขึ้น กับ ระบบนิเ วศปา ชายเลนทํา ใหใ นชว งทศวรรษที่ผา นมา หนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน เพื่อใหทรัพยากรปาชายเลนคงความอุดมสมบูรณไว ดังนั้น ในป พ.ศ.2547 ประเทศไทยมีพื้นที่ปาชายเลน เพิ่มขึ้นเปน 1,579,696 ไร (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2550) ซึ่งนับเปนการเพิ่มแหลง ดูดซับคารบอน (carbon sink) ใหแกประเทศไทยทางหนึ่ง อยางไรก็ตาม การจัดการปาชายเลนเพื่อ เพิ่มการดูดซับคารบอนใหประสบผลสําเร็จจําเปนตองทราบขอมูลสถานภาพในการกักเก็บคารบอนของ ปาชายเลนในประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของ ดังนั้น บทความนี้จึงไดการรวบรวมขอมูลสถานภาพในการกัก เก็บคารบอนในพืชพรรณของปาชายเลนของประเทศไทย โดยเนนการแปรผันของปริมาณคารบอน ในพรรณไมปาชายเลนชนิดตางๆ การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนในภูมิภาคตางๆ และศักยภาพในการดูดซับคารบอนของการปลูกปาชายเลน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการจัดการ ปาชายเลนเพื่อเพิ่มการดูดซับคารบอนโดยการปลูกและฟนฟูปาชายเลนและการลดการปลอยคารบอน จากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปาตอไปในอนาคต

287


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ปริมาณคารบอนของพรรณไมปาชายเลน ปริมาณคารบอน (carbon content) ที่สะสมในมวลชีวภาพสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ และราก มีการแปรผันระหวางสวนของตนไมและระหวางชนิดของพรรณไม โดย IPCC (1996) กําหนดใหคา default value ของปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพมีคารอยละ 50 ของน้ําหนักแหง แต ตอมาเมื่อมีขอมูลอางอิงเพิ่มเติมมากขึ้น IPCC (2006) จึงไดกําหนดใหคา default value ของปริมาณ คารบอนสะสมในมวลชีวภาพมีคารอยละ 47 ของน้ําหนักแหง สําหรับขอมูลที่มีการรวบรวมไวใน ประเทศไทยเบื้องตน พบวา พรรณไมในปาธรรมชาติชนิดตางๆ มีปริมาณคารบอนสะสมในมวลชีวภาพ อยูระหวางรอยละ 46-55 ของน้ําหนักแหง โดยพรรณไมปาเต็งรังมีปริมาณคารบอนสะสมในมวลชีวภาพ มากที่สุด รองลงมาคือ ปาเบญจพรรณ ปาดิบชื้น/ดิบแลง และปาชายเลน ตามลําดับ (คณะวนศาสตร, 2552) ในปจจุบันการปลูกปาชายเลน ทั้งการปลูกเพื่อเศรษฐกิจ และการปลูกเพื่อฟนฟูปาที่เสื่อมโทรม กําลัง ไดรับความสนใจจากหนวยงานต างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน จากการรวบรวมข อมูลปริมาณ คารบอนของพรรณไมในปาชายเลน ซึ่งมีการศึกษาไวคอนขางมาก พบวา ปริมาณคารบอนในพรรณ ไมชนิดตางๆ มีการแปรผันระหวางสวนของตนไม (ลําตน กิ่ง ใบ และราก) และระหวางพรรณไมแตละ ชนิ ด ปริ ม าณคารบ อนในลํ าตน และกิ่ ง ของพรรณไมป า ชายเลนชนิ ดต า งๆ มี ก ารแปรผั น น อ ยกว า ปริมาณคารบอนในใบ จากการศึกษาปริมาณคารบอนสะสมในพรรณไมปาชายเลนชนิดตางๆ ใน จังหวัดตราด โดยดาวรุง และทนุวงศ (ม.ป.ป.) พบวา พรรณไมปาชายเลนแตละชนิดมีปริมาณคารบอน สะสมในลําตน กิ่ง และใบ คอนขางใกลเคียงกัน โดยมีปริมาณคารบอนเฉลี่ยประมาณรอยละ 45-47 โดยมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 46.61 ของน้ําหนักแหง ในทํานองเดียวกัน จากการวิเคราะหปริมาณ คารบอนในมวลชีวภาพของพรรณไมปาชายเลนจํานวน 11 ชนิด ในจังหวัดชุมพร และจํานวน 10 ชนิด ในจังหวัดระนอง โดยคณะวนศาสตร (2550) พบวา ปริมาณคารบอนมีการแปรผันไปตามสวนตางๆ ไดแก ลําตน กิ่ง และใบ โดยปริมาณคารบอนในพรรณไมปาชายเลนในจังหวัดชุมพร และระนอง มี คาเฉลี่ยเทากับรอยละ 47.34 และ 46.33 ของน้ําหนักแหง ตามลําดับ เชนเดียวกับ วิจารณ (2553) ที่ ไดทําการศึกษาปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพของพรรณไมปาชายเลนจํานวน 11 ชนิด ในพื้นที่สงวน ชีวมณฑลระนอง อําเภอเมือง จังหวัดระนอง พบวา ปริมาณคารบอนมีการแปรผันไปตามสวนตางๆ ไดแก ลําตน กิ่ง และใบ โดยมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 47.72 ของน้ําหนักแหง (ตารางที่ 1) อยางไร ก็ตาม ปริมาณคารบอนเฉลี่ยในมวลชีวภาพของพรรณไมปาชายเลนจากปาธรรมชาติที่รวบรวมมา ขางตนมีคาคอนขางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณคารบอนในไมโกงกางอายุ 2-6 ป ที่ปลูกในพื้นที่ นากุงราง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งมีคาเฉลี่ยเพียงรอยละ 44.65-45.49 ของน้ําหนักแหง (วิจารณ, 2551) ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากพรรณไมปาชายเลนในปาธรรมชาติมีอายุและขนาดเสนผานศูนยกลาง เพียงอกมากกวา เชนเดียวกับที่ศึกษาพบปริมาณคารบอนในลําตนไมสักที่มีอายุและขนาดแตกตางกัน (ทศพร และคณะ, 2548) อยางไรก็ตาม จะเห็นไดวาปริมาณคารบอนในมวลชีวภาพสวนตางๆ ของพรรณไม ปาชายเลนมีการผันแปรไมมากนัก และมีคาเฉลี่ยโดยรวมเทากับรอยละ 47.04 ของน้ําหนักแหง ซึ่ง 288


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

ใกลเคียงกับ default value ที่กําหนดโดย IPCC (2006) ดังนั้น ในการประเมินการกักเก็บคารบอนของ ปาชายเลนอาจใชคาเคลี่ยของปริมาณคารบอนเทากับรอยละ 47 ของน้ําหนักแหงเปนตัวแทนของ พรรณไมปาชายเลนได ตารางที่ 1 ปริมาณคารบอน (carbon content) ในมวลชีวภาพของพรรณไมปาชายเลน ชื่อสามัญ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ ตะบูนขาว ตะบูนดํา ถั่วขาว ถั่วดํา โปรงขาว โปรงแดง ฝาดดอกขาว ฝาดดอกแดง พังกาหัวสุมดอกขาว พังกาหัวสุมดอกแดง ลําพู ลําพูทะเล ลําแพน แสมขาว แสมดํา แสมทะเล หลุมพอทะเล

ชื่อวิทยาศาสตร

ตราด1

ระนอง2

ชุมพร2

ระนอง3

เฉลี่ย

Rhizophora apiculata

47.53

47.91

46.98

47.28

47.43

Rhizophora mucronata

45.75

47.22

46.13

47.74

46.71

Xylocarpus granatum

46.28

46.79

46.65

47.35

46.77

na

46.86

na

47.25

47.06

Bruguiera cylindrica

45.87

47.69

46.06

48.24

46.97

Bruguiera parviflora

na

na

na

49.72

49.72

Ceriops decandra

na

na

48.02

48.67

48.35

Ceriops tagal

47.08

48.6

47.53

49.35

48.14

Lumnitzera racemosa

46.48

46.86

44.43

na

45.92

Lumnitzera littorea

45.28

na

45.82

na

45.55

Bruguiera sexangula

46.77

na

na

47.49

47.13

Bruguiera gymnorrhiza

46.62

47.13

na

47.88

47.21

Sonneratia caseolaris

46.46

na

na

na

46.46

Sonneratia alba

na

46.92

na

47.55

47.24

Sonnertia ovate

46.22

na

45.06

na

45.64

Avicennia alba

47.71

na

46.91

46.94

47.19

Avicennia officinalis

na

47.43

na

47.17

47.30

Avicennia marina

na

na

46.13

na

46.13

47.85

na

na

na

47.85

47.34

46.34

47.89

47.05

Xylocarpus moluccensis

Intsia bijuga

เฉลี่ย 1

ปริมาณคารบอน (รอยละของน้ําหนักแหง)

46.61

2

3

ที่มา: ดาวรุง และทนุวงศ (มปป.); คณะวนศาสตร (2550); วิจารณ (2553)

มวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ หรืออาจเรียกเปน carbon stock ซึ่งเปนปริมาณคารบอนที่ สะสมอยูในพืชพรรณในปาชนิดตางๆ มีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ลักษณะ ภูมิอากาศ และลักษณะภูมิประเทศดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน จากการศึกษาพบวา ปาดงดิบมีการ

289


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สะสมคารบอนในมวลชีวภาพมากที่สุด ในขณะที่ปาเต็งรังมีการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพต่ําที่สุด (Tangtham and Tantasirin, 1997) จากการศึกษาของDiloksumpun et al. (2009) พบวา ปาดิบแลง สะแกราช จังหวัดนครราชสีมา และปาเบญจพรรณผสมไผบริเวณ ลุมน้ําแมกลอง จังหวัดกาญจนบุรี มี การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพทั้ง หมดเทากับ 223.6 และ 126.7 ตัน ตอ เฮกแตร ตามลําดับ ในขณะที่ จีรนันท และนันทนา (2547) ศึกษาการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของปา ธรรมชาติประเภทตางๆ ในอําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พบวา ปาดิบชื้นมีคารบอนสะสมอยูใน มวลชีวภาพมากที่สุด (137.7 และ 70.8 ตันตอเฮกแตร) รองลงมาคือปาดิบแลง (70.3 ตันตอเฮกแตร) และปาเบญจพรรณ (48.1 ตันตอเฮกแตร) ตามลําดับ สําหรับการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของของปาชายเลนก็คลายคลึงกับปาชนิดอื่นอื่นๆ กลาวคือขึ้นอยูกับมวลชีวภาพของปาเนื่องจากปริมาณคารบอนที่สะสมในสวนตางๆ ของพรรณไมปา ชายเลนมีการแปรผันไมมากนัก โดยมวลชีวภาพของปาชายเลนขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ขนาดและความหนาแนนของพรรณไมที่องคประกอบสําคัญของสังคมพืช (สาพิศ และคณะ, 2553) จากการศึกษามวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนในทองที่จังหวัดชุมพร และจังหวัดระนอง โดยคณะวนศาสตร (2550) โดยการวางแปลงตัวอยางขนาด 100 x 100 เมตร หรือ 1 เฮกแตร จังหวัดละ 3 แปลง ไดแก ปาชายเลนที่มีความสมบูรณมาก (ปฐมภูมิ) ความสมบูรณปาน กลาง (ทุติยภูมิ) และความสมบูรณนอย (ทุติยภูมิ) พบวา มวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวล ชีวภาพของแปลงตัวอยางทั้งสองพื้นที่ มีการแปรผันขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ปาชายเลนที่ มีความสมบูรณมากเปนปาธรรมชาติที่มีโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Bl.) เปนองคประกอบ สําคัญมีมวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพมากที่สุด รองลงมาเปนปาชายเลนที่มีความ สมบูรณปานกลางซึ่งเปนปาชายเลนที่กําลังฟนตัว มีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) เปนองคประกอบสําคัญ ในขณะที่ปาชายเลนที่มีความสมบูรณนอยมี ตาตุมทะเล (Excoecaria agallocha L.) และโปรงแดง (Ceriops tagal (Perr.) C. B. Rob.) เปน องค ป ระกอบหลั ก ของสั ง คมพื ช มี ม วลชี ว ภาพและการกั ก เก็ บ คาร บ อนในมวลชี ว ภาพน อ ยที่ สุ ด นอกจากนี้ยังพบวาปาชายเลนทุกระดับความสมบูรณของจังหวัดระนองมีการกักเก็บคารบอนนอยกวา ปาชายเลนของจังหวัดชุมพร โดยเฉพาะอยางยิ่งการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนที่มีความสมบูรณนอย ในจังหวัดระนองมีคาต่ํามาก เนื่องจากเปนปาชายเลนที่มีตนไมขนาดเล็กเปนองคประกอบหลักและ มีมวลชีวภาพนอย โดยปาชายเลนในพื้นที่จังหวัดชุมพรมีมวลชีวภาพรวมและการกักเก็บคารบอน ในมวลชีวภาพรวมแปรผันตั้งแต 171.63-450.89 และ 79.11-211.92 ตันตอเฮกแตร และในจังหวัด ระนองมีการแปรผันตั้งแต 52.99-345.08 และ 25.42-165.50 ตันตอเฮกแตร ตามลําดับ (ตารางที่ 2)

290


ปฐมภูมิ (สมบูรณมาก) ทุติยภูมิ (สมบูรณปานกลาง) ทุติยภูมิ (สมบูรณนอ ย) ปฐมภูมิ (สมบูรณมาก) ทุติยภูมิ (สมบูรณปานกลาง) ทุติยภูมิ (สมบูรณนอ ย) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (แสมขาว/แสมทะเล) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (แสมขาว/แสมทะเล) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (แสมขาว/แสมทะเล) ทุติยภูมิ (โกงกางใบใหญ) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (โกงกางใบใหญ/โปรงแดง) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (โกงกางใบใหญ/โปรงแดง) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (โกงกางใบใหญ/โปรงแดง) ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ (โกงกางใบใหญ/โปรงแดง) ปฐมภูมิ (โกงกางใบเล็ก) ปฐมภูมิ (โกงกางใบเล็ก) ปฐมภูมิ (โกงกางใบเล็ก) ปฐมภูมิ (โกงกางใบเล็ก)

ลักษณะสังคมพื ช 1,239 3,119 2,309 1,774 1,243 1,895 1,462 1,518 1,360 1,741 1,782 1,008 2,267 2,055 1,122 1,953 2,317 1,905

เฮกแตร1

ความหนาแนน/ 306.73 195.80 116.76 234.75 163.58 36.05 87.11 66.90 95.54 71.89 62.34 52.79 128.08 108.98 126.76 200.11 131.84 119.76

450.89 287.82 171.63 345.08 240.47 52.99 119.34 91.66 130.89 98.50 85.40 72.33 175.47 149.30 173.66 274.15 180.63 na

มวลชีวภาพ2 เหนือพื้ นดิน รวม

หมายเหตุ 1 ความหนาแนนของไมตน ไมรวมไมรุน และลูกไม; 2 มวลชีวภาพ (ตันตอเฮกแตร); 3 การกักเก็บคารบอน (ตันตอเฮกแตร)

สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ จันทบุรี ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา ระนอง

ระนอง

ชุมพร

สถานที่

ตารางที่ 2 มวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของป าชายเลนในพื้นที่ตางๆ

144.21 92.05 55.45 112.59 78.46 17.29 40.94 31.44 44.90 33.79 29.30 24.81 60.20 51.22 59.58 94.05 61.97 57.85

ที่มา

211.92 134.89 79.11 คณะวนศาสตร (2550) 165.50 115.34 25.42 56.09 43.08 61.52 46.29 40.14 33.99 สาพิศ และคณะ (2553) 82.47 70.17 81.62 128.85 84.89 na วิจารณ (2553)

การกักเก็บคารบอน3 เหนือพื้ นดิน รวม

สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

291


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

นอกจากนี้ จากการศึกษาของสาพิศ และคณะ (2553) ชี้ใหเห็นอยางชัดเจนถึงความแตกตาง ของมวลชีวภาพและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพอันเนื่องมาจากความแตกตางของสังเคมพืช โดยศึกษาการสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชที่แตกตางกัน ในทองที่ 11 จังหวัด ของประเทศไทย ทําการศึกษาโดยการวางแปลงตัวอยางขนาด 20 x 50 เมตร จํานวนแนวสํารวจละ 3 แปลง จังหวัดละ 2 แนวสํารวจ รวมทั้งสิ้น 65 แปลงสํารวจ และจําแนกกลุม สังคมพืชดวยวิธี cluster analysis โดยอาศัยความแตกตางขององคประกอบของพรรณไมและการกัก เก็บคารบอนในมวลชีวภาพ ผลการศึกษาพบวามวลชีวภาพรวมและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ รวมมีการแปรผันระหวางพื้นที่ แนวสํารวจ และ/หรือ แปลงตัวอยาง โดยมีคาเฉลี่ยระหวาง 72.33274.15 และ 33.99-128.85 ตันตอเฮกแตร (ตารางที่ 2) และสามารถจําแนกกลุมของสังคมพืชออกเปน 5 กลุม ไดแก สังคมพืชที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (ปฐมภูมิ) และยังคงมีความสมบูรณอยูโดยมีโกงกาง ใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมเดนมีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนสูงที่สุด รองลงมาไดแก สังคมพืชที่เกิดจากการฟนฟู (ทุติยภูมิ) โดยมีโกงกางใบใหญ (R. mucronata) เปนพรรณไมเดน และ สั ง คมพื ช ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองตามธรรมชาติ (ปฐมภู มิ ) โดยมี แ สมทะเล (A. marina) เป น พรรณไม เ ด น ตามลําดับ ในขณะที่สังคมพืชปาชายเลนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (ปฐมภูมิ) หรือกําลังฟนตัวตาม ธรรมชาติ (ทุติยภูมิ) ที่มีแสมขาว (A. alba) หรือ โปรงแดง (C. tagal) เปนพรรณไมเดนเปนสังคมพืชที่ มี ศั ก ยภาพในการกั ก เก็ บ คาร บ อนต่ํ าที่ สุ ด นอกจากการแปรผั น ของมวลชี ว ภาพเหนื อ พื้ น ดิ น แล ว การศึกษาของ Komiyama et al. (2000) ยังชี้ใหเห็นวา มวลชีวภาพใตดินของปาชายเลนในภาคใตของ ประเทศไทยมีการแปรผันขึ้นอยูกับอายุและองคประกอบของหมูไม โดยมวลชีวภาพใตดินและการกัก เก็บคารบอนมีคาสูงสุดในสังคมไมสกุลโกงกาง (Rhizophora zone) สังคมไมสกุลถั่ว (Brugueira zone) สังคมไมสกุลลําแพน (Sonneratia zone) และสังคมไมสกุลลําแพน-สกุลถั่ว (Sonneratia-Brugueira ecotone) ตามลําดับ อยางไรก็ตาม ในสังคมพืชปาชายเลนที่มีลักษณะใกลเคียงกันอาจมีมวลชีวภาพและการกักเก็บ คารบอนในมวลชีวภาพที่แตกตางกันเนื่องจากขนาดและความหนาแนนของพรรณไมเดนในสังคมพืช เชนที่ วิจารณ (2553) ศึกษาปาชายเลนโดยการวางแปลงสํารวจดวย transect line method ในพื้นที่ สงวนชีวมณฑลระนอง จังหวัดระนอง ซึ่งมีโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เปนพรรณไมที่มีความสําคัญ ในสังคมพืช พบวา มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมีคา คอนขางต่ําเพียง 119.76 และ 57.85 ตันตอเฮกแตร ตามลําดับ (ตารางที่ 2) เปรียบเทียบกับการศึกษา ของ Meepol (2002) ในพื้นที่ใกลเคียงกัน พบวา มวลชีวภาพเหนือพื้นดินมีคาเฉลี่ยถึง 209.07 ตันตอ เฮกแตร ทั้งนี้ เนื่องจากไมโกงกางที่มีขนาดใหญ (เสนรอบวงมากกวา 200 เซนติเมตร และความสูง มากกวา 30 เมตร) เปนจํานวนมากถูกลักลอบตัดฟน ถูกฟาผา และยืนตนตายเนื่องจากหมดอายุขัย (senile stage) ดังนั้น ในภาพรวมอาจพอสรุปไดวา การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลน 292


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

มีการแปรผันมากขึ้นอยูกับลักษณะของสังคมพืช ขนาด ความหนาแนน และมวลชีวภาพของพรรณไม ที่เปนองคประกอบหลักของสังคมพืชนั้นๆ ศักยภาพในการดูดซับคารบอนของพรรณไมปาชายเลน ศักยภาพในการดูดซับคารบอนของพรรณไมแตละชนิดขึ้นอยูกับอัตราการเติบโต พรรณไมที่มี อัตราการเติบโตอยางรวดเร็วสามารถสะสมคารบอนในสวนตางๆ ของตนไมมากกวาพรรณไมที่เติบโต ชากวา ในการประเมินศักยภาพการดูดซับคารบอนของพรรณไมแตละชนิดพิจารณาจากแหลงสะสม คารบอนของปาไมที่สําคัญไดแก มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และมวลชีวภาพใตดิน แตการสะสมคารบอน ในมวลชี วภาพใต ดิน มี การแปรผั นสู ง และประเมิ น ไดค อ นข า งยาก ดั งนั้ น การประเมิ น การกัก เก็ บ คารบอนของสวนปา หรือปาปลูก จึงใหความสําคัญกับมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพรรณไมที่ปลูก มากกวาแหลงสะสมคารบอนอื่นๆ และใชเปนฐานในการประเมินการสะสมคารบอนในแหลงอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน หรือที่ เรียกวาอัตราสวนระหวางรากและลําตน (root/shoot ratio) มาใชในการประเมินมวลชีวภาพใตดิน (Watson, 2009) หากพิจารณาอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของปาชายเลน พบวามีการแปรผันสูง จากการศึกษาของ Komiyama et al. (2000) พบวา มีการแปรผันตามสังคมพืช โดยอั ต ราส ว นระหว า งมวลชี ว ภาพใต ดิ น และมวลชี ว ภาพเหนื อ พื้ น ดิ น ของสั ง คมไม ส กุ ล โกงกาง (Rhizophora zone) มีคาเฉลี่ยระหวาง 0.38-0.58 สังคมไมสกุลถั่ว (Brugueira zone) มีคาเฉลี่ย ระหวาง 0.22-0.33 สังคมไมสกุลลําแพน (Sonneratia zone) มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.19 อัตราสวนระหวาง มวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของสังคมปาชายเลนดังกลาวขางตนมีคาคอนขางต่ําเมื่อ เปรียบเทียบกับปาชายเลนทุติยภูมิ (secondary mangrove forest) ที่มีโปรงแดง (C. tagal) เปน องคประกอบหลัก ซึ่งมีอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินเทากับ 0.95 และจากการศึกษาของ Comley and McGuinness (2005) ในพรรณไมปาชายเลนพื้นเมือง 4 ชนิดของ ประเทศออสเตรเลีย พบวาอัตราสวนระหวางมวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมีคาเฉลี่ย อยูระหวาง 0.40-1.33 ซึ่งเปนคาที่คอนขางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นๆ การที่มวลชีวภาพใต ดินของปาชายเลนมีสัดสวนที่มากกวาปาชนิดอื่นๆ นอกจากจะเปนการปรับตัวในสภาพแวดลอมที่มี ระดับน้ําสูงและความเขมขนของเกลือสูงแลวยังกอใหเกิดการสะสมคารบอนในสวนที่อยูใตดินเพิ่มขึ้น ดวยเชนกัน (Havanond and Maxwell, 1996) ดังนั้น คณะวนศาสตร (2553) จึงใชอัตราสวนระหวาง มวลชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินเทากับ 0.48 ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของสังคมไมสกุลโกงกาง และมีคาเทากับ default value ของพรรณไมปาไมผลัดใบในเขตรอนใชในการประเมินมวลชีวภาพรวม ของพรรณไมปาชายเลน เมื่อพิจารณารูปแบบการเติบโตของสังคมพืชปาชายเลน ทั้งที่เปนปาปฐมภูมิ (primary forest) และปาทุติยภูมิ (secondary forest) ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการเจริญทดแทนตามธรรมชาติ (natural

293


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

regeneration) และ/หรือ การจัดการโดยมนุษย เชน การฟนฟูปา การปลูกเสริมปาธรรมชาติ ซึ่งใช โกงกางเปนหลัก เปนตน พบวา มวลชีวภาพเหนือพื้นดินของปาชายเลนมีการเปลี่ยนแปลงอยางมี รูปแบบ การเติบโตชวงแรกนั้นเกิดขึ้นอยางชาๆ จากนั้นจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และสุดทายอัตราการ เติบโตเริ่มชะลอและมวลชีวภาพมีคาคงที่สม่ําเสมอในที่สุด คณะวนศาสตร (2550) ไดศึกษาผลผลิต ของสั ง คมพื ช ป า ชายเลนจั ง หวั ด ระนองและพั ง งา ทั้ ง ที่ เ ป น ป า ธรรมชาติ แ ละป า ปลู ก ตามเงื่ อ นไข สัมปทาน และนํามาสรางสมการความสัมพันธในรูปแบบสมการ logistics ตามวิธีของ Kompert พบวา ความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปของมวลชีวภาพเหนือพื้นดินคอยๆ เพิ่มขึ้นตามอายุ และมีคาสูงสุดเทากับ 19.87 ตันตอเฮกแตรตอป เมื่ออายุ 9 ป และอัตราความเพิ่มพูนเริ่มลดลงหลังจากนั้น สําหรับการศึกษาศักยภาพในการดูดซับคารบอนของปาชายเลน คณะวนศาสตร (2553) ได รวบรวมขอมูลทุติยภูมิของขอมูลผลผลิตในรูปของมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน อัตราสวนระหวางมวล ชีวภาพใตดินและมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายป (mean annual increment, MAI) ของมวลชีวภาพ และการกักเก็บในมวลชีวภาพของพรรณไมโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) ซึ่ง เป น พรรณไม ป า ชายเลนที่ สํ า คั ญ เป น ตั ว แทนในการศึ ก ษา โดยใช ข อ มู ล ของโกงกางใบเล็ ก (R. apiculata) อายุ 1-15 ป ในพื้นที่ตางๆ ที่มีระยะปลูกที่นิยมปลูกโดยทั่วไป และสามารถสรุปผลได เชนเดียวดับการศึกษาโดยคณะวนศาสตร (2550) ขางตน กลาวคือ ความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปของมวล ชีวภาพเหนือพื้นดินของโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) คอนขางต่ําในชวงแรกของการเติบโต คอยๆ เพิ่ม ขึ้น ตามอายุ และมีค าสู งสุ ดเท ากั บ 13.92 ตัน ตอ เฮกแตรต อป เมื่ ออายุ 14 ป และอัตราความ เพิ่มพูนเฉลี่ยรายปเริ่มลดลงหลังจากนั้น โดยความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปของมวลชีวภาพเหนือพื้นดินและ มวลชีวภาพรวมน ตั้งแตอายุ 1-15 ป มีเฉลี่ยเทากับ 6.62 และ 9.80 ตันตอเฮกแตรตอป ตามลําดับ (ตารางที่ 3) นอกจากนี้ยังไดทําการประเมิน การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมของการปลูก ปาโกงกางพบวา การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพรวมของการปลูกปาโกงกางมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.65 ตันตอเฮกแตรตอป หรือคิดเปนอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยเทากับ 17.04 ตันตอเฮก แตรตอป (ตารางที่ 3) ขอมูลศักยภาพในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดดังกลาวนี้นับเปนขอมูล พื้นฐานสําคัญในการประเมินอัตราการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของการปลูกปาสําหรับใชในการ จัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกของชาติ และประกอบการตัดสินใจในการลงทุนปลูกปาชายเลนภายใต โครงการ CDM ภาคปาไมตอไป บทสรุป แนวทางการจัดการปาชายเลนเพื่อบรรเทาปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งสามารถ ดําเนินการไดอยางสอดคลองกับยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรปาชายเลนในการปองกันการบุกรุก ทําลายปาและการเพิ่มพื้นที่ปา และการฟนฟูความอุดมสมบูรณของทรัพยากรปาชายเลน ประกอบดวย การลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทําลายพื้นที่ปาชายเลนโดยอาศัยมาตรการดานการอนุรักษ 294


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

และการเพิ่มการดูดซับคารบอนโดยการเพิ่มพื้นที่ปาและการฟนฟูปาในพื้นที่ปาชายเลนที่ถูกทําลาย และพื้นที่ปาเสื่อมโทรม โดยแนวทางการดําเนินงานดังกลาวสามารถเขารวมในกลไกแบบสมัครใจ ภายใตอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change, UNFCCC) เชน โครงการ CDM และ REDD plus เปนตน อยางไร ก็ตาม ปาชายเลนในพื้นที่ตางๆ ของประเทศไทยมีการแปรผันในหลายๆ ลักษณะ เชน องคประกอบ ของพรรณไม ความหนาแนน การเติบโต และผลผลิตของพรรณไมที่เปนองคประกอบหลักของสังคมพืช ตลอดจนสภาพพื้นที่ ซึ่งความแตกตางดังกลาวนี้เปนปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอศักยภาพในการกักเก็บ คารบอนของปาชายเลน ดังนั้น แนวทางในการจัดการปาชายเลนเพื่อบรรเทาปญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศขางตน นอกจากจะใหความสําคัญกับการปองกันการบุกรุกทําลายปาและการปลูกเพื่อ เพิ่ม พื้นที่ปาแลวควรใหความสําคัญ กับการปลูกและฟนฟูปาเพื่อ เพิ่มการกักเก็บ คารบอนในพื้น ที่ ปาชายเลนที่มีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนต่ํา ตารางที่ 3 มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายปของมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน มวลชีวภาพรวม การกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ และการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด(CO2) อายุ (ป) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เฉลี่ย

มวลชีวภาพเหนือ พื้นดิน (ตัน/เฮกแตร) 1.17 2.01 5.93 11.20 17.18 21.87 34.63 44.32 58.92 79.18 99.26 127.26 170.36 194.93 205.59 71.59

ความเพิ่มพูนเฉลี่ยรายป (ตัน/เฮกแตร/ป) มวลชีวภาพ เหนือพื้นดิน 1.17 1.01 1.98 2.80 3.44 3.65 4.95 5.54 6.55 7.92 9.02 10.60 13.10 13.92 13.71 6.62

มวลชีวภาพรวม 1.73 1.49 2.93 4.14 5.08 5.40 7.32 8.20 9.69 11.72 13.36 15.70 19.40 20.61 20.29 9.80

การกักเก็บ คารบอน 0.82 0.71 1.39 1.96 2.41 2.56 3.47 3.89 4.59 5.55 6.33 7.44 9.19 9.77 9.62 4.65

การดูดซับ CO2 3.01 2.59 5.09 7.20 8.84 9.38 12.73 14.25 16.84 20.37 23.21 27.28 33.71 35.81 35.26 17.04

295


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

นอกจากนี้ ปา ชายเลนของประเทศไทยนอกจากมีส ถานภาพในการกัก เก็บ คารบ อนใน มวลชีวภาพแตกตางกันในแตละสังคมพืชแลว อาจมีศักยภาพในดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดที่ แตกตางกันดวยเชนกัน ซึ่งสามารถเปรียบเทียบจากอัตราการเติบโต และ/หรือ อัตราความเพิ่มพูนของ มวลชีวภาพในแตละป ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการศึกษาอัตราการเติบโตและอัตราความเพิ่มพูนของ มวลชีวภาพในแปลงตัวอยางถาวรอยางตอเนื่อง เพื่อนําผลการศึกษาที่ไดมาเปนขอเสนอแนะแนว ทางการจัดการเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของปาชายเลนในพื้นที่ตางๆ และเปนขอมูลพื้นฐานในการดําเนินงานภายใตกิจกรรม CDM และ/หรือ REDD plus เพื่อการบรรเทา ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอไป กิตติกรรมประกาศ ผูเขียนขอขอบคุณผูวิจัยทุกทานและหนวยงานทุกหนวยงานที่ไดเผยแพรผลงานทางวิชาการ สําหรับนํามารวบรวมเขียนบทความเรื่องนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) และคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง . 2550. แผนแมบ ทการวิจัย และพัฒ นาทรัพ ยากรปา ชายเลน และพื้ น ที่ ส งวนชี ว มณฑล พ.ศ. 2551-2554. กลุ ม วิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรป า ชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, กรุงเทพฯ. คณะวนศาสตร. 2550. การประเมินมูลคาและการพึ่งพิงทรัพยากรปาชายเลน. รายงานฉบับสมบูรณ. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, กรุงเทพฯ. คณะวนศาสตร. 2552. แผนแมบทดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. รายงานฉบับสมบูรณ. กรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ. คณะวนศาสตร. 2553. การศึกษาลักษณะของพรรณไม ปริมาณการดูดซับกาซเรือนกระจก และขนาด พื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับโครงการ CDM ภาคปาไม. รายงานฉบับสมบูรณ. องคการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), กรุงเทพฯ. จีรนันท ธีระกุลพิศุทธิ์ และ นันทนา คชเสนี. 2547. ศักยภาพในการสะสมธาตุคารบอนในมวลชีวภาพ เหนือพื้นดินของระบบนิเวศปาทองผาภูมิ. ใน รายงานการประชุม การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศทางดานปาไม “ปาไมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”, 16-17 สิงหาคม 2547 ณ โรงแรมมารวย การเดน.กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ. 296


สถานภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในประเทศไทย

ดาวรุง ทับทิม และ ทนุวงศ แสงเทียน. ม.ป.ป. โครงสรางคารบอนและไนโตรเจนสะสมของปาชายเลน บริเวณอาวเมืองตราด. แหลงที่มา: http://www.dmcr.go.th/pdf/c2.pdf, 7 กรกฎาคม 2550. ทศพร วัชรางกูร, ชิงชัย วิริยะบัญชา และ กันตินันท ผิวสอาด. 2548. การประเมินปริมาณการสะสม ของคารบอนในตนไม ในสวนปาเพื่อการอุตสาหกรรมในประเทศไทย, น. 137-157. ใน รายงาน การประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทางดานปาไม “ศักยภาพของปาไมในการสนับสนุน พิธีสารเกียวโต”, 4-5 สิงหาคม 2548 ณ โรงแรมมารวย การเดน. กรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช, กรุงเทพฯ. ธงชัย จารุพพัฒน และจิรวรรณ จารุพพัฒน. 2540. การใชภาพถายดาวเทียม Landsat-5(TH) ในการ ติดตามสภาพการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปา ชายเลนของประเทศไทย. กรมปาไม. กรุงเทพฯ. วิจารณ มีผล. 2551. ผลของการฟนฟูปาชายเลนบนพื้นที่นากุงรางตอปริมาณมวลชีวภาพ ผลผลิต ซากพืช และการเก็บกักคารบอน. ใน การประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แหงชาติ ครั้งที่ 1, 3-5 กันยายน 2551 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา, กรุงเทพฯ. วิจารณ มีผล. 2553. การเก็บกักคารบอนของปาชายเลน บริเวณพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง. วารสาร การจัดการปาไม 4(7): 33-47. สาพิศ ดิลกสัมพันธ. 2550. การกักเก็บคารบอนของปาไมกับสภาวะโลกรอน. วารสารอนุรักษดินและ น้ํา 22: 40-49. สาพิศ ดิลกสัมพันธ, ดํารงค ศรีพระราม, ลดาวัลย พวงจิตร, จงรัก วัชรินทรรัตน, สคาร ทีจันทึก, ออ พราน ไชย, ธีระพงษ ชุมแสงศรี และนิคม แหลมสัก. 2553. การสะสมคารบอนในมวลชีวภาพของปา ชายเลนที่มีองคประกอบของสังคมพืชตางๆ. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ประเทศ ไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1, 20-21 สิงหาคม 2553 ณ ศูนยประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี,นนทบุรี. Comley, B. and K. A. McGuinness. 2005. Above and below-ground biomass, and allometry, of four common north Australian mangroves. Aquatic Botany 53 (5): 431-436. Diloksumpun, S., T. Visaratana, S. Panuthai, P. Ladpala and S. Janmahasatien. 2009. Carbon cycling in two contrasting forests of Thailand, pp. 259-279. In L. Puangchit and S. Diloksumpun, eds. Tropical Forestry Change in a Changing World. Volume 2: Tropical Forests and Climate Change. Proceedings of FORTROP II International Conference, 17-20 November 2008, Bangkok. Havanond, S. and G.S. Maxwell. 1996. Strategies for mangrove restoration, pp. 21-36. In C. Khemnark, B. Thaiutsa, L. Puangchit and S. Thammincha, eds. Tropical Forestry in the 21st Century Volume 10: Mangrove Ecosystems. Proceedings of FORTROP’96 International Conference, 25-28 November 1996, Bangkok. IPCC. 1996. Greenhouse Gas Inventory Reference Manual. International Panel on Climate Change. Cambridge University Press, Cambridge. IPCC. 2006. IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories. International Panel on Climate Change. IGES, Japan. Komiyama, A., S. Havanond, W. Srisawatt, Y. Mochida, K. Fujimoto and T. Ohnishi. 2000. Top/root biomass ratio of a secondary mangrove (Ceriops tagal (Perr.) C.B. Rob.) forest. Forest Ecology Management 139: 127-134

297


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Meepol, W. 2002. Litter production and site characteristics in relation to structure and composition of mangrove forest in Ranong province, southern Thailand. Ph.D. Thesis, University of the Philippines, Los Banos. Tangtham, N. and C. Tantasirin. 1997. An assessment of policies to reduce carbon emissions in the Thai forestry sector with emphasis on forest protection and reforestation for conservation, pp. 100-121. In C. Khemnark, B. Thaiutsa, L. Puangchit and S. Thammincha , eds. Tropical Forestry in the 21st Century Volume 2: Global Changes in the Tropical Contexts. Proceedings of FORTROP’ 96 International Conference, 25-28 November 1996, Bangkok. Watson, C. 2009. Forest carbon accounting: overview & principles. UNDP: CDM Capacity Development in Eastern and Southern Africa. Available Source: http://www.undp.org /climatechange/carbonfinance/Docs/Forest%20Carbon%20Accounting%20%20Overview%20&%20Principles.pdf, February 15, 2010.

298


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นทีผ่ านการทํา นากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี Growth and Litter Production of 7-10 Years Old Rhizophora mucronata Lamk. Planted on Abandoned Shrimp Farm Area at Donsak, Surat Thani Province

วิจารณ มีผล ศูนยวิจัยปาชายเลนระนอง 185 หมู 4 ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง บทคัดยอ ไดทําการศึกษาการเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่นากุงราง อําเภอ ดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี ในแปลงปลูกไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ในพื้นที่ผานการทํานากุง แบบธรรมชาติ ระหวางเดือน พฤศจิกายน 2550 - ตุลาคม 2551 โดยวางแปลงทดลองขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 9 แปลง ในแตละชั้นอายุ วัดการเติบโตทางความสูงและขนาดเสนผานศูนยกลาง ปริมาณมวลชีวภาพ ผลผลิตซากพืช ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืช และการเก็บกัก คารบอน ผลการศึกษาพบวาการเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลางของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป สูงที่สุด (7.54 เซนติเมตร) รองลงมา อายุ 9 ป (6.13 เซนติเมตร) อายุ 8 ป (5.59 เซนติเมตร) และ อายุ 7 ป (4.88 เซนติเมตร) ตามลําดับ สําหรับการเติบโตทางความสูงพบวาไมโกงกางใบใหญ อายุ 10 ป มีการเติบโตดีที่สุด (10.93 เมตร) รองลงมา อายุ 9 ป (7.44 เมตร) อายุ 8 ป (6.34 เมตร) และ อายุ 7 ป (6.31 เมตร) ตามลําดับ การเติบโตทางมวลชีวภาพพบวามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญ อายุ 10 ป มีคาสูงสุด (41.60 ตันตอไร) รองลงมา อายุ 9 ป (23.01 ตันตอไร) อายุ 8 ป (15.21 ตันตอไร) และอายุ 7 ป (12.82 ตันตอไร) ตามลําดับ สวนผลผลิตซากพืชปรากฏวาไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาสูงสุด (2.22 ตันตอไร) รองลงมาอายุ 9 ป (1.77 ตันตอไร) อายุ 7 ป (1.43 ตันตอไร) และอายุ 8 ป (1.17 ตันตอไร) ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชทุกชั้นอายุพบวา แคลเซียม มีปริมาณสูงสุด รองลงมาเปนโพแทสเซียม แมกนีเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ตามลําดับ และ ปริมาณการเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาสูงสุด (18.99 ตันตอไร) รองลงมา อายุ 9 ป (10.61 ตันตอไร) อายุ 8 ป (7.09 ตันตอไร) และอายุ 7 ป (5.80 ตันตอไร) ตามลําดับ คําสําคัญ: การเติบโต, มวลชีวภาพ, การเก็บกักคารบอน, ผลผลิตซากพืช, โกงกางใบใหญ


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The study was conducted to determine growth and litter production of Rhizophora mucronata Lamk. planted on abandoned shrimp farm area at different age classes (7 to 10 years) from November 2007 to October 2008. Nine 10 x 10 plots were constructed in each age class to study growth, biomass, litter production, nutrients return from litter fall and carbon sequestration. Results showed that the highest diameter growth was found in 10-year-old Rhizophora mucronata (Rm) plot (7.54 cm.) followed by 9-year-old Rm (6.13 cm.), 8-year-old Rm (5.59 cm.) and 7-year-old Rm (4.88 cm.), respectively. Regarding to total height, 10-year-old Rm had the highest value (10.93 m) followed by 9-year-old Rm (7.44 m), 8-year-old Rm (6.34 m) and 7-year-old Rm (6.31 m), respectively. Average total biomass at 10-year-old Rm plot showed the highest value (41.60 ton/rai) followed by 9-year-old Rm (23.01 ton/rai), 8-year-old Rm (15.21 ton/rai) and 7-year-old Rm (12.82 ton/rai), respectively. Average annual litter production at 10-year-old Rm plot had the highest value (2.22 ton/rai) while 8-year-old Rm had the lowest value (1.17 ton/rai). The average annual litter production of 9-year-old Rm, and 7-year-old Rm plots were 1.77, 0.91 and 1.43 ton/rai, respectively. Nutrients returned through litter fall at all age classes were the same trend which calcium had the highest value followed by potassium magnesium, nitrogen, and phosphorus, respectively. Average carbon sequestration at 10-year-old Rm plot had the highest value (18.99 ton/rai) followed by 9-year-old Rm (10.61ton/rai), 8-year-old Rm (7.09 ton/rai) and 7-year-old Rm (5.80 ton/rai), respectively. Keyword: growth, biomass, carbon sequestration, litter production, Rhizophora mucronata

บทนํา ปาชายเลนเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคาและสําคัญมากชนิดหนึ่งของประเทศ เนื่องจาก ปาชายเลนเปนแหลงอํานวยประโยชนทั้งทางดานปาไม ประมง และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ในอดีต เมื่อป พ.ศ.2504 ประเทศไทยมีปาชายเลนที่อุดมสมบูรณและมีพื้นที่ปาชายเลนมากถึง 2,299,375 ไร ตอมาเมื่อป พ.ศ.2539 มีปาชายเลนลดลงเหลืออยูเพียง 1,047,390 ไร เทานั้น (ธงชัยและจิรวรรณ, 2540) ในปจจุบันถึงแมวาจะมีพื้นที่ปาชายเลนเพิ่มขึ้นมาบางก็ตามดังจะเห็นไดจากการสํารวจครั้งลาสุด ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเมื่อป พ.ศ.2547 ซึ่งมีพื้นที่ปาชายเลนอยูประมาณ 1.46 ลานไร แตก็ยังไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ปาชายเลนที่ถูกทําลายไป ซึ่งสาเหตุการทําลายปาชายเลน ในอดีตมีดวยกันหลายประการ อาทิเชน การสรางที่อยูอาศัย การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงหรือการทํา นากุง การทํานาเกลือ การทําเหมืองแร การสรางแหลงอุตสาหกรรม การสรางถนนและสายสงไฟฟา รวมทั้งการขยายตัวของชุมชนเมืองเขาไปในพื้นที่ปาชายเลน เปนตน 300


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

จากสาเหตุการทําลายปาชายเลนที่ไดกลาวมาแลว ทําใหปจจุบันเหลือพื้นที่ปาชายเลนของ ประเทศนอยมาก รวมทั้งสภาพพื้นที่ปาชายเลนที่เหลืออยูมีความอุดมสมบูรณลดนอยลง เนื่องจาก การใชประโยชนไมปาชายเลนมาเปนระยะเวลายาวนานมากวา 30 ป ทําใหปาชายเลนไมสามารถ เอื้ออํานวยประโยชนทั้งดานปาไม ประมง และสิ่งแวดลอมไดอยางเต็มที่ จนทําใหรัฐบาลตองหยุดการ ใหสัมปทานทําไมจากปาชายเลน เมื่อป พ.ศ.2539 การปลูกฟนฟูปาชายเลนจึงเปนมาตรการเรงดวนที่ รัฐบาลตองการใหปาชายเลนกลับมาอุดมสมบูรณ และมีความสามารถในการเอื้ออํานวยประโยชนใน ทุกๆ ดานดังเดิม จะเห็นไดวาตั้งแต ป พ.ศ. 2547 ถึงปจจุบัน รัฐบาลไดดําเนินการปลูกฟนฟูปาชายเลน ไปแลวถึง 420,000 ไร (จากการรวบรวมขอมูลการปลูกปาชายเลนของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ป พ.ศ. 2552) การปลูกฟนฟูปาชายเลนนอกจากทําใหไดพื้นที่ปาชายเลนเพิ่มขึ้นแลวยังทําใหสิ่งแวดลอมตางๆ ดีขึ้นดวย เชน คุณภาพของน้ําบริเวณชายฝงดีขึ้น ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มมากขึ้น มีปริมาณ ธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอสิ่งมีชีวิตเล็กๆ รวมทั้งสัตวน้ําบริเวณชายฝงทะเลเพิ่มมากขึ้น ตลอดจน ยังชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศโดยกระบวนการสังเคราะหแสงของตนไมแลว ผลผลิตที่ไดเก็บสะสมในรูปของลําตน กิ่ง ใบ และราก เปนตน การวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษา เฉพาะกรณีปลูกฟนฟูปาชายเลนในพื้นที่ผานการทํานากุง เพื่อใหทราบถึงประโยชนที่ไดจากการปลูกปา ในชวงระยะเวลา 7 ถึง 10 ป ในสวนที่เห็นชัดเจนในรูปของเนื้อไมหรือมวลชีวภาพ ปริมาณธาตุอาหาร ที่ไดจากการรวงหลนของซากพืชและปริมาณการเก็บกักคารบอนวามีปริมาณมากนอยแคไหน เพื่อใช เปนขอมูลประกอบในการจัดการปาชายเลนใหประสบผลสําเร็จตามที่มุงหวังเอาไวคือใชประโยชนอยาง สม่ําเสมอและตอเนื่องตลอดไป วิธีการศึกษา การศึกษาการเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ นากุงราง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี โดยทําการศึกษาเปนเวลา 1 ป ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน 2550 ถึงเดือน ตุลาคม 2551 โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ การเลือกพื้นที่ศึกษา เลือกพื้นที่ที่ไดทําการปลูกปาชายเลนในบริเวณที่ผานการทํานากุงแบบธรรมชาติ (extensive system) จํานวน 4 ชั้นอายุไดแก แปลงปลูกไมโกงกางใบใหญ อายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ10 ป ตามลําดับ ซึ่ ง ขนาดของแปลงจะมี ข นาดใกล เ คี ย งกั น คื อ ประมาณ 100 ไร บริ เ วณคลองดอนสั ก โดยพื้ น ที่ ที่ ทําการศึกษาอยูหางจากปากคลองดอนสักประมาณ 2 กิโลเมตร

301


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การวางแปลงทดลอง ในแตละชั้นอายุทําการวางแปลงตัวอยางขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 9 แปลง ตามวิธี Transect line โดยทําการกํา หนดเสน ฐาน (Base line) จํา นวน 1 เสน ใหตั้ง ฉากกับ ทิศ ทางของ กระแสน้ํา หรือแนวขอบบอเลี้ยงกุงเดิม จากนั้นทําการวางเสนแนว (Transect line) จํานวน 3 แนว ให ตั้งฉากกับเสนฐาน โดยกําหนดระยะหางระหวางเสนแนว 50 เมตร ในแตละเสนแนวทําการวางแปลง ตัวอยางขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จํานวน 3 แปลง ระยะหางระหวางแปลง 30 เมตร โดยกําหนด แผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) การเก็บขอมูล 1. การเก็บขอมูลการเติบโต ไดแก การวัดขนาดเสนผานศูนยกลาง ความสูง และปริมาณ มวลชีวภาพ 1.1 การวัด การเติบ โตทางขนาดเสน ผา นศูน ยก ลาง ทํา การวัด โดยใช Calipper และ Diameter tape ที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอรากของไมโกงกางใบใหญทุกตน ในแปลงขนาด 10 x10 ตารางเมตร 1.2 การวัดการเติบโตทางความสูง ทําการวัดโดยใช Measuring pole วัดความสูงของ ตนไมจากระดับผิวดิน จนถึงระดับปลายยอดของตนไมโกงกางใบใหญทุกตนในแปลงขนาด 10 x 10 ตารางเมตร 1.3 การหามวลชีวภาพ ในการศึกษามวลชีวภาพดําเนินการเปนขั้นตอนดังนี้ 1.3.1 เลือกไมตัวอยางเปนตัวแทนของแตละชั้นอายุ ไดแก 7 ป, 8 ป, 9 ป และ10 ป ตามลําดับโดยในแตละชั้นอายุทําการเลือกไมตัวอยางตามการกระจายของขนาดเสนผานศูนยกลาง ชั้นอายุละ 9 ตน เพื่อใหไดไมตัวอยางที่เปนตัวแทนของไมทั้งหมดอยางเหมาะสม รวมแลวมีไมตัวอยาง ที่ใชในการ ศึกษามวลชีวภาพทั้งหมดทุกชั้นอายุ 36 ตน 1.3.2 ตัดไมตัวอยางที่ไดคัดเลือกไว โดยตัดที่ระดับชิดดิน วัดขนาดเสนผานศูนยกลางที่ ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก และวัดความสูงของไมตัวอยางที่ตัดลง 1.3.3 แยกสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน 1.3.4 ชั่งน้ําหนักสดของสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน 1.3.5 สุมเก็บตัวอยางของสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน บันทึกน้ําหนักสดเพื่อนําไปหาปริมาณความชื้นในหองปฏิบัติการ 1.3.6 นําตัวอยางสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน ที่ ไดจากขอ 1.3.5 ไปอบในตูอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 72 ชั่วโมง หรือจนกวาน้ําหนัก คงที่ จากนั้นนําตัวอยางสวนตางๆ ของลําตนที่อบจนแหงไปชั่ง หาน้ําหนักอบแหงเพื่อคํานวณหา เปอรเซ็นตความชื้นตอไป 302


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

2. การเก็บขอมูลผลผลิตซากพืช 2.1 ทําการติดตั้งตะแกรงรองรับซากพืชแบบลอมรอบเรือนยอดตนไม (enclosure litter trap) (Brown, 1984) ในแปลงปลูกปาไมโกงกางใบใหญอายุ 7-9 ป สวนในแปลงปลูกไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป ทําการติดตั้งตะแกรงรองรับซากพืชใตเรือนยอดตนไม (litter trap) โดยทําการติดตั้งตะแกรงรองรับ ซากพืช ในทุกแปลงยอยขนาด 10×10 ตารางเมตร แปลงละ 1 ตะแกรง โดยตะแกรงที่ติดตั้งอยูสูงกวา ระดับน้ําทะเลขึ้นสูงสุดเพื่อหลีกเลี่ยงซากพืชสัมผัสกับน้ําทะเล 2.2 ทําการเก็บซากพืชจากตะแกรงที่ติดตั้งไวเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อนําซากพืชไปแยกชิ้นสวน ใบ กิ่ง ดอก ผลหรือฝก แลวนําไปชั่งหาน้ําหนักสด 2.3 นํา ส ว นต า งๆ ของซากพื ช ได แ ก ใบ กิ่ ง ดอก ผลหรื อ ฝ ก ไปอบแห ง ที่ อุ ณ หภู มิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 72 ชั่วโมงหรือจนกวาน้ําหนักคงที่ 3. การเก็บขอมูลปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากซากพืชโดยนําตัวอยางชิ้นสวนของซากพืช ไดแก ใบ กิ่ง ดอก ผลหรือฝก ตัวอยางละประมาณ 1 กิโลกรัม ไปวิเคราะหหาปริมาณธาตุอาหารในรูปของ ธาตุอาหารหลักไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม โดยไนโตรเจน วิเคราะหโดยวิธี Kjeldahl ฟอสฟอรัส โดยวิธี Jackson (1967) โพแทสเซียมโดยใช flame photometry แคลเซียม และแมกนีเซียมโดยใช atomic absorption spectrophotometer 4. การเก็บกักคารบอน ทําการเก็บชิ้นสวนตางๆ ของตนไม ไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดินหรือรากค้ํายัน และรากใตดิน ของไมโกงกางทุกชั้นอายุไปวิเคราะหหาปริมาณคารบอน (carbon content) ดวยวิธี dry combustion โดยใชเครื่องมือ CN corder MT-700 ที่หองปฏิบัติการภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การวิเคราะหขอมูล 1. คาเฉลี่ยการเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลางของตนไมที่ปลูกในแปลงคํานวณโดยสูตร ดังนี้ D = ΣD/n เมื่อ D = ขนาดเสนผานศูนยกลาง เฉลี่ยของตนไม (เซนติเมตร) ΣD = ผลรวมขนาดเสนผานศูนยกลางของตนไมทุกตน n = จํานวนตนไมทั้งหมดในแปลง

303


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2. คาเฉลี่ยการเติบโตทางความสูงของตนไมที่ปลูกในแปลงคํานวณโดยสูตร ดังนี้ H = ΣH/n เมื่อ H = ความสูงเฉลี่ยของตนไม (เมตร) ΣH = ผลรวมของความสูงของตนไมทุกตน n = จํานวนตนไมทั้งหมดในแปลง 3. การคํานวณหาเปอรเซ็นตความชื้นของสวนตางๆ ของตนไมตัวอยางไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน โดยการนําตัวอยางของสวนตาง ๆ ที่บันทึกน้ําหนักสดไวไปอบแหงแลวชั่ง น้ําหนักแหงมาคํานวณหาเปอรเซ็นตความชื้นจากสูตร ดังนี้ MC = 100x(Fw-Dw)/(Dw) เมื่อ MC = เปอรเซ็นตความชื้น Fw = น้ําหนักสด (กรัม) Dw = น้ําหนักแหง (กรัม) 4. การคํานวณหามวลชีวภาพหรือน้ําหนักแหงของตนไมตัวอยางจากเปอรเซ็นตความชื้นของ สวนตางๆ ที่ไดจากขอ 3 นําไปเปลี่ยนน้ําหนักสดของลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน ใหเปน มวลชีวภาพหรือน้ําหนักแหง จากสูตรดังนี้ Dw = (100xFw)/(MC+100) เมื่อ Dw = น้ําหนักแหง (กรัม) Fw = น้ําหนักสด (กรัม) MC = เปอรเซ็นตความชื้น 5. การคํ า นวณหาสมการประมาณมวลชี ว ภาพส ว นต า งๆของต น ไม โดยการวิ เ คราะห ห า ความสัมพันธ ระหวางขนาดเสนผานศูนยกลางยกกําลังสองคูณดวยความสูงทั้งหมดของตนไม (D2H) กับมวลชีวภาพของสวนตางๆ ของตนไมไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากค้ํายันเหนือพื้นดิน และรากใตดิน ของไมตัวอยางในรูปของ Allometric equation โดยตองแปลงขอมูลทั้งสองใหอยูในรูปของ logarithm แลววิเคราะหหาความสัมพันธในรูปสมการเสนตรง (linear regression) โดยใชรูปแบบของสมการใน การวิเคราะห ดังนี้ Log Y = a + blog D2H เมื่อ Log Y = มวลชีวภาพของสวนตางๆของตนไม a, b = คาสัมประสิทธิ์ของสมการ D = ขนาดเสนผานศูนยกลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก (เซนติเมตร) H = ความสูงทั้งหมด (เมตร) 304


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

6. คํานวณหามวลชีว ภาพสวนตางๆ ของไมในแปลงทดลอง โดยการนําคาขนาดเสน ผาน ศูนยกลางที่ระดับ 20 เซนติเมตรเหนือคอราก และความสูงทั้งหมดของตนไมแตละตนมาแทนคาลงใน สมการในขอ 5 จากนั้นนํามาคํานวณหามวลชีวภาพของลําตน (stem biomass: Ws) มวลชีวภาพ ของกิ่ง (branch biomass: Wb) มวลชีวภาพของใบ (leaf biomass: Wl) มวลชีวภาพของรากบนดิน (aboveground root biomass : War) มวลชีวภาพของรากใตดิน (underground root biomass: Wur) และมวลชีวภาพรวม (total biomass: Wt) 7. การเปรีย บเทีย บการเติบ โตไดแ ก การเติบ โตทางความสูง ขนาดเสน ผา นศูน ยก ลาง มวลชีวภาพ ผลผลิตซากพืช และทําการวิเคราะหทางสถิติวามีความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ หรือไมเพียงใด โดยใชวิธีวิเคราะหความแปรปรวน (analysis of variance) ตามแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) และทํา การเปรีย บเทีย บคา เฉลี่ย แตล ะปจ จัย โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test : DMRT ผลและวิจารณ จากการศึกษาการเติบโตและผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่นา กุงราง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี โดยวัดการเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลาง ความสูง มวลชีวภาพ และติดตามผลผลิตซากพืชรายเดือน เปนเวลา 1 ป เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2550 ถึง เดือนตุลาคม 2551 มีผลการศึกษาดังนี้ 1. การเติบโต 1.1 การเติบโตทางดานขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ยที่ระดับ 20 เซนติเมตรเหนือคอรากของไม โกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ (ตารางที่ 1)ไดแก อายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคา 4.88, 5.59, 6.13 และ 7.54 เซนติเมตร ตามลําดับ เมื่อ เปรียบเทียบการเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยก ลางของ ไมโกงกางใบใหญแตละชั้นอายุโดยนํามาวิเคราะหคาทางสถิติปรากฏวาการเติบโตทางขนาดเสนผาน ศูนยกลางมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 24.544, p = 0.0001) และเมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ปรากฏวาการ เติบโตทางขนาดเสนผาน ศูนยกลางของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป แตกตางไปจากไมโกงกางอายุ 8 ป และ 9 ป และ 10 ป สวนไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป และ 9 ป ไมมีความแตกตา งกัน ทางสถิติ โดยไมโ กงกางใบใหญ อายุ 10 ป มีการเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลางมากที่สุด 1.2 การเติบโตทางความสูง การเติบโตทางความสูงเฉลี่ยของไมโกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ (ตารางที่ 1) ไดแก 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคา 6.31, 6.34, 7.44 และ 10.93 เมตร ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบการเติบโตทาง ความสูงของไมโกงกางใบใหญในแตละชั้นอายุ โดยนํามาวิเคราะหคาทางสถิติ ปรากฏวาการเติบโต

305


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ทางความสูงของไมโกงกางใบใหญในแตละชั้นอายุ มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 83.93, p = 0.0001) และเมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ปรากฏวาการเติบโตทางความสูงของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตาง ทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางทางสถิติกับไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป โดย ไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีการเจริญเติบโตทางความสูงมากที่สุด 1.3 การเติบโตทางมวลชีวภาพ การเติบโตทางมวลชีวภาพเปนตัวชี้วัดที่ดีวาไมที่ปลูกมีการเติบโตไดดีหรือไมเพราะลําพังความสูง หรือขนาดเสนผานศูนยกลางไมสามารถบอกไดชัดเจน เชน ตนไมบางตนมีการเติบโตทางความสูง ที่ดีแตขนาดเสนผานศูนยกลางมีขนาดเล็กหรือในทางกลับกันตนไมมีการเติบโตทางขนาดเสนผาน ศูนยกลางดีกลับมีความสูงนอย เปนตน ดังนั้นการใชมวลชีวภาพหรือน้ําหนักแหงเปรียบเทียบการ เติบโตของไมที่ปลูกจึงนับวามีประสิทธิภาพสูงสุด 1.3.1 การประมาณมวลชีวภาพ สมการประมาณมวลชีวภาพ (Allometric equation) ของสวนตางๆของตนไมของไมโกงกาง ใบใหญ อายุ 7-10 ป ดังตารางที่ 2 1.3.2 มวลชีวภาพของลําตน มวลชีวภาพของลําตนของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคา เฉลี่ย 3,145.62, 3,799.18, 5,990.93 และ 12,280.50 กิโลกรัมตอ ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3) เมื่อนํา มวลชีว ภาพของลําตน ของไมโ กงกางใบใหญใ นแตล ะชั้น อายุม าวิเ คราะหคา ทางสถิติ ปรากฏวา มวลชีวภาพของลําตนของทุกชั้นอายุมีความแตกตางอยางนัยสําคัญยิ่ง (F = 70.141, p =0.0001) และ เมื่อนํามวลชีวภาพของลําตนของไมทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวามวลชีวภาพของลําตนที่ อายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางทาง สถิติแ ตไ มใ นกลุม นี้มีค วามแตกตา งทางสถิติกับ ไมโ กงกางใบใหญอ ายุ 9 ป และ 10 ป โดยที่ มวลชีวภาพของลําตนของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สุด 1.3.3 มวลชีวภาพของกิ่ง มวลชี ว ภาพของกิ่ ง ของไม โ กงกางใบใหญ อ ายุ 7 ป , 8 ป , 9 ป และ 10 ป มี ค า เฉลี่ ย 2,233.60, 2,735.64, 4,455.22 และ 10,329.20 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เมื่อนําคามวลชีวภาพของกิ่ง ของไมโกงกางใบใหญในแตละชั้นอายุมาวิเคราะหคาทางสถิติ ปรากฏวามวลชีวภาพของกิ่งของตนไม ทุกชั้นอายุมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 75.223, p = 0.0001) และเมื่อนําคามวลชีวภาพ ของกิ่งของไมทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวามวลชีวภาพของกิ่งของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางทางสถิติกับไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป โดยที่มวลชีวภาพ ของกิ่งของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สุด 306


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

1.3.4 มวลชีวภาพของใบ มวลชี ว ภาพของใบของไม โ กงกางใบใหญ อ ายุ 7 ป , 8 ป , 9 ป และ 10 ป มี ค า เฉลี่ ย 1,446.17, 1,678.82, 2,453.24 และ 3,718.95 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เมื่อนําคามวลชีวภาพของ ใบของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมาวิเคราะหคาทางสถิติ ปรากฏวามวลชีวภาพของใบของไมทุกชั้น อายุมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 51.888, p = 0.0001) และเมื่อนําคามวลชีวภาพของใบ ทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวา มวลชีวภาพของใบของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางทางสถิติ แตไมในกลุมนี้ มีความแตกตางทางสถิติกับ ไมโ กงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป โดยที่ม วลชีวภาพของใบของ ไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สุด 1.3.5 มวลชีวภาพของรากบนดิน มวลชีวภาพของรากบนดิน (above ground root biomass) ของไมโกงกาง ใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป , 9 ป และ10 ป มี ค า เฉลี่ ย 4,071.95, 4,791.79, 7,105.00 และ11,582.00 กิ โ ลกรั ม ต อ ไร ตามลํา ดับ เมื่อ นํา คา มวลชีว ภาพของรากบนดิน ของไมโ กงกางใบใหญทุก ชั้น อายุม าวิเ คราะห คาทางสถิติ ปรากฏวามวลชีวภาพของรากบนดินของไมทุกชั้นอายุมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 56.944, p = 0.0001) และเมื่อนําคามวลชีวภาพของรากบนดินทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดย วิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวามวลชีวภาพของรากบนดิน ของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตาง ทางสถิติกับไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ10 ป โดยมวลชีวภาพของรากบนดินของไมโกงกางใบใหญ อายุ 10 ป มีคามากที่สุด 1.3.6 มวลชีวภาพของรากใตดิน มวลชีวภาพของรากใตดิน (under ground root biomass) ของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มี คาเฉลี่ย 1,927.93, 2,196.52, 3,009.11 และ 3,689.40 กิ โ ลกรัมต อ ไร ตามลํา ดับ เมื่อ นํา คา มวลชีว ภาพของรากใตดิน ของไมโ กงกางใบใหญทุก ชั ้น อายุม าวิเ คราะห คาทางสถิติ ปรากฏวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 35.559, p = 0.0001) และเมื่อนําคา มวลชีวภาพของรากใตดินของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวามวลชีวภาพของรากใตดินของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางทางสถิติกับไม โกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป โดยที่มวลชีวภาพของรากใตดินของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สดุ 1.3.7 มวลชีวภาพรวม มวลชีว ภาพรวมนับ วา เปน ดรรชนีที่วัด การเจริญ เติบ โตที่ดีที่สุด ของไมโ ดยรวมเอา มวลชีวภาพของทุกสวนของตนไมไดแก ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน และรากใตดิน ซึ่งมวลชีวภาพรวม

307


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคาเฉลี่ย 12,825.30, 15,210.90, 23,012.7 และ 41,600.10 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เมื่อนําคามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมา วิเคราะหคาทางสถิติ ปรากฏวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 63.667, p = 0.0001) และ เมื่อนําคามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางกับไมโกงกางใบใหญ อายุ 9 ป และ 10 ป โดยที่มวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สุด จากการประมาณมวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ (ตารางที่ 3) พบวา มวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาเฉลี่ยสูงสุด (41,600.10 กิโลกรัมตอไร) ซึ่ง ประกอบด ว ยมวลชี ว ภาพของลํา ต น 29.52 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของกิ่ ง 24.83 เปอร เ ซ็ น ต มวลชีวภาพของใบ 8.94 เปอรเซ็นต มวลชีวภาพของรากบนดินหรือรากค้ํายัน 27.84 เปอรเซ็นต และมวลชี ว ภาพของรากใต ดิ น 8.87 เปอร เ ซ็ น ต รองลงมาเป น ไม โ กงกางใบใหญ อ ายุ 9 ป (23,012.70 กิโลกรัมตอไร) ซึ่งประกอบดวยมวลชีวภาพของลําตน 26.03 เปอรเซ็นต มวลชีวภาพ ของกิ่ ง 19.36 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของใบ 10.66 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของรากบนดิ น 30.87 เปอรเซ็นต และมวลชีวภาพของรากใตดิน 13.08 เปอรเ ซ็น ต ไมโ กงกางใบใหญอ ายุ 8 ป (15,210.90 กิโลกรัมตอไร) ซึ่งประกอบดวยมวลชีวภาพของลําตน 24.98 เปอรเซ็นต มวลชีวภาพ ของกิ่ ง 17.98 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของใบ 11.10 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของรากบนดิ น 31.50 เปอรเซ็นต และมวลชีวภาพของรากใตดิน 14.44 เปอรเซ็นต และไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป (12,825.30 กิโลกรัมตอไร) ซึ่งประกอบดวยมวลชีวภาพของลําตน 24.53 เปอรเซ็นต มวลชีวภาพ ของกิ่ ง 17.42 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของใบ 11.28 เปอร เ ซ็ น ต มวลชี ว ภาพของรากบนดิ น 31.75 เปอรเซ็นต และมวลชีวภาพของรากใตดิน 15.03 เปอรเซ็นต ตามลําดับ จากผลการศึกษาในครั้งนี้พบวาไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุงมีการ เติบโตที่ดีโ ดยมีปริมาณมวลชีวภาพรวมเพิ่มขึ้นทุกป ซึ่งถาพิจารณาปริมาณมวลชีวภาพรวมของ ไมโกงกางใบใหญอายุ 2-6 ป ในพื้นที่เดียวกันนี้ เมื่อป พ.ศ. 2548 จากการศึกษาของวิจารณ (2548 ก) ที่พบวามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญอายุ 2 ป, 3 ป, 4 ป, 5 ป และ 6 ป มีคาเฉลี่ย 406.38, 717.11, 2,010.34, 4,446.80 และ 11,088.68 กิโลกรัมตอไร และพบวาปริมาณมวลชีวภาพรวมมี ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทุกชั้นอายุ ขณะที่ในการศึกษาครั้งนี้ พบวามวลชีวภาพรวม ของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ10 ป มีคาเฉลี่ย 12,825.30, 15,210.90, 23,012.70 และ 41,600.10 กิโลกรัมตอไร และพบวามวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตางทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางทางสถิติกับไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป 308


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

อยางไรก็ตามถาพิจารณาแนวโนมของการเติบโตของสวนปาไมโกงกางใบใหญตั้งแตอายุ 2-10 ป พบวาในชวงอายุ 7 ป และ 8 ป มีการเติบโตที่ชาลง ทั้งนี้เนื่องจากสวนปาไมโกงกางใบใหญ อายุ 7 ป และ 8 ป มีเรือนยอดชิดกันและรากค้ํายันที่ประสานกันแนนทําใหมีการแกงแยงปจจัยสิ่งแวดลอม เพื่อการเติบโตไดแก ธาตุอาหาร แสงสวาง ฯลฯ เพิ่มมากขึ้นสงผลทําใหมีการเติบโตชาลง ดังนั้น ชวงอายุนี้ควรนําเอาหลักการปฏิบัติทางวนวัฒน (silvicultural practices)มาจัดการกับสวนปาโดยเฉพาะ การตัดสางขยายระยะ (thinning) และการลิดกิ่ง (pruning) เปนตน 2. ผลผลิตซากพืช (litter production) จากการศึกษาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุไดแก 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีผลการศึกษาแสดงไวในตารางที่ 4 ซึ่งสรุปไดดังนี้ ผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคาเฉลี่ยเทากับ 1,433.91, 1,166.70, 1,772.55 และ 2,217.51 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ เมื่อนําคาผลผลิตซากพืชของ ไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมาวิเคราะหคาทางสถิติ ปรากฏวาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ ทุกชั้นอายุมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (F = 19.166, p = 0.0001) และเมื่อนําคาผลผลิตซาก พืชของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุมาเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95% พบวาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ไมมีความแตกตาง ทางสถิติ แตไมในกลุมนี้มีความแตกตางกับไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป โดยผลผลิตซากพืช ของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคามากที่สุด จากการศึ ก ษาผลผลิ ต ซากพื ช ของไม โ กงกางใบใหญ ทั้ ง 4 ชั้ น อายุ พบว า ผลผลิ ต ซากพื ช ของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาเฉลี่ยสูงสุด (2,217.51 กิโลกรัมตอไรตอป) ซึ่งประกอบดวย ซากพืชสวนที่เปนใบ 93.79 เปอรเซ็นต ซากพืชสวนที่เปนกิ่ง 4.92 เปอรเซ็นต ซากพืชสวนที่เปนดอก 0.93 เปอรเซ็นต และซากพืชสวนที่เปนฝก 0.36 เปอรเซ็นต รองลงไปเปนไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป (1,772.55 กิโลกรัมตอไรตอป) ซึ่งประกอบดวยซากพืชสวนที่เปนใบ 98.44 เปอรเซ็นต ซากพืช สวนที่เปนกิ่ง 0.33 เปอรเซ็นต ซากพืชสวนที่เปนดอก 0.07 เปอรเซ็นต และซากพืชสวนที่เปนฝก 1.16 เปอรเซ็นต ไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป (1,433.91 กิโลกรัมตอไรตอป) ซึ่งประกอบดวยซากพืช สว นที่เ ปน ใบ 99.38 เปอรเ ซ็น ต ซากพืช สว นที่เ ปน กิ่ง 0.23 เปอรเ ซ็น ต ซากพืช สว นที่เ ปน ดอก 0.04 เปอรเซ็นตและซากพืชสวนที่เปนฝก 0.35 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต และไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป (1,166.70 กิโลกรัมตอไรตอป) ซึ่งประกอบดวยซากพืชสวนที่เปนใบ 98.16 เปอรเซ็นต ซากพืชสวนที่ เปนกิ่ง 0.09 เปอรเซ็นต ซากพืชสวนที่เปนดอก 0.16 เปอรเซ็นต และซากพืชสวนที่เปนฝก 1.5 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ถาพิจารณาการรวงหลนของซากพืชของไมโกงกางใบใหญทุกชั้นอายุ พบวาปริมาณการรวง หลนสูงสุดเดือนเมษายน ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

309


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป ผลผลิตซากพืชสูงสุดในเดือนเมษายน และต่ําสุดในเดือนมีนาคม ไม โ กงกางใบใหญ อ ายุ 8 ป ผลผลิ ต ซากพื ช สู ง สุ ด ในเดื อ นเมษายน และต่ํา สุ ด ในเดื อ นธั น วาคม ไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป ผลผลิตซากพืชสูงสุดในเดือนเมษายนและต่ําสุดในเดือนกันยายนและ ไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป ผลผลิตซากพืชสูงสุดในเดือนเมษายนและต่ําสุดในเดือนกันยายน สาเหตุที่ปริมาณการรวงหลนสูงสุดในเดือนเมษายนอาจเนื่องมาจากชวงนี้เปนชวงหนารอนและ ใกลเขาสูฤดูฝน (ฤดูฝนชวงเดือนพฤษภาคมถึงมกราคม) อาจไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตก เฉียงใตคอนขางรุนแรง รวมทั้งลมกระโชกแรงจากการแปรปรวนของสภาพอากาศชวงยางเขาสูฤดูฝน มีผลทําใหปริมาณการรวงหลนหรือผลผลิตซากพืชเพิ่มมากขึ้น ผลผลิตซากพืชที่ทําการศึกษาในครั้งนี้มีปริมาณใกลเคียงกับที่ Clough และคณะ (2000) ซึ่งได ทําการศึกษาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป และ 10 ป ที่ประเทศเวียดนาม พบวามี ผลผลิตซากพืชเฉลี่ย 941 และ 1,225 กรัมตอตารางเมตรตอป ตามลําดับ หรือ 1,505.6 และ 1,960 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ และมีค าใกลเคียงกับผลผลิ ตของซากพืชของป าชายเลนธรรมชาติ บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดระนอง ซึ่งรายงานโดย Meepol (2002) พบวาปาชายเลนบริเวณ ปากคลองหงาว มี ผ ลผลิ ต ซากพื ช เฉลี่ ย 1,516 กิ โ ลกรั ม ต อ ไร ต อ ป และบริ เ วณปลายคลองหงาว มี ค า เฉลี่ ย 1,554 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ นอกจากนี้เปรียบเทียบผลการศึกษาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ในครั้งนี้ กับที่วิจารณ (2548 ก) ไดศึกษาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 2-6 ป ในพื้นที่เดียวกัน พบวาไมโกงกางใบใหญอายุ 2 ป, 3 ป, 4 ป, 5 ป และ 6 ป มีผลผลิตซากพืชเฉลี่ย 409.88, 506.63 , 906.65, 1,365.02 และ 1,433.76 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ และยังพบวาผลผลิตซากพืชของไม โกงกางใบใหญอายุ 5 ป และ 6 ป ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งผลการศึกษาในครั้ง นี้ก็พบวา ผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และ 8 ป ก็ไมมีความแตกตางอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป มีปริมาณซากพืชเฉลี่ย 1,433.94 กิโลกรัมตอไรตอป หรือเทากับไมโกงกางใบใหญอายุ 6 ป สวนผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป มีแนวโนม ลดลงคือมีปริมาณซากพืชเฉลี่ย 1,166.7 กิโลกรัมตอไร สาเหตุที่ผลผลิตซากพืชในปที่ 7 และ 8 เริ่ม ลดลงเนื่องจากตนไมที่ปลูกเริ่มมีเรือนยอดชิดกัน ซึ่งสวนปาไมโกงกางใบใหญที่ปลูกนี้มีระยะหาง ระหวางตน 1.5 เมตร และเรือนยอดของตนไมเริ่มชิดกันตั้งแตปที่ 5 และเรือนยอดจะชิดกันแนนมาก ในชวงปที่ 6-8 ทําใหตนไมมีการแกงแยงปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆ โดยเฉพาะแสงสวาง ธาตุอาหารในดิน ฯลฯ เพื่อการเติบโตมากขึ้นจึงมีผลทําใหตนไมมีการเติบโตทางดานเรือนยอดลดลง 3. ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืช การวิเคราะหหาปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากซากพืชของปาชายเลนนั้นจะตองนําชิ้นสวนตางๆ ของซากพืชไดแก ใบ กิ่ง ดอก ผลหรือฝกไปวิเคราะหหาปริมาณธาตุอาหาร แตในการศึกษาครั้งนี้ใช 310


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

เฉพาะชิ้นสวนซากพืชที่เปนใบ เนื่องจากผลผลิตซากพืชสวนที่เปนใบมีปริมาณถึง 93.79 - 99.38 เปอรเซ็นต ดังนั้นจึงใชองคประกอบของธาตุอาหารที่ไดจากใบเปนตัวแทนของการคํานวณปริมาณธาตุอาหารที่ได จากผลผลิตซากพืชทั้งหมด ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุอาหารหลักของซากพืชสวนที่เปนใบ แสดงไวในตารางที่ 5 ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป ดังตารางที่ 6 ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ ไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ไดจากผลผลิตซากพืชไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม มีคาเฉลี่ย 5.02, 0.43, 4.73, 19.93 และ 7.46 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ไดจากผลผลิตซากพืชไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม มีคาเฉลี่ย 4.78, 0.35, 7.00, 15.40 และ 5.60 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ไดจากผลผลิตซากพืชไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม มีคาเฉลี่ย 6.74, 0.35, 9.39, 21.80 และ 8.69 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ไดจากผลผลิตซากพืชไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม มีคาเฉลี่ย 9.31, 0.67, 13.97, 33.04 และ 9.31 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ไดจากผลผลิตซากพืชสวนที่เปนใบทุกชั้นอายุพบวา ธาตุแคลเซียมมี ปริมาณสูงสุด รองลงมาไดแก แมกนีเซียม ไนโตรเจน โพแทสเซียม และฟอสฟอรัส ตามลําดับ ซึ่ง แตกตางจากปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของปาชายเลนธรรมชาติ Meepol (2002) รายงานวา ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของปาชายเลนธรรมชาติ บริเวณหาดทรายขาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง ธาตุแคลเซียมมีปริมาณสูงสุดรองลงมาไดแก โพแทสเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม และ ฟอสฟอรัส ตามลําดับ สาเหตุที่ปริมาณธาตุอาหารแตกตางกันก็เนื่องจากพันธุไมตางชนิดกันมีความ ตองการชนิดธาตุอาหารที่แตกตางกันและชวงการเติบโตก็มีผลตอความตองการธาตุอาหารที่แตกตางกันดวย เชน ชวงที่เปน vegetative stage จะตองการธาตุอาหารที่แตกตางจาก reproductive stage สงผลทําให ธาตุอาหารที่ปลดปลอยสูดินผานผลผลิตซากพืชแตกตางกัน

311


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

4. การเก็บกักคารบอน (carbon sequestration) ผลการวิเคราะหพบวา ปริมาณคารบอนที่สะสมในสวนตางๆ ของตนไม รายละเอียดดังตาราง ที่ 7 การประเมินศักยภาพในการเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ในครั้งนี้คํานวณโดย นํามวลชีวภาพตอหนวยเนื้อที่ของสวนตาง ๆ ของตนไมคูณดวยปริมาณคารบอนในสวนตางๆ ของ ตนไมดังตารางที่ 8 ปริมาณการเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคาเฉลี่ย 5.80, 7.09, 10.61 และ 18.99 ตันคารบอนตอไร เมื่อ คํา นวณเปน ปริม าณกา ซคารบ อนไดออกไซดที่ไ มโ กงกางใบใหญดูด ซับ เอาไวโ ดย การคู ณ ด ว ยค า คงที่ (conversion factor) เท า กั บ 3.67 (ค า คงที่ นี้ คิ ด จากน้ํา หนั ก โมเลกุ ล ของ กาซคารบอนไดออกไซด(CO2) ซึ่งกาซคารบอนไดออกไซด 1 โมเลกุล ประกอบดวยธาตุคารบอน (C) จํานวน 1 อะตอม และธาตุออกซิเจน (O2) จํานวน 2 อะตอม ซึ่งธาตุคารบอนมีน้ําหนัก 12 กรัมอะตอม สวนธาตุออกซิเจนมีน้ําหนัก 16 กรัมอะตอม ดังนั้น 1 โมเลกุลของกาซคารบอนไดออกไซด มีน้ําหนัก เทากับ 44 กรัมอะตอม ฉะนั้น คาคงที่ในการเปลี่ยนคารบอน 1 กรัม ไปเปนกาซคารบอนไดออกไซด เทากับ 44/12 = 3.67 ) ดังนี้ ปริมาณการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป, 8 ป, 9 ป และ 10 ป มีคาเฉลี่ย 21.30, 26.03, 38.94 และ 69.71 ตันคารบอนไดออกไซดตอไร ตามลําดับ ศักยภาพในการเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่นากุงรางอายุ 7-10 ป ใน ครั้งนี้มีคาสูงกวาการเก็บกักคารบอนในพื้นที่นากุงรางบริเวณอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ รายงานโดย ฐานนันท (2545) ที่พบวา โกงกางใบเล็ก โปรงแดง แสมทะเล และถั่วขาว อายุ 6-7 ป มี การสะสมคารบอนเทากับ 7.98, 2.46, 2.27 และ 2.24 ตันคารบอนตอไร ตามลําดับ ถาพิจารณาการเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป ในการศึกษาครั้งนี้ซึ่งมีคาเฉลี่ย 18.99 ตันคารบอนตอไร พบวามีคาสูงเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาของ ชลิตาและลดาวัลย (2550) ซึ่งทําการศึกษาการเก็บกักคารบอนของสวนปาชายเลน อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เฉพาะสวนที่อยูเหนือพื้นดิน ในแปลงปลูกปาจํานวน 5 ชั้นอายุ คือ 4, 10, 14, 20 และ 25 ป พบวามี การเก็บกักคารบอนเฉลี่ยเทากับ 10.49, 10.62, 12.76, 19.48 และ 10.96 ตันคารบอนตอไร ตามลําดับปริมาณ การเก็บกักคารบอนในการศึกษาครั้งนี้ต่ํากวาปริมาณคารบอนที่เก็บกักใน ปาชายเลนธรรมชาติซึ่ง Puanchit (2000) ไดใชคาเฉลี่ยของการเก็บกักคารบอนของปาชายเลนธรรมชาติ ในประเทศไทย เทากับ 24.29 ตันคารบอนตอไร ในการจัดทํารายงานแหงชาติและยังมีคาต่ํากวาการเก็บกักคารบอนใน ปาดิบชื้น (22.04 ตันคารบอนตอไร) แตมีคาสูงกวาปาดิบแลง (11.25 ตันคารบอนตอไร) และปาเบญจพรรณ (7.70 ตันคารบอนตอไร) (จิรนันทและนันทนา, 2547) 312


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

สาเหตุที่การเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาสูงเปนเพราะวาพื้นที่บริเวณนี้ มีความอุดมสมบูรณสูง ถึงแมจะเคยผานการทํานากุงแตเปนการเลี้ยงแบบธรรมชาติไมไดมีการขุด หนาดินออกไปประกอบกับปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆ มีความเหมาะสมตอการเติบโต กลาวคือ มีน้ําทะเลทวม ถึงสม่ําเสมอ ดินมีความเปนเลนและเปนดินเหนียว ซึ่งสอดคลองกับวิจารณ (2548 ข) ที่ศึกษาสมบัติ ของดินปาชายเลนในบริเวณพื้นที่นี้พบวาดินปาชายเลนมีสมบัติทางเคมีในดินชั้นลางสูงกวาดินชั้นบน โดยเนื้อดินเปนดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย ดินมีสภาพความเปนเลน อยูในระดับ nearly ripe ปริมาณอินทรียวัตถุสูงมาก ฟอสฟอรัสที่เปน ประโยชนคอ นขา งสูง ถึง สูง โพแทสเซียมที่เปนประโยชนสูงมาก ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง เปอรเซ็นตความอิ่มตัว ดวยประจุบวกที่เปนดางสูง จัดเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง สรุปผลการศึกษา การศึกษาการเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่นากุงราง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งไดทําการศึกษาระยะเวลา 1 ป (พฤศจิกายน 2550-ตุลาคม 2551) สรุปผลไดดังนี้ 1. การเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอรากของไมโกงกาง ใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุไดแก 7 ป, 8 ป, 9 ป และ10 ป ตามลําดับ พบวาไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มี การเติบโตทางขนาดเสนผานศูนยกลางมากที่สุด (7.54 เซนติเมตร) รองลงมาคืออายุ 9 ป (6.13 เซนติเมตร) อายุ 8 ป (5.59 เซนติเมตร) และอายุ 7 ป (4.88 เซนติเมตร) ตามลําดับ โดยที่ขนาดเสนผานศูนยกลาง ของไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป และอายุ 9 ป ไมตางกัน 2. การเติบโตทางความสูงของไมโกงกางทั้ง 4 ชั้นอายุ พบวาไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มี การเติบโตทางความสูงมากที่สุด (10.93 เมตร) รองลงมาคืออายุ 9 ป (7.44 เมตร) อายุ 8 ป (6.34 เมตร) และอายุ 7 ป (6.31 เมตร) ตามลําดับ โดยที่ความสูงของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และอายุ 8 ป ไมตางกัน 3. การเติบโตทางมวลชีวภาพ จากการประมาณมวลชีวภาพรวมของไมโกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ พบวาไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีปริมาณมวลชีวภาพรวมมากที่สุด (41,600.10 กิโลกรัม ตอไร) รองลงมาอายุ 9 ป (23,012.7 กิโลกรัมตอไร) อายุ 8 ป (15,210.90 กิโลกรัมตอไร) และอายุ 7 ป (12,825.30 กิโลกรัมตอไร) ตามลําดับ โดยที่ปริมาณมวลชีวภาพรวมของไมโกงกางอายุ 7 ป และ อายุ 8 ป ไมตางกัน 4. ผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ พบวาผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 10 ป มีคาสูงสุด (2,217.51 กิโลกรัมตอไรตอป) รองลงมาคืออายุ 9 ป (1,772.55 กิโลกรัมตอไร ตอป) อายุ 7 ป (1,433.91 กิโลกรัมตอไรตอป)และอายุ 8 ป (1,166.70 กิโลกรัมตอไรตอป) ตามลําดับ โดยที่ผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป และอายุ 8 ป ไมตางกัน

313


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

5. ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชในรูปของธาตุอาหารหลักไดแก ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมของไมโกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาเฉลี่ย 9.31, 0.67, 13.97, 33.04 และ 9.31 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซาก พืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป มีคาเฉลี่ย 6.74, 0.35, 9.39, 21.80 และ 8.69 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 8 ป มีคาเฉลี่ย 4.78, 0.35,7.00, 15.40 และ 5.60 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ และปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของ ไมโกงกางใบใหญอายุ 7 ป มีคาเฉลี่ย 5.02, 0.43, 4.73,19.93 และ 7.46 กิโลกรัมตอไรตอป ตามลําดับ 6. การเก็บกักคารบอนของไมโกงกางใบใหญทั้ง 4 ชั้นอายุ พบวาการเก็บกักคารบอนของไม โกงกางใบใหญอายุ 10 ป มีคาสูงสุด (18.99 ตันคารบอนตอไร) รองลงมาคือ ไมโกงกางใบใหญอายุ 9 ป (10.61 ตันคารบอนตอไร) อายุ 8 ป (7.09 ตันคารบอนตอไร) และอายุ 7 ป (5.80 ตันคารบอนตอไร) ตามลําดับ ขอเสนอแนะ การศึกษาการเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญอายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ นากุงราง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี มีขอเสนอแนะพอสรุปไดดังนี้ 1. พันธุไ มปาชายเลนที่ควรนํามาปลูกในพื้น ที่ปาชายเลนที่ ผานการทํานากุง ไดแ ก ไมสกุ ล โกงกาง โดยเฉพาะโกงกางใบใหญที่ทําการศึกษาในครั้งนี้ พบวามีการเติบโตดีและมีปริมาณมวล ชีวภาพสูง 2. สวนปาไมโกงกางใบใหญ เมื่อปลูกไปได 7-8 ป ควรนําหลักวนวัฒนวิธีมาปฏิบัติ เชน การ ตัดสางขยายระยะ (thinning) หรือการลิดกิ่ง (pruning) เนื่องจากเมื่อสวนปาอายุ 7-8 ป เรือนยอดชิดกัน และรากค้ํายันก็ประสานกันแนน ทําใหมีการแกงแยงปจจัยสิ่งแวดลอมเพื่อการเติบโตสูงมาก การ ตัดสางขยายระยะ หรื อการลิ ดกิ่ งจะชวยเร ง การเติบโตของไมในสวนปาตลอดจนเปน การสงเสริ ม กิจกรรมตางๆ ของสัตวหนาดินใหเปนไปอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณแสงสวางบริเวณผิวหนา ดินที่ไดรับเพิ่มขึ้นนั่นเอง ซึ่งจากขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ชี้ใหเห็นชัดเจนวาปริมาณมวลชีวภาพของ สวนตางๆ ไดแก ลําตน (Ws) กิ่ง (Wb) ใบ (Wl) รากบนดิน (War) รากใตดิน (Wur) และมวลชีวภาพรวม (Wt) ของไมโกงกางอายุ 7 ป และอายุ 8 ป ไมตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95% นอกจากนี้ยังมีขอมูล ปริมาณผลผลิตของซากพืชของไมโกงกางอายุ 7 ป และอายุ 8 ป ก็ไมตางกัน 3. ควรทําการศึกษาวิจัยตอไปในเรื่องการปฏิบัติทางวนวัฒน (silvicultural practices) กับสวนปา วาวิธีไหนมีความเหมาะสมกับสวนปาอายุ 7-8 ป

314


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

เอกสารอางอิง กองวางแผนการใชที่ดิน. 2528. แผนการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. จิรนันท ธีระกุลพิศุทธิ์ และนันทนา คชเสนี. 2547. ศักยภาพในการสะสมคารบอนในระบบนิเวศปา ทองผาภูมิ ใน เอกสารประกอบการประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทางดานปาไม : ปาไมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. ชลิตา ศรีลัดดา และลดาวัลย พวงจิตร. 2550 การเก็บกักคารบอนของสวนปาชายเลน อําเภอปาก พนัง จัง หวัด นครศรีธ รรมราช ใน การประชุม วิช าการระบบนิเ วศปา ชายเลนแหง ชาติ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. ฐานนันท ประทุมมินทร. 2545. การสะสมคารบอนของพันธุไมปาชายเลนที่ปลูกบนพื้นที่นากุงราง อํ า เภอขนอม จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตร ม หาบั ณ ฑิ ต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิจารณ มีผล. 2548 ก. การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่นากุงราง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี เอกสารวิชาการเลขที่ 17/2548 สํานักอนุรักษทรัพยากร ปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. ---------------- 2548 ข. สมบัติของดินในพื้นที่ปลูกปาชายเลน อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี เอกสารวิชาการเลขที่ 18/2548 สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง. ธงชัย จารุพพัฒน และ จิรวรรณ จารุพพัฒน. 2540. การใชภาพถายดาวเทียว Landsat-5 (TM) ติดตามสภาพความเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลนในประเทศไทย น. 1-9 ใน : การสัมมนาระบบ นิเวศปาชายเลนแหงชาติครั้งที่ 10 “การจัดการและการอนุรักษปาชายเลนบทเรียนในรอบ 20 ป” 25 – 28 สิงหาคม 2540 โรงแรม เจ.บี. หาดใหญ จังหวัดสงขลา คณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติ ปาชายเลนแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. Brown, M.S. 1984. Mangrove litter production and dynamics. The Mangrove ecosystem: research methods. S.C. Snedaker and J.G. Snedaker (eds.). UNESCO/SCOR Working Group 60 on Mangrove Ecology, UNESCO. Clough, B.F., D.T. Tan, D.X. Phuong, and D.C. Buu. 2000. Canopy leaf area index and litter fall in stands of the mangrove Rhizophora apiculata of different ages in the Mekong Delta, Vietnam. Aguat. Bot. 66:311-320. Jackson, M.L. 1967. Soil chemical analysis. Prentice-Hall. New Delhi. 498p. Meepol, W. 2002. Litter production and site characteristics in relation to structure and composition of mangrove forests in Ranong province southern Thailand. Ph.D Thesis, University of the Philippines Los Banos. Puangchit , L. 2000. Forestry Sector. In : Thailand’s National Greenhouse Gas Inventory 1994. Ministry of Science, Technology and Environment.

315


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 1 ขนาดเสนผานศูนยกลางและความสูงของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่ผา นการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี อายุ (ป) 7 8 9 10

ขนาดเสนผานศูนยกลาง (ซม.) 4.88 a 5.59 b 6.13 b 7.54 c

ความสูง (ม.) 6.31 a 6.34 a 7.44 b 10.93 c

หมายเหตุ : ตัวเลขที่มีอักษรตางกันในแนวตั้งของแตละชั้ยอายุ แสดงความแตกตางทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่น 95% โดย Duncan’s Multiple Range Test. Table 2 สมการประมาณมวลชีวภาพ

สวนของตนไม ลําตน กิ่ง ใบ รากบนดิน รากใตดิน

Log Log Log Log Log

(Allometric equations)ของไมโกงกางใบใหญ

Allometric equation Ws = 3.3146+0.0531 Log Wb = 3.1031+0.0599 Log Wl = 3.1311+0.0362 Log War = 3.5436+0.0403 Log Wur = 3.3644+0.0241 Log

R2 0.9512 0.9212 0.8214 0.8650 0.5854

(D2H) (D2H) (D2H) (D2H) (D2H)

Table 3 มวลชีวภาพของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นทีผ่ านการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัด สุราษฎรธานี (หนวย: กิโลกรัมตอไร) อายุ (ป) 7 8 9 10

ลําตน 3,145.62a (24.53) 3,799.18a (24.98) 5,990.93b (26.05) 12,280.50c( 29.52)

กิ่ง 2,233.60a (17.42) 2,735.64a (17.98) 4,455.22b (19.36) 10,329.20c (24.83)

ใบ 1,446.17a (11.28) 1,687.82a (11.10) 2,453.24b (10.66) 3,718.95c (8.94)

รากบนดิน 4,071.95a (31.75) 4,791.79a (31.50) 7,105.00b (30.87) 11,582.00c (27.84)

รากใตดิน 1,927.93a (15.03) 2,196.52a (14.44) 3,009.11b (13.08) 3,689.40c (8.87)

รวม 12,825.27 a 15,210.95 a 23,013.50 b 41,600.05 c

หมายเหตุ : 1. ตัวเลขที่มีอักษรตางกันในแนวตั้งของแตละชั้ยอายุ แสดงความแตกตางทางสถิติที่ระดับ ความ เชื่อมั่น 95% โดย Duncan’s Multiple Range Test. 2. ตัวเลขในวงเล็บคือเปอรเซ็นตของทั้งหมด

316


การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญ อายุ 7-10 ป ที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

ตารางที่ 5 องคประกอบของธาตุอาหารหลักของซากพืชสวนที่เปนใบของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกใน พื้นที่ผาน การทํานากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี (หนวย: เปอรเซ็นต) ธาตุ

อายุ 7 ป 0.35 0.03 0.33 1.39 0.52

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม

อายุ 8 ป 0.41 0.03 0.60 1.32 0.48

อายุ 9 ป 0.38 0.02 0.53 1.23 0.49

อายุ 10 ป 0.42 0.03 0.63 1.49 0.42

ตารางที่ 6 ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากผลผลิตซากพืชของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่ผานการท นากุง อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี (หนวย: กิโลกรัมตอไร) ธาตุ

อายุ 7 ป 5.02 0.43 4.73 19.93 7.46

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม

อายุ 8 ป 4.78 0.35 7.00 15.40 5.60

อายุ 9 ป 6.74 0.35 9.39 21.80 8.69

อายุ 10 ป 9.31 0.67 13.97 33.04 9.31

ตารางที่ 7 องคประกอบของคารบอนของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอ ดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี (หนวย: เปอรเซ็นต) อายุ (ป) 7 8 9 10 เฉลี่ย

ลําตน 46.37 47.96 47.14 46.94 47.10

กิ่ง 47.11 46.81 46.81 47.12 46.96

ใบ 48.38 48.29 46.61 47.78 47.77

รากบนดิน 44.88 46.77 46.92 44.55 45.78

รากใตดิน 39.78 42.52 40.63 38.66 40.40

รวม 45.30 46.47 45.62 45.01 45.60

ตารางที่ 8 การเก็บกักคารบอนของของไมโกงกางใบใหญที่ปลูกในพื้นที่ผานการทํานากุง อําเภอดอน สัก จังหวัดสุราษฎรธานี (หนวย: ตันตอไร) อายุ (ป) 7 8 9 10

ลําตน 1.46 1.82 2.82 5.76

กิ่ง 1.05 1.28 2.09 4.87

ใบ 0.70 0.82 1.14 1.78

รากบนดิน 1.83 2.24 3.33 5.16

รากใตดิน 0.77 0.93 1.22 1.43

รวม 5.80 7.09 10.61 18.99

317


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

318


Â

Nypa palm : A potential alternative source for bioethanol N. Matsui 1*, N. Bamroongrugsa 2, K. Morimune 3, H. Miyasaka 4, Y. Okimori 5 1,5

Department of Environment, Kanso Technos Co., Ltd., Osaka 541-0052, Japan Marine and Coastal Resource Institute ,Princes of Songkla University, Hat Yai, Songkla 90110 Thailand 3,4 Power Engineering R&D Center, The Kansai Electric Power Co.,Inc, Kyoto 609-0237, Japan

2

Abstract Potential use of nypa sap (Nypa fruticans .Wurmb) as bioethanol was examined from the collected monitoring data in nypa plantation sites located at Khanap Nak, Nakhon Sri Thammarat, Thailand. Approximately 60 harvestable peduncles are producing sap in one rai (40 x 40 m) out of 2,000 peduncles. Thirty two sap producing peduncles out of 5 nypa plantation sites were monitored in terms of sap volume, sugar content and harvesting duration. Sap sugar content measured from 679 saps was quite stable with the averaged value of 20.1 %. Harvest duration and daily/total sap volume changed considerably depending on peduncle conditions and site. Average values of harvesting duration and of daily collected sap volume were 30 days and 589 ml, respectively. Taking these into the account, annual bioethanol production in nypa was estimated to be 4,011 L/ha, representing as high as that of sugarcane. Although the production cost of nypa bioethanol is not yet calculated, nypa is likely to be quite competitive as bioethanol crop comparing to other crops. Besides this, nypa has an advantage that it can grow in saline soils. Considering that vast area in Thai coastal zone which is abandoned because of salt problems, nypa could be promising as rehabilitative and profitable plant in those areas. Keyword: nypa sap, sap production, Nypa fruticans, bioethanol, energy plant Introduction Nypa palm (Nypa fruticans Wurmb) grows in brackish water, and is the only palm considered to be a mangrove (Tomlinson, 1986). Nypa palms produce large quantities of a sugar-rich sap that can be used for ethanol production. In South-East Asia, there is a long tradition (hundreds of years) of using palm sap obtained by tapping the inflorescence stalks (peduncles) as a source of molasses. To obtain the sap, the infructescence (fruit stalk or mature peduncles) is normally selected and chopped off. To ensure sap flow the cut surface of the peduncle should be renewed, ""shaved"", by slicing 1-2 mm off, twice a day. A bamboo or another container is hung or tied to the peduncle to collect the sap. The duration of sap tapping depends on the length of the peduncle and sap flow also depends on peduncle preparations (Bamroongrugsa et. al 2004). In additions, People has long been utilizing Nypa in various ways, thatch, cigarette leaf as direct use and vinegar, sugar, alcohol by processing sap. To date, sugar production from nypa sap is not well known comparing to other uses possibly because of some skills needed to stimulate sap flow are required. Except for palms, only Acer sacccharum and Agave americana can produce enough sap to the level human beings practically can use.


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

There has been increasing demand of fuels according to modernization of society and motorization. On the other hand, global warming becomes key issue in environmental problems. Therefore, reducing consumption of fossil fuels replaced by biofuels is now becoming major issue in many countries. Bioethanol in Thailand is now almost made from sugarcane/molasses and cassava. These crops are export products so that they easily become shortage because of an increasing demand in international market. In reality, it is hardly possible to keep utilizing these materials to produce bioethanol without subsidizing. Such a situation forces us to seek for another resource for bioethanol, and here nypa appears up as the great candidate. Limited number of studies has conducted on this aspect of nypa. This is because not many places are known to harvest sap and make sugar. Fortunately, the place we study is one of such a few places wherein farmers have engaged in nypa sap collection for centuries. We have been conducting a series of studies here to examine nypa stands in terms of ecology, forestry, and agriculture. In this study, we examined potential use of nypa as bioethanol feedstock based on nypa sap monitoring. Methods Research location This study was conducted in Khanap Nak, Pak Phanang district, Nakhon Sri Thammarat, Thailand. Nakhon Sri Thammarat having the population of 105,417 (as of 2005) is located in about 600 km south from Bangkok. Khanap Nak is located further down to the south from the city by the distance of one hour driving. According to the study conducted by Walailak University and Thailand Research Fund in 2004 , out of 4,095 hectares of Nypa forest in Nakorn Srithammarat, approximately 800 ha of nypa forests existed in this village and 30 families out of 953 families engaged in Nypa production. Measurement of number of peduncle and counting of inflorescence by growing stages The plot with the size of 20 x 20 m was established at the four nypa plantation sites. To calculate number of peduncles, we have numbered all peduncles inside the plot. Number of inflorescence also was counted by different growing stages (Fig. 1). Measurement of nypa sap At the four nypa plantation sites, 3 or 4 sap producing peduncles at each site were selected to monitor sap production. Sap was collected every morning between July and November 2010 and measured volume and sugar content with the refractometer (Kyoto electronics manufacturing Co., Ltd., Japan). Sap monitoring started when farmer initiates sap collection and ended when they stop collecting. Duration of sap collection was quite variable from less than 10 days to over 60 days.

320


 Nypa palm : A potential alternative source for bioethanol

Calculation of bioethanol production from nypa sap Based on information we collected from nypa sap monitoring and interviewing out the farmers, we calculated expected bioethanol production from nypa sap. Most of information used in the calculation was collected from this study except those for the ratio from sugar to alcohol. Assuming that its ratio in nypa would resemble to molasses, we adopted the ratio presented in molasses (Kato, N. et al. 2007) to the calculation. Results and Discussion 1. Characteristics of nypa plantation In order to understand growing conditions of nypa plantation, 20 x 20 m plot was made at the respective nypa plantations. Then the number of shoot and peduncle were counted. Table 1 shows the results of the counting. Except for Pakdee plantation, other plantations have almost similar number of peduncles which is around 500, being equivalent to 12,500 per 1 ha. Inflorescence (peduncle) is the organ from which sap comes out. More sap production can be expected with more number of peduncles. Among four farmers, Kovit plantation has more peduncles in contrast to low number of peduncles in Sompong plantation (Table 2). As is seen later (Table 3), sugar production is much higher in Kovit than Sompong plantation. These would tell that a nypa stand having more number of peduncles could be more productive. As further task, we should study what environmental factors control growths of peduncles through which we could learn better management for enhancing sap production.

Table 1 Number of shoots and peduncles in 20 x 20 m at respective nypa plantation Kovit Shoot Peduncles 514 (Kovit's shoot is blank since it is not distinguishable)

Farmer's name Pakdee Bumchay 83 73 397 520

Sompong 94 480

Table 2 N umber of different stages of inflorescens in 20 x 20 m plot Farmer's name Em ergence Grow ing stage Flow ering Fruiting

Â

K ovit

Pakdee

B um chay

Sompong

16 1 11 18

0 6 4 15

1 5 5 22

0 4 4 11

321


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

1. Emergence of inflorescence

2. Growing stage

3. Flowering

4. Fruiting

Figure 1 Different stage of inflorescences 2. Sap production Sap was collected every morning from July 2010 to November 2010 and measured its volume and sugar content. Total number of measurement was 679 times, and the average value of sap sugar content was 20.1 % with 2.4 of the standard deviation. Low value of the standard deviation indicates sugar content of nypa sap is quite stable. It is however necessary to measure at different time of the year in order to know whether sugar content is stable all year around or not. Sap production was monitored from the starting of sap collection until the end of collection. From the monitoring on 32 peduncles, it became relevant that duration of sap production ranged from 7 to 67 days with the averaged value of 31 days. Large difference in sap production period in this study may have attributed to physical condition of nypa plantation such as flooding, operational condition like a shortage of labor, and/or to plant condition of nypa. Same as sap production period, daily sap production and also total sap production differed among plantation sites (Table 3) with the highest value in Kovit plantation and the lowest in Sompong plantation. Difference in sap production of the highest and the lowest is over three times. Thus, it should clarify the reasons why such a difference arises. Currently, we have been studying environmental conditions which may affect sap production, and plan to be published about this soon.

322


Nypa palm : A potential alternative source for bioethanol

Table 3 Conditions of the studied nypa plantation (as of September 2010) Farmer name

Plantation age

Mean shoot height

Daily sap production in a single peduncle

Total sap production in a single peduncle

Average days of sap production

yr

cm

ml/day

ml/frond

day

Kovit

10

684.8

1,047

38,738

37

Bumchay

40

602.9

458

14,535

34

Sompong

100

540.3

295

9,642

31

Yong Yot

100

650.9

805

27,565

32

3. Calculation of bioethanol production Conditions for calculating bioethanol production from nypa sap are obtained in this study, they are sap production volume per peduncle, number of sap producing peduncles and sugar content of nypa sap. By referring bioethanol conversion ratio in molasses, we concluded that nypa plantation produces 4,011 L/ha bioethanol annually (Table 4). Comparing to other bioethanol crops, this figure is close to that of sugarcane. So far, we still do not yet know about the production cost of nypa bioethanol. Not like other crops, nypa normally doesn’t require fertilizers and nypa is long-lived plant which doesn’t need replanting for a long time. These will lower the production cost, however harvesting sap in nypa is still carried out by hands. This will increase the cost. If mechanical harvesting is introduced, this will solve the problem and lower the cost. Table 4 Estimation of bioethanol production from nypa sap Daily sap production (L/peduncle x day) 0.589

Conditions

From the last year's monitoring resutls

Yearly sap production (L/peduncle x year)

Sugar production (kg/peduncle x year)

Estimated ethanol production* (L/peduncle x year)

Number of tappable peduncle per rai

Estimated ethanol production (L/ha x year)

215.0

43.0

10.7

60

4011

100L of sap produce 20kg all year around of sugar (from the monitoring results)

Apply same condition as molasses in which 1 ton molasses produce 250 L of ethanol.

*

utilize the conversion ratio of Kato, N. et al. 2007.

323


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน” 7,000 6,000

Sugarcane (Thailand)

Sugarcane (Brazil)

Ethanol yield(L/ha)

5,000

Nypa

4,000

Sugar beet

3,000

Corn

2,000 1,000

Rye Wheat

0 -5.0 0.0 -1,000

Sweet potato

Rice

5.0

10.0

15.0

20.0

25.0

30.0

35.0

40.0

45.0

Production cost (Baht/L)

Figure 2

Expected bioethanol production from nypa sap and comparison with other crops (Size of the circle signifies production volume in the world as of 2003 )

Conclusion Nypa was shown to have great potential to produce bioethanol as much as over 4,000 L/ha in yearly basis. Sap sugar contents of 679 measurements were almost the same as with the averaged value of 20.1 %. On the contrary, sap volume was extremely changeable depend on inflorescence or peduncle conditions and plantation site. By identifying environmental or operational factors to influence sap production, it would lead to enhancement of sap/sugar production. Moreover, amelioration of saline waste lands in coastal zones by planting nypa should be promising since nypa is tolerant to salinity and profitability in making bioethanol, References Bamroongrugsa, N., Purintavarakul, C., Kato, S. 2004. Production of sugar – Bearing sap from nipa palm in Pak Phanang, Basin. Southern Thailand. Bull. Soc. Sea Water Sci. Jpn, 58: 304-312 Kato, N., Takenaka, K., Okada, M. 2007. Development and policy trend of sugar, bioethanol industry in Thailand (in Japanese) Agriculture & Livestock Industries Corporation Shapouri (2002)The energy balance of corn ethanol: An update FAOSTAT(2003), http://faostat.fao.org/ .USDA (2002), 'USDA's 1998, Ethanol cost of production survey' Agricultural Economic Report, No. 808. Tomlinson, P.B.(1986) The botany of mangroves. Cambridge University Press.413 pages. Acknowledgement This study was conducted with the help and generosity of local nypa farmers in Khanap Nak., Pak Phanang district in Nakorn Sri Thammarat Province, Thailand. We would like to express thankfulness to them, and sincerely hope to have continuous support from them on the current and further nypa study.

324


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน Biology of Achaea janata in Mangrove Forest

วิชัย สมรูป สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 120 หมู 3 อาคารรวมหนวยราชการ ชั้น 5 แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 บทคัดยอ การศึกษาชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ไดดําเนินการเก็บหนอนหลนที่ไดจากปาชายเลน ตําบลปากแพรก อําเภอสวี จังหวัดชุมพร มาเลี้ยงในกรงตาขายที่ภายในมีตนตาตุมซึ่งเปนพืชอาหาร ของหนอนหลน จนกระทั่งเปนตัวเต็มวัยและวางไข เพื่อใหทราบวงชีวิต ทําการสังเกตและบันทึกการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ขนาด ในแตละระยะที่เปนตัวหนอน รวมถึงศึกษาปจจัยแวดลอมที่กอใหเกิด การปรากฏของหนอนหลนในสภาพธรรมชาติ เชน อุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน ฤดูกาล โดยการสอบถาม จากภูมิปญญาทองถิ่นเปรียบเทียบกับขอมูลกรมอุตุนิยมวิทยาในทองที่ และไดทําการศึกษาคุณคา ทางโภชนาการของหนอนหลนที่ นํ า ไปบริ โ ภค และมู ล ค า ทางการตลาดของหนอนหลน รวมทั้ ง ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบตอระบบนิเวศปาชายเลน จากการศึกษาพบวา หนอนหลนที่อาศัยในปาชายเลนจะกินใบตาตุมเปนอาหารเพียงชนิดเดียว แตเขาดักแดในใบไมหลายชนิดหรือบนดิน ระยะเวลาจากไขเปนตัวเต็มวัยประมาณ 25-28 วัน ปรากฏตัว ในชวงปลายฤดูฝนตนฤดูหนาวของทุกป คุณคาทางโภชนาการในน้ําหนักสด 100 กรัม มีปริมาณ โปรตีนสูงถึง 19.3 กรัม โดยที่มีปริมาณไขมันต่ําเพียง 5.3 กรัม และใหพลังงานเพียง 126 กิโลแคลอรี ระยะก อ นเข า ดั ก แด เ ป น ระยะที่ นิ ย มนํ า ไปบริ โ ภคมากที่ สุ ด และมี ร าคาจํ า หน า ยดี ที่ สุ ด โดยมี ร าคา จําหนายไดสูงถึงกิโลกรัมละ 500 บาท การสรางรายไดจากหนอนหลน ทําใหชุมชนไดใชประโยชนจาก ปาชายเลนและมีความหวงแหนทรัพยากรปาชายเลนมากยิ่งขึ้น คําสําคัญ: ผีเสื้อหลน, วงชีวิต, พฤติกรรม, มูลคาเพิ่ม, ตาตุม


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Study on biology of Achaea janata L. was carried out by collecting worm samples from mangrove forest, Tambol Pakprak, Amphoe Sawi, Chumporn province, and kept in net with a feeding mangrove tree, Excoecaria agallocha inside. Development of worm from egg till mature stage was notified to draw a life cycle of the moth. In addition environmental factors involved in present of A. janata were studied by interview of local people compared with weather data from local meteorological unit. Also nutrition and marketing value of readily eating pupae were analyzed. Positive and negative impacts of Achaea janata L. on mangrove ecosystem were investigated. The study revealed that the moth larvae living in mangroves feed only on E. agallocha but could transform to pupa stage in leaves of various mangrove plant species or on soil surface. Development from egg till a mature moth took approximately 25-28 days. The larvae presents during late rainy season to early autumn. Nutrition of readily eating pupa per 100 g delivers 19.3 g of protein and only 5.3 g of fat. Pre-pupa stage was suitable to consume with the price as high as 500 baht/kilogram. Income increased from A. janata larvae could promote mangrove conversation. Keyword: Achaea janata, life cycle, behavior, added value, Excoecaria agallocha

บทนํา ตัวหลนหรือหนอนหลน ตัวเต็ม วัยเปน ผีเสื้อกลางคืน ชนิดหนึ่ง พบไดทั่วไปในเขตรอ นและ เขตอบอุน โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตแปซิฟค ออสเตรเลียและเอเชีย (ชูเกียรติและนาค,2550) มีชื่อสามัญวา ผีเสื้อหนอนคืบละหุง (Achaea janata Linneous) มีเขตการกระจายพันธุคอนขางกวางขวาง และมีพืชอาหาร ที่หลากหลาย เปนแมลงศัตรูพืชทางการเกษตรที่มีความสําคัญ การปรากฏตัวของหนอนหลนในปาชายเลน เปนปรากฏการณธรรมชาติที่ชุมชนโดยรอบปาชายเลน ในจังหวัดชุมพร สุราษฎรธานีและนครศรีธรรมราชพบเห็นเปนเวลาชานาน แตเนื่องจากหนอนหลน กั ด กิ น เพี ย งใบตาตุ ม ซึ่ ง เป น พั น ธุ ไ ม ป า ชายเลนที่ ไ ม ค อ ยมี ค วามสํ า คั ญ ทางเศรษฐกิ จ จึ ง ไม ใ ห ความสําคัญแตอยางใด แตปจจุบันการปรากฏตัวของหนอนหลน ไดสรางมิติใหมของการใชปาชายเลน เปนแหลงรายไดเสริมแกครัวเรือนของชุมชนที่อาศัยอยูโดยรอบ โดยการนําหนอนหลนมาปรุงเปน อาหารวางสําหรับรับประทาน คลายคลึงกับการที่ประชาชนในเขตภาคเหนือนิยมรับประทาน “หนอน รถดวน” ราคาจําหนายหนอนหลนในสภาพพรอมบริโภคมีราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 500 บาท กอใหเกิด รายไดกับชุมชนรอบ ๆ ปาชายเลนเปนอยางมาก ในป พ.ศ. 2553 มีเงินหมุนเวียนในการซื้อขายหนอนหลน และดักแดหลน ทั้งในจังหวัดชุมพร สุราษฎรธานีและนครศรีธรรมราช มากกวา 10 ลานบาท ความตองการหนอนหลนในทองตลาดมีคอนขางมาก แตการปรากฏของหนอนหลนในแตละป กลับมีไมสม่ําเสมอ บางปมีจํานวนมาก บางปมีจํานวนนอย แตในปที่มีหนอนหลนปรากฏเปนจํานวนมาก รายไดของชุมชนที่ไดจากการจําหนายหนอนหลน เปนสิ่งที่มิอาจมองขามได การที่สํานักอนุรักษ 326


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

ทรัพยากรปาชายเลนจะใหความสนใจ ศึกษาถึงวงชีวิต พฤติกรรม คุณคาทางโภชนาการ และปจจัย สิ่งแวดลอมตางๆ ที่มีผลตอการปรากฏของหนอนหลน เพื่อสงเสริมใหเกิดการนําหนอนหลนไปใช ประโยชนใ นการสรา งมูล คา เพิ่ม ทั้ง ในดา นการบริโ ภคและการคา ขาย ก็จ ะเปน การสรา งกระแส การอนุรักษและหวงแหนปาชายเลนของชุมชนอยางมั่นคงอีกทางหนึ่ง วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาชีววิทยาของหนอนหลน 2. เพื่อหาแนวทางสงเสริมการคาขายหนอนหลน ใหเปนรายไดเสริมควบคูไปกับการอนุรักษ ทรัพยากรปาชายเลน 3. เพื่อศึกษาผลกระทบทางบวกและทางลบของการปรากฏของหนอนหลน ตอระบบนิเวศ ปาชายเลน วิธีดําเนินการ สถานที่ศึกษา 1. ดําเนินการศึกษาชีววิทยาของหนอนหลนในพื้นที่ปาชายเลน ทองที่ตําบลปากแพรก อําเภอ สวี จังหวัดชุมพร 2. การสอบถามราคาตลาด รูปแบบการรับซื้อและปริมาณที่ตลาดมีความตองการ ดําเนินการใน ชุมชนบริเวณปาชายเลนจังหวัดชุมพร สุราษฎรธานีและนครศรีธรรมราช การเก็บขอมูล 1. ทําการสํารวจหนอนหลนในพื้นที่ปาชายเลน ตําบลปากแพรก อําเภอสวี จังหวัดชุมพร โดยสอบถาม ขอมูลจากชาวบานที่พบการปรากฏของหนอนหลน ทํา การเก็บตัวอยางหนอนหลน และนํามาเลี้ยงในกรงตาขาย ขนาด 2 x 2 x 2 เมตร ที่มีตนตาตุมและไมปาชายเลน ชนิดอื่นขึ้นอยูภายใน ดังรูปที่ 1 2. ศึ ก ษาชี ว วิ ท ยาของหนอนหลน โดยการนํ า หนอนหลนที่เลี้ยงในกรงปดตาขายบริเวณที่มีตนตาตุม ซึ ่ง เปน พืช อาหารของหนอนหลนและไมป า ชายเลน รูปที่ 1 กรงเลี้ยงหนอนหลน ชนิด อื่น เพื่อ ใชใ นการเขาดัก แด มาศึก ษาการพัฒ นา การเปลี่ ย นรู ป ร าง และขนาดของตั ว หนอน ตั้ ง แต อ อกจากไข จ นกระทั่ ง เป น ตั ว เต็ ม วั ย และวางไข นอกจากนี้ศึกษาพฤติกรรมการกินอาหาร การลอกคราบและการเขาดักแด

327


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

3. ศึกษาลักษณะสภาพแวดลอมที่สงเสริมใหมีการปรากฏของตัวหลนมากที่สุดในสภาพธรรมชาติ 4. ศึกษาคุณคาทางโภชนาการของหนอนหลนที่นําไปบริโภค โดยการสงตัวอยางหนอนหลน สภาพพรอมบริโภคไปทําการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ 5. ศึกษามูลคาของหนอนหลนจากการสอบถามในชุมชนและราคาในทองตลาด 6. ศึกษาผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบของการเก็บหนอนหลนในเชิงพาณิชย ตอระบบนิเวศ ปาชายเลน ผลการศึกษา วงชีวิตของหนอนหลน จากการเก็ บ ตั ว อย า งหนอนหลน จากตนไมปาชายเลน ในปาชายเลนทองที่ ตําบลปากแพรก อําเภอสวี จังหวัดชุมพร นํามาเลี้ยงในกรงปดตาขายบริเวณที่มีตน ตาตุมซึ่งเปนพืชอาหารของหนอนหลนและ ไม ป า ชายเลนชนิ ด อื่ น เพื่ อ ใช ใ นการเข า ดักแดพบวงจรชีวิตของหนอนหลน ดังนี้ รูปที่ 2 หนอนหลนระยะแรกหรือมีอายุประมาณ 4-6 วัน ระยะไข ไขหนอนหลนมีสีเขียวออนถึงเขียวเขม รูปรางคอนขางกลม (Semispherical) ขนาด 0.8 มิลลิเมตร อาจจะวางเปนฟองเดี่ยว ๆ หรือวางเปนกลุม บนใบตาตุม (Excoecaria agallocha) ซึ่งเปนพืชอาหาร หรือใบพืชที่อยูใกลเคียง ซึ่งจะฟกเปนตัวหนอนภายใน 2-3 วัน ระยะตัวหนอน หนอนที่ ฟ ก ออกมาจากไข จ ะเริ่ ม กิ น ใบตาตุ ม โดยมี ร ะยะที่ เ ป น หนอน 12-15 วั น ตั ว หนอน ระยะแรกจะมีสีเหลือง-น้ําตาลออนหรือสีเทา (รูปที่ 2) ระยะตอไปจะมีสีเขมขึ้น จนเมื่อโตเต็มที่จะมีสี น้ําตาลเทา-น้ําตาลดํา

328


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

รูปที่ 3 หนอนหลนระยะที่ 3 และ 4 ลําตัวมีสีเขมขึ้น

รูปที่ 4 ลักษณะการ “คืบ” ของหนอนหลน

รูปที่ 5 หนอนหลนกอนเขาดักแด

(รู ป ที่ 3) ระยะตั ว หนอนมี 6 ระยะ (stage) สั ง เกตได จ ากการพั ฒ นาของสี แต ล ะ ระยะใชเวลาประมาณ 2 วัน ระยะสุดทายใชเวลา ประมาณ 4 วั น ตั ว หนอนทุ ก ระยะแทะกิ น ใบ ตาตุมไดเปนจํานวนมาก ความสั้น-ยาวของแต ละระยะขึ้นอยูกับปริมาณอาหาร ตัวหนอนที่อยู บนต น ตาตุ ม ที่ มี จํ า นวนใบน อ ย จะใช เ วลาใน ระยะตัวหนอนยาวนานกวาตัวหนอนที่อาศัยอยู บนตนตาตุมที่มีใบสมบูรณเปนจํานวนมาก ตัวหนอนมีการเคลื่อนที่แบบ “คืบ” ทําให ผูที่เห็นอาจเขาใจผิดวาอยูในวงศของผีเสื้อหนอนคืบ (Geometridae) เนื่องจากตัวหนอนเวลาเคลื่อนที่ ใชขาคูหนายึดเกาะกับพื้น ยกตัวทอนกลางขึ้นสูง (รูปที่ 4) (คณะเกษตร ภาควิชากีฎวิทยา,2549) และเคลื่อนลําตัวสวนทายตามไป เปนจังหวะอยาง ตอเนื่อง เวลาตกใจหรือมีศัตรู ตัวหนอนจะยืดตัวตรง อยูนิ่งเฉยเปนเวลานานเพื่อพรางตัว โดยที่ตัวหนอน มักมีสีและลวดลายใกลเคียงกับพืชอาหาร แตถา ศัต รูห รือสิ่ง รบกวนเขา มาใกลมากขึ้น หนอนจะ ทิ้งตัวลงจากใบไมลงสูพื้นดิน ซึ่งอาจเปนที่มาของ ชื่อหนอน (หลน = หลน ในภาษาใต) ตั ว หนอนมี ลั ก ษณะเฉพาะ สามารถแบ ง ออกเปน 3 สวนไดชัดเจน คือ สวนหัว (head) 1 ปลอง สวนอก (thoracic segment) 3 ปลอง และสวนทอง (abdominal segment) 10 ปลอง มีขาจริง 3 คู ที่ ชี้ชัดวาอยุในวงศของผีเสื้อหนอนกระทู (Noctuidae) เนื่องจากวงศผีเสื้อหนอนคืบ มีขาจริงเพียง 2 คู มี ขาเทียม (Proleg) 4 คู ที่ปลองที่ 8 9 10 ของสวน ทอง และที่ปลายสุดของลําตัวอีก 1 คู ตัวหนอนที่ โตเต็มที่กอนที่จะเขาสูระยะดักแด ลักษณะเดนคือ 329


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

มีลายเสนสีที่ตัดกับสีของลําตัวทั้ง 2 ดาน และมีจุดสีขาว 4 จุด บนสวนหัว ตัวหนอนระยะนี้จะมีความ ยาวประมาณ 1.5 - 2 นิ้ว มีขนาดเสนผานศูนยกลางของลําตัวประมาณ 1/5 นิ้ว เมื่อตัวหนอนพรอมจะ ลอกคราบครั้งสุดทาย จะหยุดกินอาหาร และขนาดความยาวของลําตัวจะลดลง (รูปที่ 5) ซึ่งระยะนี้ชาวบาน จะเรียกวา “คอมา”

รูปที่ 7 หนอนหลนเขาดักแดในรังที่หอดวยใบโปรง

รูปที่ 6 หนอนหลนกินเฉพาะใบตาตุมเทานั้น

รูปที่ 8 หนอนหลนเขาดักแดในรังที่หอดวยชะคราม

ระยะดักแด เนื่องจากตัวหนอนกินใบตาตุมเปนจํานวนมาก จนตนตาตุมแทบจะไมมีใบหลงเหลืออยูเลย (รูปที่ 6) ดังนั้น เมื่อเขาสูระยะดักแด ตัวหนอนจํานวนมากจะโรยตัวลงสูไมพื้นลางโดยชักใยสีขาวคลาย ใยไหม แตบางสวนจะไตกลับขึ้นไปบนตนไมที่อยูขางเคียง และหอตัวบนใบไมปาชายเลน ไมพื้นลาง เชน โปรง ถั่ว โพธิ์ทะเล เปง ปรง ขลู ชะคราม ถอบแถบ สํามะงา รวมทั้งเศษไมใบไมและขอนไมพุ โดยจะสรางรังที่หอใบไมติดกันไวหลวม ๆ (รูปที่ 7) สวนตัวหนอนที่อยูบนดินจะสรางรังจากดิน วัชพืช และเศษซากไมปาชายเลน (รูปที่ 8) ตัวหนอนที่เขาดักแดบนดินเหลานี้ ถาน้ําขึ้นทวมพื้นที่ดังกลาว ก็ จะถูกพัด พาไป ทําใหเกิดความสูญ เสียเปน จํานวนหนึ่ง ดักแดหนอนหลนมีสีน้ําตาลแดง รูปคลาย กระบอง ยาวประมาณ 1.5 นิ้ว เสนรอบวงสวนที่กวางที่สุดประมาณ 1.6 นิ้ว (รูปที่ 9) หลังจากหนอนหลน 330


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

เขาดักแด 8-13 วัน ก็จะกลายเปนตัวผีเสื้อ อุณหภูมิมีผลตอระยะเวลาการเขาดักแดของหนอนหลน อุณหภูมิสูงจะทําใหระยะเวลาการเขาดักแดสั้นลง

รูปที่ 9 ดักแดหนอนหลน

รูปที่ 10 ตัวเต็มวัยผีเสือ้ หนอนหลน

ระยะผีเสื้อ ตัวเต็มวัยของหนอนหลนคือผีเสื้อหนอนคืบละหุง ชนิดที่อาศัยในปาชายเลน ลําตัวยาวประมาณ 5/8 นิ้ว ปกคูหนา (Forewings) สีน้ําตาลเทา มีลวดลายเปนเสนสีดําและมีแถบสีเทา และมีสีเขมขึ้น บริเวณปลายปก สวนปกคูหลัง (Hindwings) สีเทาดํา มีลายสีขาวบริเวณกลางปก และมีจุดดําบริเวณ ขอบปก (รูปที่ 10) เมื่อกางปกออกกวางประมาณ 1.5 - 2 นิ้ว ผีเสื้อตัวเต็มวัยดํารงชีพโดยการดูด น้ําหวานจากเกสรดอกไมปาชายเลน ตัวเมียจะเริ่มวางไขหลังจากลอกคราบครั้งสุดทายเปนตัวเต็มวัย แลว 3-5 วัน ตลอดชวงชีวิต ผีเสื้อตัวเมียหนึ่งตัวสามารถวางไขได 400-600 ฟอง การปรากฏตัวของหนอนหลน พบในชวงปลายฤดูฝนตอเนื่องกับตนฤดูหนาวของทุกป รวมระยะเวลาที่ชาวบานจะพบเห็นและเก็บหาหนอนหลนประมาณ 3 เดือน คือตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ในพื้นที่ที่มีปริมาณหนอนหลนจํานวนมาก ตนตาตุมบริเวณนั้นจะโดนกัดกินใบ ทั้งหมดเหลือแตกิ่งกาน (รูปที่ 11) และเมื่อตัวหนอนเริ่มเขาหอตัวในใบไมปาชายเลนขณะนั้นใบก็ยังคง สดอยู แตเมื่อระยะเวลาผานไปจนกระทั้งหนอนเขาดักแดสมบูรณแลวใบไมที่หออยูนั้นก็จะมีสีที่เขมขึ้น ก็อาจเปนการสังเกตไดวาหนอนไดเขาดักแดสมบูรณแลว เปนที่งายตอการสังเกตของชาวบานที่ ออกมาเก็บ หาหนอนหลนในแตล ะระยะ จากการสอบถามชุม ชนปา ชายเลนในจังหวัดชุม พร และ สุราษฎรธานี พบวาในป พ.ศ. 2551 และ 2552 มีปริมาณหนอนหลนไมมากนัก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก มีปริมาณน้ําฝนนอยในชวงเวลาดังกลาว แตในป พ.ศ. 2553 พบวามีการปรากฏของหนอนหลนเปน จํานวนมาก ชาวบานที่เก็บหาหนอนหลนเชื่อวาเนื่องจากมีปริมาณฝนมากในชวงเดือนพฤศจิกายน ตอเนื่องถึงเดือนธันวาคม (ตารางที่ 1 และ 2) และมีจํานวนวันที่มีหมอกตอเนื่องหลายวัน ทําใหมีการ ปรากฏของหนอนหลนตั้งแตปลายเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ใหชุมชนเก็บเกี่ยวเปนจํานวนมาก

331


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ถึง 3 รอบ ชวงเวลาการเก็บหาหนอนหลนจึง เปนสวนหนึ่งของภูมิปญญาทองถิ่น ชุมชน ปาชายเลนที่เก็บหนอนหลนจําหนายทราบวา การปรากฏของหนอนหลนมีความสัมพันธกับ ปริมาณน้ําฝนและอุณหภูมิในชวงปลายฤดูฝน โดยที่ปใดมีฝนตกชุกและตอเนื่องอากาศเย็น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สภาพที่ มี ห มอกจางๆ ในช ว งปลายฝนต น หนาว หรื อ ช ว งเดื อ น พฤศจิ กายน – มกราคม อุ ณหภูมิ ที่เหมาะ รูปที่ 11 บริเวณที่มีหนอนหลนจํานวนมาก ตนตาตุมจะไมมี ประมาณ 19 – 22 องศาเซลเซียส จะทําให ใบเหลืออยูเลย เกิดการปรากฏของหนอนหลนจํานวนมาก สวนในปที่อากาศมีความแหงแลง ฝนตกนอยและอุณหภูมิระหวางเดือนผันแปรไปมา ปริมาณหนอนหลน จะมีคอนขางนอย ไมคุมคาตอการออกไปเก็บหา ความสัมพันธกับตนตาตุม หนอนหลนกินใบตาตุมแตเพียงชนิดเดียว และจะเลือกกินใบที่ออนถึงเพลาด แตจะไมลงกินตนตาตุม ที่เพิ่งผลัดใบ ลักษณะการกินอาหารจะกัดกินทั้งใบ รวมทั้งเสนกลางใบ เหลือเพียงตาใบที่ปลายยอดเทานั้น (รูปที่ 12) เปนที่สังเกตวาการปรากฏของหนอนหลนมีความสัมพันธกับการผลัดใบของตาตุม ซึ่งจะทิ้ง ใบในชวงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ ทําใหตนตาตุมไมไดรับความเสียหายจากการกัดกินของหนอนหลน มากนัก เนื่องจากตองผลัดใบเกาทิ้งอยูแลว ตารางที่ 1 ปริ ม าณน้ํา ฝนและอุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย ในพื้ น ที่ อํา เภอสวี จั ง หวั ด ชุ ม พร ระหว า งเดื อ น พฤศจิกายน-มกราคม ป พ.ศ. 2551 – 2553 (เดือนมกราคม เปนขอมูลของปถัดไป) เดือน\ป

2551 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ

พฤศจิกายน 15 23 ธันวาคม 0 20.1 มกราคม 0.7 19.5 ที่มา: สถานีตรวจอากาศเกษตรสวี อ.สวี จ.ชุมพร

332

2552 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ 12.3 2.3 2.1

22.7 22.2 22

2553 ปริมาณ น้ําฝน 29.1 7.8 2.5

อุณหภูมิ 22.9 22.3 22.1


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

ตารางที่ 2 ปริ ม าณน้ํา ฝนและอุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี ระหว า งเดื อ น พฤศจิกายน - มกราคม ป พ.ศ. 2551 – 2553 (เดือนมกราคม เปนขอมูลของปถัดไป) เดือน\ป

2551 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ

พฤศจิกายน 22.61 26.49 ธันวาคม 2.18 25.89 มกราคม 1.96 26.18 ที่มา: สถานีตรวจอากาศสุราษฎรธานี

2552 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ 5.08 2.56 3.06

27.45 26.95 25.45

2553 ปริมาณ น้ําฝน 22.16 8.98 1.71

อุณหภูมิ 26.19 26.69 26.93

คุณคาทางโภชนาการของหนอนหลน ระยะการพัฒนาของหนอนหลนที่นิยมนําไปใชบริโภค อยูในชวงที่หนอนตัวเต็มวัยหยุดกิน อาหาร พรอมที่จะเขาดักแด และระยะที่เปนดักแด จึงไดนําตัวอยางหนอนหลนและดักแดในสภาพ พรอมบริโภค สงวิเคราะหเพื่อหาองคประกอบและคุณคาทางโภชนาการสําหรับการบริโภค เพื่อเปน ขอมูลที่สําคัญในการประชาสัมพันธและใหความรูแกชุมชนที่เก็บหาหนอนหลน และสรางความเชื่อมั่น ของความปลอดภัยในการบริโภค รายงานผลการทดสอบตัวอยางหนอนหลนและดักแดในสภาพพรอม บริโภค ทําการวิเคราะหโดยสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผลการทดสอบดัง ตารางที่ 3

รูปที่ 12 หนอนหลนกินใบตาตุมทั้งหมด จนเหลือเพียงตายอดเทานั้น

333


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 3 แสดงผลการทดสอบคุณคาทางโภชนาการของหนอนหลน องคประกอบ ความชื้น (%) โปรตีน (%) (factor 6.25) ไขมัน (%) เถา (%) เสนใย (%) คารโบไฮเดรตทั้งหมด (%) พลังงานทั้งหมด (K cal/100 g) พลังงานจากไขมัน (K cal/100 g)

ปริมาณ

วิธีทดสอบ

TMC-02 In house method based on AOAC (2008) 925.45 19.28 TMC-3 Combustion Method : In house method based on AOAC (2005) 992.23 TMC-75 In house method based on AOAC (2005) 5.30 989.05 TMC-01 In house method based on AOAC (2005) 0.90 938.08 TMC-77 In house method based on AOAC (2005) 0.00 978.10 TMC-78 In house method based on AOAC (2005) 0.35 Cal. TMC-78 In house method based on AOAC (2005) 126.22 Cal. TMC-78 In house method based on AOAC (2005) 47.70 Cal. 74.17

ที่มา: สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อทําการศึกษาเปรียบเทียบพลังงานและองคประกอบหลักของแมลงที่กินได ในน้ําหนักสด 100 กรัมกับแมลงชนิดอื่นที่นิยมในการบริโภค (ตารางที่ 4) พบวาตัวหลนมีปริมาณโปรตีนคอนขางสูง ในขณะที่ไขมันมีปริมาณนอย จึงจัดวาเปนแหลงโปรตีนตามธรรมชาติที่ดี

334


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบพลังงาน โปรตีน ไขมันและคารโบไฮเดรตจากแมลงที่ประชาชนนิยมบริโภค แมลง

พลังงาน (กิโลแคลอรี่) โปรตีน (กรัม) ไขมัน (กรัม)

คารฺโบไฮเดรต (กรัม)

จิ้งโกรง

188

17.5

12.0

2.4

จิ้งหรีด

133

18.6

6.0

1.0

ดักแดไหม

152

14.7

8.3

4.7

ตั๊กแตนปาทังกา

157

27.6

4.7

1.2

ตัวออนตอ

140

14.8

6.8

4.8

แมลงกินูน

98

18.1

1.8

2.2

แมงปอง

130

24.5

2.3

2.8

หนอนไมไผ

9.2

20.4

2.5

เฉลี่ย

231 136

16.1

6.9

2.4

หนอนหลน

126

19.3

5.3

0.35

ที่มา: http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=&id=120 มูลคาของหนอนหลนในทองตลาด การปรากฏของหนอนหลนในระบบนิ เ วศป า ชายเลนจั ง หวั ด ชุ ม พร สุ ร าษฎร ธ านี และ นครศรีธรรมราช สรางรายไดใหแกชุมชนที่อาศัยโดยรอบปาชายเลนเปนจํานวนมาก จนกลายเปน กิจวัตรประจําวันที่ชาวบานเกือบทุกครัวเรือนตองออกหาหนอนหลน ในชวงที่มีปริมาณหนอนหลนมี จํานวนมาก ซึ่งชาวบานจะออกเก็บหาหนอนหลนกันทั้งวัน โดยอาศัยรถจักรยานยนตเปนพาหนะ เดินทางไปตามถนนซอยเล็กที่ผานใกลปาชายเลน และเดินเทาเขาปาไปเก็บหนอนหลน สวนใหญ ชาวบานจะเก็บหาหนอนหลนและดักแดบนตนไมเตี้ย ๆ หรือเก็บหนอนหลนที่เขาดักแดบนพื้นดิน แตมี บางสวนใชวิธีตัดตนไมหรือหักกิ่งกานเพื่อเก็บดักแด ระยะของหนอนหลนที่เปนที่นิยมหรือ เกรด A เรียกกันวาระยะ “คอมา” เปนลักษณะของหนอนหลนที่ขาและลําตัวหดสั้นลง พรอมที่จะเขาดักแด สวน หนอนหลนที่เขาดักแดแลวเรียกวา เกรด B จะมีมูลคาลดลงเล็กนอย ชาวบานอาจจะเก็บหนอนหลนที่ ใกลจะเขาดักแดมาเลี้ยง เพื่อใหเขาสูระยะ “คอมา” ซึ่งจะไดราคาสูงดี ดักแดหนอนหลนและหนอน ตัวเต็มวัย จะถูกนํามาทําความสะอาดในถาด (รูปที่ 13) เพื่อแยกเอาเศษใบไมและรังดักแดออก

335


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

รูปที่ 13 หนอนหลนและดักแดในถาดพรอมจําหนาย

รูปที่ 14 ชาวบานใชกระปองนมขนหวานในการตวง จําหนายดักแดหนอนหลน

จากนั้นดักแดและหนอนหลนจะมีสภาพพรอมจําหนายแกพอคาคนกลาง ที่จะเขามาหาซื้อใน หมูบานเปนระยะ ในจังหวัดชุมพร จะซื้อ-ขายหนอนหลนและดักแดหลนกันเปนกิโลกรัม โดยราคา จําหนายดักแด (เกรด B) กิโลกรัมละ 130 บาท ถาเปนระยะ “คอมา” จะไดถงึ กิโลกรัมละ 150 บาท สวนใน จังหวัดสุราษฎรธานี มีราคาจําหนายเฉลี่ยประมาณ 200 บาท ตอดักแดหนอนหลน ปริมาตร 1 กระปองนม (รูปที่ 14)

รูปที่ 15 หนอน(เกรด A) – ดักแดหนอนหลน (เกรดB) คั่ว

การบริโภคในครัวเรือน ดักแดหลนที่เหลือจากการจําหนาย จะถูกนําไปลางทําความสะอาดกอน นํามาลวกและคั่วในกระทะโดยไมใสน้ํามัน ใสเกลือในปริมาณที่พอเหมาะ ไมทําใหหนอนหลนคั่วเค็ม จนเกินไป (รูปที่ 15)

336


ชีววิทยาของผีเสื้อหลน (Achaea janata L.) ในปาชายเลน

ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบตอระบบนิเวศปาชายเลน หนอนหลนสามารถสรางมูลคาใหแกปาชายเลน แตก็อาจทําใหเกิดการบุกรุกทําลายปาชายเลน ไดเชนกัน ถาขาดการจัดการที่ดี ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบที่เกิดขึ้นจากการปรากฏของหนอนหลน สามารถสรุปไดดังนี้ ผลกระทบเชิงบวก - หนอนหลนเปนแหลงสรางงานและรายไดเสริมใหกับชุมชน เนื่องจากหนอน-ดักแด ราคา สูงถึงกิโลกรัมละ 500 บาท - ชาวบานที่สรางรายไดจากการเก็บหาหนอนหลน มีความตระหนักในมูลคาของปาชายเลน มากยิ่งขึ้น - พื้นที่ปาชายเลนที่มีหนอนหลน สวนใหญเปนปาชายเลนที่ดอน น้ําทวมถึงไมบอยครั้ง และมั ก อยู ติ ด กั บ ชุ ม ชน การปรากฏของหนอนหลน ทํ า ให ชุ ม ชนมี ค วามหวงแหน ทรัพยากรปาชายเลน และชวยปองกันการบุกรุกพื้นที่จากนายทุน ผลกระทบเชิงลบ - การเก็บหาหนอนหลน ชาวบานบางคนใชวิธีตัดกิ่งไม ตัดตนไม ทําใหปาชายเลนถูก ทําลาย - การเข าเก็ บหนอนหลน จะมีชาวบ านเดิ นอยูในปาชายเลนเปนจํานวนมาก เกิ ดความ เสียหายตอกลาไมและตนไมขนาดเล็ก - เปนสาเหตุใหเกิดการทะเลาะเบาะแวงในชุมชน เนื่องจากการแยงชิงพื้นที่เก็บหาหนอนหลน - ในชวงที่หนอนหลนมีปริมาณมาก เกิดการขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากการเก็บหาหนอนหลน ทํารายไดดีกวางานเกษตรและประมงชายฝง สรุปผลการศึกษา หนอนหลน อาศัยอยูในปาชายเลนตลอดวงชีวิต โดยในระยะที่เปนตัวหนอน จะกินใบตาตุมเปน อาหาร และเขาดักแดในใบไมปาชายเลนไดเกือบทุกชนิด ผีเสื้อตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนที่ออกหา กินน้ําหวานจากดอกไมในปาชายเลน ประชาชนที่อาศัยอยูรอบๆ ปาชายเลน โดยเฉพาะในเขตจังหวัด ชุมพร สุราษฎรธานี และนครศรีธรรมราช นิยมนําหนอนระยะกอนเขาดักแด และระยะดักแด มาลางให สะอาดปรุงใหสุกโดยการลวกแลวนําไปคั่วสําหรับการบริโภคและจําหนาย โดยที่หนอนระยะกอนเขา ดักแดจะไดราคาสูงกวาระยะดักแด อยางไรก็ตามการปรากฏของหนอนหลนมีไมสม่ําเสมอในแตละป เนื่องจากมีปจจัยทางดานสภาพภูมิอากาศ อุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน และฤดูกาล เขามาเกี่ยวของ หาก ปจจัยดังกลาวไมเหมาะสม ปริมาณหนอนหลนจะมีคอนขางนอย แตหากปใดเกิดการปรากฏของหนอนหลน จํานวนมาก และขาดการควบคุมและกฎกติกาที่ดี อาจสงผลใหเกิดการตัดตนไมและกิ่งไมปาชายเลน

337


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เพิ่มขึ้นเพื่อการเก็บหนอนหลนและดักแดหลนที่อาศัยอยู ซึ่งหากมีการทําลายมากเกินกวาสมดุลแลว ยอมกอใหเกิดผลเสียตามมา อยางไรก็ตาม การปรากฏตัวของหนอนหลนสรางมูลคาเพิ่มใหแกปาชายเลน เนื่องจากเปน แหลงรายไดเสริมที่มีมูลคาสูง ทําใหชุมชนเกิดความหวงแหนปาชายเลนที่แหลงอาหารของหนอนหลน โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณที่มีตนตาตุมขึ้นอยูมาก ซึ่งเปนที่ดอนดานหลังปาชายเลนติดกับพื้นที่ชุมชน และมั ก จะเป น พื้ น ที่ ล อ แหลมต อ การถู ก บุ ก รุ ก ถึ ง แม ว า การปรากฏของหนอนหลนจะก อ ให เ กิ ด ผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบแกปาชายเลน แตหากภาครัฐจะเขาไปชวยบริหารจัดการใหความรูแก ชาวบาน ลดผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นจากการเพิ่มประชากรของหนอนหลนในระบบนิเวศปาชาย เลนและวิธีการเก็บหา ผลดีก็จะมีมากกวาผลเสีย และเปนการใชทรัพยากรปาชายเลนที่คุมคา สราง จิตสํานึกดานการอนุรักษเพื่อใหปาชายเลนอยูในภาวะที่สมบรูณตลอดไป ขอเสนอแนะ การสรางมูลคาสูงสุดในทางเศรษฐกิจอยางแข็งแกรงควรจะมีงานวิจัยตอเนื่อง ในลักษณะของ การเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชยและสงเสริมใหเกษตรกรเพาะเลี้ยงเพื่อการคา ซึ่งจะกอใหเกิดแหลงรายได ใหมใหกับชุมชนตอไป นอกจากนี้ยังควรกําหนด กฎ กติกาในการเก็บหนอนหลน เพื่อปองกันมิใหเกิด ความเสียหายกับปาชายเลน

เอกสารอางอิง ชูเกียรติ อิถรัชด และ นาค โพธิแทน. 2550. หนอนคืบ. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เลมที่ 3. สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม, กรุงเทพมหานคร. 316 หนา. มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร คณะเกษตร ภาควิ ช ากี ฏ วิ ท ยา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ แ มลง. 2549. ผี เ สื้ อ . กรุงเทพมหานคร. 204 หนา. Bureau of Nutrition. 2006. http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php? group = &id=120

338


การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่ อาวทุงคา - สวี จังหวัดชุมพร Photosynthesis of Rhizophora mucronata Poir. in different stand ages at Tungka-Sawi Bay, Chumphon Province

สุธาทิพย อํานวยสิน1 ชนิตา ปาลิยะวุฒิ2 ศศิธร พวงปาน3 ทนุวงศ แสงเทียน4 1,2,3 4

ภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรุงเทพฯ 10210

บทคัดยอ ศึกษาการสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญในแปลงปลูกที่มีอายุตางกัน 4 ชั้นอายุ ไดแก 3, 5, 7 และ 9 ปบริเวณอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร โดยวัดอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุด stomatal conductance อัตราการคายน้ํา และคํานวณประสิทธิภาพการใชน้ํา (water use efficiency) ศึกษา ปจจัยสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับสมบัติของน้ําในดิน โดยวัดความเค็ม pH และปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา ทําการศึกษาในฤดูฝนและฤดูแลง ผลการศึกษาพบวาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดมีคาลดลง อยางมีนัยสําคัญเมื่อโกงกางใบใหญมีอายุเพิ่มขึ้น โดยโกงกางใบใหญอายุ 3 ป มีอัตราการสังเคราะห ดวยแสงสูงสุดมากที่สุดทั้ง 2 ฤดู คือ 14.11 และ 12.94 μmol m-2s-1 ในฤดูฝนและฤดูแลงตามลําดับ ขณะที่โกงกางใบใหญอายุ 7 และ 9 ป มีอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดไมแตกตางกันและมีคานอย ที่สุด คือ อายุ 7 ป มีคาเทากับ 11.71 และ 10.74 μmol m-2s-1 ในฤดูฝนและฤดูแลงตามลําดับ อายุ 9 ป มี ค า เท า กั บ 12.26 และ 10.96 μmol m -2 s -1 ในฤดู ฝ นและฤดู แ ล ง ตามลํา ดั บ ค า stomatal conductance มีคาลดลงอยางมีนัยสําคัญเมื่อโกงกางใบใหญมีอายุเพิ่มขึ้น ขณะที่อัตราการคายน้ําไม แตกตางกัน ประสิทธิภาพการใชน้ําจึงมีคาลดลง คุณสมบัติของน้ําในดินภายในฤดูกาลเดียวกันของ แปลงปลูกโกงกางใบใหญแตละอายุไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่ฤดูกาลมีผลตออัตรา การสังเคราะหดวยแสง จากการศึกษาพบวาความเค็มของน้ําในดินในฤดูฝนมีคานอยกวาในฤดูแลง สงผลใหในฤดูฝนโกงกางใบใหญมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดมากกวาในฤดูแลง เนื่องจากความ เค็มของน้ําในดินนี้เปนปจจัยที่สําคัญอยางหนึ่งตอการสังเคราะหดวยแสงของพืชในปาชายเลน จาก การศึกษาแสดงใหเห็นวาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันมีความ แตกตางกัน อีกทั้งฤดูกาลยังมีผลตอการสังเคราะหดวยแสงสูงสุด ขอมูลที่ไดสามารถนํามาใชเปนขอมูล พื้นฐานในการประเมินการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของโกงกางใบใหญ คําสําคัญ: การสังเคราะหดวยแสง, โกงกางใบใหญ, stomatal conductance, อัตราการคายน้ํา, ประสิทธิภาพการใชน้ํา


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The aim of this study was to investigate the photosynthesis of R. mucronata in 4 different stand ages which were 3, 5, 7 and 9 years old at Tungka-Sawi Bay, Chumphon Province. Maximum photosynthetic rate, stomatal conductance, transpiration rate and water use efficiency were measured in wet and dry season. The properties of soil water such as salinity, pH and dissolved oxygen were also measured. The results showed that, the rate of maximum photosynthesis significantly decreased with increasing ages. It was significantly different among stand ages (P < 0.05). Three-year old of R. mucronata showed the highest maximum photosynthetic rate in both wet and dry season which were 14.11 and 12.94 µmol m-2 s-1, respectively. On the other hand, the maximum photosynthetic rate of 7 and 9 years old showed no significant difference and had the lowest value in the both seasons. The rates obtained in 7 years old were 11.71 and 10.74 µmol m-2 s-1, respectively in wet and dry season, while those measured in 9 years old were respectively as 12.26 and 10.96 µmol m-2 s-1 in wet and dry season. Stomatal conductance also significantly decreased with increasing ages, but the transpiration rate was not different. Water use efficiency had decreased. We found that the properties of soil water especially salinity in dry season was higher than that in wet season, and the rate of maximum photosynthesis was lower in wet season. Therefore, the salinity in soil water affected the rate of maximum photosynthesis in a mangrove forest. This study indicated that the difference of photosynthetic rate in different stand ages was affected by the stand ages of R. mucronata and the salinity of soil water. The information of R. mucronata photosynthesis in this study can be applied to estimate the carbon dioxide sequestration by R. mucronata plantation. Keyword: photosynthesis, Rhizophora mucronata, stomatal conductance, transpiration rate, water use efficiency

บทนํา ปาชายเลนเปนสังคมพืชที่มีการกระจายตัวอยูตามแนวชายฝงทะเลและบริเวณปากแมน้ําที่มีสภาพ เปนดินเลนและมีน้ําทะเลทวมถึงสม่ําเสมอ พบมากในเขตรอนและเขตกึ่งรอน ปาชายเลนเปนแหลงผลิตขั้น ปฐมภูมิที่มีความสําคัญ โดยเปนแหลงอนุบาลและเพาะพันธุสัตวน้ํา เปนแหลงทรัพยากรทางธรรมชาติที่มี ความสําคัญทางดานเศรษฐกิจและมีบทบาทในการรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ (สนิท อักษรแกว, 2541) นอกจากนี้ปาชายเลนยังเปนแหลงกักเก็บคารบอนที่สําคัญ โดยปริมาณคารบอนทั้งหมดที่สะสมในปาชายเลน ทั่วโลกมีประมาณ 4.03x108 ตันคารบอน (Twilley et al., 1992; Clough, 1998) แตจากการลดลงของพื้นที่ปา ชายเลน ซึ่งเกิดจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษย ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศชายฝงทะเลโดยรวม ต อ มาได มี ก ารปลู ก ฟ น ฟู ป า ชายเลน โดยพั น ธุ ไ ม ที่ เ หมาะสมและปลู ก ได ดี จ ะเป น พั น ธุ ไ ม ใ นวงศ Rhizophoraceae เชน โกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ซึ่งมีการเจริญเติบโตคอนขางรวดเร็ว ใหผลผลิตสูง อีกทั้งยังสามารถเจริญในพื้นที่ปาชายเลนที่ถูกทําลายได (Sukardjo and Yamada, 1992; พูลศรี เมืองสง และสนิท อักษรแกว, 2540) ประโยชนจากการฟนฟูปาชายเลนนี้นอกจากจะเปนการไดกลับคืนและ รักษาสมดุลของระบบนิเวศแลว ยังเปนการเพิ่มพื้นที่ในการกักเก็บคารบอนอีกดวย โดยพืชจะดูดซับกาซ 340


การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่อาวทุงคา - สวี จังหวัดชุมพร

คารบอนไดออกไซดเพื่อใชในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง และเปลี่ยนใหอยูในรูปมวลชีวภาพเก็บไวในสวน ตางๆ ของพืช (Niu et al., 2007) การสังเคราะหดวยแสงของพืชในปาชายเลนมีการศึกษากันอยางกวางขวางทั้งในสภาพธรรมชาติ และเรือนทดลอง โดยสวนใหญเปนการศึกษาอัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืชปาชายเลนชนิดตางๆ กับ ปจจัยสิ่งแวดลอม ตัวอยางเชน ความเขมแสง พบวาความเขมแสงที่ทําใหอัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืช ในปาชายเลนมีคาสูงสุดอยูระหวาง 600-1000 μmol m-2s-1 (Atwill and clough, 1980) ความเค็มของน้ํา พบวา อัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของแสมทะเล (Avicennia marina) ที่เจริญเติบโตในสภาพธรรมชาติสูงขึ้น เมื่อความเค็มเพิ่มขึ้น (35‰) (Tuffer et al., 2001) แตในฝาดดอกขาว (Laguncularia racemosa) พบวาเมื่อ ความเค็ม สูงขึ้น (30‰) อัต ราการสัง เคราะหดวยแสงสุทธิข องฝาดดอกขาวที่เลี้ยงในเรือ นเพาะชํา ลดลง (Sobrado, 2005) นอกจากนี้ความแตกตางกันของฤดูกาลยังสงผลตอการสังเคราะหดวยแสงของพืชในปาชายเลน จากการศึกษาการสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญและโปรงแดงในเคนยา พบวาอัตราการสังเคราะห ดวยแสงสูงสุดของโกงกางใบใหญและโปรงแดงในฤดูฝนมีคาสูงกวาในฤดูแลง (Theuri et al, 1999) อยางไรก็ตาม จากการตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับการสังเคราะหดวยแสงของพืชในปาชายเลนไมพบ การศึกษาเกี่ยวกับอัตราการสังเคราะหดวยแสงของปาปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกัน ทั้งที่โกงกางใบใหญ เปนพืชปาชายเลนที่เหมาะสมในการปลูกเพื่อฟนฟู อาจเนื่องมาจากขอจํากัดที่ไมมีแปลงปลูกโกงกางใบใหญ หลายชวงอายุในพื้นที่ใกลเคียงกัน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอัตราการสังเคราะหดวยแสง สูงสุดของใบโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในปาปลูกที่อยูบริเวณพื้นที่เดียวกัน ขอมูลประสิทธิภาพในการ สังเคราะหดวยแสงสูงสุดของใบโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกัน สามารถนํามาใชเปนขอมูลพื้นฐานในการจัดการ และฟ น ฟู ร ะบบนิ เ วศป า ชายเลนบนพื้ น ฐานของผลประโยชน ท างอ อ มจากการปลู ก ป า เพื่ อ ลดก า ซ คารบอนไดออกไซด

วิธีการศึกษา สถานที่ทําการศึกษา พื้นที่ศึกษาเปนปาปลูกโกงกางใบใหญอายุ 3 5 7 และ 9 ป บริเวณอาวทุงคา – สวี จังหวัด ชุมพร ซึ่งอยูภายใตการดูแลของสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 12 (สวี ชุมพร) จากขอมูลของ กรมอุตุนิยมวิทยาของสถานีตรวจอากาศชุมพรในชวงป พ.ศ. 2523 - 2552 มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1868.6 มิลลิเมตรตอป อุณหภูมิเฉลี่ย 27.5 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย 80.8 เปอรเซ็นต (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2553) ในการแบงฤดูกาลของพื้นที่ศึกษาโดยใชปริมาณน้ําฝนจะสามารถแบงได 2 ฤดู ไดแก ฤดูฝนตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคมและฤดูแลงตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือน เมษายน (ภาพที่ 1)

341


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพที่ 1 ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายเดือนในชวง พ.ศ. 2523-2552 ของสถานีตรวจอากาศชุมพร (กรมอุตุนิยมวิทยา, ประเทศไทย)

การศึกษาอัตราการสังเคราะหดวยแสง ทําการศึกษาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของใบโกงกางใบใหญ โดยเลือกใบที่ไดรับแสง มากที่สุด ประมาณคูที่ 2 - 3 ของกิ่ง จากสวนบนของเรือนยอด ที่เจริญเต็มที่และมีลักษณะสมบูรณ ตน ละ 3 ใบ จํานวน 4 ตนตออายุ ทําการวัดอัตราการสังเคราะหดวยแสงดวยเครื่อง portable photosynthesis system (LI-6400, LI-COR, Lincoln, Nebraska, USA) ซึ่งตอกับ leaf chamber มาตรฐานที่ติดตั้ง แหลงกําเนิดแสงคือ 6400-02B LED โดยให Photosynthetically active radiation (PAR) 1500 μmol m-2s-1 กําหนดปริมาณของกาซคารบอนไดออกไซด 360 ppm และควบคุมอุณหภูมิใน chamber ประมาณ 30 - 35 องศาเซลเซียส ทําการศึกษาใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝนและฤดูแลง ฤดูกาลละ 3 ครั้ง ในชวงเชา เวลา 7.00-11.00 น. บันทึกขอมูลอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุด stomatal conductance และอัตรา การคายน้ํา จากนั้นคํานวณคาประสิทธิภาพการใชน้ํา (water use efficiency) จากอัตราสวนระหวาง อัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดกับอัตราการคายน้ํา (Lovelock and Feller, 2003) การศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอม ศึกษาคุณสมบัติของน้ําในดิน โดยเก็บตัวอยางน้ําในดินที่ระดับความลึก 30 เซนติเมตร จาก บริเวณแปลงปลูกโกงกางใบใหญทุกชวงอายุ นํามาวัดความเค็ม pH และปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา ดวย Portable Multiparameter Meter (sessION 156, Hach Company, USA) ทําการศึกษาใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝนและฤดูแลง ฤดูกาลละ 3 ครั้ง ชวงเวลาเดียวกับที่วัดอัตราการสังเคราะหดวยแสง ศึกษาลักษณะเนื้อดิน โดยเก็บตัวอยางดินที่ระดับความลึก 30 เซนติเมตร จากบริเวณแปลงปลูก โกงกางใบใหญทุกชวงอายุ นํามาวิเคราะหเนื้อดินดวยวิธี Hydrometer method (Bouyoucos, 1926) ทําการศึกษาใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูฝนและฤดูแลง 342


การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่อาวทุงคา - สวี จังหวัดชุมพร

การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหความแตกตางของอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุด stomatal conductance อัตรา การคายน้ํา ประสิทธิภาพการใชน้ํา คุณสมบัติของน้ําในดิน และลักษณะเนื้อดินของโกงกางใบใหญที่มี อายุตางกันโดยใช One-way Analysis of Variance (ANOVA) ถาขอมูลมีค วามแตกตา งอยา งมี นัยสําคัญ จะเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยใชวิธี Duncan's new multiple range test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต และวิเคราะหความแตกตางในระหวางฤดูกาลโดยใช Independent-samples t-test ที่ ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต ดวยโปรแกรม SPSS สําหรับ Windows ผลการศึกษาและวิจารณ จากการศึกษาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกัน พบวาเมื่อ อายุเพิ่มขึ้นอัตราการสังเคราะหดวยแสง และ stomatal conductance ทั้งในฤดูฝนและฤดูแลงมีคา ลดลงอยางมีนัยสําคัญ โดยโกงกางใบใหญอายุ 3 ป มีคาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุด และ stomatal conductance มากที่สุด รองลงมาคือโกงกางใบใหญอายุ 5, 7 และ 9 ป ตามลําดับ (ภาพที่ 2 ก และ ข) สําหรับอัตราการคายน้ํามีแนวโนมลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้นเชนเดียวกับคา stomatal conductance ทั้งสองฤดูกาล แตพบวาไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (ภาพที่ 2ค) โกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันพบวา มีประสิทธิภาพการใชน้ําแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ โดยโกงกางใบใหญอายุ 3 และ 5 ป มีคาประสิทธิภาพ การใชน้ํามากที่สุด รองลงมาคือโกงกางใบใหญอายุ 7 และ 9 ป (ภาพที่ 2ง) สําหรับปจจัยสิ่งแวดลอม เกี่ยวกับสมบัติของน้ําในดินในบริเวณแปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกัน พบวาความเค็มของน้ํา ในดิน pH และปริมาณออกซิเจนละลายน้ําไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง (ภาพที่ 3ก ข และ ค) สวนลักษณะเนื้อดินของแปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันทั้งในฤดูฝนและ ฤดูแลง พบวามีลักษณะเนื้อดินเหมือนกันคือมีลักษณะเนื้อดินเปนดินเหนียว (clay) จะเห็นวาแปลงปลูก โกงกางใบใหญทุกอายุมีปจจัยสิ่งแวดลอ มที่ศึกษาในฤดูกาลเดียวกันไมแ ตกตางกัน แตอัตราการ สังเคราะหดวยแสงสูงสุดมีคาลดลงสัมพันธกับคา stomatal conductance ที่ลดลงเมื่อโกงกางใบใหญมี อายุเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเปนผลมาจากความแตกตางในดานความสูง เนื่องจากเมื่อพืชมีอายุเพิ่มขึ้นความสูง ของตนมีคามากขึ้น ทําให water potential ของใบลดลง สงผลใหใบมีคา stomatal conductance ต่ํา อัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดจึงมีคาลดลง (Ryan and Yoder, 1997; Bond, 2000) นอกจากนี้ การลดลงของ stomatal conductance ทําใหอัตราการคายน้ําลดลงดวย ประสิทธิภาพการใชน้ําจึงมีคา สูงขึ้น (Kitahashi et al., 2008) แตในการศึกษานี้พบวา ถึงแม stomatal conductance มีคาลดลงเมื่อ โกงกางใบใหญมีอายุเพิ่มขึ้น แตอัตราการคายน้ํามีคาไมแตกตางกัน จึงทําใหประสิทธิภาพการใชน้ํามี คาลดลง เนื่องจากประสิทธิภาพการใชน้ําคํานวณจากอัตราสวนระหวางอัตราการสังเคราะหดวยแสง สูงสุดกับอัตราการคายน้ํา

343


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เมื่ อ พิจ ารณาอัต ราการสัง เคราะหด ว ยแสงสู ง สุ ดของโกงกางใบใหญ ที่ อายุ เ ดีย วกัน ระหว าง ฤดูกาล พบวาโกงกางใบใหญทุกอายุมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดในฤดูฝนสูงกวาฤดูแลงอยางมี นัยสําคัญ (ภาพที่ 2ก) แตเมื่อเปรียบเทียบคา stomatal conductance และอัตราการคายน้ํา พบวา โกงกางใบใหญอายุ 3 และ 5 ป มีคา stomatal conductance และอัตราการคายน้ําในฤดูฝนสูงกวาฤดู แลงอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่โกงกางใบใหญอายุ 7 และ 9 ป มีคา stomatal conductance และอัตรา การคายน้ําในฤดูฝนและฤดูแลงไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (ภาพที่ 2ข และค) สําหรับคาประสิทธิภาพ การใชน้ําของโกงกางใบใหญระหวางฤดูกาล พบวาโกงกางใบใหญทุกอายุมีคาประสิทธิภาพการใชน้ํา ในฤดูฝนสูงกวาฤดูแลง แตไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (ภาพที่ 2ง) คุณสมบัติของน้ําในดินบริเวณ แปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุเดียวกันระหวางฤดูกาล พบวาแปลงปลูกโกงกางใบใหญอายุ 3 และ 9 ป มีความเค็มของน้ําในดินฤดูแลงสูงกวาฤดูฝน และแตกตางอยางมีนัยสําคัญ ขณะที่แปลงปลูกโกงกาง ใบใหญอายุ 5 และ 7 ป พบวาความเค็มของน้ําในดินในฤดูแลงมีคาสูงกวาฤดูฝนแตไมแตกตางอยางมี นัยสําคัญ สําหรับคา pH และปริมาณออกซิเ จนละลายน้ํา บริเ วณแปลงปลูก โกงกางใบใหญที่อ ายุ เดียวกัน พบวาไมมีความแตกตางกันระหวางฤดูกาล (ภาพที่ 3ก ข และค) จากการศึกษาในครั้งนี้ พบวาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของโกงกางใบใหญในแตละฤดูกาลแตกตางกัน เนื่องมาจาก ปจจัยสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะความเค็มของน้ําในดิน เมื่อฤดูแลงมีคาความเค็มของน้ําในดินสูงกวาฤดู ฝน สงผลใหคา stomatal conductance ในฤดูแลงมีคาต่ํา พืชจึงมีการหรี่ปากใบเพื่อรักษาน้ํามากขึ้น ทําใหอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดมีคานอย (Theuri et al., 1999) นอกจากนี้การหรี่ปากใบของ พืชยังทําใหอัตราการคายน้ําลดลงสงผลใหพืชมีคาประสิทธิภาพการใชนํ้าสูง ซึ่งเปนการปรับตัวให เจริญอยูในสภาพสิ่งแวดลอมที่มีความเค็มสูงได (Clough and Sim, 1989; Khan and Aziz, 2001; Nandy and Ghose, 2001) แตจากการศึกษาพบวาประสิทธิภาพการใชน้ําในฤดูฝนและฤดูแลงมีคา แตกตางกันเล็กนอย โดยมีคาอยูในชวง 2.54 - 2.91 mmolCO2 mol-1H2O อาจเกิดจากความเค็มของ น้ําในดินทั้งสองฤดูมีคาแตกตางกันนอย (21.3-27.4 ppt) เมื่อเปรียบเทียบกับการทดลองของ Youssef (2007) ที่พบวาเมื่อชวงของความเค็มเพิ่มขึ้น (0-30 ppt) สงผลใหปอทะเล (Hibiscus tiliaceus L.) มีคา ประสิทธิภาพการใชน้ําเพิ่มขึ้น (3.20-8.93 mmolCO2 mol-1H2O)

344


การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่อาวทุงคา - สวี จังหวัดชุมพร

ภาพที่ 2 ก อัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง ข stomatal conductance ของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง ค อัตราการคายน้ําของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง ง ประสิทธิภาพการใชน้ําของโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง

345


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพที่ 3 ก ความเค็มของน้ําในดินของแปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง ข pH ของน้ําในดินของแปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง ค ปริมาณออกซิเจนละลายน้ําของแปลงปลูกโกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันในฤดูฝนและฤดูแลง สรุปผลการศึกษา โกงกางใบใหญที่มีอายุตางกันมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดแตกตางกัน โดยมีแนวโนม ลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้นทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง นอกจากนี้ฤดูกาลยังมีผลตออัตราการสังเคราะหดวยแสง ของโกงกางใบใหญ โดยพบวาอัตราการสังเคราะหดวยแสงสูงสุดในฤดูฝนมีคาสูงกวาในฤดูแลง ซึ่งเปน ผลมาจากความเค็มของน้ําในดินที่เพิ่มขึ้นในฤดูแลง กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณหนวยปฏิบัติการพฤกษนิเวศวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่เอื้อเฟอ เครื่องมื อและ อุ ป กรณตา งๆ ตลอดจนความชว ยเหลือ ในการทํา วิจัย ขอขอบคุณ สํา นัก อนุ รั ก ษ ท รัพ ยากรปา ชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ที่เอื้อเฟอเครื่องมือ และสนับสนุนเงินทุนสวนหนึ่งในการทําวิจัย ขอขอบคุณ นายวิชัย สมรูป หัวหนาสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 12 (สวี ชุมพร) และเจาหนาที่ที่เอื้อเฟอสถานที่ และใหความชวยเหลือในการทําวิจัยภาคสนาม 346


การสังเคราะหดวยแสงของโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata Poir.) ที่มีอายุตางกันที่อาวทุงคา - สวี จังหวัดชุมพร

เอกสารอางอิง พูลศรี เมืองสง และสนิท อักษรแกว. 2540. การเจริญเติบโตของพันธุไมปาชายเลนที่ปลูกบนพื้นที่นา กุงราง อําเภอเมือง จังหวัดระนอง. รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนครั้งที่ 10 “การ จัดการและการอนุรักษปาชายเลน : บทเรียนในรอบ 20 ป”, หนา II8 1-11. 25-28 สิงหาคม 2540 ณ โรงแรม เจ.บี. หาดใหญ จังหวัดสงขลา. สนิท อักษรแกว. 2541. ปาชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. Atwill, P. W. and Clough, B. F. 1980. Carbon dioxide and water vapour exchange in the white mangrove.Photosynthetica 14: 40–47. Bond, B. J. 2000. Age-related changes in photosynthesis of woody plants. Trends in Plant Science 5: 349-353. Bouyoucos, G. L. 1926. Estimation of the colloidal material in soils. Science 64: 362. Clough, B. F. and Sim, R. G. 1989. Changes in gas exchange characteristics and water use efficiency of mangroves in response to salinity and vapour pressure deficit. Oecologia 79 : 38-44. Clough, B. F. 1998. Mangrove forest productivity and biomass accumulation in Hinchinbrook Channel, Australia. Mangrove and Salt Marshes 2: 191-198. Khan, M. A. and Aziz, I. 2001. Salinity tolerance in some mangrove species from Pakistan. Wetlands Ecology and Management 9: 219-223. Kitahashi, Y., Ichie, T., Maruyama, Y., Kenzo, T., Kitaoka, S., Matsuki, S., Chong, L., Nakashizuka, T. and Koike, T. 2008. Photosynthetic water use efficiency in tree crowns of Shorea beccariana and Dryobalanops aromatic in a tropical rain forest in Sarawak, East Malaysia. Photosynthetica 46: 151-155. Lovelock, C. E. and Feller, I. C. 2003. Photosynthetic performance and resource utilization of two mangrove species coexisting in a hypersaline scrub forest. Oecologia 134: 455-462. Nandy, P. and Ghose, M. 2001. Photosynthesis and Water-Use Efficiency of Some Mangroves from Sundarbans, India. Journal of Plant Biology 44: 213-219. Niu, S., Li, Z., Xia, J., Han, Y., Wu, M. and Wan, S. 2008. Climatic warming changes plant Photosynthesis and its temperature dependence in a temperate steppe of northern China. Environmental and Experimental Botany 63: 91–101. Ryan, M. G. and Yoder, B. J. 1997. Hydraulic limits to tree height and tree growth. BioScience 47: 235-242. Sobrado, M. A. 2005. Leaf characteristics and gas exchange of the mangrove Laguncularia racemosa as affected by salinity. Photosynthetica 43: 217-221. Sukardjo, S. and Yamada, I. 1992. Biomass and productivity of a Rhizophora mucronata Lamarck plantation in Tritih, Central Java, Indonesia. Forest Ecology and Management 49: 195-209. Theuri, M. M., Kinyamario, J. I. and Speybroeck, D. V. 1999. Photosynthesis and related physiological processes in two mangrove species, Rhizophora mucronata and Ceriops tagal, at Gazi Bay, Kenya. African Journal of Ecology 37: 180-193.

347


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Tuffer, A., Naidoo, G. and Willert, D. J. V. 2001. Low salinities adversely affect photosynthetic performance of the mangrove, Avicennia marina. Wetlands Ecology and Management 9: 225–232. Twilley, R. R., Chen, R. H. and Hargris, T. 1992. Carbon sinks in mangrove and their implications to carbon budget of tropical coastal ecosystems. Water Air and Soil Pollution 64: 265-288. Youssef, T. 2007. Stomatal, biochemical and morphological factors limiting photosynthetic gas exchange in the mangrove associate Hibiscus tiliaceus under saline and arid environment. Aquatic Botany 87: 292–298.

348


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี Tapee Estuary Mangrove Ecosystem Surat Thani Province

ดรุณี เจียมจํารัสศิลป1 กฤษฎา สุทธินุน2 1,2

สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรุงเทพฯ 10210

บทคัดยอ การศึกษาระบบนิเวศปาชายเลนนี้ ดําเนินการในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี ในชวงเดือนเมษายน 2550 - มีนาคม 2551 โดยไดทําการศึกษาดานโครงสรางปาชายเลน ปริมาณการ รวงหลนของเศษซากพืช อัตราการยอยสลายของใบไมในปาชายเลน คุณสมบัติของดินดานกายภาพ และเคมี มวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพันธุไมเดนและศึกษาชนิดของสัตวน้ําในปาชายเลน จากผล การศึกษาโครงสรางปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป พบพันธุไมปาชายเลนจํานวน 14 ชนิดมีตนลําพู เปนไมเดน (dominant species)และตนจากเปนไมรอง (co-dominant species) มีความหนาแนนของ ไมใหญ (density of trees) เฉลี่ยจํานวน 113 ตนตอไร ความหนาแนนของไมหนุม (density of sapling) เฉลี่ยจํานวน 78 ตนตอไรและความหนาแนนของกลาไม (density of seedlings) เฉลีย่ จํานวน 47 ตนตอไร มีปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall) เฉลี่ยจํานวน 1.76 ตันตอไรตอป อัตราการยอยสลาย (decomposition rate) ของใบลําพูและใบโกงกางใบเล็กในระยะเวลา 8 เดือนเทากับ 100% และ 93.66% ตามลําดับ คุณสมบัติของดิน (soil properties) มีคาปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดรุนแรง มีคา soil texture สวนใหญเปน clay ปริมาณอินทรียวัตถุมีคาอยูในพิสัยรอยละ 3.14 - 20.22 คา P K Ca Mg เทากับ 28.17 ppm 527.55 ppm 1,117.55 ppm และ 1,777.39 ppm ตามลําดับ มวลชีวภาพเหนือ พื้นดินของไมลําพู โกงกางใบเล็กและแสมดํา มีคา 4,741.30 , 3,174.44 และ 1,944.60 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ชนิดของสัตวน้ําที่พบในบริเวณปากแมน้ําตาป พบชนิด ของสัต วน้ํา ประมาณ 16 ชนิด ปลาที่พบมากจะเปนปลาเข็มปากแดง (Hyporhamphus limbatus) รองลงมา คือ ปลาขี้จีน ปลากระทุงเหว และปลาตะกรับ คําสําคัญ: โครงสรางปาชายเลน, มวลชีวภาพ, การรวงหลนของเศษซากพืช, อัตราการยอยสลาย


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Study on Tapee estuary (Surat Thani province) mangrove ecosystem had been done during April 2007 - March 2008. Some physical-biological environmental components, including mangrove structure, litter falls, debris decomposition, soil property, above ground biomass and mangrove marine creatures were investigated. Results were revealed that there are 14 flora species found in mangrove Tapee estuary with Sonneratia caseolaris being the dominant, followed by Nypa fruticans. Average tree density, Numbers of saplings and seedlings were of 113, 78 and 47 tree-seedlings/rai, respectively. Litter production in this area is of 1.76 ton/rai/yr with decomposition rates of Sonneratia caseoloris and Rhizophora apiculata leaves during 8-month interval are 100 % and 93.66%. Soil texture is classified as clay with acidic or extreme acidic properties. Organic component is in a range of 3.14 20.22. Plant nutrition including phosphorus, potassium, calcium and magnesium are of 28.17, 527.55, 1,117.55, and 1,777.39 ppm, respectively. Above ground biomass of Sonneratia caseolaris, Rhizophora apiculata and Avicennia officinalis were of 4,741.30, 3,174.44 and 1,944.60 kg/rai. Marine creatures in Tapee estuary were approximately of 16 species , and most of them are Hyporhamphus limbatus , Ambussis kopsii , Zenurchopterus dispe and Scatophagus argus Keyword: Mangrove structure , biomass , litter fall , decomposition

บทนํา การศึกษาทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลน เปนที่สนใจของนักนิเวศวิทยามานานแลว เพราะ นอกจากปาชายเลนจะมีระบบนิเวศที่สลับซับซอน ยังเปนแหลงที่ใหทรัพยากรที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ มากมาย ขอมูลที่ไดจากการศึกษาสามารถนําไปเปนแนวทางในการวางแผนการจัดการทรัพยากร ชายฝงใหเปนไปอยางถูกตอง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพตอไป จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี เป น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในประเทศไทยที่ เ คยมี ป า ชายเลนที่ อุ ด มสมบู ร ณ ถึ ง ประมาณ 60,000 ไร แตจากสถานการณการบุกรุกทําลายปาชายเลนเพื่อทํานากุงในอดีต ทําใหพื้นที่ ปาชายเลนลดลง สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของราษฎรและความสมดุลตามธรรมชาติของระบบ นิเวศชายฝงอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งรัฐก็ไดเล็งเห็นความสําคัญของระบบนิเวศชายฝง จึงไดมีการ ฟนฟูสภาพปาชายเลนโดยการปลูกปาตั้งแตป พ.ศ. 2540 รวมถึงการเกิดพื้นที่ปาชายเลนในดินเลนงอกใหม จนในป พ.ศ.2547 จังหวัดสุราษฎรธานีมีพื้นที่ปาชายเลนอยูประมาณ 32,510 ไร (ชัยวัฒน, 2548) ปาชายเลนบริเวณอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ในอดีตเปนปาชายเลนที่สมบูรณมาก ที่สุดแหงหนึ่ง ครอบคลุมพื้นที่ 6 อําเภอ ไดแก ไชยา ทาฉาง พุนพิน เมือง กาญจนดิษฐ และดอนสัก มีความยาวตลอดแนวชายฝงทะเลดานตะวันออกถึง 156 กิโลเมตร ถือวาเปนพื้นที่ปาชายเลนที่มี ความสําคัญตอระบบนิเวศชายฝงทะเลของอาวบานดอนเปนอยางมาก ปาชายเลนมีบทบาทและมี ความผูกพันตอวิถีชีวิตของราษฎรในทองถิ่นมาเปนเวลานาน โดยเฉพาะราษฎรที่อาศัยอยูตามริมฝง คลองซึ่งมีอยูมากมาย ที่สําคัญ ไดแก คลองตะกรบ คลองใหญพุมเรียง คลองหลุง คลองพุมเรียง 350


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

คลองตะเคียน คลองไชยา คลองหัววัว คลองทาปูน คลองเหมา คลองบางน้ําจืด คลองบางในพอน คลองทาฉาง คลองทาเคย คลองบางปด คลองปอ คลองบางหวยซอ คลองกอ คลองลีเล็ด คลองทาไมหัด คลองราง คลองทางเข็น คลองพุนพิน คลองสุก คลองริ่ว คลองฉนาก คลองทองหลาง คลองสะบายอย แมน้ําตาป คลองฉิมหวัง คลองกะแดะแจะ คลองเฉงอะ คลองกะแดะ คลองราม คลองทาทอง คลองทูล คลองนะ คลองคราม คลองดอนสัก คลองบางโสม เปนตน ปาชายเลนบริเวณปากน้ําตาป ทองที่อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานีถือวาเปนสวนหนึ่งของ ปาชายเลนอาวบานดอน ซึ่งมีสวนสําคัญในการเชื่อมโยงระหวางระบบนิเวศในทะเลและระบบนิเวศบนบก มีบทบาทสําคัญในการปองกันพื้นที่ชายฝงทะเลจากคลื่นลมแรงและการกัดเซาะดิน ชวยดูดซับสิ่ง ปฏิกูล น้ําเสีย และสารพิษตางๆ ที่ถูกปลอยลงจากบานเรือน และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆที่มีอยู อยางหนาแนนในทองที่อําเภอเมืองสุราษฎรธานีกอนที่จะไหลลงสูทะเล ลดปญหาความรุนแรงของ มลภาวะได ดังนั้น การสํารวจเกี่ยวกับระบบนิเวศปาชายเลนบริเวณปากน้ําตาป นับวาเปนสิ่งจําเปนและ เปนประโยชนในการวางแผนจัดการทรัพยากรชายฝง และเปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาดานอื่น รวมถึงสิ่งแวดลอม ทรัพยากรประมงและดานเศรษฐกิจ สังคม เพื่อสนับสนุนโครงการจัดการทําแผน ฟนคืนธรรมชาติลุมน้ําตาป ในฐานะที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีหนาที่รับผิดชอบการ จัดการในพื้นที่ปลายน้ํา (บริเวณอาวบานดอน) โดยมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อศึกษาลักษณะการกระจาย ของพื้นที่ปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป รวมทั้งศึกษาสภาพความอุดมสมบูรณของปาชายเลน รวมถึงชนิดของพันธุไมและความหนาแนนของตนไม ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาระบบ นิเวศดานอื่นๆ ทั้งความอุดมสมบูรณของสัตวน้ํา คุณสมบัติของดินและน้ํา เพื่อสนับสนุนโครงการ จัดการตนน้ําตาป (อาวบานดอน) วิธีการศึกษา ดําเนินการศึกษาในพื้นที่ปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป ทองที่อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยวางแนว transect line กระจายทั่วปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป จํานวน 6 แนว ระหวาง เดือน เมษายน 2550 – มีนาคม 2551 การศึกษาโครงสรางปาชายเลน 1. วางแนว transect line กระจายทั่วปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาปและวางแปลงตัวอยางขนาด 10 x 10 เมตร โดยทําการวางเสนแนวใหตั้งฉากจากริมฝงแมน้ํา เขาไปขางในสุดของปาชายเลน 2. ในแปลงขนาด 10 x 10 เมตร ทําการวางแปลงยอย ขนาด 4 x 4 เมตร และ 1 x 1 เมตร ที่มุมใดมุมหนึ่งของแปลงและเปนระบบเดียวกันทั้งหมด

351


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

3. ในแปลงขนาด 10 x 10 เมตร ทําการเก็บขอมูลไมใหญ (tree) วัดขนาดเสนผานศูนยกลางที่ ระดับความสูง 1.3 เมตรและวัดความสูงของตนไม 4. ในแปลงขนาด 4 x 4 เมตร ทําการเก็บขอมูลไมหนุม (sapling) โดยทําการนับเปนจํานวนตน ของไมแตละชนิด 5. ในแปลงขนาด 1 x 1 เมตร ทําการเก็บขอมูลกลาไม (seedling) โดยทําการนับเปนจํานวนตน ของไมแตละชนิด การศึกษาปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืชในปาชายเลน (litter fall) 1. จัดวางตะแกรงดักใบไม (trap) ขนาด 1 x 1 เมตร ตามแนว transect ทุกระยะ 20 เมตร สําหรับรองรับซากพืชที่รวงหลน โดยวางตะแกรงใหสูงกวาระดับน้ําทะเลขึ้นสูงสุด 2. เก็บขอมูลตัวอยางซากพืชจากตะแกรงที่วาง เดือนละ 1 ครั้ง ตั้งแตเดือนเมษายน 2550 มีนาคม 2551 3. นําชิ้นสวน ใบ กิ่ง ดอก และผล นําไปอบแหงที่อุณหภูมิ 80 0C เปนเวลา 72 ชั่วโมง เพื่อหา คาน้ําหนักแหง (Dry weight) การศึกษาการยอยสลายของใบไม (litter decomposition) ในปาชายเลน ศึกษาการยอยสลายของใบไม จํานวน 2 ชนิด ไดแก ลําพู (Soneratia caseolaris) และโกงกาง ใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โดยดําเนินการ ดังนี้ 1. เก็บรวบรวมใบโกงกางใบเล็กและใบลําพูที่รวงหลนใหมๆ (senescence leaves) เพื่อนํามา ใสถุงไนลอน ขนาด 50 x 50 เซนติเมตร ความถี่ของตาขาย 0.02 มิลลิเมตร ใสใบไมถุงละ 200 กรัม จํานวนชนิดละ 13 ถุง 2. จากขอ 1. นําใบโกงกางใบเล็กและใบลําพูถุงละ 200 กรัม อบเพื่อชัง่ หาน้าํ หนักแหง (dry weight) ที่อุณหภูมิ 80 0C เปนเวลา 72 ชั่วโมง ทั้งนี้เพื่อใชคํานวณเปนคาน้ําหนักมาตรฐาน 3. จากขอ 1. นําถุงยอยสลายของใบโกงกางใบเล็กและใบลําพู จํานวน 12 ถุง ไปวางไวบนพืน้ ดิน คือ บริเวณริมขอบปาใกลแมนา้ํ เอาเชือกผูกถุงไวกับตนไม เพื่อปองกันไมใหกระแสน้ําพัดพาไป เก็บ ขอมูลถุงยอยสลายของใบโกงกางใบเล็กและใบลําพู เดือนละ 1 ถุง นําไปอบเพื่อชั่งหาน้ําหนักแหงที่ อุณหภูมิ 80 0C เปนเวลา 72 ชั่วโมง 4. คํานวณหาคาการยอยสลาย โดยเปรียบเทียบน้ําหนักแหงทีห่ ายไปกับน้ําหนักแหงคามาตรฐาน

352


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

การศึกษาคุณสมบัติของดิน (soil properties) 1. ทําการเก็บตัวอยางดินในชวงเดือนกรกฎาคม 2550 ที่ระดับความลึกจากผิวดินประมาณ 30 เซนติเมตรและ 60 เซนติเมตรของแตละจุด บรรจุถุงพลาสติก ถุงละ 1 กิโลกรัม จํานวน 3 แนว แนวละ 3 จุด รวมทั้งสิ้น 9 จุด โดยใหครอบคลุมพื้นที่ จุดละ 2 ถุง (ไดตัวอยางดินทั้งสิ้น 18 ถุง) 2. นําตัวอยางดินไปวิเคราะห เพื่อหาคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ไดแก คา pH , soil texture , Organic matter , Phosphorus , Potassium , Calcium , Magnesium , Sodium , C.E.C และ E.C การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (above ground biomass) ของไมปาชายเลน 1. จากการศึกษาโครงสรางปาชายเลน เลือกไมเดนมา 3 ชนิด ชนิดละ 5 ตน โดยสุมให กระจายทั่วพื้นที่ บันทึกความสูงและขนาดเสนผานศูนยกลางของไมตัวอยางแตละตน 2. ทําการตัดไมตัวอยางที่คัดเลือกไวแตละชนิดที่ระดับชิดดิน จากนั้นทําการตัดตนไมโดยแยก เปนสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายันของตนไมแตละตน 3. ชั่งหาน้ําหนักสดของสวนของลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายันของไมแตละตน บันทึกขอมูล 4. สุมเก็บตัวอยางแตละสวนดังกลาวของตนไมแตละตน ชั่งน้ําหนักสด บันทึกขอมูล 5. นําตัวอยางสวนตาง ๆ ของไมแตละตนไปอบในตูอบที่อุณหภูมิ 80 0C เปนเวลา 72 ชั่วโมง หรือจนกวาน้ําหนักแหงของตัวอยางนั้นคงที่ นําตัวอยางสวนตางๆ ที่อบจนแหงไปชั่งหาน้ําหนักแหง บันทึกขอมูล การศึกษาองคประกอบชนิดของสัตวน้ําที่พบในปาชายเลน (ดําเนินการโดยเจาหนาที่ จากศูนยวิจัยทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง) 1. เก็บตัวอยางสัตวน้ําที่พบในแปลงทดลองที่ติดริมฝงแมน้ําบริเวณปากแมน้ําตาปดวยเครื่องมือ ทําการประมง คือ อวนทับตลิ่ง (beach seine) ปกอวนแตละขางยาว 12.20 เมตร ลึก 1.5 เมตร ขนาด ตาอวนกนถุง 4 มิลลิเมตร ทําการเก็บตัวอยางชวงน้ําขึ้นในเวลากลางวัน 2. สั ต ว น้ํ าที่ จั บ ได จ ากแปลงทดลองนํ า มาแยกชนิ ด โดยตรวจสอบลั ก ษณะเปรี ย บเที ย บกั บ เอกสารอ า งอิ ง วั ด ขนาดและชั่ ง น้ํ า หนั ก เป น กรั ม วิ เ คราะห ป ริ ม าณสั ต ว น้ํ า เพื่ อ นํ า มาคํ า นวณหา คาประมาณของปริมาณสัตวน้ําที่พบบริเวณปากแมน้ําตาป ผลการศึกษาและวิจารณ การศึกษาโครงสรางปาชายเลน จากการสํารวจ พบวา ชนิดพันธุไมที่ขึ้นอยูบริเวณปากแม น้ําตาป ตามแนวชายฝงทะเลจะพบไมลําพูเปนไมเดน (dominance species) เปนไมขนาดใหญขึ้น กระจายทั่วไป ตนจากเปนไมรอง (co-dominance species) และพื้นที่ติดริมชายฝงทะเลจะพบพันธุไม

353


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เพียง 4 ชนิด แตจากบริเวณพื้นที่ปากแมน้ําเขาไปตามริมฝงแมน้ําตาป จะพบพันธุไมหลากหลายชนิด มากขึ้น โดยพบถึง 11 ชนิด ตามริมฝงแมน้ําพันธุไมที่พบสวนใหญ ไดแก ลําพู แสมดํา รังกะแท เปนตน และดานในหางจากริมฝงแมน้ําเขาไป ซึ่งเปนเขตน้ํากรอยหรือคุณภาพน้ํามีความเค็มต่ํา จะพบพวก ตาตุมทะเล ปรงทะเลและโพทะเล ความหนาแนนของไมใหญ (trees) ในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป โดยเฉลี่ย 113 ตน/ไร ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับความหนาแนนของไมในปาชายเลนบริเวณอื่นๆ พบวาปากแมน้ําตาปมีความ หนาแนนของไมปาชายเลนคอนขางต่ํา โดยปาชายเลนตลอดแนวริมฝงแมน้ําบางปะกง มีความ หนาแนนของไมใหญเฉลี่ย 372 ตน/ไร (โสภณและคณะ , 2548) หรือปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร มีความหนาแนนประมาณ 51-254 ตน/ไร (วิจารณและคณะ , 2540) แตอยางไรก็ ตามพบวาไมปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป มีความหนาแนนมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับพันธุไม ปาชายเลนจังหวัดพังงา ซึ่งมีความหนาแนนเฉลี่ย 22.60 ตน/ไร (สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน, 2551) และจากปริมาณของไมหนุมและกลาไมที่พบ ถือวาการสืบพันธุตามธรรมชาติของไมปาชายเลน บริเวณนี้อยูในเกณฑคอนขางดี เนื่องจากมีไมหนุมและกลาไมขึ้นกระจายอยูตลอดทั่วทั้งพื้นที่ปาชายเลน การศึกษาปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall) ดําเนินการเก็บขอมูลผลผลิตการรวงหลนของเศษไมใบไม ในตะแกรงดักใบไม โดยแยกเปน 3 แนว เดือนละ 1 ครั้ง ตั้งแตเดือนเมษายน 2550 – มีนาคม 2551 ซึ่งพอจะสรุปผลการศึกษาได ดังนี้ 1. ปริมาณการรวงหลนของเศษไมใบไม ตั้งแตเดือนเมษายน 2550 – มีนาคม 2551 ตามแนวที่ ศึกษา 3 แนว คือ แนวสํารวจที่ 1 , 3 , 5 รวมทั้งสิ้นประมาณ 2,409.38 กรัม/ตารางเมตร 2. ปริมาณการรวงหลนของเศษไมใบไมเฉลี่ยตลอดพื้นที่ศึกษา 89.24 กรัม/เดือน/ตารางเมตร หรือประมาณ 1.71 ตัน/ไร/ป ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืชบริเวณปากแมน้ําตาป มีคาเฉลี่ย 91.70 กรัม/ตารางเมตร/ เดือน หรือประมาณ 1.76 ตัน/ไร/ป ถือวามีปริมาณการรวงหลนที่มากกวาบริเวณศึกษาอื่นๆ กลาวคือ ปริมาณการรวงหลนของซากพืชบริเวณปาชายเลนบริเวณจังหวัดพังงา มีคาเฉลี่ย 1.68 ตัน/ไร/ป (พูลศรีและสมบัติ , 2547) บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําบางปะกง มีคาเฉลี่ย 1.3 ตัน/ไร/ป (โสภณและ คณะ, 2548) และบริเวณปากคลองหงาว จังหวัดระนอง มีคาเฉลี่ย 1.121 ตัน/ไร/ป (โสภณและคณะ, 2548) และมีคามากกวาปริมาณการรวงหลนของซากพืชบริเวณปาชายเลนทองที่จังหวัดระนอง ซึ่งมีคา เทากับ 1.42 ตัน/ไร/ป (สนิทและคณะ , 2530) ซึ่งสาเหตุที่ปริมาณการรวงหลนมีคามากกวาที่อื่น อาจ เปนเพราะพันธุไมสวนใหญเปนไมขนาดใหญ มีกิ่งกานสาขามาก ประกอบกับชวงเดือนพฤศจิกายน เปนชวงลมมรสุมและฝนตกหนัก การรวงหลนของเศษซากพืชจึงมีปริมาณมาก แตอยางไรก็ตาม ปริมาณการรวงหลนของเศษไมใบไมขึ้นอยูกับชนิดและความหนาแนนของไม ตลอดจนมวลชีวภาพ ของสวนตางๆของตนไมและฤดูกาล โดยเฉพาะการออกดอกและการรวงหลนของผล (สนิท , 2542ก) 354


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

น้ําหนัก (กรัม / ตร.ม.)

ผลการศึกษาการยอยสลายของใบไม (litter decomposition) ในปาชายเลนปากแมน้ําตาป จากการเก็บขอมูลการยอยสลายของใบไม จํานวน 2 ชนิด คือ ลําพูและโกงกางใบเล็ก ตั้งแตเดือน เมษายน 2550 สรุปได ดังนี้ อัตราการยอยสลายของใบลําพู เทากับ 35.53% ในระยะเวลา 2 เดือน และ 100% ในระยะเวลา 8 เดือน อัตราการยอยสลายของใบโกงกางใบเล็ก เทากับ 14.28% ในระยะเวลา 2 เดือน, 93.66% ในระยะเวลา 8 เดือน และ 100% ในระยะเวลา 9 เดือน จะเห็นไดวาอัตราการยอยสลายของใบลําพูมีคามากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการยอยสลายของ ใบโกงกางใบเล็ก ทั้งในระยะเวลา 2 เดือนและ 8 เดือน และเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการยอยสลายของใบลําพู ในบริเวณปาชายเลนปากแมน้ําบางปะกงที่ศึกษาโดย โสภณและคณะ (2548) พบวาอัตราการยอยสลายของ ใบลําพูในปาชายเลนบริเวณปากแมนํ้าบางปะกง ในระยะเวลา 2 เดือน มีคาสูงกวาการยอยสลายของใบลําพู บริเวณปากแมน้ําตาป คือ มีคา 62.53% และ 35.53% ตามลําดับ แตในระยะเวลา 7 เดือนพบวา การยอย สลายของใบลําพูบริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาป มีคามากกวาเล็กนอย คือ มีคา 95.99% และ 85.82% ตามลําดับ ซึ่งการสลายตัวของเศษไมใบไมจะเกี่ยวของกับปจจัยทางชีวภาพและกายภาพ พวกรา (fungi) และแบคทีเรียถือวาเปนพวกแรกที่ชวยในการผุสลายของเศษไมใบไม ปูก็เปนสัตวที่สําคัญอีกชนิดหนึ่งที่ชวย ทํา ใหเศษไม ใบไม แตกเปนชิ้ นเล็ก ๆไดดี สําหรับปจ จัยทางกายภาพนั้ น การขึ้นลงของน้ํา ทะเล คลื่นและ กระแสน้ํา จะชวยใหเศษไมใบไมแตกเปนชิ้นเล็กไดเชนเดียวกัน โดยเฉพาะจากแรงกระแทกและในที่สุดเศษไม ใบไมชิ้นเล็กๆเหลานี้จะถูกจุลินทรียในดินยอยสลายไดสะดวกและรวดเร็วขึ้น(สนิท, 2542) 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน

รูปที่ 1 ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall) บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี แนว สํารวจที่ 1

355


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

140 น้ํา หนัก (กรัม / ตร.ม.)

120 100 80 60 40 20 0 เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน

นําหนัก (กรัม / ตร.ม.)

รูปที่ 2 ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall)บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี แนว สํารวจที่ 2 140 120 100 80 60 40 20 0 เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เดือน

รูปที่ 3 ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall) บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี แนว สํารวจที่ 3

356


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

อัตราการยอยสลาย (%)

120 100 80

ลําพู

60

โกงกางใบเล็ก

40 20 0 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เดือน

รูปที่ 4 อัตราการยอยสลายของใบลําพูและโกงกางใบเล็ก บริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

ผลการศึกษาคุณสมบัติของดิน (Soil properties) ผลการศึกษาคุณสมบัติของดินบริเวณปากแมน้ําตาป ซึ่งเก็บขอมูลเมื่อเดือนกรกฎาคม 2550 จํานวน 3 แนว ไดแก แนวสํารวจที่ 1, 3, 5 โดยนําตัวอยางดินไปวิเคราะหเพื่อหาคาคุณสมบัติทาง กายภาพและเคมี ไดแก คา pH , soil texture , Organic matter , Phosphorus , Potassium , Calcium Magnesium , Sodium , C.E.C และ E.C ปรากฏผล ดังนี้ 1. คาปฏิกิริยาดินของดินปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป (soil reaction , pH) ในแนวสํารวจ ที่ 1 มีคาอยูในพิสัย 3.5 – 4.1 คือ ดินเปนกรดจัดมาก ในแนวสํารวจที่ 3 มีคาอยูในพิสัย 3.3 – 5.8 คือ ดินเปนกรดจัดมากถึงกรดรุนแรง และในแนวสํารวจที่ 5 มีคาอยูในพิสัย 3.6 – 4.4 คือ ดินเปนกรดจัด มาก ทั้งนี้เนื่องมาจากดินมีสารประกอบกํามะถัน ซึ่งไดรับมาจากน้ําทะเล และเปลี่ยนเปนสารประกอบ ไพไรท (FeS2) ดินที่อยูใกลฝงทะเลจะมีคาความเปนกรดสูงกวาดินที่อยูในปาลึกเขาไป สารประกอบไพ ไรทนี้เมื่ออยูในสภาพออกซิเดชั่นหรือถูกเติมออกซิเจนก็จะเกิดกรดขึ้น โดยสภาพความเปนกรดจะมาก หรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณของสารประกอบกํามะถันที่สะสมอยูในดิน (พิสุทธิ์ , 2528) 2. ปริมาณอนุภาคทราย ทรายแปงและดินเหนียว (%sand , silt , clay) พบวาดินบริเวณปาก แมน้ําตาปสวนใหญ มีปริมาณอนุภาคดินเหนียวมากที่สุด รองลงมาเปนอนุภาคทรายแปงและอนุภาค ทรายตามลําดับ ซึ่งผลการศึกษาคลายกับการศึกษาของวิจารณ (2548) ที่พบวาดินในปาชายเลน ธรรมชาติทองที่อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานีในทุกชั้นหนาตัดมีปริมาณอนุภาคดินเหนียวมาก ที่สุด รองลงมาเปนอนุภาคทรายแปงและอนุภาคทรายตามลําดับ เชนกัน ทั้งนี้เนื่องจากพันธุไมปาชาย เลนที่ขึ้นอยูอยางหนาแนนชวยลดความรุนแรงของคลื่นลมและทําใหเกิดสภาพน้ํานิ่ง ทําใหอนุภาค

357


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ขนาดเล็ก ไดแก อนุภาคดินเหนียวและทรายแปงซึ่งพัดพามาจากแผนดินหรือทะเล ตกตะกอนไดงาย กวาอนุภาคทราย 3. ปริมาณอินทรียวัตถุ (Organic matter) ดินในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป มีคาปริมาณ อินทรียวัตถุอยูในพิสัยรอยละ 3.14-20.22 จัดวามีระดับปริมาณอินทรียวัตถุที่สูงมาก (สวนใหญมากกวา รอยละ 4.5) เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของอินทรียวัตถุของดินในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําบางปะกง ซึ่งมีคาอยูระหวาง 2.8 – 3.0% (โสภณและคณะ, 2548) แสดงใหเห็นถึงความอุดมสมบูรณของสภาพพืน้ ที่ ปาชายเลน เนื่องจากปริมาณอินทรียวัตถุสวนใหญในดินปาชายเลน ไดมาจากซากพืชในปาชายเลนนั่นเอง 4. ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available Phosphorus) ของดินในปาชายเลนบริเวณปากแม น้ําตาปมีคาอยูในพิสัย 12 – 35 ppm ซึ่งสวนใหญอยูในระดับสูง โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามชั้นความลึก ของดินและมีคานอยกวาเล็กนอย เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินปาชาย เลนธรรมชาติทองที่อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งดินชั้น Ag , Cg1 และ Cg2 มีคา 19 , 22 และ 26 ppm ตามลําดับ 5. โพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available Potassium) มีคาอยูในพิสัย 334 – 1,000 ppm ซึ่ง จัดวาเปนคาที่สูงมาก (Very high) คือมากกวา 120 ppm ซึ่งปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนใน ดิ น ป า ชายเลนส ว นใหญ ม าจากการสลายตั ว ของแร หรื อ วั ต ถุ ต น กํ า เนิ ด ดิ น และบางส ว นมาจาก โพแทสเซียมในน้ําทะเล 6. ปริมาณแคลเซียม (Calcium) ของดินในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป พบวามีคาอยูใน พิสัย 145 – 2,039 ppm ซึ่งสวนใหญถือวาอยูในเกณฑสูง และมีความสัมพันธคอนขางเดนชัดกับ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน แตอยางไรก็ตามถาเปรียบเทียบกับปริมาณแคลเซียมที่สกัดไดของดินในปา ชายเลนธรรมชาติ ท อ งที่ อํ า เภอดอนสั ก จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี ถื อ ว า น อ ยกว า มาก โดยมี ป ริ ม าณ แคลเซียมของดินชั้น Ag , Cg1และ Cg2 เทากับ 2,390 , 2590 และ 2,688 ppm ตามลําดับ แตมากกวา ปริมาณแคลเซียมของดินบริเวณปากแมน้ําบางปะกง ซึ่งมีคาอยูในพิสัย 61 – 87 ppm 7. ปริมาณแมกนีเซียม (Magnesium) มีคาอยูในพิสัย 507 – 2,508 ppm โดยสวนใหญพบวา อยูในเกณฑสูง ทั้งนี้เนื่องจากไดรับอิทธิพลจากแมกนีเซียมในน้ําทะเลที่ทวมถึงเปนประจํา รวมทั้งได จากการสลายตัวของหินประเภทคารบอเนตและแรประเภทซิลิเกต ( มนุวดี , 2532 ) 8. ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ( cation exchange capacity , C.E.C ) มีคาอยูในระดับ คอนขางสูงถึงระดับสูง โดยมีคาอยูในพิสัย 11.2 – 28.8 เซนติโมลลตอกิโลกรัม ปริมาณความจุในการ แลกเปลี่ ย นประจุ บ วก มี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามชั้ น ความลึ ก ของดิ น และมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ปริ ม าณ อินทรียวัตถุ 9. การนําไฟฟาของดิน (electrical conductivity) มีคาอยูในพิสัย 1.5 – 4.2 เดซิซีเมนตตอเมตร คาการนําไฟฟาของดินมีความสัมพันธกับปริมาณอินทรียวัตถุในดินและปริมาณอนุภาคดินเหนียว โดย 358


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

ปริมาณอินทรียวัตถุและปริมาณอนุภาคดินเหนียวทําใหดินมีความสามารถในการอุมน้ําสูงและเมื่ออุม น้ําเปนระยะเวลานาน ทําใหดินอิ่มตัวดวยน้ําทะเลเปนผลใหดินมีความเค็มสูง ผลการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (above ground biomass) ของไมในปาชายเลน จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางขนาดหรือมิติ (dimension) ตางๆของพันธุไม ที่เลือกมา ศึกษา 3 ชนิด ไดแก ไมลําพู แสมดําและโกงกางใบเล็ก คือ ขนาดเสนผานศูนยกลาง ( D ) ความสูง ของตนไม ( H ) ขนาดเสนผานศูนยกลางยกกําลังสองคูณดวยความสูงทั้งหมด ( D2H ) กับมวลชีวภาพ ของสวนลําตน (Ws) กิ่ง (Wb) ใบ (Wl) และรากค้ํายันเหนือพื้นดิน (Wr) ของตนไมในรูปสมการ allometric relation โดยตองแปลงขอมูลทั้งสองใหอยูในรูป log และวิเคราะหความสัมพันธในรูป เสนตรง (linear regression) ทําใหไดคาคงที่ของสมการ คา r และ r2 ที่ใชประมาณหามวลชีวภาพสวน ตางๆของตนไม จากการศึกษามวลชีวภาพของไมเดน 3 ชนิด บริเวณปากแมน้ําตาป คือ ลําพู แสมดํา และ โกงกางใบเล็ก พบวา ไมลําพูมีปริมาณมวลชีวภาพสูงสุด คือ 4,741.30 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ โกงกางใบเล็ก 3,174.44 กิโลกรัมตอไร และแสมดํา 1,944.60 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ โดยไมลําพูจะ มีมวลชีวภาพของสวนลําตนมากที่สุด รองลงมาคือใบและกิ่ง ตามลําดับ ไมโกงกางใบเล็ก พบวามีมวล ชีวภาพของสวนที่เปนรากเหนือพื้นดินมากที่สุด รองลงมาคือลําตน ใบและกิ่งตามลําดับ สวนไมแสมดํา พบวามีมวลชีวภาพของสวนลําตนมากที่สุด รองลงมาเปนใบและกิ่ง ตามลําดับ เชนเดียวกับตนลําพู ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปริมาณมวลชีวภาพของตนไมปาชายเลน บริเวณปากแมน้ําตาป ชนิด ลําพู โกงกางใบเล็ก แสมดํา รวม

ลําตน 3,313.17 1,044.34 1,445.29 5,802.80

มวลชีวภาพ (กิโลกรัมตอไร) กิ่ง ใบ รากเหนือดิน 140.23 376.89 75.96 593.08

1,287.90 442.83 423.55 2,154.28

1,312.38 1,312.38

รวม 4,741.30 3,174.44 1,944.60 9,860.34

การศึกษาองคประกอบ ชนิดของสัตวน้ําที่พบในปาชายเลน จากการศึกษาองคประกอบชนิดของสัตวน้ําที่พบในบริเวณปากแมน้ําตาป ของเจาหนาที่จาก ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง โดยใชเครื่องมือประมง คือ อวนทับตลิ่ง พบ

359


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ชนิดของสัตวน้ํา ประมาณ 16 ชนิด ปลาที่พบมากจะเปนปลาเข็มปากแดง (Hyporhamphus limbatus) รองลงมาคือ ปลาขี้จีน ปลากระทุงเหวและปลาตะกรับ สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี พอสรุปไดดังนี้ โครงสรางของปาชายเลน จากการศึกษาโครงสรางปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป พบวามีไมลําพู เปนไมเดน โดยเปนไมขนาดใหญขึ้นกระจายอยูทั่วไป ตนจากเปนไมรอง จากพื้นที่ปากแมน้ําเขาไป ตามริมฝงแมน้ําตาปจะพบพันธุไมหลากหลายชนิด ประมาณ 11 ชนิด ตามริมฝงแมน้ําพันธุไมที่พบ สวนใหญ ไดแก ลําพู แสมดํา รังกะแท เปนตน และดานในหางจากริมฝงเขาไปซึ่งเปนเขตน้ํากรอยหรือ คุณภาพน้ํามีความเค็มต่ํา จะพบพวกตาตุมทะเล ปรงทะเล โพทะเล และจากการศึกษาพบวาปาชายเลน บริเวณปากแมน้ําตาป มีความหนาแนนเฉลี่ยของไมใหญ เทากับ 113 ตน/ไร และจากปริมาณไมหนุม และกลาไมที่พบ ถือวาการสืบพันธุตามธรรมชาติของไมปาชายเลนบริเวณนี้อยูในเกณฑคอนขางดี เนื่องจากมีไมหนุมและกลาไมขึ้นกระจายอยูตลอดทั่วทั้งพื้นที่ปาชายเลน ปริมาณการรวงหลนของเศษซากพืช (litter fall) ปริมาณการรวงหลนของเศษไมใบไมบริเวณปาชายเลนปากแมน้ําตาปโดยเฉลี่ยตลอดพื้นที่ ศึกษา เทากับ 89.24 กรัม/เดือน/ตารางเมตร หรือประมาณ 1.71 ตัน/ไร/ป อัตราการยอยสลายของใบไม (litter decomposition) จากการศึกษาขอมูลอัตราการยอยสลายของใบไม จํานวน 2 ชนิด คือ ใบลําพูและใบโกงกางใบเล็ก ในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําตาป ปรากฏวาในระยะ 2 เดือน ใบลําพูและใบโกงกางใบเล็ก มีอัตรา การยอยสลายเทากับ 35.53% และ 14.28% ตามลําดับและในระยะเวลา 8 เดือน อัตราการยอยสลาย ของใบลําพูและใบโกงกางใบเล็ก เทากับ 100% และ 93.66% ตามลําดับ คุณสมบัติของดินบริเวณปากแมน้ําตาป จากการศึกษาวิเคราะหเพื่อหาคาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินปาชายเลนบริเวณปาก แมน้ําตาป พบวาดินสวนใหญมีคุณสมบัติเปนกรดจัดมากถึงกรดรุนแรง มีปริมาณอนุภาคดินเหนียว มากที่สุด รองลงมาเปนอนุภาคทรายแปงและอนุภาคทรายตามลําดับ คาอินทรียวัตถุของดินปาชายเลน บริเวณปากแมน้ําตาปมีคาสูงมาก คาฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสเซียมที่เปนประโยชนจัดวา อยูในระดับสูง ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมสวนใหญถือวาอยูในเกณฑสูง และมีความสัมพันธ คอนขางเดนชัดกับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกคอนขางสูงถึงสูงมาก

360


ระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป จังหวัดสุราษฎรธานี

การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไมในปาชายเลน จากการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพันธุไมเดน 3 ชนิดในปาชายเลนบริเวณปากแม น้ําตาป ไดแก ลําพู แสมดําและโกงกางใบเล็ก พบวาไมลําพูมีปริมาณมวลชีวภาพสูงสุด คือ 4,741.30 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ โกงกางใบเล็ก 3,174.44 กิโลกรัมตอไรและแสมดํา 1,944.60 กิโลกรัมตอ ไรตามลําดับ การศึกษาองคประกอบชนิดของสัตวน้ําที่พบในปาชายเลน จากการศึกษาองคประกอบชนิดของสัตวน้ําที่พบในบริเวณปากแมน้ําตาป ของเจาหนาที่จาก ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง พบชนิดของสัตวน้ํา ประมาณ 16 ชนิด ปลา ที่พบมากจะเปนปลาเข็มปากแดง (Hyporhamphus limbatus) รองลงมา คือ ปลาขี้จีน ปลากระทุงเหว และปลาตะกรับ ขอเสนอแนะ จากการศึกษาระบบนิเวศปาชายเลนปากแมน้ําตาป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่อยูใกลชุมชนเมืองและ แมน้ําตาปเปนแมน้ําที่ไหลผานตัวอําเภอเมืองสุราษฎรธานีกอนจะลงสูทะเลอาวบานดอน จึงพบวา บริเวณนี้ประสบปญหาดานสิ่งแวดลอมเชนเดียวกับแมน้ําที่ไหลผานชุมชนเมืองอื่นๆที่ตองไดรับการ ดูแลแกไขจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนทุกภาคสวนเปนพิเศษ เชน ปญหาขยะและน้ําเสียจาก บานเรือนชุมชน ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม รวมทั้งจากเรือขนสงสินคาขนาดใหญที่จอด ขนสงสินคาบริเวณปากแมน้ํา ปญหาการรุกล้ําชายฝง เพื่อใชประโยชนดานตางๆ ปญหาการลักลอบ ตัดตนไมปาชายเลน ปญหาสารเคมีตกคางจากการทําเกษตรของเกษตรกรตนน้ําและกลางน้ําของแม น้ําตาป ทั้งรายเล็กและรายใหญ เปนตน ซึ่งแนวทางในการแกไขปญหาและการจัดการพื้นที่บริเวณ ปากแมน้ําตาป ควรเนนการวางแผนและการควบคุมการใชประโยชนที่ดินในบริเวณปากแมน้ําตาป อยางเปนรูปธรรม มีการจัดการขยะและน้ําเสียจากแหลงชุมชนอยางเปนระบบและเพียงพอ พัฒนา ระบบการจัดการน้ําเสียจากภาคเกษตรกรรม เชน นากุง ฟารมหอย ผลักดันใหเกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว น้ํามีระบบสุขอนามัยที่ดี รวมทั้งการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยใชประโยชนจาก พื้นที่ปาชายเลนในบริเวณปากแมน้ําตาปและทรัพยากรทางทะเลและชายฝงของจังหวัดสุราษฎรธานี ใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่รูจักกันแพรหลายของนักทองเที่ยว สรางรายไดเขาสูทองถิ่น ขณะเดียวกันก็ควรสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมในการอนุรักษปาชายเลนและทรัพยากรชายฝง ของชุมชนบริเวณปากแมน้ําตาป เพื่อใหประชาชนในพื้นที่มีความเขาใจและใชทรัพยากรชายฝงใหเกิด ประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืนตลอดไป

361


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง กองวางแผนการใชที่ดิน. 2518. แผนการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ , กรุงเทพฯ. จังหวัดสุราษฎรธานี. http://www.suratthani.go.th/suratpoc/introductionl. html. ชัยวัฒน จิตกลา. 2548. การติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชประโยชนที่ดินปาชายเลน.เอกสารทาง วิชาการสํานักอนุรักษ ทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. กรุงเทพฯ. พิสุทธิ์ วิจารสรณ. 2528. ดินปาชายเลนและแนวทางในการพัฒนา.ใน : รายงานการสัมมนาระบบนิเวศวิทยา ปาชายเลน ครั้งที่ 5 , วันที่ 26 – 29 กรกฎาคม 2528. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. พูลศรี วันธงไชยและสมบัติ กาญจนไพหาร. 2547. การรวงหลนและการยอยสลายของซากพืชในปาชายเลน จังหวัดพังงา. เอกสารทางวิชาการสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง. กรุงเทพฯ. มนุวดี หังสพฤกษ. 2532. สมุทรศาสตรเคมี ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. วิจารณ มีผล , รักชาติ สุขสําราญ , จิระศักดิ์ ชูความดี , สนใจ หะวานนท , อภิรักษ อนันตศิริวัฒนและสนิท อักษรแกว. 2540. ลักษณะโครงสรางปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร. กลุม พัฒนาปาชายเลนและปาพรุ, กรมปาไม และคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. วิจารณ มีผล. 2548. สมบัติของดินในพื้นที่ปลูกปาชายเลน อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี.เอกสารทาง วิชาการสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง.กรุงเทพฯ สนิท อักษรแกว. 2542ก. ปาชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ. ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพฯ. สนิท อักษรแกว. 2542ข. การฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนเพื่อสังคมและเศรษฐกิจอยางยั่งยืนของ ประเทศไทย, รายงานฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ. สนิท อักษรแกว , จิตต คงแสงไชย , สนใจ หะวานนท , วิพักตร จินตนา , ไพศาล ธนะเพิ่มพูน , วสันต ศรี สวัสดิ์ , บํารุง คูหา , ศรีพรรณ มุขสมบัติ และรัตนา ออนสนิท. 2530. ความสมดุลทางนิเวศวิทยาและ กําลังผลิตของปาชายเลนในประเทศไทย. หนา 6-28 ในเอกสารศูนยวิจัยปาชายเลนจังหวัดระนอง. กรมปาไม. กรุงเทพฯ. โสภณ หะวานนท , เฉลิมชัย โชติกมาศและวิจารณ มีผล. 2548. โครงการศึกษาระบบนิเวศปาชายเลนปาก แมน้ําบางปะกง. เอกสารทางวิชาการสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง. กรุงเทพฯ.

362


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถัว่ ขาว จังหวัดสตูล Ecology of Bruguiera hainesii, Satun Province

ประนอม ชุมเรียง1 มงคล ไขมุกด2 1

2

ศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล ตําบลตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 สวนวิจัยและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรุงเทพฯ 10210

บทคัดยอ การศึกษานิเวศวิทยาบางประการของไมพังกา-ถั่วขาว ไดดําเนินการศึกษากลุมของสังคมไมพังกาถั่วขาวในพื้นที่จังหวัดสตูล ในป 2548 - 2552 โดยการวิเคราะหขอมูลโครงสรางของปาทั้งขนาดเสน ผานศูนยกลาง ความสูง ความหนาแนนของสังคมพืช การกระจายตัวของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาน ศูนยกลางและความสูง ดัชนีความสําคัญ โครงสรางของปาในรูปการแบงชั้นความสูงของพืชตามแนวดิง่ และการครอบคลุมของเรือนยอด ศึกษาคุณสมบัติของดินทั้งในฤดูรอนและฤดูฝน โดยวิเคราะหลักษณะ เนื้อดิน ความเปนกรดเปนดาง คาการนําไฟฟา ความจุในการแลกเปลี่ยนของอินทรียวัตถุ และปริมาณ ธาตุตางๆ และศึกษาลักษณะชีพลักษณของการเติบโตของลําตน การยืดยาวของกิ่ง และการออกดอก ออกผล เมื่อนําเอาขอมูลของสังคมพืช คุณสมบัติดินและลักษณะทางชีพลักษณมาเปรียบเทียบกันเพื่อ อธิบายถึงสภาพทางนิเวศวิทยา ของสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว พบวาไมพังกา-ถั่วขาวสามารถปลูกได บนดินเลนแข็งที่มีคาความเปนกรด-ดาง ประมาณ 5.18-6.41 มีคาการนําไฟฟา 6.69-15.13 mS/cm และความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก 20.34-28.27 meq/100g มีการสืบพันธุโดยใชสวนสืบพันธุ คอนขางต่ํา และปจจัยแสงมีอิทธิพลตอการออกดอกของไมพังกา-ถั่วขาว คําสําคัญ: นิเวศวิทยา, คุณสมบัติดิน, ชีพลักษณ, ไมพังกา-ถั่วขาว


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Some ecological factors of Bruguiera hainesii community, Satun province were studied in 2005 to 2009. Mangrove forest structure was analyzed by means of tree diameters, heights, community density distribution by diameter classes and height classes, important value index, height stratification and crown cover. In addition soil properties were studied in both rainy and dry seasons. Soil texture, pH electricity, CEC and some nutrient elements were determined. Phenology of growth of stem, branch elongation and flowering-fruiting periods were also examined. All above factors were compared to draw an explanation of B. hainesii community presentation. This study concluded that B. hainesii community could be grown on hard muddy soil with a pH interval of 5.18-6.41, electricity of 6.69-15.13 mS/cm, CEC of 20.34-28.27 meq/100 g. Natural generation of this species was rather low and sun light played a crucial role on B. hainesii flowering. Keyword: Ecology, soil properties, phenology, Bruguiera hainesii

บทนํา ไมพังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii C.G.Rogers) มีสถานภาพเปนพันธุไมปาชายเลนหายาก/ ใกลสูญพันธุของประเทศไทย อยูในสกุลไมถั่ว (Genus Bruguiera) ซึ่งเปนสกุลที่ใหญที่สุดของวงศไม โกงกาง (Family Rhizophoraceae) รายงานการสํารวจพบครั้งแรกโดย Hou (1958) ในภาคตะวันออก ของประเทศอินเดีย และทางตะวันออกของประเทศปากีสถาน สําหรับในกลุมเอเซียตะวันออกเฉียงใต พบขึ้นกระจายใน 5 ประเทศ คือ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศพมา ประเทศปานัว นิวกินี และประเทศไทย (FAO and Watlands International, 2006) และมีรายงานการสํารวจเพิ่มมา อี ก ที่ ป ระเทศสิ ง คโปร โ ดย Sheue et. (2005) สํา หรั บ ในประเทศไทยพบมี ชื่ อ ทางวิ ท ยาศาสตร Bruguiera hainesii โดย ดร.ธวัชชัย สันติสุข ไดเขียนไวในหนังสือ 1st Training Course – Introduction to Mangrove Ecosystem Thailand, 2 – 30 March 1983 หรือในป พ.ศ. 2526 ขณะนั้นยังไมมีชื่อ เรียกภาษาไทย นายสมชาย พานิชสุโข จึงตั้งชื่อใหงายตอการเรียกขานวาไมพังกา-ถั่วขาว เนื่องจาก มีลักษณะเหมือนลูกผสมระหวางไมพังกาหัวสุมกับไมถั่วขาว ซึ่งมีการสํารวจพบครั้งแรกที่คลองเขาขาว จังหวัดพังงา (สมชาย, 2534) ในไทยไมพังกา-ถั่วขาวมักขึ้นเปนกลุมเล็กๆ กระจัดกระจายอยูในปาชายเลน ปะปนกับพรรณไมสกุล Bruguiera ชนิดอื่นๆ พบมากที่อํา เภอขลุง จัง หวัด จัน ทบุรี อํา เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช และอําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ (กรมปาไม, 2542) ไมพังกา-ถั่วขาวมีมากที่ จังหวัดจันทบุรจี ึงมีนักวิชาการบางทานเรียกวา ไมถั่วจัน โดยในบัญชีแนบทายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่องทะเบียนพันธุพืชในประเทศไทย กําหนดใหไมถั่วจันหรือไมพังกา-ถั่วขาวเปน 1 ใน 22 ชนิดพันธุไม ที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงกําหนดใหปลูกและบํารุงในปาชายเลน

364


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล

จังหวัดสตูลเปนจังหวัดชายแดนใตสุดของไทยฝงอันดามัน พบวามีไมพังกา-ถั่วขาวขึ้นกระจาย เปนกลุมเล็กๆ อยูเชนกัน พบมากในปาชายเลนเขตอําเภอเมือง ลักษณะเดนของไมพังกา-ถั่วขาว นอกจากจะดูเหมือนลูกผสมระหวางไมพังกาหัวสุมกับไมถั่วขาวแลว ยังพบวาเปลือกของลําตนมีชอง อากาศ (Ienticell) ขนาดใหญกระจายอยูทั่วไปของลําตน ประเทศมาเลเซียมีชื่อเรียกทองถิ่นวา “Berus mata buaya” แปลวา ตาจระเข มักแตกหนอตามรากคลายเขาหรือลําตนที่โนมเอียงและลําตนมีหลาย นาง และขอสังเกตอีกประการคือ ไมพังกา-ถั่วขาวมีการแพรกระจายพันธุนอยเมื่อเทียบกับพันธุไมปา ชายเลนสกุล Bruguiera ชนิดอื่น ตนแมไมออกดอกตลอดทั้งปแตไมมีฝกแก ฝกมักจะรวงหลนกอนที่ ฝกจะแก ทําใหมีแนวโนมที่จะสูญพันธุในอนาคตหากไมมีการจัดการและอนุรักษพันธุไม การศึกษา ลักษณะสังคมพืชและคุณสมบัติของดินในปาชายเลนที่ไมพังกา-ถั่วขาวขึ้นอยู และการศึกษาชีพลักษณ การออกดอก ออกผล การเติบโต การยืดยาวของกิ่ง เหลานี้จะทําใหทราบถึงนิเวศวิทยาของไมพังกาถั่วขาว สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อประกอบการจัดการปาชายเลนใหมีความอุดมสมบูรณและ ยั่งยืนตอไป วิธีการศึกษา 1. สถานที่ศึกษา เลือกพื้นที่ศึกษากลุมของสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว 3 แหง คือบริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล บริเวณคลองจระเขไข ตําบลตํามะลัง และบริเวณบานแรกกอด ตําบลตันหยงโป อําเภอเมือง จังหวัด สตูล 2. การศึกษาโครงสรางปา วางแปลงตัว อยางในบริเ วณที่เ ลือ กไวบริเ วณละ 1 แปลง กํา หนดขนาดของแปลงตัวอยาง 10 X 20 เมตร โดยใหแนวยาวตั้งฉากกับทะเลหรือลําคลอง บันทึกขอมูลพันธุไมที่ขึ้นอยูในแปลง ตัวอยาง ดังนี้ 2.1 บันทึกขอมูล ชนิด ขนาดเสนรอบวง และความสูงของตนไมทุกตนที่เปนไมใหญ (Tree) คือ มีขนาดเสนรอบวงที่ระดับความสูง 1.3 เมตรจากพื้นดิน ตั้งแต 13 เซนติเมตร ขึ้นไป หรือมีขนาดเสน ผานศูนยกลางที่ระดับอก (DBA : diameter at breast hight) ตั้งแต 4 เซนติเมตร ขึ้นไป ยกเวนไมโกงกาง วัดที่ระดับเหนือคอราก (root collar) 20 เซนติเมตร โดยใชสายเทปวัดความโตรอบลําตนและใชไม วัดระดับความสูงวัดความสูง เก็บขอมูล 2 ครั้ง ในเดือนมกราคม 2548 และเดือนมกราคม 2549 2.2 บันทึกขอมูลชนิดและจํานวนของลูกไม (sapling) คือ ไมที่มีสูงมากกวา 1.3 เมตร และ ขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอกนอยกวา 4 เซนติเมตร และกลาไม (seedling) คือ ไมที่มีความสูงนอย กวา 1.3 เมตร พรอมทั้งบันทึกขอมูลชนิดไมพื้นลาง (under story) เก็บขอมูล 3 ครั้ง ในเดือนมกราคม 2548, กรกฎาคม 2548 และมกราคม 2549

365


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

3. การวิเคราะหขอมูลโครงสรางของปา 3.1 จํานวนชนิดไม (species list) 3.2 ขนาดเสนผานศูนยกลางและความสูงเฉลี่ย 3.3 ความหนาแนนของตนไม 3.4 การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผานศูนยกลาง (diameter class) และการกระจาย ของตนไมตามชั้นขนาดความสูง (height class) 3.5 ดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index : IVI) ของพืชแตละชนิด ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของ การแสดงออกดานนิเวศของพันธุไมในปาชายเลน คํานวณไดจากการรวมคาความหนาแนนสัมพัทธ (RD) ความถี่สัมพัทธ (RF) และความเดนสัมพัทธ (RDo) เขาดวยกัน (คา IVI มีคาตั้งแต 0 – 300) ใน การวิเคราะหขอมูลตามคูมือการสํารวจของสวนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน (ไมระบุปที่ พิมพ) 3.6 อัตราการเติบโต 3.7 การสืบตอพันธุของกลาไมและลูกไม 3.8 โครงสรางปาในรูปการแบงชั้นความสูงของพืชตามแนวดิ่ง (profile diagram) และการ ครอบคลุมของเรือนยอด (crown cover) ของแปลงตัวอยางขนาด 10x20 เมตร ทั้ง 3 แปลงตัวอยาง 4. การศึกษาคุณสมบัติของดิน เก็บตัวอยางดิน 2 ครั้ง ในฤดูรอนเดือนมีนาคม 2548 และฤดูฝนเดือนกันยายน 2548 โดยสุม เก็บในแปลงตัวอยางขนาด 10 x 20 เมตร แปลงละ 3 จุด แตละจุดเก็บดินที่ระดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร สงตัวอยางดินวิเคราะหที่ Cantral Lab คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หาดใหญ หาคาดังตอไปนี้ คือ เนื้อดิน (soil texture), ความเปนกรด – ดาง (pH), ความจุในการแลกเปลี่ยน ประจุบวก (Cation Exchange Capacity, CEC), คาการนําไฟฟา (Electrical conductivity, Ec), อินทรียวัตถุ (Organic Metter, O.M.), ธาตุไนโตรเจนทั้งหมด, ธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน, ธาตุกํามะถันที่ เปนประโยชน, ธาตุโพแทสเซียม, ธาตุแคลเซียม, ธาตุแมกนีเซียม และธาตุโซเดียม 5. การศึกษาลักษณะทางชีพลักษณ คัดเลือกตนแมไมพังกา-ถั่วขาว จํานวน 5 ตนบริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล วัดขนาดความโต ของลําตน คัดเลือกกิ่งตัวอยางศึกษาตนละ 10 กิ่ง โดยวัดความยาวของกิ่ง จํานวนใบ จํานวนดอก จํานวนฝกทุกเดือน ตั้งแตเดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนมกราคม 2549 6. การศึกษาการขยายพันธ 6.1 หนอที่แตกจากราก โดยการตัดรากที่มีหนอแตกขึ้นมา ยายปลูกลงในพื้นปาของสังคมไม พังกา-ถั่วขาว และการตัดรากที่เชื่อมตอจากตนแมขาดจากรากคลายเขาที่มีหนอแตกขึ้นมา สังเกตการ รอดตายของหนอ 366


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล

6.2 กลาไม โดยนํากลาไมพังกา-ถั่วขาวที่เพาะชําจากฝกในป 2548 ไปปลูกในพื้นที่ 3 แหงที่มี ลักษณะแตกตางกันคือ 1) ริมคลอง 2) ชองวางใตรมไม และ 3) ดินเลนแข็งไดรับแสง ขอ 1 และ 2 อยู ในบริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล สวนขอ 3 อยูบริเวณคลองจระเขไข แหงละ 10 ตน เริ่มปลูกใน เดือนตุลาคม 2550 เก็บขอมูลขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ความสูง จํานวนใบ และอัตราการรอด ตาย เมื่ออายุ 3, 6, 9 และ 18 เดือน ผลการศึกษาและวิจารณ การศึกษาเรื่องนิเวศวิทยาไมพังกา-ถั่วขาว ในทองที่อําเภอเมือง จังหวัดสตูล มีรายละเอียดของ ผลการศึกษาที่ได ดังตอไปนี้ 1. จากการศึกษาโครงสรางของปาชายเลนบริเวณแปลงที่ 1, 2 และ 3 จะได ภาพตัดขวาง ตามแนวดิ่งและการปกคลุมของเรือนยอดของสังคมพืช (ภาพที่ 2) 2. จํานวนและชนิดของพันธุไมที่พบในแปลงตัวอยางทั้ง 3 แปลง ไมใหญมีทั้งหมด 7 ชนิด ไดแก พังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) ถั่วขาว (Bruguiera cylindrica), ถั่วดํา (Bruguiera parviflora), โปรงแดง (Ceriops tagal),โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata), ตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) และแสมดํา (Avicennia officinalis) ลูกไมมี 7 ชนิดเชนกัน ไดแก พังกา-ถั่วขาว. ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรงแดง, โกงกางใบเล็ก, ตําบูนดํา และ ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum) และกลาไมมี 3 ชนิด ไดแ ก พัง กา-ถั่ว ขาว, โปรงแดง และ ตะบูน ดํา สํา หรับ ไมพื้น ลา งพบเหงือ กปลาหมอดอกมว ง (Acanthus ilicifolius), เหงือกปลาหมอเครือ (Acanthus volubilis), ถอบแถบน้ํา (Derris trifoliata), กระเพาะปลา (Finlaysonia maritima) และ ปรงหนู (Acrostichum speciosum) 3. ขนาดเสนผานศูนยกลางและความสูงเฉลี่ยของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล ในป 2549 มี ขนาดเส น ผ า ศู น ย ก ลางเฉลี่ ย เท า กั บ 9.35 เซนติ เ มตร อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตเฉลี่ ย เท า กั บ 0.35 เซนติเมตรตอป และความสูงเฉลี่ยเทากับ 9.89 เมตร อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยเทากับ 0.39 เมตรตอป (ตารางที่ 1) จากการวิเคราะหการกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลางและความสูง ป 2549 พบวาไมพังกา-ถั่วขาว สวนใหญมีคาขนาดเสนผาศูนยกลางอยูที่ระดับชั้น 4.10 – 10.00 เซนติเมตร รองลงมาคือ 10.10 – 15.00 เซนติเมตร ซึ่งมีทิศทางเดียวกับตนไมทั้งหมดในแปลงศึกษา สําหรับชั้น ขนาดความสูงของไมพังกา-ถั่วขาว จะอยูที่ระดับชั้น 10.10 – 15.00 เมตร รองลงมาคือ 5.10 – 10.00 เมตร ขณะที่ผลรวมตนไมทั้งหมดในแปลงจะมีชั้นความสูงอยูที่ระดับชั้น 5.10 – 10.00 เมตร รองลงมา คือ 10.10 – 15.00 เมตร จะเห็นวาในสังคมพืชของไมพังกา-ถั่วขาว พันธุไมชนิดอื่นจะถูกขมทั้งขนาด เสนผาศูนยกลางและความสูงจากไมพังกา-ถั่วขาว ซึ่งจะมีจํานวนมากกวา 4. ลักษณะโครงสรางของไมพังกา-ถั่วขาว แปลงที่ 1 บริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล แปลงที่ 2 บริเวณคลองจระเขไข และแปลงที่ 3 บานแรกกอด พบวาการกระจายและการปลกคลุมของเรือนยอด

367


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

คอนขางหนาแนนเต็มพื้นที่ สังคมพืชของปาชายเลนในแปลงสํารวจ ในป 2549 พบวา ไมพังกาถั่วขาว มีคาดัชนีความสําคัญสูงสุดเทากับ 135.99 รองลงมา ไมถั่วขาว, โปรงแดงและโกงกางใบเล็ก มีคาเทากับ 40.98, 37.30 และ 36.30 ตามลําดับ (ตารางที่ 2) ความโดดเดนของไมพังกา-ถั่วขาว คือ ลําตนมีการแตกนางเปนจํานวนมากตนที่มีนางมากที่สุดจํานวน 5 นาง ขณะที่ไมถั่วขาวและโปรงแดง พบวาลําตนแตกนางมากเชนกัน โดยตนที่มีนางมากที่สุดจํานวน 4 นาง

ข ภาพที่ 1 ลักษณะโครงสรางปาของสังคมพืช ไมพังกา – ถั่วขาว ก. แปลงที่ 1 บริเวณศูนยวิจัยปาชายเลน สตู ล ต.ตํ า มะลั ง อ.เมื อ ง จ.สตู ล พิ กั ด N 617858 E 723038 ข. แปลงที่ 2 บริ เ วณคลองจระเข ไ ข ต.ตํามะลัง อ.เมือง จ.สตูล พิกัด N 617328 E 724711 ค. แปลงที่ 3 บริ เ วณบ า นแรกกอด ต.ตันหยงโป อ.เมือง จ.สตูล พิกัด N 611117 E 734067

ค 368


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล

ตารางที่ 1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง ความสูงและอัตราการเติบโตของพันธุไมในสังคมพืชไมพังกา – ถั่วขาว จังหวัดสตูล ชนิดไม 1. พังกา-ถั่วขาว

เสนผาศูนยกลาง (ซ.ม.) ป 2549 อัตราการเติบโต (ซ.ม./ป) 9.35 0.35

ความสูง (ม.) ป 2549 อัตราการเติบโต (ม./ป) 9.89 0.39

2. ถั่วขาว

10.01

0.08

11.08

0.16

3. ถั่วดํา

5.37

0.26

7.75

0.50

4. โปรงแดง

6.36

0.26

7.59

0.77

5. โกงกางใบเล็ก

8.15

0.51

9.43

0.40

6. ตะบูนดํา

9.39

0.38

9.34

0.67

7. แสมดํา

20.38

0.70

11.00

-

9.86

0.36

9.44

0.41

รวม

จากการวิเคราะหหาคาความหนาแนนของตนไม (density of tree) คือ จํานวนตนไมตอหนวย พื้นที่ (ตน/ไร) พบวาในสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว มีคาความหนาแนนเทากับ 322 ตน/ไร โดยไมพังกาถั่วขาว มีคาความหนาแนนสูงสุดเทากับ 157 ตน/ไร รองลงมาคือ โปรงแดงและถั่วขาว มีคาความ หนาแนนเทากับ 48 และ 45 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2) ปริมาณลูกไมและกลาไมในสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว ที่พบในชวงฤดูแลงและฤดูฝนมีความ แตกตางกัน โดยจะพบกลาไมในชวงฤดูแลงมากกวาฤดูฝน พบวาความหนาแนนของลูกไมของไม พังกา-ถั่วขาว มีคาสูงสุดเทากับ 304 ตน/ไร รองลงมาคือ โกงกางใบเล็ก 240 ตน/ไร และโปรงแดง 160 ตน/ไร ลูกไมที่มีการสืบตอพันธุและการแพรกระจายพันธุไดดี คือ ลูกไมของไมพังกา-ถั่วขาว และ พบวากลาไมของไมพังกา-ถั่วขาว มีคาความหนาแนนสูงสุดเทากับ 352 ตน/ไร ตะบูนดํา 16 ตน/ไร และโปรงแดง 8 ตน/ไร กลาไมที่มีการสืบตอพันธุและการแพรกระจายพันธุไดดี คือ พังกา-ถั่วขาว สําหรับกลาไมและลูกไมของไมพังกา-ถั่วขาว ลวนแตกออกมาจากรากคลายเขาทั้งสิ้น ไมได ขยายพันธุโดยฝกแตอยางใด แสดงใหเห็นวา ไมพังกา-ถั่วขาว มีการขยายพันธุโดยใชสวนสืบพันธุได นอยมาก มีเพียงการแตกหนอเทานั้น ซึ่งเปนลักษณะเดนที่แตกตางไปจากพันธุไมปาชายเลนชนิดอื่น 5. คุณสมบัติดินในกลุมสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว ผลการศึกษาคุณสมบัติของดินจากทั้ง 3 แปลง ไดแสดงในตารางที่ 3 สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ - คุณสมบัติดินของปาพังกา-ถั่วขาวในระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร ลักษณะเนื้อดิน ในชวงฤดูแลงจะมีลักษณะเปนดินเหนียว (clay) แตในฤดูฝนก็จะพบเปนดินรวนเหนียว (clay loam)

369


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

- ปฏิกิริย าดิน หรือ ความเปน กรดเปน ดา ง พบวา ในชว งฤดูแ ลง ดิน เปน กรดมีคา เทา กับ 5.97 เซนติเมตร และฤดูฝนมีคาเทากับ 5.88 เซนติเมตร ซึ่งไมเปนกรดจัด ทั้งๆ ที่ดินในปาชายเลน สวนใหญจะเปนกรดจัดเนื่องจากแชน้ําอยูเกือบตลอดเวลา แตเนื่องจากสังคมของไมพังกา-ถั่วขาว มักขึ้นบริเวณดานหลังของปาชายเลนที่มีการทวมของน้ําทะเลไมถี่มากนัก - การนําไฟฟาของสารละลายดินที่อิ่มน้ํา (EC) พบวาไมสูงมากนัก โดยในฤดูแลงมีคาสูงกวา ฤดูฝน คือมีคาเฉลี่ยเทากับ 11.40 mS/cm และ 9.45 mS/cm ตามลําดับ แสดงวาดินมีความเค็มต่ํา ซึ่งก็สอดคลองกับสภาพพื้นที่ที่ไมพังกา-ถั่วขาวขึ้นอยู สวนความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC) มีคาเฉลี่ย 23.95 meq/100g ในฤดูแลง และมีคา 25.75 meq/100g ในฤดูฝน ซึ่งบงบอกถึงความอุดม สมบูรณของดินในทั้ง 2 ฤดูกาล - เปอรเซ็นตอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอน (O.M.) มีคาเฉลี่ย 7.92 ในฤดูแลง และ 7.76 ในฤดูฝน เปอรเซ็นตไนโตรเจนทั้งหมด (N) มีคาเฉลี่ยเทากันทั้งในฤดูแลงและฤดูฝน คือ 0.22 - ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (P) ในฤดูแลงมีคาเฉลี่ยเทากับ 21.46 mg/kg และใน ฤดูฝนมีคาเฉลี่ยเทากับ 26.04 mg/kg - สวนธาตุอาหารอื่น ๆ มีคาเฉลี่ยในฤดูแลงและฤดูฝน ดังนี้ - คาเฉลี่ยของปริมาณกํามะถันที่เปนประโยชน (S) 1,230.20 และ 1,138.12 mg/kg - คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม (K) 2.99 และ 2.45 mg/kg - คาเฉลี่ยของปริมาณแคลซียม (Ca) 4.94 และ 6.53 mg/kg - คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม (Mg) 18.52 และ 19.29 mg/kg - คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม (Na) 55.94 และ 49.58 mg/kg คุณสมบัติของดินในปาพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล อาจสรุปไดวาเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณ มีปริมาณแรธาตุอาหารตามธรรมชาติสูง เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของตนไมซึ่งมีลักษณะใกลเคียง กับคุณสมบัติดินในปาตะบูนดํา (มงคล, 2549) ยกเวนคาเฉลี่ยของปริมาณกํามะถันที่เปนประโยชน (S) ในปาสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาว มีคาสูงกวาในปาตะบูนดํา

370


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล

ตารางที่ 2 คาดัชนีความสําคัญ (IVI) คาความหนาแนน ของพันธุไมในสังคมพืชไมพังกา – ถั่วขาว จังหวัดสตูล (ป 2549) ดัชนีความสําคัญ (IVI) 135.99

2. ถั่วขาว

ไมใหญ 157

ความหนาแนน (ตน/ไร) ลูกไม 304

กลาไม 352

40.12

45

88

-

3. ถั่วดํา

15.82

19

24

-

4. โปรงแดง

37.98

48

160

8

5. โกงกางใบเล็ก

36.51

37

240

-

6. ตะบูนดํา

21.55

8

48

16

7. ตะบูนขาว

-

-

40

-

12.02

8

-

-

300

322

904

376

ชนิดไม 1. พังกา-ถั่วขาว

8. แสมดํา รวม

ตารางที่ 3 คุณสมบัติดินของสังคมพืชไมพังกา-ถั่วขาวในชวงฤดูแลง (มกราคม 2548) และฤดูฝน (กรกฎาคม 2548) จังหวัดสตูล สมบัติดิน

คาเฉลี่ยชวงฤดูแลง คาเฉลี่ยชวงฤดูฝน

1. เนื้อดิน

Clay

Clay loam

2. ความเปนกรด – ดาง pH 1:5 H2O

5.97

5.88

3. คาการนําไฟฟา EC (มิลลิซีเมนตตอเซนติเมตร ; mS/cm) 1:5 H2O

11.40

9.45

4. ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (มัลลิอีคิววาเลนซตอดิน 100 กรัม ; meq/100g) CEC 5. เปอรเซ็นตอินทรียวัตถุและอินทรียคารบอน (O.M)

23.95

25.75

7.92

7.76

6. เปอรเซ็นไนโตรเจนทั้งหมด N

0.22

0.22

7. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (mg/kg) P

21.46

26.04

8. ปริมาณกํามะถันที่เปนประโยชน (mg/kg) S

1,156.00

1,138.12

9. ปริมาณโพแทสเซียม (meq/100g) K

2.99

2.45

10. ปริมาณแคลเซียม (meq/100g) Ca

4.94

6.53

11. ปริมาณแมกนีเซียม (meq/100g) Mg

18.52

19.29

12. ปริมาณโซเดียม (meq/100g) Na

55.94

49.58

371


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

6. ลักษณะชีพลักษณการเติบโต การออกดอก ออกผลของตนไมแมไมพังกา-ถั่วขาว จํานวน 5 ตน บริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล 6.1 การเติบโตของลําตน มีขนาดเสนผาศูนยกลางระหวาง 11.19 – 23.72 เซนติเมตร และมี อัตราการเติบโตเฉลี่ย 0.578 เซนติเมตร/ป 6.2 กิ่งและใบ ผลการศึกษาพบวาการยืดยาวของกิ่งไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล มีอัตรา การยืดยาวสัมพันธกับปริมาณแสงที่ไดรับ ซึ่งพบวาตนที่ไดรับแสงมากกวาตนอื่นๆ มีอัตราการยืดยาว ของกิ่งสูงถึง 3.67 เซนติเมตร/ป สวนตนที่ไดรับแสงนอยปรากฏวามีอัตราการยืดยาวของกิ่งเพียง 0.91 เซนติเมตร/ป นอกจากนี้พบวาตนที่ไดรับแสงมากจะมีกิ่งแขนงนอยหรือไมมี ขณะตนที่ไดรับแสงนอย จะแตกกิ่งแขนงมากสงผลตอปริมาณใบที่มากขึ้น 6.3 ดอกและผล ผลจากการศึกษาพบวาออกดอกออกผลทั้งป กิ่งหนึ่งจะผลิดอกไดมากที่สุด 9-12 ดอก จากดอกตูมเปนดอกบานใชระยะเวลาประมาณ 1-2 เดือน จะออกดอกมากในชวงฤดูฝน ระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนมกราคม ออกดอกนอยสุดในเดือนมีนาคม ตนที่มีการออกดอกนอยจะ เปนตนที่อยูภายใตรมเงาของไมชนิดอื่นจึงผลิใบจํานวนมากกวา สําหรับการติดฝกในไมพังกา-ถั่วขาว คอนขางต่ําถึงแมบางตนจะออกดอกมากแตไมติดฝกเลย ฝกมักจะรวงหลนเมื่ออายุได 2-3 เดือน อายุ ฝกที่นานที่สุด 7 เดือน แสดงใหเห็นวา ไมพังกา-ถั่วขาวมีการขยายพันธุโดยใชสวนสืบพันธุคอนขางต่ํา ทําใหมีแนวโนมเปนพันธุไมหายากและใกลสูญพันธุ 7. การขยายพันธุ จากการทดสอบตัดรากคลายเขาที่มีหนอแตกขึ้นมา นําไปยายปลูกลงดินใน สภาพแวดลอมเดิม และการตัดรากคลายเขาใหขาดออกจากตนแมพบวาหนอที่แตกออกมาในลักษณะ กลาไมเหี่ยวเฉาตายหมดทั้ง 2 กรณี ภายใน 3 เดือน และการทดลองใชกลาไมคางป (อายุมากกวา 1 ป) ปลูกในพื้นที่ปาชายเลนที่มีสภาพแตกตางกัน 3 แหง พบวา ในชวงอายุ 9 เดือน กลาไมพังกา-ถั่วขาว มีอัตราการรอดตาย 100% ทั้ง 3 พื้นที่ เมื่ออายุ 18 เดือน ปรากฏวาในพื้นที่ที่อยูริมคลองและอยูใตรม ตายหมด คงเหลือในพื้นที่ที่เปนดินเลนแข็งและไดรับแสงอัตราการรอดตาย 70% สรุปและขอเสนอแนะ การศึกษาเกี่ยวกับนิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาวจังหวัดสตูล สรุปผลไดดังนี้ จากการศึกษาทั้ง 3 แปลงตัวอยางซึ่งเปนตัวแทนของพื้นที่ที่มีความแตกตางกัน คือ แปลงที่ 1 จะอยูบริเวณใกลทะเล ที่สุดที่มีไมพังกา-ถั่วขาวขึ้นอยู แปลงที่ 2 เปนพื้นที่ถัดมาแตอยูใกลบริเวณริมคลองแพรก สวนแปลง ที่ 3 เป น ป า เชิ ง ทรงทางด า นหลั ง ป า ชายเลน จะพบว า พื้ น ที่ ทั้ ง 3 แปลงจะมี ลั ก ษณะที่ ส อดคล อ ง ใกลเคียงกัน ซึ่งทําใหไมพังกา-ถั่วขาวขึ้นไดดีคือ เปนดินเลนคอนขางแข็ง มีการทวมถึงของน้ําทะเล ไมถี่มากนัก และมักอยูบริเวณดานหลังของปาชายเลน กลุมของสังคมพืชที่สามารถขึ้นรวมกันไดกับไม พังกา-ถั่วขาวมี 7 ชนิด ไดแก ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรงแดง, โกงกางใบเล็ก, ตะบูนดํา, ตะบูนขาวและแสมดํา จุดสังเกตคือ กลาไมและลูกไมของไมพังกา-ถั่วขาว ไมไดเกิดจากสวนสืบพันธุหรือฝกแตเปนหนอที่ 372


นิเวศวิทยาของไมพังกา-ถั่วขาว จังหวัดสตูล

แตกออกมาจากรากคลายเขาทั้งสิ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาการเติบโตและการออกดอกออกผล ของตนไมพังกา-ถั่วขาว จํานวน 5 ตน บริเวณศูนยวิจัยปาชายเลนสตูลที่มีอัตราการเติบโตดี ตนที่ ไดรับแสงมากจะออกดอกมาก ขณะตนที่ไดรับแสงนอยจะสรางแตใบ แตบางตนถึงแมจะมีดอกมากแต ไมติดฝก บางตนติดฝกแตฝกรวงหลนกอนฝกแก สิ่งที่แสดงใหเห็นคือปญหาทางดานการสืบพันธุของ ไมพังกา-ถั่วขาว ปริมาณแสงที่เรือนยอดไดรับมีผลอยางมากในการเติบโตและออกดอกออกผล นอกจากนี้สิ่งที่ ชวยในการผสมเกสรในสภาพธรรมชาติ เชน นกหรือแมลงที่เหมาะสมลดลง ก็อาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทํา ใหไมสามารถติดฝกได และสาเหตุอีกประการอาจมาจากปจจัยภายในทางดานพันธุกรรมที่มีลักษณะ เปนลูกผสมตามธรรมชาติจึงทําใหมีการสืบตอพันธุดวยเพศดอยไปกวาพันธุไมปาชายเลนชนิดอื่น จึง ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศตอการขึ้นกระจายพันธุ การสืบ ตอพันธุในการออกดอกออกผลและการขยายพันธุ โดยมีการขยายผลการดําเนินการศึกษาวิจัยเก็บ ขอมูลของไมพังกา-ถั่วขาวใหครอบคลุมพื้นที่ปาชายเลนทั่วทั้งประเทศ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ คุณมงคล ไขมุกด อดีตหัวหนาสถานีวิจัยและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 3 (สตูล) ที่ชวยวางแผนการศึกษา พรอมทั้งใหคําปรึกษาแนะนําที่เปนประโยชนในการศึกษาครั้งนี้มาโดย ตลอด และขอขอบคุณเจาหนาที่ของศูนยวิจัยปาชายเลนสตูลทุกทานที่ใหความชวยเหลือในการเก็บ รวบรวมและวิเคราะหขอมูล โดยเฉพาะคุณรอฝอะ ตาวาโตและคุณมาซีหรน เจะงะ ที่ชวยติดตามเก็บ ขอมูลตลอดการศึกษา คุณปรีชา ขุนไกร ที่ชวยวาดภาพโครงสรางของปา และคุณไซนับ ตาวาโต ที่ ชวยในการวิเคราะหขอมูลและจัดพิมพเนื้อหา

373


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง กรมปาไม. 2542. พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทย. สํานักวิชาการปาไม, กรุงเทพฯ. 156 หนา. มงคล ไขมุกด. 2549. นิเวศวิทยาของไมตะบูนดํา. เอกสารวิชาการฉบับที่ 5/2549 สํานักอนุรักษ ทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม, กรุงเทพ ฯ. 21 หนา. สนิท อักษรแกว. 2532. ปาชายเลน...นิเวศวิทยาและการจัดการ. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. หจก. คอมพิวแอดเวอรไทซิ่งค, กรุงเทพฯ. 251 หนา สมชาย พานิชสุขโข. 2534. ไมพังกาถั่วขาว (bruguiera hainesii) ที่พบใหมในประเทศไทย, IV-10. ใน : การสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 7 จังหวัดตรัง, 22-25 กรกฎาคม 2534. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ. สวนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน. ไมระบุปที่พิมพ. คูมือการสํารวจทรัพยากรปาชายเลน. สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, กรุงเทพฯ. 46 หนา FAO and Wetlands International. 2006. Mangrove Guidebook for Southeast Asia. Forest Resources Officer, FAO Regional Office for Asia and the Pacific. Bangkok, Thailand. 769 P. Hou, D. 1958. Rhizaphoraceae. In : van Steenis, C.G.G.J. (ed.), Flora Malesiana, sep.1, vol. 5:429-493. Noordhoff-Kolff N.V., Djakarta, Indonesia. Sheue, C.-R., J.W.H. Yong and Y.-P. Yang. 2005. The Bruguiera (Rhizophoraceae) species in the Mangroves of Singapore, Especially on the New Record and the Rediscovery. Taiwania, 50(4) : 251-260.

374


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล Mangrove Ecology in Islands of Satun Provice

ประนอม ชุมเรียง ศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล ตําบลตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 บทคัดยอ การสํารวจสถานภาพระบบนิเวศไมปาชายเลนที่เกาะตะรุเตา เกาะผีและเกาะปูยู ของจังหวัดสตูลใน ครั้งนี้ เพื่อศึกษาถึงโครงสรางของสังคมพืชและความหลากหลายชนิดของพันธุไมปาชายเลนบริเวณ เกาะจังหวัดสตูล ซึ่งไดทําการสํารวจในเดือน เมษายน – สิงหาคม 2552 โดยวางแนวสํารวจในแตละ พื้นที่เกาะที่เก็บขอมูลและวางแปลงขนาด 10 x 10 เมตร เก็บขอมูลโครงสรางปาชายเลนตามแนว สํารวจจากริมชายฝงหรือริมคลองเขาไปดานในทุกระยะทาง 30 เมตร ผลจากการสํารวจ และ วิเคราะหหาคาดัชนีความสําคัญ (IVI) ของพืชแตละชนิดพบวา บริเวณเกาะตะรุเตาพบพันธุไมปาชายเลน ที่ใกลสูญพันธุหรือหายาก 1 ชนิด คือ แดงน้ํา (Amoora cucullata) มีพันธุไมปาชายเลนที่สามารถพบ เห็นไดทั่วไปทั้งเกาะประมาณ 40 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิด สวนใหญจะเปนกลุมของไมโกงกาง ใบเล็ก โกงกางใบใหญ และโปรงแดง ตามลําดับ บริเวณเกาะผีพบพันธุไมปาชายเลนใกลสูญพันธุ 2 ชนิด ไดแก ใบพาย (Aegialitis rotundifolia) และพังกา – ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) ทั้งเกาะพบพันธุไม ปาชายเลนประมาณ 31 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิดสวนใหญจะเปนไมแสมทะเล ลําพูทะเล และ โกงกางใบเล็ก และบริเวณเกาะปูยู พบพันธุไมปาชายเลนใกลสูญพันธุ 1 ชนิด คือ พังกา – ถั่วขาว ซึ่ง ทั้งเกาะจะพบพันธุไมปาชายเลนทั่วไปประมาณ 41 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 9 ชนิด สวนใหญจะเปน ไมถั่วขาว โปรงแดง และตะบูนดํา คําสําคัญ: ระบบนิเวศไมปาชายเลน, เกาะจังหวัดสตูล


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Investigation on status of mangrove ecology in Tarutao, Pee and Puyu islands, Satun province was carried on during April – August 2009. Mangrove structure and plant biodiversity were studied. Transect lines were set and data were complied from 10 x 10 sq. every 30 m. lineage from seaward to in–land. Results from this investigation and important value index of each species indicated that there were 40 mangrove species found in Tarutao Island, only 13 species classified as trees and most of them were found 1 rare or threatening species, Amoora cucullata. Most of those species were Rhizophora apicalata, Rhizophora mucronata and Ceriops tagal. In Pee Island, 2 rare mangrove species were found, they were Aegialitis rotundifolia and Bruguiera hainesii and the other 29 species were common, only 13 species classified as trees including Avicennia marina, Sonneratia alba and R. apiculata. In Puyu Island, only a rare species (B. hainesii) was found. The total 41 mangrove spececies were found and 9 of them were classified as trees, which were Bruguiera cylindica, C. tagal and Xylocapus moluccensis. Keyword: Mangrove ecology, Island of Satun Province

บทนํา ปาชายเลนเปนกลุมของสังคมพืชที่ขึ้นอยูตามชายฝงทะเล ปากแมน้ํา อาว ทะเลสาบ และเกาะ ในบริเวณที่เปนดินเลน และอยูในระหวางน้ําขึ้นสูงสุดหรือลงต่ําสุด ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของ พันธุไมขึ้นอยูกับปจจัยภูมิประเทศชายฝง ภูมิอากาศ ความเค็มของน้ํา การขึ้นลงของน้ํา คลื่นและ กระแสน้ํา ออกซิเจนละลายน้ําและการสะสมของตะกอน การขึ้นอยูของพันธุไมสวนใหญมักจะอยูเปน แนวเขตจากริมฝงทะเลที่เปนดินเลนออนน้ําทวมถึงเปนประจํา จนถึงดินเลนแข็งและน้ําทวมถึงเมื่อ ตอนน้ําขึ้นสูงสุดเทานั้น เริ่มตั้งแตกลุมไมแสมและลําพู กลุมไมโกงกางใบใหญและโกงกางใบเล็ก กลุม ไมพังกาหัวสุม ไมถั่วและ ไมโปรง กลุมไมฝาดและไมตะบูน กลุมไมตาตุม ไมหงอนไกทะเลและไมเปง ตามลําดับ (สนิท, 2532) สตูลเปนจังหวัดชายแดนใตสุดฝงทะเลอันดามันติดตอกับประเทศมาเลเซีย มีชายฝงทะเลยาว ประมาณ 115 กิ โ ลเมตร มี เ กาะน อ ยใหญ จํ า นวน 105 เกาะ ตะรุ เ ตาเป น เกาะที่ ใ หญ ที่ สุ ด มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 152 ตารางกิโลเมตรหรือ 95,000 ไร (บุญเสริม, 2552) ในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการศึกษาสถานภาพระบบนิเวศของไมปาชายเลนบริเวณเกาะจังหวัด สตูล โดยใชคาดัชนีความสําคัญ ( Importance Value Index : IVI ) หรือคาที่ใชแสดงถึงความสําเร็จ ทางนิเวศของพันธุไมในการครอบครองพื้นที่นั้น ๆ กลาวคือ พันธุไมชนิดใดมีคาดัชนีความสําคัญสูง แสดงถึงพันธุไมชนิดนั้นเปนพันธุไมเดนและมีความสําคัญในพื้นที่นั้นดวย คาดัชนีความสําคัญของพันธุ ไมชนิดหนึ่ง ๆ อาจผันแปรไดตั้งแตคา 0 – 300 การสํารวจความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนที่ 376


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

เกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู จังหวัดสตูล จึงเปนแนวทางหนึ่งในการจัดการพันธุไมปาชายเลนที่ ขึ้นอยูบริเวณเกาะ เพื่อใชเปนแหลงศึกษาคนควางานวิจัยทางดานพันธุศาสตร นิเวศวิทยาสิ่งแวดลอม และศักยภาพเชิงเศรษฐกิจในอนาคต วิธีการศึกษา 1. สถานที่ศึกษา เลือกพื้นที่เกาะเพื่อศึกษาสํารวจสถานภาพระบบนิเวศปาชายเลน 3 แหง ไดแก ปาชายเลน บริเวณเกาะตะรุเตา ตําบลเกาะสาหราย, เกาะผี ตําบลเจะบิลัง และเกาะปูยู ตําบลปูยู ทั้งหมดอยูใน เขตอําเภอเมือง จังหวัดสตูล 2. การสํารวจพันธุไมและศึกษาโครงสรางปา 1. กําหนดจุดสํารวจในแผนที่เกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู จังหวัดสตูล - เกาะตะรุเตา กําหนดจุดสํารวจ 8 จุด ไดแก อาวพันเตมะละกา อาวหอง อาวขาว อาว ตะโละวาว อาวดาโบะลูกเล็ก อาวดาโบะลูกใหญ อาวตะโละอุดังและอาวมะขาม - เกาะผี การวางแปลงสํารวจบนเกาะผี เนื่องจากสภาพพื้นที่ของเกาะรูปรางคลายเม็ดถั่ว ลิสง ยาวประมาณ 1 กิโลเมตร และความกวางประมาณ 100 เมตร ในการเก็บขอมูล จึงวางแนวสํารวจ ตามขวางของตั ว เกาะห า งกั น ทุ ก ระยะ 100 เมตร ได 8 แนวสํ า รวจ และวางแปลงเก็ บ ข อ มู ล แบบตอเนื่อง - เกาะปูยู กําหนดแนวสํารวจแนวเดียวจากริมคลองเขาไปชนเขา ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร 2. ลงพื้นที่วางแปลงสํารวจขนาด 10 x 10 เมตร จากริมฝงทะเลหรือคลองเขาไปดานในทุกระยะ 30 เมตร จนสุดแนวปา - วางแปลงสํารวจขนาด 10 x 10 เมตร บันทึกขอมูลไมยืนตน (Tree) ที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ที่ระดับความสูง 1.3 เมตรจากพื้นดิน หรือที่ระดับความสูง 20 เซนติเมตรเหนือคอรากสําหรับไมโกงกาง มากกวา 4 เซนติเมตร ขึ้นไป หรือเสนรอบวง 12.57 เซนติเมตร ขึ้นไป บันทึกขอมูล ชนิดไม เสนรอบวง และความสูงของไมทุกตน - วางแปลงสํารวจขนาด 5 x 5 เมตร ที่มุมขวาดานลางของแปลงสํารวจขนาด 10 x 10 เมตร สํารวจข อมูลลูก ไม (Sapling) ที่มี ขนาดเส นรอบวงที่ระดับความสูง 1.3 เมตรจากพื้นดิน นอยกว า 12.57เซนติเมตรและมีความสูงมากกวา 1 เมตร โดยบันทึกขอมูลชนิดและจํานวนของลูกไมแตละชนิด - วางแปลงสํารวจขนาด 1 x 1 เมตร ที่มุมขวาดานลางของแปลงสํารวจ 5 x 5 เมตร สํารวจ กลาไม (Seedling) ที่มีระดับความสูงไมเกิน 1 เมตร จากพื้นดิน โดยบันทึกขอมูลชนิดและจํานวนกลา ไมแตละชนิด

377


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

3. บันทึกขอมูลลักษณะสภาพแวดลอมทั่วไปและพันธุไมปาชายเลนที่พบเห็นทั้งในและนอก แปลงตัวอยางบริเวณเกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู 4. จัดทําพันธุไมหายาก / ใกลสูญพันธุอัดแหง 3. การวิเคราะหขอมูลโครงสรางของปา การวิเคราะหขอมูลจะใชการหาคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index : IVI) ของพืชแต ละชนิดซึ่งเปนคาเฉลี่ยรวมของการแสดงออกดานนิเวศของพันธุไมในปาชายเลนคํานวณไดจากการ รวมคาความหนาแนนสัมพัทธ (RD) ความคาความถี่สัมพัทธ (RF) และคาความเดนสัมพัทธ (Rdo) เขาดวยกัน (คา IVI มีคาตั้งแต 0 ไปจนถึง 300) (สวนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน, ไมระบุป ที่พิมพ) ผลการศึกษา การศึกษาโดยการสํารวจสถานภาพระบบนิเวศปาชายเลนบริเวณเกาะจังหวัดสตูล จํานวน 3 เกาะ ไดแก เกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู รายละเอียดของผลการศึกษาของแตละเกาะสรุปไดดังนี้ ผลจากการสํารวจขอมูลความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล ไดแก เกาะตะรุเตา ไดทําการสํารวจศึกษาขอมูลเปนพื้นที่ปาชายเลนจํานวน 8 จุด จํานวนแปลงสํารวจ ทั้งหมด 45 แปลง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเปนดินเลนแข็งปนทรายและกอนหิน พันธุไมทั่วไปที่พบ บริเวณเกาะมี 40 ชนิด (ตารางที่ 1) เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิด พบพันธุไมปาชายเลนที่ใกลสูญพันธุ หรือหายาก 1 ชนิด คือ แดงน้ํา (Amoora cucullata) เกาะผี ไดทําการวางแนวสํารวจจํานวน 8 แนว จํานวนแปลงสํารวจทั้งหมด 39 แปลง แบงพื้นที่ การสํารวจเปน 2 ดาน ไดแก ทางดานทิศตะวันตก (ดานหนาเกาะ) 8 แนวสํารวจจํานวน 33 แปลง พบ พันธุไมทั่วไปจํานวน 28 ชนิด และทิศตะวันออก (ดานหลังเกาะ) 3 แนว จํานวน 6 แปลง พบพันธุไม ทั่วไปจํานวน 12 ชนิด รวมพันธุไมที่พบบริเวณเกาะผี มีจํานวน 31 ชนิด (ตารางที่ 1) เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิ ด ซึ่ ง เป น พั น ธุ ไ ม ป า ชายเลนที่ ใ กล สู ญ พั น ธุ จํ า นวน 2 ชนิ ด ได แ ก ใบพาย (Aegialitis rotundifolia) และพังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) ซึ่งพบเฉพาะบริเวณทางดานทิศตะวันตกหรือ ดานหนาของเกาะผี จึงไดวางแปลงสํารวจเฉพาะกลุมสังคมพืชใบพายขนาด 10 x 10 เมตร เพิ่มอีก 3 แปลง ซึ่งทั้งเกาะสํารวจพบใบพายทั้งหมดจํานวน 159 ตน ในจํานวนนี้เปนตนกลาใบพายจํานวน 14 ตน เกาะปูยู ไดทําการสํารวจขอมูลพันธุไม 1 แนวสํารวจ จํานวน 66 แปลง พันธุไมปาชายเลนที่พบ บริเวณเกาะปูยูมี 41 ชนิด (ตารางที่ 1) เปนพันธุไมใหญ 9 ชนิด และพบพันธุไมปาชายเลนใกลสูญ พันธุ จํานวน 1 ชนิด คือ พังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) 378


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

พันธุไมปาชายเลนที่พบบนเกาะจังหวัดสตูลมีทั้งหมด 52 ชนิด เปนพันธุไมปาชายเลนใกลสูญ พันธุ 3 ชนิด ไดแก แดงน้ํา (Amoora cucullata), ใบพาย (Aegialitis rotundifolia) และพังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) และพบวาเปนพันธุไมปาชายเลนแทจริง (ture mangrove species) 27 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata), โกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata), กระเพาะปลา (Finlaysonia maritima), จาก (Nypa fruticans), ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum), ตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis), ตาตุมทะเล (Excoecaria agallocha), ถั่วขาว (Bruguiera cylindrica), ถั่วดํา (Bruguiera parviflora), ใบพาย (Aegialitis rotundifolia), เปงทะเล (Phoeni paludosa), โปรงขาว (Ceriops decandra), โปรงแดง (Ceriops tagal), ฝาดดอกขาว (Lumnitzera racemosa), ฝาดดอกแดง (Lumnitzera littorea), พังกา-ถั่วขาว (Bruguiera hainesii), พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza), ลําพูทะเล (Sonneratia alba), ลําแพน (Sonneratia ovata), เล็บมือนาง (Aegiceras corniculatum), สีง้ํา (Scyphiphora hydrophyllacea), แสมขาว (Avicennia alba), แสมดํา (Avicennia officinalis), แสมทะเล (Avicennia marina), หวายลิง (Flagellaria indica), เหงือกปลาหมอดอกขาว (Acanthus ebracteatus) และเหงือกปลาหมอดอกมวง (Acanthus ilicifolius) (ตารางที่ 1) สังคมพืชปาชายเลนบริเวณเกาะจังหวัดสตูล ที่ทําการสํารวจ มีความหลากหลายของชนิดพันธุ ไมที่สํารวจพบในแปลงศึกษาทั้ง 3 เกาะ จํานวน 18 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ, แดงน้ํา, ตะบูนขาว, ตะบูนดํา, ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรงแดง, ฝาดดอกแดง, พังกาหัวสุมดอกแดง, มะพลับ, ลําพูทะเล, แสมดํา, แสมขาว, แสมทะเล, หงอนไกทะเล, ตาตุมทะเล, โพทะเล, สี้ง้ํา และ จาก พันธุไม เดนและมีความสําคัญในระบบนิเวศของเกาะตะรุเตา ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญและโปรง แดง มีคาดัชนีความสําคัญ 129.12, 50.75 และ 41.21 ตามลําดับ เกาะผี ไดแก แสมดํา, ลําพูทะเลและ โกงกางใบเล็ก มีคาดัชนีความสําคัญเทากับ 66.62, 62.08 และ 37.49 ตามลําดับ และเกาะปูยู ไดแก ถั่วขาว, โปรงแดงและตะบูนดํา มีคาดัชนีความสําคัญเทากับ 73.16, 70.33 และ 54.12 ตามลําดับ (ตารางที่ 2)

379


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 1 พันธุไมในปาชายเลนที่สํารวจพบบนเกาะจังหวัดสตูล ชื่อสามัญ 1. โกงกางใบเล็ก* 2. โกงกางใบใหญ* 3. กระเพาะปลา* 4. แคทะเล 5. ขลู 6. จาก* 7. จิกทะเล 8. ชาเลือด 9. แดงน้ํา 10. ตะบูนขาว* 11. ตะบูนดํา* 12. ตาตุมทะเล* 13. ตีนเปดทะเล 14. เตยทะเล 15. ถอบแถบน้ํา 16. ถั่วขาว* 17. ถั่วดํา* 18. เทพี 19. เบญจมาศน้ําเค็ม 20 ใบพาย* 21. ปรงทะเล 22. ปรงหนู 23. ปอทะเล 24. เปงทะเล *

เกาะ เกาะผี เกาะปูยู ตะรุเตา 9 9 9 9

9 9 9

9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9

9

9 9 9 9

25. โปรงขาว*

9

26. โปรงแดง*

9

9 9 9 9 9 9

9

9

9 9 9

9 9 9 9 9 9 9 9 9 9

9 9 9 9 9 9

9

9

9 9 9 9

9

ชื่อสามัญ 27. ฝาดดอกขาว* 28. ฝาดดอกแดง* 29. พังกา – ถั่วขาว* 30. พังกาหัวสุมดอกแดง* 31. โพทะเล 32. มะพลับ 33. มังคะ 34. รักทะเล 35. รามใหญ 36. ลําเท็ง 37. ลําพูทะเล* 38. ลําแพน* 39. เล็บมือนาง* 40. สักขี 41. สํามะงา 42. สีง้ํา* 43. แสมขาว* 44. แสมดํา* 45. แสมทะเล* 46. หงอนไกทะเล 47. หยีน้ํา 48. หลาวชะโอน 49. หลุมพอทะเล 50. หวายลิง* 51. เหงือกปลาหมอดอก ขาว* 52. เหงือกปลาหมอดอก มวง* รวม

* พันธุไมปาชายเลนแทจริง (ture mangrove species) พบ 27 ชนิด

380

เกาะ ตะรุ เตา 9 9 9 9

เกาะ ผี

เกาะปู ยู

9 9 9 9

9 9 9 9 9

9

9

9 9 9 9

9

9

9

9 9 9 9 9 9

9 9 9 9 9 9 9

9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9

9 9 9 40

9 31

9 41


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

ตารางที่ 2 คาดัชนีความสําคัญ (IVI) ของพันธุไมปาชายเลนบนเกาะจังหวัดสตูล ชนิดไม 1.โกงกางใบเล็ก ( Ra) 2. โกงกางใบใหญ (Rm) 3. แดงน้ํา (Ac) 4. ตะบูนขาว (Xg)) 5. ตะบูนดํา (Xm) 6. ถั่วขาว (Bc) 7. ถั่วดํา (Bp) 8. โปรงแดง (Ct) 9. ฝาดดอกแดง (Ll) 10. พังกาหัวสุมดอกแดง (Bg) 11. มะพลับ (Da) 12. ลําพูทะเล (Sa) 13. แสมดํา (Ao) 14. แสมขาว (Aa) 15. แสมทะเล (Am) 16. หงอนไกทะเล (Hl) 17. ตาตุมทะเล (Ea) 18. โพทะเล (Tp) รวมทั้งสิ้น

ชื่อวิทยาศาสตร

Rhizophora apiculata Rhizophora mucronata Amoora cucullata Xylocarpus granatum Xylocarpus moluccensis Bruguiera cylindrica Bruguiera parviflora Ceriops tagal Lumnitzera littorea Bruguiera gymnorrhiza Diospyros areolata Sonneratia alba Avicennia officinalis Avicennia alba Avicennia marina Heritiera littoralis Excoecaria agallocha Thespesia populnea

คาดัชนีความสําคัญ (IVI) เกาะตะรุเตา เกาะผี เกาะปูยู 129.12 37.49 41.89 15.87 50.75 1.06 8.41 19.84 3.28 54.12 3.16 2.42 73.16 21.56 18.20 22.71 41.21 30.72 70.33 3.46 2.40 31.86 2.93 1.12 1.13 62.08 4.94 19.28 17.15 6.87 1.50 66.62 2.22 7.04 24.10 300.00

300.00

300.00

จากการวิเคราะหหาคาความหนาแนนของพันธุไมปาชายเลนบนเกาะจังหวัดสตูลทั้งหมด พบวา บนเกาะตะรุเตามีคาความหนาแนนเทากับ 270 ตน/ไร หากแยกเปนรายชนิดที่พบบนเกาะตะรุเตา พบวา โกงกางใบเล็ก มีคาความหนาแนนสูงสุด 150 ตนไร รองลงมาคือ โกงกางใบใหญและโปรงแดง มีคาความหนาแนนเทากับ 39 และ 34 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3) เกาะผี พบวามีความหนาแนนของพันธุไมเทากับ 57 ตน/ไร หากแยกเปนรายชนิดที่พบบริเวณ เกาะผี พบวาลําพูทะเลมีความหนาแนนสูงสุด 14 ตน/ไร รองลงมาคือ แสมทะเลและโปรงแดง ทีคา ความหนาแนนเทากับ 12 และ 10 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3) และเกาะปูยู พบวามีความหนาแนนสูงสุดเทากับ 277 ตน/ไร หากแยกเปนรายชนิดที่พบบน เกาะปูยู พบวา ถั่วขาวมีความหนาแนนสูงสุด 69 ตน/ไร รองลงมาคือ โปรงแดงและตะบูนดํา มีคา ความหนาแนนเทากับ 58 และ 35 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3)

381


382

1.โกงกางใบเล็ก ( Ra) 2. โกงกางใบใหญ (Rm) 3. แดงน้ํา (Ac) 4. ตะบูนขาว (Xg)) 5. ตะบูนดํา (Xm) 6. ถั่วขาว (Bc) 7. ถั่วดํา (Bp) 8. โปรงแดง (Ct) 9. ฝาดดอกแดง (Ll) 10. พังกาหัวสุมดอกแดง (Bg) 11. มะพลับ (Da) 12. ลําพูทะเล (Sa) 13. แสมดํา (Ao) 14. แสมขาว (Aa) 15. แสมทะเล (Am) 16. หงอนไกทะเล (Hl) 17. ตาตุมทะเล (Ea) 18. โพทะเล (Tp) 19. สี้ง้ํา (Sh) 20. จาก (Nf) รวมทั้งสิ้น

ชนิดไม 150.40 39.47 0.36 2.14 1.43 15.65 34.49 1.07 23.12 0.36 0.36 0.72 0.72 270

ไมใหญ

142.22 11.38 3.84 23.76 14.22 196.27 25.60 1.42 418

1,742.22 142.22 71.11 2,062.22 3,235.56 71.11 7,324

8.21 0.41 0.41 3.29 9.44 0.41 0.41 13.54 2.47 0.82 11.49 1.23 4.93 57

25.22 40.73 7.76 1.94 19.40 1.94 97

ลูกไม

ไมใหญ

ลูกไม

กลาไม

เกาะผี

เกาะตะรุเตา

ตารางที่ 3 คาความหนาแนนของพันธุไมปาชายเลน (ตน/ไร) บนเกาะจังหวัดสตูล

581.82 96.97 48.49 1,745.46 630.31 48.49 145.46 48.49 2,084.85 5,430

กลาไม

31.27 3.21 1.45 35.15 68.85 16.97 58.18 5.82 0.48 277

ไมใหญ

37.82 4.85 54.30 350.06 54.30 227.88 2.91 2.91 735

ลูกไม

เกาะปูยู 218.18 24.24 315.15 3,175.76 896.97 921.21 24.24 5,576

กลาไม

การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

จากการวิเคราะหปริมาณคาความหนาแนนของลูกไมและกลาไมปาชายเลนบนเกาะจังหวัดสตูล พบวา เกาะตะรุเตา มีปริมาณความหนาแนนของลูกไมปาชายเลนทั้งหมด 418 ตน/ไร ชนิดลูกไมที่พบ มีทั้งหมด 8 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ, ตะบูนขาว, ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรงแดง, พังกา หัวสุมดอกแดงและสีง้ํา ลูกไมที่มีการสืบตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก ลูกไมของโปรงแดง, โกงกางใบเล็กและพังกาหัวสุมดอกแดง มีคาความหนาแนนเทากับ 196, 142 และ 26 ตน/ไร (ตารางที่ 3) ปริมาณความหนาแนนของกลาไมปาชายเลนที่พบบนเกาะตะรุเตาทั้งหมด 7,324 ตน/ไร ชนิด ลูกไมที่พบทั้งหมด 6 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ, ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรงแดงและพังกา หัวสุมดอกแดง กลาไมที่มีการสืบตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก กลาไมของโปรงแดง, ถั่วดํา และโกงกางใบเล็ก มีความหนาแนนเทากับ 3,235 , 2,062 และ 1,742 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3) เกาะผี พบวาปริมาณความหนาแนนของลูกไมปาชายเลนที่พบทั้งหมด 97 ตน/ไร ชนิดลูกไมที่ พบมีทั้งหมด 6 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, จาก, ถั่วดํา, โปรงแดง, แสมดําและแสมทะเล ลูกไมที่มีการ สืบตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก ลูกไมของถั่วดํา, โกงกางใบเล็กและแสมทะเล มีคาความ หนาแนนเทากับ 41, 25 และ 19 ตน/ไร ตามลําดับ ปริมาณความหนาแนนของกลาไมปาชายเลนที่พบบนเกาะผีทั้งหมด 5,430 ตน/ไร ชนิดลูกไมที่ พบทั้งหมด 9 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ, ตะบูนดํา, ถั่วดํา, โปรงแดง, พังกาหัวสุม ดอกแดง, ลําพูทะเล, แสมดําและแสมทะเล กลาไมที่มีการสืบตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก กลาไมของแสมทะเล, ถั่วดํา และโกงกางใบเล็ก มีความหนาแนนเทากับ 2,085 , 1,745 และ 582 ตน/ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 3) และเกาะปูยู พบวาปริมาณความหนาแนนของลูกไมปาชายเลนที่พบทั้งหมด 735 ตน/ไร ชนิด ลูกไมที่พบมีทั้งหมด 8 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, โกงกางใบใหญ, ตะบูนดํา, ถั่วขาว, ถั่วดํา, โปรง แดง, พังกาหัว- สุมดอกแดงและแสมดํา ลูกไมที่มีการสืบตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก ลูกไมของถั่วขาว, โปรงแดงและถั่วดํา มีคาความหนาแนนเทากับ 350, 288, และ 54 ตน ตามลําดับ (ตารางที่ 3) ปริมาณความหนาแนนของกลาไมปาชายเลนที่พบบนเกาะปูยูทั้งหมด 5,576 ตน/ไร ชนิดลูกไม ที่พบทั้งหมด 5 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก, ตะบูนดํา, ถั่วขาว, ถั่วดําและโปรงแดง กลาไมที่มีการสืบ ตอพันธุและการกระจายพันธุไดดี ไดแก กลาไมของถั่วขาว โปรงแดงและถั่วดํา มีคาความหนาแนน เทากับ 3,176, 921และ 897 ตามลําดับ (ตารางที่ 3) วิจารณผล จากการสํารวจระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล 3 เกาะ ไดแก เกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู พบวาสังคมพืชปาชายเลนมีความแตกตางกันตามปจจัยแวดลอมของแตละเกาะและ ประวัติความเปนมาของแตละเกาะเอง

383


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เกาะตะรุเตาเปนเกาะที่ใหญที่สุดในจังหวัดสตูล มีเนื้อที่ 152 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่สวน ใหญเปนภูเขามีความลาดชั้นสูง มีหนาผาสูงชันสลับกับอาวและหาดทรายโคลนมีที่ราบเปนหยอมๆ (อุทยานแหงชาติตะรุเตา, 2551) พื้นที่ปาชายเลนบริเวณเกาะตะรุเตา จากการวิเคราะหขอบเขตปา ชายเลนป 2547 ของสํ านัก อนุ รัก ษ ทรั พ ยากรป าชายเลนในป 2552 คํ า นวณพื้ นที่ ป าได ป ระมาณ 1,785.14 ไร หรือประมาณ 1.88 % ของพื้นที่เกาะตะรุเตา สภาพปาชายเลนบนเกาะตะรุเตาไมเคย ผานการใหสัมปทานทําไมปาชายเลน แตเคยผานการใชประโยชนมาบางจากการเคยใชพื้นที่เกาะเปน ที่คุมขังนักโทษเมื่อ 70 ปกอน สําหรับเกาะผีเปนเกาะขนาดเล็กอยูบริเวณปากคลองเจะบิลัง หางจากแนวชายฝงประมาณ 1 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 62 ไร มีสังคมพืชปาชายเลนขึ้นอยูตามแนวขอบเกาะในอดีตประมาณ 50 ป ที่แลวเคยมีบานเรือนชาวบานอาศัยอยูบนเกาะ และยังพบวาบนเกาะผีมีพันธุไมปาชายเลนใกลสูญ พันธุขึ้นอยู 2 ชนิด คือ พังกา–ถั่วขาว (สมชาย, 2534) และใบพาย สนิทและคณะ (2535) จังหวัดสตูล พบเพียงแหงเดียวที่เกาะผีเทานั้น จึงเปนไปไดที่จะใหความสําคัญแกเกาะผีเพื่อเปนแหลงอนุรักษ พันธุกรรมพันธุไมปาชายเลนใกลสูญพันธุของจังหวัดสตูลตอไป สวนเกาะปูยู พื้นที่กําหนดแนวสํารวจอาจไมใชพื้นที่เกาะที่แทจริง แตก็ลอมรอบดวยลําคลอง ทะเลและภูเขา ซึ่งเปนพื้นที่ปาชายเลนที่เคยผานการสัมปทานมากอนจากประวัติการใหสัมปทานทําไม ปาชายเลนของจังหวัดสตูลรอบที่สอง ป 2539 จํานวน 37 สัมปทาน เนื้อที่ 211,209 ไร (จินตนา, 2541) ปจจุบันบริเวณแปลงสํารวจเกาะปูยูอยูในพื้นที่เขตพิทักษรักษสัตวน้ําปูยู ของสถานีพัฒนา ทรัพยากรปาชายเลนที่ 34 (ตํามะลัง) พื้นที่ปูยูเปนเกาะที่มีความอุดมสมบูรณและมีความหลากหลาย ของสัตวคอนขางสูง จะเห็นไดวาพื้นที่เกาะของจังหวัดสตูลทั้ง 3 แหง คือ เกาะตะรุเตา เกาะผีและเกาะปูยู ลวนแตมี ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิสังคม และความสําคัญทางประวัติศาสตรที่แตกตางกันออกไป ซึ่งมีผล ตอสถานภาพของระบบนิเวศสังคมพืชปาชายเลนที่ขึ้นอยูบริเวณเกาะแตละแหงดวยเชนกัน ซึ่งจากการ สํารวจระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูลพบพันธุไมปาชายเลนทั้งหมด จํานวน 52 ชนิด โดย พื้นที่เกาะตะรุเตาพบ 40 ชนิด 33 สกุล 22 วงศ จัดเปนพันธุไมปาชายเลนที่แทจริง 19 ชนิดมีพันธุไม ปาชายเลนใกลสูญพันธุ 1 ชนิด คือ แดงน้ํา พื้นที่เกาะผี พบ 31 ชนิด 23 สกุล 18 วงศ จัดเปนพันธุไม ปาชายเลนที่แทจริง 21 ชนิด มีพันธุไมปาชายเลนใกลสูญพันธุ 2 ชนิด คือ พังกา–ถั่วขาวและใบพาย และเกาะปูยูพบ 41 ชนิด 29 สกุล 22 วงศ จัดเปนพันธุไมปาชายเลนแทจริง 25 ชนิด การกระจายพันธุของไมปาชายเลนที่พบขึ้นทั้ง 3 เกาะ มี 24 ชนิด พันธุไมที่พบเฉพาะเกาะตะรุ เตามี 8 ชนิด ไดแก จิกทะเล แดงน้ํา โปรงขาว มะพลับ รักทะเล รามใหญ หลาวชะโอนและหลุมพอ ทะเล ซึ่งสวนใหญจะเปนไมที่อยูดานหลังปาชายเลน พันธุไมที่พบเฉพาะเกาะผีมี 2 ชนิด ไดแก ใบพาย และสํามะงา ซึ่งเปนไมที่ขึ้นไดดีเฉพาะในพื้นที่ดินเลนปนทรายหรือปนกรวดหิน และพันธุไมที่พบ 384


ระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

เฉพาะเกาะปูยูมี 6 ชนิด ไดแก ขลู ฝาดดอกขาว ลําแพน สักขี หวายลิงและเหงือกปลาหมอดอกขาว ซึ่งสวนใหญเปนไมชั้นลาง ไมพุม ไมเลื้อยและไมยืนตนขนาดเล็ก สรุปและขอเสนอแนะ การศึกษาเรื่องระบบนิเวศปาชายเลนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล สรุปผลไดดังนี้ จากการสํารวจศึกษา ขอมูลความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนที่เกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู จังหวัดสตูล พบพันธุ ไมปาชายเลนทั้งหมด 52 ชนิด 40 สกุล 28 วงศ เปนพันธุไมปาชายเลนแทจริง 27 ชนิด บนเกาะตะรุเตา มีความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนประมาณ 40 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิด พันธุไมเดน และมีความสําคัญในนิเวศ ไดแก โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ และโปรงแดง มีคาดัชนีความสําคัญ เทากับ 129.12, 50.75 และ 41.21 ตามลําดับ มีความหนาแนนของไมใหญ, ลูกไม และกลาไม เทากับ 270, 418 และ 7,324 ตน/ไร ตามลําดับ บนเกาะผีมีความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนประมาณ 31 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 13 ชนิ ด พั น ธุ ไ ม เ ด น ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ในนิ เ วศ ได แ ก แสมดํ า ลํ า พู ท ะเลและโกงกางใบเล็ ก มี ค า ดั ช นี ความสําคัญเทากับ 66.62, 62.08 และ 37.49 ตามลําดับ มีความหนาแนนของไมใหญ, ลูกไม และกลาไม เทากับ 57, 97 และ 430 ตน/ไร ตามลําดับ และบนเกาะปูยูมีความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนประมาณ 41 ชนิด เปนพันธุไมใหญ 9 ชนิด พันธุไมเดนของระบบนิเวศ ไดแก ถั่วขาว, โปรงแดง และตะบูนดํา มีคาดัชนีความสําคัญเทากับ 90.57, 87.22 และ 67.05 ตามลําดับ มีความหนาแนนของไมใหญ, ลูกไม และกลาไม เทากับ 277, 735 และ 5,576 ตน/ไร ตามลําดับ การสะสมหรือการพอกพูนของตะกอนตามอาวตางๆ บนเกาะชวยบงบอกถึงการแพรกระจาย ของพันธุไมได รวมทั้งการพิจารณาคาดัชนีความสําคัญ (Important Valve Index : IVI) ยังสามารถ บอกไดวาพันธุไมชนิดใดที่มีความเดนและความสําคัญในนิเวศในแตละพื้นที่ศึกษาของเกาะตะรุเตา เกาะผี และเกาะปูยู ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับประยุกตใชงานดานการจัดการทรัพยากรปาชายเลน ที่อยูบนเกาะของจังหวัดสตูล ไดดังนี้ 1. ควรมีการจัดทําคูมือพันธุไมปาชายเลนบนเกาะตะรุเตา เกาะผีและเกาะปูยู เพื่อการศึกษาเชิง นิเวศของทองถิ่นและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศของจังหวัดสตูล 2. รัฐจะตองมีการประชาสัมพันธใหบุคคลทุกระดับไดเขาใจถึงความสําคัญของระบบนิเวศปา ชายเลนบนเกาะ เพื่อเปนการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลนตามพื้นที่เกาะแบบมี สวนรวมอยางยั่งยืน 3. ควรมีการประกาศเปนเขตคุมครองหรือแหลงอนุรักษพันธุกรรมพืชปาชายเลนที่หายากหรือ ใกลสูญพันธุบนพื้นที่เกาะจังหวัดสตูล

385


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

กิตติกรรมประกาศ ตองขอขอบพระคุณ คุณนิพนธ เต็มแกว หัวหนาสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 36 (ละงู: สตูล) ที่สนับสนุนขอมูลพื้นที่ปาชายเลนบริเวณเกาะตะรุเตา คุณณัฐพล รัตนพันธ หัวหนาอุทยาน แหงชาติหมูเกาะตะรุเตาที่อํานวยความสะดวกเรื่องที่พักและอาหารแกเจาหนาที่ขณะออกพื้นที่เก็บ ขอมูลที่เกาะตะรุเตา และสุดทายขอขอบคุณทีมงานและเจาหนาที่ศูนยวิจัยปาชายเลนสตูลทุกทานที่ได รวมแรงกายและแรงใจ ในการสํารวจเก็บขอมูลวิเคราะหขอมูล ตลอดจนการจัดพิมพ โดยเฉพาะคุณ ซาฟนา องศารา และ คุณปรีชา ขุนไกร ที่สละเวลาชวยจัดพิมพขอมูลตางๆ จนแลวเสร็จ

เอกสารอางอิง จินตนา ปลาทอง (ชูเหล็ก). 2541. สถานภาพปาชายเลนในภาคใตของประเทศไทย. Wetland International – Thailand Programme / มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. สิ่งตีพิมพหมายเลข 5. 152 หนา บุญเสริม ฤทธาภิรมย. 2552. จดหมายจากตะรุเตา ครบรอบสามทศวรรษ. พิมพครั้งที่ 10. บริษัท สํานักพิมพ บรรกิจ 1991 จํากัด, กรุงเทพฯ. 324 หนา. สนิท อักษรแกว, กอรดอน เอส แมกซเวลล, สนใจ หะวานนท และสมชาย พานิชสุโข. 2535. พันธุไม ปาชายเลน. บริษัท ฉลองรัตน จํากัด, กรุงเทพ. 120 หนา. สนิท อักษรแกว. 2532. ปาชายเลน...นิเวศวิทยาและการจัดการ. คณะวนศาสตร. หจก. คอมพิวแอด เวอรไทซิ่งค, กรุงเทพฯ. 251 หนา สมชาย พานิชสุโข. 2534. ไมพังกา – ถั่วขาว (Bruguiera hainesii) ที่พบใหมในประเทศไทย. ใน : การสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 7. วันที่ 22- 25 กรกฎาคม 2534 ณ โรงแรม ธรรมรินทร จังหวัดตรัง. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ. หนา IV – 10. สวนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน. ไมระบุปที่พิมพ. คูมือ การสํารวจทรัพยากรปาชายเลน. สํ า นั ก อนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรป า ชายเลน กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝ ง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, กรุงเทพมหานคร. 46 หนา อุทยานแหงชาติตะรุเตา. 2551. รายงานประจําป 2551 อุทยานแหงชาติตะรุเตา. สํานักบริหารพื้นที่ อนุ รั ก ษ ที่ 5 กรมอุ ท ยานแห ง ชาติ สั ต ว ป า และพั น ธุ พื ช กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม. จังหวัดสตูล. 69 หนา

386


สมการแอลโลเมตรีทั่วไปสําหรับประเมินมวลชีวภาพรากของไมลําพูและแสมขาว Common allometric relationships for estimation of root biomass of Sonneratia caseolaris and Avicennia alba

ศศิธร พวงปาน1 ฉัตรทิพย รอดทัศนา2 พิพัฒน พัฒนผลไพบูลย3 1,2,3

ภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

บทคัดยอ การประเมินมวลชีวภาพรากของไมปาชายเลนอยางแมนยํามีความสําคัญในการศึกษาวัฏจักรคารบอน ที่มีความเกี่ยวของกับสภาวะโลกรอนที่เปนปญหาสําคัญอยูในขณะนี้ แตอยางไรก็ตามยังคงมีปญหาใน การประเมินมวลชีวภาพราก ในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อใชวิธีการทางแอลโลเมตรีสรางสมการ ประเมินมวลชีวภาพรากของพันธุไมเบิกนําที่สําคัญในปาชายเลนสองชนิดที่มีการสรางระบบรากหายใจ ไดแก แสมขาว และ ลําพู ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาสามารถใชขนาดเสนผานศูนยกลางลําตนที่ ระดับอก (DBH) และที่ระดับ 0.3 เมตรจากพื้นดิน (D0.3) เปนตัวแปรอิสระในสมการแอลโลเมตรีทั่วไป สําหรับประเมินมวลชีวภาพรากได หากแตความสัมพันธระหวางน้ําหนักราก (WR) กับกําลังสองของ ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตนที่ระดับ 0.3 เมตรจากพื้นดิน (D0.32) มีความหมายทางชีววิทยาบน พื้นฐานของทฤษฎีไปปโมเดล (Shinozaki และคณะ 1964) ที่กลาววาพื้นที่หนาตัดของลําตนที่สวนโคน จะรองรับปริมาณรากทั้งหมดของตนไม ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงใชความสัมพันธระหวาง WR-D0.32 ในการสรางความสัมพันธเชิงแอลโลเมตรีทั่วไป ซึ่งการประเมินมวลชีวภาพรากโดยใชสมการแอลโลเม ตรีทั่วไปนี้มีคาใกลเคียงกับการคํานวณดวยสมการอื่น ดังนั้นจึงเปนการสนับสนุนวาสมการแอลโลเมตรี ทั่วไปนี้สามารถใชในการประเมินมวลชีวภาพรากของไมปาชายเลนที่มีการสรางระบบรากหายใจได คําสําคัญ: ระบบรากหายใจ, มวลชีวภาพราก, ความสัมพันธเชิงแอลโลเมตรี


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract A precise estimation of root biomass for mangroves is very essential to clarify the carbon cycle relating to a temporal issue of global warming phenomenon. However, an approach for estimation of root biomass is still problem. The present study aimed to establish allometric relationship for root biomass estimation of two important pioneer mangroves producing pneumatophores in their root system, Avicennia alba and Sonneratia caseolaris. The result showed that the independent variables of stem diameter at breast height (DBH) and at 0.3 m from ground level (D0.3) could be used for the common equation of root weight (WR). However, the WR-D0.32 relationship has a biological background of Pipe Model Theory (Shinozaki et al., 1964) which suggested that the cross sectional area of stem at the ground level supported the total root system of a tree. Therefore, the WR-D0.32 relationship was adopted to be the common allometric relationship in this study. The estimated root biomass obtained by this equation was comparable to the other common one. This ensures the application of this equation to estimation root biomass of mangrove trees having pneumatophore root system. Keyword: pneumatophore root system, root biomass, allometric relationship Introduction Mangrove forest is a coastal plant community exclusively in tropical and subtropical regions affected by periodical tides (Saenger, 2002). Thus, mangrove plants show some physiological and morphological adaptation to survive in the waterlogged and soft mud soil. One of the adaptation is obviously seen in the root system which usually produces above-ground part to perform gas exchange in the anaerobic soil condition (Hogarth, 1999; Karleskint, Turner and Small, 2009). Consequently, the tree form of mangrove plants is said as bottom-heavy tree form (Ong et al., 2004) as the Top/Root biomass ratio (T/R) is usually less than 1.0 (Komiyama et al., 2008). Thus, a precise estimation of root biomass for mangroves is very essential to clarify the carbon cycle relating to a temporal issue of global warming phenomenon. A well-known method of biomass estimation is allometry method that is to calculate plant biomass by using allometric relationship. The allometric relationship for estimating root biomass of mangroves had been established specifically for an individual species (i.e., Comley and McGuinness, 2005; Tamooh et al., 2009) because the allometry is usually species specific because of different tree form or wood density (Komiyama et al., 2002; Kirui et al., 2006). Komiyama et al. (2005) developed a common allometry for root-biomass estimation of a number of species by deriving from an allometric relationship between above-ground and root weight. Two genera of mangroves, Sonneratia (Family Sonneratiaceae) and Avicennia (Family Avicenniaceae) are commonly known as pioneer species occupying on new mudflat to assist new plants for establishment (Panapitukkul et al., 1998; Berger et al., 2006; Proisy et al., 2009). Sustaining on the soft muddy soil, they own a common character of producing extensive cable roots having many aerial roots, so called pneumatophore, vertically grow on. However, there is no allometric equation which is specific to root-biomass estimation for the

388


สมการแอลโลเมตรีทั่วไปสําหรับประเมินมวลชีวภาพรากของไม

mangroves producing pneumatophore on their root system. The aim of this study is to establish common allometric equations for estimating root biomass of the two genera. We discuss the background of these common allometric relationships. Moreover, it will apply for root biomass estimation. Materials and methods Study site The study site located at a secondary mangrove forest on an estuary of Trat River (12o 12’N, 102o 33’E), Trat province, Thailand. This forest has been managed by Mangrove Forest Development Center No. 1 of the Department of Marine and Coastal Resources, Thailand. A study plot of 10 x 30 m2 was conducted along a river fringe in this forest where Sonneratia caseolaris and Avicennia alba were purely existed. The tree density was 2133 stems ha-1 (for trees having diameter at breast height, DBH, >4.5 cm). S. caseolaris and A. alba shared 20.3 and 79.7%, respectively. The average and maximum DBH of S. caseolaris were 16.0 cm and 35.5 cm, respectively. The tree height was 10.6 m in average. The root system of S. caseolaris produces many pneumatophores with average 50 cm in length. The average and maximum DBH of A. alba were 10.0 cm and 22.3 cm, respectively. The tree height was 9.0 m in average. Although the pneumatophores exist on the root system of A. alba, their size are smaller and slimmer than that of S. caseolaris (Tomlinson, 1986; Vannucci, 2004). Root excavation A root system of S. caseolaris and A. alba (n=3) was excavated by using a water-pump (Honda-WB20XT) for removing soils from root system. Before the root excavation, tree sizes including stem diameter at ground level (D0), stem diameter at 0.3 m height (D0.3), stem diameter at breast height (DBH) and tree height (H) were measured. Then, the above-ground part was cut by using a handsaw at height of ground level. The roots were washed carefully and carried to laboratory at Mangrove Forest Learning and Development Center No. 1. All of the living roots were separated by the visual condition on root surface, firmness, freshness and color (Persson, 1978; Leuschner et al., 2001; Meinen et al., 2009). They were manually sized into different diameter classes (0-2, 2-5, 5-10, 10-20, >20 mm). The fresh weight was obtained by using an electric balance (Sartorius model TE31025). The root samples (approximate 150g) were taken from each diameter class and oven-dried at 110oC until a constant weigh to acquire dry/fresh weight ratio. The dry weight of root system of each sample tree was calculated by using the dry/fresh weight ratios. Establishment of allometric equations In order to obtain the allometric equations, we added 3 sample trees of root weight published by Komiyama et al. (2005) as shown in Table 1. The additional data was obtained from the same forest of the present study. For each species, the allometric relationships between individual root weight (WR) and stem diameters were established, WR = axb where x is stem diameter, a and b are the constant.

389


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

The difference in species-specific allometric relationships for S. caseolaris and A. alba were compared by using ANCOVA (SPSS version 11). If the slopes of the regression (b) were not statistically different, then the different Y-intercepts (a) were tested (Poungparn et al., 2002). A common allometric relationship was established by pooling the data of all tree samples when there is no statistical difference in slope and intercept. Table 1. The sample trees using for establishment of allometric relationships Species Avicennia alba

Sonneratia caseolaris

Tree no. 697*

H D0.3 (m) (cm) 10.9 13.9

Wabg (kg)

T/R ratio

11.6

WR (kg) 13.250

42.180

3.18

DBH (cm)

A1 A2

9.3 5.7

12.9 6.8

8.5 5.6

6.472 1.567

21.819 6.558

3.37 4.19

A3

8.9

9.9

6.8

2.281

19.171

8.40

8*

10.0 15.3

11.2

14.110

47.630

3.38

602*

10.8 16.1

11.6

13.150

41.360

3.15

9.7

8.5

8.041

12.187

1.52

S1

12.5

Remarks: Wabg is weight of above-ground part including stem, branch, leaf and reproductive organ * data published by Komiyama et al. (2005) Results and discussion Species-specific and common allometric and relationship The allometric relationships for root weight (WR) of S. caseolaris and A. alba were separately established using two independent variables, D0.32 and DBH2. They were significant for the respective species (P<0.001, Table 2). It means that the species-specific allometric relationship for root weight of each species was obtained by using the both independent variables (Figure 1). The difference in species-specific allometric relationships for S. caseolaris and A. alba were statistically tested separately for each of independent variables. The WR- D0.32 relationship of the two species was not statistically different (ANCOVA, P = 0.749). Similar to the WR- D0.32 relationship, the WR- DBH2 relationship was not statistically different between the two species (ANCOVA, P = 0.199). Therefore, the common allometric relationship for root weight of A. alba and S. caseolaris was empirically established by using D0.32 and DBH2 as the independent variable (Table 3 and Figure 2). Although D0.32 or DBH2 can be used either as independent variables in common allometric equations for estimating root biomass, we have to consider the biological background of using the independent variable as well. Shinozaki et al. (1964) demonstrated pipe model theory explaining tree form in quantitative analysis. It suggested that total root weight of a tree is supported by basal area of stem at ground level. Therefore, the present study, we adopted the WR- D0.32 relationship as the common allometric relationship for estimating root weight of A. alba and S. caseolaris because it hold both empirical and biological background. Poungparn et al. (2002) also developed an allometric equation for a mangrove tree, Xylocarpus granatum, which have relatively small tree size (DBH range = 1.8-7.9 cm) by

390


สมการแอลโลเมตรีทั่วไปสําหรับประเมินมวลชีวภาพรากของไม

using a WR-D0 relationship. They discussed that the WR-D0 relationship of X. granatum was based on the pipe model theory. However, in our study, we used the stem diameter at 0.3 m from ground level because the tree sizes were larger (DBH range = 5.6-11.6 cm). A large tree usually produces buttress which probably causes an error measurement for the diameter at ground level (Figure 3). Komiyama et al. (2005) established a common allometric equation for root weight of ten species of mangroves using WR-DBH2SG relationship when SG stands for wood specific gravity. They reported a wide range of wood specific gravity from 0.340-0.749 t m-3 for these ten species. Unlike our study, the wood specific gravity between A. alba and S. caseolaris was quite similar (0.475 VS 0.506 t m-3), thus the parameter of wood specific gravity can be excluded for establishment of the common allometric relationship for root weight of A. alba and S. caseolaris having pneumatophore root system. Table 2. Species-specific allometric equations of S. caseolaris and A. alba Species S. caseolaris A. alba

Allometric equations WR=0.033 (D0.32)1.091 WR=0.189 (DBH2)0.878 WR=0.008 (D0.32)1.347 WR=0.014(DBH2)1.415

R2 0.91 0.95 0.94 0.97

F 10.59 21.83 29.49 74.46

F-statistic (at alpha level = 0.05)

(a) (b) Figure 1 Species-specific allometric relationship for root weight of Sonneratia ( ) and Avicennia ( ). The relationship is between root weight (WR) and square value of stem diameter at 0.3 m height (D0.32) in figure (a), while figure (b) is root weight (WR) and squared value of stem diameter at breast height (DBH2).

391


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Table 3 Common allometric equations for root system of S. caseolaris and A. alba Allometric equations WR=0.009

(D0.32)1.34 2 1.40

WR=0.016(DBH )

R2

F

0.96

106.09

0.96

127.89

F-statistic (at alpha level = 0.05)

(a)

(b)

Figure 2 Common allometric relationship for root weight of pneumatophore producing mangroves including Sonneratia ( ) and Avicennia ( ). The relationship is between root weight (WR) and square value of stem diameter at 0.3 m height (D0.32) in figure (a), while figure (b) is root weight (WR) and squared value of stem diameter at breast height (DBH2).

Figure 3 A stem of Avicennia alba with buttress at ground level

392


สมการแอลโลเมตรีทั่วไปสําหรับประเมินมวลชีวภาพรากของไม

Estimation of root biomass We used the common allometric equation obtained by present study (WR- D0.32 relationship) for root biomass estimation in the study plot of size 10 x 30 m2. It gave a value of 78.18 ton ha-1 which is comparable to the root biomass calculated by using the common allometric equation for estimating mangroves root weight established by Komiyama et al. (2005) which gave a value of 87.47 ton ha-1. Thus, these comparable values supported the common allometric equation from this study. A ratio between above-ground and root biomass (T/R ratio) was calculated as 2.7. It was in a range of T/R ratio of mangroves reported by Komiyama et al. (2008) (1.1-4.4). Thus, we confirmed the importance of root biomass of mangrove forest for carbon accumulation. Conclusion The common allometric equations for estimating root biomass of mangroves producing pnuematophore root system, A. alba and S. caseolaris, were established by using both of the diameter at breast height and at 0.3 m from ground level as the independent variable. However, the common allometry of WR- D0.32 relationship was based on a biological background of pipe model. Therefore, it ensures application of this equation to estimation root biomass of mangrove trees having pneumatophore root systems. Moreover, it will lead to simplify the carbon accumulation in the mangrove ecosystem. Acknowledgements We thank the Department of Marine and Coastal Resources, Thailand for allowing access to study site. A part of this study was financially supported by the Thailand research fund (TRF). We are also grateful to staff members of Mangrove Forest Learning and Development Center No. 1 (Trat Province) for providing accommodation and assistance in the field study. Referrences Alongi, D.M., Clough, B.F., Dixon, P., Tirendi, F. (2003) Nutrient partitioning and storage in arid-zone forests of the mangroves Rhizophora stylosa and Avicennia marina. Trees. 17: 51–60. Berger, U., Adams, M., Grimm, V. and Hildenbrandt, H. (2006) Modeling secondary succession of neotropical mangroves: Causes and consequences of growth reduction in pioneer species. Perspectives in Plant Ecology, Evolution and Systematics. 7: 243–252. Clough, B.F., Dixon, P. and Dalhaus, O. (1997) Allometric relationships for estimating biomass in multi-stemmed mangrove trees. Australian Journal of Botany. 45: 10231031. Comley, B.W.T. and McGuinness, K.A. (2005) Above- and below-ground biomass, and allometry, of four common northern Australian mangroves. Australian Journal of Botany.53: 431–436. Gong, W.K. and Ong, J.E., (1990) Plant biomass and nutrient flux in a managed mangrove forest. Estuarine, Coastal and Shelf Science. 31: 519-530. Hogarth, J.P. (1999) The biology of mangroves. Oxford University Press. New York.

393


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Karleskint, G., Turner, R. and Small, J.W. (2010) Introduction to marine biology. Brooks/Cole. Canada. Khan, Md.N.I., Suwa, R. and Hagihara, A. (2005) Allometric relationships for estimating the aboveground phytomass and leaf area of mangrove Kandelia candel (L.) Druce trees in the Manko Wetland, Okinawa Island, Japan. Trees. 19: 266–272. Kirui, B., Kairo, J.G. and Karachi, M. (2006) Allometric equations for estimating above ground biomass of Rhizophora mucronata Lamk. (Rhizophoraceae) mangroves at Gazi Bay, Kenya. Western Indian Ocean Journal of Marine Science. 5: 27-34. Komiyama, A., Havanond, S., Srirawatt, W., Mochida, Y., Fujimoto, K., Ohnishi, T., Ishihara, S. and Miyagi, T. (2000) Top/root biomass ratio of a secondary mangrove (Ceriops tagal (Perr.) C.B. Rob.) forest. Forest Ecology and Management. 139: 127-134. Komiyama, A., Jintana, V., Tanuwong, S. and Kato, S. (2002) A common allometric equation for predicting stem weight of mangroves growing in secondary forests. Ecological Research. 17: 415–418. Komiyama, A., Poungparn, S. and Kato, S. (2005) Common allometric equations for estimating the tree weight of mangroves. Journal of Tropical Ecology. 21: 471-477. Komiyama, A., Ong, J.E. and Poungparn, S. (2008) Allometry, biomass, and productivity of mangrove forest: A review. Aquatic Botany. 89: 128-137. Leuschner, C., Hertel, D., Coners, H. and Büttner, V. (2001) Root competition between beech and oak: a hypothesis. Oecologia. 126: 276–284. Meinen, C., Hertel, D. and Leuschner, C. (2009) Biomass and morphology of fine roots in temperate broad-leaved forests differing in tree species diversity: is there evidence of below-ground overyielding? Oecologia. 161(1): 99–111. Ong, J.E., Gong, W.K. and Wong, C.H. (2004) Allometry and partitioning of the mangrove, Rhizophora apiculata. Forest Ecology and Management. 188: 395-408. Panapitukkul, N., Duarte, C. M. , Thampanya, U., Kheowvongsria, P., Srichai, N., GeertzHansen, O., Terrados, J. and Boromthanarath, S. (1998) Mangrove Colonization: Mangrove Progression Over the Growing Pak Phanang (SE Thailand) Mud Flat. Estuarine, Coastal and Shelf Science. 47: 51–61. Persson, H. (1978) Root dynamics in a young Scots pine stand in Central Sweden. Oikos. 30:508–519. Poungparn, S., Komiyama, A., Jintana, V., Piriyota, S., Saengtain, T., Tanapermpool, P., Patanaponpaiboon, P. and Kato, S. (2002) A quantitative analysis on the root system of a mangrove, Xylocarpus granatum Koenig. Tropics. 12(1): 35-42. Proisy, C., Gratiot, N., Anthony, E.J., Gardel, A., Fromard, F. and Heuret, P. (2009) Mud bank colonization by opportunistic mangroves: A case study from French Guiana using lidar data. Continental Shelf Research. 29: 632–641. Saenger, P. (2002) Mangrove Ecology, Silviculture and Conservation. Kluwer Academic. Dordrecht. Shinozaki, K., Yoda, K., Hozumi, K., Kira, T., (1964) A quantitative analysis of plant form. Pipe model theory. I. Basic analysis. Japanese Journal of Ecology. 14: 97–105. Tamooh, F., Huxham, F., Karachi, M., Mencuccini, M., Kairo, M. and Kirui, J.G. (2008) Below-ground root yield and distribution in natural and replanted mangrove forests at Gazi bay, Kenya. Forest Ecology and Management. 256: 1290–7. Tomlinson, P.B. (1986) The botany of mangroves. Cambridge University Press, London. Vannucci, M. (2004) Mangrove management & conservation – present & future. U.N. University Press, Tokyo.

394


การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง Study on Effect of Water Quality in Coastal of Andaman Sea, Kantang district,Trang Province.

ดํารงค โลหะลักษณาเดช1 วิกิจ ผินรับ2 ทัศนาภา วองสนั่นศิลป3 สมพร รุงกําเนิดวงศ4 1,2,3

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง 4 สถาบันวิจัยสุขภาพสัตวน้ํา บทคัดยอ การศึกษาดานคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน จังหวัดตรัง ระยะเวลาศึกษาตั้งแต มกราคม ถึงธันวาคม 2552 ในอําเภอกันตัง 4 จุด พบคาเฉลี่ยในรอบปในคาของคุณภาพน้ํา ดังนี้ คุณภาพน้ํา คาpH ของน้ํา 7.59 คาความโปรงแสง 36.77 cm. คาความเค็ม 18.58 ppt คาความนําไฟฟา 25.48 μs/cm คาสารแขวนลอยทั้งหมด 0.30 mg/l คาออกซิเจนที่ละลายในน้ํา 4.97 mg/l คาบีโอดี 0.82 mg/l คาไนเตรท <0.001 mg/l คาฟอสเฟต <0.003 mg/l คาแอมโมเนีย <0.005 mg/l คาอุณหภูมิน้ํา 29.01 C0 คาซัลไฟด 0.001 mg/l คําสําคัญ: คุณภาพน้ํา, ทะเลอันดามัน, อําเภอกันตัง, จังหวัดตรัง

Abstract The study was to find out the water quality, on Andaman coastal in Trang, Data of water quality 4 station of Kantang district, were collected monthly from January to December 2009. The water sample was collected to determine the qualities such as pH, conductivity, Salinity, BOD, Temperature, Dissolved oxygen, nitrate, orthophosphate, TSS, hydrogen sulfide, ammonia and transparency value. The resulted showed that average water pH of kantang was 7.59 Transperency was 36.77 cm. Salinity was 18.58 ppt. Conductivity was 25.48 µs/cm. TSS was 0.30 mg/l., dissoved oxygen was 4.97 mg/l, BOD was 0.82 mg/l, Nitrate was <0.001 mg/l. Phosphate was <0.003 mg/l., Ammonia <0.005 mg/l, Water temperature was 29.01 ˚C. Hydrogen Sulfild was 8.83 mg/l. respectively. Keyword: Water Quality, Kantang district, Andaman Sea, Trang Province.


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

บทนํา ชายฝงทะเลของประเทศไทยจัดวาเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจ มีทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่สมบูรณ จึงมีเกษตรกรประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากันเปนจํานวนมากมี สัตวน้ําที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิดที่นิยมเลี้ยงกัน เชน กุงขาว กุงกุลาดํา ปลากะพงขาว ปลากะรัง เปนตน การใชประโยชนจากทรัพยากรน้ํามากๆและใชพรอมๆกัน อาจกอใหเกิดความ เสื่อมโทรมและสงผลกระทบตอแหลงน้ําได การตรวจสอบดานคุณภาพน้ําที่จะเกิดผลกระทบตอการ เพาะเลี้ยงสัตวน้ําเศรษฐกิจ เปนการวิเคราะหเพื่อศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําที่เกิดขึ้น เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนหรือเตรียมความพรอมในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําไดถูกตอง ไมเกิดภาวะ เสี่ยงตอการเลี้ยง ทั้งยังเปนการปองกันไมใหแหลงน้ําตามธรรมชาติไดรับความเสียหายหรือเกิด ผลกระทบจากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและเพื่อสามารถพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําแบบยั่งยืนได ปญหาสิ่งแวดลอมทวีความรุนแรงมากขึ้น ปญหามลภาวะทางน้ํานับเปนปญหาหนึ่งที่สงผล กระทบต อ ปริ ม าณและคุ ณ ภาพของน้ํ า หากน้ํ า ทิ้ ง มี ป ริ ม าณสารอิ น ทรี ย สู ง ถู ก ปล อ ยลงสู แ หล ง น้ํ า ธรรมชาติโดยมิไดผานการบําบัดยอมสงผลกระทบตอระบบนิเวศในแหลงน้ํานั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น ยอมมีทั้งผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม เชน การเกิดภาวะการบลูมของสาหราย (Eutrophication) ซึ่งจะทําใหแหลงน้ํามีปริมาณออกซิเจนลดลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในชวงกลางคืน สงผลกระทบ โดยตรงตอสัตวน้ําและคุณภาพน้ํา สวนผลกระทบโดยออมอาจจะเปนน้ําในแหลงน้ํานั้นไมเหมาะที่จะ นํามาใชประโยชนในการอุปโภค บริโภค ผลผลิตทางดานการประมงลดลง เกิดทัศนียภาพที่ไมดีตอ แหลงน้ํานั้น อันจะมีผลตอสุขภาพจิตและสุขภาพทางกาย เปนตน การที่จะจัดการสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น ตองมีระบบ ฐานขอมูลที่ถูกตอง แมนยํา และทันตอเหตุการณ ระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับสถานการณสิ่งแวดลอมและ การดําเนินการจัดการสิ่งแวดลอมในปจจุบันเปนขอมูลที่สามารถสะทอนใหเห็นถึงสภาวะดานคุณภาพ สิ่งแวดลอม ตลอดจนถึงสภาพของการจัดการสิ่งแวดลอมในปจจุบันได จึงนับวาเปนสิ่งจําเปนและเปน ที่ตองการของผูทํางานทางดานสิ่งแวดลอม หรือผูที่เกี่ยวของทุกฝาย ดังนั้นเพื่อเปนการรักษา ปองกัน หรือฟนฟูสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพที่ดี ไมสงผลกระทบอัน เปนปญหาตอสิ่งแวดลอม การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมจึงมีความจําเปนเพื่อที่จะได รักษา ปองกัน และแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที กอนจะเกิดเปนปญหาที่สงผลกระทบอยาง รุนแรงจนสายเกินจะเยียวยา หรือตองใชเวลานานในการแกไขฟนฟูใหดีดังเดิมอีกครั้ง วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล 1. เก็บตัวอยางน้ําจากชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง โดยใชกระบอกเก็บน้ํา ตัวอยาง เก็บตัวอยางน้ําอําเภอละ 4 จุดๆละ 3 ซ้ํา เก็บน้ําตัวอยางทุกๆ 1 เดือน นําตัวอยางน้ํา มาวิเคราะหคาตางๆ ตามดัชนีคุณภาพและวิธีการวิเคราะห ดังตารางที่ 1 396


การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง

ตารางที่ 1 ดัชนีคุณภาพและวิธีการวิเคราะห ดัชนีคุณภาพ 1. ความเปนกรดดาง (pH) 2. ความนําไฟฟา (conductivity) 3. ความเค็ม (salinity) 4. คาบีโอดี (BOD) 5. อุณหภูมิ 6. ออกซิเจนทั้งหมดที่ละลายในน้ํา 7. ไนเตรท(NO3-) 8. ออโธฟอสเฟต (Orthophosphate) 9. การวิเคราะหหาสารแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solid, TSS) 10. ไฮโดรเจนซัลไฟด 11. ความโปรงแสง (transparency) 12. แอมโมเนีย

วิธีการวิเคราะห pH meter Conductivity meter Salinometer Azide Modification (AWWA,1998) Thermometer DO meter Cadmium reduction method Strickland and Parsons, 1972 APHA, AWWA and WEF, 1995 Strickland and Parsons, 1972 Secchi disc Strickland and Parsons, 1972

ผลการศึกษาและวิจารณผล ผลการศึกษาปจจัยทางคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ตั้งแต เดือน มกราคม- ธันวาคม 2552 จากการศึกษาปจจัยทางคุณภาพน้ํา ที่มีผลกระทบตอการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเศรษฐกิจ บริเวณ ชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง คุณภาพน้ําที่ทําการศึกษาประกอบดวย 1.ความเปนกรด – เปนดางของน้ํา (pH) ซึ่ ง จากการศึ ก ษาตั้ ง แต เ ดื อ นมกราคมถึ ง ธั น วาคม 2552 พบว า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปตาม ธรรมชาติ ฤดูกาล ชวงเวลาการเปลี่ยนแปลง และอาจจะมีผลตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของแพลงก ตอนพื ช ด ว ย ทํ า ให พ บว า บางครั้ ง ระดั บ pH ของน้ํ า ต่ํ า ลง หรื อ ได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากฝนตก ไม มี แ สง เพียงพอตอขบวนการสังเคราะหแสง ตลอดจนในสวนของคลองน้ํา ซึ่งระดับตนคลอง กลางคลอง และ ปลายคลองของน้ํา ระดับคา pH ของน้ําจะแตกตางกันออกไป ดังนั้น ผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจะทําการเลี้ยง สัตวน้ําในกระชังหรือในบอดินก็ตาม ควรที่จะตองทราบคุณสมบัติของ pH น้ําที่บริเวณจะทํากิจกรรมให ชัดเจนกอนและจะตองทราบ อุปนิสัยของสัตวน้ําดวย และในภาพรวมถือวาอยูในเกณฑเหมาะสมตอ การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คืออยูในชวง 6.50-9.00 ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1

397


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

2. ความนําไฟฟาของน้ํา (Conductivity) คาความนําไฟฟาถือวาเปนคาที่แสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของไอออนในน้ํา ซึ่งคาความนํา ไฟฟาจากการศึกษาขอมูลมาตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวามีการเปลี่ยนแปลง อยูเสมอ บางชวงเดือนก็มีคาความนําไฟฟาต่ํา บางชวงเดือนก็มีคาความนําไฟฟาสูง หรือบางจุดมีคาความนํา ไฟฟาคอนขางสม่ําเสมอ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความนําไฟฟาของน้ําขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ เชน มีฝนตก หรือแสงแดดมาก น้ําขึ้น น้ําลง ขนาดของคลอง ฤดูกาล หรือตลอดจนในสวนของการไหล ปนเปอนของสารเคมีจากบนฝงลงสูแหลงน้ํา สิ่งเหลานี้มีผลตอการเปลี่ยนแปลงคาความนําไฟฟาของ น้ํา หรือแมกระทั่งน้ําจืด และน้ําเค็ม คาความนําไฟฟาในน้ําเค็มจะมีคาสูงกวาในน้ําจืด ซึ่งจะมีผลจาก คาไอออนในน้ําเค็มจะมีคาสูงกวาในน้ําจืด ถือวาเปนหนึ่งในคาพารามิเตอรในการตรวจสอบเฝาระวัง หากมีการเปลี่ยนแปลงมากๆ อาจจะมีผลกระทบตอการแลกเปลี่ยนไอออนในชวงการเลี้ยงสัตวน้ําได สัตวน้ํา อาจจะเครียด คุณภาพน้ําทางเคมีของความนําไฟฟาของน้ํามีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งมีปจจัยในเรื่องของ ฝน น้ําขึ้นน้ําลง ธาตุอาหาร และขนาดความลึกของคลอง ตามตารางที่ 2 และ ภาพที่ 1 3.ความเค็ม (Salinity) ความเค็มถือวามีความสําคัญตอสัตวน้ําเศรษฐกิจที่ตองการระดับความเค็ม เชนกุงทะเล ปลา ทะเล หากขบวนการในการผลิต โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงมีการเปลี่ยนแปลงความเค็ม อยูตลอดเวลาและเปนจํานวนมากๆ ซึ่งอาจจะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของสัตวน้ํา การกิน อาหาร การเกิดโรค เจ็บปวยได ดังนั้นจากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือน มกราคมถึงธันวาคม 2552 แต ละบริเวณจะมีสภาพความเค็มน้ําแตกตางกันออกไป บางจุดมีระดับความเค็มต่ํา หรือไมพบความเค็ม เลย เนื่องจากไดรับผลอิทธิพลจากน้ําจืด หรือบางจุดมีความเค็มสูง ซึ่งคาจะมีผลจากการขึ้นลงของน้ํา ทะเล ขนาดของคลอง ความลึก การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ เชนฝนตก ฤดูกาล ในระดับความเค็มก็มี แนวโนมตางกัน ดังนั้นหากผูที่จะทําการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง จะตองศึกษาชนิดของสัตวน้ําที่จะ เลี้ยงแตละบริเวณมีขอจํากัดในเรื่องของความเค็มหรือไม มีการเปลี่ยนแปลงในรอบปชวงใดมีความเค็ม สูงมาก ในชวงใดมีความเค็มต่ํา เพราะผลจากการศึกษาแตละจุด แตละพื้นที่ระดับความเค็มมีความ แตกตางกัน คุณภาพน้ําทางเคมี ความเค็มของน้ําที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบ ของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ มีคาเปลี่ยนแปลงไมเกินรอยละ 10 ของความเค็มต่ําสุด ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 4.คาบีโอดี (BOD) คาบีโอดี เปนการตรวจสอบความสะอาดของน้ํา หากมีการปะปนอินทรียสารสูงจํานวนพวก สิ่งมีชีวิตในน้ํา ก็จะมีขบวนการยอยสะลายเพิ่มมากขึ้น และจะมีผลกระทบตอสัตวน้ํา เนื่องจากการขาด แคลนปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา แตจากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวาระดับคาบีโอดี ในแตละพื้นที่ แตละจุด มีคาการใชออกซิเจนคอนขางต่ํา ซึ่งนาจะมีผลมาจากชวง 398


การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง

ที่ไปทําการเก็บตัวอยางน้ําไมคอยพบการเลี้ยงกุงบริเวณชายฝงมาก มีนอยราย ซึ่งอาจเปนไปไดจึงทํา ใหการปนเปอนของอินทรียสารลงไปในแหลงน้ํามีจํานวนไมมาก ตลอดจนผลตอการขึ้นลงของน้ํา ทํา ใหน้ําในคลองเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา จึงทําใหการสะสมของสารอินทรียเกิดการเคลื่อนยาย อยูตลอดเวลา ไมมีการหมักหมมในคลองคุณภาพน้ําทางเคมี คา BOD ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเล และน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 20 mg/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 5.อุณหภูมิของน้ํา (° C) อุ ณ หภู มิ ข องน้ํ า จากการทํ า การเก็ บ ข อ มู ล ตั้ ง แต เ ดื อ น มกราคมถึ ง ธั น วาคม 2552 มี ก าร เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งมีผลมาจาก ฤดูกาล การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ การขึ้นลงของน้ํา มีฝน ตก ขนาดของคลอง ความลึก ซึ่งสิ่งที่ควรระมัดระวังมากที่สุด ในชวงฤดูกาลบางพื้นที่ บางจุด อุณหภูมิ ของน้ําจะสูงมาก ซึ่งจะมีผลตอสัตวน้ําได เชนอาจจะทําใหสารที่ปะปนอยูในน้ําเขาไปสูรางกายสัตวน้ํา ไดเพิ่มมากขึ้น ทําใหปริมาณออกซิเจนในน้ําต่ําลง สัตวน้ําเกิดความเครียด หากเปนไปไดแตละพื้นที่ ควรที่จะกําหนดกิจกรรมใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลหรือพื้นที่ใดเหมาะสมกับสัตวน้ํา ชนิดใด ไมใหกระทบตอการเลี้ยงสัตวน้ํา ในกระชังสัตวน้ําถูกจํากัดพื้นที่โอกาสที่สัตวน้ําจะเคลื่อนที่ยาย ไปสูที่มีอุณหภูมิที่เหมาะสมคงเปนไปไดยาก ดังนั้นทางผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจะตองหาวิธีปองกัน หรือจัด ระยะเวลาในการเลี้ยงใหเหมาะสมเพื่อลดการสูญเสียของสัตวน้ํา คุณภาพน้ําทางกายภาพ คาอุณหภูมิ ของน้ํา ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้นไมเกิน 1 C จากสภาพธรรมชาติ ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 6. ออกซิเจนของน้ํา (DO) ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา ออกซิเจนมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ําและสิ่งที่มีชีวิตใน ระบบการเลี้ยงทั้งหมด จากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือน มกราคม ถึงเดือนธันวาคม 2552 ปริมาณ ออกซิเ จนที่ ล ะลายในน้ํา แต ละพื้ น ที่ แตละเดื อ น มี คามาก นอ ยตา งกัน ซึ่ง ไดรั บ อิท ธิ พ ลจากการ เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติเอง การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล การสะสมอินทรียในแหลงน้ํา การเพิ่มขึ้น ของสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ํา เชน แบคทีเรีย แพลงกตอน เปนตน หรือผลของน้ําขึ้นน้ําลง ขนาดของคลอง ความลึกของคลอง อิทธิพลของความเค็ม อุณหภูมิของน้ํา สิ่งเหลานี้จะเปนขอจํากัดทําใหปริมาณ ออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เชนบริเวณที่มีระดับความเค็มต่ําพบวาปริมาณ ออกซิเจนจะมีคามากกวาบริเวณที่มีความเค็มสูงกวา ซึ่งจะมีผลจากความหนาแนนของน้ํา การแทรก ตัวของอากาศลงสูในแหลงน้ําจืดไดดีกวาในแหลงน้ําที่มีระดับความเค็มสูงๆ หากผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ชายฝงจะทําการเลี้ยงสัตวน้ําไมวาจะเลี้ยงในกระชังหรือเลี้ยงในบอดิน ควรเฝาระวังการเปลี่ยนแปลงอยู เสมอ โดยเฉพาะชวงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล หรือธรรมชาติ ซึ่งจะมีผลทําใหสัตวน้ําเกิดการช็อค หรือ ขาดอากาศอยางเฉียบพลัน ควรระมัดระวังและจัดหาสัตวน้ําที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมที่จะ เลี้ยง เพื่อเปนการลดความเสี่ยง คุณภาพน้ําทางเคมี ของออกซิเจนที่ละลายในน้ํา ที่อยูในเกณฑ

399


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

มาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมต่ํากวา 4 mg/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 7.ไนเตรท (NO-3) ไนเตรท (NO-3) ถือวามีบทบาทและความสําคัญตอกระบวนการผลิต โดยเฉพาะหวงโซอาหาร ถือวาเปนสิ่งที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชน้ํา หรือแพลงกตอน และทําใหเกิดหวงโซอาหาร หาก ในแหลงน้ําใดที่พบไนเตรทสูงมากกวาแอมโนเนียแสดงใหเห็นวาแหลงน้ํานั้นไดมีการเปลี่ยนแปลง อินทรียสารไปอยูในรูปที่พรอมที่จะนําไปใชประโยชนสําหรับพืชน้ํา จากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือน มกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวาคาไนเตรท (NO-3) ทั้ง 4 พื้นที่ มีคาต่ํามาก นาจะมีสาเหตุมาจากแต ละพื้นที่การทํากิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําลดลง ระบบในธรรมชาติ เกิดความสมดุล ตลอดจนผลของ อิทธิพลน้ําขึ้น น้ําลง จะทําใหกาซตางๆเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา จึงทําใหคาไนเตรทในแตละ พื้นที่ต่ํามากๆแตหากเปนบอเลี้ยงสัตวน้ําในบอดิน คงจะพบคาไนเตรทอยูเพราะการสะสมของเสียไมมี โอกาสเคลื่อนยายออกจากบอปริมาณออกซิเจนจะมีจํานวนจํากัด ดังนั้น จึงเกิดมีขอแตกตางกันไปใน แตละพื้นที่และตามกิจกรรมแตละเวลาคุณภาพน้ําทางเคมี คาไนเตรทในน้ํา ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ํา ทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 0.4 mg - N/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 8. ออโธฟอสเฟต (Orthophosphate) ออโธฟอสเฟต จัดเปนธาตุอาหารที่มีบทบาทและความสําคัญของพืชน้ํา หากมีปริมาณมาก เกินไป โอกาสที่จะทําใหแพลงกตอนเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ซึ่งอาจจะทําใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพ น้ําตัวอื่นๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงคา pH ในน้ํา และปริมาณของออกซิเจนในน้ําได จากการ ทําการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวาปริมาณออโธฟอสเฟต ในแตละบริเวณ พื้นที่ พบในปริมาณที่นอยมาก ซึ่งจะนาจะมีผลมาจาก การดําเนินกิจกรรมทางดานการเพาะเลี้ยงสัตว น้ําชายฝงมีจํานวนนอย หรือเกิดจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงจากตัวธรรมชาติ มีการปรับตัว มีการ นําไปใช จึงทําใหเกิดการตกคางในแหลงน้ํามีนอยถือวาอยูในเกณฑที่ต่ํามากคุณภาพน้ําทางเคมี คา ฟอสเฟตในน้ํา ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 0.4 mg-P/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 9. สารแขวนลอยทั้งหมด (TSS) สารแขวนลอยทั้ ง หมด (TSS) เป น ค าที่ ทํ าให ท ราบว ามีร ะดั บ ของแข็ ง ทั้ ง หมดที่อ ยู ใ นน้ํ ารู ป อินทรียสารและอนินทรียสารมากนอยเพียงใด ซึ่งจะมีผลสอดคลองตอในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของธาตุ อาหาร การเพิ่มขึ้นของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก โดยเฉพาะกลุมของแพลงกตอน บทบาทอีกอยางของสาร แขวนลอยมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนและการเปลี่ยนแปลง pH ของน้ํา เพราะ หากการเพิ่มขึ้นของสารแขวนลอยจํานวนมากๆโอกาสที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนเกิดขึ้นในระบบก็มี โอกาสเปลี่ยนแปลงไดเชนเดียวกัน อินทรียสารมีจํานวนมากๆ โอกาสที่จะทําใหสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเกิด การยอยสลายเพิ่มมากขึ้น มีการหายใจเพิ่มขึ้น ทําใหคาออกซิเจนในน้ําลดลง หรือตลอดจนคา pH 400


การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง

ของน้ําก็จะลดลงเชนเดียวกัน จากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 แตละพื้นที่ มี คาแตกตางกัน ซึ่งนาจะมีผลมาจากอิทธิพล ของน้ําขึ้น น้ําลง การชะลางหนาดินจากที่สูงในชวงฝนตก ขนาดของคลอง ความลึก ตลอดจนกิจกรรรมชุมชน ทองถิ่น ไมเหมือนกัน ซึ่งจะมีโอกาสทําใหคาที่ ศึ ก ษามี ค วามแตกต า งกั น ดั ง นั้ น หากผู ที่ จ ะทํ า การเพาะเลี้ ย งสั ต ว น้ํ า ชายฝ ง ควรให ค วามสํ า คั ญ คุณภาพน้ําทางกายภาพ ของแข็งทั้งหมดที่แขวนลอยในน้ําที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใช ในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 70 mg/l ตารางที่ 2 และภาพที่ 1 10.ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S-) ไฮโดรเจนซั ล ไฟด จั ด ว า เป น กลุ ม ก า ซที่ เ ป น อั น ตรายต อ สั ต ว น้ํ า เพราะหากมี ก ารสะสม ไฮโดรเจนซัลไฟดเปนจํานวนมาก โอกาสที่จะทําใหสัตวน้ําไดรับผลกระทบตอสัตวน้ําเปนไปไดสูง โดยเฉพาะกาซไฮโดรเจนซัลไฟดจะเขาไปแทนที่ออกซิเจนในรางกายสัตวน้ํา ทําใหสัตวน้ําออนแอ การ กินอาหารนอยลง ทําใหสัตวน้ําเกิดโรค สภาวะที่สงเสริมใหไฮโดรเจนซัลไฟดเปนพิษสูง เชน pH ของ น้ําต่ํา ออกซิเจนต่ํา และอุณหภูมิของน้ําสูงขึ้น จากการศึกษาขอมูลตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวาคาคอนขางต่ําหรือไมพบเลย ซึ่งนาจะมีผลมาจากการขึ้นลงของน้ํา การสะสมของเสียใน แหล ง น้ํ า มี ไ ม สู ง ตลอดจนกิ จ กรรมการเพาะเลี้ ย งสั ต ว น้ํ า ชายฝ ง มี ไ ม ม ากคุ ณ ภาพน้ํ า ทางเคมี ค า ไฮโดรเจนซัลไฟดในน้ํา ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 0.01 mg/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 11. ความโปรงแสง (Transparency) ความโปร ง แสง ถื อ ว า เป น ค า ดั ช นี บ ง บอกถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ ความขุ น ที่ เ กิ ด จากสาร แขวนลอยพวกตะกอนดินหรือสิ่งมีชีวิต จากการศึกษาขอมูล ตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 แต ละพื้นที่ศึกษา คาความโปรงแสง จะพบคาที่แตกตางกันออกไป ซึ่งมาจากสาเหตุฝนตก การขึ้นลงของน้ํา มีพายุ แสง ซึ่งปจจัยพวกนี้จะทําใหคาความโปรงใสมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ดังนั้นคุณภาพน้ํา ทางเคมี คามาตรฐานความโปรงใสของน้ํามีคาลดลงจากสภาพธรรมชาติไมเกินรอยละ 10 จากคาความ โปรงใสต่ําสุดต่ําสุด ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 12.แอมโมเนีย (NH3+) แอมโมเนีย (NH3+) จัดวาเปนกลุมกาซที่เปนอันตรายตอสัตวน้ําหากมีจํานวนมาก การเกิดขึ้น ของกาซแอมโมเนีย เกิดจากการสะสมพวกอินทรียในระบบ หากขบวนการดังกลาวเกิดจากการยอย สลายเกิดขึ้น การปลดปลอยสารกาซ ดังกลาวก็เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ตัวปจจัยที่ทําใหเกิดความเปน พิษสูงขึ้น ถาหากอุณหภูมิสูงขึ้นความเปนพิษก็จะสูงขึ้น ถา pH สูงขึ้นความเปนพิษก็จะสูงขึ้น ดังนั้นผู เพาะเลี้ยงสัตวน้ําตองระมัดระวัง การสะสมกาซแอมโมเนีย แตโดยธรรมชาติกาซดังกลาวนี้สามารถ สลายตัวไดเอง หากมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอตอการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ และการศึกษาขอมูล ตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม 2552 พบวาคาแอมโมเนียในน้ํามีคาต่ํามากหรือไมพบเลย ซึ่งนาจะมี สาเหตุมาจากการขึ้นลงของน้ํา การสะสมของเสียไมมากเกิน ตลอดจนกิจกรรมตางๆบริเวณที่ไปทํา

401


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

การเก็บขอมูลไมมีกิจกรรมเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงเปนจํานวนมาก ถือวาอยูในเกณฑปกติ คุณภาพน้ํา ทางเคมี คาแอมโมเนียในน้ํา ที่อยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทะเลและน้ําใชในระบบของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คือ ไมเกิน 1.1 mg-N/l ตามตารางที่ 2 และภาพที่ 1 ตารางที่ 2 แสดงคาเฉลี่ยของคุณภาพน้ําที่ทําการศึกษา ของอําเภอกันตัง ที่ตรวจวัดตั้งแตเดือน มกราคม – ธันวาคม 2552

con

คาเฉลี่ย 25.48 μs/cm 7.59 0.30 mg/l 18.58 ppt. 36.77 cm. 4.97 mg/l 0.82 mg/l <0.001 mg/l <0.005 mg/l <0.003 mg/l 0.001 mg/l 29.01 C0

36.77cm. pH

TSS

salinity transparency ค าเฉลี่ ยคุ ณภาพน้ํา

DO

0.82mg/l

0

0.3mg/l

7.59

20 10

คาสูงสุด 60.00 μs/cm 6.50 0.61 mg/l 37.00 ppt. 100.00 cm 7.00 mg/l 2.00 mg/l 0.00 mg/l 0.10 mg/l 0.10 mg/l 0.00 mg/l 34.00 C0

4.97mg/l

30

คาต่ําสุด 0.14 μs/cm 6.50 0.00 mg/l 0.00 ppt. 5.00 cm 3.20 mg/l 0.00 mg/l 0.00 mg/l 0.00 mg/l 0.00 mg/l 0.00 mg/l 21.9 C0

18.58ppt.

40

25.48μs/cm

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

คุณภาพน้ําที่ตรวจวัด คาความนําไฟฟา คา pH คาของแข็งที่แขวนลอยในน้ํา (TSS) คาความเค็มของน้ํา คาความโปรงใสของน้ํา คาออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) คาBOD(Biochemical oxygen demand) คาไนเตรทในน้ํา ( Nitrate) คาแอมโมเนียในน้ํา (NH3- N) คาฟอสเฟตในน้ํา (Phosphate) คาซัลไฟดในน้ํา (Sulfide) คาอุณหภูมิของน้ํา

BOD

ภาพที่ 1 แสดงคาเฉลี่ยของคุณภาพน้ําบางประการของอําเภอกันตัง ที่ตรวจวัดตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2552 402


การศึกษาคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง

สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาปจจัยทางดานคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง 1.ผลจากการศึกษาปจจัยดานคุณภาพน้ํา ประกอบดวย ความเปนกรด เปนดางของน้ํา, ความ นําไฟฟาของน้ํา, ความเค็มของน้ํา, คาบีโอดี, อุณหภูมิของน้ํา, ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา, ไนเตรท, ออโธฟอสเฟต, สารแขวนลอยทั้งหมด, ไฮโดรเจนซัลไฟด, แอมโมเนีย และความโปรงแสง คาดังกลาว อยูในเกณฑมาตรฐานของน้ําทะเลชายฝงและสามารถที่จะดําเนินกิจกรรมเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงได อยางเหมาะสม กิตติกรรมประกาศ การศึกษาปจจัยทางดานคุณภาพน้ํา บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง การดําเนินงานไดประสบความสําเร็จเนื่องจากไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย เปนงบประมาณแผนดินประจําป 2552 และขอขอบคุณ ผูบริหาร ทีมงานนักวิจัยของ มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลศรีว ิช ัย วิท ยาเขตตรัง ตลอดจนคุณ สมพร รุ ง กํ า เนิด วงศ สถาบันวิจัยสุขภาพสัตวน้ําชายฝง นายสุวิทย อนันต นายโสฬส บกสวาทชา นางสาวจิราพร หวังแกว และนักศึกษาที่ไดชวยในการจัดเก็บขอมูลภาคสนามและบุคคลอื่นๆหรือหนวยงานอื่นๆที่ไมไดกลาวถึง ขอขอบพระคุณเปนอยางสูง หากขอมูล เอกสาร ถอยคําใดมีขอผิดพลาดประการใด ทางผูวิจัยยินดี รับคําติชม เพื่อจะใชในการปรับปรุงครั้งตอไปใหดียิ่งๆขึ้น

เอกสารอางอิง กรรณิการ สิริสิงห. 2525. เคมีของน้ําโสโครกและการวิเคราะห. คณะสาธารณสุขศาสตร, มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ. 387 น. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2542. เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพ ของผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อลดตนทุนและเพิ่มผลผลิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. นครปฐม. เจนจิรา แกวรัตน . 2541. ความสามารถของโกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata เพื่อการบําบัดน้ํา ทิ้งจากการเลี้ยงกุง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชาญยุทธ คงภิรมยชื่น . 2533 . คูมือบทปฏิบัติการ คุณภาพน้ําทางการประมง . คณะเกษตรศาสตร บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล , ชลบุรี. 85 น. ดํารงค โลหะลักษณาเดช . 2544 . เอกสารประกอบการสอน คุณภาพน้ําทางการประมง . ภาควิชา เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ตรัง.

403


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

นิคม ละอองศิริวงศ. 2548. วิเคราะหน้ําเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง. วันที่สืบคน 19 พ.ค. 49ที่มา: http://www.nicaonline.com/new-219.html ประเทือง เชาววันกลาง. 2534. คุณภาพน้ําทางการประมง. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ลําปาง พานิช สังขเกษม และจารุวัฒน นภีตะภัฏ. 2538. อัตราการบริโภคออกซิเจนและปริมาณออกซิเจนที่ เหมาะสมตอการดํารงชีวิตในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงบางชนิด. เอกสารวิชาการฉบับที่ 24/2538. สถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงจังหวัดระยอง, กองเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงกรม ประมง. 23หนา. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และ จารุวรรณ สมศิริ. 2527. คุณสมบัติของน้ําและวิธีวิเคราะหสําหรับวิจัยทางการ ประมง. สถาบันการประมงน้ําจืดแหงชาติ. กรุงเทพฯ. APHA, Awwa and WPCA. 1980. Standard method for the examination of water and wastewater 15 th ed., American Public Heath Association, Washington,D.C.1,134 p. Boyd, C.E. Water Quality in Ponds for Aquaculture Department of Fisheries and Allied Aquaculture , Aurburn University, Alabama, USA. 482 p. Boyd, C. E. and C. S. Tucker. 1998. Pond Aquaculture Water Quality Management. Kluwer Academic Publishers, Massachusetts. Chou, H.Y., Huang, C.Y., Wang, C.H., Choang, H.C. and Lo, C.F. 1995. Pathologicity of the baculovirus infection causing white spot syndrome in cultured penaeid shrimp in Taiwan. Dis Aquat. Org. 23:165-173 Graahoff, K. 1976. Method of Sea Water Analysis Verlog Chemic New York. Prescott,G.W.1978.How to know the Freshwater Algae.Wm.C.Brown Company Publishers. Debuque,Iowa.s Smith, P.T. 1996. Physical and Chemical Characteristic of Sediments from Prawn Farm and Mangrove habitats on the Clarence River, Australia. Aquaculture 146 : 47-83. Strickland, J.D.H. and Parson, T,R, 1965. A Manual of Sea water Analysis fisheries Research board of Canada, Ottawa.

404


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง Mangrove Forest Structure and Species diversity at Sikao Creek, Sikao District, Trang Province.

สิทธิโชค จันทรยอง สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง 92150 บทคัดยอ ศึกษาโครงสรางและความหลากหลายปาชายเลน บริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง พบวา โครงสรางของปาชายเลนมีพันธุไมที่พบจํานวน 17 ชนิด พันธุไมเดนที่ประกอบเปนโครงสรางของปา ชายเลน มี 5 ชนิด คือ ไมโกงกางใบเล็ก ไมโปรงแดง ไมตะบูนดํา ไมโกงกางใบใหญและไมตะบูนขาว ซึ่งไมทั้ง 5 ชนิดดังกลาว มีคาดัชนีความสําคัญ (IVI) เทากับ 138.59, 57.24, 30.45, 25.66 และ 14.07 ตามลํ า ดั บ พั น ธุ ไ ม ทั้ ง หมดมี ค วามหนาแน น เฉลี่ ย 709.43 ต น /ไร โดยไม โ กงกางใบเล็ ก มี ค วาม หนาแนนมากสุดเปน 348 ตน/ไร ขนาดเสนผาศูนยกลางของไมทั้งหมดเฉลี่ย 8.20 เซนติเมตร โดยมี คาการกระจายอยูในชวง 5-10 เซนติเมตร ไมทั้งหมดมีความสูงเฉลี่ย 8.64 เมตร และมีคาการกระจาย อยูในชวง 5-10 เมตร ขนาดพื้นที่หนาตัดเฉลี่ย 64.29 ตารางเซนติเมตร ความหลากหลายและความ สม่ําเสมอของชนิดพันธมีคา 1.413 และ 0.551 ตามลําดับ ไมโกงกางใบเล็กและไมโปรงแดง มีความ หลากหลายและความสม่ําเสมอของชนิดพันธสูงสุด เทากัน จากผลการศึกษาชี้ใหเห็นวาลักษณะ โครงสรางของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา พรรณไมมีความหลากหลายและหนาแนนกวาพื้นที่ปาชาย เลนหลายๆ แหลง และมีการกระจายของชนิดพันธุหลากชนิด โดยมีไมโกงกางใบเล็กเปนชนิดเดน คําสําคัญ: ปาชายเลน, โครงสราง, ความหลากหลาย, คลองสิเกา


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract Study of mangrove forest structure and species diversity at Sikao Creek, Sikao, Trang province. Seventheen species of mangrove tree were found in the study area. The dominant mangrove species were Rhizophora apiculata, Ceriop tagal, Xylocarpus granatum, Rhizophora mucronata and Xylocarpus moluccensis. The Important value index (IVI) of these dominant species were 138.59, 57.24, 30.45, 25.66 and 14.07, respectively. The average density of tree was 709.43 individuals/rai (4,445 individuals/hectare) while R. apiculata , the most abundant species , had an average density 348 individuals/rai. The average basal area of R. apiculata was 8.20 centimeter with the charge distribution of the basal area class (dbh class) in the range 5-10 centimeter. The average height of mangrove tree was 8.64 meter with the charge distribution of the height class in the range 5-10 meter. The cross sectional area of tree were average 64.29 square centimeter. Species diversity and evenness index of mangrove tree were 1.413 and 0.551, respectively. R. apiculata and C. tagal of the same type of diversity and evenness index maximum. Our study revealed that the mangrove tree around Sikao Creek has higher density than other mangrove system. Keyword: Mangrove, Structure, Diversity, Sikao creek

บทนํา ปาชายเลน เปนแหลงกลุมของสังคมพันธุพืชที่มีลักษณะพิเศษ เปนระบบนิเวศหนึ่งที่มีลักษณะ แปลกที่เดนชัด แตกตางออกไปจากระบบนิเวศแบบอื่นอยางชัดเจน เพราะไดรับอิทธิพลของความ เค็มของน้ําทะเล ลักษณะของดินและปจจัยทางกายภาพอื่นๆ แตกตางจากระบบนิเวศอื่นๆ อยาง ชั ด เจน ระบบนิ เ วศป า ชายเลนเป น แหล ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ช ายฝ ง ที่ มี คุ ณ ค า อย า งมหาศาล องคประกอบของระบบ ประกอบไปดวยพืชพันธุไมปาชายเลนที่แทจริงและพันธุไมอื่นๆ อีกมากมาย มี ความหลากหลายของทรั พ ยากรชี ว ภาพสู ง มาก รวมไปถึ ง สั ต ว ต า งๆ อี ก มากมาย เป น ทั้ ง แหล ง เพาะพันธุ แหลงที่อยูอาศัย ของสัตวหลายๆ ชนิดเหลานี้ ปจจุบันปาชายเลนไดรับความสนใจจาก หนวยงานตางๆ ทั้งภาคราชการและเอกชน เปนอยางมาก มีการศึกษาวิจัยมากมายที่เกี่ยวของกับปา ชายเลน คลองสิเกา เปนคลองที่รองรับการขึ้นลงของน้ําทะเล (creek) และตอกับทางน้ําจืดเล็กๆ ตอน ปลายคลอง สวนของคลองเริ่มตั้งแตปากคลองที่ติดกับทะเลอาวสิเกาจนถึงปลายคลอง บานไสตนวา มี ความยาวประมาณ 10 กิโลเมตร สวนที่เปนสวนรองรับการขึ้นลงของน้ําทะเล (creek) มีระยะทาง ตั้งแตปากคลองเขาไปประมาณ 6 กิโลเมตร ตั้งอยูในเขตปาสงวนแหงชาติ ปาคลองกะลาเสและปา คลองไมตาย ลักษณะของคลองขนาบดวยแนวปาชายเลนทั้งสองดาน แบบ Fringing Forest พื้นที่ ไดรับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้ําอยางสม่ําเสมอ ปาชายเลนบริเวณของคลองสิเกา ในอดีตเคยเปน ปา ชายเลนที่ใ หสัม ปทานตัด ไมเ ผาถาน และกรมปา ไมไ ดป ระกาศเปน เขตเศรษฐกิจ ก. ตามมติ คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 15 ธั น วาคม 2530 ป จ จุ บั น ได ห มดอายุ ก ารสั ม ปทานไปแล ว ตามมติ 406


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 สิง หาคม 2539 ที่ใ หย กเลิก การสัม ปทานการทํา ไมใ นเขตปา ชายเลน ปจจุบันปาชายเลนในพื้นที่แหงนี้ ฟนตัวจากการสัมปทานตัดโคน ตนไมเริ่มมีขนาดใหญมากขึ้น เพราะ รอดจากการตัดฟน ขณะเดียวกันในปจจุบัน บริเวณตนคลองที่แยกยอยออกไปเปนคลองสาขา ไดมี การทําการเกษตรสรางบอเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง ติดกับแนวปาชายเลนจํานวนมาก แนวปาชายเลนและ พื้นที่บริเวณคลองสิเกานี้ ตองแบกรับภาวะ การปลดปลอยสิ่งตางๆ ที่มากับมวลน้ําจากการทําการ เพาะเลี้ยงสัตวน้ําอีกดวย จึงเล็งเห็นวาเหมาะที่จะใชพื้นที่แหงนี้เปนแหลงสําหรับการศึกษาติดตาม การเปลี่ยนแปลง และทําการวิจัยในดานทรัพยากรชีวภาพปาชายเลนเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะระบบ โครงสรางของปาไมชายเลน ที่ฟนตัวจากการตัดโคน หลังยกเลิกสัมปทาน การแพรกระจายของชนิด พรรณไม และความหลากหลายทางชนิดพันธุ จะเปนประโยชนอยางยิ่งในการอนุรักษทรัพยากรพรรณ ไมปาชายเลนและการฟนฟูสภาพ การศึกษาวิจัยสิ่งมีชีวิตตางๆ ในปาชายเลน ในการวิจัยครั้งนี้จึง ดําเนินการขึ้นเพื่อที่จะไดทราบโครงสรางของปาชายเลนในบริเวณคลองสิเกา การแพรกระจาย ความ หลากหลายทางชนิดพรรณ เพราะถือเปนพื้นที่เศรษฐกิจในการทําการประมงของชุมชนประมงชายฝง ในปจจุบัน เพื่อที่จะไดควบคุมรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ หรือจัดการดานอื่นๆ กับทรัพยากร เหลานี้ใหคงอยูตลอดไป วิธีการศึกษา กํ า หนดขอบเขตของพื้ น ที่ บ ริ เ วณที่ เ ป น ป า ชายเลน ในแนวคลองสิ เ กา (ภาพที่ 1) โดยใช เครื่องมือหาตําแหนงบนพื้นโลก (GPS) กําหนดจุดและแนว (Line) โดยกําหนดแนวคลองเปนเสนฐาน (Base line) และกําหนดแนวเก็บขอมูล 10 แนว 1. ศึกษาโครงสรางของปาไม โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเปนระบบ (Systematic Sampling) แบบ Line plot transect method ตามแนวเสนฐาน โดยมีระยะหางแตละแนวเสนฐาน 500 เมตร กําหนดแปลงสํารวจขนาด 10x10 เมตร เพื่อสํารวจไมใหญ บันทึกขอมูลชนิดไม , ขนาดเสนรอบวงที่ ระดับความสูง 1.30 เมตร จากผิวดินและระดับความสูงของไมทุกตนในแปลงสํารวจ บันทึกขอมูล การ จําแนกชนิดพันธุไมชายเลนและชื่อตามหนังสือพันธุไมปาชายเลนของ สนิทและคณะ (2535) 2. นําขอมูลมาวิเคราะหขอมูลของโครงสรางปาไม คือความหนาแนนของพรรณไม, ความหนาแนนสัมพัทธ, ความถี่, ความถี่สัมพัทธ, ความเดนของพรรณไม, ความเดนสัมพัทธ, คาดัชนีความสําคัญเชิงนิเวศ และวัดความหลากหลายของชนิด (diversity index : H’) ตามวิธีของ Shannon-Weiner ดรรชนีความ สม่ําเสมอ (Evenness) โดยดรรชนีความสม่ําเสมอของพีลู (J’) (Pielou’s eveness)

407


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพที่ 1 คลองสิเกา อ.สิเกา จังหวัดตรัง ที่มา : Google Eatth

ผลการศึกษา 1. ชนิดและจํานวนพรรณไม (species diversity ) จากการศึกษาโครงสราง ความหลากหลายและความหนาแนนของไมปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา โดยการวางแนวและกําหนดแปลงตัวอยางครอบคลุม พื้นที่ 5,600 ตารางเมตร ตลอดแนวคลองสิเกา ตั้งแตปากคลองพื้นที่ตําบลไมฝาด ถึงปลายคลองพื้นที่ตําบลบอหิน พบพันธุไมทั้งสิ้น 17 ชนิด เปนไมยืนตน หรือไมใหญ 13 ชนิด และไมพื้นลาง 4 ชนิด ในกลุมของไมใหญ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) พบมากที่สุด จํานวน 54.13 เปอรเซนต ไมโปรงแดง (Ceriops tagal) และไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) พบจํานวน 21.95 และ 7.57 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 1) ไมพื้นลางพบ 4 ชนิด คือ ปรงหนู (Acrosticchum speciosum) ถอบแถบน้ํา (Derris trifoliata) เหงือกปลาหมอเครือ (Acanthus volubilis) และเหงือกปลาหมอดอกมวง (Acanthus ilicifolius) พบไดโดยทั่วไป

408


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

2. ความหนาแนนของไมปาชายเลน (Mangrove density) ไม ป า ชายเลนที่ เ ป น ไม ใ หญ มี ค วามหนาแน น เฉลี่ ย 709.43 ต น /ไร ไม โ กงกางใบเล็ ก (Rhizophora apiculata) มีความหนาแนนมากที่สุด เปน 348 ตน/ไร คิดเปน 54.13 เปอรเซ็นต รองลงมา เปนไมโปรงแดง (Ceriops tagal) และไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis ) มีความหนาแนนเปน 155.71 และ 53.71 ตน/ไร ตามลําดับ คิดเปน 21.95 และ 7.57 เปอรเซ็นตตามลําดับ และที่มีความ หนาแนนต่ําสุด 2 ชนิด คือ ไมแสมดํา (Avicennia officinalis) และไมถั่วดํา (Bruguiera parviflora) มี คาความหนาแนน 0.57 ตน/ไร ทั้ง 2 ชนิด คิดเปน 0.08 เปอรเซนต พันธุไมเดนตามคาดัชนีความสําคัญ คือไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีคา 138.59 และมีการแพรกระจายและมีความถี่มากที่สุด คือ 0.98 ซึ่งพบการแพรกระจายขึ้นอยูเกือบทุกพื้นที่และเกือบทุกแปลงที่ทําการศึกษา รองลงมาคือ ไมโปรงแดง และไมตะบูนดํา มีคาความถี่เปน 0.87 และ 0.55 ตามลําดับ ไมที่มีคาความถี่ต่ําสุดคือโปรงขาว (Ceriops decandra) และถั่วดํา (Bruguiera parviflora) มีคาความถี่เปน 0.018 3. ขนาดเสนผาศูนยกลางและความสูงของไม ไมปาชายเลนที่เปนไมยืนตนทั้งหมดในบริเวณคลองสิเกา มีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 8.20 ± 3.81 เซนติเมตร โดยไมแสมดํา (Avicennia officinalis ) มีคามากที่สุดเทากับ 23.31 ± 18.34 เซนติเมตร รองลงมาคือแสมทะเล (Avicennia marina ) และแสมขาว (Avicennia alba) มีคาเทากับ 17.74 ± 7.81 และ 17.27 ± 8.51 เซนติเมตร ตามลําดับ ไมที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางนอยที่สุดคือ โปรงขาว (Ceriops decandra) มีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 3.52 ± 0.46 เซนติเมตร ทางดานความสูง พบวาไมทั้งหมดมีขนาดความสูงเฉลี่ยเทากับ 8.64 ± 3.37 เมตร ไมถั่วดํา (Bruguiera parviflora) มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ 14.00 ± 0.00 เมตร รองลงมาคือ แสมทะเล (Avicennia marina ) และแสมขาว (Avicennia alba) มีคาความสูงเฉลี่ยเทากับ 13.43 ± 3.63 และ 12.23 ± 3.83 ตามลําดับ ไมที่มีคาความสูงเฉลี่ยนอยที่สุดคือไมโปรงขาว มีคาความสูงเฉลี่ยเทากับ 2.58 ± 0.34 เมตร 4. ขนาดพื้นที่หนาตัดของไม (BA) ตนไมในพื้นที่ศึกษามีขนาดพื้นที่หนาตัดเฉลี่ยเทากับ 64.29 ± 68.28 ตารางเซนติเมตร โดยไม แสมดํา (Avicennia officinalis) มีพื้นที่หนาตัดมากที่สุด เทากับ 558.90 ± 671.58 ตารางเซนติเมตร รองลงมาคือไมแสมขาว (Avicennia alba) และแสมทะเล (Avicennia marina) มีคาเทากับ 286.50 ± 246.42 และ 283.16 ± 214.34 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ ไมโปรงขาว (Ceriops decandra) มี พื้นที่หนาตัดเฉลี่ยนอยที่สุดเทากับ 9.91 ± 2.83 ตารางเซนติเมตร

409


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ตารางที่ 1 เปอรเซนตของพันธุพืช ขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอกเฉลี่ย (DBH class) ขนาดพื้นที่ หนาตัดเฉลี่ย (BA) และความสูงเฉลี่ย ของชนิดพรรณไมที่พบในพื้นที่แปลงสํารวจ species 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

Rhizophora apiculata Ceriops tagal Xylocarpus moluccensis Rhizophora mucronata Bruguiera cylindrica Xylocarpus granatum Bruguiera gymnorrhiza Ceriops decandra Avicennia alba Excoecaria agallocha Avicennia marina Bruguiera parviflora Avicennia officinalis

% 54.13 21.95 7.57 6.81 4.67 1.77 1.41 0.52 0.48 0.36 0.16 0.08 0.08

DBH (cm.) 8.76 ± 3.70 6.55 ± 2.59 8.61 ± 4.36 8.78 ± 2.83 6.51 ± 3.21 9.94 ± 5.93 7.13 ± 3.08 3.52 ± 0.46 17.27 ± 8.51 9.90 ± 4.20 17.74 ± 7.81 9.39 ± 0.67 23.31 ± 18.34 8.20 ± 3.81

BA (cm2) 71.03 ± 62.96 39.02 ± 32.52 73.10 ± 77.03 66.88 ± 43.74 41.20 ± 40.09 104.69 ± 134.21 47.15 ± 45.28 9.91 ± 2.53 286.50 ± 246.40 89.30 ± 67.70 283.16 ± 214.34 69.40 ± 9.96 588.90 ± 671.58 64.29 ± 68.28

Hight (m.) 9.50 ± 3.22 7.09 ± 2.81 7.90 ± 3.14 10.07 ± 3.07 5.44 ± 2.74 7.73 ± 2.41 8.94 ± 2.95 2.58 ± 0.34 12.23 ± 3.83 6.11 ± 2.30 13.43 ± 3.63 14.00 ± 0.00 9.45 ± 3.61 8.64 ± 3.37

5. การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผานศูนยกลาง (DBH class) การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผานศูนยกลาง (DBH class) มีลักษณะโคงระฆังคว่ําเบ ซาย โดยตนไม 53.52 เปอรเซนต จะมีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูในชวง 5.01-10.00 เซนติเมตร รองลงมาคื อ ไม ที่ มี ข นาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางอยู ใ นช ว ง 10.01-15.00 เซนติ เ มตร จํ า นวน 21.14 เปอรเซนต ถัดมาคือไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูในชวง 1.00-5.00 เซนติเมตร จํานวน 19.90 เปอรเซนต ในขณะที่ตนไมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูในชวง 30.01-40.00 เซนติเมตร ซึ่งเปนไมที่ มีขนาดใหญ จะมีจํานวนนอยที่สุด เปน 0.04 เปอรเซ็นต 6. การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดความสูง (Hight class) พบวาไมสวนใหญจะมีความสูงอยูในชวง 5.01-10.00 เมตร คิดเปนจํานวน 52.84 เปอรเซนต ของไม ทั้ ง หมด รองลงมาคื อ ไม ที่ มี ข นาดความสู ง อยู ใ นช ว ง 10.01-15.00 เมตร จํ า นวน 27.27 เปอรเซนต ไมที่มีความสูงอยูในชวง 15.01-20.00 เมตร มีนอยที่สุดเพียง 2.90 เปอรเซนต

410


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

7. ความหลากหลายของชนิดพันธุ (Species diversity) จากการวิเคราะหความหลากหลายของพืชปาชายเลนในพื้นที่ที่ศึกษา โดยวิเคราะหจากความ หลากหลายของชนิดพันธุ (Species diversity index) และความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ (Evenness index) ของพืชที่พบในพื้นที่ทั้งหมด โดยใช Shannon-Wiener’s Index พบวาคาดัชนีความหลากหลาย มีคา 1.413 และความสม่ําเสมอของชนิดพันธุมีคา 0.551 พันธุไมท่ีมีคาดัชนีความหลากหลายและความ สม่ําเสมอของชนิดพันธุ มากที่สุดคือ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) และไมโปรงแดง (Ceriops tagal) มีคาดัชนีความหลากหลายและคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ เทากับ 0.332 และ 0.129 ตามลําดับ ทั้งสองชนิดพันธุ รองลงมาคือ ไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) มีคาดัชนีความหลากหลาย และคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ เทากับ 0.195 และ 0.076 ตามลําดับ สําหรับไมที่มีคาดัชนี ความหลากหลายและคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ นอยที่สุดคือ ไมแสมดํา (Avicennia officinalis) และไมถั่วดํา (Bruguiera parviflora) มีคาดัชนีความหลากหลายและคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ ทั้งสองชนิด เทากับ 0.005 และ 0.002 ตามลําดับ 8. ดัชนีความสําคัญ (Important Value Index: IVI) คาดัชนีความสําคัญ (Important Value Index: IVI) เปนผลรวมของความถี่สัมพัทธ ความหนาแนน สัมพัทธและความเดนสัมพัทธของพันธุไมชนิดตางๆ ที่พบในบริเวณคลองสิเกา ที่ทําการศึกษา พบวา พันธุไมที่มีคาดัชนีความสําคัญสูงที่สุดคือ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีคาเทากับ 138.59 รองลงมาคือไมโปรงแดง (Ceriops tagal) ไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) และไมโกงกางใบใหญ (Rhizophora mucronata) มีคาเทากับ 57.24 และ 30.45 และ 25.66 ตามลําดับ สําหรับพันธุไมที่มีคาดัชนีความสําคัญต่ําสุดคือ ไมถั่วดํา (Bruguiera parviflora) ไมโปรงขาว (Ceriops decandra) และไมแสมดํา(Avicennia officinalis) มีคาเทากับ 0.62, 1.05 และ 1.68 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา พันธุไมเดนๆ ที่ประกอบเปนโครงสรางปาชายเลนในบริเวณคลองสิเกา คือ ไมโกงกางใบเล็ก ไมโปรงแดง ไมตะบูนดําและไมโกงกางใบใหญ สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาโครงสรางและความหลากหลายของพันธุไมปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา โดยการ วางแนวและกําหนดแปลงตัวอยางครอบคลุม พื้นที่ 5,600 ตารางเมตร ตลอดแนวคลองสิเกา โดยใช การวางแปลงสํารวจแบบ transect line plot ไมปาชายเลนที่พบในแปลงศึกษาทั้งสิ้น 17 ชนิด เปนไมปาชายเลนที่เปนไมใหญ 13 ชนิด และ ไมพื้นลาง 4 ชนิด ในกลุมของไมใหญ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) พบมากที่สุด จนเปน พันธุเดนของพื้นที่ที่ศึกษา รองลงมาคือไมโปรงแดง (Ceriops tagal) และไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) สอดคลองกับการศึกษาของ Janyong and Sudtongkong (2008) ที่ศึกษาโครงสรางปา

411


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ชายเลนบริเวณอาวราชมงคล ซึ่งเปนบริเวณพื้นที่ที่อยูติดกันกับพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ รายงานวาพบ พันธุไมปาชายเลน 14 ชนิด และพันธุไมเดนในพื้นที่เปนไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) รองลงมาคือไมโปรงแดง (Ceriops tagal) และไมตะบูนดํา (Xylocarpus moluccensis) Sudtongkong and Webb (2008) ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานทุงตาแซะ, บานทับจาก อําเภอยานตาขาว และปา ชายเลนบานโตะบัน อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง รายงานวาพบพันธุไมในพื้นที่ 12, 11 และ 14 ชนิด ตามลําดับ สอดคลองกับการศึกษาในครั้งนี้ นอกจากนี้ยังสอดคลองกับรายงานของ ภิเศก (2540) ซึ่งศึกษาปาชายเลนคลองขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช รายงานวาพบพันธุไม 14-15 ชนิด อภิชาติ (2543) ศึกษาปาชายเลนยะหริ่ง จังหวัด ปตตานี รายงานวาพบไมที่เปนพืชปาชายเลนที่แทจริง (True mangrove) 15 ชนิด พิมพจันทรและ คณะ (2550) ศึกษาปาชายเลนหลังธรณีภิบัติภัย สึนามิ บริเวณบานพรุเตียว จังหวัดพังงา รายงานวา พบพันธุไม 12 ชนิด และวิจารณ (2540) ศึกษาโครงสรางปาชายเลนบริเวณคลองพะวงและคลองอู ตะเภา จังหวัดสงขลา รายงานวาพบพันธุไม 17-22 ชนิด พันธุไมเดน คือโกงกางใบเล็ก(Rhizophora apiculata) จากการศึกษาในครั้งนี้ เปนไปตาม รายงาน การแพรกระจายและชนิดพันธุพืชปาชายเลนในประเทศไทยและเขตอินโดแปซิฟค (สนิท, 2532, สนิทและคณะ, 2535; Ashton and Macintosh, 2002; Macintosh et al., 2002) จากพื้นที่ที่ศึกษา ในครั้งนี้ จํานวนชนิดของพันธุไมปาชายเลนที่แทจริงจะพบมากที่สุดบริเวณพื้นที่ที่อยูใกลกับปากคลอง สวนที่ติดกับทะเล เพราะขอบเขตการแพรกระจายของไมปาชายเลน ยิ่งมีระยะหางจากทะเลมากขึ้น ความหลากหลายทางชนิด จะลดลง จะคอ ยๆ เปลี่ย นจากกลุม พืช ที่เ ปน พืช ปา ชายเลนที่แ ทจ ริง (True mangrove) ไปเปนกลุมพืชใกลเคียงปาชายเลน (Mangrove associate) ชนิดพันธุไมที่พบจากการศึกษา แตกตางจากปาชายเลนที่จังหวัดระนอง ซึ่งพบวามีพันธุไมที่ สําคัญ 24 ชนิด ไดแก โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ ถั่วดํา ถั่วขาว โปรงแดง และตะบูนขาว เปนตน (โสภณ และคณะ, 2540) แตจากรายงานของ Anongponyoskun and Doydee (2009) รายงาน การศึกษาพืชปาชายเลนที่แทจริง (True mangrove) ในพื้นที่บานราชกรูด บานบางเบนและบานทะเล นอก จังหวัดระนอง รายงานวาพบไมปาชายเลน 11, 9 และ 7 ชนิด ตามลําดับ ซึ่งการที่จํานวนพันธุไม แตกตางกัน อาจเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศที่แตกตางกัน ภูมิอากาศ คุณสมบัติของดินที่แตกตางกัน รวมทั้งความแตกตางในเรื่องของ น้ําขึ้นน้ําลง คลื่นและกระแสน้ํา ความเค็มของน้ําและคาออกซิเจนที่ ละลายในน้ํา (สนิท, 2532) นอกจากนี้ยังแตกตางจากรายงานของสิทธิโชค (2552) รายงานวาจํานวน ชนิดของไมปาชายเลนในบริเวณอาวสิเกามีถึง 48 ชนิด ซึ่งจากการศึกษาครั้งนี้พบนอยกวา โดยพบ เพียงแค 17 ชนิด เปนเพราะวา การศึกษาครั้งนี้วางแปลงศึกษาเฉพาะบริเวณแนวริมคลองสิเกา ตั้งแต ริมตลิ่งเขาไปดานใน พันธุไมที่พบในแปลง จึงเปนกลุมที่เปนพืชปาชายเลนที่แทจริง (True mangrove) เทานั้น แตจะเห็นวาแมจะมีความแตกตางเรื่องของสถานที่และมีจํานวนชนิดพันธุไมแตกตางกัน แต พบวามีโกงกางใบเล็ก(Rhizophora apiculata) เปนพันธุไมเดนเหมือนกัน ทั้งหมด ซึ่งเปนไปตามการ 412


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

แพรกระจายของชนิดพันธุพืชปาชายเลนชนิดเดนในประเทศไทยและเขตอินโด-แปซิฟค (สนิท, 2532, สนิทและคณะ, 2535; Ashton and Macintosh, 2002; Macintosh et al., 2002) ความหนาแนนของพันธุไมปาชายเลน จากการศึกษาในครั้งนี้มีความหนาแนนเฉลี่ย 709.43 ตน/ไร (4,445 ตน/เฮกตาร) ไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีความหนาแนนมากที่สุด เปน 348 ตน/ไร ตลอดทั้งยังพบวาไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) เปนไมเดนที่มีความหนาแนน สูงที่สุด และยังเปนชนิดที่มีการแพรกระจายและมีความถี่มากที่สุด พบการแพรกระจายขึ้นอยูเกือบทุก พื้นที่และเกือบทุกแปลงที่ทําการศึกษา ซึ่งพบวาความหนาแนนของตนไมในพื้นที่ที่ศึกษามีคามากกวา พื้นที่ปาชายเลนบริเวณอื่นๆ หลายแหลง เชน ปาชายเลนคลองพะวง และคลองอูตะเภา ริมทะเลสาบ สงขลา หนาแนนเฉลี่ย 266, 70 ตน/ไร (1,699, 440 ตน/เฮกตาร) ตามลําดับ (วิจารณ, 2540) จาก การศึ ก ษาป าชายเลนในจั ง หวั ด ระนอง มี ค า ความหนาแน น ของพั น ธุ ไ ม ต่ํา กว า การศึก ษาในครั้ ง นี้ เช น เดียวกั น คื อ ปาชายเลนอํ า เภอเมือ ง จั งหวัด ระนอง หนาแนน เฉลี่ ย 413 ต น /ไร (2,590 ต น / เฮกตาร) (วิจารณ, 2537) ปาชายเลนคลองตําโหงง อําเภอเมือง จังหวัดระนอง หนาแนนเฉลี่ย 341 ตน/ไร (2,135 ตน/เฮกตาร) ปาชายเลนคลองหงาว จังหวัดระนอง หนาแนนเฉลี่ย 171 ตน/ไร (1,070 ตน/เฮกตาร) ปาชายเลนบริเวณชะวากทะเล จังหวัดระนอง หนาแนนเฉลี่ย 184 ตน/ไร (1,115 ตน/ เฮกตาร) ปาชายเลนเขตอนุรักษดานในคลองหงาว จังหวัดระนอง หนาแนนเฉลี่ย 360 ตน/ไร (2,255 ตน/เฮกตาร) (Aksornkoae, et al., 1991) ปาชายเลนที่หมดอายุการสัมปทานปาไม จังหวัดระนอง หนาแนนเฉลี่ย 213 ตน/ไร (1,337.5 ตน/เฮกตาร) (โสภณและคณะ, 2540) ปาชายเลนอําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี หนาแนนเฉลี่ย 550 ตน/ไร (3,447 ตน/เฮกตาร) (สุรชาติ, 2540) และปาชายเลนยะหริ่ง จังหวัดปตตานี จากการศึกษาของอภิชาติ (2543) หนาแนนเฉลี่ย 534 ตน/ไร (3,346 ตน/เฮกตาร) ปาชายเลนคลองขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช หนาแนนเฉลี่ย 425 ตน/ไร (2,665 ตน/เฮกตาร) (ภิเศก, 2540) ปาชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม หนาแนนเฉลี่ย 148 ตน/ไร (930 ตน/เฮกตาร) (สนใจและคณะ, 2538) ปาชายเลนบานพรุเตียว จังหวัดพังงา หนาแนนเฉลี่ย 458 ตน/ไร (2,870 ตน/เฮกตาร) (พิมพจันทรและคณะ, 2550) ปาชายเลน จังหวัดภูเก็ต หนาแนนเฉลี่ย 135 ตน/ไร (847.5 ตน/เฮกตาร) (รัตนวัฒน, 2548) โดยความหนาแนนจากการศึกษาในครั้งนี้ ใกลเคียงกับการศึกษาของ Sudtongkong and Webb (2008) ที่ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานแหลมมะขาม อําเภอสิเกา รายงานวาไมมีความหนาแนนเฉลี่ย 782 ตน/ไร (4,868 ตน/เฮกตาร) และปาชายเลนบานโตะบัน อําเภอสิเกา ซึ่งเปนพื้นที่ที่ติดกับคลองสิเกา จังหวัดตรัง รายงานวาไมมีความหนาแนนเฉลี่ย 908 ตน/ไร (5,655 ตน/เฮกตาร) ซึ่งสูงกวาการศึกษาในครั้งนี้ สาเหตุที่พื้นที่ปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา มีความหนาแนนกวาพื้นที่ปาชายเลนหลายๆ แหลง เปน เพราะวาพื้นที่ปาชายเลนพื้นที่นี้อยูในเขตการดูแลของรัฐ โดยเปนเขตปาสงวนแหงชาติ ปาคลองกะลาเส และปาคลองไมตาย หลังจากสิ้นสุดการสัมปทานทําไมเมื่อป 2539 แลว (สิทธิโชค, 2552) ไมมีการเขา ใชประโยชนในการตัดโคนไมอีก ทําใหปาฟนตัวและมีความหนาแนนสูง

413


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ไมปาชายเลนที่ศึกษาในครั้งนี้ มีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 8.20 ± 3.81 เซนติเมตร โดยไมแสมดํา (Avicennia officinalis ) เสนผาศูนยกลางเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ 23.31 ± 18.34 เซนติเมตร Sudtongkong and Webb (2008) ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานแหลมมะขามและบานโตะบัน อ.สิเกา พบวา ไมตระกูลแสม (Avicennia spp.) มีขนาดเสนผาศูนยกลางสูงกวาไมอื่นๆ เชนเดียวกัน แตสูง กวา ปา ชายเลนบริเ วณอํา เภอยะหริ่ง จากการศึก ษาของอภิช าติ (2543) ซึ่ง พบวา ไมจ ะมีข นาด เสนผาศูนยกลางเฉลี่ยประมาณ 6.82 เซนติเมตร สาเหตุที่ไมตระกูลแสม (Avicennia spp.) มีขนาด เสนผาศูนยกลางเฉลี่ยมากที่สุด เนื่องจากไมกลุมนี้เปนกลุมไมเบิกนํา จะพบขึ้นอยูบริเวณริมตลิ่งริม คลองสิเกา มีจํานวนไมมากนัก แตมีขนาดลําตนที่ใหญมาก เนื่องจากไมใชกลุมไมที่ตองการในชวงที่มี การสัมปทานไมเพื่อเผาถาน จึงเหลืออยูรอดและมีลําตนที่ใหญ แตพบวาสวนยอดกําลังเริ่มตาย การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลาง (DBH class) ตนไมสวนใหญจะมีขนาด เสนผาศูนยกลางอยูในชวง 5-10 เซนติเมตร โดยมีถึง 53.52 เปอรเซนต รองลงมาคือไมที่มีขนาด เสนผาศูนยกลางอยูในชวง 10.01-15.00 เซนติเมตร จํานวน 21.14 เปอรเซนต เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ รายงานของ Sudtongkong and Webb (2008) ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานแหลมมะขามและบาน โตะบัน อ.สิเกา พบวา การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลางมากกวา 8 เซนติเมตร บานแหลมมะขามและบานโตะบันมี 33.5, 5.3 เปอรเซนต ตามลําดับ ซึ่งต่ํากวาการศึกษาในครั้งนี้ แตสอดคลองกับการศึกษาของนิพิทและคณะ (2543) ศึกษาบริเวณคลองปากรอ ทะเลสาบสงขลา พบวา การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลาง อยูในชวง 4-10 เซนติเมตร เชนเดียวกัน นอกจากนั้นรายงานอื่นๆ ไมมีการรายงานการกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลาง ทางดานความสูง พบวาไมทั้งหมดมีขนาดความสูงเฉลี่ยเทากับ 8.64 ± 3.37 เมตร ไมถั่วดํา (Bruguiera parviflora) มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดเทากับ 14.00 ± 0.00 เมตร รองลงมาคือ แสมทะเล (Avicennia marina ) และแสมขาว (Avicennia alba) มีคาความสูงเฉลี่ยเทากับ 13.43 ± 3.63 และ 12.23 ± 3.83 ตามลําดับ และไมในโซน B มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 9.40 ± 2.38 เมตร รองลงมา คือโซน C ซึ่งไมทุกชนิดมีคาความสูงเฉลี่ยที่ใกลเคียงกันเกือบทุกชนิด จากรายงานการศึกษาปาชาย เลนบริเวณอําเภอยะหริ่ง ของอภิชาติ (2543) รายงานวาไมโกงกางใบเล็กมีความสูงมากที่สุด 9.22 เมตร ซึ่งใกลเคียงกับการศึกษาในครั้งนี้ การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดความสูง พบวาไมสวนใหญจะมีความสูงอยูในชวง 5.0110.00 เมตร คิดเปนจํานวน 52.84 เปอรเซนตของไมทั้งหมด รองลงมาคือไมที่มีขนาดความสูงอยู ในชวง 10.01-15.00 เมตร จํานวน 27.27 เปอรเซนต ซึ่งตํากวารายงานของ Sudtongkong and Webb (2008) ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานแหลมมะขาม รายงานวา การกระจายของตนไมตามชั้นความสูง สูงกวา 15 เมตร จํานวน 10.8 เปอรเซนต แตสอดคลองกับการศึกษาของนิพิทและคณะ (2543) ศึกษาบริเวณ คลองปากรอ ทะเลสาบสงขลา พบวา การกระจายของตนไมตามชั้นขนาดเสนผาศูนยกลาง อยูในชวง 414


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

5-11 เมตร เชนเดียวกัน แตจากรายงานอื่นๆ ไมมีการรายงานการกระจายของตนไมตามชั้นขนาด ขนาดความสูง คาความหลากหลายของพืชปาชายเลนในพื้นที่ พบวาคาดัชนีความหลากหลาย มีคา 1.413 และ ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุมีคา 0.551 พันธุไมที่มีคาดัชนีความหลากหลายและความสม่ําเสมอของ ชนิดพันธุ มากที่สุดคือ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) และไมโปรงแดง (Ceriops tagal) มีคา ดัชนีความหลากหลายและคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ เทากับ 0.332 และ 0.129 ตามลําดับ ทั้งสองชนิดพันธุ สอดคลองรายงานของ Janyong and Sudtongkong (2008) ศึกษาโครงสรางปาชาย เลนบริ เ วณอ า วราชมงคล และรายงานการศึ ก ษาป า ชายเลนในจั ง หวั ด ระนอง (วิ จ ารณ , 2537, Aksornkoae, et al., 1991, โสภณและคณะ, 2540) ปาชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม (สนใจและคณะ, 2538) ปาชายเลนบานพรุเตียว จังหวัดพังงา (พิมพจันทร, 2551) และปาชายเลน จังหวัดภูเก็ต (รัตน วัฒน, 2548) คาดัชนีความสําคัญ (Important Value Index: IVI) พบวา พันธุไมที่มีคาดัชนีความสําคัญสูง ที่สุดคือ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีคาเทากับ 138.59 รองลงมาคือไมโปรงแดง (Ceriops tagal) ซึ่งสอดคลองรายงานของ Janyong and Sudtongkong (2008) ศึกษาโครงสรางปาชายเลนบริเวณ อาวราชมงคล (พื้นที่โซนใน) ที่เปนบริเวณพื้นที่ที่อยูติดกันกับพื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีคา ดัชนีความสําคัญ 130.60 และสอดคลองกับการศึกษาของ Sudtongkong and Webb (2008) ที่ศึกษาปาชายเลนบริเวณบานแหลมมะขามและบานโตะบัน ซึ่งลักษณะพื้นที่อยู ในบริเวณอาวสิเกา เขตติดตอกับการศึกษาในครั้งนี้ดวย โดย ไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) บริเวณบานโตะบัน มีคาดัชนีความสําคัญเปน 129.8 แต บริเวณบานแหลมมะขาม มีคามากกวา การศึกษาในครั้งนี้ คือ 178.3 บริเวณปาชายเลนบานพรุเตียว จังหวัดพังงา (พิมพจันทร, 2551) รายงานคาดัชนีความสําคัญของไมโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) มีคามากกวาการศึกษาใน ครั้งนี้เชนเดียวกัน คือ 196.02 ซึ่งคาดัชนีความสําคัญที่แตกตางกัน อาจเนื่องมาจากภูมิประเทศ และ ปจจัยสิ่งแวดลอม ที่อาจแตกตางกัน จากคาดัชนีความสําคัญ (IVI) แสดงใหเห็นวา พันธุไมเดนๆ ที่ประกอบเปนโครงสรางปาชาย เลนในบริเวณคลองสิเกา มี 5 ชนิด คือ ไมโกงกางใบเล็ก ไมโปรงแดง ไมตะบูนดํา ไมโกงกางใบใหญ และไมตะบูนขาว

415


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เอกสารอางอิง จิระศักดิ์ ชูความดี, ชาตรี มากนวล และดวงใจ สุขเฉลิม. 2542 พันธุไมปาชายเลนในประเทศไทย. กรมปาไม, กรุงเทพฯ จิตต คงแสงชัย. 2534. การศึกษาเรื่องดินและปาไม. หนา III-4 ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศ ปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 7 จังหวัดตรัง. 22-25 กรกฏาคม 2534. สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ, กรุงเทพฯ ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และสนิท อักษรแกว. 2546 คูมือการประเมินแบบรวดเร็วเพื่อการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพื้นที่ชายฝงทะเล: ระบบนิเวศปาชายเลน. ประสุขชัยการ พิมพ. กรุงเทพมหานคร. ทิพรัตน พงศธนาพานิช. 2538. การวิเคราะหการใชประโยชนเชิงเศรษฐกิจของพื้นที่ปาชายเลนใน จังหวัดตรังวิธีการแบบจําลองเชิงเสน. ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 9 จังหวัดภูเก็ต. 6-9 กันยายน 2538. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ เทียมใจ คมกฤษ. 2536. โครงสรางของไมปาชายเลน. ฉลองรัตนการพิมพ, กรุงเทพฯ. 151 น. นิพิท ศรีสุวรรณ, เสาวภา อังสุภานิช และสมศักดิ์ มณีพงศ. 2543. โครงสรางปาไมฝาดดอกขาวใน ทะเลสาบสงขลา. หนา 1-20 (I- 4) ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 11 จังหวัดตรัง. 9-12 กรกฏาคม 2543. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ นันทวัน บุณยะประภัศร, สิริมา สอนเล็ก, วรพรรณ เกื้อกูลเกียรติ, วิโรจน ธีรธนาธร และสนิท อักษรแกว. 2547. พืชสมุนไพรและพืชอาหารในปาชายเลน. หนา 186-195 ใน การจัดการสวน ปาชายเลนแบบผสมผสานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝงของประเทศ ไทย. ( สนิท อักษรแกว และคณะ บรรณาธิการ) ประสุขชัยการพิมพ, กรุงเทพฯ พิมพจันทร สุวรรณดี. 2551. การฟนตัวของปาชายเลนหลังธรณีพิบัติสึนามิป พ.ศ. 2547 บริเวณบาน พรุเตียว จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ภิเษก สาลีกุล. 2540. โครงสรางของปาชายเลนคลองขนอม อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช. หนา V-5 ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 10 จังหวัดสงขลา. 2528 สิงหาคม 2540. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ รัตนวัฒน ไชยรัตน. 2548. การเปลี่ยนแปลงของปาธรรมชาติหลังสึนามิ. มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ. วิ จ ารณ มี ผ ล. 2537. ระบบตั ด ฟ น และการสื บ พั น ธุ ข องป า ชายเลน อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ระนอง. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

416


โครงสรางและความหลากหลายของปาชายเลนบริเวณคลองสิเกา อําเภอสิเกา

วิจารณ มีผล. 2540. ลักษณะโครงสรางของปาชายเลนคลองพะวงและคลองอูตะเภา บริเวณทะเลสาบ สงขลา. หนา II – 10: 1-15 ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 10 จังหวัดสงขลา. 25-28 สิงหาคม 2540. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ สนใจ หะวานนท. 2540. ความกาวหนาในการวิจัยและพัฒนาปาชายเลนของกรมปาไม. น. 11 ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 10 จังหวัดสงขลา. 25-28 สิงหาคม 2540. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ สนใจ หะวานนท, จีระศักดิ์ ชูความดี, อภิรักษ อนันตศิริวัฒน และวิจารย มีผล. 2538. การศึกษา ลักษณะโครงสรางของปาชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม. หนา III- 2 ในรายงานการสัมมนระบบ นิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 9 จังหวัดภูเก็ต. 6-9 กันยายน 2538. สํานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ สมโภชน นิ้มสันติเจริญ, กิติศักดิ์ นักษศรี และวิสัย คงแกว. 2543. ความหลากหลายทางชีวภาพ พรรณไมปาชายเลนบริเวณสถานีวิจัยรัพยากรชายฝงระนอง หนา III-4 ใน รายงานการสัมมนา ระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 11 จังหวัดตรัง. 9-12 กรกฏาคม 2543 สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ สนิท อักษรแกว. 2532. ปาชายเลน : นิเวศวิทยาและการจัดการ. คอมพิวเตอรแอดเวอรไทซิงค การ พิมพ, กรุงเทพฯ. 251 น. สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2543. อุทยานทรัพยากรชายฝงอันดามัน เฉลิมพระเกียรติ. อักษรสยามการพิมพ, กรุงเทพฯ. 138 น. สิทธิโชค จันทรยอง. 2552. พันธุไมปาชายเลนและปาชายหาด ชายฝงอาวสิเกา จังหวัดตรัง. นีโอพอย , สงขลา. 144 น. สุรชาติ เพชรแกว . 2540. แนวทางการจัดการพื้น ที่ปาชายเลนในอําเภอยะหริ่ง จัง หวัด ปตตานี . วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. สํานักอนุรักทรัพยากรธรรมชาติ. 2540. ขอมูลพื้นฐานแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติ หาดเจาไหม จังหวัดตรัง. สวนทรัพยากรที่ดินและปาไม กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 139 น. โสภณ หะวานนท, รักชาติ สุขสําราญ และ มงคล ไขมุกด. 2540. การศึกษาลักษณะโครงสรางและ ผลผลิตของปาชายเลนที่ผานการทําไมในทองที่จังหวัดระนอง. รายงานการสัมมนาระบบนิเวศ ปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 10 จังหวัดสงขลา. 25-28 สิงหาคม 2540. สํานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ อภิชาติ รัตนวิริยะกุล. 2543. โครงสรางและการสืบพันธุตามธรรมชาติของพันธุไมปาชายเลนยะหริ่ง จังหวัดปตตานี. หนา 1-16 (V- 6) ใน รายงานการสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 11 จังหวัดตรัง. 9-12 กรกฏาคม 2543. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ

417


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Anongponyoskun, M. and Doydee, P. 2009. Ecological study of the true mangrove structure along Andaman coastline of Ranong, Thailand. Kasetsart University Fisheries research bulletin. 33(3): 1-7 p Aksornkoae, S.; Arirob, W.; Chong, P.E. ; Clough, B.F.; Gong, W.K.; Hardjowigeno, S.; Jintana, V.; Khemnark,C.; Kongsangchai. J.; Limpiyaprapant, S.; Muksombut, S.; Ong, J.E.; Samarakoon, A.B. and Supappibul,K. 1991. “ Soil and forestry studies”, in Final Report of Integrated Multidisciplinary Survey and Research Programme of Ranong Mangrove Ecosystem, pp.35-81. Macintosh, D.J.; Aksornkoae, S, Vannucci, M. ; Field, C.D. ; Clough, B.F. ; Kjerfve, B. ; Paphavasit, N. And Wattayakorn, G.eds.Bangkok : Funny Publishing. Aksornkoae, S., Paphavasit, N. and Wattayakorn, G. 1993. Mangrove of Thailand Present status of conservation, use and management. In ISME Mangrove ecosystem technical report vol. 1 The Economic and Environmental Values of Mangrove Forests and their Present State of Conservation in Southeast Asia/Pacific Region. B. F. Clongh Project Coordinator, pp. 83 - 133. Andrew, N.J. and Mapstone, B.D. 1987. Sampling and the description of spatial pattern in marine ecology. Oceanography and Marine Biology Annual Review, 25: 39-90. Ashton, E.C. & Macintosh, D.J. 2002. Preliminary assessment of the plant biodiversity and community ecology of the Sematan mangrove forest, Sarawak, Malaysia. Forest Ecology and Management 166(1-3): 111-129 English, S., Wilkinson, C. and Baker, V. 1994. Survey manual for tropical marine resources. ASEAN-Australia Marine Science Project. Australian Institute of Marine Science, Australia. 368 p. Janyong, S and Sudtongkong, C. 2008. Species Diversity, Density, and Structure of Mangrove Forest in Rajamangala Bay, Trang Province, Thailand. FORTROP II: International Conference on Tropical Forestry Change in a Changing World, 17-20 November 2008, Kasetsart University, Bangkok, Thailand. Levinton, J. 1982. Marine Ecology. Prentice Hall, Inc. Englewood Cliffs, USA.: 509 p Macintosh, D.J., Ashton, E.C. & Havanon, S. 2002. Mangrove rehabilitation and intertidal biodiversity: study of the Ranong mangrove ecosystem, Thailand. Estuarine and Coastal Shelf Science, 55: 333 - 345 Sudtongkong, C.and E. L. Webb. 2008. Outcomes of state- vs. community-based mangrove management in southern Thailand. Ecology and Society 13(2): 27

418


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี Carbon Sequestration of Mangrove Forest at Aoh Khung Kraben, Chantaburi Province

สมชาย ดิษฐศร1 ลดาวัลย พวงจิตร2 วสันต จันทรแดง3 1

งานปาไม ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุรี 2,3 ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน

บทคัดยอ การศึ ก ษาการกัก เก็ บ คาร บอนของป าชายเลนอ าวคุ ง กระเบน จั ง หวั ดจั น ทบุ รี มี วัต ถุ ประสงคเ พื่ อ วิ เ คราะห ป ริ ม าณการกั ก เก็ บ คาร บ อนเหนื อ พื้ น ดิ น ของพรรณไม ป า ชายเลนอ า วคุ ง กระเบน ซึ่ ง ดําเนินการโดยการวางแนวสํารวจตามวิธี Line plot system คํานวณมวลชีวภาพของตนไมจากสมการ แอลโลเมตรี ที่ มี ผู ศึ ก ษาไว แ ล ว และวิ เ คราะห ห าปริ ม าณคาร บ อนเฉลี่ ย ของพรรณไม ด ว ยวิ ธี Dry combustion ผลการศึกษาพบวาปาชายเลนอาวคุงกระเบนมีศักยภาพการกักเก็บคารบอนโดยเฉลี่ย เทากับ 7.99 ตันตอไร หรือคิดเปน 49.96 ตันตอเฮกแตร โดยมีปริมาณการกักเก็บคารบอนมากที่สุดใน สวนของลําตน และนอยที่สุดในสวนของใบ ประเมินการเก็บกักคารบอนของปาชายเลนบริเวณพื้นที่ปา ชายเลนอาวคุงกระเบน ไดเทากับ 5,765 ตันคารบอน หรือ 21,160 ตันคารบอนไดออกไซด คําสําคัญ: มวลชีวภาพ, การกักเก็บคารบอน, ปาชายเลนอาวคุงกระเบน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract The study of carbon sequestration of mangrove forest at Aoh Khung Kraben, Chantaburi Province is aimed to determine the amount of carbon in above-ground biomass of the mangrove forest at Aoh Khung Kraben. The survey conducted by the line plot system. The biomass of all trees in the sample plots were calculated by using allometric equations earlier reported. Carbon content of trees were analyzed by the dry combustion method. The results showed that mangrove forest at Aoh Khung Kraben, Chantaburi Province have the average carbon stored in biomass of 7.99 tons per rai, equivalent to 49.96 tons per hectare. The highest amount of carbon was found in the stems and lowest in the leaves. The estimation of total amount of carbon stored in mangrove forest at Aoh Khung Kraben, Chantaburi Province was 5,765 tons carbon, equivalent to 21,160 tons carbon dioxide. Keyword: Biomass, Carbon Sequestration, Aoh Khung Kraben Mangrove Chantaburi

บทนํา ในชวงสองทศวรรษที่ผานมาสภาพภูมิอากาศของโลกไดเปลี่ยนแปลงไปอยางเห็นไดชัดและ ไดรับความสนใจจากวงการวิทยาศาสตรและสาธารณชนทั่วไปนั่นก็คือ การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิบนผิว โลก (global warming) ซึ่งสาเหตุที่ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเกิดจากการเพิ่มขึ้นของกาซคารบอนไดออกไซด อันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย ซึ่งปจจุบันประเทศตางๆ ไดตระหนักถึงปญหาดังกลาวและได พยายามหาแนวทางแกไข ดังจะเห็นไดจากการมีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (UNFCCC-The United Nations Framework Convention on Climate Change) เพื่อลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งแนวทางในการแกไขปญหาสภาวะโลกรอน ที่สําคัญ แบงออกเปนสองแนวทางไดแก การลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก และการเพิ่มศักยภาพในการ ดูดซับกาซเรือนกระจก ดังนั้นกิจกรรมที่เกี่ยวของกับปาไม จึงเปนสาขาที่มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอ การเปลี่ ย นแปลงปริ ม าณก า ซคาร บ อนไดออกไซด ใ นบรรยากาศ โดยต น ไม ใ นป า สามารถดู ด ซั บ กาซคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศผานทางกระบวนการสังเคราะหแสงของใบ (photosynthesis) เพื่อสรางอินทรียสารซึ่งมีคารบอนเปนองคประกอบนํามากักเก็บไวในสวนตางๆ ของตนไม หรือที่ เรียกวาการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพ (carbon storage in biomass) โดยที่ปริมาณคารบอนที่ สะสมในปาธรรมชาติชนิดตางๆ มีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับองคประกอบของสังคมพืช ลักษณะ ภูมิอากาศ และลักษณะภูมิประเทศ ซึ่งระบบนิเวศปาชายเลนก็เปนระบบนิเวศที่สําคัญ ซึ่งเปนแหลง ผลิตและหมุนเวียนธาตุอาหาร ชวยในการกักกรองขยะและสารพิษ ทําหนาที่ในการกําบังคลื่นลมและ ปองกันการกัดเซาะชายฝง และเปนแหลงกักเก็บคารบอนที่สําคัญเนื่องจากมีมวลชีวภาพที่สูง การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อทราบถึงศักยภาพของปาชายเลนในการเปนแหลงกักเก็บ คารบอน ซึ่งเปนกาซเรือนกระจกที่สําคัญ โดยศึกษาปริมาณมวลชีวภาพของปาชายเลน และปริมาณ 420


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี

คารบอนที่สะสมในสวนตางๆ ของตนไมไดแก ลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายันของพรรณไมในปาชายเลน ตลอดจนทําการประเมินปริมาณการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี วิธีการศึกษา สถานที่ทําการศึกษา ปาชายเลนอาวคุงกระเบนตั้งอยูในพื้นที่โครงการศูนยศึกษาการพัฒนา อาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชาดําริ ตําบลคลองขุด และตําบลสนามไชย อําเภอทาใหม จังหวัด จันทบุรี มีเนื้อที่ปาธรรมชาติ 721.37 ไร ความยาวของผืนปาโคงไปตามรอบอาว เปนระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร มีความกวางของปาโดยเฉลี่ยตั้งแต 50-300 เมตร แนวเขตปาดานทิศเหนือจรดพื้นที่ บ า นท า แคลง หมู 7 ตํา บลสนามไชย อํา เภอนายายอาม จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ทิ ศ ใต จรดพื้ น ที่ บ า น คุงกระเบน หมู 7 บานคุงกระเบน ตําบลคลองขุด อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี ระดับความสูงจาก น้ําทะเล 0-1 เมตร (ภาพที่ 1)

ภาพที่ 1 ศูนยศกึ ษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุรี

การศึกษาโครงสรางสังคมพืชปาชายเลนอาวคุงกระเบน เปนการศึกษาถึงขอมูลพื้นฐานที่ สามารถเชื่อมโยงไปสูลักษณะของสังคมพืชในสวนอื่นๆ ที่ตองอาศัยขอมูลพื้นฐานของสังคมพืชทั้ง องค ป ระกอบชนิ ด พรรณไม ที่ ขึ้ น อยู ความโตทางเส น ผ า ศู น ย ก ลางและความสู ง ของต น ไม ความ หนาแนน จํานวนลูกไม และกลาไม ซึ่งขอมูลพื้นฐานเหลานี้จะนํามาใชเพื่อการประเมินปริมาณมวล ชีวภาพ และปริมาณการกักเก็บคารบอนตอไป โดยมีขั้นตอนในการวางแปลงตัวอยางดังนี้ 1. วางแปลงตัวอยางเพื่อเก็บขอมูลโครงสรางองคประกอบของปาชายเลนอาวคุงกระเบน โดย วางเสนแนวสํารวจตามวิธี Line plot system โดยวางเสนฐาน (base line) จํานวน 1 เสน ไปตามแนว

421


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

เขตปาชายเลนอาวคุงกระเบน จากทิศเหนือไปทิศใต (เปนเสนสมมุติที่สรางขึ้นไปตามแนวขอบเขตปา ชายเลนดานนอกที่ติดกับริมฝงทะเล) 2. วางเสนแนวสํารวจ (Cruise line) โดยการลากเสนตรงตั้งฉากกับเสนฐานไปตามความยาว ของพื้นที่ปา โดยแตละแนวสํารวจหางกัน 400 เมตร ซึ่งจะไดแนวสํารวจทั้งสิ้น 10 แนว แตละแนววาง แปลงตัวอยาง ขนาด 10 เมตร × 10 เมตร โดยแตละแปลงตัวอยางหางกัน 20 เมตร ซึ่งจะไดทั้งสิ้น จํานวน 92 แปลง (ภาพที่ 2) 3. สํารวจแจงนับตนไมที่มีอยูในแปลงขนาดเล็ก โดยแบงชั้นความโตของตนไมออกเปนชั้น ตางๆ 4. ในการสํารวจแจงนับตนไมในแปลงตัวอยาง

ภาพที่ 2 การวางแปลงตัวอยางตามวิธี Line plot system และลักษณะการวางแปลงยอย

5. ดําเนินการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางที่บริเวณความสูง 1.30 เมตร ยกเวนไมในสกุลโกงกาง (Rhizophoraceae) วัดที่บริเวณเหนือคอราก 20 เซนติเมตร และวัดความสูงของตนไมทุกตน การวิเคราะหขอมูล การสํารวจดังกลาวขางตนมุงเนนทางดานนิเวศวิทยา เพื่อศึกษาลักษณะโครงสรางของปาในเชิง ปริมาณ (quantitative characteristic of plant community) เชน ความหนาแนน ชนิดของไมรวมทั้งไม พื้นลาง โดยมีการวิเคราะหขอมูลดังนี้ 422


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี

1. ความหนาแนนของพรรณพืช (Density, D) คํานวณหาความหนาแนนของตนไมทั้งหมดใน พื้นที่แปลงตัวอยางโดยการหาความหนาแนนสัมพัทธของไมชนิดตางๆ ที่ปรากฏอยูในแปลง 2. ความถี่ของพรรณไม (Frequency, F) คํานวณความถี่ของพรรณไมที่ปรากฏในแปลงตัวอยาง 3. ความเดนของพรรณไม (Dominance, Do) คํานวณความถี่ของพรรณไมที่ปรากฏในแปลง ตัวอยาง 4. ดัชนีความสําคัญทางนิเวศวิทยา (Ecological Important Value Index, IVI) ของพรรณไมที่ ปรากฏในแปลงตัวอยาง คํานวณไดตามสูตรดังนี้ ดัชนีความสําคัญของไมชนิด ก. = ความถี่สัมพัทธ+ความหนาแนนสัมพัทธ+ความเดนสัมพันธ การประเมินมวลชีวภาพของปาชายเลนอาวคุงกระเบน การประเมินผลผลิตมวลชีวภาพรวมของปาชายเลน (Total biomass) ไดจากผลรวมของมวล ชีวภาพเหนือพื้นดิน (aboveground biomass) ไดแก ลําตน (stem) กิ่ง (branch) ใบ (leaf) และรากค้ํายัน (prop root) ซึ่งประเมินจากสมการ allometry โดยจําแนกเปนพรรณไมกลุมไมโกงกาง และกลุมที่ไมใช ไมโกงกาง ตามการศึกษาของ Komiyama et al. (1987) ดังตอไปนี้

Rhizophora sp. Non-Rhizophora sp.

WT = WS + WB + WL + WR WS = 0.05466 (D2H) 0.9450 WL = 0.06780 (D2H) 0.5806 WS = 0.04490 (D2H) 0.9549 WL = 0.09422 (D2H) 0.5439

WB = 0.02579 (D2H) 0.9124 WR = 0.17180 (D2H) 0.7417 WB = 0.02412 (D2H) 0.8649

การวิเคราะหปริมาณคารบอนของพรรณไมปาชายเลน ทําการวิเคราะหปริมาณคารบอน (Carbon content) ในสวนตางๆ ไดแก ลําตน กิ่ง และใบ ของ พรรณไมปาชายเลนอาวคุงกระเบน โดยเก็บตัวอยางเนื้อเยื่อของลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายัน ไปอบที่ อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียสเปนเวลา 48 ชั่วโมง หรือจนกวาน้ําหนักคงที่ นํามาบดใหละเอียดเพื่อนําไป วิเคราะหในหองปฏิบัติการตามวิธีการ Dumas หรือ dry combustion ซึ่งผลจากการวิเคราะหจะได ปริมาณคารบอนในรูปรอยละของปริมาณคารบอนทั้งหมด (total carbon) ตอน้ําหนักแหง การประเมินการกักเก็บคารบอนทั้งหมดในปาชายเลนอาวคุงกระเบน ประเมินการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพรรณไมปาชายเลนขางตนจากขอมูล ปริมาณคารบอนทั้งหมดในเนื้อเยื่อสวนตางๆ ไดแก ลําตน กิ่ง และใบ ของพรรณไมปาชายเลนคูณ

423


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ดวยมวลชีวภาพรวม ประเมินการกักเก็บคารบอนทั้งหมดในปาชายเลนอาวคุงกระเบนตอหนวยพื้นที่ จากผลรวมของการกักเก็บคารบอนรวมในมวลชีวภาพทั้งหมดในแตละแปลงตัวอยาง ผลการศึกษาและวิจารณ โครงสรางสังคมพืชปาชายเลนอาวคุงกระเบน จากการศึกษาโครงสรางของสังคมพืชปาชาย เลนทั้งหมด 92 แปลงตัวอยาง ในปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี พบวามีความหลากหลาย ของชนิดพรรณไมปาชายเลนทั้งสิ้น 13 ชนิด (species) ซึ่งนับไดวามีความหลากหลายของชนิดพรรณ ไมปาชายเลนมากเมื่อเทียบปาชายเลนในพื้นที่จังหวัดชุมพร และระนอง (คณะวนศาสตร, 2550) ซึ่งมี สาเหตุมาจากปาชายเลนในพื้นที่อาวคุงกระเบนเปนพื้นที่อนุรักษ และมีการดูแลจัดการเปนอยางดี โดย พรรณไมที่พบทั้งไมยืนตน ไมรุน และกลาไม มีจํานวน 6 ชนิด คิดเปนรอยละ 46.2 ในขณะที่มีพรรณ ไมเพียง 3 ชนิด คิดเปนรอยละ 23.0 ที่ไมพบกลาไม ไดแก แสมขาว สีง้ํา และตะบูนขาว และพรรณไม อีก 4 ชนิด คิดเปนรอยละ 30.8 ที่ไมพบทั้งไมรุนและกลาไมไดแก โกงกางใบใหญ ปอทะเล ตาตุมทะเล และลําพูทะเล แสดงใหเห็นวาพรรณไม ทั้ง 7 ชนิดหลังนี้ มีศักยภาพในการเจริญทดแทนตามธรรมชาติ ที่คอนขางต่ํา (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายชื่อพรรณพืชปาชายเลนที่พบในพื้นที่แปลงทดลองปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัด จันทบุรี ลําดับ

ชื่อสามัญ

ชื่อวิทยาศาสตร

วงศ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

แสมขาว ฝาดดอกแดง ฝาดดอกขาว ตาตุมทะเล ตะบูนขาว ตะบูนดํา ประสักดอกแดง โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ ลําพูทะเล ปอทะเล สีง้ํา

Avicennia alba Bl. Lumnitzera littorea Voigt Lumnitzera racemosa Willd. Excoecaria agallocha L. Xylocarpus granatum Koen. Xylocarpus moluccensis Roem. Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny Ceriops tagal (Perr.) C. B. Rob. Rhizophora apiculata Bl. Rhizophora mucronata Poir. Sonneratia alba J. Smith Hibiscus tiliaceus L. Scyphiphora hydrophyllacea Gaertn. f.

AVICENNIACEAE COMBRETACEAE COMBRETACEAE EUPHORBIACEAE MELIACEAE MELIACEAE MELIACEAE RHIZOPHORACEAE RHIZOPHORACEAE RHIZOPHORACEAE SONNERATIACEAE MALVACEAE RUBIACEAE

สถานภาพ T SP S 9 9 8 9 9 9 9 9 9 9 8 8 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 8 9 9 8 8 9 8 8 9 9 8

หมายเหตุ: T- tree (ไมยืนตน) SP- sapling (ไมรุน) S- seedling (กลาไม) 9 พบ 8 ไมพบ 424


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี

สังคมพืชปาชายเลนอาวคุงกระเบน เปนปาธรรมชาติที่ประกอบไปดวยตนไมที่มีขนาดเล็ก พบวาโกงกางใบเล็กเปนชนิดที่เดนที่สุดและมีการกระจายทั่วไปในพื้นที่ โดยมีคาดัชนีความสําคัญ เทากับ 202.01 รองลงมาคือ ฝาดดอกขาว โปรงแดง ฝาดดอกแดง ตะบูนดํา และประสักดอกแดง โดย มีคาดรรชนีความสําคัญเทากับ 36.45 21.01 12.74 10.68 7.84 ตามลําดับ (ตารางที่ 2) ความโตทาง เสนผานศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 8.52 เซนติเมตรเทานั้น ขณะที่มีความสูงเฉลี่ยเทากับ 8.34 เมตร โดย ตะบูนดําเปนไมที่มีขนาดความโตเฉลี่ยมากที่สุดในแปลงตัวอยางนี้ โกงกางใบเล็กมีความสูงเฉลี่ยมาก ที่สดุ ตารางที่ 2 คาดัชนีความสําคัญของพรรณไมแตละชนิดในแปลงตัวอยางสังคมพืชปาชายเลนอาวคุง กระเบน ชื่อสามัญ

ความถี่สัมพัทธ ความเดนสัมพัทธ ความหนาแนนสัมพัทธ คาดัชนีความสําคัญ

โกงกางใบเล็ก

73.57

44.62

83.82

202.01

ฝาดดอกขาว

9.70

22.56

4.19

36.45

โปรงแดง

7.75

8.21

5.05

21.01

ฝาดดอกแดง

4.10

6.15

2.49

12.74

ตะบูนดํา

1.41

7.18

2.09

10.68

ประสักดอกแดง

1.46

5.13

1.25

7.84

ตะบูนขาว

0.49

2.05

0.26

2.79

โกงกางใบใหญ

0.34

1.54

0.25

2.13

แสมขาว

0.68

0.51

0.32

1.52

ปอทะเล

0.15

0.51

0.10

0.76

สีง้ํา

0.20

0.51

0.04

0.75

ลําพูทะเล

0.10

0.51

0.12

0.73

ตาตุมทะเล

0.05

0.51

0.02

0.58

รวม

100

100

100

300

มวลชีวภาพของปาชายเลนอาวคุงกระเบน มวลชีวภาพของสังคมพืชในแปลงตัวอยางของอาวคุงกระเบนเฉลี่ยเทากับ 17.08 ตันตอไร หรือ 106.71 ตันตอเฮกแตร โดยแบงเปนมวลชีวภาพของลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายันเทากับ 8.39 1.75 0.83 และ 6.19 ตันตอไร ตามลําดับ

425


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ปริมาณมวลชีวภาพปาชายเลนอาวคุงกระเบนมีคามากกวาปริมาณมวลชีวภาพบริเวณ อาว เมืองตราด มีคาเทากับ 12.34 ตันตอไร (ดาวรุงและทนุวงศ, 2550) และมีคาใกลเคียงกับมวลชีวภาพ ของปาชายเลนบริเวณจังหวัดพังงา ซึ่งปฏิมาพร (2545) ไดทําการประมาณมวลชีวภาพของปาชาย เลนในสวนศึกษาธรรมชาติวิทยาปาชายเลนจังหวัดพังงาโดยมีมวลชีวภาพเฉลี่ย 17.28 ตันตอไร แตมี คานอยกวามากเมื่อกับมวลชีวภาพของปาชายเลนอาวสวี จังหวัดชุมพร ที่มีคาเทากับ 20.49 ตันตอไร (คณะวนศาสตร, 2550) การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จากการวิเคราะหปริมาณคารบอนในสวนลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายันของพรรณไมปาชายเลน อาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี จํานวน 13 ชนิด พบวา ปริมาณคารบอนในสวนลําตน กิ่ง ใบและราก ค้ํายัน มีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 47.51, 46.39, 44.21 และ 46.26 โดยน้ําหนักแหงตามลําดับ นอกจากนี้ ยังพบวาปริมาณคารบอนเฉลี่ยในสวนลําตน และกิ่ง ของพรรณไมปาชายเลนอาวคุงกระเบนที่ศึกษาใน ครั้งนี้ในภาพรวมมีคาใกลเคียงกับงานวิจัยตางๆ ที่เคยมีรายงานหรือรวบรวมไว (ดาวรุงและทนุวงศ, 2550) ยกเวนปริมาณคารบอนเฉลี่ยในใบมีคาคอนขางต่ํา ซึ่งความแตกตางดังกลาวนาจะมีสาเหตุมา จากความแตกตางของพื้นที่และลักษณะของดินที่พรรณไมเหลานี้ขึ้นอยู ตลอดจนอายุของใบที่เก็บมา วิเคราะหในหองปฏิบัติการ จากการประเมินการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (ลําตน กิ่ง ใบ และรากค้ํายัน) ของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี มีคาการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน เทากับ 7.99 ตันตอไร หรือคิดเปน 49.96 ตันตอเฮกแตร และมีการกักเก็บคารบอนในลําตนเทากับ 3.99 ตันตอไร รองลงมาคือมวลชีวภาพในรากค้ํายัน กิ่ง และใบ มีคาเทากับ 2.82, 0.81 และ 0.37 ตัน ต อ ไร ตามลํ าดั บ เมื่ อ คํ า นวณเป น ปริ ม าณก า ซคาร บ อนไดออกไซด ที่ สั ง คมพื ช ป า ชายเลนอ า วคุ ง กระเบน จังหวัดจันทบุรี ดูดซับเอาไวไดโดยการคูณดวยคาคงที่ เทากับ 3.67 พบวาปาชายเลนอาวคุง กระเบนมีปริมาณการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยเทากับ 29.33 ตันคารบอนไดออกไซดตอไร (ตารางที่ 3) ศักยภาพในการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน ในการศึกษาครั้งนี้มีคานอยกวา การกักเก็บคารบอนของจังหวัดจันทบุรี ที่ทาํ การศึกษาในพื้นที่ที่มีความแตกตางทางความสูงจาก ระดับน้ําทะเล 3 ระดับ คือ ความสูงจากระดับน้ําทะเลต่ําสุด (พื้นที่ปาชายเลนชิดชายฝง) ปานกลาง (พื้นที่ปาชายเลนกึ่งกลางชายฝงกับแผนดิน) และสูงที่สุดของพื้นที่ (พื้นที่ปาชายเลนชิดแผนดิน) ซึ่ง พบวามีปริมาณการกักเก็บคารบอนเทากับ 9.30 ตันตอไร (คณะวนศาสตร, 2553) และยังมีคานอยกวา การกักเก็บคารบอนของพื้นที่เขตสงวนชีวมณฑล จังหวัดระนอง ซึ่งจัดวาเปนปาที่มีความหลากชนิด ของพรรณไมคอ นขางสูงและมีความสมบูรณในเชิงผลผลิตมาก มีคาเทากับ 9.25 ตันตอไร (วิจารณ, 2553) 426


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี

ความแตกตางของการกักเก็บคารบอนในมวลชีวภาพที่กลาวมาขางตนเกิดจากความแตกตาง ของผลผลิต มวลชี ว ภาพมากกว า ปริ ม าณคาร บ อนที่ ส ะสมอยูใ นส ว นตา งๆ ของต น ไม การกั ก เก็ บ คารบอนในมวลชีวภาพของปาชายเลนโดยทั่วไปมีความแตกตางกันไปตามอายุ ความหนาแนน และ องคประกอบของหมูไม โดยปาชายเลนที่มีความสมบูรณมากและสมบูรณปานกลางมีไมโกงกางเปน องคประกอบหลักของหมูไม และมีผลผลิตมวลชีวภาพของไมโกงกางมากกวารอยละ 90 จะมีศักยภาพ ในการกักเก็บคารบอนไดมากกวาปาชายเลนที่มีความสมบูรณนอย และมีไมชนิดอื่นๆ เชน ตาตุม โปรงแดง ตะบูน และถั่วขาว ขึ้นอยูเปนองคประกอบหลักของสังคมพืช (Alongi and Dixon, 2000; Fujimoto, 2000; Komiyama et al., 2000) ตารางที่ 4 การกับเก็บคารบอนของพรรณไมแตละชนิดของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี โปรงแดง ฝาดดอกขาว ฝาดดอกแดง ลําพูทะเล สีง้ํา แสมขาว รวม

5.83 7.06 6.38 9.8 4.41 6.14

5.38 5.88 6.16 7.23 5.43 7.7

ชนิดไม

DBH (ซ.ม.)

H (ม.)

โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ ตะบูนขาว ตะบูนดํา ตาตุมทะเล ประสักดอกแดง

8.91 7.44 6.39 10.09 5.73 8.00

9.39 6.97 7.25 7.90 5.80 8.99

224.66 4.21 1.04 229.91 281.64 4.96 1.02 287.63 128.20 2.31 0.50 131.01 23.21 0.37 0.05 23.63 3.84 0.08 0.02 3.94 24.57 0.43 0.09 25.10 8,392.02 1,751.50 833.92 6,105.95 17,083.40 8,029.20 การกักเก็บคารบอน (กิโลกรัมตอไร) ลําตน

กิ่ง

ใบ

รากค้ํายัน

3,531.13 8.79 8.50 56.78 3.21 48.08

802.83 366.02 2,816.60 2.04 1.16 8.02 0.15 0.03 0.87 0.12 0.06 0.01 0.76 0.12 -

รวม 7,516.58 20.01 8.67 57.77 3.28 48.95

พื้นที่โครงการศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชาดําริ มีเนื้อที่ปา ธรรมชาติ 721.37 ไร ซึ่งจากการศึกษาการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในครั้งนี้มีคาเฉลี่ย 7.99 ตัน ตอไร ดังนั้นพื้นที่ปาชายเลนอาวคุงกระเบนมีการกักเก็บกักคารบอนรวม 5,765 ตันคารบอน หรือ เทากับ 21,160 ตันคารบอนไดออกไซด

427


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

สรุปผลการศึกษา ปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี มีโครงสรางและองคประกอบของชนิดพรรณไมที่มี ความอุดมสมบูรณคอนขางมาก โดยมีไมโกงกางใบเล็กเปนองคประกอบหลัก แตตนไมในพื้นที่ยังมี ขนาดเล็ก และมีศักยภาพในการกักเก็บคารบอนโดยเฉลี่ยเทากับ 7.99 ตันตอไร หรือคิดเปน 49.96 ตันตอเฮกแตร โดยมีปริมาณการกักเก็บคารบอนมากที่สุดในสวนของลําตน และนอยที่สุดในสวนของ ใบ พื้ น ที่ โ ครงการศู น ย ศึ ก ษาการพั ฒ นาอ า วคุ ง กระเบนอั น เนื่ อ งมาจากพระราชาดํ า ริ มี เ นื้ อ ที่ ป า ธรรมชาติ 721.37 ไร ซึ่งจากการศึกษาการกักเก็บคารบอนของปาชายเลนในครั้งนี้มีคาเฉลี่ย 7.99 ตัน ตอไร ดังนั้นพื้นที่ปาชายเลนอาวคุงกระเบนมีการกักเก็บกักคารบอนรวม 5,765 ตันคารบอน หรือ เทากับ 21,160 ตันคารบอนไดออกไซด กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณงานปาไม ศูนยพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุรี ที่ ใหการสนับสนุนงบประมาณ และเจาหนาที่งานปาไมทุกทานที่ชวยเหลือในการเก็บขอมูลภาคสนาม และการทําวิจัย

เอกสารอางอิง คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2550. โครงการประเมินมูลคาและการพึ่งพิงทรัพยากรปา ชายเลน. เสนอตอ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2553. โครงการดัชนีชี้วัดความสมบูรณของปาชายเลน. เสนอตอ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. ดาวรุง ทับทิม และ ทนุวงศ แสงเทียน. 2550 โครงสรางคารบอนและไนโตรเจนสะสมของปาชายเลน บริเวณอาวเมืองตราด. วารสารรักษ ทช. 1(16): 10-18. ปฏิมาพร ผองสุขสวัสดิ์. 2545. การประมาณมวลชีวภาพของไมยืนตนในสวนศึกษาธรรมชาติวิทยาปา ชายเลน จังหวัดพังงา วิทยานิพนธ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วิจารณ มีผล. 2553. การเก็บกักคารบอนของปาชายเลน บริเวณพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง. วารสารการจัดการปาไม 4(7): 29-44 Alongi, D. M. and P. Dixon. 2000. Mangrove primary production and above- and belowground biomass in Sawi Bay, Southern Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication 22: 31-38. Fujimoto, K. 2000. Below-ground carbon sequestration of mangrove forests in the AsiaPacific Region. International Workshop Asia- Pacific Cooperation Research for Conservation of Mangroves, 26 -30 March, 2000, Okinawa, Japan.

428


การกักเก็บคารบอนของปาชายเลนอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี

Komiyama, A., K. Ogino, S. Aksornkoae and S. Sabhasri. 1987. Root biomass of a mangrove forest in southern Thailand. I. Estimation by the trench method and the zonal structure of root biomass. J Trop Ecol 3: 97–108. Komiyama, A., S. Havanond, W. Srisawatt, Y. Mochida, K. Fujimoto and T. Ohnishi. 2000. Top/root Biomass Ratio of a Secondary Mangrove (Ceriops tagal (Perr.) C.B. Rob.) Forest. For. Ecol. Manag. 139: 127-134

429


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

430


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล A Preliminary Survey of Birds Around Tam Ma Lang Mangrove Forest, Satun Province

วัชระ สงวนสมบัติ องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ เทคโนธานี ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 บทคัดยอ การสํารวจเก็บขอมูลนกในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล เปนการสํารวจ เบื้องตนในระยะสั้น ทําการเก็บขอมูลระหวางวันที่ 29-31 ธันวาคม 2553 และ วันที่ 18-20 กรกฏาคม 2554 ดวยการสํารวจโดยตรง (direct searching method) ดวยการดูรายละเอียดจากกลองสองทางไกล และเทเลสโคป หรือระบุชนิดนกจากเสียงรอง และบันทึกเสนทางสํารวจและพิกัดชนิดนกที่สําคัญดวย GPS โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการอนุรักษและวางแผนจัดการความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง จากการศึกษาพบนกทั้งสิ้น 84 ชนิด จาก 10 อันดับ 39 วงศ 68 สกุล เปนนกที่มีความสําคัญเปนพิเศษสําหรับการอนุรักษในประเทศไทยจํานวน 9 ชนิด แบงเปน นกที่มีสถานภาพมีแนวโนมสูญพันธุ 4 ชนิด และนกที่ใกลถูกคุกคาม 5 ชนิด เปนชนิดที่ใกลถูกคุกคาม ในระดับนานาชาติ 1 ชนิดคือ นกกินแมลงปาชายเลน (Trichastoma rostratum) และเปนสัตวปาคุมครอง 80 ชนิด ชนิดนกที่เปนรายงานใหมของพื้นที่ เชน นกจับแมลงปาโกงกาง (Cyronis rufigaster) คําสําคัญ: ตํามะลัง, นก, ปาชายเลน, การสํารวจเบื้องตน, จังหวัดสตูล


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

Abstract This paper presents a result from the preliminary surveys of bird diversity around Tam Ma Lang Mangrove Forest, Muang District, Satul Province. It primarily aims to set up the basic database for further plan on conservation and management of Biodiversity in the Mangrove area around Tam Ma Lang, Muang District, Satul Province. The short surveys are conducted in two periods of time, first during December 29-31, 2010 and second during July 18-20, 2011 by direct searching approach. Observations are made using binoculars and telescope. Birds are identified into species according to their voices. The trek ways are recorded by using GPS. According to the result of the surveys, 84 species of birds are identified out of 10 Orders 39 Family and 68 Genus. Among these, 9 are considered to be threated wildlife conservation in Thailand. These can be divided into 4 vulnerable species, 5 threatened species, a single Neartheartened species by IUCN are White-chested Babbler (Trichastoma rostratum) and 80 protected wildlife species. Moreover, new distribuition are identified which are Mangrove Blue Flycatcher (Cyronis rufigaster) Keyword: Tam Ma Lang, Birds, Mangrove forest, Preliminary surveys, Satun Province

บทนํา ปาชายเลนปาที่สมบูรณที่สุดในระหวางระบบนิเวศชายฝง เปนพื้นที่ที่สัตวบกและสัตวทะเล อาศัยอยูรวมกัน ซึ่งไมพบในระบบนิเวศอื่น และสัตวในระบบนิเวศบกมีไมมากนัก เนื่องจากสัตวที่เขา มาใชประโยชนตองปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่คอนขางจะแตกตางจากปาบก (สรายุทธ และ รุงสุริยา, 2554) อยางไรก็ตาม ปาชายเลนยังเปนแหลงอาศัยของนกที่พบเฉพาะในปาชายเลน เชนนกแตวแลว ปาชายเลน นกกะเต็นใหญปกสีน้ําตาล และนกจับแมลงปาโกงกาง การสํารวจและศึกษาความหลากหลาย ทางชีวภาพของนกและสัตวปาที่อาศัยในปาชายเลนมีการสํารวจนอยและยังไมครอบคลุมทั่วทั้งหมด ปาชายเลนบริเวณอาวตํามะลัง จังหวัดสตูลเปนปาชายเลนขนาดใหญมีความอุดมสมบูรณมาก แตสําหรับความหลากหลายทางชีวภาพของสัตวบกมีขอมูลนอย การสํารวจครั้งนี้เพื่อใหทราบถึงความ หลากชนิดของนกเพื่อใหประกอบเปนฐานขอมูลสําหรับการจัดการอนุรักษทรัพยากรในพื้นที่ วิธีการศึกษา การสํารวจเก็บขอมูลนกในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล เปนการ สํารวจเบื้องตนในระยะสั้น ทําการเก็บขอมูลระหวางวันที่ 29-31 ธันวาคม 2553 และ วันที่ 18-20 ธันวาคม 2554 สํารวจดวยวิธีการนั่งเรือขนาดเล็กไปตามคลอง และเดินตามเสนทางถนนที่ตัดผานปา ชายเลน เพื่อคนหาตัวนกโดยตรง (direct searching method) ดวยการดูรายละเอียดจากกลองสอง ทางไกลและเทเลสโคป หรือระบุชนิดนกจากเสียงรอง บันทึกเสนทางสํารวจและพิกัดชนิดนกที่สําคัญ ดวย GPS 432


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล

การวิเคราะหขอมูล จําแนกชนิดและจําแนกสถานภาพตามฤดูกาลจากการเทียบผลงานของ จารุจินต และคณะ (2550) Well (1999, 2007) และ Robson (2008) ประเมินสถานภาพเพื่อการอนุรักษจาก Sanguansombat (2005) และ IUCN (2011) พื้นที่ศึกษา ปาชายเลนอาวตํามะลัง ตั้งอยูในพื้นที่บริเวณอาวตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล ครอบคลุม พื้นที่ 4 ตําบล ไดแก ตํ าบลตํามะลัง ตําบลปูยู ตําบลพิม าน และตําบลคลองขุด เปนเขตปาสงวน แหงชาติ มีเนื้อที่ประมาณ 75,924.80 ไร ผลการศึกษาและวิจารณ จากการเก็บขอมูลระหวางวันที่ 29-31 ธันวาคม 2553 และ วันที่ 18-20 กรกฏาคม 2554 การ สํารวจเบื้องตนทั้งสองครั้งพบนกทั้งสิ้นจํานวน 10 อันดับ 39 วงศ 68 สกุล และ 84 ชนิด โดยนกชนิด เดนและนกที่มีความสําคัญภายในพื้นที่อาวตํามะลัง ไดแก หัวขวานแคระปกษใต : Dendrocopos moluccensis นกหัวขวานขนาดเล็กมาก นกชนิดนี้เปนนกที่มีรายงานการพบเห็นในประเทศไทยเปนครั้งแรก ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 โดยคุณพิพัฒน สุวรรณมล และมีการถายภาพนกชนิดนี้ขณะทํารังไวได (สมาคมอนุรักษนกและธรรมชาติแหงประเทศไทย,2554) และไดพบอีกครั้งในวันที่ 29 ธันวาคม 2553 โดยผูสํารวจ นกหัวขวานชนิดนี้สวนใหญพบบริเวณปาชายเลนที่คอนขางโปรง และมีตนลําพูทะเล (Sonneratia alba) เปนไมเดน จากการประเมินเบื้องตนพบวานกชนิดนี้เปนนกที่พบเห็นไดงายในพื้นที่ ปจจุบันพบเฉพาะบริเวณปาชายเลนและชายทะเลในจังหวัดสตูล เนื่องจากเปนนกที่มีรายงานใหมของ ประเทศไทย จึงยังไมไดรับการจัดสถานภาพเปนสัตวปาคุมครอง นกกะเต็นใหญปกสีน้ําตาล : Halcyon amauropter นกในวงศนกกะเต็น พบเห็นตัวไดงายในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง นกชนิดนี้เปนนกที่พบ เห็นไดเฉพาะปาชายเลนที่สมบูรณทางชายฝงทะเลดานตะวันตก การพบเห็นไดงายของนกชนิดนี้ แสดงใหเห็นวาปาชายเลนอาวตํามะลังมีความสําคัญสําหรับการรองรับประชากรขนาดใหญของนก กะเต็นใหญปกสีน้ําตาล เปนนกที่มีสถานภาพใกลถูกคุกคามของประเทศไทย

433


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

นกกะเต็นแดง : Halcyon coromanda พบเพียง 1 ครั้งในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง เนื่องจากเปนนกที่หลบซอนตัวเกงจึงทําใหพบ เห็นตัวไดยาก แตจากสภาพปาที่มีความสมบูรณ เปนนกที่มีสถานภาพใกลถูกคุกคามของประเทศไทย นกเปลาอกสีมวงน้ําตาล : Treron bicincta พบนกตัวผู 1 ตัว ปะปนกับฝูงนกเปลาคอสีมวง ซึ่งพบไดงายกวา นกเปลาอกสีมวงน้ําตาลเปน นกที่พบเห็นไดยากและมีสถานภาพใกลถูกคุกคาม ตามการจัดสถานภาพโดยสํานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนนกที่มีสถานภาพใกลถูกคุกคามของประเทศไทย นกออก : Haliaeetus leucogaster นกในวงศเหยี่ยวและอินทรีที่กินปลาและสัตวทะเลขนาดเล็กเปนอาหาร พบเขามาอาศัยบริเวณ คลองในปาชายเลนดวย เปนนกที่มีสถานภาพใกลถูกคุกคามของประเทศไทย นกแตวแลวปาชายเลน : Pitta megarhyncha นกแตวแลวที่มีถิ่นอาศัยเฉพาะคือปาชายเลนที่สมบูรณ มีรายงานการอาศัยอยูเฉพาะชายฝง ทะเลดานตะวันตก ไดยินเสียงรองกระจายทั่วไปในพื้นที่ปาชายเลน แตพบเห็นตัวไดยากเนื่องจากหลบ ซอนตัวเกง เปนนกที่มีสถานภาพมีแนวโนมสูญพันธุของประเทศไทย นกขมิ้นทายทอยดํา : Oriolus chinensis เปนนกอพยพที่พบบอยมากทั่วประเทศ แตสําหรับในปาชายเลนอาวตํามะลัง เบื้องตนคาดวา สวนหนึ่งเปน ชนิดยอย O. chinensis maculates ซึ่งเปนนกประจําถิ่นในประเทศมาเลเซีย เนื่องจาก สํารวจพบหลายครั้งในเดือนกรกฎาคมซึ่งเปนชวงนอกฤดูกาลอพยพ และมีรายงานการทํารังวางไขจาก คําบอกเลาจากชาวบานในพื้นที่ ปาชายเลนอาวตํามะลังและชายฝงทะเลในจังหวัดสตูล จึงเปนพื้นที่ สําคัญเพียงไมกี่แหงสําหรับการขยายพันธุของนกชนิดนี้ในประเทศไทย นกเขนนอยคิ้วขาว : Lalage nigra สํารวจพบ 1 ครั้งบริเวณชายปาชายเลนใกลทาเรือตํามะลัง นกชนิดนี้เปนนกที่กําลังลดจํานวน ลงและพบเห็นไดยากมากขึ้น เนื่องจากสภาพพื้นที่อาศัยคือปาโปรงริมทะเลถูกรบกวนและเปลี่ยน สภาพ เปนนกที่มีสถานภาพมีแนวโนมสูญพันธุของประเทศไทย

434


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล

นกจับแมลงปาโกงกาง : Cyornis rufigaster นกจับแมลงที่หายากและมีขอมูลนอย อาศัยอยูเฉพาะปาชายเลนที่สมบูรณ เดิมมีรายงานพบ เฉพาะปาชายเลนในจังหวัดกระบี่เทานั้น และมีการพบเพิ่มเติมบริเวณปาชายเลนในอําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี การพบนกชนิดนี้จึงเปนรายงานการกระจายแหงใหม และการสํารวจครั้งนี้ยืนยันการ ขยายพันธุในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลังจากการพบนก 1 คูกําลังเลี้ยงดูลูกที่เพิ่งออกจากรัง นกติตใหญ : Parus major นกติตใหญในปจจุบันที่พบในประเทศไทยถูกจําแนกชนิดใหมจากความสัมพันธในระดับชีว โมเลกุล พบวานกติตใหญ ที่พบทางภาคใตของไทยและมาเลเซีย ซึ่งมีถิ่นอาศัยสําคัญคือปาชายเลน มี ความแตกตางจากที่พบทางภาคเหนือของไทยและอาจจําแนกเปน นกติตสีเทา : P. cinereus จากการ สํารวจเบื้องตนพบวาเปนนกที่พบเห็นไดงายในปาชายเลนอาวตํามะลัง นกกินแมลงปาชายเลน : Trichastoma rostratum นกกินแมลงที่พบอาศัยในปาดิบที่ราบต่ําและบริเวณปาชายเลนที่สมบูรณ เปนนกชนิดที่พบเห็น ไดยากเปนนกที่กําลังถูกคุกคามจากการสูญเสียถิ่นอาศัย และเปนนกที่มีสถานภาพใกลถูกคุกคามทั้ง ในระดับนานาชาติและของประเทศไทย นกกินปลีคอสีทองแดง : Leptocoma calcostetha นกกินปลีที่มีแหลงอาศัยหลักคือปาชายเลนที่สมบูรณ สามารถพบเห็นไดไมยากในปาชายเลน อาวตํามะลัง โดยมักพบกินน้ําหวานจากดอกของตนไมในปาชายเลน โดยเฉพาะตนโกงกางหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza) ที่มีนกชนิดนี้เปนนกชนิดสําคัญสําหรับการผสมเกสร เปนนกที่มีสถานภาพ มีแนวโนมสูญพันธุของประเทศไทย สรุปผลการศึกษา การสํารวจเก็บขอมูลนกในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง อําเภอเมือง จังหวัดสตูล เปนการ สํารวจเบื้องตนในระยะสั้น ทําการเก็บขอมูลระหวางวันที่ 29-31 ธันวาคม 2553 และ วันที่ 18-20 ธันวาคม 2554 ดวยการสํารวจโดยตรง (direct searching method) ดวยการดูรายละเอียดจากกลอง สองทางไกลและเทเลสโคป หรือระบุชนิดนกจากเสียงรอง และบันทึกเสนทางสํารวจและพิกัดชนิดนกที่ สําคัญดวย GPS โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการอนุรักษและวางแผนจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง จากการศึกษาพบนกทั้งสิ้น 84 ชนิด จาก 10 อั น ดั บ 39 วงศ 68 สกุ ล เป น นกที่ มี ค วามสํ าคั ญ ในการอนุ รั ก ษ ใ นประเทศไทยจํ า นวน 9 ชนิ ด แบงเปนนกที่มีสถานภาพมีแนวโนมสูญพันธุ 4 ชนิด ไดแก นกแตวแลวปาโกงกาง นกเขนนอยคิ้วขาว

435


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

นกจับแมลงปาโกงกางและนกกินปลีคอสีทองแดง นกที่ใกลถูกคุกคาม 5 ชนิดไดแก นกกะเต็นใหญปก สีน้ําตาล นกกะเต็นแดง นกเปลาอกสีมวงน้ําตาล นกกินแมลงปาชายเลน นกออก และเปนสัตวปา คุมครอง 80 ชนิด ขอเสนอแนะ ควรมี การศึกษาความหลากชนิดของนกและสั ตวอื่ นๆ ในพื้ นที่ป าชายเลนตํามะลั งเพิ่ มเติ ม เนื่ อ งจากป า ชายเลนแห ง นี้เ ป นป า ชายเลนขนาดใหญ แ ละมีค วามสมบู ร ณมากที่ อ ยูต อนใต สุด ของ ประเทศไทยที่มีการสํารวจนอย คาดวายังมีความหลากหลายทางชีวภาพของนกที่ยังสํารวจไมพบอีก มาก โดยเฉพาะกลุมนกอพยพที่ยายถิ่นเขามาใชประโยชนพื้นที่ในชวงฤดูที่แตกตางกัน และควรสํารวจ อยางตอเนื่องเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงชนิดควบคูไปกับการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงไปของพื้นที่ ปาชายเลนบริเวณอาวตํามะลังมีจุดเดนที่ความอุดมสมบูรณและมีชนิดนกที่นาสนใจ ไมพบหรือ พบเห็นไดงายกวาปาชายเลนอื่นๆ ของประเทศไทย สามารถนําไปเปนสวนหนึ่งของการทองเที่ยวเชิง นิเวศไดและยังชวยชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจที่นอกเหนือจากการประมงหรือ การใชประโยชนโดยตรงจากทรัพยากรอื่นๆ กิตติกรรมประกาศ การสํ า รวจนี้ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของโครงการสํ า รวจความหลากหลายทางชี ว ภาพในพื้ น ที่ วิ ก ฤต จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด สงขลา และจั ง หวั ด สตู ล ร ว มกั บ คณะประมง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาตร โดยได รั บ เงิ น สนั บ สนุ น การสํ า รวจจากสํ า นั ก นโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) และการสํารวจครั้งนี้ขาพเจาขอขอบคุณคุณประนอม ชุมเรียง หัวหนาศูนยวิจัยปาชายเลนสตูล และคุณนครินทร ทิ้งน้ํารอบ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการสํารวจ จนสําเร็จตามวัตถุประสงค

เอกสารอางอิง สมาคมอนุรักษนกและธรรมชาติแหงประเทศไทย.2554.นกชนิดที่ 999 และ 1000 ของประเทศไทย. แหลงที่มาhhttp://www.bcst.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=321 %3A-999-1000-&catid=66%3Abcst-act&lang=th, 20 กรกฏาคม 2554

จารุจินต นภีตะภัฏ, กานต เลขะกุล, วัชระ สงวนสมบัติ. 2550. คูมือดูนก หมอบุญสง เลขะกุล นกเมืองไทย. ดานสุทธาการพิมพ จํากัด,กรุงเทพฯ.

436


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล

สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน และ รุงสุริยา บัวสาลี, 2554. ปาชายเลน นิเวศวิทยาและพรรณไม. กรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช.กรุงเทพฯ. IUCN. 2011. IUCN Red List of the Threatened Species. แหลงที่มา :http://www.iucnredlist.org/, 20 กรกฏาคม 2554 Robson,C. 2008. A Field Guide to the Birds of Southeast Asia. New Holland Publishers (UK) Ltd.UK. Sanguansombat W. 2005. Thailand Red Data : Birds. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. Well, R. David. 1999. The Birds of the Thai-Malay Penninsula non-Passerine. San Diego and London : Academic Press. ____________ 2007. The Birds of the Thai-Malay Penninsula Passerine. London : Christopher Helm.

ตารางผนวก ชนิดและสถานภาพของนกทีส่ ํารวจพบในพื้นที่ปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล ค

หมายถึง

LC หมายถึง NT หมายถึง NT* หมายถึง VU หมายถึง

สัตวปาคุมครอง สถานภาพตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 เปนชนิดพันธุที่เปนกังวลนอยที่สุด (Least Concern species)) ตามการจัดของ IUCN เปนชนิดพันธุที่ใกลถูกคุกคาม (Near Threatened species) ตามการจัดของ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชนิดพันธุที่ใกลถูกคุกคาม (Near Threatened species) ตามการจัดของ IUCN เปนชนิดพันธุที่มีแนวโนมจะสูญพันธุ (Vulnerable species) ตามการจัดของ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สถานภาพ ประเมินตาม 1 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 2 สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษธรรมชาติและทรัยพยากรธรรมชาติ (IUCN) 3 สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4 สถานภาพตามฤดูกาล R คือ นกประจําถิ่น W คือ นกอพยพ

437


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ลําดับที่

ชนิด

Order Piciformes Family Picidae 1 Dendrocopos moluccensis 2 Dinopium javanense Family Ramphastidae 3 Megalaima haemacephala Order Coraciiformes Family Coraciidae 4 Eurystomus orientalis Family Alcedinidae 5 Alcedo atthis Family Alcedinidae 6 Halcyon amauropter 7 Halcyon coromanda 8 Halcyon pileata 9 Todiramphus chloris Family Meropidae 10 Merops viridis 11 Merops philippenus Order Cuculiformes Family Cuculidae 12 Cacomantis merulinus 13 Chrysococcyx minutillus 14 Eudynamys scolopacea 15 Phaenicophaeus tristis 16 Centropus sinensis Order Apodiformes Family Apodidae 17 Aerodramus germani 18 Cypsiurus balasiensis 19 Apus pacificus 438

ชื่อทองถิ่น

สถานภาพ 1

2

3

4

หัวขวานแคระปกษใต นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง

- LC ค LC

-

R R

นกตีทอง

ค LC

-

R

นกตะขาบดง

ค LC

-

R

นกกะเต็นนอยธรรมดา

ค LC

-

W

นกกะเต็นใหญปกสีน้ําตาล นกกะเต็นแดง นกกะเต็นหัวดํา นกกินเปยว

ค ค ค ค

NT NT -

R R W R

นกจาบคาคอสีฟา นกจาบคาหัวเขียว

ค LC ค LC

-

W W

นกอีวาบตั๊กแตน นกคัคคูสีทองแดง นกกาเหวา นกบั้งรอกใหญ นกกะปูดใหญ

ค ค ค ค ค

LC LC LC LC LC

-

R R R R R

นกแอนกินรัง นกแอนตาล นกแอนตะโพกขาวหางแฉก

ค LC ค LC ค LC

-

R R W

LC LC LC LC


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล

20 Apus affinis Order Carprimulgiformes Family Caprimulgidae 21 Caprimulgus macrurus Order Columbiformes Family Columbidae 22 Columba livia 23 Streptopelia chinensis 24 Streptopelia tranquebarica 25 Chalcophaps indica 26 Geopelia striata 27 Treron vernans 28 Treron bicincta Order Gruiformes Family Rallidae 29 Amaurornis phoenicurus Order Charadriiformes Family Scolopacidae 30 Actitis hypoleucos Order Cinoniiformes Family Falconidae 31 Pandion haliaetus 32 Aviceda leuphotes 33 Pernis ptilorhyncus 34 Haliastur indus 35 Haliaeetus leucogaster 36 Butastur indicus Family Phalacrocoracidae 37 Phalacrocorax niger Family Ardeidae 38 Egretta garzetta 39 Casmerodius albus 40 Mesophoyx intermedia 41 Ardeola bacchus

นกแอนบาน

ค LC

-

R

นกตบยุงหางยาว

ค LC

-

R

นกพิราบปา นกเขาใหญ นกเขาไฟ นกเขาเขียว นกเขาชวา นกเปลาคอสีมวง นกเปลาอกสีมวงน้ําตาล

ค ค ค ค ค

NT

R R R R R R R

นกกวัก

ค LC

-

R

นกเดาดิน

ค LC

-

W

เหยี่ยวออสเปร เหยี่ยวกิ้งกาสีดํา เหยี่ยวผึ้ง เหยี่ยวแดง นกออก เหยี่ยวหนาเทา

ค ค ค ค ค ค

NT -

W W W R R W

นกกาน้ําเล็ก

ค LC

-

W

นกยางเปย นกยางโทนใหญ นกยางโทนนอย นกยางกรอกพันธุจีน

ค ค ค ค

-

R W W W

LC LC LC LC LC LC LC

LC LC LC LC LC LC

LC LC LC LC

439


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

42 Butorides striatus Order Passeriformes Family Pittidae 43 Pitta megarhyncha Family Campephagidae 44 Lalage nigra Family Acanthizidae 45 Gerygone sulphurea Family Laniidae 46 Lanius cristatus Family Pachycephalidae 47 Pachycephala grisola Family Crovidae 48 Corvus macrorhynchos Family Oriolidae 49 Oriolus chinensis Family Rhipiduridae 50 Rhipidura javanica Family Dicruridae 51 Dicrurus leucophaeus 52 Dicrurus paradiseus Family Monarchidae 53 Hypothymis azurea 54 Terpsiphone paradisi Family Aegithinidae 55 Aegithina tiphia Family Muscicapidae 56 Muscicapa dauurica 57 Cyornis rufigaster 58 Ficedula parva 59 Copsychus saularis Family Sturnidae 60 Aplonis panayensis 61 Acridotheres tristis 440

นกยางเขียว

ค LC

-

R

นกแตวแลวปาชายเลน

ค LC

VU

R

นกเขนนอยคิ้วขาว

ค LC

VU R

นกกระจอยปาโกงกาง

ค LC

-

R

นกอีเสือสีน้ําตาล

ค LC

-

W

นกโกงกางหัวโต

ค LC

-

R

อีกา

ค LC

-

R

นกขมิ้นทายทอยดํา

ค LC

-

R,W

นกอีแพรดแถบอกดํา

ค LC

-

R

นกแซงแซวสีเทา นกแซงแซวหางบวงใหญ

ค LC ค LC

-

W R

นกจับแมลงจุกดํา นกแซวสวรรค

ค LC ค LC

-

W W

นกขมิ้นนอยธรรมดา

ค LC

-

R

นกจับแมลงสีน้ําตาล นกจับแมลงปาโกงกาง นกจับแมลงคอแดง นกกางเขนบาน

ค ค ค ค

VU -

W R W R

นกเอี้ยงดําปกษใต นกเอี้ยงสาริกา

ค LC ค LC

-

R R

LC LC LC LC


การสํารวจนกเบื้องตนในปาชายเลนอาวตํามะลัง จังหวัดสตูล

62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84

Family Paridae Parus major Family Hirundinidae Hirundo rustica Hirundo tahitica Family Pycnonotidae Pycnonotus goiavier Family Cristicolidae Orthotomus atrogularis Orthotomus ruficeps Family Phylloscopidae Phylloscopus schwarzi Phylloscopus inornatus Phylloscopus borealis Phylloscopus plumbeitarsus Phylloscopus tenellipes Phylloscopus coronatus Family Timaliidae Zosterops palpebrosus Trichastoma rostratum Family Dicaeidae Dicaeum cruentatum Family Nectariniidae Anthreptes malacensis Leptocoma sperata Leptocoma calcostetha Cynnyris jugularis Family Passeridae Passer montanus Family Motacillidae Dendronanthus indicus Motacilla cinerea Family Estrildidae Lonchura punctulata

นกติตใหญ

ค LC

-

R

นกนางแอนบาน นกนางแอนแปซิฟค

ค LC ค LC

-

W R

นกปรอดหนานวล

ค LC

-

R

นกกระจิบคอดํา นกกระจิบหัวแดง

ค LC ค LC

-

R R

นกกระจิ๊ดปากหนา นกกระจิ๊ดธรรมดา นกกระจิ๊ดขั้วโลกเหนือ นกกระจิ๊ดเขียวปกสองแถบ นกกระจิ๊ดขาสีเนื้อ นกกระจิ๊ดหัวมงกุฏ

ค ค ค ค ค ค

-

W W W W W W

นกแวนตาขาวสีทอง นกกินแมลงปาชายเลน

ค LC ค NT*

NT

R R

นกสีชมพูสวน

ค LC

-

R

นกกินปลีคอสีน้ําตาล นกกินปลีคอสีมวง นกกินปลีคอสีทองแดง นกกินปลีอกเหลือง

ค LC

-

ค LC ค LC

VU -

R R R R

นกกระจอกบาน

- LC

-

R

นกเดาลมดง นกเดาลมหลังเทา

ค LC ค LC

-

W W

นกกระติ๊ดขี้หมู

ค LC

-

R

LC LC LC LC LC LC

441


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

442


บทความสมทบ : กิจกรรมการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน



การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกัน การกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยฝงตะวันออก (หมู 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร) ประสาร เอี่ยมวิจารณ โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยา จ.สมุทรสาคร ความเดิม ชุมชนชายฝงมหาชัยตะวันออกของปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาครมีการพัฒนาพื้นที่จาก สภาพเดิมที่มีระบบนิเวศชายฝงที่มีความอุดมสมบูรณเปนตนทุนเดิมอยูแลว โดยมีความสมบูรณทั้ง ทางดานทรัพยากรปาชายเลนและสัตวน้ํา จากเหตุการณในประวัติศาสตรสมัยกรุงศรีอยุธยาที่สมเด็จ พระเจาเสือเสด็จทางชลมารค เพื่อทรงเบ็ดที่ปากแมน้ําสาครบุรี เมื่อประมาณ 300 ปเศษ จนเกิด เหตุการณที่พันทายนรสิงหซึ่งเปนนายทายเรือตองพลีกรรมเพื่อรักษากฎมณเทียรบาลจากการที่หัวเรือ พระที่นั่งเอกชัยไปชนกิ่งไมทําใหเรือพระที่นั่งเอกชัยหักลง พันทายนรสิงหไดแสดงความรับผิดชอบตอ การปฏิบัติหนาที่ และไดทูลใหพระเจาเสือประหารชีวิตเพื่อไมใหเปนเยี่ยงอยาง ซึ่งความดีงามดังกลาว ไดถูกจารึก และถายทอดมาสูอนุชนรุนหลังสืบตอมา จากการจารึกในพงศาวดารแสดงใหเห็นวาในอดีต ที่ผานมาชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร หรือสาครบุรีในอดีตมีความอุดมสมบูรณอยางมากในดานทรัพยากร ปาไมและสัตวน้ํา เมื่อเวลาผานไปการพัฒนาสังคมจากอดีตสูปจจุบันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง มีการใชประโยชน ที่ดินในรูปการสรางที่อยูอาศัย ขุดบอเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง ซึ่งปจจัยดังกลาวเปนสาเหตุเบื้องตนที่ ชุมชนชายฝงมหาชั ยตะวัน ออกประกอบดวยหมู 3 ต.โคกขาม หมู8 ต.พัน ทายนรสิ งห และหมู 2 บางสวน เริ่มมีปญหาทางดานสิ่งแวดลอม อาทิเชน ปาชายเลนนอยลง สัตวน้ําวัยออนไมมีที่อยูอาศัย รวมทั้งแหลงขยายพันธุสัตวน้ําชายฝงถูกคุกคามดวยเครื่องมือจับสัตวน้ําที่ผิดกฎหมาย จากสถานการณ ก ารเลี้ ย งกุ ง กุ ล าดํ า ล ม สลายเมื่ อ ประมาณป พ .ศ. 2529-2534 ได มี ก ารใช ประโยชนที่ดินเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําคือ กุงกุลาดํา โดยมิไดคํานึงถึงการจัดการที่ดี โดยเฉพาะการ จัดระบบควบคุ มคุณภาพน้ําและการคงไว ซึ่งความอุดมสมบูรณ ของป าชายเลนในพื้นที่มหาชัยฝ ง ตะวันออกโดยเฉพาะ หมู 3 ต.โคกขาม ซึ่งเปนพื้นที่หนึ่งที่ไดรับผลกระทบอยางมากจากเหตุการณ ดังกลาว จนกระทั่งเกิดสภาวะลมสลายผูประกอบการขาดทุน ที่ดินจึงถูกเปลี่ยนมือไปสูนายทุน


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ผลกระทบตอโรงเรียน โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยา ตั้งอยูหมูที่ 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร พื้นที่ของโรงเรียน ในอดีตเคยเปนนาเกลือมากอน ตอมาเมื่อทางราชการมีนโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังตําบล ตางๆ จึงไดขออนุญาตใชที่ดินที่อยูในการครอบครองของกรมสงเสริมสหกรณเมื่อป พ.ศ. 2523

ภาพ 1 ภาพถายทางอากาศพื้นที่รอบโรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยา

ภาพ 2 โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยาในอดีต

ป พ.ศ. 2529-2533 โรงเรียนไดใชพื้นที่สวนหนึ่ง ขุดบอเลี้ยงกุงกุลาดําเชนเดียวกับชุมชน และ ในปพ.ศ. 2534 ไดเกิดวิกฤตการณกุงกุลาดําลมสลาย ทําใหชุมชนและโรงเรียนประสบปญหาขาดทุน ที่ดินถูกเปลี่ยนการถือครองไปสูนายทุน และมีสภาพเปนบอกุงราง บอเลี้ยงกุงในโรงเรียนแปรสภาพ เปนบอกุงราง ตั้งแตปพ.ศ. 2534-2538

446


การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกันการกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยฝง ตะวันออก (หมู 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร)

ภาพ 3 สภาพบอกุงรางภายในโรงเรียน

แนวทางการแกปญหาและพัฒนา ป พ.ศ. 2538 ครูและนักเรียนไดรวมกันวิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึ้น และนําเขาสู การเรียน การสอนในรายวิชา ทองถิ่นของเรา และประชากรศึกษา เพื่อหาแนวทางและทฤษฎีสําหรับการแกปญหา การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา จากสภาพปญหาดังกลาว ครูและนักเรียนไดพยายามศึกษาแนวทางการแกปญหาและ พบวา แนวทางตามแนวพระราชดําริศูนยศึกษาทั้ง 6 แหง สามารถเปนแนวทางได โดยเฉพาะศูนยศึกษาการ พัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากแนวพระราชดําริ อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี ปพ.ศ. 2539 สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ไดมีแนวทางพระราชดําริให โรงเรียนตางๆจัดทําโครงการภายใต “โครงการศึกษาพัฒนา อนุรักษปาชายเลนตามแนวพระราชดําริ” โรงเรี ย นพั น ท า ยนรสิ ง ห วิ ท ยาจึ ง ได เ ริ่ ม โครงการดั ง กล าว ตั้ ง แต ป พ.ศ. 2539 และเป น วโรกาสที่ เหมาะสมที่ไดเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในวโรกาสที่ทรงครองราชยครบ 50 ป

ภาพ 4 ครูและนักเรียนรวมกันปลูกปาชายเลน

การแสวงหาองคความรู การพัฒนาและศึกษาระบบนิเวศปาชายเลนมีความจําเปนตองแสวงหาความรูและประสบการณ จากบุคคล สถาบัน องคกร จึงไดรับความอนุเคราะหเปนอยางดี อาทิเชน

447


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

1. ศ.ดร.สนิท อักษรแกว คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (ป พ.ศ. 2539) ไดเขาไป สํารวจพื้นที่ในโรงเรียน และไดใหคําแนะนําทางดานวิชาการ ประสบการณ รวมถึงเปนที่ ปรึกษาโครงการ 2. ดร.สนใจ หะวานนท นักวิชาการปาไมไดเขาไปสํารวจพรอมกับ ศ.ดร.สนิท อักษรแกว เปนผู แนะนําดานวิชาการ และเปนที่ปรึกษาโครงการ 3. คณะกรรมการปาชายเลนแหงชาติ (สถานีวิจัยแหงชาติ) ไดเชิญเขารวมสัมมนาปาชายเลน แหงชาติ ครั้งที่ 10 เปนตนมา 4. สํานักงานปาไมจังหวัดสมุทรสาคร (ปพ.ศ. 2539) ไดสนับสนุนเจาหนาที่ใหความอนุเคราะห ดานขอมูล 5. จังหวัดสมุทรสาคร ตั้งแตป พ.ศ. 2539- ปจจุบัน ไดสนับสนุนและใหความสําคัญตอกิจกรรม ของโรงเรียนมาโดยตลอด 6. องคกรสวนทองถิ่น ในจังหวัดสมุทรสาคร 7. องคกรภาคเอกชน 8. สถาบันการศึกษาตางๆ ผลการพัฒนา หลังจากเริ่มโครงการตั้งแตป พ.ศ. 2539 เปนตนมา ระยะ 5 ป โดยในระยะแรกการพัฒนา พื้นที่วังกุงราง และบริเวณโดยรอบของโรงเรียนพบวา มีพื้นที่สีเขียว (ปาชายเลน) เกิดขึ้นในโรงเรียน ประมาณ 40% มีสายพันธุไมชายเลน 12 ชนิด นอกจากนี้ยังมีปลากระบอกเขามาขยายพันธุ ปูชนิด ตางๆ กุง หอยแครง และนกนานาชนิด

ภาพ 5 ปาชายเลนภายในโรงเรียน

ปพ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการ ไดพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยาใหเปน ฐานคายกิจกรรมนานาชาติ เอเปก (APEC International Youth Camp)

448


การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกันการกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยฝง ตะวันออก (หมู 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร)

ภาพ 6 กิจกรรมเยาวชน APEC

ปพ.ศ. 2547 จังหวัดสมุทรสาครภายใตยุทธศาสตรพัฒนาจังหวัด อนุมัติงบประมาณ 1,250,000 บาท ใหโรงเรียนรับผิดชอบและทําโครงการสงเสริมทองเที่ยวทางธรรมชาติและวิถีชีวิตดั้งเดิม ตามวิสัยทัศน จังหวัด งบประมาณดังกลาวสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมการทองเที่ยวทางธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีการ กอสราง ศูนยสาธิตโฮมสเตย เพื่อไวบริการนักทองเที่ยว และเปนแหลงเรียนรูของ นักเรียน-นักศึกษา ที่เรียนรายวิชางานบริการการทองเที่ยว

ภาพ 7 โฮมสเตย (Home stay)

ป พ.ศ. 2549 จังหวัดสมุทรสาครไดจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาจังหวัด โดยงบประมาณการ บริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยาไดจัดทําโครงการอุทยานการเรียน ธรรมชาติวิทยาและศิลปวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรสาคร โดยใชทุนทางธรรมชาติคืนปาชายเลนของ โรงเรียนเปนจุดนําเสนอโครงการดังกลาว ไดเสนอของบประมาณจํานวน 19,456,000 บาท ประกอบ ไปดวยพิพิธภัณฑทองถิ่น, สถานีเรียนรูระบบนิเวศปาชายเลน, สถานีโครงกระดูกวาฬบรูดา อายุรอยปเศษ, สถานีพลังงานทดแทน, หองสัมมนา, อาคารเรียนทรงไทย, ลานประดู (ลานกิจกรรม) ซึ่งมีวัตถุประสงค ของโครงการ ดังนี้ 1. เปนแหลงศึกษา เรียนรูของเยาวชน สถาบันการศึกษาตางๆ และประชาชนบุคคลทั่วไป 2. เปนแหลงทองเที่ยวทางเลือกใหม 3. สถานจัดกิจกรรมเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม

449


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพ 8 อุทยานการเรียนธรรมชาติวิทยาและศิลปวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรสาคร

บทสรุปในโรงเรียน จากการพัฒนาบนพื้นฐานปญหาของโรงเรียน (School Problem Based) ไดบูรณาการองคความรู ทางดานวิทยาศาสตรและสาระตางๆเพื่อใหผูเรียน (นักเรียน) ครู-อาจารยและผูที่เกี่ยวของ ดําเนิน การศึ ก ษาสภาพป ญ หา ตั้ ง สมมุ ติ ฐ าน ทํ า การทดลองติ ด ตามประเมิ น ผลและนํ า ไปสู รู ป แบบการ แกปญหา ตามองคความรูที่ทํามาประยุกตใชผสมผสานกับวิถีชีวิต ภูมิปญญาทองถิ่น บริบทชุมชน จน เปนรูปแบบของนวัตกรรม

ภาพ 9: การมีสวนรวมในการแกปญ  หา

จากโรงเรียนสูชุมชน ตั้งแตป พ.ศ. 2539 เปนตนมา การแกปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน แมวาจะมีความสําเร็จได ในระดับหนึ่ง แตก็ยังถือวายังไมใชความสําเร็จที่งดงามในสภาพแหงความเปนจริง ชุมชนชายฝง จังหวัดสมุทรสาครยังระทมทุกขเพราะมีปญหาและมีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น เชน ปาชาย เลนมีพื้นที่นอยลง มีการกัดเซาะชายฝงที่รุนแรง, ประชากรสัตวน้ํานอยลง เพราะมีการทําประมงที่ผิดวิธี 450


การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกันการกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยฝง ตะวันออก (หมู 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร)

ภาพ 10 สภาพพื้นที่ชายฝงมหาชัยฝงตะวันออก

แนวคิดเพื่อแกปญหาและพัฒนา ป ญ หาชายฝ ง โดยเฉพาะมหาชั ย ฝ ง ตะวั น ออก พื้ น ที่ ห มู 3 ต.โคกขาม อยู บ ริ เ วณใกล เ คี ย ง โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยา มีความรุนแรงมาก อัตราการกัดเซาะที่ตรวจสอบติดตามดูพบวามีการ กัดเซาะประมาณ 17 เมตร/ป พื้นที่ถือครองของราษฎรพังทลายไปอยูในทะเลหลายสิบไร ดวยเหตุนี้ โรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยาจึงไดประสานแนวคิดกับนายบรรทม ดวงลอมจันทร อดีตผูใหญบาน หมูที่ 3 ต.โคกขาม เพื่อขอความอนุเคราะหสถานที่ในพื้นที่ชายฝง เพื่อทํากิจกรรมการเรียนรูและการ ปฏิบัติการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรชายฝง นายบรรทม ดวงลอมจันทร จึงไดทําการขอแบงโฉนดพื้นที่ ชายฝงจํานวน 5 ไร และทางเขา-ออก 7 ไร เพื่อเปนสาธารณประโยชนดานการอนุรักษทรัพยากร ชายฝง ในป พ.ศ. 2546 โดยมอบใหอยูในความดูแลขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาครไดใหความสําคัญในเรื่องนี้ โดยมอบหมายใหนายชาญวิทย วสยางกูร รอง ผูวาราชการจังหวัดสมุทรสาคร (2549-2550) เขามารับทราบปญหาดังกลาว โดยใหดําเนินภายใน ขั้นตอนของแผนยุทธศาสตรพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร นายประสาร เอี่ยมวิจารณ ครูปฏิบัติการโรงเรียน พันทายนรสิงหวิทยา จึงไดประสานงานให นายวรพล (สมชาย) ดวงลอมจันทร (บุตรชายนายบรรทม) ไดทําความรูจัก โดยเฉพาะนายวรพล (สมชาย) อดีตเคยเปนผูใหญบาน และเปนผูที่เกิดในพื้นที่ชายฝง เห็ น เหตุ ก ารณ แ ละป ญ หามาโดยตลอด พยายามประสานกั บ หน วยงานต า งๆ แตยั ง ไม ค อ ยได ผ ล จนกระทั่งไดพบกับรองผูวาชาญวิทย วสยางกูร ซึ่งมีอุดมการณตรงกัน นอกจากนี้ยังมีบุคคลสําคัญอีก ทานหนึ่ง คือ นายนรินทร บุญรวม อดีตเคยเปนประมงอําเภอเมืองสมุทรสาครมากอน และรูจักกับนาย วรพล(สมชาย) มากอน เปนผูหนึ่งที่เห็นภาพรวมทรัพยากรชายฝงมานาน

ภาพ 11 การกัดเซาะชายฝง

451


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

รองผูวากับ 3 ผูกอการ นาย วรพล (สมชาย ดวงลอมจันทร) อดีตผูใหญบานหมูที่ 3 ต.โคกขาม เห็นเหตุการณมาตั้งแต เกิด จึงไดประสานแนวคิดกับ นายประสาร เอี่ยมวิจารณครูปฏิบัติการโรงเรียนพันทายนรสิงหวิทยา และนายนรินทร บุญรวม อดีตประมงอําเภอเมืองสมุทรสาคร ดําเนินการสํารวจสภาพชายฝงที่เปน ปญหาพรอมเชิญ นายชาญวิทย วสยางกูร รวมสํารวจขอเท็จจริง วันที่ 27 มี.ค. 2549 จากขอเท็จจริง ดังกลาว จึงไดนําเสนอเขาสูการประชุมระดับจังหวัด ตอมาผูวาราชการจังหวัดสมุทรสาคร ไดเขาตรวจ เยี่ยมและใหนโยบายเห็นควรสนับสนุนการดําเนินการดังกลาว จากแนวคิดสูการศึกษาทดลอง จากการหลอมรวมจากจังหวัดสูชุมชนทองถิ่นทําใหเกิดแนวคิดการปองกันกัดเซาะชายฝง เปน รูปแบบพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ - การเพิ่มพื้นที่ปาชายเลน โดยเฉพาะนายประสาร เอี่ยมวิจารณ เปนแกนนํา นํานักเรียนและ เยาวชนทั้งภายใน และภายนอกรวมฟนฟูปาชายเลนในแนวถอยรน โดยนายวรพล (สมชาย) ดวงลอม จันทร เปนผูประสานเจาของที่ดินแนวหลังปาประมาณแปลงละ 5 ไร ในเบื้องตนไดจํานวนพื้นที่ 141 ไร เราเรียกแนวนี้วา “แนวถอยรนตั้งรับ” - การปกไมไผชะลอคลื่น และแนวดักตะกอนเลน โดยทางนายวรพล (สมชาย) เปนแกนนํา สรางเวทีชาวบาน พูดคุยกับชุมชนชายฝงจนไดสมาชิก 180 คน ระหวางที่ปกไมไผจะไดมีการบูรณการ ปาเดิมใหแข็งแรง - การสรางแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําชายฝง การประสานกลุมชุมชนภายนอก และผูประกอบ อาชีพประมงชายฝง โดยนายนรินทร บุญรวม เปนผูแทนเจรจาเพื่อใหเกิดความเขาใจ

ภาพ 12 การมีสว นรวมของชุมชนในการแกปญหา

452


การขับเคลื่อนและการมีสวนรวมในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการปองกันการกัดเซาะชายฝง จากโรงเรียนสูชุมชนชายฝงมหาชัยฝง ตะวันออก (หมู 3 ต.โคกขาม อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร)

แนวคิดไดรับการขยายผล วันที่ 20 ตุลาคม 2549 คณะของนายสําราญ รักชาติ อดีตรองอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง ไดทราบขาวการทํางานแบบประสานสัมพันธเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงไดนําเรื่องดังกลาวเสนอ นําเรียนตอ นายเกษม สนิทวงษ ณ อยุธยา รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2549-2550) จากนั้นรัฐมนตรีไดเขามาตรวจเยี่ยมพื้นที่ดังกลาวดวยตนเอง และไดเสนอเขาเปนแผน งบประมาณและอนุมัติเ ปนกรอบงบประมาณจํ านวน 5,000,000 บาท เพื่อ การปกไมไ ผ โดยกรม ทรัพยากรทางทะเล และชายฝง เปนผูรับผิดชอบ

ภาพ 13 การปกไมไผ

ศูนยเรียนรูปฏิบัติการชายฝงฝนที่เปนจริง จากที่นายบรรทม ดวงลอมจันทร อดีตผูใหญบานหมูที่ 3 ต. โคกขาม ไดมอบที่ดินเพื่อเปนศูนย ปฏิบัติการการเรียนรูชายฝง 3 ผูกอการคือ (นายวรพล, นายประสาร และนายนรินทร) ก็มิไดอยูนิ่ง เพราะ งบประมาณไมมีแมแตบาทเดียว จึงไดขายความคิดให ดร.ธงชัย ธาวนพงษ CEO บริษัทพรานทะเล, ดร.สิทธิ บุญผลิน อดีตอธิบดีกรมประมง และนายทองแทน เลิศลัทธภรณ สงผลใหเกิดแรงสนับสนุน จาก ดร.ธงชัย ธาวนพงษ ไดใหการสนับสนุนงบประมาณการทําสะพานศึกษาธรรมชาติชายฝง, ทํา ธนาคารปูมาไข, จัดเวทีประชุมที่บริษัทพรานทะเล เปนเจาภาพหลายครั้ง นายวรพล (สมชาย) ใชความสามารถสวนตัวขอวัสดุบานไมหลังเกาเพื่อกอสรางศูนยใหจงได ตอมามีการกอสรางศูนยปฏิบัติการชายฝงแบบพอเพียงก็เกิดขึ้น ซึ่งนายนรินทร บุญรวมไดใชความ พยายามขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จาก อ.พ.ช. จํานวน 200,000 บาท เพื่อกอสรางศูนย ในที่สุด ก็มีการกอสราง จนกระทั่ง เดือน สิงหาคม 2550 ไดขอการสนับสนุนงบ “อยูดีมีสุข” เพื่อขยายจุด บริการคือ สรางสะพานศึกษาธรรมชาติประมาณ 400 เมตร, สถานีเรียนรู 3 สถานี, สถานีชมโลมา 1 สถานี ทําใหพื้นที่ดังกลาวไดรองรับการเขา-ออก ของนักอนุรักษภายใน และภายนอกพื้นที่ เพื่อทํา กิจกรรมทุกสัปดาห เปนความสําเร็จของชุมชนชายฝง ที่ฝนเปนจริงภายใตการมีสวนรวมอยางแทจริง

453


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ภาพ 14 การบรรยายสถานการณชายฝงแกเยาวชน

บทสรุป ความมุงมั่นพยายาม จากพื้นที่เล็กๆ ในโรงเรียน เปนการจุดประกายความคิดไปสูชุมชนเพื่อ สรางโอกาสและความหวัง ที่จะทําใหชายฝงกลับมาฟนคืนชีพ และทรัพยากรชายฝงจะกลับมาอุดม สมบูรณอีกครั้ง โดยสอดรับกับแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

454


ปาชายเลนชุมชนบานแหลมฉบัง......เมื่อเขตนิคมอุตสาหกรรมลอมปา โรงเรียนวัดแหลมฉบัง หมูบานแหลมฉบังเป นชุมชนที่ลอมรอบไปดวยการนิคมอุสาหกรรมแหลมฉบัง โรงกลั่ นน้ํามั น เอสโซ ศรีราชา คลัง ปตท. โรงกลั่น ไทยออยส ในอดีตเปนชุมชนที่อยูอยางมีความสุขอุดมสมบูรณชาวบาน มีอาชีพประมงทางทะเล ภายในกลางหมูบานมีปาชายเลนที่อุดมสมบูรณประมาณ 40 ไร มีคลองน้ําไหล ผานปาชายเลนเปนแหลงอนุบาลสัตวน้ําทางทะเล พ.ศ. 2526 ความเจริญทางดานอุตสาหกรรมเขามา การทาเรือแหงประเทศไทย ขอออกพระราช กฤษฏีกาเวนคืนพื้นที่ชุมชนบานแหลมฉบัง โดยอางเหตุผลวาเปนเพียงชุมชนเล็กๆไมมีทรัพยากรที่มี คุ ณค าสามารถขั บไล ชาวบ านชุ มชนบ านแหลมฉบั งออกจากพื้ นที่ ได ทั นที ในขณะเดี ยวกั นจํ านวน ประชากรแฝงเพิ่มมากขึ้น ปญหาตางๆเกิดขึ้นอยางมากและที่สําคัญที่สุดคือปญหาสิ่งแวดลอมเกิดขึ้น อยางรวดเร็วรวมถึงการทําลายปาชายเลนปญหาขยะในลําคลองปาชายเลนและการตัดทําลายไมในปา ชายเลนโรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียลงสูลําคลองในหมูบานกอนที่จะไหลลงสูทะเล

จึงมีบุคคลที่มีคุณคาในชุมชนมีแนวคิดที่จะตอสูและดูแลสภาพทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูคู หมูบานเพื่อประโยชนตอประชาชนในพื้นที่และมวลมนุษยชาติ จึงทุมเทกําลังกายกําลังใจและพลัง


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

ความคิ ด ที่ ต อ งต อ สู กั บ ป ญ หาทุ ก ด านด ว ยเจตนาอั น มุ ง มั่ น ที่ จ ะดู แ ลรั ก ษาสภาพของป า ผื น นี้ ไ ว ใ ห ลูกหลานและเยาวชนของชาติไดใชประโยชนในหลายๆดาน

กระผมเห็นความสําคัญของปาชายเลนของหมูบาน ผมเห็นการทํางานของบุคลตนแบบ ของชุมชน ผมรักผืนดินแหงนี้และผมพรอมสืบทอดเจตนารมณ สานงานตอเพื่อรักษาปาชายเลน แหงนี้ใหคงอยูตอไป ดวยกําลังกายและกําลังใจอยางเต็มความสามารถและขอสัญญาวาจะทํางาน นี้อยางตอเนื่องและยั่งยืน (พูลศักดิ์ สุขเรือง) การจัดการปาชายเลนอยางยั่งยืนโดยชุมชน ด ว ยภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และจุ ด หมายของการต อ สู อ ย า งเต็ ม ความสามารถของผู นํ าด า นการ อนุรักษทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (จาเอกอภิวิชญ นวลแกว รางวัลพระราชทานผูทํา คุณประโยชนตอเยาวชนดีเดนแหงชาติ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประจําป ๒๕๕๑) เปน แรงบันดาลใจใหผูคนในชุมชน ตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลน ผนึกกําลังเขามารวมกันอนุรักษ ปาชายเลนผืนสุดทาย ที่มีอยูในชุมชน เพื่อประกาศใหรูวาชุมชนบานแหลมฉบังมีทรัพยากรที่มีคาและ มีคุณประโยชนอยางมากมายตอสิ่งมีชีวิตและมวลมนุษยชาติ จึงเกิดกิจกรรมดีๆที่ทุกคนในชุมชนมีสวนรวม ในทุกภาคสวน โดยใชหลัก “บวร” หมายถึง บาน วัด โรงเรียน ประสานสัมพันธดวยแรงสามัคคีของทุกคน จึงเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ดังกิจกรรม ตอไปนี้ 1. กอตั้งชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมปาชายเลน ( เปนกลุมเยาวชน) รวมกับกลุมชมรมอนุรักษปา ชายเลนของชุ ม ชนออกสํ า รวจพื ช พั น ธุ ไ ม ใ นป า และสั ต ว น้ํ า ที่ ยั ง พอมี อ ยู ปลู ก ฝ ง ให เ ยาวชนเห็ น ความสําคัญของปาชายเลนขอรับความอนุเคราะหวิทยากรที่มีความรูความสามารถอบรมใหความรู - ปญหาอุปสรรค การแกไข 456


ปาชายเลนชุมชนบานแหลมฉบัง......เมื่อเขตนิคมอุตสาหกรรมลอมปา

การกอตั้งชมรมครั้งแรกมีคนสมัครนอยเพราะเปนงานที่เหนื่อยตองเสียสละเวลาสวนตัววันหยุด และเปนงานที่เลอะเทอะมากจนตองใชสมาชิกจํานวนนอยทํางานอยางเขมแข็งปลูกจิตสํานึกใหเห็น ความสําคัญของสิ่งแวดลอมและปาชายเลนจนปจจุบันมีสมาชิกมากถึง 100 คน 2. เริ่มเก็บขยะในปาชายเลนและในชุมชนที่อยูอาศัยรอบๆแนวปาเพื่อใหประชาชนในชุมชนมี จิตสํานึกที่ดีตอสิ่งแวดลอม - ปญหาและอุปสรรค การแกไข ในสภาพของชุมชนผูคนทิ้งขยะลงคลองและปาซึ่งเปนพฤติกรรมมักงายและรูเทาไมถึงการณวา ผลกระทบจะเปนเชนไรยิ่งนานวันยิ่งมากสงกลิ่นเหม็นและน้ําเนาเสีย จึงนําสมาชิกเก็บขยะอยางตอเนื่อง และรณรงคจนทําใหทุกคนเกิดความละอายเกิดจิตสํานึกที่ดีเลิกทิ้งขยะลงปาและลําคลอง 3. นํ า สมาชิ ก ชมรมฯเข า ค า ยอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มป า ชายเลนขอรั บ ความอนุ เ คราะห วิ ท ยากร ภายนอก - ปญหาและอุปสรรค การแกไข นําสมาชิกชมรมและชุมชนรับการอบรมเขมเรื่องการอนุรักษปา น้ํา อากาศ พันธุพืช พันธุสัตว และสรางแกนนําชาวคายเพื่อการอนุรักษใหกับเยาวชนรุนตอไป

4. ดําเนินการปลูกปาเพิ่มเติมและเพาะพันธุกลาไมในพื้นที่ๆถูกทําลายโดยขอรับการสนับสนุน กลาไมจากหนวยงานภายนอก - ปญหาและอุปสรรค การแกไข สภาพปาถูกทําลายเพราะประชากรแฝงและนายทุนบุกรุก สรางความเขาใจดวยการเจรจา และขอรองในพื้นที่ที่เหลืออยูกอสรางเรือนเพาะชําเองจนเกิดการดูแลตนเองไดสําเร็จ 5. นําสมาชิกชมรมอบรมการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําจากมหาวิทยาลัยบูรพาเพื่อทําการตรวจ วิเคราะหคุณภาพน้ําอยางตอเนื่อง

457


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

6. จัดหาพันธุสัตวที่สูญพันธุหรือมีนอยมาเพิ่มเพื่อใหเกิดความสมดุลทางธรรมชาติเหมือนเดิม และรณรงคเรื่องการงดจับสัตวบางชนิด 7. เปดบริการศูนยศึกษาสิ่งแวดลอมทางทะเลเพื่อบริการดานวิชาการและความรูกับเยาวชน และบุคคลทั่วไป 8. ใหการสนับสนุนชุมชนใกลเคียงและหนวยงานภายนอกในเรื่องงานวิชาการและพันธุกลาไม อยางตอเนื่อง

การฟนฟูปาชายเลนเพื่อปองกันภัยพิบัติ หลายคนอาจจะคิดวาปาชายเลนคงจะแกปญหาเพียงการลดแรงกระแทกของคลื่นทะเลที่จะทํา ใหชายฝงพังทลาย แตที่ชุมชนบานแหลมบัง เราคิดวาภัยพิบัติที่นากลัวมีอีกหลายสิ่งหลายอยาง เชน ภัยพิบัติทางอากาศ เพราะ ชุมชนเราอยูทางกลางการลอมรอบ ของนิคมอุตสาหกรรม เรามีปญหาเรื่อง ระบบการหายใจแนนอน และอีกอยางที่เราตระหนักกันมาก คือภัยพิบัติเรื่องการขาดแคลนอาหารใน การบริโภค ชุมชนของเราจึงสรางและฟนฟูปาชายเลน เพื่อใหเกิดการอนุบาลสัตวน้ํา เพื่อจะไดเติบโต เปนแหลงอาหารที่สําคัญของชุมชน เพราะอาชีพในชุมชนคือการประมงชายฝง

458


ปาชายเลนชุมชนบานแหลมฉบัง......เมื่อเขตนิคมอุตสาหกรรมลอมปา

ปาชายเลนกับการแกไขปญหาโลกรอน เราตอ งยอมรับ วา การที่เ ราอยูทา มกลางการลอ มรอบ และการเติบ โตของภาคอุส าหกรรม ของชุมชนบานแหลมฉบังที่มากไปดวย โรงกลั่นน้ํามัน นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง การทาเรือแหลมฉบัง ในแตละวันของกําลังการผลิตจะตองมีกระบวนการดานความรอนที่ถูกปลอยออกสูอากาศ วันละปริมาณ มากเทาใด รวมถึงการคมนาคมขนสงที่วุนวายตองปลอยปริมาณของกาซออกสูอากาศวันละเทาใด แลวอะไรจะชวยลดความรอนของโลกในบริเวณดังกลาวไดแลวกําลังแรงงาน ในภาคอุตสาหกรรม แลวจะมีอะไรบางที่ทําหนาที่เปนอวัยวะที่สําคัญของมนุษยคือ (ปอด) ที่จะชวยฟอกอากาศใหกับกลุม แรงงานในเขตอุตสาหกรรมและผูอาศัยอยูในชุมชน ฉะนั้นปาชายเลนของชุมชนบานแหลมฉบังที่ดูแลและ ฟนฟูโดยชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมโรงเรียนวัดแหลมฉบัง รวมกับชุมชนบานแหลมฉบัง โดยมีเยาวชนเปน แกนนําจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง ที่จะเปนแกนนําในการชวยลดภาวะโลกรอนใหแกโลกใบนี้

459


การสัมมนาปาชายเลนแหงชาติ ครั้งที่ 14 “ชุมชนเขมแข็ง ปองกันภัยพิบัติ ขจัดโลกรอน”

460


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.