อนาลโยวาท

Page 1

อนาลโยวาท

อนาลโยวาท รวมธรรมเทศนา

หลวงปูขาว อนาลโย 1


อนาลโยวาท

คำนำ

สืบเนื่องมาจาก การทำหนังสือ มุตโตทัยและปฏิปตติ ปุจฉาวิสัชนา ของพอแมครูอาจารยหลวงปูมั่น ไดเผยแพรออก ไปในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส ทำใหมีทานผูสนใจในธรรมะ สายวัดปา ไดสอบถามเกี่ยวกับธรรมเทศนาของหลวงปูขาวเขา มา จึงไดไปสืบคนดูตนฉบับ และไดทำเปนหนังสือออกมาดังที่ เห็น อนาลโยวาทนี้ เปนหนังสือรวมรวบคำสอนของหลวงปูขาว อนาลโย ซึ่งถือวาเปน “เพชรน้ำหนึ่ง” ในวงพระกรรมฐานสาย หลวงปูมั่น ธรรมะของทานลึกซึ้ง กวางขวาง และแจมแจง หัวขอธรรมแสดงตางกรรมตางวาระ และหนังสือเลมนี้ขอ อนุญาตรวบรวมไวทั้งหมด ๒๑ กัณฑ สุดทายนี้ทางคณะผูจัดทำมิไดหวังสิ่งอื่นใดมากไปกวาการได เผยแผธรรมคำสอนของพอแมครูบาอาจารย ซึ่งเปนสาวกผู บริสุทธิ์บริบูรณในพระผูมีพระภาคเจา บุญกุศลอันใดที่เกิดแตการกระทำนี้ขออุทิศแดสรรพสัตวทั้ง หลายไมมีที่สุดไมมีประมาณทั้งหมดทั้งสิ้น 2


อนาลโยวาท

หากมีขอผิดพลาดอันใดขอทานผูอานโปรดอภัย และชี้แจง แกไขมาดวยจักเปนพระคุณอยางสูง ขออนุโมทนาในกุศลอันทานทั้งหลายจะไดสดับธรรมะอัน ทานผูเปนปราชญกลาวไวดีแลวนี้ดวยเถิด

ธัชชัย ธัญญาวัลย แพรวา มั่นพลศรี artyhouse@gmail.com ขอบคุณพิเศษ http://www.dharma-gateway.com

3


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑ ควบคุมใจ

พระพุทธเจาวา เรา ตถาคต เปนผูแนะนำสั่งสอนทาง ทางออกจากโลก ทางไปสวรรคก็ดี ทางไปนิพพานก็ดี เรา ตถาคต เปนผูแนะนำสั่งสอนใหเทานั้น ตนนั่นแหละ พวกอุบาสก-อุบาสิกา ทั้งหลายตองทำเอาเอง แมพระพุทธเจาทั้งหลาย พระสาวกทั้ง หลาย ก็ทำเอาเองทั้งนั้น ตนแหละทำใหตน ตนจะออกจากโลกก็ แมนตนตั้งอกตั้งใจทำใสตน ตนจะติดอยูในโลกก็แมนใจของตนไม อยากไป เพราะหลงตนหลงตัว ทางปฏิบัตินะ เราก็ไดยินไดฟงมาแลว แลวก็ตั้งอกตั้งใจ ปฏิบัติเอา พระพุทธเจาแนะนำสั่งสอน หรือครูบาอาจารยแนะนำสั่ง สอน ก็ไมหนีจากกายคตา คือปญจกรรมฐาน นี่แหละ ตอง พิจารณา เราจะพิจารณานอกมันไป ก็เปนนอกไปเสีย ไกลไปเสีย เพื่อใหจิตใหใจนั่นแหละรูจักสกนธกายอันนี้ รูจักกอนอันนี้วามัน เปนอยางหนึ่ง มันเปนของกลาง ไมใชของใครสักคน เรานี้ได สมบัติอยางดี คือสกนธกายนี้ มีตา หู จมูก ลิ้น กายดี มีใจดี ได สมบัติอันดีมาใช เราจะใชสอยมัน เราจะเดินทางไปสวรรคก็ดี จะ เดินทางไปนิพพานก็ดี ตองอาศัยอันนี้ จะมีแตดวงจิตอยางเดียว ก็ ไมสำเร็จอะไรหมดทั้งสิ้น 4


อนาลโยวาท

พระพุทธเจาไดเทศนไววา มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโน เสDฐา มโนมยา ธรรมทั้งหลาย จะทำดีทำกุศลดี ก็ใจนี่แหละ เปนผูถึงกอน เปนผูถึงพรอม จะทำบาปอกุศล ก็ใจนี่แหละ จะ ผองแผวแจมใสเบิกบาน ก็ใจนี่แหละ จะเศราหมองขุนมัว ก็ใจนี่ แหละ ใจเศราหมองขุนมัวแลวก็ไมมีความสุขอยูในโลก จะอยู ที่ไหนก็ไมมีความสุข ครั้นใจผองแผวละก็ พระพุทธเจาทานวา มนสา เจ ปสนฺเนน บุคคลผูมีใจ ผองแผวดีแลว แมนจะพูดอยูก็มีความสุข แมนจะทำอยูก็มีความ สุข ตโต นํ สุขมเนฺวติ อยูที่ไหน ๆ ก็มีความสุข มีความสุขเหมือน กะเงาเทียมตนไป ฉายาว อนุปายินี เหมือนเงาเทียมตนไป ไป สวรรคก็ดี มามนุษยก็ดี เพราะเหตุนั้นแหละ ใหเราพากันตั้งใจอบรม ตั้งสติไวที่ใจ ควบคุมใจใหมีสติสัมปชัญญะ มีสติรูตัวอยูเสมอ การทำ การพูด การคิด ก็อยาใหมันผิด มันพลาดไป ควบคุมใหมันถูก ครั้นมันผิด มันพลาด เราก็มีสติยั้งไว ละ ปลอยวาง ไมเอามัน ทางผิดนะ พระพุทธเจาแสดงไว ทางไปนรก ทางไปสวรรค ทางไป พรหมโลก ทางไปพระนิพพาน พระองคก็บอกไวแลว ใหวางกาย ใหเปนสุจริต วาจาใหบริสุทธิ์ ใจใหบริสุทธิ์ นี้ทางไปสวรรค ทาง มามนุษย ทางไปพระนิพพานใหบริสุทธิ์อยางนี้ ทางไปนรกนั่น เรียกวาทุจริตนั้น ทางกาย ทางวาจา ทางใจ อันนี้ทางไปนรก เรา 5


อนาลโยวาท

จะเวนเสีย ไมไปละ รูจักแลว เราจะไปแตทางที่ราบรื่น ทางสบาย การเดินก็ทางกาย วาจา ใจ เทานั้นแหละ ผูที่จะเที่ยวเอาภพ เอาชาติ นับกัปป นับกัลปไมได ตั้งแต โลกเปนโลกมา คือดวงจิตของเรานี่เอง ดวงจิตของเรานี่เองเปนผู กอกรรมกอเวรแลวกอเลา ไมเบื่อสักที ก็แมนดวงจิตของเรานี่ แหละ เพราะเหตุนั้น เราจึงตองอบรมจิตใจของเราใหดี ใหใจรูเสีย ใจนี่แหละมันเปนผูหลง จนนับภพนับชาติไมได ภพนอย ภพใหญ เที่ยวอยูในสังสารจักรนี่ จึงใหเขาใจเสียวา เจากรรมนายเวรคือใจ ตัวกรรมแมนใจ ดวงใจอันเดียว วิญญาณอันเดียวเปนตัวกรรม แตงกรรมเสียแลว ใหเวียนตายเวียนเกิดที่นี่ ไมเลิก เรารูจักแลวเราตองควบคุมใจ แนะนำสั่งสอนใจ ทำใจของเราใหผองแผว วาเอายอ ๆ นี่แหละ กวางขวางก็ไดยินมาพอแฮงแลว เอายอ ๆ ควบคุมใจเทานั้นและ เดี๋ยวนี้ ใจนี้ เจาของนรกก็แมนใจนี่แหละ มาง (เลิก, ทิ้ง) นรกก็ แมนใจนี่แหละ ครั้นมันไมดีละก็ รอน เปนทุกขเหมือนใจจะขาด ครั้นใจไมดีละก็ มันกลุม เปนทุกขจนฆาตัวตายนี่แหละ ถือวาเรา เปนเรา นี่ก็เพราะใจนี่แหละ ไมใชอื่นดอก เพราะมันไมรู ทานเรียกวาอวิชชา ตัวใจนี่แหละอวิชชา เราจึงควรสดับตรับฟง แลวก็คนควาพิจารณาใครครวญ หาเหตุผล ทุกขมันมาจากไหน ใหพิจารณาทุกขกอน ทุกขเปน ของจริงอันประเสริฐ มันมาจากไหน คนขึ้นไปซิ เห็นมาจากโงนั่น แหละ ดวงจิตเปนผูโง มันตองเปน มันตองเดือดรอน มันถึงใคร 6


อนาลโยวาท

มันถึงปรารถนา มันถึงอยากเปนนั่นเปนนี่ มันไมอยากเปนนั่นเปน นี่ เพราะเกลียด เพราะชัง มันชังมันก็ไมอยากเปน แลวก็หาของ มาแกไข หาคิดอิหยังมาทา หนังเหี่ยวก็เอามาทา ลอกหนังออก มันไดกี่วัน มันก็เหี่ยวอยางเกา นี่หาทางแกดู ทานวา วิภวตัณหา มันเปนกับดวงใจ เราสดับรับฟงอยู อบรมอยูทุกวันนี้ ทำความ เพียรอยูทุกวันนี้ ก็เพราะอยากรูจักใจของเรา ครั้นรูแลว ก็คุม เอาแตใจนี่ ขัดเกลาเอาแตนี่ สั่งสอนเอาแตนี่ ใหมันรูเทาสังขารนี่ แหละ มันไมรู เพราะมันโงวาแมนหมด ทั้งกอนนี้เปนตัวเรา เปนผู หญิง ผูชาย ยึดถือไป ยึดถือออกไปรอบ ๆ แผนดิน ยึดในตัวยังไม พอ ยึดแผนดินออกไปอีก นี่แหละเพราะความหลง ก็ยึด ทั้งการ ทำการงานทุกสิ่งทุกอยาง เรียนวิชาศิลปะทุกสิ่งทุกอยาง ก็เพื่อจะ บำรุงบำเรอครอบครัวของตน บำรุงบำเรอตนใหเปนสุข บำรุงพระ ศาสนา ค้ำจุนพระศาสนาก็เปนการดี ขอใหรูเทาแลว อยาไปยึด มันเทานั้นแหละ ในปฏิจสมุปปบาททานวา อวิชชาใหเกิดสังขาร สังขารเปน ปจจัยใหเกิดวิญญาณ วิญญาณเปนปจจัยใหเกิดนามรูป ทานวาใหดับความโงอันเดียวเทานั้น ผลดับหมด เพราะ ธรรมทั้งหลายไหลมาแตเหตุ ธรรมทั้งหลายคือ ดีก็ดี ชั่วก็ดี ไหล มาแตเหตุ คือความโง ความไมเขาใจ คิดวาเปนตัวเปนตน ก็ไดรับ ผลเปนสุข เปนทุกข สืบไป ทานเรียกวา วัฏฏะ การวน วนไมมีที่ สิ้นสุด เราทองเที่ยวอยูนี่ ตั้งแตแผนดินเปนแผนดินมาแลว ทุกคน 7


อนาลโยวาท

นี่แหละ คุณหมอก็ดี คุณหญิงก็ดี เกิดมาชาตินี้นับวาบุญบารมีอัน พวกทานทั้งหลายไดอบรม ศีลหา ศีลแปด รักษาอุโบสถ รักษา กรรมบถสิ บ จึ ง เป น ผู  ส มบู ร ณ บ ริ บ ู ร ณ เกิ ด มาก็ ไ ม เ ป น ผู  เกียจคราน ไมเปนผูมักหนาย มีความพอใจแสวงหาวิชาศิลปะ จน ไดเปนใหญเปนโตเปนสูง นี่ก็เพราะบุญกุศลของเราไดสรางสมอ บรมมา จึงวา ปุพฺเพ จ กตปุฺญตา คือบุญไดสรางสมไวแลวแต กาลกอน แลวก็ไดเกิดในประเทศอันสมควร ประเทศอันสมควรก็ หมายเอาสกนธกายอันนี้ หรือจะหมายเอาแผนดิน ฟา อากาศ ก็ได หรือจะหมายเอาประเทศที่มี่พระพุทธศาสนาตั้งมั่นถาวร และ มีอาจารย นักปราชญแนะนำสั่งสอนได อันนี้ก็วาประเทศอัน สมควร ปุพฺเพ จ กตปุฺญตา พวกเราไดเคยอบรมสรางสมบุญ กุศลมาหลายภพหลายชาติแลว จึงเปนผูบริบูรณสมบูรณ แลว ก็ไดเกิดในประเทศอันสมควร ประเทศเราไดนับถือพระพุทธศาสนาตั้งแตบรรพบุรุษจน ตราบเทาทุกวันนี้ เราก็ไดนับถือพระพุทธศาสนา แลวก็ไดตั้งตนไว ในที่ชอบ คือตั้งตนไวในการสดับตรับฟง ทราบทุกสิ่งทุกอยาง ใน ทางโลกก็ดี เกื้อกูลอุดหนุนโลกใหเจริญ ไดชื่อวาเปนผูทำ อัตตัตถ ประโยชน ประโยชนของตนก็ไดแลว ประโยชนของผูอื่น ของ โลกก็ไดอยู นี่และชื่อวาตั้งตนไวในทางที่ชอบ แลวก็ตั้งตนอยูใน ศีล ในการภาวนา ตั้งตนอยูในการสดับรับฟง นี่เรียกวา อัตตสม มาปนิธิ ตั้งตนในที่ชอบ ทานกลาววาเปนมงคลอันประเสริฐสุด 8


อนาลโยวาท

ใหมีสติควบคุมใจของตน อันนี้ก็ชื่อวาตั้งตนไวในที่ชอบอยาง สูงสุด นี่แหละ ใหควบคุมดวงจิตของเราใหรูจักเสีย เจากรรม นายเวรก็คือดวงจิตของเรานี่แหละ ผีนรกก็เปนดวงจิตอันนี้ สวรรคก็เปนดวงจิตอันนี้ พรหมโลกก็ดวงจิตอันนี้ ครั้นรูจักแลว ก็ทำความเพียรตอไปจนเกิดนิพพิทา ความ เบื่อหนายในอัตตภาพของตน ที่เปนมาหลายภพหลายชาติ การ เกิดเวียนไปเวียนมาก็ไมไดอะไร มีแตการสดับรับฟง มีแตการบริจาคใหทาน มีแตศีลของตน เทานั้นเปนอริยทรัพย ทรัพยภายในติดตามไปกับดวงจิตของเรา ทุกภพทุกชาติ จิตเมื่อมันทำความชั่วไวแลวก็ไมลืม ใครไมตองการ สักคน หมดทั้งนั้น ความชั่ว บาปกรรม ใหคิดดู แตนักโทษเขาลัก เขาปลนสดมภแลว เขาก็หลบหนีไปซอนอยูตามปาเขาตามถ้ำ ตามดง เพราะเขาไมปรารถนาจะใหพวกตำรวจไปจับเขา อันนั้น มันก็ไมพนดอก บาปนะ ฉันใดก็ดี ครั้นทำลงแลว ทำบาป อกุศล จิตก็เปนผูจำเอา ไปตกนรกก็แมนดวงจิตนั่นแหละเปนผูไปตก อัตตภาพคือรางกายของเรานี้ มันก็นอนทับดิน สวนดินมัน ก็เปนดิน สวนน้ำมันก็เปนน้ำ สวนลม สวนไฟ มันก็เปนลม เปนไฟ ของเกามัน ครั้นพนแลวก็กลับมาถือเอาดิน เอาน้ำของเกาอีก เทานั้นแหละ แลวก็มาใชดิน น้ำ ไฟ ลม นี่แหละครบบริบูรณ เอา มาใชในทางดีทางชอบ ก็เปนเหตุใหไดสำเร็จมรรคผลพระนิพพาน พระพุทธเจาสรางบารมีก็อาศัยดินอันนี้แหละ ประเทศอันสมควร 9


อนาลโยวาท

อันนี้แหละ สาวกจะไปพระนิพพานตามพระพุทธองคก็อาศัยอัตต ภาพอันนี้ ครั้นไมอาศัยอัตตภาพอันนี้ มีแตดวงจิตหรือมีแตรางซื่อ ๆ ก็ไมสำเร็จอะไรหมดทั้งนั้น เหมือนกันทั้งนั้น พวกเทพยดาไดชมวิมานชมความสุขอยูตลอดชีวิต ชมบุญ ชมกุศล ก็ทำเอามาแตเมืองมนุษย ครั้นจุติแลวก็ไดไปเสวยบุญ กุศลของตน ครั้นหมดบุญแลวก็ลงมาเมืองมนุษยมาสรางอีก แลว แตจะสรางเอา อันชอบบุญ ก็ตั้งหนาตั้งตาทำเอาบุญ อันชอบ บาป ก็ตั้งหนาตั้งตาทำเอาบาป เหมือนพระเทวทัตนั่น ตางคนตาง ไปอยางนั้น อาตมาบอกไวเทานั้นวา ใหมีสติคุมดวงจิต สัตวนรกก็แมน จิต สัตวอเวจีก็แมนจิต พระอินทรพระพรหมก็แมนจิต ที่เขาพระ นิพพานก็แมนจิต ไมใชใคร จิตไมมีตนมีตัว จิตเหมือนวอก (ลิง) นี่ แหละ แลวแตมันจะไป บังคับบัญชามันไมได แลวแตมันจะปรุงจะ แตง บอกไมได ไหวไมฟง เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาใหวางมันเสีย อยาไปยึดถือมัน ก็จิตนั่นแหละมันถือวาตัวกู อยูเดี๋ยวนี้ก็ดี เราถือวาเราเปน ผูชาย เราเปนผูหญิง ก็แมนจิตนั่นแหละเปนผูวา มันไมมีตนมีตัว ดอก แลวพระพุทธเจาวาใหวางเสีย ใหดับวิญญาณเสีย ครั้นดับ วิญญาณแลว ไมไปกอภพกอชาติอีก ก็นั่นแหละพระนิพพาน แหละ แนะ พระพุทธเจาบอกอยางนั้น มันไมอยูที่อื่น นรกมันก็อยู นี่ พระนิพพานก็อยูนี่ อยาไปคนที่อื่น อยาไปพิจารณาที่อื่น ใหคน 10


อนาลโยวาท

ที่สกนธกายของตน ใหมันเห็นเปนอสุภะอสุภัง ใหเห็นเปนของ ปฏิกูล ใหเกิดนิพพิทาความเบื่อหนายมันนั่นแหละ แตกี้มันเห็นวา เป น ของสวยของงามของดี ดวงจิ ต นั ่ น เมื ่ อ มี ส ติ ค วบคุ ม มี สัมปชัญญะ คนหาเหตุผล ใครครวญอยู มันเลยรูเห็นวา อัตต ภาพรางกายนี้เปนของปฏิกูล ของเนาเปอยผุพัง แลวมันจะเกิด นิพพิทาความเบื่อหนาย จิตนั่นแหละเบื่อหนาย จิตเบื่อหนาย จิต ไมยึดมั่นแลว เรียกวาจิตหลุดพน ถึงวิมุตติ วิมุตติ คือความหลุด พนจากความยึดถือ หลุดพนจากอุปาทาน ความยึดมั่นถือมั่น พน จากภพจากชาติ ตั้งใจทำเอา

11


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๒ ขันธ

พากันมาฟงมาก ไมรูจะพูดอะไรใหฟงแลว การฟงธรรมก็เปรียบไดแกการเตรียมเครื่องทัพสัมภาระ สำหรับทำการงาน ครั้นเตรียมมาแลว เครื่องกลเครื่องไกที่เตรียม มาแลว ไมทำกขึ้นขี้สนิมเปลา ฉันใดก็ดี การสดับรับฟงโอวาทคำ สั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจาก็อยางเดียวกัน พระพุทธเจา เปนผูบอกทางใหเทานั้นแหละ ครั้นเราเชื่อคำสอนของพระองค แลว เปนผูดำเนินตาม เปนผูลงมือดำเนินตาม เราเองกระทำดวย ตนเอง เพราะเหตุนั้น จะวาโดยยอ ๆ เทานั้นแหละ อาตมาไมมี ความพูดหลาย เพราะอยูปาอยูดง จะวาใหฟงยอ ๆ พอเปนหลัก ดำเนินปฏิบัติของพวกเราทั้งหลาย ศาสนา คำสั่งสอนของพระ สัมมาสัมพุทธเจาอยูตามตู ตามใบลาน อันนั้นเปนเครื่องชี้ขอก ทางผูจะดำเนินตามศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจา คือกอน ธรรมอยูจำเพาะใคร จำเพราะเรา แกนของธรรมแทอยูที่สติ ให พากันหัดทำสติใหดี ใหสำเหนียก ใหแกกลา สตินะทำเทาไรไมผิด สตินะใหมันมีกำลังสติดีแลว จิตมันจึงรวม เพราะสติคุมครองจิต เพราะสติก็แมนจิตนั่นแหละ หากลุมลึกกวา ครั้นใจนึกขึ้นวาสติ ก็ ใจนั่นแหละเปนผูนึกขึ้น เรียกวา “สติ” เพราะสติก็แมนใจนั้น แหละ พวกเดียวกัน ทำใหมันดีแลว ไมพลาด ทำก็ไมพลาด พูดก็ไม พลาด คิดก็ไมพลาด ยอมถูก ไมผิด พากันทำเอา 12


อนาลโยวาท

ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขั น ธ อ ยู  ก ั บ สติ อ ั น เดี ย ว พระพุทธเจาวาแลวในโอวาทปาฏิโมกขไมใชเรอะ ยานิกานิจิ ชงฺ คลานํ ปาณานํ ปทชาตานิ สพฺพานิ ตานิ หตฺถิปเท สโมธานํ คจฺฉนฺติ หตฺถิปทํ เตสํ อคฺคมกฺขายติ ครั้นเทียบในบรรดา สัตวทั้งหลายที่ทองเที่ยวอยูในสังสารจักร ทองเที่ยวอยูในพื้นปฐพี รอยสัตวทั้งหลายไปรวมอยูในรอยเทาชางอันเดียว มีรอยเทาชาง เปนใหญกวาเขารวมโมด ราชสีหอะไรลงไปรวมโมด ฉันใดก็ดี ธรรมะคำสั่งสอนของพระพุทธเจา มันอยูในสติ เย เกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต อปฺปมาทมูลกา อปฺปมาทสโมสรณา อปฺปมา โท เตสํ อคฺคมกฺขายตีติ กุศลธรรมทั้งหลาย คุณงามความดีทั้ง หลาย จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลอยูกับสติแลว บุญกุศล เคามูลกุศลทั้ง หลาย มาสโมสรรวมอยูในสติ สติเปนใหญ เพราะเหตุนั้น ครั้นรฝุ อยางนี้แลววา สติเปนแกนธรรม แกนธรรมก็แมน อันนี้อยูสำหรับ ทุกคนทีเดียว ทุกขณะมีอยูทุกคน พระพุทธเจาตรัสรูของจริง ผูจะ รูเทาตามจริงทั้งหลายทั้งปวง มีอยูทุกรูปทุกนาม แตอาศัยวาเรา หลง จิตของเราเปรียบแปมาเหมือนเด็กออน ออนแออยู เพราะ เหตุนั้นแหละ สติเปรียบเหมือนพี่เลี้ยง ก็เจาของนั่นแหละจิต นั่น แหละ พอมันระลึกขึ้นก็แมนสติแลว สตินั่นอบรมจิต ครั้นอบรม จนมันรูเทาตามความเปนจริงแลว มันจึงหายความหลงความสวาง ความหลงความสวางนั่นก็หลง เพราะไมมีสติ ครั้นมีสติคุมครอง หัดทำใหมันแนวแน ใหมันแมนยำ ใหมันสำเหนียกแลว มันจะรูแจง ทุกสิ่งทุกอยาง สติเปนเครื่องตี่ คือตีสนิมของมัน เปรียบดวงจิต 13


อนาลโยวาท

เรียกวาความหลง เรียกวาอวิชชา จิตนั่นแหละตัวอวิชชา มันหลง เรียกอวิชชา จิตมันหลง ขี้สนิมมันก็อยูกับอวิชชา มันหลงนั่น แหละ ขี้สนิมโอบมัน ความหลงนั่นแหละ แตกอนจิตผองใส พระพุทธเจาจึงวา ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตฺจ โข อาคนฺตุเกหิ อุปกฺกิเลเสหิ อุปกฺกิลิDฐํ จิต เดิมธรรมชาติเลื่อมประภัสสร แตอาศัยอาคันตุกะกิเลสคือ รูป เสียง กลิ่น รส เครื่องสัมผัสทั้งหลาย เขามาสัมผัสแลวมันหลงไป ตาม จึงเปนเหตุใหจิตนั้นเศราหมองขุนมัว ไมรูเทาอวิชชา ปจจัย ของมัน ความโงเรียกอวิชชาเหมือนกันกับเหล็ก เหล็กนั้นมันก็ดี ๆ อยูนั่นแหละ แตสนิมมันเกิดขึ้นในเหล็กนั่นแหละ แตเขาตีขัดเกลา จนเปนดาบคมได ใชการได ถาไมตีมันก็อยูอยางนั้น สนิมกินเสีย จนใชการไมได จิตของเราก็ดี อาศัยสติเปนผูขัดเกลา อาศัยสติ เปนผูคุมครองเชื่อมั่น อันที่จริงอาคันตุกะกิเลสก็ไมเปนปญหา คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสภายนอก ไมเปนปญหา เคามูละมูเลของ มันก็คือ กาม กามาสวะ อวิชชาสวะ สามอันนี้เปนอนุสัย เปน สนิมของมัน เปนสนิมหุมหอจิตใหมืดมนอนธการ เพราะเหตุนี้ แหละ เราหัดสติ ทำสติใหมีกำลัง เมื่อสติมีกำลังแลว จิตมันก็จะรู เทาตามความเปนจริง ครั้นในมีสติแลว ก็เกิดสัมปชัญญะ ความ รูตัวพรอม ก็หมายความวา ดวงปญญานั่นแหละ ญาณก็วา ปญญาก็วา สติกับความรูถึงพรอม ธรรม ๒ อยางนี้เปนของคูกัน พอเรา ระลึกขึ้นแลว สัมปชัญญะรูวาถูกหรือผิด รูพรอม ๆ จิตรูพรอมนี่ 14


อนาลโยวาท

แหละอบรมดีแลว มันจะมีกำลังความสามารถ สามารถทุกสิ่งทุก อยาง สามารถแทงตลอดไดทุกสิ่งทุกอยาง จะทำอะไรก็ดี จิตดีเทา กัน มันสามารถ อยางไฟไหมบาน มันมีกำลัง จิตของเราแมน อบรมดีแลวมันมีกำลัง มีกำลังที่สุดทีเดียว สามารถจะหอบเอาของ หนักนั่นออกจากไฟได ดับไฟไดแลว ไฟดับแลวจะหาม ๓-๔ คนยัง หามไมไหวเลย กำลังจิตเทานั้นนะแหละ เพราะเหตุนั้น เราหัด ดีแลวก็เหาะได เหาะไดเหมือนพระโมคคัลลาเจา พวกเราสงสัย สงสัยวาเหาะขึ้นก็คือนั่งอยูนี่แหละ แตจิตนั้นไปสวรรค ไปนรก ไป นั่น ๆ ละ อันนั้นก็แมน แตวาไปไดจริง ๆ หอบเอากายไปไดจริง ๆ คิดดูเถอะ นั่นแหละใหพากันอบรมจิต พวกเราอะไร ๆ ก็ดี สมบูรณบริบูรณทุกสิ่งทุกอยางแลว พวกศรัทธาทั้งหลายก็นับวาเปนผูสูง เปนผูสูงอยูแลว ศรัทธาก็มี อยูแลว ใหสดับรับฟงแลวก็มีแตจะทำเอาเทานั้นแหละ ใหพากัน ทำเอา มันจะไหน ธรรมทั้งหลายมันก็อยูนี่แหละ แกนมันแทคือสติ ใหทำเอา ทำใหมีกำลัง ครั้นสติดีแลว มันรักษาจิตของมันไมให สายออกไปตามอารมณ สติขนาบเขามา ๆ สติแกกลามันเปน อยางนั้นแหละ ครั้นสงบลงแลว เดี๋ยวนี้มันไมมีปญญา ไมมีปญญา มันก็สายไป พอมันไปหลาย ๆ ครั้ง มันเปนอาการของมัน มันไป ตามแงของมันคือเวทนา มันเปนเพียงแสงของจิต สัญญามันก็เปน แสงของจิต สังขารความปรุงมันก็เปนแสงของจิต วิญญาณที่รู ทวารทั้ง ๖ ก็เปนแสงของจิตออกไปทั้งนั้น ผูรูแท ๆ ถาจะสมมติวา 15


อนาลโยวาท

ตนก็แมนจิต เจาสตินั่นแหละสมมติวาตน นอกจากนั้นเปนอาการ ทั้งนั้น รูปอันนี้ก็เปนแตเพียงธาตุประชุมกัน ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุมกันเทานั้น ดังนั้นเมื่อจิตสงบลงไป เวทนาก็ดับแลว พอมัน สงบลงไป คนไมมี อะไรละมันจะมาเจ็บ มาทุกข อะไรละมันจะมา จำ คนไมมี มันสวาง ๆ ขึ้น เมื่อจิตสงบลงละมันสวางโรขึ้น วาง ๆ ความจำหมายก็ไมมี ความปรุงก็ไมมี วิญญาณที่รูไปทางทวารทั้ง ๖ มันก็ไมมี มันดับเอง เพราะวาของไมมีหมดแลว ของเหลานี้เปนของหนัก ครั้นใครยึดถือไวเปนของหนัก ไป ถือขันธ รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณ ขันธ อันนี้ก็ไปยึดไว ไปยึดก็ไดชื่อวาถือหาบอันหนัก พระพุทธเจา ทานวา ภารา หเว ปฺจกฺขนฺธา ภารหาโร จ ปุคฺคโล ภารา ทานํ ทุกฺขํ โลเก ภารนิกฺเขปนํ สุขํ ผูวางภาระ คือวาง ไมยึดถือ วาขันธ ๕ อันนี้เปนตัวเปนตนแลว ไมยึดไมถือแลว ไดชื่อวาเปนผู วางภาระ ไมยึดไมถือแลว ตองมีความสุข จะนั่ง จะยืน เดิน ก็มี ความสุข นิกฺขิปตฺวา ครุภารํ เมื่อไมถือเอาขันธ ๕ นี้เปนภาระ แลว เพราะรูเทาตามความเปนจริงของมันแลว ไมยึดถือเอา อฺญํ ภารํ อนาทิย สมูลํ ตณฺหํ อพฺพุยฺห คือไดชื่อวาเปนผูตัด ตัณหาขึ้นไดทั้งราก นิจฺฉาโต ปรินิพฺพุโตติ ฯ เปนผูเที่ยงแลว เที่ยงวาจะไดเขาสูความสุขตามเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนผู เที่ยงแลว 16


อนาลโยวาท

เมื่อจิตมันรวมแลว มันจะรูตามความเปนจริง มันจะวาง วาง นั่นแหละ พอจิตรวมแลวมันก็วาง คนหาตัวไมมี พอมันสงบแลว ปญญามันเกิดขึ้นของมันเอง ครั้นมันสงบลงถึงฐานถึงที่ มันถึงอัป ปนาแลว มันเกิดขึ้นเองนะ พอนึกเทานั้น มันปรุงฟุงขึ้น มันปรุง แลว มันไมไปยึดแสงสวาง สวางหมดทั้งโลกนี้ก็ตาม มันไมไปยึด มันสาวเขาหาคน ไหนคน คนอยูที่ไหน มันมาอวดวาตนวาตัว ไล เขาไป ถามันรวมลงอยางนั้น มันอาศัยสติควบคุมใหมันอยู อยา ใหมันไป จิตรวมลงอยางนี้ แจมใสทีเดียว ไมใชมันงวงนอน มัน ไมใชวิสัยของสมาธิ อันนั้นละ มันแจมใสอยางนั้น เรียกวาสัมมา สมาธิ เปนสมาธิอันถูกตอง แลวก็แมนมันนั่นแหละ แมนจิตนั่น แหละ เปนตัวศีลละ จิตนั่นแหละเปนตัวสมาธิ จิตนั่นแหละเปนตัว ปญญา อันเดียวนั่นแหละ มันจะถึง อธิจิต อธิศีล อธิปญญาได ก็ อาศัยสติควบคุม พวกศรัทธาไดยินไดฟงแลวก็ใหพากันตั้งใจทำ มันไมอยูที่อื่น หนา ไมไดไปหาเอาที่อื่นหนา อยูจำเพาะใคร จำเพาะเรานี่หนา ไม ไดไปควาเอาที่ไหนดอก ธรรมนะ ยกขึ้นก็ปะไปโลด เห็นไปโลด นึกขึ้นก็เห็นไปโลด แลวก็คุมสติเอา มันจะรูเอง ปจจัตตังนะ สัน ทิฏฐิโก จะเห็นเองนั่น อกาลิโก ไมอางกาลอางเวลา จิตของเราจะ หายจากราคะแลว ก็รูจำเพาะตน จิตเรายังมีราคะก็จะรู จิตมี โทสะก็จะรู หายจากโทสะก็จะรู จิตมีโมหะ ความหลงงมงายก็จะรู จิตหายโมหะก็จะรู จิตหดหูก็จะรู จิตฟุงซานก็จะรู รูแลวก็จะได จัดการแกไข รูก็ดี จะไดเพิ่มศรัทธา ริบเรงความเพียรเขาอีก 17


อนาลโยวาท

เอาละ พากันทำเอา ไมอางที่อางฐานดอก อยูที่ไหนก็ได เวลามัน สงบ มันก็จะมีอยูนั่นแหละ

18


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๓ ศีล

(เทศนโปรด น.พ.อวย เกตุสิงห และคณะ พ.ศ. ๒๕๐๙) เรื่องจิตนี่ พวกฝรั่งเขาทำกันจริง ๆ จัง เขาสนใจอยูปานนั้น มันจึงเปนเรื่องใหญ มาเอาทางภาวนา ยากจริง พวกนี้เขาทำกัน หลายคน สนใจแท ๆ เรื่องทำบุญ รักษาศีล ใหทาน ก็เขาใจหมด แลว เรื่องภาวนามันสำคัญ อบรมบมอินทรีย อบรมกายนี่แหละ อบรมใจของตนนี่แหละ มันยากอยู ครั้นอบรมไดแลว ไมมีความ เดือดรอย ใจเยือกเย็น ใจสบาย ไมมีความหวั่นไหว อวิชชาคือใจ ใจดวงเดียวนั่นเรียกวาอวิชชา คือมันไมรูตอสิ่งทั้งปวง ไมรูในกอง สังขาร แลวหลงยึด ชอบเขาก็หลงยึด ไมชอบก็ยึดเขามาเผาตน มันไมรูมันจึงหวั่นไหว พวกเราพากันฝกหัดใจของตนใหดี พระพุทธเจาวา ธรรมทั้ง หลายมีใจเปนหัวหนา มีใจถึงพรอม มีใจเปนใหญ มีใจประเสริฐสุด ครั้นทรมานใจดีแลว ฝกฝนดีแลว อบรมดีแลว มีใจประเสริฐสุด ถาไมทรมาน ไมฝกฝนอบรม อันนี้มันก็ทำพิษ เผาอยูทั้งกลางวัน กลางคืน มันเปนเพราะใจนี่แหละ ใจไมดี ใจไมรูเทา ใจโง มนสาเจ ปทุDเฐน ใจอันมีโทษ ประทุษรายมันอยูแลว เพราะราคะ โทสะ โมหะ ประทุษรายอยู ไปอยูที่ไหนก็ไมมีความสุขสบาย มีแตความเดือดรอนเผาผลาญ 19


อนาลโยวาท

ทานเปรียบไวเหมือนโคที่เข็นภาระอันหนักไปอยู ใจไมดีแลว ผูไม ฝกฝนอบรมใจของตนแลว ทำไปตามความพอใจ ความชอบใจ ใจ เศราหมอง ไมมีความสุข ยืน เดิน นั่ง นอน ก็ไมมีความสุข ใจที่อบรมดีแลว ฝกฝนทรมานดีแลว ไปอยูที่ไหนก็มีความ สุข พูดอยูก็เปนสุข ยืน เดิน นั่ง นอน ทำอะไรอยู ก็เปนสุข ไมมี ความเดือดรอน มนสาเจ ปสนฺเนน บุคคลผูฝกฝนอบรมจิตใจ ของตนใหดีแลว จิตผองใสแลว แมจะพูดอยูก็ตาม ทำอยูก็ตาม ไป ที่ไหนก็ตาม ความสุขยอมติดตามไปอยูทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน พวกเราทำความฝกฝนจิตใจของตน ใหเอาสติประจำใจ จะ พูดก็ใหมีสติ จะทำก็ใหมีสติ จิคิดก็ใหมีสติควบคุมใจของตน อยา ไปปลอยสติ ครั้นไมปลอยสติแลว นั่นแหละไดชื่อวา เปนผูนั่งอยู ใกลความสุข ใกลทางที่สุด ทางที่เราจะเดินไปหนาละ ใกลเขา ๆ พวกเราเหมือนกันกับเดินทางไกล ไมรูวาจะเดินมาจากไหน นับวัน นับคืน นับป นับเดือนไมถวน การเดินทางเพื่อจะไปสูจุดหมาย ปลายทาง คือที่สุด เหมือนวาเราจะไปกรุงเทพฯ นั่นแหละ เปนที่ สนุกสุขสบาย เขาใจวากรุงเทพฯ เปนเมืองพระนคร เปนเมือง สวรรค อยากไป พวกเราอยากไปสูจุดหมายปลายทาง คือพระ นิพพานนั่นแหละ วาเปนจุดอันเลิศ วาเปนที่สิ้นสุดแหงทุกข มีแต ความสุข ที่พระพุทธเจาและสาวกทั้งหลายทานไปแลว จุดอันนั้น แหละ 20


อนาลโยวาท

เราเกิดมานี่ เทียวไปเทียวมาอยูนี่นะ ไมตองการอะไร ทั้งหมด ทั้งนั้นแหละ ไมตองการความทุกข ไมตองการวันตาย ตองการหาความสุข แตหาไมพบ เพราะศรัทธาของเราไมเพียงพอ เชื่อไปตามกามกิเลส ประพฤติไปทางอื่น ไปทางโลกเสีย ทาง ธรรมของพระพุทธเจาไมเอาใจใส ไมมีความสนใจ ไมพอใจ ที่จริง ถึงเราไมอยากไปก็ตาม พระนิพพานนะ แตก็ควรปฏิบัติไว อบรม ไว บางทีไปชาติหนา ชาติใหม เราเกิดความเบื่อหนายอยางใด อยางหนึ่ง เราจะกลับมาปฏิบัติมันจะไดบรรลุคุณวิเศษโดยเร็ว ไม เฉื่อยชาไป พวกเราไดคบหากับนักปราชญอาจารยบอย ๆ สนใจบอย ๆ ทำไป ๆ ก็จะเปนไปวันหนึ่งนั่นแหละ จะไดรับผลอยูนั่นแหละ ทำ แลวจะเปลาประโยชน? ไมเปลาดอก ทุกสิ่งทุกอยาง เหมือนพวก คุณหมอทั้งหลาย ไดศึกษาวิชาศิลปศาสตรมาแลว ก็ไดมาแลว รู อยางนั้น รูอยางนี้ ทำอยางนั้น อยางนี้ แลวก็ไดผล เมื่อทำลงก็ได รับผล มีผลตอบแทนอยูอยางนั้นแหละ ผลคือลาภยศ เพราะเรามี วิชาศิลปศาสตร เพราะเราทำคุณความดี ทางที่ไปสูความสงบสุข นี่ พระพุทธเจาประกาศไวแลว ถาเรามีความสนใจ พอใจ ตั้งใจทำ ก็คงไดรับผลตอบแทนเหมือนกัน ไมตอบแทนกันไมมีดอก ทุกสิ่งทุ กอยางนะ ความดีก็ดี ความชั่วก็ดี ตอบแทนครือกัน ถาทำชั่วลง ไปแลวก็ไดรับความเดือดรอนขึ้นกับตัว กับบอนนั่นแหละ คนทั้ง หลายเขาสงสัยวา บาปไมมี บุญไมมี มันไมพิจารณาใหเห็นวา ทำ แลวก็ไดรับเหมือนกันในเรื่องนั้น ๆ แหละ พอทำเขาแลวก็เดือด 21


อนาลโยวาท

รอนหละ วิ่งเขาปาเขาดง ไปอยูตามถ้ำตามเหว ไมมีที่ไหนมันจะ พนดอก ความชั่วนี่ พวกเราเปนผูทำความดีความชอบ อาชีพของเราเปนไปเพื่อ เปนศีลเปนธรรม ไมเบียดเบียนใคร แลวเราก็ไดรับความพอใจ ความชอบใจ ดีใจ เห็นกันอยูอยางนั้นแลว ที่จะวาไมเปนบุญเปน บาปยังไง มันเปนอยูอยางนั้นนี่ เปนกับที่นั้นแหละ ผูใหทานก็ได รับความดีใจกันที่นั่นแหละ ผูมีศีลก็ไดความดีใจ ศีลหา ศีลแปด ศีลสิบ ศีลพระปาฏิโมกขของพวกพระ ฆราวาส ศีลหา ศีลแปด เราก็ศึกษาใหมันดี ศึกษาใหเขาใจ เมื่อเขาใจแลวไมยาก เรื่องงด เวนทุกสิ่งทุกอยางนะ พวกเราก็รูแลว เรื่องจะไมตองสมาทานเอา กับพระภิกษุสามเณรก็ตาม รูแลว เจตนางดเวนเอา เรียกวาวิรัติ เจตนา งดเวนเอา เขาใจแลว ไมตองสมาทานก็ได เอาเจตนานี่ แหละ เราจะไมทำ สมมติวา ศีลหา บาปหาอยาง กรรมหาอยางนี้ เราจะไมทำตอไปเด็ดขาด นี่ก็เปนอุปนิสัยปจจัยอยู พวกเราสมบูรณบริบูรณแลว ควรรักษามันใหดี เรื่องกรรม หาอยางนั้นแหละ ครั้นเวนวิรัติใหมันขาดลงไปแลว ไดชื่อวาเปนผู หมดกรรมหมดเวรหมดภัย ใหมันขาด หาอยางเบื้องตนนี่แหละ พระพุทธเจาวามันไมใชศีลนะ บาปนะ เวรนะ ครั้นเวนหาอยางนี้ เปนสุจริตธรรม ผูหญิงผูชายก็ตาม ผูนอยผูหนุมก็ตาม ผูแกผูเฒา ก็ตาม เปนสมบัติของมนุษย ปาณาติปาตา ปฏิวิรโตโหติ ใหมี เจตนางดเวน อทินนาทานา ปฏิวิรโตโหติ เจตนาวิรัติงดเวน มี สติประจำใจ กาเมสุมิจฉาจารา ปฏิวิรโตโหติ ใหเจตนางดเวน 22


อนาลโยวาท

มุสาวาทา ปฏิวิรโตโหติ ความไมจริงจะไมพูด พูดมีสัจมีศีล คำที่ ไมจริงจะไมพูดตอไป มีจึงพูด ไมมีไมพูด สุราเมรย มชฺฌปมาทD ฐานา ปฏิวิรโตโหติ นี่แหละหาอยางนี่แหละ งดเวนหาอยางนี่ ได ชื่อวาเปนผูหมดกรรมหมดเวร นี่เปนเคาเปนมูลของศีลทั้งหลาย มันจะตั้งอยูได ศีลแปดนั้น ครั้นเรารักษาไมได ก็ไมเปนโทษเปนภัยอะไร ดอก เปนแตเศราหมอง สามขอเบื้องปลายนั่นแหละเปนศีลสูงขึ้น ไป รักษาไมไดมันก็พาเศราหมองเทานั้น ศีลหาขอเบื้องตนนั่น แหละสำคัญ เวนใหมันเด็ดขาดเรื่อยไป ทานจึงเปรียบไวเหมือน ตนไม ครั้นไปตัดกิ่งกานสาขาออกแลวไมตาย มันตองเปนขึ้นอีก แตกกิ่งกานสาขาขึ้นอีก แตถาตัดรากแกวมันหมดแลว มันตาย ไมมีอะไรจะงอกขึ้นอีกตอไป เคามูลมันคือศีลหา อาตมาจะพูดใหฟง พูดซื่อ ๆ นี่แหละ ศีลนี่มีตัวเดียวเทานั้น มีใจดวงเดียวเทานั้น ไมมีอื่นอีก หมูนั้นมันเปนอาการมัน ถาเราไม ฆา ไมลัก ไมมารยาสาไถยกับใคร นอกจากเมียของตนซึ่งอยูใน ปกครองของตน พูดแตความจริง ไมดื่มสุรายาเมา นี่แหละ ๕ อยางนี่มีแตบาปทั้งนั้น พระพุทธเจาจึงวา เรากลาววาเจตนาเปนตัวกรรม เจตนา เปนตัวศีล เจตนาก็ใจเทานั้นแหละ เจตนางดเวน ใจมีอันเดียว เทานั้นแหละ และใหมีสติควบคุม ระวังจิตมันคิดจะทำอะไรก็ดี จะ พูดอะไรไมเปนศีลเปนธรรม ก็มีสติยับยั้ง รูสึกตน 23


อนาลโยวาท

สติคือความระลึก สัมปชัญญะ ความระลึกวาผิดหรือถูก มัน ตองตัดสิน สัมปชัญญะเปนผูตัดสิน พวกเราใหหัดทำสติใหแมนยำ ใหสำเหนียกแลว จะทำอะไรก็ถูกตอง พูดถูกตอง คิดถูกตอง มันก็ เปนศีลแลว เพียง ศีลหามันก็ดีอยู ศีลแปดเปนบางครั้งเปนคราว ก็ไดอยู ครั้นรักษาใหดี เปนบริสุทธิ์แลว ไดอยู ราชาก็ไดอยู จักร พรรดิ์ก็ไดอยู มหาเศรษฐีก็ไดอยู ไมตองสงสัย พระพุทธเจาพูด ความจริง ผูมีศีลยอมเปนผูองอาจ กลาหาญตอหนาประชุมชน ผู มีศีลยอมมีความสุข ทานบอกไวนะ เมื่อรับศีลดวยปากแลวทานวา สีเลน สุคตึยนฺติ กุลบุตรผู รักษาศีล ถึงพรอมดวยศีลบริบูรณแลว ยอมมีความสุข แมจะ เขาไปคบหาสมาคมกับบริษัทใด ๆ ก็ตาม บริษัทกษัตริยก็ตาม บริษัทคหบดีก็ตาม บริษัทสมณพราหมณก็ตาม เปนผูองอาจกลา หาญ ไมมีความครั่นครามตอผูคน เพราะคิดวาเราบริสุทธิ์ดีแลว ถึงไมมีความรูก็ตาม ไมคิดกลัววาคนอื่นเขาจะมาโทษเราวาเปนผู ไมบริสุทธิยังงั้นยังงี้ ไมคิดอยางนั้น ไมกลัว แลวก็เปนที่รักของ เพื่อนมนุษยดวยกัน เปนที่รักแกสัตวทั้งหลายดวยกัน คนผูมีศีล แลวยอมใจเย็น จิตมันหยั่งเขาไปถึงกัน สัตวเดรัจฉานก็ตาม สัตว ใด ๆ ก็ตาม ไดเห็นแลว มันหยั่งเขาไปถึงกันเหมือนกันยังกับไฟฟา ไปถึงจิตถึงใจกันแลว แลวจิตของเรามันเย็นแลว มันก็ไมกลัว ถา มันเห็นพวกคฤหัสถพวกที่เขาจะฆามันแลว มันไมรอ มันวิ่งเขาปา เขาดงไปเลย นี่แหละ ไปอยูที่ไหนก็มีความสุข ศีลนำความสุขมาให 24


อนาลโยวาท

ตราบเทาชรา ศีลนำความสุขมาใหตลอดชีวิต ศีลนำความสุขไป ใหตลอดและมีสุคติเปนที่ไป สีเลน โภคสมฺปทา ผูจักมั่งคั่งบริบูรณสมบูรณ ไมอด ไม อยาก ไมยากไมจน ก็เพราะเปนผูรักษาศีลใหสมบูรณบริบูรณนี้ แล เปนแท เปนกรรมดีแท เปนกรรมรายแท ใหคิดดู ถาบุญไมมี แลว บาปไมมีแลว มันเปนเพราะกรรมดีกรรมชั่ว พระพุทธเจาวา คนเกิดมา สัตวเกิดมาในโลกนี้คงเพียงกัน ไมมีสูงมีต่ำ มีดำ มีขาว ถาขาวก็ขาวอยางเดียวกัน จะมั่งคั่ง ก็มั่งคั่งอยางเดียวกัน จะจนก็ จนอยางเดียวกัน โงก็โงอยางเดียวกัน แตความจริงนี้ มันมีสูงมีต่ำ กวากัน มีต่ำลง มีสูงที่สุด เห็นเปนพยานอยูนี่แลว จะโง ผูโงก็โงลืม ตาย ผูฉลาดเหมือนพวกคุณหมอนี่ก็ฉลาด จนก็จนลืมตาย ทำไม เกิดมาเปนมนุษยเหมือนกัน แตทำไมไมเหมือนกันละ ไมเหมือนกัน เพราะความประพฤตินั่นหรอก ถาประพฤติดี มีการรักษาศีลให ทาน มีการสดับรับฟงธรรม เขาจะมีปญญาก็ดี เขาเปนผูเลาเรียน เพราะเหตุนี้แหละ เปนเพราะกรรม กรรมเปนผูจำแนกแจกสัตวให ดีใหชั่วตางกํน มันเปนเพราะกรรม พระพุทธเจาไมพยากรณดอก วา ตายแลวสูญ หรือตายแลวเกิดอีก อยางนี้พระพุทธเจาไม พยากรณ ไมวา เราไมพยากรณสัตวนี้มันจะเกิดอีกหรือไมเกิด ถา มันยังทำกรรมอยู มันตองไดรับผลของกรรม ทำกรรมดี ทำกรรม ชั่ว มันตองไดรับผลตอบแทนอยู ทำแลวจะไมไดรับผลตอบแทน นั้นไมมี คิดดู เหมือนเขายืมปจจัยของเราไป เราก็ให เขาจะตอง ตอบแทนใชใหเรา ครั้นไมใชให ก็ตองเปนถอยเปนความกันละ ได 25


อนาลโยวาท

รับความเดือดรอน เขาก็ตองตอบแทน คิดดู เหมือนพวกเราเห็น กัน ถามกัน ตอบแทนกัน ทำดีก็ตอบแทนกันอยูอยางนั้น ผลราย ก็ตอบแทนกันใหไดรับความลำบากอยูอยางนั้น ถารักษาศีลดีแลว เมื่ออบรมสมาธิเขา มันจะมีความสงบ มันลงเร็ว ถามันขัดของ ก็หมายวาศีลของเราขอใดขอหนึ่งผิด พลาดไป มันจึงขัดของ ไมลง ถาศีลบริสุทธิ์บริบูรณดีแลว เหมือน กับเขาจะปลูกบานปลูกชอง เขาจะปราบพื้นที่เสียกอน ฉันใดก็ดี ศีล พวกเรารักษาดีแลว ก็เหมือนปราบพื้นที่จนไมมีหลักมีตออะไร แลว ปลูกบานมันก็ไดดี ไมมีความเดือดรอน จิตมันก็ไมมีความ เดือดรอน มันก็สงบอยู จะลงอยู เพราะมันเย็น มันราบรื่น ไมมีสิ่ง ลุมดอน พากันทำไป อุตสาหทำไป อิริยาบถทั้งสี่ ยืน เดิน นั่ง นอน พระพุทธเจาไมหาม แลวก็ไมใชเปนของหนักของลำบาก นึก เอาแตในใจ จะเอาอะไรก็ตาม แลวแตความถนัด แลวแตจริตของ เรา มันถูกอันใด สะดวกใจ สบายใจ หายใจดี ไมขัดของ ไมฝด เคือง อันนั้นควรเอามาเปนอารมณของเรา เอา พุทโธ ๆ หมายวา ใหใจหยุด เอาพุทโธเปนอารมณนั่นแหละ ตองการไมใหจิตมันออก ไปสูอารมณภายนอก อารมณภายนอกมันก็ไปจดจออยูกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ความถูกตองทุกสิ่งทุกอยาง มันไปจดจออยู ที่นั่น จิตมันจึงไมลง พวกนี้เรียกวานิวรณ เรียกวาเปนมาร จึงวาใหมีสติ อยาใหมันไป กุมไวใหมันอยูกับที่นี้ ใหเอา พระพุทธเจาเปนอารมณ พระธรรมเปนอารมณ พระสงฆเปน อารมณ พุทโธ ธัมโม สังโฆ ก็ตาม หรือจะเอาอัฐิ ๆ กระดูก ๆ 26


อนาลโยวาท

ก็ตาม ใหนึกอยูอยางนั้น ยืนอยูก็ตาม เดินอยูก็ตาม นั่งอยูก็ตาม นอนอยูก็ตาม เอามันอยูอยางนั้นแหละ หลับไปแลวก็แลวไป อุตสาห มันก็เปนของไมเหน็ดไมเหนื่อย พระพุทธเจาก็วาไวอยู ผูที่ภาวนา จิตสงบลง แมชั่วเวลา ชางพับหู งูแลบลิ้น อานิสงสก็อักโขอักขัง ทำไป มันมีสามสมาธิ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ ขณิกสมาธินี่เราบริกรรมไป บริกรรมไป วาพุทโธก็ตาม อะไรก็ตาม รูสึกวาสบาย ๆ เขาไปสักหนอย จิตสงบเขาไปสัก หนอย ถอนขึ้นมา ก็กลับเปนอารมณของเกามัน นี่ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ ลงไปนาน ๆ สักหนอย ถอนขึ้นมาอีก ไปสู อารมณอีก ภาวนาไป ๆ มา ๆ อยาหยุดอยาหยอน แลวมันจะคอย เปนไปเอง ทำไป ๆ จะใหมันเสียผล มันไมเสีย ตองทำไป เปนก็ไม วา ไมเปนก็ไมวา แลวแต อยาไปนึกวาเมื่อไรมันถึงจะลง จิตนี่ อยา ไปนึก ทุกสิ่งทุกอยางที่เราทำความเพียร เราทำเพื่อจะเอาเนื้อและ เลือด ชีวิตจิตใจถวายบูชาพระพุทธเจา ถวายบูชาพระธรรม บูชาพระสงฆตางหาก ความอยากนี่ใหเขาใจวา นั่นแหละคือหนาตาของตัณหา อยากใหมันเปน อยากใหมันลงเร็ว ๆ อันนั้นมันตัวรายละ หนาดำ ละ ความอยากของมันมืดละ ใหตั้งใจไว เจตนาไววา เปนก็ไมวา ไมเปนก็ไมวา จะเอาเลือดเนื้อชีวิตจิตใจถวายบูชาพระพุทธเจา พระธรรมเจา พระสงฆเจาตลอดวันตาย อยางนี้ไดชื่อวา มชฺฌิมา 27


อนาลโยวาท

ปฏิปทา อยากมันเปนตัณหาเสีย ยืนขวางหนาเสีย ยิ่งไมลงละ เอาละ ใหพากันทำไป

28


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๔ นิโรธะ การปฏิบัติอานาปานสติถาไมถูกกับจริต มีความอึดอัดใจ หายใจไมสะดวก ไมสบาย ถาถูก มันจึงสบาย หายใจเบาลง ปต คนก็ชอบแตความสบาย ถาไมสบายไมคอยชอบ ถามันสบาย มัน ก็หลงไปเสียกับความสบายละ ถาเปลี่ยนบางมันจึงจะดี เปลี่ยน คือความเจ็บปวยนั้น มันเปลี่ยนบางมันจึงรู มันจึงตื่น หมายความ วาเปลี่ยนมันไมเพลิน เวทนามัน ทรมานใหเขาปราบเอาบาง มัน จึงดี เหมือนกันกับเด็กมันดื้อ มันคะนอง พอแมตองเฆี่ยนเอาบาง มันจึงหายความคะนอง จิตของเรามันเปนอยางนั้น ถาอยูดี สบาย แลว มันลืม ใหนั่งภาวนา เปนสมาธิ ใหมันเปนปญญา คอยเตือน อยาดื้อ อยาคะนอง ใหกำหนดใหมันรูทุกข พระพุทธเจาสอนวา ใหมารูจักทุกข ถามันสบายแลว มันไมรูจักทุกข มันมัวแตเพลินไป ถามันสบายแลว ใหมันไมสบาย แลวมันจึงกำหนดรูจักทุกข พระพุทธเจาทานสอนไววา ใหมันรูจักทุกข ใหมันรูจัก พิจารณาแตทุกข พิจารณาใหมันเห็นชัด มันอยูที่ใจแลว มันจึงจะ คนหาเหตุ ทุกขเปนผล แลวความทะเยอทะยานนั้นเปนตนเหตุให เกิ ด ทุ ก ข ค น ไปให เ ห็ น เหตุ เ กิ ด ทุ ก ข จะปล อ ยวางความ ทะเยอทะยานความหลง อันสมุทัยนั่นแหละเปนเหตุใหเกิดทุกข สมุทัยสมมุติ สมมุติวาผูหญิง ผูชาย วาคน วาสัตว นั่นไปหลง สมมุติ พอใจเพราะความหลง สมุทัยก็มาจากความหลง พอมันขี้ หลงเขา หลงอยากเปนอยากมี หลงสิ่งที่ไมชอบ รูเหตุอันนี้เปน 29


อนาลโยวาท

เหตุใหเกิดทุกข เปนเหตุใหทองเที่ยวในสังสารวัฏจักร ไมมีที่สิ้นสุด ใหปลอยวางอันนี้ ปลอยวางคือไมยึดไมถือ รูเทามัน เมื่อปลอยวางแลวนั่น แหละ จิตมันถึงจะสงบ จิตมันถึงจะมีความสุข ความสบาย จิตไม ดิ้นรน จิตสงบนั่นแหละใหรูวาจิตเราสงบ จิตเราไมเพลิดเพลินกับ อารมณ ดีก็ตาม ไมดีก็ตาม ไมเพลิดเพลิน เฉย เปนกลาง เรียกวา นิโรธะ ปลอยวางอันนี้ ความทะเยอทะยานหรือสมุทัย วางอันนี้ ไดชื่อวาปลอยเหตุ วางเหตุแลวจิตสงบ จิตเปนกลาง การคน การพิจารณาเรื่องจิตนี้เรียกวา มัคคปฏิปทา เรียก วาขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข เราภาวนาบริกรรมอันใด มัน สบายใจ บริกรรมแลวก็ตองพิจารณา สมถะ การบริกรรม วิปสสนาเรียกวากำหนดพิจารณา เรื่องพิจารณาสังขารรางกาย อันนี้เรียกวาวิปสสนา ทำไปพรอม เมื่อบริกรรมไป บริกรรมไป พอจิตสงบสักหนอย มันไมลงถึงที่ มันก็ตองคนควา ก็คนควา ร า งกายของเรา ต อ งพิ จ ารณาสกนธ ก ายของเรานี ่ แ หละ กรรมฐานทุกคนนั่นแหละ พวกพระ พวกเณร พวกญาติโยมนั่นก็ เป น กรรมฐาน กรรมฐานหมด มี อ ยู  ห มดทุ ก รู ป ทุ ก นาม พระพุทธเจาวา ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เรียกวาปญจกรรมฐาน กรรมฐานแท ให พ ิ จ ารณาอั น นี ้ ผมมั น ก็ ต ั ้ ง อยู  บ นศี ร ษะ พระพุทธเจาทานใหพิจารณา ผมไมใชคน เปนแผนกหนึ่งตางหาก ขนก็ไมใชคน เรามาสำคัญวาขนเรา เล็บเรา ผมเรา ฟนก็ไมใชคน เปนแผนกหนึ่งตางหาก หนังก็ไมใชคน หนังสำหรับหอกระดูกไว 30


อนาลโยวาท

เทานั้นแหละ อาการ ๓๒ นี่ พระพุทธเจาทานใหพิจารณา แยก ออกเปนสัดเปนสวน อะไรเปนคน เปนสัตว ไมสำคัญวาผูหญิง ผูชาย วาเขา วาเรา สำคัญที่คนเห็นผิด อาการ ๓๒ นี้มี ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย อาหารใหม อาหารเกา เยื่อในสมอง ศีรษะ เปนตน หมูนี้เปนคนละอยาง ๆ มันไมใชคน พระพุทธเจาวา มันไมใชคนนะ อีกอยาง พระพุทธเจาวา ธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุม รวมกัน เรียกวารูป รูปใหญ มหาภูตรูป สิ่งที่อาศัยธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ คือ เวทนา ความเสวยอารมณ สุข ทุกขก็ดี สัญญา ความ จำหมายโนน หมายนี่ จำโนน จำนี่ จิตเจตสิก คือ ความคิดความ อาน ความปรุงขึ้นที่จิต คือวิญญาณสังขาร ความรูทางอายตนะ ทั้ง ๖ อันนี้เราวา รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ เรียกวาขันธ ไมมีคน ไมมีสัตว สิ่งเหลานี้ไมใชตน ไมใชตัว ไมใชคน ไมใชสัตว วิญญาณเปนความรูเทานั้น รูกันอยูนี่ แหละ คนไปคนมาอยูนั่น มองดูคนอยูไหน สมถะคือการบริกรรม วิปสสนาการคนควา อาการ ๓๒ นี่ แหละ คนไป ไมสงจิตไปที่อื่น เวลาเราทำสมาธิ เราตองตั้งใจวา เวลานี้ เราจะทำหนาที่ของเรา หนาที่ของเราคือ จะกำหนดใหมี สติประจำใจ ไมใหมันออกไปสูอารมณภายนอก ใหมีสติประจำใจ อยู ไมใหไปภายนอก เดี๋ยวนี้ หนาที่ของเราจะภาวนา จะทำหนาที่ ของเรา ไมตองคิดการงานขางนอก เมื่อออกแลวจะทำอะไรก็ทำไป 31


อนาลโยวาท

เวลาเราจะทำสมาธิ ทำความเพียรของเรา ตองตั้งสัจจะลง ตั้งใจ กำหนดอยูในสกนธกายนี้ กำหนดสติใหรูกับใจ เอาใจรูกับใจ ให จิตอยูกับจิต กำหนดจิตขึ้น ใหทำใหมันพออาศัย ศรัทธา วิริยะ เหตุทำใหมาก ๆ อันนี้แหละกอนธรรม พระพุทธเจาวา กอนธรรม อันนี้แหละ กอนธรรมหมดทั้งกอน ธรรมไมมีที่อื่น ไมมีที่อยูอื่น จำเพาะรูปใครรูปเราเทานั้น เปนธรรมหมดทั้งกอน กอนธรรมอัน นี้ไมใชคน ไมใชสัตว ไมใชตัว ไมใชตน พระพุทธเจาวา ปญจุปาทานักขันธา อนิจจา ขันธทั้ง ๕ นี้ ไมเที่ยง ไมแนนอน มีความเกิดขึ้นตั้งขึ้นในเบื้องตน มีความ แปรปรวนไปในทามกลาง มีความแตกสลายไปในเบื้องปลาย ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา ขันธอันนี้เปนทุกข มีทุกขบีบคั้นอยู มีแตทุกขเวทนานั่นแหละ ความสุขมีนิดเดียว ผูที่พิจารณาเห็น ตามความเปนจริงแลว ไมมีสักหนอยความสุขในโลกนี้ โลกคือ สกนธโลกอันนี้ สกนธกายนี้ ปญจุปาทานักขันธา อนัตตา ธรรม ทั้งหลายสกนธกายอันนี้ ขันธ ๕ อันนี้ ไมใชสัตว ไมใชคน พระพุทธเจาวา สัพเพ ธัมมา อนัตตา ธรรมทั้งหลาย จะเปน สังขตธรรม หรือ อสังขตธรรมก็ตาม ไมมีความประเสริฐ ไมมี ความดี พิจารณาเห็นสกนธกายวาไมใชตัวไมใชตนแลว อันนี้เรียก วาผูถึงวิราคะ วิราโค เสฏโฐ เปนธรรมอันประเสริฐ วิราคะคือ ความคลายกำหนัดจากอารมณทั้งหลาย นี่เปนธรรมอันประเสริฐ นั่นแหละ เมื่อถึงวิราคะ เรียกวานิโรธ ทุกขดับ มีความเบื่อหนาย เหนื่อยหนายในความเปนอยูของอัตตภาพ นี่แหละเรียกวาปลอย 32


อนาลโยวาท

วาง เห็ น ตามความเป น จริ ง แล ว ปล อ ยวางตั ณ หา ความ ทะเยอทะยาน ความอยาก ความใครในทางกิเลสกาม ความอยาก เปน อยากมี ถึงขั้นนี้ก็กิจสำเร็จแลว

33


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๕ กอนธรรม

พระพุทธเจาทานสอนใหเราถือศีลกอน ศีลทำใหกาย วาจา สงบ แลวจึงทำสมถภาวนาใหจิตใจสงบ ครั้นภาวนาจนจิตสงบ สงัดดีแลว ก็ใชปญญาคิดคนควาสกนธกายนี้ เรียกวาทำกัมมัฏ ฐาน พระพุทธเจาวา ธรรมะไมอยูที่อื่น อยูที่สกนธกายของทุกคน คนหมดทุกคนก็แมนธรรมหมดทั้งกอน แมนกอนธรรมหมดทุกคน พระพุทธเจาวาธรรมไมอยูที่อื่น ไมตองไปหาที่อื่น มันอยูในสกนธ กายของตนนี ้ ดู จ ิ ต ใจของตนนี ้ ใ ห ม ั น เห็ น ความจริ ง ของมั น พระพุทธเจาวา ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา สกนธกายของเรานี้ มันเปนทุกข ปญจุปาทานักขันธา อนิจจา สกนธกายอันนี้ไมเที่ยง ปญจุปาทานักขันธา อนัตตา กอนอันนี้ไมใชคน ไมใชสัตว ธรรม ทั้งหลายไมใชคน ไมใชสัตว จึงวาธรรมทั้งหลายก็แมนกอนธรรมนี้ ไมใชคน ไมใชสัตว มันอยากจะเปนไปอยางใด ก็เปนไปตาม ธรรมชาติของมัน กิริยาของมัน มันไมฟงคำเรา ไมฟงพวกเรา ยากแกมันก็แกไป อยากเจ็บมันก็เจ็บไป อยากตายมันก็ตายไป สพเพธัมมา อนัตตา ธรรมเหลานี้ไมใชของใคร ใหพิจารณาดูให เห็นเปนกอนธรรม มันไมอยูในบังคับบัญชาของใครทั้งนั้น มันเปน ทุกข มันเปนอนิจจัง มันเปนอนัตตา ตกอยูในไตรลักษณ คนเราได กอนธรรมอันนี้แหละ ไดเปนรูปเปนกาย เปนผูหญิง เปนผูชาย ก็ 34


อนาลโยวาท

สมมุติทั้งนั้น สมมุติวาผูหญิง วาผูชาย วาเด็ก วาเฒา มันสมมุติ ซื่อ ๆ ดอก ที่จริงมันแมนกอนธรรมทั้งหมด เราเกิดมาไดอัตตภาพอันดี สมบูรณบริบูรณ พวกเราได สมบัติมาดีแลว ควรใชมันเสีย ใชไปในทางดี ทงดีคือการทำบุญให ทาน รักษาศีลภาวนา ใชมันเสียเมื่อมันยังสมบูรณบริบูรณอยู อยาไปนอนใจเมื่อวันคืนลวงไป ๆ พระพุทธเจาวา วันคืนลวงไป ๆ มิใชจะลวงไปแตวันคืนเดือนป ชีวิตความเปนอยูของเราก็ลวงไป ๆ ทุกขณะลมหายใจเขาออก ไมควรนอนใจ ไดมาดีแลว อัตตภาพ อันนี้ ไมเปนผูหนวกบอดใบบาเสียจริต สมบัติอันนี้คือมนุษย สมบัติ มนุษย เราเปนมนุษยหรือเปนอะไร คนเรอะ พระพุทธเจา วา สิ่งอันประเสริฐก็ไดแกคน บาปและบุญก็เรียก เราตองเปนผูมี หิริโอตตัปปะ หิริ ความอายตอความชั่ว โอตัปปะ ความสะดุงตอ ผลของมัน ความชั่วมันจะใหผลเราในคราวหลัง เมื่อเราเปน มนุษย เราไมควรนอนใจ อยาใหกาลกินเรา ใหเรากินกาล ใหเรง ทำคุณงามความดี เวลาลวงไป ชีวิตของเราก็ลวงไป ลวงไปหาความตาย มนุษยเปนสัตวอันสูงสุด อันนี้เปนเพราะเราไดสมบัติปนดีมา ปุพ เพจะกตะปุญญตา บุญกุศลคุณงามความดีเราไดสรางมาหลาย ภพหลายชาติแลว เราอยาไปเขาใจวา เราเกิดมาชาติเดียวนี้ ตั้งแตเราเทียวตายเทียวเกิดมานี่ นับกัปปนับกัลปอนันตชาติไมได แลวจะวาเหมือนกันไดอยางไรละ เมื่อเรามาเกิดก็มีแตวิญญาณ 35


อนาลโยวาท

เทานั้น พอมาปฏิสนธิ ก็เอาเลือดเอาเนื้อพอแมมาแบงให ไดอัตต ภาพออกมา แมกระนั้นก็ไมมีสัตวมาเกิด ตองอาศัยจุติวิญญาณ เราตองสรางเอาคุณงามความดี พวกฆราวาสก็คือตั้งใจรับศีลหา ศีลแปดในวันเจ็ดค่ำ แปดค่ำ สิบสี่ค่ำ สิบหาค่ำ เดือนหนึ่งมีสี่ครั้ง อยาใหขาด ทำสมาธิภาวนา ใหมีสติ ระวังกายของตนใหเปน สุจริต วาจาเปนสุจริต ใจเปนสุจริต เทานี้แหละ เอายอ ๆ มีสติอัน เดียว ละบาปทั้งหลาย ความชั่วทั้งหลาย ละดวยกาย วาจา ดวย ใจ ทำบุญกุศลใหถึงพรอมดวยความไมประมาท กระทำจิตของตน ใหบริสุทธิ์ผองแผว อันนี้เปนคำสอนของพระพุทธเจา ใหมีสติ รักษากาย วาจา ใจ ศีลหาถาใครละเมิดก็เปนบาป ครั้นละเวน โทษหาอยางนี้ นั่นแหละเปนศีล ศีลคือใจ บาปก็คือใจ ศีลอยูในใจ บาปก็อยูที่ใจเหมือนกันนั่นแหละ เรื่องทำบุญทำกุศล ใหทาน รักษาศีล ภาวนาอยูแตใจทั้งนั้น อะไรโมดอยูกับใจ สงสัยก็ พิจารณาดวงใจ ทำบาปหาอยางนี้แลว ศีลไมมี เปนคนไมมีศีล คน มันขอบทำแตบาป ศีลไมชอบทำ อยากทำแตบาป ทานเปรียบไว วา คนไปสวรรคเทากับเขาวัว คนไปนรกเทาขนวัว วัวมีสองเขา แตขนมันนับไมถวน

36


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๖ อุปาทาน

ใหพวกเราหมั่นอบรมจิตใจ พระพุทธเจาสอนใหอบรมจิตใจ ใหดี ใหสงบเสียกอน เพราะจิตใจที่สงบตั้งมั่นแลว เปนบาทของ วิปสสนา จิตตั้งมั่นแลว ปญญามันเกิดขึ้น มันจึงรูเทาสิ่งทั้งปวง บรรดาสิ่งทั้งปวงในโลก มันตกอยูในไตรลักษณหมดทั้งนั้น รูเทา อันนี้ รูเทาสิ่งทั้งปวงแลว เราจะปลอยวางอัตตภาพ สิ่งทั้งปวงก็ แมนกอนธรรมนั่นแหละ ก็เรานั่นแหละไมใชอื่น กอนสมมุติหมด ทั้งนั้น วาผูหญิง วาผูชาย วาผูดี สมมุติหมดทั้งนั้น จริงก็จริง สมมุติ สมมุติไมพอ พระพุทธเจาบัญญัติทับลงอีก เรียกวาธาตุ ธาตุ ๔ รูปธาตุ รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ พระพุทธเจาบัญญัติทับลงไปอีกวาอายตนะ จักขุวิญญาณัง โสต วิญญาณัง ฆานวิญญาณัง ชิวหาวิญญาณัง กายวิญญาณัง มโนวิญญาณัง เรามาหลงสมมุติ จกฺขุํ โลเก ปยรูป สาตรูป เพราะมันหลงสมมติ วาผูหญิง วาผูชาย วาตัว วาตน วาเรา วาเขา แลวเขาใจวา ตาเปนที่รักใครพอใจของตน โสตะ หูก็เปน ที่รักของตนในโลก ฆานะ จมูกเปนที่รักของตน ชิวหะ ลิ้นเปนที่รัก ของตน สัมผัส เย็นรอนออนแข็งก็ดี เปนที่รักของตน ธรรมารมณ มโนวิญญาณ เกิดขึ้น อดีต อนาคตมารวมอยูในปจจุบันนั่นแหละ ตัณหาคือสมุทัย เปนเหตุใหเกิดทุกข ตัวสมุทัยเราไมรูเทามัน จึง เปนเหตุใหเกิดกิเลสมารขึ้น ความไมรูเทาสังขาร มันจึงทำใหเกิด 37


อนาลโยวาท

กิเลสมาร ครั้นเกิดกิเลสมารเปนทุกข ความทุกขมาจากไหน มา จากตัณหา ตัณหา ความใครในรูปเสียง เรียกวา กามตัณหา เปน สิ่งที่มีวิญญาณก็ตาม ความใคร ความพอใจ รักใครพอใจ เกิดแลว ก็อยากได อยากเปน อยากมี อยากดี อยากเดน อยากเปนนั่น เปนนี่ เรียกวา ภวตัณหา ความไมพอใจ เหมือนผมหงอก ฟนหัก หนังเหี่ยว ความแกงอมแหงชีวิตอินทรียของขันธ มีรูป มีนาม เกิด ขึ้น ไมพอใจ เกลียดชัง ไมชอบ เรียกวาวิภวตัณหา ตัณหาทั้งสาม นี่เปนเหตุใหเกิดความทุกขเผามัน ในเบื้องตนมันจะเกิดเปนรูปเปนนาม ปฏิสนธิ มันก็อาศัย กาม จึงเรียกกามตัณหา ความรักใคร ความพอใจ มันเปนเหตุให ทองเที่ยวอยูในสังสารจักร เพราะความรักใครในกาม จึงเกิดเปน รูปเปนนามขึ้นมา แลวก็ไดรับทุกขตาง ๆ นานา ความทุกขเกิดขึ้น ในกาย ความไมดีเกิดขึ้นในกาย เวทนาไมดีเกิดขึ้นทางสัมผัสทาง กาย นี่เรียกวาความทุกขกาย ความทุกขที่เกิดขึ้นในใจ ความไมดี เกิดขึ้นในใจ เวทนาไมดีเกิดขึ้นแตสัมผัสทางใจ อันนี้เรียกวา โทมนัส ความเสียใจ เกิดมีแกสัตวทั้งหลาย มันเฉพาะที่ตัณหา ๓ มันเปนเหตุใหมีความปรุงความแตง คือสังขารปรุงแตงขึ้น ขึ้นชื่อวาสังขารแลว จะเปนสิ่งที่มีวิญญาณอยูก็ตาม ไมมี วิญญาณก็ตาม มันจะตกอยูในไตรลักษณทั้งนั้น พระพุทธเจาเรียก วาขันธ ขันธ ๕ เปนรูป เปนขันธ เรียกวาเปนของไมเที่ยง ไม แนนอน ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา รูปเปนอุปาทานขันธ ถือวา เปนตัวตน จึงเปนทุกข ปญจุปาทานักขันธา อนัตตา ขันธทั้ง 38


อนาลโยวาท

หลายไมใชคน ไมใชสัตว ทานใหพิจารณาใหรูเทา รูเทาอยางนี้ แลว เห็นชัดอยูที่จิตแลว จิตมันจะไดไมยึดถือ มันจะปลอยวาง มี ความคลายกำหนัด ไมถือวาเราวาเขา ไมยึดในอุปาทานขันธ ปลอยวางอุปาทานขันธ สิ่งทั้งปวงนั่นนะ ก็เพราะวาจิตนั่นแหละไปยึดไปถือเอา ทุก สิ่งทุกอยาง ผม ขน เล็บ ฟน หนัง มันถือเอาเปนของเราหมดทั้ง นั้น ใหรูเทาวาเปนของอสุภะอสุภัง ของไมสวยไมงาม เปนของ ปฏิกูลนาเกลียด แลวจิตมันจะมีความเบื่อหนาย รูเทาทัน จิตเบื่อ หนายแลว จิตวางขันธ วางกอนนี้วา ไมใชผูหญิงผูชาย พิจารณา ใหมันเห็นลงไป ไมใชเขาไมใชเรา เปนของกลาง จิตเปนผูจัดการ เปนผูบัญชาการ เอาอยูอยางนั้น เพราะมันเขาใจวาเปนตัวเปน ตน มั น บั ญ ชาการว า เป น ตั ว เป น ตน มั น อยากได อ ยากมี ทะเยอทะยาน เมื่อมันวางแลว จิตวาง จิตวางจากคนจากสัตว จิต วางจากคน จิตก็ราเริงบันเทิง จิตผองใส จิตเบา จิตควรแกการ งาน ควรแกกรรมฐาน พิจารณากรรมฐานใหมันไมยึดไมถืออะไร แลวจิตวาง มันเห็นวาไมใชคน ไมใชสัตวแลว แตเราทำไปเพราะ ตองอาศัยกอนนี้ กอนธรรมอันนี้ทำไป เลี้ยงมันไป ปฏิบัติมันไป พระอริยเจาอาศัยสรางบารมีเทานั้น ครั้นไมมีกอนอันนี้แลว มีแต ดวงจิตเทานั้น จะไมสำเร็จอะไรหมดทั้งนั้น เพราะมันมีแตจิต รูปอันนี้เหมือนกันกับกระบอกเขาโฆษณา โว ๆ ๆ นะ เหมือนกันนั่นแหละ มันมีรูปอันนี้ เสียงอันนั้น มันก็ดังออก ผูนั้น 39


อนาลโยวาท

ไมมีอยูแตกำลังจิตนั่น พูดไมออก ขอยืมเครื่องมาพูดกันหนอย เถอะ วายังงั้น มันไมมีรูปแลวมันก็พูดไมเปน จิตนั่นนะ ดวง วิญญาณนะ มันพูดไมเปน พูดไมออก ไมมีเสียง ถามีกอนอันนี้ มัน จึงออกเปนเสียงดังกองออกไป ดองอาศัยมันนั่นแหละ มนุษยเปนชาติอันสูงสุด ไดอัตภาพมาดีแลว พวกเราไมควร ประมาท ไมควรนอกใจในความเปนอยูของสังขาร วามันจะมั่นคง คงทนไปอีกเมื่อไร เราไมรู ถาปญญาไมฉลาด มัจจุราชคืบคลาน เขามา พระยามัจจุราชจะมาควาคอเราอยูแลว แนนอนทีเดียว ความตายไมตองสงสัย เปนแตตายกอนตายหลังกันเทานั้น ไม เลือกสักคน ผลที่สุดกลับเปนดินไปหมด อัตภาพวาเปนของเรา แลว เมื่อสิ้นลมหายใจแลวก็นอนทับแผนดิน เอาไปไมไดดวยซ้ำ เพราะจิตมันเปนบา มันหลง หลงรางกาย พอไดความ นอบนอมสรรเสริญก็ดีใจ ผูอื่นเขาติฉินนินทา ก็ยุบลง จิตไมรุเทา ตามความเป น จริ ง ของสั ง ขาร มั น จะได ค วามสุ ข มาจากไหน พระพุทธเจาทานสอนไว คนตาบอดยากที่จะบำบัดโรคตาบอดให มันตาแจง ก็มีอยูคือปญจกรรมฐาน กรรมฐาน ๕ พระพุทธเจาให นอมเขามาคนควากรรมฐาน ๕ นี้ เกศา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทันตา ฟน ตะโจ หนัง ตจ ปริยนฺโต หนังหุมอยูเปนที่สุดรอบ ปุโร นานัปปารัสสะ อสุจิโน เต็มไปดวยของไมสะอาด มีประการตาง ๆ นั่น นี่แหละ ลืมตาขึ้นมาใหมันเห็น แลวตั้งใจทำอยูอยางนั้น ไมใชทำวันเดียว เดือนหนึ่ง หรือปหนึ่ง ทำเอาตาย เอาชีวิตเปน แดน เรื่องทำความเพียร ถาดีแลวก็ไมเหลือวิสัย ความจะพนทุกข 40


อนาลโยวาท

มันมีนอย มีอยูในอัตภาพนี้แหละ ไมไดอยูที่อื่น จิตวางเทานั้น แหละ วางโมด ทุกสิ่งทุกอยางมันไมไดเกี่ยวของ ไมใชตัวตนของตน มันไม ยึด มันก็พนทุกข ก็มีสุข จิตอบรมดีแลว มันก็บริสุทธิ์ผุดผอง เปน จิตเลื่อมประภัสสร จึงเห็นชัดวาดีแลว จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตฝก ดีแลวนั้นนำเอาความสุขมาใหไมมีที่สิ้นสุด นี่เรามันตามืด ตามัว ตาบอด ตาขุน ตามัว มันไมเห็นหนทาง มันก็งม ๆ ไป ตกหลุมเสีย งูเหามันอยูในหลุมนั่น ตกลงไปงูเหากัดตาย อยูอยางนั้นไมมีที่สิ้น สุด เทียวเกิดเทียวตาย จงตั้งใจพิจารณา ธาตุกอนอันนี้แหละ พิจารณาเขา เปน ธาตุหรือ หรือสัตว หรือคน กอนนี้นะ หลอกลวงเรา กัดเรา ไมมี ความสุข เพราะเหตุนั้น หัวใจมันจึงขุนมัว เมื่อมันรูเทา มันปลอย วางแลว นั่นแหละจิตมันจึงจะลืมตาได เห็นความสวาง เหมือนกับ ดวงจันทร ถาถูกเมฆครอบงำแลว ก็มืด ไมเห็นฟา เห็นสิ่งทั้งปวง เมื่อกอนเมฆผานไป ลมตีไปแลว ไมมีอะไรปดบังดวงจันทรแลว ดวงจันทรก็แจมจา สวางไสว ฉันใด ทานผูมีความเพียร ฝกอยูจน เปนนิสัยของตนแลว เห็นตามความจริงของสังขารแลว วามีความ เกิดขึ้นในเบื้องตน มีความแปรปรวนในทามกลาง มีความแตก สลายไปในที่สุด ไมมีอะไรเปนสาระแกนสาร พอจิตวาง จะมีแต ความสวางไสว มันก็มีแตความสุข ไมมีอะไรจะเปรียบ เอาอะไรที่ เปนแกนสาร ไมมีอะไรที่จะเปนแกนสารแลว จิตมันก็ไมมีตนมีตัว เมื่อมันวาตนวางตัวแลว ก็เปนจิตที่บริสุทธิ์ผุดผอง ใหตั้งใจ 41


อนาลโยวาท

ทำความเพียร อยาไปนอนใจวาเราจะยืนไปอีกเทานั้นเทานี้ ไมมีรู กาลโนน กาลนี้ เวลาใดไมมี เวลามันตองเปนไปตามกรรม สุดแต กรรมจะเทไป

42


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๗ อริยทรัพย การเจ็บปวดเมื่อนั่งสมาธิ พระพุทธเจาวาใหสูกับมัน มันจึง จะเห็นทุกขเวทนา นั่งสมาธิมันเจ็บใหดูมัน มันเกิดมาจากไหน เวทนามันก็เวทนาตางหากไมมีตัว เราก็พิจารณาใหรูเทานั้นแหละ ของไมมีตนมีตัว มันเกิดขึ้นก็เกิดจากรางกายเนื้ออยางหนึ่ง แลวก็ มันรูสึกถึงจิต รูถึงกัน จิตก็ไปยึด ยึดมันก็เจ็บ หนักเขาก็ไมสูมัน ตองสูมัน มันจะเห็น พระพุทธเจาวากำหนดใหรูทุกข ทุกขมาจากไหน ทุกขมา จากเหตุ คืออยากเปน อยากมี ความอยากเปนอยากมี ความ อยากมันเกิดมาแตเหตุ เหตุมันเกิดมาจากไหน เหตุมาจากความ ไมรู ไมรูเทากาย จนกระทั่งความคิดทั้งหลายเขามามันก็ไมรูทั้งนั้น คือมันโง เรียกวาอวิชชา เปนเหตุใหสัตวผูไมรูเทาเกิดความยินดียินราย เกิดความพอใจ ไมพอใจ เกิดความอยากเปนอยากมี เปนเหตุให วนเวียนเรียกวาสังสารจักรวัฏฏกา เวียนอยูอยางนั้น เปนเหตุให เราเวียนเกิดเวียนตายอยูในภพนอยภพใหญ กรรมดีเหมือนพวกคุณหมอก็ดี ไมเจอะทุกขปานใด เกิดมา ไมเสียชาติเกิดเปนมนุษย มิหนำไดเกิดมาพบโอวาทคำสอนของ 43


อนาลโยวาท

พระพุทธเจา เกิดมาในปฏิรูปประเทศ ประเทศอันสมควร คือ ประเทศมีพระพุทธศาสนา ประเทศมีนักปราชญอาจารยเพื่อน แนะนำสั่งสอน ประเทศอยางนี้ พระพุทธเจาทานวาเปนมงคล พวกทานทั้งหลาย ทานเปนผูไมประมาท อตฺตสมฺนา ปณิธิ ผูตั้งตนไวในที่ชอบ อาชีพเลี้ยงชีพภายนอกดีโดยชอบธรรม โอวาทคำสั่งสอนก็ไมประมาททุกสิ่งทุกอยาง มีการจำแนกแจก ทาน มีการสดับรับฟง แลวก็ปฏิบัติตามดำเนินตามโอวาทคำสั่ง สอนของพระพุทธเจา ธรรมทั้งหลายมีกายกับใจเทานั้นแหละ ธรรมทั้งหลายมีใจ เปนหัวหนา ใจที่มันรูเทาแลวก็มีความหนายตอสิ่งทั้งปวง ทาง ความชั่วมันก็รูเทา แลวมันก็เอาอยูนั่นแหละ ไปยึดภพนอยภพ ใหญอยูนั่นแหละ พวกเรายังนับวาไมเสียที แมยังไมมีความเบื่อ หนายก็ยังเปนผูฉลาด เปนผูเอาทรัพยสมบัติ คืออริยทรัพยใหได ใหเกิดใหมีอยูในหมูของตน อยูในสันดานของตนสะสมไว อัตภาพรางกายเปนของไมมีสาระแกนสาร ทรัพยภายนอก ก็ไมมีสาระแกนสาร ชีวิตของพวกเรา ความเปนอยูก็ไมมีสารแกน สาร เรามาพิจารณารูอยางนี้แลว เราเปนผูไมประมาท รีบเรง ทำคุณงามความดีประกอบขึ้น รีบเรงสะสมอริยทรัพย ศีลของเรา ก็บริบูรณไมมีดางพรอย ตามภาวะของตน ศีล ๕ ศีล ๘ เดี๋ยวนี้ 44


อนาลโยวาท

พวกทานกำลังอบรมสมาธิ กำลังจะเอาทรัพยอันนี้ เรียกวาอริย ทรัพย ศีลก็เปนอริยทรัพยอันหนึ่ง สมาธิก็เปนอริยทรัพย หมั่นอบรมจิตใจ ปญญาก็เปนอริยทรัพย หมั่นอบรมจิตใจ เวลาเราเขาสมาธิ จงใหสติประจำใจ กำหนดสติใหแมนยำ รักษา จิตใจของเราใหอยูกับที่ และใหจิตใจปลอยวางทุกสิ่งทุกอยาง กิจการงานของเราเคยทำมาอยางไรก็ดี เวลาเขาที่ใหปลอยวางให หมด ความรัก ความชัง อดีต อนาคต วางปลอยวาง ไมใหเอาใจ ใสเรื่องนั้นๆ ใหมีสติประจำ ไมใหมันไปตามอารมณเหลานั้น ครั้นควบคุมสติไดแลว จิตมันอยูคงที่แลว อยูกับกายของตน แลว ใหมันเห็นกายของตนนั่นแหละ สิ่งอื่นอยาใหมันมาเปน อารมณของใจ ครั้นจะเพงเอาอารมณ ก็ตองเพงเอาอัตภาพสกนธ กายของตนนี้ ใหมันเห็น มันกรรมฐาน ๕ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง พระพุทธเจาแจกไวหมดแลว ไมใชคน ไมใชคน แตไปยึดถือมัน ผมไมใชคน ขนไมใชคน เล็บไมใชคน เราจะมาถือวา ตัววาตนอยางไรละ ฟนก็ไมใชคน ฟนมันตองเจ็บตองคลอน ตองโยก ตองหลุด อันนี้มันไมใชของใคร สิ่งเหลานี้เปนของกลางสำหรับใหเราใช เราตองหมายเอาใจ ไวเสียกอน แทที่จริงก็ไมใชของเราอีกนั่นแหละ ถาใจเปนของเรา 45


อนาลโยวาท

แลว เราบอกวาเราบังคับคงจะได อันนี้ไมอยูในบังคับบัญชาของ ใคร แลวแตมันจะไป ถึงคราวมันจะเปนมันถือกำเนิดขึ้น มันยังไง มันก็ไมพัง จะตีมันก็ไมพังอีกแหละ เพราะเหตุนั้นมันจึงไมใชตัวไมใชตน เราตองรูเทามัน เวลา เราภาวนา อยาใหมันอะไรเขามาเปนอารมณนอกจากสังขารตัวนี้ มันก็ใหเห็นเปนอนิจจัง ใหเห็นไตรลักษณ ผม ขน เล็บ หนัง ฟน กระดูก เห็นเปนไตรลักษณ แลวก็ใหเห็นเปนปฏิกูลสัญญาของ โสโครกนาเกลียด ใหเห็นมันเปนอนัตตา ไมใชเรา แลวก็ไมใชจริงๆ ผม ขน เล็บ หนัง ฟน กระดูก ไต หัวใจ ตับ มาม พังผืด อาหารใหม อาหารเกา มันไมใชเราทั้งนั้น ถาแจก ออกไปไมตองไปยึดถือนะ ไมใชนะ พระพุทธเจาวา เรายังไมยึดถือวาผมของเรา ขนของเรา เล็บของเรา ฟน ของเรา อันนั้นแหละหาม บางทีจิตของเราใจของเราถูกกับอัน หนึ่งอันใด ก็เอาอันเดียวเทานั้นแหละพระพุทธเจาแจกไว แตวา จริตของคนนิสัยของคน มันถูกอันไหนก็เอาอันนั้นแหละ จิตมัน หยุดจิตมันสงบกับพุทโธ จิตใจกับพุทโธ มันก็อยูกับพุทโธ อาตมามันถูกกับพุทโธ ตั้งใจเอาไว ปลอยทุกสิ่งทุกอยาง กำหนดเอาสติรักษาใจไว เอาพุทโธไมเผลอสติ ใหเห็นพุทโธตั้งอยู 46


อนาลโยวาท

กลางใจนี้ ไมสบายเลยหาย อาตมานิสัยถูกกับพุทโธ บริกรรมอัฐิ กระดูก บางทีมันก็ถูก ถูกมันก็ปรากฏเห็นกระดูกหมดทั้งสกนธ กาย พระพุทธเจาตองการใหจิตมันเห็นจิต มันไมเห็นใหบริกรรม ใหเห็น ตองการใหมันเบื่อหนาย ใหมันเห็นวาไมใชตน สิ่งเหลานี้ ธาตุทั้ง ๑๘ ก็ดี ลวนตกอยูในไตรลักษณทั้งนั้น อายตนะก็ดีตกอยู ในไตรลักษณหมดทั้งนั้น เรามาสำคัญวาหู วาจมูก วาตา วาลิ้น วากาย วาใจเปนของเรา เปนเหตุใหยึดมั่นถือมั่น นั่งก็ใหมีความ เจ็บ เจ็บบั้นเอว ปวดหลัง ปวดเอว ปวดขาอะไรนั้น สมาธิก็ตอง ออก ทานจึงใหสูมัน ไมตองหลบมัน เราจะสูขาศึกก็ตองอยางนั้น แหละ ตองมีขันติความอดทน ทนสูกับความเจ็บปวดทุกขเวทนา ดู มัน จิตมันถูกอันใดอันหนึ่ง เมื่อเราสกัดกั้นไมใหมันแสสายไปตามอารมณภายนอก มีรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เปนตน เรียกวากามคุณ ๕ ไมใหไปจดจอ อยูกับสิ่งเหลานั้นแลว มันจะอยูที่ มันก็วางอารมณ ไมมีอารมณ เขามาคลุกคลีดวงจิตแลว จิตตั้งมั่นเรียกวาจิตวาง ไมมีอะไรมา พลุกพลาน เหมือนกันกับน้ำในขัน หรือน้ำอยูที่ไหนก็ตาม เมื่อมัน ไมกระเพื่อมแลวมันนิ่ง ก็เห็นสิ่งทั้งปวงอยูในกนขัน ตองเห็น เห็น อันนี้ เห็นแลวเราตองสละปลอยวาง มันจะเห็นโลภะ โทสะ โมหะ ราคะ 47


อนาลโยวาท

เรามี เราจะไดพยายามละถอนสิ่งเหลานี้ออก ปลอยจิตวาง แลวจิตสบาย เพราะจิตเปนหนึ่ง ไมขุนมัว เพราะไมมีอารมณมา ฉาบทาดวงจิตแลว ดวงจิตใส ดวงจิตขาว จิตก็เย็น มีแตความ สบาย มีความสุขรูเทาสังขาร รูเทาสิ่งทั้งปวง รูเทาความเปนจริง แลว เกิดอันใดอันหนึ่งก็ดี หรือไมก็ครบรอบก็ดี เมื่อพิจารณาอัน ใดอันหนึ่งแลว จิตของเราไมมีความหวั่นไหวตอสิ่งทั้งปวง ถึงมรณะ จะมาถึงก็ตาม ทุกขเวทนาเจ็บปวดมาถึงก็ตาม ไมมีความหวั่นไหว ตอสิ่งเหลานั้น เมื่อรูเทาความเปนจริงแลว ความติฉินนินทาก็ตาม ไมมี ความหวั่นไหวตอสิ่งเหลานั้น เสื่อมลาภก็ตาม เสื่อมยศก็ตาม เสื่อมสรรเสริญรักชอบก็ตาม ไมเอาใจใสเอามาเปนอารมณ มันก็ มีความสุขเทานั้น จะหาความสุขใสตนก็มีแตฝกฝนทรมานตนนั่นแหละ พระพุทธเจาทานวา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํ ใหทรมานจิตฟอกฝนจิตของเรา ฝนจิตใหมันวาง ใหมันรูเทาความ เปนจริง ไมยึดมั่นถือมั่น จิตนั่นแหละจะทำประโยชนมาใหในชาติ นี้ คือนำความสุข คือนิพพานมาให หรือจิตเรายังไมพน ก็จะนำ 48


อนาลโยวาท

สวรรคมาให นำเอาความสุขมาใหตราบเทาตลอดเวลา ตราบเทา ชีวิต แลวมีสติคติโลกสวรรคเปนที่ไป

49


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๘ กรรมกับจิต

อยาใหมีความประมาท จงพากันสรางคุณงามความดี มีการ ใหทาน มีการรักษาศีลของฆราวาส พวกฆราวาสก็ดี ใหถือศีลหา ศีลแปด วันเจ็ดค่ำ แปดค่ำ สิบสี่ค่ำ สิบหาค่ำ เดือนหนึ่งมีสี่หน อยาใหขาด ใหมีความตั้งใจ เรื่องเขาวัดฟงธรรม รักษาศีล ภาวนา อันนี้เปนทรัพยภายในของเรา การรักษาศีลเปนสมบัติภายในของ เรา ควรใชปญญาพิจารณาคนควารางกาย ใหมันเห็นวา ความ จริงของมันตกอยูในไตรลักษณ ตกอยูในทุกขัง ตกอยูในอนิจจัง ตกอยูในอนัตตา มีความเกิดอยูในเบื้องตน มีความแปรไปใน ทามกลาง มีความแตกสลายไปในที่สุด อยางนี้แหละ อยาใหเรานอนใจ ใหสรางแตคุณงามความดี อยาไปสราง บาปอกุศล อยาไปกอกรรมกอเวรใสตน ผูอื่นไมไดสรางใหเรา คุณ งามความดีเราสรางของเราเอง ตนสรางใสตนเอง ผูอื่นบไดทำ ดอก เมื่อเราเปนบาป ก็เราเปนผูสรางบาปใสเราเอง ความดีก็ แมน เราใสเราเอง จึงไดเรียกกุศลกรรม อกุศลกรรม สัตวทั้งหลาย จะ หรือจะรายก็ดี จะเปนคนมั่งคั่งสมบูรณ หรือยากจนคนแคนก็ดี เปนเพราะกรรมดอก พระพุทธเจาวานั่นแหละ สัตวทั้งหลายเปน แตกรรม สัตวมีกรรมของตน เปนเพราะกรรมดอก กรรมเปนผู จำแนกแจกสัตวใหไดดีไดชั่วตาง ๆ กัน ครั้นเปนผูทำกรรมดี มัน ก็ไดความสุข ไปชาติหนาชาติใหมก็จะไดความสุข ผูทำความชั่ว 50


อนาลโยวาท

มันก็มีความทุกข มีอบายเปนที่ไป มีนรกเปนที่ไป กรรมเปนผู จำแนกไป ใหเกิดเปนมนุษย ใหเกิดเปนคนยากจน คนคนแคน มัน เปนเพราะกรรมของเขา ที่จะไปเกิดเปนผูมั่งคั่งสมบูรณมีความสุข เอง อยางนี้ไมมี นั่นแหละบาปมันเปนผูแจกใหไป ไปเกิดในแดน คนยากคนจน เหมือนกันนั่นแหละกับเขาไปหาเจานาย เราตองระวังปาน หยัง เขาไปเราตองทำอยางใด จะทำทาทางอยางใด จะพูดอยางไร ผูเขามาหาคนยากคนจน มันไมตองสนใจอะไร ไมตองมีทามีทาง มันไปเกิดอยูนั่นแหละ เราจะไปเกิดในที่ดีมันยากแลว บุญมันบถึง เขา เราตองทำเอา เกิดเปนมนุษยเปนสัตวอันสูงสุด ก็เปนเพราะ ปุพฺเพจกตปุฺญตา บุญหนหลังมาติดตามตนใหเกิดเปนผู สมบูรณบริบูรณ ครั้นเปนผูสมบูรณแลวก็ อตฺตสมฺมาปณิธิ ใหตั้ง ตนอยูในที่ชอบ อยาไปตั้งอยูในที่ชั่ว รักษาศีล ใหทาน หัดทำ สมาธิอยาใหขาด ศีลหาใหรักษาใหบริสุทธิ์บริบูรณ ศีลแปดให รักษา ใหพากันภาวนาอยู สมาธิมันไมมีที่อื่น ใหนั่งภาวนา พุทโธ ๆ ไมตองรองใหมันแรงดอก ใหมันอยูในใจซื่อ ๆ ดอก การภาวนา ก็เปนอริยทรัพยภายใน มันจะติดตามไปทุกภพทุกชาติ ติดไป สวรรค ลงมามนุษย มาตกอยูในที่มั่งคั่งสมบูรณบริบูรณ ไมยากไม จน ทรัพยอันนี้ติดตามไป บมีสูญหายดอก ตามไปจนสิ้นภพสิ้น ชาติ หรือจนเหนื่อยหนายตอความชั่ว เบื่อหนายไมมีความยินดี ไมอยากเกิดอีก ภาวนาไป ๆ ก็จะไปสูพระนิพพานตามเสด็จ 51


อนาลโยวาท

พระพุทธเจาเทานั้นแหละ ก็สบายเทานั้นแหละ คนเรามันมัก อยากมาเกิดอยูเสมอ ใหพากันตั้งใจ วันหนึ่ง ๆ เราจะนั่งภาวนา นั่งภาวนาก็ใหนั่ง ขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ดำรงสติ อยาปลอยใจ ใหตั้งสติอยูกับใจ ให เอาพุทโธเปนอารมณ ทีแรกวา พุทโธ ธัมโม สังโฆ , พุทโธ ธัมโม สังโฆ, พุทโธ ธัมโม สังโฆ สามหนแลว จึงเอาแตพุทโธอันเดียว ทำงานอะไรอยูก็ได พระพุทธเจาบอก ทำไดทุกอิริยาบถ ไดทั้งสี่ อิริยาบถ ยืนก็ได เดินก็ได นั่งก็ได นอนไมเปนทาดอก เอนลงไป เดี๋ยวก็เอาสักงีบเถอะ เดินนั่นแหละดี นั่งกับยืนก็ได ไดหมดทั้งสี่ อิริยาบถ พากันทำเอา ความมีอัตภาพนี่มันเปนทรัพยภายนอก เงินทองแกวแหวน บานชองเรือนชานตาง ๆ ที่หามาไดก็เปนทรัพยภายนอก ติดตาม เราไปไมไดดอก เมื่อตายแลวก็ทิ้งไว กายอันนี้เมื่อตายแลวก็นอน ทับถมแผนดินอยู ไมมีผูใดเก็บ กระดูกก็กระจายไป กระดูกหัวก็ไป อยูที่อื่น กระดูกแขนก็ไปอยูที่อื่น กระดูกขาก็ไปอยูที่อื่น กระดูก สันหลังก็ไปอยูที่อื่น กระจายไปเทานั้นแหละ เรามันกลัวตัณหาหลาย มันเชื่อตัณหาหลาย คนหนึ่ง ๆ มัน มีสองศาสนา ศาสนาหนึ่ง มันตัณหาสั่งสอน ศาสนาหนึ่ง เปน ศาสนาของพระพุทธเจา เรามันยึดถือตัณหานี่ ชอบกันนัก หมอนี่ มันก็บังคับเอา เราก็ยึดถือหมอนี่ มันสอนใหเราเอา ใหตีเอา ลัก เอา ฉกชิงวิ่งราวเอา มันสอนอยางนี้ ตัณหานะ 52


อนาลโยวาท

พระพุทธเจาวาใหทำมาหากินโดยชอบธรรม ใหเปนศีลเปน ธรรม อยาเบียดเบียนกัน มันไมอยากฟง มันเกลียด ตัณหานี่ มัน กลัวพระยามัจจุราช พระยามารก็ผูชวยมัน มันไมอยากใหเราไป ฟงอื่น ใหฟงมัน มันผูกใจเราไว ครั้นจะไปดำเนินตามทางของ พระพุทธเจา มันไมพอใจ พอจะรับศีล รับทำไม มันวา อยาไปรับ มัน อยาไปทำมัน นี่มันก็ถูกใจมันเทานั้นแหละ มันสอนนะ มัน ชอบอยางนั้น สวนธรรมะของพระพุทธเจา ครั้นอุตสาหทำไป ปฏิบัติดีแลว เราก็มีสุคติโลกสวรรคเปนที่ไป ทำความเพียรภาวนาหนัก ๆ เขา ก็ไดบรรลุพระนิพพาน กำจัดทุกข อันนี้ไมอยากไป ไมอยากฟง ไม เอา ไมชอบ เพราะฉะนั้นตองระวังตัณหา กิเลสที่มันชักจูงใจเรา ไมใหทำความดี อยาไปเชื่อมัน พยายามฝกหัดขัดเกลาจิตใจใหอยู ในศีลในธรรม พระพุ ท ธเจ า ว า ให เ ป น ผู  ห มั ่ น ขยั น ในทางที ่ ช อบ ไม เบียดเบียนผูอื่น แมนในหนาที่ของตน เปนความบริสุทธิ์ ผูขยัน หมั่นเพียรนั่นแหละจะเปนเจาของทรัพย เปนผูมั่งคั่งสมบูรณ มิใช วาจะรักษาศีลภาวนาแลวเฮ็ดหยังบได มันบแมน นั่นมันความเห็น ผิดไป พระพุทธเจาวาใหขยันหมั่นเพียร อะไรที่ชอบธรรมก็ทำได กลางคืนจนแจงก็ทำไป กลางวันก็ทำไดหมดตลอดวัน ทำไร ทำ สวน ทำนา ใหทำสุจริต ไมเบียดเบียนใครเทานั้น เพราะพระพุทธเจาใหหยุด ไมใหเบียดเบียนกัน ทำใจให สะอาด วาจาใหสะอาด กายใหสะอาด อยาใหสกปรก ทำใจให 53


อนาลโยวาท

สะอาด คือใหหมั่นภาวนา ใหเอาพุทโธนั่นแหละเปนอารมณของ ใจ ใหตั้งสติทำไป ๆ ใจมันจะสงบสะอาดและผุดผอง มนสาเจ ป สนฺเนน ภาสติวา กโรติวา ตโตนํ สุขมเนวติ ครั้นผูชำระจิตใจ ของตนใหผองแผวสดใสแลว แมจะพูดอยูก็ตาม ทำการงานอยู ก็ตาม ความสุขนั้นยอมติดตามเขาไป มนสาเจ ปทุDเฐน ภาสติ วา กโรติวา ตโตนํ ทุกฺขมเนวติ จกฺกํ วหโตปทํ ครั้นบุคคลมี ใจขุนมัววุนวาย มีใจเศราหมอง ใจมืด ใจดำอำมหิตแลว แมจะพูด อยู ความทุกขยอมครอบงำมันอยูอยางนั้น แมจะทำอยู ความ ทุกขก็เปนอยูอยางนั้น ทานเปรียบวา เหมือนลอที่ตามรอยเทาโค ไป ความทุกขฺตามบุคคลไปอยูอยางนั้น คนไมรักษาใจ คนทำแต ความชั่ว ก็มีแตความทุกขนำไปอยูอยางนั้น พากันทำภาวนาไป วันหนึ่ง ๆ อยาใหขาด อยาใหมันเสีย เวลาไป ภาวนาไป ชั่วโมงหรือยี่สิบ สามสิบนาที อยาใหมันขาด อาศัยอบรมจิตใจของตน ทำมันไป ขัดเกลาใจของตน ใจมันมีโลภ ะ โทสะ โมหะเขาครอบคลุม ใจจึงเศราหมอง ธรรมชาติจิตเดิมแทนั้น เปนธรรมชาติผองใส ปภสฺสรมิตํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตฺจโข อาคนฺตุเกหิ อุปฺกิเลเสหิ อุปฺกกิลิDฐํ ธรรมชาติจิตเดิมเปนของเลื่อมประภัสสร เปนของใสสะอาด แต มันอาศัยอาคันตุกะกิเลสเขาครอบงำย่ำยี ทำใหจิตเศราหมองขุน มัวไป เพราะฉะนั้นใหพากันทำ อยาประมาท อยาใหมันเสียชาติ อยาใหมันโศกเศราเปนทุกข มนุสฺสปฏิลาโภ ความไดเกิดเปน 54


อนาลโยวาท

มนุษยเปนลาภอันประเสริฐ ใหพากันทำ อยาใหมันเสียไป วันคืน เดือนปลวงไป ๆ อยาใหมันลวงไปเปลา ประโยชนภายนอกก็ทำ ประโยชน ข องตนนั ่ น แหละมั น สำคั ญ พระพุ ท ธเจ า ว า ให ท ำ ประโยชนของตนเสียกอน แลวจึงคอยทำประโยชนอื่น

55


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๙ เทศนในงานทำบุญอายุ ๖๐ ป นายแพทย g

อวย เกตุสิงห (๓ กันยายน ๒๕๑๑)

การทำงานครั้งนี้ก็ยาก นอยคนที่สามารถจะทำได พระ เถรานุเถระที่อยูกันคนละแหงหน ตางองคตางมา ยากที่จะมารวม กันได นี่ก็เพราะบุญวาสนาบารมีของคุณหมอ เปนผูมีธรรมอยูใน ตน มีความดีอยูในตน จึงสำเร็จเสร็จสรรพลงได อีกอยางหนึ่ง ก็ เพราะความเปนสามัคคีอันหนึ่งอันเดียวกันของพวกญาติพวกมิตร ทั้งหลาย ดวยอำนาจบุญของคุณหมอที่มีความดีในตน อัตถ ประโยชน ประโยชนของตน ทำใหมีสมบูรณบริบูรณ ญาตัตถ ประโยชน ประโยชน ข องญาติ ก ็ ไ ด ท ำ โลกั ต ถประโยชน ประโยชนของโลก ประโยชน ๓ อยางนี้ไดบริบูรณแลว มีกำลัง แลว เปนผูดีมีคนนับหนาถือตา เพราะเปนผูมีอุปการคุณ และเปน ผูมีศรัทธาทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา พระกรรมฐานทั้งหลายจึงมี ความยินดี แมอยูที่ไหนก็มีความยินดีมา เพราะความเปนสามัคคี อันหนึ่งอันเดียวกันนั่นเอง พระพุทธเจาทานแสดงวา สามัคคี สมคฺคานํ ตโป สุโข ทำงานใหญโตปานนี้นากนักที่จะทำสำเร็จได ตองอาศัยสามัคคีกัน ทำใหสำเร็จได ทั้งญาติมิตรเปนสามัคคีกัน พรอมเพรียงกันจึงสำเร็จไดโดยเรียบรอยเปนการดี

56


อนาลโยวาท

เรื่องธรรมะธัมโม ทานก็เทศนอยูหลายองคแลว สามองคสี่ องคแลว เรื่องธรรม พวกกรรมฐาน พวกปาพวกดง พูดเขามาที่นี่ ไมไดอยูที่อื่น พูดเขามาที่สกนธกายของตนนี่แหละ กาย จิต พูด เขามาที่นี่ มาพิจารณาอัตภาพรางกายนี้ มันเห็นวารางที่อาศัยอยู นี่ ไดรางอันนี้มาเพราะ ปุพเพกตปุญญตา คือบุญกุศลของเราที่ ไดสรางสมอบรมมาหลายภพหลายชาติ บำเพ็ญคุณงามความดีมา จึงไดสมบัติอันนี้ดี เรียกวา อัตสมบัติ สมบั ต ิ อ ั น นี ้ เ ป น ของหายาก เมื ่ อ ได ม าแล ว ให เ ป น ผู  ไ ม ประมาท พึงระลึกวาสมบัตินี้เอามาใชชั่วคราว เอามาใชชั่วคราว สมบัติอันนี้ เดี๋ยวก็เปอยพังทลายเปนดิน เปนน้ำ เปนลม เปนไฟ ของเกามัน แลวก็หาเอาอีก เหมือนกันกับบานคุณหมออยางนั้น ที่แรกไมดี ที่นี้ไมสูดี เอาใหม เอาใหมก็มีสมบัติทำเอาใหม ทำเอาดี ปานไหนก็ได เปนปราสาทสามชั้นสี่ชั้นก็ได เพราะเรามีสมบัติ สมบัติอันนี้คือบุญกุศล คือคุณงามความดี มีการรักษาศีลอยาง สมบูรณ ศีลสมบัติ ศีลเปนสมบัติอันหนึ่ง เปนสิริมงคล เปนความ งามอันหนึ่ง สมาธิสมบัติ ทำจิตของเราใหแนวใหแนอยูกับที่ ไม ใหออกไปตามอารมณภายนอก ใหอยูกับที่ ใหสงบอยูกับที่ ปญญาสมบัติ ความรูเทา พิจารณาใหรูเทาตอสังขารรางกาย ความเปนจริงของมัน อาศัย ไตรลักษณ คือ ๓ อยาง เรียกวา อนิจลักษณ ทุกขลักษณ อนัตลักษณ ลักษณะทั้ง ๓ อยางนี้ มี เสมอกันหมดทุกตัวสัตว บรรดาสัตวทีมีวิญญาณ มีความเกิดขึ้น 57


อนาลโยวาท

เปนเบื้องตน มีความแปรปรวนในเบื้องกลาง มีความสลายลงไป ในที่สุด ป ญ ญาให พ ิ จ ารณาให ร ู  เ ท า ว า เป น เครื ่ อ งอาศั ย กั น อยู  ชั่วคราว เราจะเปนผูไมประมาท รีบเรงทำ รีบเรงเอาสมบัติ ภายใน คือเอาอัตภาพนี้ รีบเรงทำคุณงามความดี ทรัพยภายในนี้ จะติดตามเราไป ถาเรายังไมมีความเบื่อหนายในสังสารจักร การ ทองเที่ยว เราจากไป เราจะไดมีสุคติอยางเดียว ทุคติไมมี ทานแสดงวาธรรมมี ๓ อยาง กุศลาธรรม อกุศลาธรรม อพยากตาธรรมา ธรรม ๓ อยาง อพยากตธรรม หมายความวา ความเปนกลาง ไมดีไมชั่ว ไมมีความดี ไมมีความชั่ว หมายเอาจิตอันนั้นสูงแลว กุศลาธรรม คือกุศลธรรม อันมนุษยสรางอยูในโลกนี้ ทุกสิ่งทุกอยางเรียกวา กุศลาธรรม คือคุณความดี กุศล ความฉลาด คุณหมอเปนผูฉลาด สามารถจะเอาทรัพยอันใดที่เปนแกนสาร ทรัพยอันใดที่ไมมีสาระ แกนสาร คืออัตภาพ ทำใหมันเปนแกนสารเอากับมัน เอากำไรกับ มัน ทำกำไรกับมัน ไดแลวเรงอบรมจิตใจของเราใหดีแลว อัตภาพ มันจะเปนอยางไรก็ตามมัน มันมีความแก มีความเจ็บ ความตาย เปนธรรมดาของมัน แลวก็ไมมีความหวาดหวั่น หวั่นไหวตอมัน เพราะรูเทามัน รีบพากันทำเอาเสีย ทานวาแสดงธรรมไมมีอยูที่อื่นนี่แหละ กอนธรรมทั้งหมด ทั้ง กอนนี่แหละ สกนธกายของเรานี่แหละ มีอยูนี่แหละ กายเรียกวา 58


อนาลโยวาท

รูปธรรม นามธรรมคือความรูสึกเปนสุข เปนทุกข ความจำ ความ หมาย ความปรุง ความแตง อยางใดอยางหนึ่ง ความรูทางทวาร ทั้งหมด เรียกวาวิญญาณ รวมเปนหมดทั้งรูป ก็เรียกวารูปธรรม ความรูทั้งหมด เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เรียกวา นามธรรม มีอยูสำหรับในโลกนี้ แตวาเปนของไมเที่ยง ไมแนนอน พระพุทธเจาจึงแสดงวา สัพเพสังขารา อนิจจาติ ยทา ปญญาย ปสสติ อถ นิพพินทติ ทุกเข เอสะ มัคคโค สิสทธิยา ผูมีปญญาใครครวญพิจารณาเห็นอัตภาพรางกาย เชน มนุษย ก็ตาม สัตวเดรัจฉานอะไรก็ตาม มาพิจารณาเห็นเปนของไม แนนอน วาเปนของไมเที่ยง เปนของเปนทุกข เมื่อพิจารณาเห็น ดวยปญญา อันนี้เรียกวาเปนทางหมดจดของผูนั้น เปนทาง บริสุทธิ์ของผูนั้น สัพเพ สังขารา ทุกขยาติ ยหา ปญญาย ปสสติ อถนิพพิ นทติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา สังขารรางกายมาเห็นเปน ทุกข ใหพิจารณาธรรมอันนี้ คือสกนธกายอันนี้ เปนทุกข ยอมมี ความเบื่อหนายตอสังขารที่เปนอยู สัพเพธัมมา อนัตตาติ ยทา ปญญาย ปสสติ อถ นิพพิ นทติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา ธรรมทั้งหลายไมใชสัตวไมใช บุ ค คล คื อ สกนธ ก ายของเรานี ่ แ หละ ไม ใ ช ต ั ว ไม ใ ช ต น พระพุทธเจาแสดงไวงาย ๆ ไมลึกซึ้งซับซอน เปดเผยวาธรรมะ ของพระพุทธเจา เหมือนกันกับภาชนะที่คว่ำอยู พระพุทธเจาเปน 59


อนาลโยวาท

ผูเปดขึ้นใหเห็นสิ่งทั้งหลายทั้งปวงอันนั้น ๆ เหมือนอยูในที่มืด พระพุทธเจาเปนผูจุดตะเกียงใหคนอื่นเห็นของเห็นสิ่งทั้งปวง ทาน แสดงใหเห็นอันนี้ ไมไดแสดงใหเห็นออกไปนอกสกนธกายนี้ เห็น จิตเห็นใจของตนนี้มันเปนยังไง สอนใหมันมีสติ มีสัมปชัญญะ สติ ความระลึกอยูกับกายนี้ สติความระลึกผูกพันอยูกับใจนี้ ใหมันรู กำหนดเขามาพิจารณา จะรูจะเห็น อกาลิโก ไมตองอางกาลอางเวลา ถามีสติกำหนดเขามา จะ รูทุกเวลาวา จิตของเรามีราคะไหม หรือหายแลวไมมี ก็จะรู จำเพาะตนนี้ ดูโทสะมีอยู หรือหายโทสะแลว ดูโมหะ ความโง ความเขลา ความหลง ยังมีอยูก็จะรู หรือจิตของเรามันหายโทสะ หายโมหะแลวก็จะรู พระพุทธองคจึงใหพิจารณาเขามาใหเห็น เห็นอันนี้ เรียกวาเห็นธรรม จิตของตนเปนอยางไร จิตของตนเปน กุศล มีเมตตา มีวิหารธรรมเปนเครื่องอยู หรือมันยังมีราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำอยูก็จะรู รูแลวจะไดแกไขตัวมัน รีบปลดเปลื้องออก ไป รีบเรงทำความเพียร ขับไลสิ่งที่เศราหมอง คือ ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ ใหมันเบาบางไป ออกจากขันธสันดาน ดวงจิตบริสุทธิ์ผุดผอง ทำใหคนบริสุทธิ์ ทำใหคนมีสิริ ใหมี โภคทรัพย ก็เพราะคนเปนผูทำคุณงามความดี มีศีล ศีลที่บริบูรณ แลวยอมเปนที่มาแหงโภคทรัพย จิตดีบริสุทธิ์แลว จิตไมมีอิจฉา พยาบาทเบียดเบียนแลว จิตอันนั้นแหละก็เปนที่มาแหงโภคทรัพย ปญญาเปนผูรูเทาสิ่งทั้งปวงแลววา สิ่งทั้งปวงมีความเกิดขึ้น มี ความสลายไป รูเทาอยางนี้แลวไมมีความเสียอกเสียใจ โภคทรัพย 60


อนาลโยวาท

ภายนอกมันมีขึ้น แลวมันเกิดวิบัติไป ก็ไมมีความเสียอกเสียใจ หรือมีเพื่อนยากคูทุกขคูยากจะตองพลัดพรากจากไป ก็จะไมมี ความทุกขและเสียใจ เพราะรูเทาอัตภาพรางกาย สัตวทั้งหลายเกิดมาในโลกนี้ มีแตบายหนาไป บายหนาไป หาความแตกดับเปนธรรมดาของมันอยูอยางนี้ อันที่จริงมันไมใช ตาย พระพุทธเจาวามันตายเลน ไมใชตายจริง ตายแลวมันกลับ กอขึ้นอีก มันบังเกิดอีก เพราะความอาลัยอาวรณผิด เหมือนพวก คุณหมอ คุณหญิงก็ดี เดี๋ยวนี้อัตภาพรางกายมาอยูที่นี่ ที่ถ้ำกลอง เพล พอออกจากที่นี่จะไปไหนละ เพราะใจ ดวงใจมันไปจดจออยูที่ กรุงเทพฯ ที่อยูของตนอยูที่ไหน ตองไปจดจออยูที่นั่น สัตวตาย แลวเกิดที่ไหน พระพุทธองคไมทรงพยากรณ เพราะการทำความดี ความชั่วอยู มันเปนเพราะกรรม กรรมเปนของ ๆ ตน กรรมดีให ผลตอบแทน คือความดี ความพอใจ กรรมไมดีใหผลตอบแทนคือ ความไมดี ความไมพอใจ มันเปนสมบัติของสัตว ชาตินี้ยังอาลัย อยูกับสิ่งทั้งปวงแลว คิดดูใจเราเดี๋ยวนี้แหละ เดี๋ยวนี้จดจออยู กรุงเทพฯ ตายไปเกิดที่ไหนละ เกิดกรุงเทพฯ มนุษยถือผี ถือนั่น ถือเทพ บวงสรวงอยางนั้นอยางนี้ เอาอันนั้นเปนสรณะที่พึ่งก็ เหมือนกัน มันเคยแตไหว เคยแตพึ่งอันนั้น มันตายจากนั่นมัน เอาแตนั่นเปนชาติ ชาติอันนั้นมันตองเปน ชาติของเขาอยูอยาง นั้น จิตเราไปจดจออยูที่ไหน มันก็ไปเกิดที่นั่นแหละ อยูที่บานมันก็ ไปเกิดอยูที่บาน 61


อนาลโยวาท

เพราะเหตุนั้นแหละ พระพุทธเจาจึงแนะนำสั่งสอนเทศนา อบรมจิตใจ อยาใหมันไปเกี่ยวของในอารมณ บานชองที่บานที่อยู ที่ทำการทำงาน ทำ ๆ ไป แตไมใหจิตไปเกี่ยวของ ใหจิตอยูกับจิต ใหจิตมันรูเทาอยูกับจิต กายนี่ก็ไมใชของตน มันแตกมันดับไปแลว มันไปกอภพใหม ชาติใหม ดวงจิตดวงเดียวนี่แหละมันไปกอ จิตนี่แหละเดิมมัน ผองแผว แตอาศัยมันไมรูเทาอารมณ อาศัยอาคันตุกกิเลส คือ รูป เสียง กลิ่น รส เครื่องสัมผัสทั้งหลาย เอาเขามาฉาบมาทาแลว ทำ จิตใจของเราใหเศราหมองขุนมัวไป จิตเดิมเลยกลายเปนตัว อวิชชา ความโงความเขลาไป ไมรูเทาตามความเปนจริง ไมรูเทา สังขาร ยึดถือ เมื่อสิ่งทั้งปวงวิบัติไปแลว ก็มีความโศกเศราอาลัย ผูกพัน สิ่งที่ไมพอใจมาประสบพบกัน มาประชุมรวมกัน ประสบ อันนี้ก็เปนเหตุใหเกิดความคับแคน เปนเหตุใหเกิดทุกขโทมนัส ความคับแคน เห็นสิ่งที่พอกพอใจพลัดพรากไป ไมมารวม ไม ประชุมรวม นี่ก็เปนเหตุใหเกิดความโศกเศราความอาลัยอาวรณ ถึงกัน เรื่องของสังขารมันเปนอยางนั้น จึงใหพิจารณาใหรูเทา เกิดเปนรูป เปนนามลวนแตของไมเปนสาระแกนสารหมดทั้งนั้น รู เทาแลวถึงสิ่งทั้งหลาย มันจะเปนอยางไรก็ตาม ไมมีความหวั่นไหว แลวยอมผองใส จิตไมเศราโศก จิตผองใส จิตเบิกบาน จิตเยือก เย็น จิตเยือกเย็นแลวสิ่งทั้งปวงมารวมหมด ภายนอก วัตถุขาว ของเงินทอง แกวแหวนเงินทองอะไรก็มารวมหมด มาอาศัย พุทโธ ผูรู 62


อนาลโยวาท

พุทโธมีอยูทุกรูปทุกนาม พุทโธ คือผูรู สัมปชัญญะ คือ ผู ตื่นอยู ผิดหรือชอบ ตื่นขึ้น สัมปชัญญะเปนผูตัดสิน เราทำผิด หรือเราพูดผิด คิดผิด ไมถูก สัมปชัญญะเปนผูรู สติเปนผูระลึกขึ้น พอระลึกแลว สัมปชัญญะวา “ถูก” เราทำถูก พูดถูก คิดถูก นั่น แหละ รูเห็นตนอยูอยางนั้น จิตจะไดเบิกบานแชมชื่นเบิกบาน จิต เบิกบานแลว ไมมีความโศกเศรา ไมมีความเสียใจ ไมมีความเดือด รอนวุนวาย ไมมีความทุกขกาย ไมมีความเสียใจ สบาย ครั้นเย็น แลว สิ่งทั้งปวงภายนอกยอมไหลเขามา เงินทองมาพึ่ง มาพึ่งพุทโธ หมด มาพึ่งธัมโม มาพึ่งสังโฆหมด เดี๋ยวนี้เราถึงพระพุทธเจาอยางไร ถึงพระธรรมอยางไร ถึง พระสงฆอยางไร ใหมาพิจารณาถึงกายของตน จิตใจของตน ถึง พระพุทธเจา หมายความวาใจเบิกบาน ใจรูเทาตอสิ่งทั้งปวง ไมมี ความดิ้นรนตอสิ่งที่ไมพอใจ สิ่งที่พอใจก็ไมมีความฟูขึ้นไปตาม อารมณ เรียกวาพุทโธ เปนผูรูยิ่ง ธรรมไมใชอยูที่อื่น ใหพิจารณา เอา พิจารณาเห็นตามความเปนจริงแลว นี่เรียก พุทโธ พุทโธเปน ผูเห็น พุทโธเปนผูเบิกบาน เปนผูตื่นแลว ไมมีความเศราโศก ไมมี ความอาลัย ธัมโมคือแสงสวาง เมื่อจิตสงบแลว นั่นแหละมีความ สวางไสวขึ้นมาในดวงจิต จิตสงบลงไป แนวแนลงไป มีความ สวางไสวขึ้นมา ทำใหเราเห็นสิ่งทั้งปวง เห็นอัตภาพสกนธกายของ ตนชัดเจนขึ้นไป เห็นธัมโม สวางขึ้น เห็นวา โอ แมนจริง ๆ พระพุทธองควาอัตภาพเปนของกลาง ใครฉลาดใชมันก็ไดใช มันดี เอากำไรกับมัน ซื้อบุญกุศลคุณงามความดีไว ใครเปนผูโง 63


อนาลโยวาท

เขลา ไมก็เปนผูประมาทไปยึดถือ ไมรีบเรงบำเพ็ญคุณงามความดี ใสตนไว ก็ไมไดอะไรกับมัน เสียสมบัติดี ปลอยใหมันแกเฒามัน ตายไป อันนี้เรียกวาเปนผูไมฉลาด ก็เพราะรูไมเทามัน มายึดถือ เปนตนเปนตัว ก็เปนเหตุใหทำสิ่งที่ไมดี ทางกายก็ไมดี วาจาก็ไมมี ใจก็ไมดี ไมมีเมตตากรุณาตอเพื่อมนุษยและสัตวทั้งหลาย ไดชื่อวา เสียสมบัติ อันนี้พระพุทธเจาก็วาอยู กิจโฉ มนุสสปฏิลาโภ การที่ได อัตภาพเปนมนุษยเปนลาภใหญ เกิดมาชาติหนึ่ง ๆ แสนทุกขแสน ยากแสนลำบาก เราไดมาแลว เราเปนผูไมประมาท รีบเรงเอา ทรัพยภายในไวเสีย ความไดอัตภาพมาเปนมนุษยเปนลาภอัน สำคัญ มนุษยเปนชาติอันสูงสุด เปนสัตวใจสูง มีเมตตาซึ่งกันแล กัน ไดสมบัติมาดีแลวก็รีบเอามัน รับทำเอาเสีย อบรมบมอินทรีย ใหมันแกกลา แกกลามันสุก สุกมันก็ดี หมากไมมันสุกมันก็หวาน ไมใชสุกแกมดิบ นอกจากอัตภาพรางกายของเราแลวสิ่งอื่นไมมี เรื่องนอกธรรม เรื่องขางนอกกวางขวาง ตองเขามาพิจารณาแต กายกับใจของเราเทานั้น อันนี้ไดชื่อวาเขามาใกลแลว ใกลเขามา ทุกที ใกลทางพระนิพพาน เปนผูอยูตนทางพระนิพพานก็วาได เปนผูไมประมาท เขาใกลเขาทุกที ๆ ครั้นบารมีของเราพรอม บริบูรณแลวก็สามารถที่จะพิจารณาได

64


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๐ อยูที่ใจ

ผูเห็นเวทนา ผูเห็นสัญญา ผูเห็นสังขาร วิญญาณ เปนผูเห็น นามรูป, นามรูป เปนปจจัยใหเกิดอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย, อายตนะ เปนปจจัยใหเกิดผัสสะ, เห็นรูปมากระทบตา เกิด วิญญาณขึ้นที่นี่ เสียงมากระทบหู เกิดวิญญาณที่นี่ขึ้นอีก รูปดีก็เกิดความยินดี ชอบใจ เปนเวทนา อยากได รูปไมดี เกลียดชัง เกิดทุกขเวทนา ไมอยากได ก็เปน ทุกขเวทนาขึ้น ตัณหาเกิดขึ้นมันก็เปนปจจัยใหตอกัน ตัณหาเปนปจจัยให เกิดอุปาทาน ยึดมั่นถือมั่น วาขันธของตน วาตัวของกู กูไปอยูที่ โนน กูไปอยูที่นี่ กูเปนพระ กูเปนเณร อุปาทาน เมื่อมีอุปาทาน ความยึดมั่นถือมั่น ก็เปนเหตุใหอยาก เทานั้นแหละ เปนเหตุ ใหเกิดภพ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ เกิดภพแลว เปนเหตุให เกิดชาติ เกิดชาติ ก็เปนเหตุใหเกิด ชรา มรเณนะ เกิด โศกะ ปริ เทวะ ทุกขโทมนัส อุปายาส ความคับแคน อัดอั้นตันใจ อยูใน สังสารจักร นี่แล ดับความโงอันเดียวเทานั้นแหละ ผลไมมี ดับเหตุแลว ผลก็ ดับไปตามกัน ผลคือไดรับความทุกข ความสุขไมมี คือดับอวิชชา ความโง นั่นแหละตัวเหตุ ตัวปจจัย มันเองมันเปนตนเหตุ เปน 65


อนาลโยวาท

ปจจัย จิตเดิม ธรรมชาติเปนเลื่อมประภัสสร เหมือนกันกับเพชร พลอย หรือเหมือนกันกับแรทองคำ ธรรมชาติมันก็เลื่อมสดใสอยู ยังงั้น แมนวามันยังปนอยู ปนอยูกับดินนั่นแหละ แลวอาศัยคนไป ขุดมา รูจักวาเปนบอเพชร บอทอง บอแรนั่นแหละ เขาไปขุดเอา ขึ้นมา มันติดอยูกับดินอันหยาบนั่น ขุดมาแลว มาถลุงออก แลว เอามาเจียรนัยอีก มันจึงสำเร็จ มีแสงวาบ ๆ เปนทองคำก็เอาทำ สายสรอย ตุมหู จิตของเราทั้งหลายก็ดี มันเกลือกกลั้วอยูกับ อารมณทั้งหลายทั้งปวง มันเอาอารมณเขามาหอมลอมมัน จิตมัน จึงเศราหมอง แตแสงมันก็มีอยูนั่นแหละ อาศัยมาชำระมัน เราฝก มาชำระจิตนั่นแหละทุกวัน ใหมันผองใส จิตเราตองชำระใหมัน บริสุทธิ์ ไมมีอะไรมาปะปนมันแลว อันนั้นละจิตบริสุทธิ์ จิตผุดผอง ผองใส จิตตัง ทันตะ สุขาวหัง ครั้นผูอบรม ฟอกจิตของตน สั่ง สอนจิตของตน มีสติสัมปชัญญะ ระวังจิตอยูทุกเมื่อ ประคองจิต ใหอยูในความดี หมั่นขยันทำความเพียร ชำระจิต ยกบาปทั้ง หลายเหลานี้ออกจากดวงจิตอยูทุกวัน ครั้นละออกแลว ก็เหมือน ฝนทั่งใหเปนเข็มเทานั้น ฝนไปฝนไป อาศัยวิริยะ ความพากเพียร อาศัยฉันทะ ความพอใจ จะเพียรฝกฝนจิตของเราใหเลื่อม ประภัสสร ฝนไปฝนไป ผลที่สุดก็เปนจิตบริสุทธิ์ หมดมลทิน มีแต ธาตุรูอันบริสุทธิ์ เปนธาตุอันบริสุทธิ์ผุดผอง จิตบริสุทธิ์แลวจะไป ทางไหนก็ได ไมมีความเดือดรอน เพราะเปนแกวอันบริสุทธิ์แลว บ มีอันหยังมาเกิดแลว จิตแหละเปนตัวนำทุกขมาให ครั้นฝกฝน ดีแลว นำความสุขมาให อยูในโลกนี้ก็มีสุข ความทุกขไมมี อันนี้ 66


อนาลโยวาท

มันเปนธรรมดาของอัตภาพของสภาวะ มันเปนเองของมัน ถึงมัน จะทุกขปานใด มันก็ไมมีความเดือดรอน หวาดเสียวตอความทุกข มันจะตายก็ไมมีความอัศจรรย มันนี่จึงรูเทาสังขาร รูเทาสังขารจิต ก็ไมหวั่นไหว จิตไมมีโศก ไมมีเศราอาลัย จิตมีกิเลสเครื่องมลทินก็ ปดออกแลว จิตอันนี้เปนจิตบริสุทธิ์ จิตสูง เพราะมันขาดจากการ ยึดการถือ เรามาหาความสุขใสตนไมใชหรือ ตองการความสุข เทานั้นแลว จึงพนจากความสะดุงหวาดเสียว จิตของพระอริยะเจา จิตของพระพุทธเจา ไมหวั่นไหวตอโลกธรรม มีลาภก็ไมมีความ ยินดี เสื่อมลาภก็ไมมีความยินราย ความสรรเสริญ พระพุทธเจาก็ บตื่น นินทา พระพุทธเจาก็บโศกเศราเสียใจ ไมดีใจ ไมเสียใจ จึง วา มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีนินทา มีสุข มี ทุกข เหลานี้ แปดอยางนี้ พระพุทธเจาและสาวก ไมมีความยินดี และโศกเศรา ไมมีความหวั่นไหว ไมมีความยินดี ยินราย กับ อารมณแปดอยาง นี่ละ จึงวาจิตประเสริฐ จิตเกษม พวกเราเกิดมาก็พากันเกลียดทุกขอยูนี่แหละ จึงไดพากัน แสวงหาที่พึ่งของตน แสวงหาแลวก็ตองตั้งใจ มีความฝกใฝในขอ วัตรปฏิบัติของตน ไมละ ไมถอนฉันทะ ความพอใจ จะบำเพ็ญคุณ งามความดีใหมีขึ้น วิริยะ เพียรละชั่ว เพียรบำเพ็ญบุญกุศลใหเกิด ขึ้น จิตฝกใฝอยูในคุณงามความดี ฝกใฝอยูในสติ ใหจิตอยูกับจิต ใหใจรูจักใจ ใหจิตอยูที่จิต ใหใจอยูที่ใจ มีสติประจำไวที่นั่น แกน อยูนั่น ครั้นผูตั้งใจบำเพ็ญ หัดทำสติของตนใหสำเหนียกแมนยำ แลว จิตเปนผูทำสติใหสำเหนียกแมนยำ ครั้นมีสติแลวก็เปนผู 67


อนาลโยวาท

สมาทานเอาอยูในสิกขาบทของตนนั่นแล ใหมันเปนอธิศีล อธิศีล คือ ศีลบมีหวั่นไหว ศีลบมีขาดวิ่น ไมมีขาดตกบกพรอง ศีล เรียก วาปกติศีล อธิศีลสิกขา สมาทาเน อธิปญญาสิกขา สมาทาเน อ ปมาเทน สมปาเทถ ดวยความไมประมาท เปนนิจศีลอยูทุกเมื่อ ผู มีสติสัมปชัญญะ ทำใหแมนยำ ใหชำนาญแลว ผูนั้นไดชื่อวา เปน ผูใกลพระนิพพาน ชื่อวา เปนผูไมประมาท ใหตกปากทางพระ นิพพานแลว ตน อยูไหน ตนมีความทุกขก็เพราะตนทำใหตน เมื่อ ทำความดีใสตนแลว ชื่อวาเปนผูรูตน เปนผูยกตน เปนผูรักษาตน ตนนั่นแหละเปนที่พึ่งแกตน อตฺตาหิ อตฺโนนาโถ ตนแล เปนที่พึ่ง ของตน เปนที่พึ่งของตนไดก็เพราะตนนั่นแหละทำความดี เปนที่ พึ่งของตนไมได ก็เพราะตนเปนผูเกียจคราน ไมมีศรัทธา เขาวัดฟง ธรรม รักษาศีล มันมัวแตเห็นแกปากแกทอง มัวหามาใสปากใส ทอง คอยเวลาที่มันตายนั่นแหละ ในเบื้องตน ใหตรวจดู ทานบารมีก็ดี ศีลบารมีก็ดี เนกขัมม บารมีก็ดี ตรวจดูมันอยางไร อยูที่เราจะกาวขึ้น กาวขึ้นชั้นสูง ให ทานสูงนั่นแหละเรียกวาปรมัตถบารมี เลือดเนื้อชีวิตจิตใจนี่แหละ ถวายบูชาพระพุทธเจา ถวายบูชาพระธรรม ถวายบูชาพระสงฆ ไดชื่อวาใหทานสูง อันนี้ไดชื่อวาเปน ปรมัตถทาน ปรมัตถบารมี ใหทานเลือดเนื้อ ไมเห็นแกชีวิตจิตใจ มุงหนาทำความเพียรจน ตลอดวันตาย เปนทานบารมี ไมตองหวงแหนมันไว ตองใหมัน ทำความเพียร อยาปลอยใหมันชำรุดทรุดโทรมไป มันมีแตจะครั้น 68


อนาลโยวาท

ชำรุดทรุดโทรมไป เหมือนเรือคร่ำครา นั่นแหละ มันมีแตสลักหัก พังไป ครั้นมันเฒามาแลว มันบำเพ็ญเพียรอีหยังบไดดอก ยังหนุม ยังแนนตั้งใจทำความเพียรไป ครั้นเฒาอยางอาตมานี่ มันผานมา แลว แมจะแบกแตกระดูกของตนก็จะตายแลว ปานนั้นมันก็บยอม ใหเขา หอบมันอยูนี่แหละกระดูก จะตายใหมันตายอยูนั่น ไมยอม หรอกเรื่องทำความเพียร เอามันจนตาย พระพุทธเจาก็ดี พระสาวกก็ดี เมื่อสำเร็จกิจแลว เปน พระพุทธเจาแลว ก็ยังขยันกวาเราเสียอีก นี่แหละ ทานหมดเชื้อ แลว หมดเชื้อแลวอยูเย็น มีความสุข หมดความขี้ลักขี้ขโมย หมด ขี้โกรธ ขี้โลภ ขี้หลง นี้หมดแลว พระพุทธเจาและสาวกก็หมดแลว ขี้เกียจขี้คราน ความขี้เหงา ขี้เซา ขี้หลับขี้นอน พวกนี้หมดแลว พระอริยเจาทานทำความเพียร ขุดขึ้นมา ขุดตัณหาขึ้นมา ราก นอยรากใหญขุดขึ้นมา เอาขึ้นมาแลวก็กวาด กวาดขึ้นมาแลวเอา ใสไฟ เผาไฟ กวาดแลวกวาดเลา เผาแลวเผาเลา เผาแลวโกยลง น้ำที่เชี่ยว โกยแลวโกยเลา จนหมด ครั้นหมดเชื้อตาง ๆ แลวไมมี ดอกความเกียจคราน เราอยาหมั่นขยันแตทำบาป ใหขยันแตทำดี ทำความบริสุทธิ์ ทำบุญทำกุศลนี่ ใหหมั่นทางนี้ บาปดากัน บาป มันขึ้นมา หนาแดง เรานี้เฮ็ดบาปคือขันแท ไปขยันใสบาป ครั้น รูจักวาบาปก็บขยันแลว จึงวาใหกลัวบาป คำเถียงกันดากัน ทะเลาะวิวาทเบียดเบียนกันเปนบาป อยากไปขันใสมัน ใหหลีกไป ไกล ใหเอาใจเวน อยาเอาใจใส ครั้นเวนแลว มันก็บมีความเดือด รอน ใครจะวาอยางใดก็ตาม เราไมวาใสเขาดอก เขาติฉินนินทา 69


อนาลโยวาท

เขาก็วาใสเขาเอง ปากเขามันก็อยูที่เขา หูเขามันก็อยูที่เขา เราจะ เอามันเขามารวมไวใหมันเผาตนหยัง เราก็เปนคนอยูไมใชควาย มันเปนอยางใด เราจึงตั้งสติฟาดมัน มันเปนหยัง ใหดูมัน เรารูจัก มันแลว เรารูจักกิเลสแลว ดูมันเฉพาะตาย ถามึงไมตายกูตาย เอา ใหตนเสียความดีนั่น บาปก็อยูที่ใจ ใจนี่เปนผูวา จึงวาใหอบรมใจ มีสติสั่งสอนใจ อบรมนี่แหละ จะเอาภพเอาชาติก็แมนใจนี่แหละ จะเปนวัวเปนควายก็แมนใจนี่แหละ ครั้นดับใจนี้ได มันก็มีแตเย็น มีแตความสุขเทานั้น มันจะไปเกิดบอนใด ก็แมนจิตนี่แหละไปยึด ไปถือ มันเจ็บมันปวดก็เพราะใจไปยึดไปถือ ครั้นใจไมยึดไมถือแลว มันจะรูจักการตาย รูจักความตาย รูจักมันดี ถาใจไมยึด มันจะมี ทุกขเวทนามาจากไหน ไมมี ดับเวทนาดับสัญญาไดอยู ดับสังขาร ความปรุงไดอยู ดับวิญญาณความรูทางทวารทั้ง ๖ ไดอยู ของใคร ของมันจะมีตนมีตัว มันไมมีตนมีตัว แตวามันจำมันหมายวาเจ็บนั่น เจ็บนี่ เวทนาก็พรอมกันเกิดขึ้น มันไมมีตัวมีตน มันก็ดับไปอีก ดับ ก็จิตมันสงบนั่นแหละ ครั้นจิตมันสงบแท ๆ ไมมีคนหยังจะมาเจ็บ อยูนี่ จึงวาใหอบรมจิตนั่นแหละ จิตสงบแลวไมมีผูใดเจ็บ คนบมี บอนตัวไมมี แลวก็ไมมีอะไรเจ็บแลว ครั้นบมีคนแลว เปนหยังจะ มาจำหมายนั่นอยู บัญญัติอยูก็รูวาไมมีคน บัญญัติทางตา หู จมูก ลิ้น ก็บมี บมีคน มันวางมดละ ไมมีอุปาทานแลว วางเสียก็มีความ สุขนั่นแหละ จิตสงบ ใหฝกหัดจิต ตัวรักษาดีแลว ไดชื่อวาเปนผูแตงความสุขใหตน นั่นแหละ เรียกวาตนมีที่พึ่ง ปจจุบันก็ไมมีความเดือดรอน แตงทรัพยสมบัติ 70


อนาลโยวาท

ใหตน สมบัติภายนอกมากมาย ไมมีความยากจน ตบแตงมนุษย สมบัติใหตน สมบัติภายนอกมากมาย ไมมีความยากจน ตบแตง มนุษยสมบัติใหตน ตบแตงสวรรคสมบัติใหตน ตบแตงเอาเอง รักษากาย วาจา ใจ ของตนใหบริสุทธิ์ ไมแตะไมตองสิ่งอันหยาบ ชาเลวทราม ศีลหาก็เปนมนุษยสมบัติ เปนสวรรคสมบัติ ศีลแปด ก็ดีเปนมนุษยและสวรรคสมบัติดวย ก็ใครเลาแตงเอาให ก็เรานั่น แหละแตงเอาเอง ใครจะทำใหเราได พระพุทธเจาเปนแตผูสอน มันก็แมนเรานั่นแหละ ครั้นทำบดีก็แมนเรา เพราะเหตุนั้นใหรักษา ใหมันดี ที่ไมดีอยาไปทำ พวกเรานี่มันสับสนปนกันนี่ทั้งดีทั้งชั่ว มัน จึงสุขก็ได ทุกขก็ได เอาอยูอยางนั้นแหละ ไดรับทั้งสุข ไดรับทั้ง โทษ เพราะสับสนปนกัน

71


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๑ ปธาน อันนี้เปนวาสนาของเราแท ๆ จะไดบรรลุขั้นใดขั้นหนึ่งหรือ ขั้นที่สุดก็ไมรู สมบัติของเราก็มีหมดแลวทุกสิ่งทุกอยาง จะทำก็ได อยู วาสนาบารมีเปนกรรม เราไดสรางมา คือมูลเกาอันนี้ มันเปน ยังไง คืออาศัยมูลเกา ไดอัตภาพมาก็ไดบุญ ไดอวิชชา ไดศีลมาใน บุญดวย ทรัพยภายในบริบูรณหมด เรื่องของเกามันเปนอยางนี้ บุญของเกามาถึง เหมือนกันกับพวกเศรษฐีเขาแสวงหาเงินทอง ของเขา วาจะเพิ่มทยอยขึ้นลานหนึ่ง สองลาน สามสิบลาน รอย ลานขึ้นไป นี่มันหาเอาใหม ไปทำเอาใหม แมนเปนของเรา คือ อัตภาพของเรานี่ อาศัยทรัพยของเกา คืออัตภาพของเกานี้ บริบูรณแลว มันจะทำเอาใหมก็ไดอยู จะทำเอาใหม สรางเอาใหม ก็ได ใหมันเต็มรอบก็ได ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี เราก็ออกอยูเปนบาง ครั้งบางคราว ถึงวันอุโบสถศีลเราก็ออก เราก็เนกขัมมะออกจาก เครื่องมืดมน ปญญาบารมี เราก็สดับรับฟง ตัวเราก็ใชโยนิโส คนควาใน เหตุในผลอยู วิริยบารมี เราก็อุตสาหทำบุญแจกทาน ขันติ ความอดกลั้น ตอสิ่งทั้งปวงนี่ เราก็ทำหมด บารมี ๑๐ เราจะทำหมด บารมี ๑๐ 72


อนาลโยวาท

ประการนี้ ที่พระพุทธเจามาแจกจายใหพวกเรา เราไดเปนผูรับ แจกแลว แตจะเอามาใช เอามาทำใหเกิดใหมี สัจจบารมี ใหมันมีความสัจจความจริง เราจะทำ ก็ทำจริง ๆ นั่นแหละ ความสัจจความจริง อธิษฐานความตั้งไววาจะทำ ตอง ทำจริง ๆ ไดมากก็ไมวา ไดนอยก็ไมวา อยาใหมันขาดสัจจะ ความ จริงใจ อธิษฐานความตั้งมั่นในใจ ๓๐ นาทีก็ตาม ๔๐ นาทีก็ตาม ๕๐ รอยหนึ่ง ดี นั่นเปนบางครั้งบางคราว เอาอยูอยางนั้น อยาให มันขาดความตั้งมั่นในใจไว สัจจะความจริงใจวาจะทำ ก็ทำทันที พูด ๆ จริง อธิษฐานความตั้งไว รูหลักรูฐานไว เราก็ไมเผลอ ตองมี สติ ระลึกเอาไว เราอธิษฐานเอาไวแลว ไมใหขาด ๒๐ นาทีก็เอา นั่งทำความเพียรของเราไมใหขาด เมตตาบารมีใหเต็ม การ สงเคราะหคนทั่วโลกมีอยูแลว อุเบกขา การวางเฉยตออารมณ ชอบใจก็ตาม ไมชอบใจ ก็ตาม วางเฉยตออารมณทั้งหลายทั้งปวง การภาวนาของเราก็เพื่อวาจะอบรมจิตใจของเรานั่นแหละ ไมใหมันหลงมันของไปนับภพนับชาติ หลงไปตามอารมณอยูใน ภพชาติหรืออดีตอนาคต แลวนอมเอาเขามาในจิต ทำใหจิตเศรา หมอง ทำใหจิตเดือดรอน การที่เราทำความเพียรนี้ เราไมตองการอะไรแลว นอกจาก ขัดจิตขัดใจของเราใหขาวใหสะอาดเทานั้นแหละ ใจมันเศราหมอง แตอาศัยขัดอยูบอย ๆ ขัดไมหยุดไมหยอน มันก็ขาวก็สะอาดขึ้น ผองใสขึ้น เพราะกิเลสคือ โลภะ โทสะ โมหะ มันหมักหมมมา 73


อนาลโยวาท

หลายภพหลายชาติ ตองคอยขัดคอยเกลา เพราะกิเลสเหมือน ตาปู ตีแฝก ตีลงแนน แตก็ไมเหลือวิสัย ผูสามารถที่ตั้งอกตั้งใจจะ ถอนตาปู ถอนไมหยุดไมหยอน ถอนไปถอนมามันก็ออกสั้นเขา ๆ สั้นเขามันก็ถอนขึ้นได พระพุทธเจาสอนวา จิตไมใชจิตวางนะ อยาไปถือวามันจะ วางให ใหเรามีสติมีสัมปชัญญะ รูตัวเสมอ มันว็อกแว็ก ๆ อยูอยาง นั้น เหมือนกันกับฟองน้ำ เดี๋ยวมันเกิดขึ้น เดี๋ยวมันดับ ดวงจิตมัน ไมรูจักอะไรหมดทั้งนั้น มันอาศัยเราทรมาน คือเราไดยินไดฟงแลว เราก็ใหมีสติขัดเกลา สั่งสอนมัน ใหมันรู เพราะมันไมรูนี่แหละ จิต ดวงนี้แหละเรียกวา อวิชชา คือความไมรู จิตดวงนี้นะเรียกวา อวิชชา ครั้นแนะนำสั่งสอนมัน ใหมันรูตามความเปนจริงของโลกนั่น แหละ มันจึงไดปลอยวาง ไมยึดมั่นถือมั่น โดยอุปาทานวา จิตของ เรามันปลอยวาง ตัวอวิชชาก็แมนดวงจิต นั่นแหละทานสอนให อบรมขัดเกลาจิตทุกเวลา เมื่อกิเลสมันเบาบาง มันหมดออกไป แลว มันขาว มันสะอาดแลว นั่นแหละจิตมันแจง มันสองแสงขึ้น ความสองแสงขึ้น รูเทาสังขารตามความเปนจริงของมันยังไง รูยัง งั้น แลวไมยึดไมถือ เลิก เกิดมาชาติใดก็ดี เราไมใชจะเกิดมาชาติ เดียวนี้ ตั้งแตแผนดินเปนแผนดินก็เกิดมา ฐิตา วาสา ธาตุ ธมฺมDฐิตถา ธมฺมนิยามตา สพฺเพ สงฺ ขารา อนิจฺจา ฐิติธรรม ตั้งอยูในโลกไมขาดโลก คือดวงจิต ฐิติ ธรรม ตั้งอยูจะเอาภพเอาชาติ ตายกันนะ ตายทุกวี่ทุกวัน นี่เรียก 74


อนาลโยวาท

วาตายเลน ไมใชตายแท ตายแทเหมือนดังพระพุทธเจาและพระ สาวกทั้งหลาย ดับหมด ไมมีกลับมาเกิดอีก กิเลสไมทีอะไรจะกอ ภพกอชาติอีก ความตายอยางนั่นคือกิเลสนั่นแหละมันตาย เขาไป อยูในบานมันแหละ หมดเรื่องกัน หมดภพหมดชาติ หมดเรื่องกัน นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ ความสุขไมเจือดวยอามิส นิรามิสสุข นั่น แหละ พวกเราสละใหสละความสุขทางโลก ความสุขในโลกมี ประมาณอันนอย ผูมีปญญา ผูไมประมาทพึงสละความสุขเพื่อ แลกเอาความสุขอันไพบูลย คือความสุขที่ไมมีเกิด ไมมีแก ไมมีเจ็บ ไมมีตาย ความสุขอันนั้นเปนความสุขอันไพบูลย ความสุขในโลกมี ตาย ๆ เกิด ๆ นั่นมีประมาณนอยนิดเดียว นักปราชญทานจะวา ไมมีเสียก็ได ความสุขอยางนี้เหมือนเหยื่อมันเกี่ยวอยูที่เบ็ด ปลาไมรูวา เบ็ดมันเกาะอยู มันเกี่ยวอยูนั่น ก็ไปคาบเอา เลยติดปากติดคออยู อยางนั้น นักปราชญคือพระพุทธเจาเห็นโทษของโลกจึงมีความ เบื่อหนาย พระพุทธเจาวาใหปลอยมันเสีย อยาถือมันอีก มันไมใช เรา ไมใชตน ไมใชตัว มันมีแตคิดแตอาน หาแตโทษมาเผาเจาของ วางมันเสีย อยาไปไวทามัน มันจะไปยังไงก็ไป ใหทำจิตทำใจ ทำความรูไวใหเหมือนกับมหาปฐพี มหาปฐพีนั้น สัตวทั้งหลายจะ มาทำดีก็ตาม มาทำรายก็ตาม มนุษยจะมาทำดีก็ตาม ทำราย ก็ตาม มหาปฐพีไมมีความหวั่นไหว จะทำอยางไรก็ตาม ทำใจให เปนอยางนั้น นั่นแหละพระนิพพาน พระพุทธเจาวา ใครทำใจได อยางนั้นแลว ไดอยูเปนสุขถึงพระนิพพาน ทำใจอยางนั้นแลวจะมี 75


อนาลโยวาท

ทุกขอะไรเลามาเผามาผลาญดวงจิตของเรา เราไมถือไว จิต พระพุทธเจาและสาวกทั้งหลายพอรูเทาแลว จิตเปนกลาง จรงฺ อุเบกฺขา จิตเปนกลาง เราจึงตั้งตรง ก็สบายเทานั้น นโยบายเพื่อ จะสละคืนเทานั้น เพื่อไมใหยึดเทานั้น ไมใหยึดอะไรหมดทั้งนั้น การบริจาคทานทุกสิ่งทุกอยาง สละคืนหมด การรักษาศีลก็สละ คืนหมด ถาไมรูเทาแลวก็ทำทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ ความชั่วรายนี่นะเรียกวาไมมีศีล เราก็สละคืน สละความชั่วนี่ แหละ นั่นเรียกวา สัมมัปปธาน มีความสำรวมระวังบาปไมใหเกิด ขึ้นทั้งทางกาย ทางวาจาและใจ ปหานปธาน ไมใหบาปเกิดขึ้น ละถอนปลอยวาง อะไรมันดีก็ตาม จะไมดีก็ตาม มีแตเรื่องเปนไฟ เผาหมดทั้งนั้น ภาวนาปธาน เรียกวาทำใหเกิด ทำใหมี สิ่งที่ยังไม เกิดก็ทำใหเกิด สิ่งที่เกิดแลวก็รักษาไวไมใหเสื่อมเสียไป เรียกวา อนุรักขนาปธาน อิทธิบาท ๔ ความพอใจ จะละความชั่ว พากเพียร ประกอบความดีใหมีขึ้น จิตตะ มีจิต มีสติรักษาจิตใจของตน ไม ใหมันสายไปตามอารมณภายนอก ใหมันรูสึกอยู ไปก็ใหมันไป มัน อยากไป แตใหสติของเรารูอยู ไมไปตามมันเอาเก็บเขามา หมักหมมไวในจิต ไมรองรับมัน ตองปลอยตองวางมัน มีจิตฝกใฝ อยูในคุณงามความดี จิตมุงศึกษาหาเหตุหาผล เหตุดีใหผลดี เหตุชั่วใหผลชั่ว ธรรมทั้งหลายไหลมาแตเหตุ อะไรเปนตัวเหตุ ตัวเหตุคือ อวิชชา ความโงนั่นแหละ มันไหลมา อะไรเปนอวิชชา จิตโงนั่น 76


อนาลโยวาท

แหละเปนอวิชชา อะไรเปนสนิมของอวิชชา มันนั่นแหละ มันเปน สนิมของมันเอง เหมือนกันกับเหล็ก เหมือนกันกับดาบและมีด ครั้นไมลับมันอยูนาน ๆ ใครเอามาใสละ สนิมนะ มันก็เกิดขึ้นของ มันเอง มันขนเอามาเอง หมักหมมทำใหเกิดสนิม จนวาจิตดำ จิ ตมืดนะ มันเองแหละเปนสนิมของมัน เมื่อทำสนิมใหมันออกจากดวงจิตนี่แลว จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ใหเปนผูหมั่นพยายามหัดทรมานสั่งสอนมัน อยาไปปลอยตามใจ มัน มีความรูเทามัน อยาไปตามใจมัน หัดใหมันอยูในอำนาจของ สติ สติควบคุม ขัดไปขัดมามันก็ขาวหรอก จิตขาว จิตสะอาด จิตผองแผวนั่นแหละ มนสาเจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติวา จิตเจาของควบคุมขัดเกลาใหดีแลว จิต ผองแผวดีแลว จะพูดอยูก็ตามมีความสุขเทานั้น จะทำงานทำการ อยูก็ตาม มีความสุขทั้งนั้น ตโตนํ สุขมเนวติ มีแตความสุข เทานั้นแหละติดตามผูนั้น มีแตความสุขทั้งหมด ทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน ฉายา ว อนุปายินี เหมือนกันกับเงาเทียมตนคนไป ไมละไมเวนความสุขนั้น บาปก็อยางเดียวกัน เพราะความไมรูเทานำไป มนสาเจ ป ทุDเฐน จิตมีโลภะ โทสะ โมหะ เผาผลาญอยูแลวก็ไมมีสติ จะพูด อยูก็ตาม มีแตความทุกขติดตามเขาไป ทำการงานอยูก็มีแตทุกข เทานั้น ตโตนํ ทุกฺขมเนวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ความทุกขยอมนำ เขาไปเหมือนกันกับลอ หรือกงลอกงจักรอันโคเทียมแอกไปอยู 77


อนาลโยวาท

แอกนั้นหนักทับคอมันไปอยูทั้งหลัง ทั้งตีนมัน กงลอก็ยันตีนมันไป อยู เล็บหลุดไป ทางคอมันก็แอกถูคอมันไปอยู จนคอเปก จิตไมดี เปนอยางนั้น มนสา เจ ปทุDเฐน จิตอันเทพประทุษรายอยู มีแต ความทุกขเทานั้น ความทุกขประจำมันไปเหมือนกับกงจักร กงลอ เหยียบรอยเทาโคไปอยูอยางนั้น แลนไปอยูอยางนั้น จนแตก แตก แลวมีทุคติวิบัติเปนที่ไป พวกเรามีการสดับรับฟงแลวใหพากัน ทำเอา อยามีความประมาท ผูอื่นไมไดทำจิตของเราเศราหมอง ดอก ผูอื่นไมไดทำใหจิตของเราผองแผว เราเองเปนผูทำให ผองแผว เราเองเปนผูทำใหจิตของตนเศราหมอง ผูอื่นชวยไมได แมพระพุทธเจาก็ชวยไมได ทานทรงเปนผูบอกทางใหเทานั้น

78


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๒ กุศล-อกุศล ธรรมทั้งหลายก็อยูที่นี่แหละ อยูที่สกนธกายของเรา ไมตอง ไปหาเอาที่อื่นดอก มีครบบริบูรณหมด สติปฏฐานทั้ง ๔ ก็มีก็ แมน เราควรทำเอา ทานให พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต ใหพิจารณา ธรรม ๔ อยาง แลวพิจารณาอันใดอัน หนึ่งเทานั้นแหละ ไมเอาหมดทุกอยางดอก สัมมัปปธาน ๔ ก็มี เพียรละบาป ใหเพียรบำเพ็ญบุญ สัมมัปปธาน ๔ มีวา ปหานปธาน ประหารบาป ละบาป บาปปรากฏขึ้นที่จิตนี่แหละ ไมเกิดขึ้นจากที่อื่น เพราะจิตไป รวบรวมเอาอารมณภายนอก อารมณภายนอก ก็หมายเอา ๕ อยาง รูป เสียง กลิ่น รส เครื่องสัมผัส มันไปรวบรวมเอามาปรุงมาคิด พิจารณากาย มันก็ ไปถูกเวทนานะแหละ ครั้นจะพิจารณาเอาจิต มันก็ไปถูกธรรม จิต มันเกิดขึ้นกับใจ เรียกวาธรรมารมณ สี่อยางนี้ ธรรมารมณก็ไมใช อื่น คืออดีตที่ลวงมาแลวไปนึกเอามา ดีชั่วอยางไรก็นึกเอามา อารมณที่ชอบใจก็นึกเอามา มาหมักหมมที่ใจนี้ อนาคตยังไมมาถึง ก็เหนี่ยวเอามา เอามาเต็มอยูในปจจุบันนี้ เรียกวาธรรมารมณ นี่ เรียกวา สติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ ปหานปธาน เพียรละบาป ไมใหมันเกิด ที่ เกิดขึ้นแลวจะประหาร เพียรทำกุศลใหเกิดใหมี เรียกวา ภาวนา ปธาน อนุรักขนาปธาน เมื่อบุญกุศลเกิดขึ้นแลว รักษาไวไมให 79


อนาลโยวาท

เสื่อมสูญไป ภาวนาปธาน ทำใหเกิดใหมีมาก ๆ อาเสวิตาย ให เสพมาก ๆ เสพเพื่อตั้งอกตั้งใจ มีสติประจำใจ ตั้งอกตั้งใจ ไม ปลอยใจใหมันลอยไปตามอารมณ คุมจิตใจใหมันอยูกับที่ เอาสติ ควบคุมแลว เราบำรุงกำลังหรือพละของจิต ศรัทธาพละ วิริย พละ สติพละ ก็มีอยูนั้นแลว แมนเราจะทำเอง สมาธิพละ ปญญาพละ อินทรีย ๕ ก็วา พละ ก็วา อินทรียพละ คือทำใหมันแก กลา ใหมันใหญขึ้นไป ก็แมนอันเดียวกันนั่นแหละ ศรัทธาพละ รวมธรรมทั้งหลาย ธรรมอันเปนเครื่องที่จะใหบรรลุคุณความดี เบื้องสูงก็มีอยูที่เรานี่โมด ไมไดไปคนควาเอาที่อื่น มีอยูที่นี่แหละ อัฏฐังคิกมรรค มรรค ๘ อันนี้เปนทางพระพุทธเจาบอกไว แลว โพชฌงค ๗ มี สติสัมโพชฌงค ใหมีสติ ธัมมวิจยสัม โพชฌงค ใหเลือกเห็นธรรม ธรรมเปนอกุศลใหตัดออก ธรรมเปน กุศลใหประกอบใหดีขึ้น วิริยสัมโพชฌงค เพียรใหเกิดใหมีขึ้น ปติสัมโพชฌงค ครั้นธรรมแกกลาขึ้นไป มันจะเกิดปติ ความเอิบ อิ่มเรื่องจิตเรื่องใจ ปติเกิดขึ้น ปสสัทธิ ความสงบกาย สงบใจ ความสงบกาย สงบใจ ครั้นสงบแลว สมาธิสัมโพชฌงค เกิดขึ้น สมาธิเกิดขึ้น ก็ เกิด อุเบกขาสัมโพชฌงค ธรรมเหลานี้เรียกวา โพธิปกขิย ธรรม ๓๗ ประกอบธรรมหมูนี้ใหสมบูรณแลว ไดชื่อวาทำ พละ หรือกำลังของจิตใหเกิดขึ้น อันนี้แหละจะเปนกำลังของจิต ทำให เกิด ใหมี ใหสมบูรณ ใหครบบริบูรณแลว จิตมันจะสงบได จิตสงบ 80


อนาลโยวาท

จึงจะเกิดความสวางขึ้น เกิดญาณความรู รูก็ไมใหรูอื่น คือใหรู สกนธกายของตน รูเหมือนพระพุทธเจา แสดงวาอบรมจนมีกำลัง เปนสามัคคีกันแลว มันจะเกิดญาณทัศนะ ความรูเห็นตามความ เปนจริงของสังขาร คือรูสัจธรรมทั้ง ๔ ของจริงทั้ง ๔ นี้เห็นแจง ประจักษ เมื่ออบรมอันนี้ขึ้นแลว มันเห็นตามความเปนจริงแลว มันจะ มีความเบื่อหนาย มีความเบื่อเหนื่อยหนาย มันจะคลายความ กำหนัด คือ อุปาทาน ความยึด วาเขา วาเรา วาตัว วาตน วาผู หญิง วาผูชาย อันนี้เปนสมมุติทั้งนั้นแหละ เราหลงสมมุติ จึงให พิจารณาอุบายเครื่องกลอมจิต เครื่องควบคุมจิต ใหจิตไมคิดออก ไปขางนอก ใหมันอยูกับที่ จิตตั้งอยูกับที่แลว นั่นแหละมันจะเปน กำลังรวมขึ้น เปนอาวุธ ศีลวุธ ศีลก็ใหบริสุทธิ์ สมาธิวุธ จิตก็ให ตั้งเปนปกติ ตั้งมันอยูกับที่ ปญญาวุธ ใหปญญาประหารกิเลส คือ ราคะ โทสะ โมหะ ใหมลายไป รวมทั้งปวงนี้ มีครบบริบูรณอยู ในสกนธกาย ทุกรูปทุกนามนั้นแหละ พระพุทธเจาก็เทศนาสั่งสอนนั่นแหละ ใหทำเอา เราตถาคต เปนแตผูบอกใหเทานั้นแหละ ผูที่ทำใหเกิดใหมีตอง(เปน)เรา เรา ตองทำเอง ผูอื่นทำใหไมได พระพุทธเจาก็ทำใหไมได เปนแตเพียง สั่งสอนใหทำตาม ทำตามแลวก็เปนเหตุเปนปจจัยใหพนทุกขจริง ไมมีที่อื่น เรื่องปฏิบัติธรรม มันไปถูกสกนธกาย ถูกสกนธกายก็ถูก ธรรมนั่นแหละ แมนธรรมหมดทั้งนั้นแหละ ตอเมื่อญาณความรู 81


อนาลโยวาท

เกิดขึ้นจะเปนหมด เห็นโมด เราตาดีมองดูชางเห็นหมด ทั้งตัวชาง นะ ไมตองไปลูบคลำแขง คลำขา ลูบแขงลูบขามัน ลูบงวงมัน ลูบ นี่นั่นมัน เหมือนคนตาบอด พวกเราก็เหมือนคนบอดนั่นแหละ ใครปฏิบัติทำอยางไรก็วาถูกของตน พวกนั้นผิด เราถูก ทุมเถียง กัน ทะเลาะวิวาทกัน มนุษยในโลกมนุษย เปนโลกอันสมบูรณ สมบูรณทุกสิ่งทุก อยาง เปนกลาง กลางอะไร กลางบุญ กลางบาป กลางสุข กลาง ทุกข กลางมี กลางจน กลางนรก กลางสวรรค กลางพรหมโลก กลางพระนิพพาน เราทำเอาเองหมด อยูในเมืองมนุษยหมด พวกพระอินทร พระพรหม เทพบุตร เทพยดา พวกเทพธิดา ก็อยากลงมาทำบุญในมนุษย พวกนั้นไปถึงสวรรคแลว ก็มีแต เพลิดเพลินอยูกับกาม ไมไดทำบุญทำกุศลอะไรดอก เขาเปน พระอินทร พระพรหม เปนเทพธิดา เทพบุตร เขาก็มาสรางเอาใน เมืองมนุษยเสียกอน สรางเอานี่แหละ แลวก็ไปเสวยบุญของตน อยากลงมาเมืองมนุษย มันครบ ปฏิรูปเทสวาโส ประเทศมนุษย ประเทศอันสมบูรณ พระอินทรก็อยากลงมารักษาอุโบสถใน มนุษย พระยานาคก็ขึ้นมารักษาอุโบสถที่นี่ คือพระภูริทัต พญา ครุฑก็มารักษาที่นี่ เพราะมนุษยเปนชาติอันสมบูรณดวยพระ รัตนตรัย มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ พระพุทธเจาสรางบารมี ก็สรางเอาที่นี่ สำเร็จเปนพระสยัมภูสัมมาสัมพุทธเจา ก็มาสรางที่ นี่ สาวก สาวกบารมีก็สรางที่นี่ พระปจเจกโพธิ์ก็มาสรางที่นี่ ผูที่ 82


อนาลโยวาท

จะสรางเอานรกเหมือนพระเทวทัตก็มาสรางเอาที่นี้ มี ๒ ทาง เทานั้น ทางไปนรก ๑ ทางไปสวรรคและพระนิพพาน มี ๒ ทาง พระพุทธเจาจึงวา กุศลาธรรม อกุศลาธรรม มี ๒ ทาง บุญกุศลที่บุคคลสรางแลวอันนี้เปนกุศลกรรม นำสัตวใหพน จากทุกข ไปเสวยความสุข อกุศลเรียกวาอกุศลธรรม อันนั้นเปนอปุญญาภิสังขาร ตกแตงใหสัตวนั่นไดตกนรก เปนเปรต เปนผี เปนอสุรกาย เปน สัตวเดียรัจฉาน มี ๒ ทาง พระพุทธเจาวาใหไปทางดีนี่แหละ ทางพระพุทธเจาทำมา แลว แตงมาแลว ใหไปทางนี้ ทางนรกนั่นอยาไป ทางทุจริต กาย ไมบริสุทธิ์ วาจาไมบริสุทธิ์ ใจไมบริสุทธิ์ นั่นเปนทางนรกอยาไป ทางบริสุทธิ์ กายทำอะไรก็ถูกตอง พูดอะไรถูกตอง ใจคิดถูกตอง อันนี้เปนทางบริสุทธิ์ สุจริตธรรม อันนี้เปนทางไปสวรรค มาเปน มนุษยก็ไดมนุษยสมบัติ เหมือนคุณทั้งหลายนี่แหละ มนุษยสมบัติ สิ่งทั้งปวงเราทำเอาหมดทั้งนั้น เราคิดเอาหมด ทั้งนั้น ผูอื่นทำใหไมได ตองตนทำเอา ไดวิชาศิลปศาสตรก็เพราะ คุณไปศึกษาเลาเรียนเอา ตั้งใจเลาเรียนเอา จึงไดเปนใหญเปนโต ปานนี้ มียศฐาบรรดาศักดิ์ มีลาภ มียศ เจริญสุข มันตนทำให ตนเด คนอื่นทำใหไมได ตนทำใหตน ผูโงผูเขลาก็เหมือนกัน ตน ทำใหตน มีอยูนี่แหละธรรมทั้งหลาย นี่แหละทำเอา อุตสาหทำไป 83


อนาลโยวาท

วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนจะกาวลวงทุกขได เพราะวิริยะ ความเพียร เพียรทำทุกสิ่งทุกอยาง คุณงามความดีทุกสิ่งทุกอยาง ควรทำความเพียร ชื่อวาคนไมประมาท ผูที่ขามมหานรก พน สมมุติไดก็เพราะไมเปนผูประมาทในคุณงามความดี ทางบุญทาง กุศล คนประมาทมันมักทำบาปทำกรรมใสตน คนประมาทชีวิต จะยาวรอยปก็ตาม ก็เหมือนกันกับคนตายแลว คนไมประมาท ชีวิตเขาจะเปนอยูวันเดียว ยังดีกวาผูประมาทอยูเปนรอยป นั่น ประเสริฐกวา ระหวางอยูฆราวาส เราก็ฝกเสีย ใหมีขันติ ความทนทาน ไม เห็นแกความเหน็ดเหนื่อยความลำบาก ใหมีวิริยะความพากเพียร ในคุณงามความดีทุกสิ่งทุกอยาง เพียรละสิ่งที่ไมดีนั่น เพียรละ เพียรถอน มันจะทำไมดีก็เพราะใจนั่นแหละ มันเปนผูทำ สกนธกายนี้เปนเครื่องใชตางหาก มันเปนของกลาง ไมใช ของใคร ของเราเปนของกลาง ผูฉลาดมาใชอันนี้ ใชสกนธกาย อันนี้ทำคุณงามความดี รางกายนี้มันไมเปนสาระแกนสาร ทรัพย สมบัติวัตถุภายนอกก็ไมเปนแกนสาร ชีวิตความเปนอยูก็ไมเปน สาระแกนสาร เมื่อผูฉลาด ผูมีปญญา ผูไมประมาทแลว มาทำ รางกายใหประกอบคุณงามความดี มีการเดิน การยืน มีการนั่ง การนอน ประกอบอยูอยางนั้น ไดชื่อวาทำสกนธกายของตนให เปนสาระแกนสาร ทำชีวิตของตนใหเปนสาระแกนสาร บริจาคให 84


อนาลโยวาท

ทานไปตามไดตามมีตามเกิด ก็ไดชื่อวาทำทรัพยสมบัติวัตถุ ภายนอกใหเปนแกนสาร เอาเขามาไวเปนอริยทรัพยภายในของ ตนเสีย การทำความเพียรทุกสิ่งทุกอยาง เรียกวาทำอริยทรัพยของ ตน ทำใหตน เมื่อเรายังไมพนทุกข ทองเที่ยวอยูในสังสารจักรนี้ ทรัพยอันนี้ไมมีสูญมีหายไปไหน ตองติดตามไปทุกภพทุกชาติ ให ไดความสุขทุกภพทุกชาติ จึงวาควรทำ คอยทำไป ๆ แตกอน ๆ ทานที่เปนฆราวาส ทานก็ไดสำเร็จพระโสดา สกิ ทาคา อนาถบิณฑิกก็ดี นางวิสาขาก็ดี วาแตผูจำได สวนนอกนั้นก็ นับไมถวน พวกฆราวาสที่สำเร็จพระโสดา สกิทาคา อนาคา ผูมี ศรัทธา ผูมีความยินดีแลว พระพุทธเจาก็ไมไดเลือกวาตองนุง เหลืองจึงจะสำเร็จ ไมใช นุงขาวก็ไมวา นุงเหลืองก็ไมวา หัวโลนก็ ไมวา หัวดำก็ไมวา สำเร็จหมด ชั้นสูงก็ไมวา ชั้นต่ำก็ไมวา สำเร็จ หมด ไมเลือกชั้นเลือกวรรณะ ไมเลือกชาติเลือกภาษา ผูที่เขามาปฏิบัติธรรมะของพระพุทธเจาทำลงไปแลว ไมมี ผล ไมมี ตองมีผลทีเดียว ทำนอยก็ไดรับผลตามนอย ทำมากก็ได รับผลตามมาก ติดตนเปนอริยทรัพย สมบัติอันนี้ไดรับผลตาม กำลัง พวกคุณเกิดมาชาตินี้ก็สมบูรณทุกอยาง บาปก็ไมไดทำสัก หนอย มันเปนผูบริบูรณแลว พึงเขาใจวาเราไมพนในชาตินี้ มันก็ รูจักกันเดี๋ยวนี้ละ พระพุทธเจาบอกรูจักกันเดี๋ยวนี้แหละ จะเปน เทพยดา อินทร พรหม ก็รูจักแตเปนมนุษยนี่แหละ เสวยสวรรค 85


อนาลโยวาท

ดิบอยูในมนุษยนี่แหละ จะไดไปพระนิพพานก็เสวยอยูในมนุษยนี่ แหละ ไดเห็นในมนุษยนี่เสียกอน เหมือนพระพุทธเจาไดตรัสรู อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวนั่นแหละ นิพพานดิบในมนุษย รูแจง เห็นแจงอยูในมนุษยนี่เสียกอน ผูจะไปนรกก็เห็นกันที่ในมนุษยนี้ พระพุทธเจาแสดงไว ไมใชตายแลวนรกมาคุมเอาไปตกนรก ไมใช ตกแตเดี๋ยวนี้ ก็ใหคิดดู คนยากจนคนแคนเหมือนกับเปนเปรต เหมือนกัน หูหนวก ตาบอด ขี้ทูดกุดถังนี่ มนุษยเปน อันนี้เปนผู สมบูรณทุกสิ่งทุกอยาง ผูที่มีศรัทธา ทุกสิ่งทุกอยางเหมือนพวกคุณแหละ ก็ไดชื่อวา มนุสสเทโว ผูมียางอาย ผูมีหิริ ผูมีโอตตัปปะ เรียกวา มนุสสเท โว มนุสสาอินโท เห็นกันอยูในโลกนี้แหละ มันมีใชไหม ทำกรรม มันตองเปนกรรมแน ทำกรรมดีก็ตองไดกรรมดีแท ทำเหตุไมดี ทำเหตุราย ตองไดรับผลราย ผลที่ไมพอใจมีอยูนี่ ใหพิจารณาดู คนเกิดมาในโลกนี้ ครั้นถาบาปไมมี บุญไมมีแลว มันคงจะ เพียงกัน ไมตองพิจารณาหาเหตุหาผล จะมีก็อยางเดียวกัน เพียง กัน จะจนก็จนอยางเดียวกัน จะโงก็โงอยางเดียวกัน อันนี้มันผิด กัน ผูฉลาดก็ฉลาดเอาเหลือลน ผูมี ก็มีจนเหลือเฟอ ที่จน ก็จน จนลืมตาย จึงวามีทุกอยาง ตองใครครวญหาเหตุหาผล เห็นกัน อยูในโลกนี้ ยากจนคนแคน หูหนวก ตาบอด ครั้นเห็นบาปเห็น บุญ เห็นประจักษอยูในมนุษยนี่แลว เราจะไมกลาทำบาป จะ ประกอบแตคุณความดีตามกำลังของตนไปตลอดชีวิต ใหมีความ สัตยความจริงตั้งลงไป วันหนึ่งคืนหนึ่งก็เอา อะไรก็ตาม ยามสงบ 86


อนาลโยวาท

สงัด เราจะเขาที่ทำความสงบใจไมใหมันขาด จะเอาอยางนั้น ตลอดวันตาย สรณะอื่นขาพเจาไมเอา นอกจากพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆแลว เอาแตพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปน สรณะที่พึ่งตลอดวันตาย ใหตั้งตนจากนี้ไป ทำไป หรือไหวพระ ก็ตาม ยอก็มี อยางพิสดารก็มี ถามีกิจจำเปนเราจะลุก ก็ไมลุกไป เฉย ๆ ลุกขึ้นแลวก็ตองไหว อรหัง สวากขาโต สุปฏิปนโน อยาให มันขาด เวลามันมาก ก็ทำอยางพิสดาร เราถืออะไร ใหถือจริง ๆ จัง ใหมีความสัตยความจริง

87


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๓ มรรค พวกญาติโยมอยูในบานในเมืองในพระนคร ธรรมเทศนา ของพระเดชพระคุณเจาก็ฟงหมดแลว บาปก็รู บุญก็รู คุณโทษก็รู หมดแลว แลวจะฟงไหนอีก อาตมาอยูปาดงมัวแตนั่งหลับหู หลับตาแมลงวันตอมนะ จะมีความรุ วิชาความรูอันหยังมาเทศน จั๊กจะเอาอะไรมาเทศนใหฟง อยูปาอยูดง พวกญาติโยมทั้งหลาย มา มีพระเดชพระคุณเปนหัวหนามา อุตสาหมาไกลแสนไกลก็ อุตสาหมา เปนบุญ บุญลาภของพวกกระผมและพวกญาติโยม ฟงเทศนก็ฟงทุกสิ่งทุกอยางหมดแลว ขั้นต่ำก็ไดฟง ชั้นสูงก็ได ทุกขสัจจก็ไดฟงแลว แลวจะเอาอันไหนฟงอีก ธรรมะก็แมนกอนธรรมหมดทั้งกอนนี่แหละ ธรรมเปนอกุศล ธรรมก็มี กุศลธรรมก็มี อันนี้พวกทานทั้งหลายในบานในเมืองก็ได ฟงอยูบอย ๆ ก็เปนคนที่รักษาคุณงามความดี สวนบาปกรรมนั่นก็ พากันรูแลว รูแลวก็มีความรังเกียจมาอยากเกี่ยวของ มีแตจะขับ ไลมันออกไป กุศลธรรมก็แมนใจนั่นแหละ ใจเปนกุศลขึ้น อกุศล ธรรมก็แมนใจนั่นแหละ ธรรมไมตองไปหาที่อื่น แมนหมดทั้งกอนนี่ แหละ พระพุทธเจาวากอนธรรมหมดทั้งกอนแลวแตวาเปนของ กลางไมใชของใคร อัตภาพเปนของกลาง แลวมารูจักวานี่เปนของ กลางไมใชของใครทั้งหมด กอนใครกอนเรา เปนของไดมาอัน บริสุทธิ์ 88


อนาลโยวาท

เกิดมาชาตินี้ก็เปนผูสมบูรณบริบูรณ พนจากใบบาบอด หนวก เสียจริต มีรางกาย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สมบูรณ บริบูรณแลว เราตองเอามันทำประโยชนเสีย เอากะมันเสีย อยา ไปปลอยใหมันแกขึ้นตายขึ้นซื่อ ๆ สมบัติอันนี้เปนแตภายนอกเอานำมันเสีย เอาทรัพยภายใน เอาอริยทรัพย ทรัพยอันติดตามตนไปได ทรัพยสมบัติที่เรา แสวงหาอยูแตชาตินี้ ไดเปนมหาเศรษฐี ไดเปนอิหยังก็ตามเปน ของกลางหมด เปนทรัพยภายนอกที่เราไดอาศัยมันชั่วชีวิตนี้ เทานั้น ครั้นขาดลมหายใจแลว สมบัตินี้ก็เปนสมบัติของโลก อัตภาพรางกายนี้ก็เปนสมบัติของโลก มันเปนดิน เปนน้ำ เปนลม เปนไฟ แลวผูที่ไปนั่นคือผูที่ทองเที่ยวอยูในสังสารจักรไมมีที่สิ้นสุด คือดวงวิญญาณ ดวงจิต ดวงวิญญาณนี่แหละที่ทองเที่ยวอยู เกิด อยูบอย ๆ นั่นแหละ สํสรนฺตา ภวาภเว สงฺสาเร สงฺสรนฺโตโส สงฺสาราทุกฺคโต โนติ สงฺสารํ อินิมา พวกเราที่ทองเที่ยวอยูในสังสารจักรนี้ ไมใชเราเกิดมาชาติ เดียวเทานี้ นับภพนับชาติที่เราทองเที่ยวอยู ต่ำ ๆ สูง ๆ จนเกิด เปนสัตวนรก สัตวเดรัจฉาน สารพัดมันเปน เราไปสวรรคก็ไดขึ้น ไป เราไปพรหมโลกก็ไดขึ้นไป ลงไปนรกก็นับกัปนับกัลปไมได เมื่อ เรารูอยางนี้แลว เราควรประพฤติแตกรรมอันดี เมื่อพวกเรารู อยางนี้แลว พระพุทธเจาวา จะดีก็ดี จะชั่วก็ดี เปนเพราะกรรม ดอก เกิดมาตาง ๆ กัน ไมเหมือนกัน สมมติวาเกิดมาเปนมนุษย 89


อนาลโยวาท

เหมือนกัน แตตางพันธุกัน วิชาความรูก็ตางกัน สมบัติก็ตางกัน รูปรางก็ตางกัน ความยากจนคนแคน ความมั่งคั่งสมบูรณก็ตาง กัน อันนี้เปนเพราะอะไร เปนเพราะกรรมแมนหมดทั้งกอน กอน ธรรมสิ่งที่เปนใหญนั่นในตัวเขา พระพุทธเจาวา มโนปุพฺพํ คมา ธมฺมา มโนเสDฐา มโน มยา มีใจนั่นแหละเปนใหญ มีใจนั่นแหละเปนหัวหนา มีใจนั่น แหละประเสริฐสุด สิ่งทั้งหลาย บาปก็ดี บุญก็ดี สำเร็จไดดวยใจ มนะ เรียกวาใจ ครั้นใจไมดี มนสาเจ ปทุจเตน ใจไมดี ใจขุนมัว ใจเศราหมอง ลุอำนาจความโลภ ความโกรธ ความหลง ใจเหลานั้น แมนบุคคลจะพูดอยูก็ตาม จะทำการงานดวยกายอยู ก็ตาม เพราะจิตเศราหมอง จิตไมดีแลว ความทุกขนั้นยอมติดตาม บุคคลผูนั้นไป เหมือนกันกับลออันตามรอยเทาโคไป มนสาเจ ป สนฺเนน ครั้นจิตผองใส ผุดผอง ไมเศราหมองแลว แมนจะพูดอยู ก็ตาม จะทำการงานอยูก็ตาม จะไปที่ไหนก็ตาม ความสุขยอม ติดตามเขาไป เหมือนเงาเทียมตนไปอยางนั้น ครั้นรูวาใจเปนหัวหนา ใจเปนใหญ ดีก็ตองมีใจเปนผูคิดให ทำ ทำชั่วก็มีใจเปนผูคิดใหทำ เมื่อเรารูอยางนี้แลว เราจงเอาแต สวนดี สวนไมดี มีราคะ โทสะ โมหะ นั่น ตัดมันออกไป ไลมันออก ไป อยาใหมันไปยึดไปถือ อยาใหมันไปเปนเจาเรือน แลวแมนจะทำอะไรก็ดี จะพูดก็ดี จะคิดก็ดี ขอใหมีสติอยู ประจำ ครั้นมีสติแลว พูดก็ไมพลาด ทำอยูก ็ไมพลาด คิดก็ไม 90


อนาลโยวาท

พลาด ใหพากันหัดทำสติ ใหสำเหนียก ใหแมนยำ พระพุทธเจาจึง วา เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพเต อปฺปมาทมูลกา อปฺปมาท สโมสรณา อปฺปมาโท ครั้นมีสติแลว กุศลธรรมทั้งหลายก็เกิดขึ้น ก็มีแตทำความดีทุกสิ่งทุกอยาง รูอยางนี้แลวใหพากันหัดทำสติ มันผิดก็ใหรู เราจะพูดใหระลึกไดเสียกอน เราจะทำดวยกายก็ให ระลึกไดเสียกอน จะคิดก็ใหระลึกไดเสียกอน มันถูกเราจึงทำ มัน ถูก เราจึงพูด มันคิดไมผิด เปนศีล เปนธรรม เราจึงระลึก จึงนึก ใหทำสติ สำเหนียกใหแมนยำ หัดทำสติใหดี แลวก็ใหสมาทานเอาศีลของเรา เอา อธิศีล ทิDฐ สมา ทาเน ใหพากันสมาทานเอาศีลของเรา เอาศีลของเราใหเปน อธิศีลที่เปนใหญ เปนอธิบดี ใหเปนศีลมั่นคง อยาใหเปนศีลที่งอน แงนคลอนแคลน อธิจิตฺตํ ทิDฐสมาทาโน ใหพากันสมาทานเอา มีสติตั้งใจ ควบคุมจิตใจของตนไวใหตั้งมั่นอยูอยางนั้น จะทำการ ทำงานพูดจาอะไรก็ตาม มีสติ จิตตั้งมั่น หรือนั่งภาวนา ก็ใหจิตตั้ง มั่นเปนอธิบดี อธิ เรียกวาเปนใหญกวาสิ่งทั้งปวง เรียกวาไมหวั่น ไหวตอสิ่งทั้งปวง อธิปฺญา สิกขา สมาทาเน ใหสมาทานเอาอธิ ปญญา ความจริงรอบคอบ รูเทาสังขาร ปญญา ความรูเห็น เห็น ชาติ ความเกิดเปนทุกข แมนทุกขเกิดขึ้นในกาย ความไมดีเกิดขึ้นในกาย เวทนาไมดี เปนทุกข เกิดขึ้นแตสัมผัสทางกาย อันนี้เรียกวาความทุกขกาย ให มันรู ความทุกขเกิดขึ้นที่ใจ ความไมดีเกิดขึ้นที่ใจ เวทนาไมดีเกิด ขึ้นจากสัมผัสที่ใจ อันนั้นไดชื่อความความโกรธ ความเศราใจ 91


อนาลโยวาท

ความเสียใจ ใหกำหนดรู ใหมันเปนเรื่องทุกขเสีย พระพุทธเจาวา เปนทางไปพระนิพพาน ทางดับทุกข ความประจวบ (ไดพบ) กับสัตวและสังขารอันไมเปนที่รักที่ เจริญใจ มีความไปรวม มีความมารวม มีความประพฤติรวม มัน เปนสิ่งที่ไมชอบใจ อปฺปเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ทุกขนาเกลียด นาชัง ทุกขไมพอใจ ความพลัดพรากจากสัตวและสังขารอันเปน ที่รักที่เจริญใจ มีญาติพี่นองไปทางไกล หรือพลัดพรากไปไกล หรือลมหายตายเสียจากกัน ก็มีความทุกขเกิด เรียกวา ปเยหิ วิปฺ ปโยโค ทุกฺโข ความไมไปรวม ความไมประชุมรวมกับสิ่งที่ ชอบใจ อันนี้ก็เปนทุกข บุคคลปรารถนาสิ่งใดไมไดสิ่งนั้นสมหวัง อันนี้ก็เปนทุกข อันนี้มันมาจากไหน เราไดรับผลอยูเดี๋ยวนี้ มันมาจากไหน ตองใชสติปญญาคนควา มันก็จะเห็นกัน เมื่อทำจิตใหสงบ มันก็จะ เห็นกัน คือความอยาก มันเกิดมาจากความอยาก เรียกวา กามตัณหา ความใคร ความพอใจในรูป ในสิ่งที่มีวิญญาณ ความทุกขมันเกิดขึ้นจากความอยาก ความใคร ภวตัณหา ความอยากได อยากเปน อยากมี อยากกอบโกย เอา อยากไดมาเปนของตัว อยากเปนเศรษฐีคหบดี อยากเปน ราชามหากษัตริย เรียกวา ภว ความอยากเปนอยากมี 92


อนาลโยวาท

ความไมพอใจเหมือนอยางความแกหงอมแหงชีวิต ความ เปลี่ยนแปลงแหงชีวิต ความมีหนังหดเหี่ยวเปนเกลียว ผมหงอก ฟนหัก อันนี้ไมพอใจ เสียใจ อยากใหมันเปนหนุมตึงอยูอยางเกา ผมหงอกมันก็ไปเอายาดำ ๆ มายอม แลวมันก็ปงขึ้นอีก มันก็ขาย หนาละ มันก็ดำอยูปลายนั่น โคน ๆ มันก็ขาว มันก็ขายหนาอีก แลวก็ไมพอใจ นี่เรียกวา วิภวตัณหา ตัณหาสามอยางนี้แหละเปนเหตุใหเกิดทุกข เมื่อรูเทามันสามอยางนี้เปนเหตุใหเกิดทุกข เปนเหตุใหเกิด ความเศราโศก แลวก็ใชปญญาคนหา มันเกิดจากไหน ตัณหามัน เกิดอยูที่ไหน มันตั้งอยูที่ไหน พระพุทธเจาวา จกฺขํุ โลเก ปยรูป สาตรูป สิ่งใดเปนที่รัก สนิทใจในโลก อะไรเปนที่รักสนิทใจในโลก คือ จกฺขุํ ตา ฯลฯ สนิท ใจในโลก ตัณหาจะเกิดขึ้นที่ตา ตัณหาจะตั้งอยู ตั้งอยูที่ตา เกิดที่หู ตั้งอยูที่หู เกิดที่จมูก ตั้งอยูที่จมูก เกิดที่ลิ้น ตั้งอยูที่ลิ้น กายสัมผัส ออนนุม มีความชอบใจ กำหนัด พอใจ อารมณอดีตลวงมาแลว อนาคตยังมาไมถึง เอามาเปนอารมณ เรียกวาธรรมารมณ มันเกิด ขึ้นที่ใจ รูจักวา มันเกิดขึ้นจากอายตนะภายนอก กับอายตนะ ภายในกระทบกัน แลวไปเกิดวิญญาณความรูขึ้นจากสัมผัส เวทนาเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ไป เรารูแลว อายตนะภายใน กับภายนอก กระทบกัน เกิดสัมผัส เราเพียรดับมัน เวทนาเกิดขึ้นจากสัมผัส 93


อนาลโยวาท

เมื่อรูแลวเราควรละควรปลอยวาง จึงวาดับทุกข อยูนี่ อยู ในนิโรธ ดับตัณหาทั้งสามได นั่นคือนิโรธ นิโรธคือความเฉยตอสิ่งทั้งปวง ความไมหวั่นไหว เรียกวา นิพพาน พระพุทธเจานิพพานไมไดอยูที่อื่น อยูกายนี่แหละไมได อยูที่อื่น อยูกับอาการสามสิบสอง ผม ขน เล็บ ฟน หนัง อยูกับ ธาตุสี่สิบสอง เราฟ ง แล ว ให พ ากั น ตั ้ ง ใจทำ เหมื อ นกั น กั บ เครื ่ อ งทั พ สัมภาระ เราจะปลูกบานปลูกเรือน มีดเราจะใชทำการทำงาน ลับ ดีแลวเอามาวางไว ทัพสัมภาระเอามาวางไว แลวไมทำมัน ของจะ ทำครบหมดแลวแตเราไมทำ จะปลูกเรือนก็ไมปลูก เอามากองอยู อยางนั้น ก็ชำรุดทรุดโทรม ไมมีประโยชน จะอาศัยทำตองอดทน อิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน พระพุทธเจาไมหาม นิสัยจริตของเราถูกกับอะไร ถูกกับพุทโธ หรือ ธัมโม หรือ สังโฆ หรือถูกกับ ขน เล็บ ฟน หนัง เอาเขาอยางหนึ่ง ถามันถูก (จริต) จิตมันจะสงบ จิตสงบไมฟุงซาน จิตเบิกบานแยบยล ราเริง อันนี้ก็หมายความวา มันถูกกับจริต ก็เอาอยางนั้น บริกรรม พุทโธ ๆ เรียกวา สมถะ ครั้นมันไมถูกไมลง ตองพิจารณา ผม ขน เล็บ ฟน หนัง นั่น พิจารณใหมันเห็นเปนอสุภะอสุภัง ของเนาของเหม็นของปฏิกูล โสโครก พิจารณาใหมันเห็นศพอยูในใจเรา ปฺจุปาทานกฺขนฺธา อนิจฺจา ขันธหาเปนของไมเที่ยง ปฺจุปาทานกฺขนฺธา อนตฺตา 94


อนาลโยวาท

ของอันนี้ไมใชของตน ไมใชผูหญิง ผูชาย ไมใชสัตว ไมใชบุคคล ตัวตน นี่ละรวมกัน คือถามันไมสงบ ยังฟุงซาน ก็ตองเอาปญญา ค น คว า พิ จ ารณาให ม ั น เห็ น เห็ น ของโสโครกไม ส วยไม ง าม พิจารณาไป จิตมันก็เห็น มันก็เกิดความสลดสังเวช เบื่อหนายใน ความเปนอยู คืออัตภาพ เบื่อหนายมันก็เกิดความคลายกำหนัด ไมยึดขันธอันนี้วาตัววาตน จิตลงไปถึงที่มัน มันไมไปไหนแลว มัน เปนอธิจิต มันจะเกิดแสงสวางโรขึ้น ดวงปญญามันก็จะพุงขึ้น การภาวนาอบรมจิตใหมันอยูนี่ เพื่อตองการจะเอาปญญา นั่นแหละ มันตองเกิดขึ้น มันจึงจะรูเทาความเปนจริง มันจะเห็น ทุกขสัจจะ เหตุเกิดทุกข ทางที่จะดับทุกข ทางใหถึงความดับทุกข ทางมันราบรื่นสบาย พระพุทธเจาก็บอกแลว อDฐงฺคิโก มคฺโค เสทโถ มรรค แปดเปนทางอันประเสริฐ พวกเราไดยินไดฟงแลว เรงทำเอาใหเกิด ใหมี ทำแลวจะไดรับความสุขกายสบายใจ ไมมีความเดือดรอนใจ ความโศกความเศราก็ไมมี เพราะรูเทาตามความเปนจริงแลวของ เรื่องโลกเรื่องสังขาร บานเมืองเกิดวุนวายฆาตีกัน เราไมวุนวาย ฆาตีกับเขา เขาดาก็เราไมดาเขา บานเมืองเขารอง เขาไห เราก็ไม รองไหอยางเขา

95


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๔ เทศนโปรดนายแพทย อวย เกตุสิงห และ g คณะ พ.ศ. ๒๕๑๓ ความทุกขกายเปนสัตวทุกข มีอยูเปนสิ่งธรรมดา ใหเราตั้ง สติอบรมจิตใจของเรา อยาใหมันไปยึดถือรางกาย ถาแมนมันไม ยึดถือแลว ก็จะอบรมจิตใจของเราใหมันสบาย หากใจไมสบายนี่ มันทุกขหลาย มันทุกขก็เพราะยึดเอาอารมณนั่นแหละเขามา ยึดถือ อารมณทั้งหลาย อารมณที่ไมพอใจมันก็ยึดเขามา ยึดเขา มาแลวก็เขามาเผาใจ ไมพอใจก็เปนเหตุใหคับแคบตันใจ อารมณ ที่พอใจนั้น เมื่อมันพลัดพราก เปนวัตถุภายนอกก็ตาม หรือแม ญาติมิตรก็ตาม พลัดพรากจากไป มันเปนทุกข ก็เพราะไมรูเทา อารมณ พระพุทธเจาวา ของเกา ของพวกนี้เคยมีมาตั้งแตเกา ไมใช จะมีมาเดี๋ยวนี้ เราเกิดมาชาตินี้จึงมาพบปะกันในชาตินี้ สิ่งที่พอใจ ก็ดี ไมพอใจก็ดี พบปะอยูทุกภพทุกชาติ พวกเราเพราะหลงอันนี้ แหละ จึงพากันไมเห็นความจริง เพราะหลงเรื่องอันนี้แหละ จึงพา กันวน พากันเอาภพเอาชาติอีก เปลี่ยนภพเปลี่ยนชาติ เทียวเกิด เทียวตายอยูร่ำไป เพราะไมรูเทาสิ่งเหลานี้ พระพุทธเจาวา ใหพิจารณาใหมันรูเทาสิ่งทั้งปวง นอมมา อยูอยางนี้สำหรับโลก ครอบงำโลกอยูอยางนี้ ผูไมรูเทาก็พอหัด มี ลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีนินทา มีสุข มี ทุกข เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข แปดอยางนี้ครอบงำสัตว 96


อนาลโยวาท

โลก เรียกวา โลกธรรมแปด ครอบงำโลกอยูเพราะไมรูเทามัน มันมีอยูสำหรับโลก เคยมีมาอยางนี้ตั้งแตไหนแตไรมา แตเราไมรู เทา เราก็หวั่นไหวไปกับมัน มีแตพระอริยเจา พระพุทธเจาและ พระสาวกของพระพุทธองค ไดยินไดฟง พิจารณาแลวรูเทาจึงไม หวั่นไหว พระพุทธเจาเปนเลิศในโลก ไมมีใครจะเทียบถึงหมดทั้ง สามโลก ถึงปานนั้น โลกธรรมนี่ก็ยังครอบงำพระองคอยู แต พระองคไมหวั่นไหวในโลกธรรมนั้น มีลาภ จิตของพระองคก็ไมฟู ขึ้น เสื่อมลาภ จิตของพระองคและสาวกทั้งหลายไมยุบลง ไมมี ความหวั่นไหว มีสรรเสริญก็ไมฟูขึ้น มีนินทา มีทุกข มีสุข ก็ไมมีฟู ขึ้น โลกธรรมมีอยูอยางนั้น ใครจะหนีไปไหนไมพน ตองไดพบอยู ทุกภพทุกชาติ ครอบงำสัตวโลกอยูทุกภพทุกชาติ สองแสงเปน ฉงคุเบกขา ตออารมณทั้งหลาย ก็สบายเทานั้นแหละ ไมมี ความหวั่นไหว ไมมีความสะดุงหวาดเสียวตออารมณใด ๆ เปนลม แท ๆ ไมใชคน ไมใชสัตว ไมใชของใคร แลวแตจะพิจารณาใหมัน เห็นธรรมเหลานี้เปนของกลาง ไมใชของใคร อัตภาพรางกายที่เราอาศัยก็ดี สมบัติอันนี้เปนของกลาง ไมใชของใคร ถาเรามายึดมันก็จะทุกข เรามายึดวาเรา วาตัว วา ตน วาผูหญิง วาผูชาย เพราะเห็นวาตัววาตนนี่แหละ เมื่อเขาดูถูก ดูหมิ่นก็โกรธแคน เมื่อเขาสรรเสริญก็ฟูขึ้น ชอบ แนะวาตนวาตัว พระพุทธเจาจึงใหพิจารณาใหมันเห็น แยกออกเปนสวน ๆ วา ไมใชคน ไมใชสัตว ไมใชผูหญิง ไมใชผูชายหมดทั้งนั้น เปนของ กลางสำหรับใช จึงวาใหพิจารณาใหมันเห็นวาเปนธาตุ 97


อนาลโยวาท

ธาตุ ๔ ปฐวีธาตุ ธาตุดิน, อาโปธาตุ ธาตุน้ำ, เตโชธาตุ ธาตุไฟ, วาโยธาตุ ธาตุลม ประชุมกันเขาเปนสกนธขึ้น เมื่อมี กอน มีขันธขึ้นแลวเรียกวาขันธ แลวก็มีเวทนาขึ้น ความเสวย อารมณเปนสุข เปนทุกข ไมสุขไมทุกข มีความจำหมายวารูป วา เสียง วากลิ่น วารส วาโผฏฐัพพะ วาธรรมารมณ มีความปรุงที่ใจ คือจิต เจตสิกปรุง ปรุงดี ปรุงชั่วแลวแตมันจะปรุงไป แลวก็มีความ รูขึ้น รูไปตามอายตนะ เรียกวาวิญญาณความรู รูวิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น ทางกาย วิญญาณทางใจ พระพุทธเจาจึงวาคน วาธาตุประชุมกัน ธาตุทั้ง ๔ รวมเรียกเปนขันธ ๕ มี รูปขันธ ๑ เวทนา ความเสวยอารมณเปนสุข เปนทุกข เฉย ไมสุขไม ทุกข เปน เวทนาขันธ ๑ สัญญา ความจำไดหมายรู เปน สัญญาขันธ ๑ สังขาร ความปรุงความแตง ปรุงเปนบุญ เปนบาป หรือ อะไรก็ตาม เรียกวา สังขารขันธ ๑ วิญญาณ ความรูทางอายตนะทั้ง ๖ เรียก วิญญาณขันธ รวมกันเปนขันธ ๕ ขันธอันนี้เปนเครื่องรับรอง รับรองสิ่งทั้ง ปวงทุกสิ่งทุกอยาง อารมณดีก็รับ อารมณไมดีก็รับ อะไร ๆ ก็รับ รับเอาหมดทั้งนั้น ทานจึงวาเปนของหนัก ไหนคน อยูที่ไหนละ นี่เปนรูปขันธ ไมใชคนนะ นี่เปนเวทนาขันธ ไมใชคน ไหน คนอยูไหน ตอง 98


อนาลโยวาท

คนควาไป พิจารณาอยูอยางนั้น ใหมันเห็นเปนความจริงของขันธ อันนี้ หรือใหพิจารณาปญจกกรรมฐาน กรรมฐาน ๕ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง นี่พระองคก็แยกไววา ไมใชคนสักอยาง แจกออกไปถึงอาการ ๓๒ คนอยูที่ไหน ธาตุดิน ก็มีลักษณะ ขนแข็ง หลายธาตุรวมกัน ไลออกไป ธาตุดิน มี ๒๐ ธาตุน้ำมี ๑๒ ไหน คนมีที่ไหน ธาตุไฟอบอุน เผาอาหารใหยอย ไฟเผารางกาย ใหกระวนกระวาย ธาตุไฟมี ๔ อัน นี่ก็ไมใชคน ธาตุลม ๖ ลมพัด ขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องลาง ลมพัดในทองในไส ลมพัดทั่วไปใน รางกาย ลมหายใจเขาออก ธาตุลม ๖ ไหน คนอยูที่ไหน ใหพิจารณาใหมันรูเทาวาเปนธาตุ ไมใชคน เรามาหลงอันนี้ แหละ หลงวาตัว วาตน วาหญิง วาชาย เมื่อเปนรูปเปนกายมา แลว พระองคสั่งสอนใหพิจารณาเห็นรูปอันนี้ เกิดเปนกอนขึ้นมา แลวประกอบไปดวยทุกขโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ นานา เกิดเปนรูปมา แลวก็ตองแตกตองดับ ไมยั่งยืนคงทนอยูได ใหพิจารณาใหมันเห็น ใหมันรูจักชาติ ความเกิด เกิดขึ้นมาแลวก็เปนทุกข ชรา ความแก คร่ำคราทรุดโทรมก็เปนทุกข มรณะ ความตายก็เปนทุกข แลวก็ โศกะ ปริเทว ทุกขโทมนัส ปายาส ความคับแคน อัดอั้นตันใจ เกิด ขึ้นก็เปนทุกข ทานใหพิจารณา เห็นเกิดขึ้นเปนทุกขทั้งนั้น อยูใน กองทุกข กองทุกขนี่มันเกิดมาจากไหน เพราะเกิดเปนรูปเปนกายขึ้น มา อะไรเปนเหตุเปนปจจัยใหมันเกิด ก็คือความอยาก ความหลง 99


อนาลโยวาท

นี่แหละเรียกวาความกำหนัด ความชอบใจ กำหนัดเรียกวากาม ความกำหนัดในกิเลสกาม วัตถุกามก็ตาม เรียกวากามตัณหา เรียกวาตัณหา ความทะเยอทะยาน ความเพลิดเพลินในอารมณทั้ง หลาย ความอยากเปนอยากมี ความอยากเปนโนนเปนนี่ เรียกวา ภวตัณหา ความไมอยากเปนมาอยากมีเรียกวา วิภวตัณหา ความ เกลียดความชัง เหมือนอยางผมหงอก ฟนหัก หนังหดยนเปน เกลียว ไมชอบ ไมอยากใหมันเปน ความแกความเจ็บ ไมอยากให มันเปน แลวก็ไมพิจารณาใหมันเห็น ตัณหาทั้ง ๓ นี้ เปนเหตุเปน ป จ จั ย ให เ ที ่ ย วเกิ ด เอาทุ ก ภพทุ ก ชาติ เพราะความหลงอั น นี ้ พระพุทธเจาจึงสอนใหละตัณหาทั้ง ๓ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา มันเกิดที่ไหน ตั้งอยูที่ไหน ตองคนหาที่ตั้งที่เกิดของมัน จกฺขุํ โลเก ปยรูป สาตรูป เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมา นา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ ตัณหาจะเกิดขึ้น ก็เกิด ขึ้นที่ตา จะตั้งก็ตั้งอยูที่ตา จะเกิดขึ้นที่หู ก็ตั้งอยูที่หู เกิดขึ้นที่จมูก ก็ตั้งอยูที่จมูก เกิดขึ้นที่ลิ้น ก็ตั้งอยูที่ลิ้น เกิดขึ้นที่กาย ก็ตั้งอยูที่ กาย เกิดขึ้นที่ใจ ก็ตั้งอยูที่ใจ เกิดขึ้นที่รูป ก็ตั้งอยูที่รูป เกิดขึ้นจาก เสียง ตั้งอยูที่เสียง เกิดขึ้นจากกลิ่น ตั้งอยูที่กลิ่น เกิดขึ้นจากรส ตั้งอยูที่รส เกิดขึ้นจากสัมผัส ตั้งอยูที่สัมผัสนี่บอนมัน ทางมันเกิด ขึ้น เกิดขึ้นทางจักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เกิดขึ้นจากความกระทบกัน ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ นี่ทางมันเกิดขึ้น ตั้งอยูอันนี้ เกิดขึ้น แลวตั้งอยูอันนี้ เกิดขึ้นจากเวทนา ความสัมผัสทั้งกาย ทั้งวาจา 100


อนาลโยวาท

ทั้งใจ สัมผัสทั้งรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ เมื่อจำ ไดรูปตัณหา ความกำหนัด ความชอบในรูป สัททตัณหา ความ ชอบในเสียง คันธตัณหา ความชอบในกลิ่น รสตัณหา ความชอบ ในรส โผฏฐัพพตัณหา ความอยากถูกตอง เย็นรอนออนแข็ง ฟูก นอนหมอนอันนี้ ธัมมาตัณหา คือ อารมณอดีต อนาคต มันสุมอยู ในใจ เกิดเปนตัณหาขึ้น ความคิดถึงรูป กลิ่น เสียง รส โผฏฐัพพ ธรรมารมณ ตรึกตรองถึงรูป กลิ่น เสียง รส โผฏฐัพพธรรมารมณ นี่แหละตัณหาจะเกิดขึ้น ธมฺมวิจาโร โลเก ปยรูป สาตรูป เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺ ปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ตัณหามันเกิดขึ้น อยูที่ไหน ตั้งอยูที่ไหน เมื่อจะดับตัณหา ดับที่ไหน ก็จะตองดับตาม อายตนะ สิ่งใดเปนที่รักสนิทใจในโลก ตัณหาจะเกิดขึ้น อะไรเปน ที่รักสนิทใจในโลก ตาเปนที่รักสนิทใจในโลก ตัณหาจะเกิดขึ้น ก็ เกิดขึ้นที่ตา ตัณหาจะตั้งอยู ก็ตั้งอยูที่ตา หูเปนที่รักสนิทใจในโลก เมื่อจะดับก็ตองดับตานี้ คือสำรวมไมใหมันเห็น มีสติประจำ ไมให มันดู เหตุนั้น พระพุทธเจาจึงใหสำรวมอินทรีย สำรวมตา ให สำรวมหู สำรวมจมูก สำรวมลิ้น สำรวมกาย สำรวมใจ อยาไปให ยินดียินราย อยาดูมัน อยาฟงมัน ทำเปนหูหนวก กินอีเกงเสีย นั่น แหละมันจึงสบาย ใหชื่อวาดับอายตนะ นี่แหละหมดทุกสิ่งทุก อยางที่จะไปสูทางทวารทั้งหก จกฺขุํ โลเก ปยรูป สาตรูป เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติฯ บุคคลจะดับก็ตองดับที่ 101


อนาลโยวาท

จักขุนี่ บุคคลจะปลอยวาง ก็ตองปลอยวางที่จักขุ ดับที่จักขุ ดับ ไปตลอด จักขุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายใจนี้ดับไป ปลอยวางหมด สิ่งเหลานี้ เห็นวาตนเปนของกลางไมใชของใคร เปนของกลาง แลวสมบัติอันนี้เปนสมบัติดี บริบูรณดี จะใชใหมันทำความเพียร ใชใหมันเดินจงกรม ใหใหมันนั่งสมาธิ ใชใหมันคนควาพิจารณา รางกาย อาศัยมัน มันเปนสมบัติดี ใชแลวเหมือนกับเครื่องทัพ สัมภาระที่เขาเก็บมา หามาพอทุกสิ่งทุกอยาง จะปรุงบานปรุง เรือนปรุงอะไรก็ตาม ปรุงรถ เครื่องยนต เครื่องอะไรก็ตาม เขาหา มาแลวเขาตองใช หามาแลว ปรุงขึ้นแลว เปนรถแลว เขาตองใช บรรทุกจนเต็มกำลัง เมื่อมันทำขึ้นใหม ๆ นี้ ครั้นมันชำรุดทรุด โทรม มันก็บรรทุกไมไดอีกละ เหมือนกับรางกายของเรา มันเฒา มันแกแลว ชำรุดทรุดโทรมแลว ไมมีความสามารถจะทำความ เพียรได เมื่อยังนอยยังหนุม รีบใชมันเสีย มันชำรุดทรุดโทรมใชไม ได จะนั่งหลายก็เจ็บเอว เดินหลายก็เจ็บแขงเจ็บขา มันแกมาแลว นอนมันก็เมื่อย ไมมีความผาสุก ไมมีความสบาย เอาเปนอยางไร นอนตะแคงก็เจ็บ นอนหงายก็เจ็บ ขางซายอีก ก็เจ็บอยูอยางนั้น แหละ ของมันเกามันแกมาแลว กายมันถูกตองโผฏฐัพพะ มีแตเจ็บ แตแข็งหมด เมื่อยังหนุมยังนอยอยางนี้ ถูกตองนั่งนอนอยางไรก็ พอนอนพอนั่ง มันเฒาแกมาแลวมีแตกระดูก นอนไปขางไหนมันก็ เจ็บ นอนไปไมไดนาน ยี่สิบนาทีละพลิกขางโนน พลิกขางนี้มัน แสนลำบาก เมื่อมันยังดี แข็งแรงอยูอยางนี้ละ รีบใชมันเสีย มัน เปนคนดีทางโลก 102


อนาลโยวาท

โลกัตถประโยชน ญาตัตถประโยชน อัตถประโยชน ประโยชนตนยังไมทันได ประโยชนตนคือทำความเพียร คือทำจิต ใหสงบเปนสมาธิ จิตมันดีแลวใหมันสงบเปนสมาธิ ครั้นมันเปน สมาธิแลว ทำใหมันแนวแน มีอารมณอันเดียวแลว ก็จิตนั่นแหละ มันจะเปนดวงปญญาขึ้น มันจะสองแสง มันมีกระแสจิตพุงออก พิ จ ารณากายอี ก ซ้ ำ อี ก ที ก ็ จ ะเห็ น ชั ด ครั ้ น มั น สงบแล ว พระพุทธเจาก็ใหพิจารณาสัจจะของจริงทั้งสี่ สัจธรรมของจริง ของจริงของดีของพระพุทธเจา ของพระสาวกผูไดยินไดฟงแลว เห็นจริงอยางนั้น จริงอยางไร ดีอยางไร ดีเพราะวาเหมือนดังพระ สาวก ทานทั้งหลายเบื้องตนก็เปนปุถุชนนี่แหละ เมื่อไดฟงคำสอน ของพระพุทธเจา พิจารณาเห็นตาม เห็นแลวเกิดนิพพิทาในเบญจ ขันธ วามันไมใชของเรา เปนเพียงของใช ไมใชของเรา นี่แหละ เห็นจริงชัดแลว ก็ละถอนปลอยวาง ไมยึดมั่นถือมั่น ทำใหปุถุชน เปนพระอริยเจาได จึงวาของจริง สมุทัย สาเหตุใหเกิดทุกข ก็เปน ของจริงอันประเสริฐ นิโรธ ความดับ ก็เปนของจริงอันประเสริฐ มรรคปฏิปทา คือเรารักษาศีล เราภาวนา เดินจงกรม ก็นี้ แหละ มรรคปฏิปทา เพื่อจะใหกาวไปถึงนิโรธ อันนี้การปฏิบัติ การเดินจงกรม นั่งสมาธิภาวนา อิริยาบถทั้ง ๔ อันนี้เปนมรรค ปฏิปทา เรียกวา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสจฺจํ ผูใดปฏิบัติ ใหมีใหเกิดขึ้น ใหสมบูรณแลวดวยธรรมเหลานี้ เพื่ออบรมจิต มรรคปฏิปทาใหจิตตั้งเปนสมาธิ มันเกิดสมาธิ แลวก็เกิดญาณ เพราะบำรุงมรรคนี่เสียกอน ใหเกิดใหมีขึ้น มรรควาทางอัน 103


อนาลโยวาท

ประเสริฐ เปนทางเดินไปสูความวิมุติ ความหลุดพนจากอาสวะ ให ถึงวิโมกข ความพน ทำเอาเอง พระพุทธเจาเปนแตผูบอก ทำเอา เอง ผูอื่นทำใหไมได ใครทำใครเอา เหมือนกับรับประทานอาหาร ตองทานใครทานเรา ใครตั้งใจทานก็อิ่มทองเอง ธรรมมีอยูที่ไหน ไมอยูที่อื่น ไมไดไปหาเอาที่ปาที่ดง แมนหมดทั้งสกนธกายนี้ แมน หมดทั้งกอนนี่แหละเปนธรรม พระองคชี้เขามาที่นี่ ไมไดชี้ไปที่อื่น ชี้เขามาที่สกนธกายนี้ ใชอันนี้ทำ ยืน เดิน นั่ง นอน มีอยูนี่พอแลว ไมตองไปหาเอาที่อื่น ทุกขสัจจก็มีพออยูนี่แลว สมุทัยสัจจ ความ โลภ ความโกรธ ความหลงก็มีอยูนี่แลว นิโรธสัจจ ความรูแจง ความเห็นจริง ตามความเปนจริงก็มีอยูที่นี่แลว มรรคปฏิปทาก็มี อยูที่นี่แลว แมเราจะเปนผูเดิน ผูยืน เปนผูนั่ง ใครครวญพิจารณา หาเหตุผล เราจะไปหาเอาที่ไหน สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ทั้งกอนนี้ ไมใชของใครทั้งหมด ไมใชของใครทั้งหมดทั้งนั้น แตมันเปน อนัตตาไมใชเรา พระพุทธเจาบอกแลว รูป อนิจฺจํ เวทนา อนิจฺจา สฺญา อนิจฺจา สงฺขารา อนิจฺจา วิฺญาณํ อนิจฺจํ รูป อนตฺตา บอกซื่อ ๆ นี่แหละ ไมมีลี้ลับสักหนอย แลวเราไมเห็น มันดูไมถูก เรานี่ ที่ เรานี่แหละ พุทธทาสบอกวา ตัวกู ตัวของกู เหมือนนกเขานั่น แหละ ครั้นปลอยวางเปนของกลางแลว เปนของใชแลว ตอง ปฏิบัติ มันอยูนี่แหละ ไมไดทิ้งดอก ไมแมนของเรา แตเราอาศัย แลว เราก็ตองปฏิบัติมัน อาบน้ำชำระกายใหมัน นุงผาหมผาให มัน มันนอนก็หม ฝนตกก็หม แดดออกก็หม ตองรักษาเหมือนกัน 104


อนาลโยวาท

กับของใชนั่นแหละ เราจะไปทิ้งเลเพลาดพาดอยางนั้น มันก็ใช การไมได มีอยูนี่แลว เราไมไดไปเอาที่อื่น พระพุทธเจาบอกใหแลว ธรรมแมนหมด กอนใครกอนเรานี่เนอ สมมุติวาผูหญิงผูชายตาง หาก นี่แหละมันหลงสมมุติ จะวากอนสมุทัยก็แมนหมดทั้งกอนนี่ แหละ เราหลงสมมุตินี่แลววา หนังของเราดี วาเล็บของเราดี วา ฟนของเราดี ผมของเราดี สวยงาม งามก็เอาไปมาเผาใหมันงอ พอมันหงอกมาก็เอาน้ำยอมมา มันจะขายหนาเขา ยอมดำ บทมัน ปง (งอก) ขึ้นมา มันก็นาเกลียดขึ้น ขายหนาขึ้น หนังหนามัน เหี่ยวก็เอาอีหยังมาทา แลวก็เอาครุถังน้ำอีหยังตั้งบนหัวนี่ มันรอน นี่ มันไมชอบ มันเบื่อหนาย มันรอน ใหหนังหนามันแหง มันลอก ออกเหมือนกันกับไข อันนี้ มันลอกออก มันก็อยูไปซัก ๒-๓ วัน มันก็เหี่ยวอยางเกาอีก ครือเกา โอย อันนี้ไมชอบละ ความไมชอบ มันก็วิภวตัณหานะ แลว ๒-๓ วันมันก็ลอกออก มันก็เหี่ยวครือเกา ของเกา นี่แหละมันหลงอันนี้ละ แมนตัวสมุทัยหมดทั้งกอน ผมมัน ก็ตัวสมุทัย เล็บ ฟน หนัง แมนหมด แมนตัวมรรคหมดทั้งกอน ครั้นชำระ ครั้นพิจารณาดู แมนตัวนิโรธ แมนตัวทุกขหมดทั้งกอน ผมไมสระสางมันก็เหม็นสาบ ตองสระตองสาง เล็บเอาไวยาวมันก็ นาเกลียดนาชัง ดำก็ปานหยัง นาเกลียด เขี้ยว (ฟน) ถาไมขัดไม นั่นมันก็มีขี้เต็ม มันไหลออกทั้งกลางวันกลางคืน ทั้ง ๙ ทวารนี่ แหละไหลออก ฟนนั่นไมมีรูตัว วาตัวดีอยู วาดี วาหอม พระพุทธเจาวา ใหดู ใหพิจารณา ใหดูไมงาม อสุภะอสุภัง ปฏิกูลํ 105


อนาลโยวาท

นาเกลียด อัตภาพรางกายนี้ไมใหเห็นวาเปนสุภะ คือความสวย ความงาม มันหลงอะไรละ มันหลงหนัง

106


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๕ ตัณหา

มันเปนกอนใครกอนมัน มีเจตนาพรอม จึงวา มโนปุพฺพงฺ คมา ธมฺมา มโนเสDฐา มโนมยา ธรรมทั้งหลายมีใจถึงกอน มี ใจประเสริฐสุด ถึงแลวดวยใจ จะทำคุณงามความดีทุกสิ่งทุกอยาง ก็สำเร็จแลวดวยใจ จะทำบาปก็สำเร็จดวยใจ ผูที่มีใจโทษ ประทุษรายอยูแลว มีโลภะ โทสะ โมหะ ประทุษรายอยูแลว มน สา เจ ปทุDเฐน ใจอันถูกประทุษรายอยูแลว ภาสติ วา กโรติ วา จะพูดก็ดี พูดก็มีคำหยาบชา มีคำเศราหมอง มีบาป ความ เดือดรอน พูดดีก็เปนทุกข จะทำดี โทษก็ขมคออยูนั่น มีแตตกต่ำ อยูนั่น ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ ทุกขติดตามไปอยู จกฺกํว วหโต ปทํ ฯ คนผูโทษประทุษรายเอาแลว ใจไมดีแลว เพราะใจเอา อารมณทั้งหลาย คืออารมณที่ชอบใจ มาหมกเขาที่ใจ อารมณที่ ไมชอบใจ ก็เอามาหมักหมมไวที่ใจ ใหมันเผาใจ กลัดกลุมอยูทั้ง กลางวันกลางคืน ยืนก็ไมเปนสุข เดินก็ไมเปนสุข นั่งก็ไมสุข นอนก็ ไมสุข อันนี้แหละใจไมดี มีโทษประทุษรายอยูแลว มีราคะ โทสะ โมหะ ความหลงอยูแลว มันจะใหความสุขอยางใดละ เหมือนกัน กับโคอันเข็นภาระอันหนักไปอยู ทุกขตามไปอยู ลอตามมันไปอยู แอกถูคอมันไปอยู ขมคอมันไปอยูจนบาดเจ็บ คอโปน เอามันไป อยูอยางนั้น เลยไมตองมีความสุขแลว 107


อนาลโยวาท

เราเอามาอบรมเดี๋ยวนี้ คือใหออกจากเครื่องกังวล เครื่อง ปรุง เครื่องแตงทั้งหลาย คือฆราวาสมันประกอบดวยเครื่องกังวล ออกจากอารมณ ออกจากความแตงความปรุงทั้งหลายทั้งปวง ได ชั่วครั้งชั่วคราว เพื่อมาวัดในวันพระ มีสี่หนในเดือนหนึ่ง ออกเพื่อ เนกขัมมะ ความออก ออกจากสิ่งทั้งปวง ออกจากเครื่องกังวลทั้ง หลาย เนกขัมมะตองออกจากบาป จากความชั่วทางกายก็ดี ทาง วาจาก็ดี ทางใจก็ดี เมื่อออกมาแลว ออกจากของดำของมืด ออก มาที่วิเวกแลว มันจึงสงบสงัด มันจึงไดความวิเวกของใจ สงบใจ สบายใจ วันหนึ่ง คืนหนึ่ง อันนี้ชื่อวาพักแรมของใจ ชั่วครั้ง ชั่วคราว อานิสงสการรักษาอุโบสถทานพรรณนาไวไมมีที่สิ้นสุด ได ชื่อวาออกจากกองไฟ ไฟอะไรละจะมารอนกวาไฟธรรมดา ก็มี กามนั่นแหละ เปนตนเหตุ อันนี้ออกมาจากกาม พวกเราออกมา ทำความสงบจิตใจชั่วครั้งชั่วคราว ไดออกมาจากเครื่องกังวล คือ ได กายวิเวก กายไมฆาสัตว ไมเบียดเบียนหยังดวยกายวิเวก เมื่อมันไดกายวิเวกแลว มันจะเปนเหตุให จิตวิเวก จิตสงบ สงัดจากอารมณทั้งหลาย สงัดจากกามฉันทะ จากพยาบาท จาก ถีนะมิทธะ จากอุทัจจะกุกุจจะ ฯ สงัดจากวิจิกิจฉา ความสงสัย ลังเล ไมเชื่อใจ ไมตกลงใจ นี่ เมื่อไดกายวิเวก ก็เปนเหตุใหเกิดจิต วิเวก 108


อนาลโยวาท

เมื่อไดจิตวิเวกแลว จะเปนเหตุใหเกิด อุปธิวิเวก อุปธิวิเวกก็ คือ ความที่มีจิตแนวแนลงไปถึงอัปปนาสมาธิ อัปนาฌาน แนนแฟน เมื่ออุปธิวิเวกเกิดขึ้นแลว มันจะเกิดความรูขึ้น คือ ญาณทัส สนะ ญานัง ความรู ทัสสนะ ความเห็น ญาณทัสสนะ ความรุเห็น ตามความเปนจริงของอัตภาพรางกาย สังขารเปนอยางไร เมื่อได อุปธิวิเวกแลว มันจะเห็นสังขารรางกายของตนเปนของแตกของ พั ง ของทำลาย แล ว ร า งกายของตนนี ่ เ ป น ภั ย เป น อสรพิ ษ เบียดเบียนตนทุกค่ำเชา ทุกวันทุกคืนทุกปทุกเดือน เปนภัยใหญ แลวรางกายนี้มันเปนโทษ อันนี้แหละเรียกวา นำความเห็น ทัส สนัง ครั้นรูวารางกายเปนอยางนี้แลว เราเขาใจวาแมนของเรา แตมันเปนอื่น มันไมไวทาเราสักหนอย ไมอยากใหมันแก มันเจ็บ มันก็ไมฟง ถาเปนของเรา มันตองฟงเรา อันนี้มันบฟง จึงวามัน เปนอนัตตา แลวเปนอนิจจัง เปนทุกขัง เราก็ เ อามั น มากำหนดอย า งนี ้ แ หละ กำหนดพิ จ ารณา รางกายของตนใหมันเห็นตามความเปนจริงไว ยถาภูตํ ญาณทัสฺ สนํ นั่นแหละ เห็นวารางกายเปนของแปรปรวน เปนของแตกดับ เปนของสลายไป ชื่อวาเห็นภัย เมื่อเห็นอยางนี้แลว พระพุทธเจา วา มันจะมีความเบื่อหนาย ความกลัว เห็นมันเปนอสรพิษ เปนงู จงอางมาขบกัดอยูทุกวันทุกคืน มีแตเจ็บแตปวด บมีความสบาย มันเจ็บมันปวดอยู ชื่อวามันเปนทุกข 109


อนาลโยวาท

ผูมาพิจารณาเห็นรางกายเปนอยางนี้แลว สพฺเพสงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปฺญาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺ โค วิสุทฺธิยา ผูมาพิจารณาเห็นรางกายอยางนี้ เห็นอัตตภาพของ ตนเปนอยางนี้ ยอมมีความเบื่อหนายรางกายอันนี้ ยอมเปนผู หมดจด เปนญาณความรูอันหมดจดบริสุทธิ์ของผูนั้น สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ ยทา ปฺญาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เมื่อเห็นดวยปญญาวาสังขารรางกายเปนทุกข ยอมเบื่อหนาย อันนี้เปนความเห็นอันบริสุทธิ์ของผูนั้น สพฺเพธมฺมา อนตฺตาติ ยทา ปฺญาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เมื่อผูมาพิจารณาเห็นอัตภาพธรรมทั้งหลาย คือสกนธกายขวองเราทุกรูปทุกนามมันเปนอื่นแลว ไมเปนเราแลว ยอมมีความเบื่อหนายในธรรมอันนี้ กอนธรรมอันนี้ สกนธกายอัน นี้ เบื่อหนายในสังขารธรรม คือความปรุงความแตงอันนี้ เมื่อเบื่อ หนายก็คลายกำหนัด คือความยึดมั่นถือมั่นในขันธแน นี่แหละมัน จึงวางภาระ ขันธ ๕ นี้เปนภาระอันหนักที่ทับคอเราอยู คำวาขันธ ๆ เปน ของรวบรวมสิ่งทั้งปวงเขา เหมือนขันขาว ขันหมาก ขันอันหยัง ก็ตาม เอาของมาทับใสมันหละ อันหยังก็เก็บกวาดใสเต็มขันนั่น แหละ มันก็หนักนั่นแหละ เปนทุกขอันหนักหละ ภาราหเว ปฺจกฺ ขนฺธา ขันธ ๕ เปนทุกขเนอ ภารหาโร จ ปุคฺคโล ชีวิตคือขันธ ๕ นำไปเปนทุกข ภาราทานํ ทุกฺขํ โลเก ผูยึดถือขันธ ๕ แลว ไม พิจารณาใหเห็นตามเปนจริง ไมเขาใจวาตัวตนแลว ก็เปนทุกขอยู 110


อนาลโยวาท

ในโลกนั่นแหละ ภารา นิกฺเขปนํ สุขํ ผูปลอยวางขันธ ๕ นี่แลว ไมยึดไมถือวาเปนตัวเปนตนแลว ผูนี้แหละเรียกวาเปนผูวางภาระ อันหนัก นิกฺขิ ปตฺวา ครุงฺภารํ อนยํ ภารํ อนาทิย ผูปลอยวางแลว ไมยึดเอาอื่นอีก ขันธหานี่ไมยึดเอาเปนตัวเปนตนแลว ไดชื่อวาเปน ผูขุดเสีย ขุดขึ้นเสียคือ ตัณหา ขุดขึ้นทั้งราก นิจฺฉาโตปรินิพฺพุโต จัดวาเปนผูเที่ยงแลว เที่ยงพระ นิพพานแลว ใกลพระนิพพานแลว เขาถึงปากทางพระนิพพาน แลว ครั้นเขาไปหมดตนหมดตัวแลว ความรูรวมแลว มันก็รูตัณหา วาความดิ้นรนมันเผาอยูตลอดวันตลอดคืน เรียกวาความดิ้นรน ตัณหาวาความใคร ความใครในอารมณที่ชอบใจ มันเปนตัณหา ครั้นดิ้นรนอยากไดแลว ก็อยากเปน ทีนี้มันเปนตัณหาขึ้น อยาก เปนคืออยากเปนอินทร พรหม เปนจักรพรรดิ์ เปนเศรษฐี คหบดี อยากเปนเพราะตัณหา มีตัณหา ๓ ความใครเรียกวากามตัณหา ความดิ้นรนอยากไดเปนภวตัณหา วิภวตัณหาคือความไมอยาก เปนไมอยากมี เหมือนผมหงอก ฟนหัก รางกายหดเหี่ยว ตามืดตา มัว ความแก ไมอยากเปน อารมณที่ไมชอบก็ไมอยากพบ ไมอยาก เห็น ไมอยากเปน นี่เรียกวาวิภวตัณหา มีความขัดเคือง ตัณหานี่ เปนเหตุใหจิตใจเกิดทุกข เพราะเหตุนั้นพระพุทธเจาจึงใหพิจารณาใหเห็นทุกขเสีย กอน อันใดเปนทุกข อัตภาพรางกายหมดทั้งกอนนี้เปนทุกข ทุกข 111


อนาลโยวาท

มาจากความเกิด ครั้นเกิดมาเปนกอน เปนสกนธกายแลว ก็เปนก องทุกข เปนกองไฟ นี่แหละใหพิจารณาใหมันเห็นทุกข ทุกข พระพุทธเจาใหกำหนดรู ใหเห็นตามความเปนจริงของ สภาวะ ชาติ ความเกิดก็เรียกวา ตัวธรรมดา ใหรูเทาตัวธรรมดา เสีย ตัวธรรมดา มันเกิดอยูธรรมดานั่นแหละ มันมีเกิดอยูเปน ธรรมดาในโลก มันมีอยูอยางนี้แหละ ใหรูเทาธรรมดาเสีย ธรรมดา มันเปนที่เรานึก อยูดี ๆ ละ นึกจะทุกข มันก็ทุกข ทุกข มันมาจากไหน ตองสาวหาเหตุ ทุกขมันมาจากเหตุ ธรรมทั้งหลาย ไหลมาแตเหตุ เหตุคือความอยาก ความดิ้นรน ความใคร ความ ชอบใจ แลวความอยากเปนอยากมี ความไมอยากเปนไมอยากมี มันมาจากนี้ ครั้นรูวามันมาจากนี่ แมนทุกขจะเกิดขึ้น มันเกิดขึ้น เพราะความอยากเปนอยากมี อยากเปนภพ เปนชาติอยู มันมา จากนี้ แตวาใหปลอยวางเสีย ตัณหานี่ปลอยวางเสีย สำรอกขึ้น เสีย ปลงเสีย อยาอาลัยในความอยากเปนอยากมี ความใคร ความชอบใจในอารมณก็ดี ความไมชอบใจไมพอใจก็ดี ใหปลอย ใหวางเสีย ทำเสียจนปลอยทุกขไดทั้ง ๕ แลว เปนเคาเปนมูล ปลอยวางตัณหาความอยาก ความทะเยอทะยานนี้ไดแลว ไดชื่อ วาปลอยตัณหาเสียก็ได ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อ นาลโย

112


อนาลโยวาท

มุตฺติ วา หลุดพนจากตัณหา อเสสวิราคนิโรโธ ไมไดมี ความอาลัยอาวรณ ความยินดี ความชอบใจ ความไมชอบใจ ไมมี เศษ ไมมีอะไรมาติดอยูในใจ ใจผุดผอง ใจเบิกบาน ใจผองใส ใจ นั่นแหละเรียกวาพุทโธ ตื่นแลว ตื่นแลวจากตัณหา รูแลว พุทโธ พุทธะ วารู รูหนาตาของตัณหาแลว

113


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๖ แสดงในโอกาสทอดกฐินและผาปา พ.ศ. g

๒๕๑๖

ธรรมเทศนา พระเดชพระคุณ เจาฟา เจาคุณ อันนี้คือ อริ ยันจัฏฐังฯ ฟงหมดแลว ทานเขาใจหมดแลว ยังจะฟงตอไปอีกเนาะ อันใดทานก็รูหมดแลว บาปก็รู บุญก็รู คุณโทษอะหยังก็รู หมดแลว (อะหยัง-อะไร) แลวจะฟงอะไรอีก อาตามก็อยูปาอยูดง มีแตนั่งหลับหูหลับตาใหแมลงวันตอมอยูซื่อ ๆ (อยูซื่อ ๆ - อยูเฉย ๆ) ไมมีความรูวิชาความรูอะหยังจั๊ก (จั๊ก - ไมรู) จะเอาอะไร พระ เดชพระคุณทานจะใหเทศน เจาคุณฯ นั่นแหละเทศน (แลวทานก็ หัวเราะตามแบบที่ทานเคยหัวเราะ) เสียงทานเจาคุณพระพุทธพจนวราภรณ ซึ่งเปนประธานนำ กฐิน-ผาปา ไปทอดคราวนี้ กราบเรียนตอบวา “กระผมเทศนให เขาฟงอยูธรรมดา ขอทานอาจารยประทานโอวาท นานนาน ปหนึ่งหรือสองปกวาจะไดมีโอกาสมา” ทานพระอาจารยขาวจึงวา..... จั๊ก...จะเอาอะไรมาพูดใหญาติโยมฟง เหมือนคนอยูในปาใน ดง พวกญาติโยมทั้งหลาย มีพระเดชพระคุณเปนหัวหนามา อุตสาหมา อยูไกลแสนไกลก็ยังอุตสาหมา ก็นับวาเปนบุญยิ่ง เปน 114


อนาลโยวาท

บุญลาภอักโขอักขังของพวกญาติโยม ฟงเทศนก็ไดฟงทุกสิ่งทุก อยางหมดแลว ทานก็ไดฟง ศีลก็ไดฟง ทุกขสัจก็ไดฟง แลวจะเอา อะไรฟงอีก ธรรมนั่นแหละแมน (แมน - ใช, ถูกแลว) กอนธรรม หมดทั้งกอน แมนหมด กอนธรรมหมดทั้งกอน ธรรมนั้นก็เปนธรรม อกุศลธรรมก็มี กุศลธรรมก็มี ฉะนั้น ทานทั้งหลายอยูบานใหญ เมืองใหญ ก็ไดฟงอยูบอย ๆ แลว ก็คงแตรักษาแตคุณงามความดี สวนบาปธรรมนั้นคงจะพากันรับรูแลว รูแลวก็คงจะพากันรังเกียจ ไมอยากแตะตอง มีแตขับไลมันออกไป กุศลธรรมเกิดก็แมนใจนั่น แหละ ใจนั่นแหละเปนผูปรุงแตงขึ้น อกุศลธรรมก็แมนใจนั่นแหละ ธรรมไมตองไปหาที่อื่น แมนหมดทั้งกอน พระพุทธเจาทาน วา เปนกอนธรรมหมดทั้งกอน ปละเปนของกลางไมใชของใคร อัตภาพเปนของกลาง เรารูจักวาอยางนี้ เปนของกลางไมใชของ ใครหมด หมดทั้งนั้น กอนใครกอนใคร รูวาเปนของกลางแลว และ เปนของไดมาอันบริสุทธิ์ เกิดมาชาตินี้เปนผูสมบูรณบริบูรณ พน จากใบ บ  า บอดหนวกเสี ย จริ ต มี ร  า งกายจิ ต ใจหู ต าสมบู ร ณ บริบูรณแลว ก็ควรพากันพิจารณาวา เราเกิดมาชาตินี้ไดสมบัติดี สมบัติอันดีสมบูรณเราตองนำมันเสีย อยาไปเอาใหมันแกตายทิ้ง ซื่อ ๆ (ตายทิ้งเฉย ๆ) ไดมาซึ่งสมบัติดี แลวเอากับมันเหีย (เอากับ มันเสีย) อันนี้ สมบัติอันนี้เปนแตภายนอก แลวเอากับมันเสีย คือ เอากับภายใน เอาอริยทรัพยอันติดตามตนไปได อันสมบัติเรา แสวงหาทุกวันนี้ เปนมหาเศรษฐีหรืออะหยังก็ตาม อันนี้เปน 115


อนาลโยวาท

หนทางของทรัพยภายนอกที่อาศัยกันชั่วชีวิตหนึ่งเทานั้นแหละ ครั้นลมหายตายแลว ทรัพยสมบัตินั้นก็เปนของสำกรับโลก มัน เปนดิน เปนน้ำ เปนลม เปนไฟ เทานั้นแหละ แลวผูที่ไปนั้น ผูที่จะ ทองเที่ยวอยูในสังสารจักรไมทีสิ้นสุดนั้นคือ ดวงวิญญาณ ดวงจิต ดวงวิญญาณนี่แหละที่ทองเที่ยวอยู เกิดอยูบอย ๆ “สํสาเร สํสรนฺ โต โส สํสาเร ภโว วิปุนจิโส สํสาร ทุคโตโม เต สํเสDฐนป นมามิหํ” แตพวกเราตองทองเที่ยวอยูในสังสารจักรนี้ มิใชเราเกิด มาชาติเดียวกันนี้ นับภพนับชาติที่เราทองเที่ยวอยู ต่ำ ๆ สูง ๆ จนเกิดเปนสัตวนรก เปนสัตวเดรัจฉาน เปนสรรพสัตวตาง ๆ ขึ้น สวรรคก็ไดขึ้นไป ไปพรหมโลกก็ไดขึ้นไป ลงไปนรกนั้นจะนับกัป นับกัลปไมได เมื่อพวกเรารูอยางนี้แลว เราควรจะประพฤติแตกรรมอันดี พระพุทธเจาวา จะดีก็ดี จะชั่วก็ดี เปนเพราะ “กรรม” หรอก สัตว นี้เกิดมาตาง ๆ กัน ไมเหมือนกัน แมวาจะเกิดมาเปนมนุษยเหมือน ๆ กัน แตก็ตางกัน วิชาความรูก็ตางกัน มากนอยตางกัน สมบัติก็ ตางกัน รูปรางก็ตางกัน ความยากจนความมั่งคั่งสมบูรณก็ตางกัน อันนี้เปนเพราะอะไร เปนเพราะกรรม อันนี้แมนหมดทั้งกอนแหละ “กอนธรรม” สวนที่เปนใหญเปนนั่นกวาเขา พระพุทธเจาวา “มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสDฐา มโนมยา” มีใจนั่นแหละ เปนใหญ มีใจนั่นแหละหัวหนา มีใจนั่นแหละประเสริฐสุด สิ่งทั้ง หลาย บาปก็ดี บุญก็ดี สำเร็จแลวดวยใจ “มนะ” นี่แหละแปลวา “ใจ” ครั้นใจไมดี “มนสา เจ ปทุDเน” ใจไมดี ใจเศราหมอง แม 116


อนาลโยวาท

คนนั้นจะพูดอยูก็ตาม จะทำการงานดวยกายอยูก็ตาม ความทุกข นั้นเพราะจิตเศราหมอง จิตไมดีแลว ความทุกขนั้นยอมติดตามคน ผูนั้นไป เหมือนกันกับลอ อันตามรอยเทาโคไปอยางนั้น “มนสา เจ ปสนฺเนน” ครั้นจิตผองใส จิตผุดผอง จิตไมเศราหมองแลว แมนจะพูดอยูก็ตาม จะทำการงานอยูก็ตาม จะไปที่ไหนก็ตาม ความสุขยอมติดตามเหมือนเงาเทียมตนไปอยางนั้น มีใจเปน หัวหนา มีใจเปนใหญ สำเร็จแลวดวยใจมีเทานี้ ครั้นรูอยางนั้นแลว รูวาใจเปนหัวหนา ใจเปนใหญ ทำดีก็ เพราะใจ เปนทุกขก็เพราะกระทำ ความกลัวก็แมนใจเปนทุกขก็ เพราะทำ แมนรูอยางนั้นแลว เราจงเอาแตสวนดี สวนไมดีมีราคะ โทสะ โมหะ นั่นตองตัดมันไป ขับมันไป ไลมันออกไป อยาไป ยึดถือ อยาใหมันมาเปนเจาเรือนอยู แมนจะทำก็ดี จะพูดก็ดี จะ คิดอะไรก็ดี ขอใหมีสติ ระวัง ไมผิดไมพลาด ครั้นมีสติแลว พูดก็ไม พลาด ทำก็ไมพลาด คิดก็ไมพลาด ใหพากันหัดทำสติ ใหสำเหนียก ใหแมนยำ พระพุทธเจาจึงวา “เย เกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต อปฺปมาทมูลกา อปฺปมาทสโมสรณา อปฺปมาโท เตสํ ธมฺมานํ อคฺคมกฺขายติ ฯ” กุศลธรรมทั้งหลาย มีสติเปนเคา มูล ครั้นมีสติแลว กุศลธรรมทั้งหลายก็เกิดขึ้น ก็มีแตทำแตความดี ทุกสิ่งทุกอยาง รูแลวอยางนี้ ก็ใหพากันหัดทำสติ มันผิดก็ใหรู เรา จะทำดวยกายก็ใหระลึกนึกไดเสียกอน เราจะพูด ก็ใหระลึกนึกได เสียกอน เราจะทำดวยกายก็ใหระลึกนึกไดเสียกอน จะคิดก็ให 117


อนาลโยวาท

ระลึกนึกไดเสียกอน มันถูกเราจึงพูด มันถูกเราจึงทำ มันถูกเราจึง คิดนึก ใหทำสติใหสำเหนียกใหแมนยำ ใหพากันสมาทานเอง อธิสี ลสิกฺขาสมาทาเน ใหพากันสมาทานกันใหศีลของเรา เอาศีลของ เราเปนอธิศีล คือเปนใหญ เปนอธิบดี ใหเปนศีลมั่นคง อยาใหเปน ศีลงอนแงนคลอนแคลน อธิจิตตสิกขาสมาทาเน ใหพากัน สมาทานเอา คือตั้งใจมีสติควบคุมจิตใจของตน ใหตั้งมั่นอยูอยาง นั้น ทำการทำงานพูดจาหรือ ก็ใหจิตตั้งมั่น หรือนั่งภาวนาก็ใหจิต ตั้งมั่น ใหเปนอธิบดี อธิคือวาใหเปนใหญกวาสิ่งทั้งปวง เรียกวาไม หวั่นไหวตอสิ่งทั้งปวง อธิปฺาสิกฺขาสมาทาเน ใหสมาทานเอา อธิปญญา ความรูจริง รอบคอบ รูเทาสังขาร ปญญาความเห็น คือเห็นทุกข เห็นชาติ ความเกิดเปนทุกข เห็นชรา ความเฒาความ แกเปนทุกข เห็นพยาธิ ความเจ็บไขไดพยาธิเปนทุกข เห็นมรณะ ความตายเปนทุกข ความทุกขเกิดขึ้นในกาย ความไมดีเกิดขึ้นในกาย เวทนาไม ดีเกิดขึ้นแตสัมผัสทางกาย อันนี้เรียกวาความทุกขกาย ใหกำหนด ใหดี ความทุกขเกิดขึ้นที่ใจ ความไมดีเกิดขึ้นที่ใจ เวทนาไมดีเกิด ขึ้นที่ใจ เกิดขึ้นสัมผัสทางใจ อันนี้ไดแกความโศก ความเสียใจ ความเศราใจ ใหกำหนดใหมันรูเรื่องทุกข ใหมันเห็นเรื่องทุกขเสีย สัจจะทั้ง ๔ นี้ พระพุทธเจาวาเปนทางไปพระนิพพาน นี่แหละทาง ดับทุกข นี่แหละใหพิจารณา

118


อนาลโยวาท

ความประจวบกับสัตวและสังขารอันไมเปนที่รักที่เจริญใจ มี ความไปรวม มีความมารวม มีความประชุมรวม สัตวทั้งนี้ไม ชอบใจ ไมพอใจ เรียกวา อปฺปเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ทุกขนา เกลียด ทุกขนาชัง ทุกขไมพอใจ เปนทุกข การพลัดพรากจาก สัตวและสังขาร อันเปนที่รักที่เจริญใจ มีญาติพี่นองที่พลัดพราก ไปไกล หรือลมหายตายเสีย ไปจากกันแลว ก็มีความทุกขโศก เรียกวา ปเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ความไมไปรวม ความไมมารวม ความไมประชุมรวมกับสิ่งที่ชอบใจ อันนี้เปนทุกข บุคคล ปรารถนาสิ่งใดไมไดสิ่งนั้นสมหวังก็เปนทุกข อันนี้มันมาจากไหน เราไดรับผลอยางนี้มันมาจากไหน ตองใชสติปญญาคนควา มันก็ จะเห็นกัน เมื่อทำจิตใหอยูสงบ มันก็จะเห็นไป คือความอยาก มัน เกิดมาจากความอยาก เรียกวากามตัณหา ความใคร ความพอใจ ในรูป ในสิ่งที่มีวิญญาณและสิ่งที่ไมมีวิญญาณ ความใคร ความ พอใจ ทุกขมันเกิดขึ้นจากความอยาก ความใคร ภวตัณหา ความ อยากเปน อยางนี้ ความอยากได อยากหอบ อยากกอบ อยาก โกยเอา อันไหนก็อยากกอบโกยมาเปนของตัว อยากเปนเศรษฐี คฤหบดี ราชามหากษัตริย อันนี้เรียกวา ภวะ ความอยากเปน อยากมี ความไมพอใจ เหมือนอยางหนังหดเหี่ยวเปนเกลียว ความ แกหงอมแหงชีวิต ความเสื่อมแหงชีวิต มีหนังหดเหี่ยวเปนเกลียว ผมหงอก ฟนหัก อันนี้ไมพอใจ อยากได อยากใหมันเปนอยู เหมือนเกา หนังก็ดี แตมีนหดเหี่ยวเสียแลว ผมมันหงอก กลับไป เอายาดำ ๆ นั่นมายอม มายอมมันก็สงกลิ่น มันก็ขายหนาอีกแลว 119


อนาลโยวาท

มันก็ดำอยูแตปลาย ทางโคนนั่นมันก็ขาว ขายหนาอีกแลว ก็ไม พอใจ อันนี้เรียกวา วิภวตัณหา ตัณหา ๓ ตัว ๓ อยางนี่แหละ เปนเหตุใหเกิดทุกข เปนเหตุใหทำชั่วอยูบอย ๆ เราก็ใชปญญา คนหา มันเกิดอยูตอนไหน ตัณหามันเกิด มันจะเกิดมันเกิดขึ้นตอน ไหน มันตั้งอยู มันตั้งอยูที่ไหน พระพุทธเจาตรัสวา “จกฺขุํ โลเก ปยรูป สาตรูป เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺ ชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ .....เอตฺถ นิรุชฺฌ มานา นิรุชฺฌติฯ” สิ่งใดเปนที่รัก เปนชนิดใด ใจไมโลภ อะไรเปนที่รัก ที่เปน ชนิดใด ใจไมโลภ “จกฺขุํ” ที่ตา “โสตํ โลเก ปยรูป ฯ ฆานํ โลเก ปยรูป ฯ ชิวฺหา โลเก ปยรูป สาตรูป ฯ กาโย โลเก ปยรูป สาตรูป ฯ มโน โล เก ปยรูป สาตรูป เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺช ติ ฯลฯ........ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ” มันเกิดขึ้นจากอายตนะทั้ง ๖ นี่เอง ตัณหาเกิดขึ้น ตัณหา เปนที่รัก ตัณหาจะเกิดขึ้นที่ตา ตัณหาจะตั้งอยูที่ตา ตั้งอยูที่หู ตั้ง อยูที่จมูก ตั้งอยูที่ลิ้น ตั้งอยูที่กาย สัมผัสอันใดมันมาถูกตอง มันมี ความพอใจ มีความกำหนัดชอบใจ อารมณอดีตที่ลวงมาแลว 120


อนาลโยวาท

อนาคตยังมาไมถึง แตเอามาเปนอารมณ เรียกวาธรรมารมณ มัน เกิดขึ้นที่ใจ รูจักวาบอนมันเกิดขึ้นที่นี่ ไมเกิดขึ้นที่อื่น เกิดขึ้นจาก อายตนะภายใน เกิดขึ้นจากอายตนะภายนอกประจวบกัน ตอไป เกิดวิญญาณความรูขึ้น เกิดวิญญาณตัวนี้ขึ้น เกิดขึ้นจากสัมผัส เวทนาเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ขึ้นไป รูแลวเราเพียรละที่มันเกิด จาก อายตนะภายนอก จากอายตนะภายใน เกิ ด ขึ ้ น จากสั ม ผั ส อายตนะเกิดขึ้นเพราะสัมผัส เมื่อรูแลว เราก็เพียรละ เราเพียร ปลอยวาง เมื่อดับความทุกขชนิดนี้ได ความวิเวกดับทุกขสิ้นดังนี้ ดับ ตัณหาทั้ง ๓ ได นิโรธ นิโรธคือความไมหวั่นไหวเรียกวา นิพพาน พระพุทธเจาทานวา นิพพานไมไดอยูที่อื่น อยูที่กายนี้แหละ ไมไดอยูที่อื่น อยูกับอาการ ๓๒ เปนผลสำเร็จ ทีหลังอยูกับธาตุ ๔๒ เมื่อฟงแลว ใหพากันตั้งใจทำ เหมือนกับเครื่องทั้งหลายมีทัพ สัมภาระ เราจะปลูกบานปลูกเรือนหรืออะไร มีดเราจะใชการงาน ลับแลวก็วางไว เครื่องทัพสัมภาระก็มาวางไว เราไมทำมันก็ไม สำเร็จ ของทำ เครื่องทำ ไดหมด พรอมหมด มีแลวแกเรา บริบูรณ แลว เราจะรบขาศึก อาวุธของเราพรอมหมดแลว แตเราไมตั้งใจ ทำ จะปลูกบานปลูกเรือนก็ไมปลูก หาของมาพรอมหมดแลว แลว ก็ตั้งอยูนั่นแหละ ใหชำรุดทรุดโทรมเสีย ทิ้งไวซื่อ ๆ ไมก็ดี ไมมี ประโยชน เราตั้งไวก็ไมมีประโยชน ตองอาศัยทำ ใหพากันทำ 121


อนาลโยวาท

อิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน พระเจาทั้ง ๕ ไมไดหามเปน พระเจาทั้ง ๕ นิสัยจริตของเรามันถูกกับอะไร จะพุทโธ-พุทโธ หรือ ธัมโม-ธัมโม หรือ สังโฆ หรือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เอา อยางหนึ่ง ๆ มันถูกอันไหน มันถูกจริตมันก็สงบ จิตสงบขึ้น จิตไม ฟุงซาน หมายความวา มันถูก เราบริกรรมวา พุทโธ-พุทโธ-พุทโธ แลว จิตเบิกบาน จิตเยือกเย็น จิตราเริง อันนี้หมายความวา มัน ถูกกับจริต มันถูกก็เอาอันนั้นแหละ บริกรรมไป พุทโธ-พุทโธ เรียกวา สมถะ ครั้นมันไมลง จิตไมลง ตองพิจารณาคนเรื่องทุกขนี่แหละ และคนเรื่องกายนี้ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง ใฟพิจารณาใหมันเห็น เปนอสุภะ เปนอสุภัง เปนของเนาของเหม็น ของปฏิกูล ของ โสโครก พิจารณาใหมันเห็นตกอยูในไตรลักษณ ปญจุปาทานักขัน ธา อนิจจา ขันธอันนี้ไมเที่ยง ไมแนนอน ปญจุปาทานักขันธา ทุก ขา ขันธอันนี้เปนทุกข ปญจุปาทานักขันธา อนัตตา ขันธอันนี้ ไมใชตัวตน ไมใชผูหญิงผูชาย ไมใชสัตว ไมใชบุคคล ไมใชตัวไมใช ตน อันนี้ตายเหมือนกันหมด ครั้นถามันไมสงบ มันฟุงซาน ก็ตอง เอาปญญาทำการคนควาพิจารณาเรื่อยไป วิปสสนาอยางนี้ คนควาใหมันเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนของโสโครก ของไม สวยไมงาม พิจารณาเรื่อยไปจนมันเห็น จิตมันก็เกิดความสลด สังเวช เบื่อหนายในความเปน ในอัตภาพ เบื่อหนาย ภาวนาใหมัน จนเกิดความคลายกำหนัดยินดีดังนี้ 122


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๑๗ ศีลานุสสติ

มีผูถามทานวา การปฏิบัตินี้ ถาบริกรรมไมสงบ จะ พิจารณาอยางเดียวไดไหม หรือตองใหจิตสงบกอนพิจารณา ทาน ก็สอนดังตอไปนี้ อันหนึ่งสมถะ อันหนึ่งวิปสสนา มันถูกกับจริตอันใด การ ภาวนามันสบาย ก็ใหเอาอันนั้น ถามันถูกกับจริต จิตก็สงบสบาย ไมฟุงซานไปที่อื่น จิตรวมอยู นั่นแหละมันถูกนิสัย ครั้นมันไมถูก นิสัยแลว นึกพุทโธหรืออันใดมันก็ฟุงซาน หายใจยาก หายใจฝด เคือง หมายความวามันไมถูกจริตของตน อันใดมันถูกจริตมันก็ สบายใจ ใจสวาง จิตไมฟุงซาน เบื้องตนใครเอาอันใด ก็ตองเอา อันนั้นเสียกอน พิจารณาอาการสามสิบสอง นี่เรียกวาวิปสสนา เรียกวาคนควา เมื่อเราบริกรรมพุทโธหรืออะไรก็ตาม บริกรรม แลวมันไมสงบ เราก็ตองคนควาหาอุบาย มันเปนการอบรมกัน มันเปนเรื่องปญญา จิตไมสงบเราก็ตองพิจารณาใหมันสงบ มันไม สงบแลวมันก็ไปที่อื่น ไปสูอารมณภายนอกที่อื่น เราก็ตองเอามัน มา ปลอบโยนมัน คนควาใหมัน พิจารณา ผม ขน เล็บ ฟน หนัง ไปสุดตลอด ใหมันครบถึงอาการ ๓๒ ใชสัญญาคนไป คนไป ไมให มันไปที่อื่น คนไป บางทีมันลงความเห็นเรื่องปญญา เราคนไป วา ไป มันมีความเห็นตามแลวมันก็สังเวช สลดใจ จิตมันจึงจะสงบลง 123


อนาลโยวาท

ตองเอาอยางนั้นเสียกอน แลวจึงพัก เอาอยางนี้ ตางฝายตาง อบรมกัน สมาธิอบรมปญญาใหเกิด ปญญาอบรมสมาธิให เกิด ปญญาลอมรอบมัน แลวมันไปไมได มันไปไมไดมันก็ลง เรียก วาปญญาอบรมมัน สีลานุสสติ บริกรรมสีลานุสสติ โดยระลึกในอนุสสติ ๑๐ นี่ อันหนึ่ง พระพุทธเจาวา กรรมฐานมี ๔๐ อยาง เลือกเอาอันหนึ่ง อันใดทีถูกกับจริตของเรา ถามันถูก ใจเราก็สงบ ถาไมถูก มันก็ไม สงบ ก็เลือกเอาใหม เราบริกรรมแลว ใจสงบ สบาย ไมฟุงซาน รำคาญ นี่หมายความวามันถูกจริตของเรา อนุสสติ ๑๐ มี พุทธา นุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตา นุสสติ มรนัสสติ กายคตาสติ อานาปานสติ อุปสมานุสสติ ระลึก ถึงคุณพระนิพพาน สีลานุสสติ มาระลึกถึงศีลของตน ถาเราปฏิบัติ เราก็ตอง รักษากาย วาจา ใจ ของเราดี เชามา เราก็มีสติรักษากายของเรา รักษาวาจาใจของเราดีอยู กลางวันมา เราก็มีสติดี รักษากาย วาจาใจของตนอยู พอค่ำมา เราก็มีสติอยู ไมมีทุจริต มีแตความ บริสุทธิ์ ระลึกไปอยางนี้ บางทีใจมันจะดี ตั้งแตเรารักษาศีล ๕ ของเรามา ศีลของเราไมมีดางพรอย ศีลของเราบริสุทธิ์ดี นั่น แหละ ยกมัน มันจะดีใจ ความนายินดีที่วารักษาดีปานนั้น ความดี ยกยองมัน บางทีมันดีใจ หมายความวา จิตที่ควรยกยอง ก็ ยกยองมัน จิตที่ควรขมก็ขมมัน มันดื้อหลายก็ขมมัน จิตที่ควรขม คือมาใชปญญาพิจารณา เกศา ผม โลมา ขน ใหมันเห็นเปนของ 124


อนาลโยวาท

ปฏิกูลโสโครก นี่หมายความวาขมมัน ขมไปนั่นแหละ เมื่อทำยังงั้น มันยังวาไมฟงแลว เราก็นึกถึงศีลของเรา บางทีมันถูก มันอาจจะ สงบ มันมักยอ มันชอบยอ ใครจะไมมักยอไมมี ยกยองเขามันก็ ดีใจ เปนบุญลาภของเรา เราเกิดมาไมเสียภพเสียชาติ เราตั้งใจ นับแตรูเดียงสาขึ้นมา เรารักษาความสุจริตของเรา ศีลของเราไม เศราหมอง ศีลของเราบริสุทธิ์ดี พิจารณาศีลของตน ปุพพัณหสมยัง กาเยนะสุจริตัง จรันติ วาจายะสุจริตัง จรันติ มนะสาสุจริตัง จรันติ ใหมีสติระลึกรักษากายของตนให สะอาด รักษาวาจา รักษาใจของตนใหสะอาด มัชฌันติโก กาเยนะสุจริตัง จรันติ วาจายะ สุจริตัง จรัน ติ มนะสาสุจริตัง จรันติ ตรวจดูกายใจของตนใหบริสุทธิ์ ปจฉิมนัง สายัณหสมยัง กาเยนะ สุจริตัง วาจายะ สุจริตั ง จรันติ มนะสา สุจริตัง จรันติ ใหมันมีสุจริตธรรม เชาก็ใหมีสติ รักษาอยู รักษากายวาจาใจของตนใหสุจริต บางทีเราพิจารณาไป เชาเราก็รักษาดีอยู กลางวันเราก็รักษาดีอยู ค่ำมาเราก็รักษาดีอยู อันนี้ก็เปนลาภของเรา เราไมปลอยสติ เราไมเผลอ รักษากาย วาจาใจของเราอยูทุกขณะ ศีลของเราบริสุทธิ์ ไมเศราหมอง มัน พลาดเปนอะไร มันตายเราก็ไมเสียที เรามีสุคติเปนแนไมตอง สงสัย พิจารณาไป เมื่อถูกมัน มันถูกใจมัน ยอยองมัน มันก็ สามารถจะมีความสงบลงได อันนี้เรียกวาสีลานุสสติ ระลึกถึงศีล 125


อนาลโยวาท

ของตน บริกรรมวา สีลานุสสติ แลวพิจารณาศีลของตน เมื่อตั้งใจ ไวอยางนี้ ตั้งความสัตยไวอยางนี้ ถามันผิดละก็ มันโกรธละ เมื่ออยูแมปง อำเภอพราว ตื่นขึ้นมาตอนเชา ตั้งความสัตย ไววา เรารักษากาย วาจา ใจ ของเราไมใหผิด ไมใหจิตไปสู อารมณภายนอก ใหรักษาจิตอยูนี่ ใหมันรูกันอยูนี่ กลางวันเราก็ รักษากาย วาจา ใจ ของเรา ค่ำมา เราก็จะรักษากาย วาจา ใจ ของเรา ตั้งความสัตยไวแลว เราจะรักษาอยางนี้ไวจนตลอดวัน ตาย ตลอดชีวิต เอาไป เอามา กลางวันเดินไปเดินมา มันก็ลืม ความสัตยแลว มันไปที่ไหน สติไมทันมัน ทีนี้จำเอาไว เรื่องขอวัตรใหเรียบรอย ไมใหมีความสงสัย เรื่องขอวัตร เทกระโถน กวาดปดตาดเสร็จ ทำอะไรบริสุทธิ์หมด ทีนี้มันโกรธแลว ทำอยางไรมันก็โกรธ มีแตแข็งอยูอยางนั้น ใจนะ เอ ทำยังไง เดินจงกรม เดินวิบ มันก็แข็งอยูอยางนั้น มีแต โกรธ มีแตแคน เลยกลับขึ้นกุฏิ รีบกลับไปไหวพระ ทำวัตร ทำวัตรแลวก็นั่งบริกรรมกำหนด มีแตโกรธแตเคียด เอ มันเปนอะไรนี่หือ มันจึงมาแข็งอยูอยางนี้ วาที่ไหนมันมี แตแข็งแตโกรธ มันผิดอะไรนี่หือ ตรวจดู เชามาเราตื่นขึ้น เราไดตั้งใจไวแลววา จะรักษากาย วาจา ใจ ของเรานี่ใหบริสุทธิ์ กลางวันก็ดี พลบค่ำมาก็ดี เราตั้งใจ จะรักษาตรวจดูใจของเรา ผิดอะไร ตรวจดูไมมี วาจาของเราไดพูด กับใคร ผิดอะไร ไมมี ใจมาฆาหมอนี่เสียแลว หือ คิดอะไร ออ มัน 126


อนาลโยวาท

ใหคิดไปตามอารมณ อันนั้นปรุงอันนี้ไปแลว แน มันเปนแตใจนี่ แหละ มันเปนที่ใจนี่แหละ เลยมางสมาธิออก มางแลวก็กราบลง ทำวัตรอีกแลวกราบ ลงวา กาเยน วาจาย วเจตะสาวา พุทเธ กุกัมมัง ปกะตัง มยา ยัง บาปชั่วรายอันใดที่ขาพเจาไดลวงในพระพุทธเจา ดวยกาย วาจาใจ บาปอันนาเกลียดอันพระพุทธเจาติเตียน ขาพเจาลวง แลว พุทโธ ปฏิคคันหิตุ ขอพระพุทธเจาจงอดโทษใหขาพเจา ดวยเถิด อจฺจยนฺตํ กาลันตเร สังวริตุง วพุทเธ ตั้งแตบัดนี้ เปนตนไป ขาพเจาจะสำรวมตอไปจนวันตาย มาวรรคธรรมก็วาอยางเดียวกัน ขาพเจาไดผิดในพระธรรม ขอพระธรรมจงอดโทษให ขาพเจาจะสำรวมในพระธรรมตลอดวัน ตาย วรรคสงฆก็เหมือนกัน ขาพเจาจะสำรวมตอไปจนวันตาย ตั้งแตบัดนี้ไป ขอพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ จงอดโทษให ขาพเจาดวยเถิด สบายใจ ใจไมแข็ง สบายใจ ดีใจ พอบาย ๓ คืนกลับ ...... (เทปเสีย) ......... มันจึงสมกับที่มาวา ภิกขุ สัตตานัง สัตฺตํ สติ คืออะไร เอ อยางนี้ซิ ภิกษุ ไดพูดความสัตยความจริงไวแลว ตองมีสติ สัตต 127


อนาลโยวาท

สติ สัตตะ ก็คือมีสติ อยางนี้ไดชื่อวา ผูทำสติสัมโพชฌงค ๗ ให เกิดขึ้น ตั้งแตนั้นมาก็สำรวมระวังไมใหมันคิดไปภายนอก เวลานั่ง สมาธิมันก็ไป ไปภายนอกนั่นแหละ มันฉีกไปไปไมรู แลวมันก็ตั้ง สำรวมดี เวลาทำเราก็ตั้งไวอยางงั้น เราจะไมคิด เดี๋ยวนี้หนาที่เรา นั่งภาวนา งานเของเราจำเพาะเรา ไมใชงานคนอื่น งานของคน อื่นเราทำแลว กลางวันเราทำแลว บัดนี้ เรานั่งจำเพาะของเรา งานของเรา เราตองไมคิดไปเรื่องอื่นของคนอื่น ถาเราคิด ก็คิดอยู ที่กายนี่ ใหมีสติประจำใจอยูนี่ แลวเราก็เอาปญญานั่นแหละ ถา เรานั่งมันไมลง ไมรวม เราก็เอาปญญานั่นแหละ ลอมมันเขา ไมให มันไป หรือจะเอาอยางนี้ก็ได ใหพิจารณา มันก็บริกครือกันนั่นแหละ เกสา ผม, โลมา ขน, นขา เล็บ, ทนฺตา ฟน, ตโจ หนัง, มํสํ เนื้อ, นหารู เอ็น, อ€ฐิ กระดูก, อ€ฐิมิฺชํ เยื่อในกระดูก, วกฺกํ มาม, หทยํ หัวใจ, ยกนํ ตับ, กิโลมกํ พังผืด, ปหกํ ไต, ปปฺ ผาสํ ปอด, อนฺตํ ไสใหญ, อนฺตคุณํ ไสนอย, อุทริยํ อาหาร ใหม, กรีสํ อาหารเกา, มตฺถเก มตฺถลุงฺคํ เยื่อในสมอง, ปตฺตํ น้ำดี, เสมฺหํ น้ำเสลด, ปุพฺโพ น้ำเหลือง, โลหิตํ น้ำเลือด, เสโท น้ำเหงื่อ, เมโท น้ำมันขน, อสฺสุ น้ำตา, วสา น้ำมันเหลว, เขโฬ น้ำลาย, สิงฺฆาณิกา น้ำมูก, ลสิกา น้ำไขขอ, มุตฺตํ น้ำมูตร 128


อนาลโยวาท

อาการสามสิบสอง เอามันอยูนั่นแหละ เดินจงกรมก็ตาม นั่งอยูก็ตาม เอามันอยูนั่นแหละ ใหมันไปไมได ใหมีสติประจำ ไป ไมได นี่แหละอาตมาทำอยางนี้ ไมได นี่แหละอาตมาทำอยางนี้ เอาอาการ ๓๒ บริกรรมอยูอยางนี้ เอาจนมันขาดจากอารมณ ไม เกี่ยวกับอารมณ เอาใหมันอยูกับอารมณ เอาใหมันอยูกับ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง ใหมันขาดจากอารมณ วันใด เดือนใด ก็เอามัน พิจารณา เอาปญญาพิจารณา ก็ปญญาโลกียนั่นแหละ สัญญา เราจำได จำแบบจำแผน ไดยินไดฟงมา เอามันนี่แหละคนควา พิจารณารอบ ๆ ไปเรื่อย ๆ จนไปไมได ถูกบอนมัน ตีมัน มันก็กลัว แลว กลัวแลวมันจะสดชื่นขึ้น ที่ไหนมันจะเจ็บ ตองตีมัน จิตมันก็ เหมือนกันกับวอก ใหมีสติบังคับจิต เราภาวนา เราก็ตองมีสตินั่น แหละ ตองคุมจิตไมใหมันไป ใหมันอยูกับที่ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ผูที่ควบคุมจิตของตน ทรมานดีแลว จิต นำสุขมาให ผูที่ควบคุมจิตของตนทรมานจิตใหดีแลว จิตเบิกบาน มันสงบแลว มีความสุข จิตสวางไสว จิตสวางไสว มันจะมีปญญา ปญญามันก็นั่นแหละ อยูที่ดวงจิตนั่นแหละ จิตเมื่อมันคลุกคลีกับ อารมณ เอาอารมณเขามาครอบงำดวงจิตแลว จนมันเงยคอขึ้นไม ได มันก็ไมเห็นแลว มืด ตอเมื่อเราชำระสิ่งเหลานี้ได จิตมันสงบ แลว จิตมันตั้งไมได อารมณทับมัน มันไมสงบ ตั้งไมได ตอมามันมี ปญญาลอมรอบ เอาสิ่งเหลานั้น ธรรมเหลานั้น รูป รส กลิ่น เสียง เครื่องสัมผัส ธรรมารมณมันไมเอาเขามาปรุงใจ ไมเขามา 129


อนาลโยวาท

ปรุงใจแลว หมายความวา ใจบริสุทธิ์ ใจบริสุทธิ์แลวก็สงบตั้งมั่น หมายความวาลืมตาขึ้นได มันก็เห็นเทานั้นแหละ มันนั่นแหละ เปนปญญาเพราะมันเห็น จิตตั้งไมได ไมสงบ เพราะไมมีกำลัง จิต สงบตั้งไดแลว ไมงอนแงนคลอนแคลนแลว กระแสมันจึงพุงขึ้นมา เรียกวาปญญาเห็นหมด แลวก็คนควาเขาไปอีก โอวาทของพระพุทธเจาวา สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยท ปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํ ฯ บาปทั้งหลาย อารมณทั้งหลายไมให มันเขามา สพฺพปาปสฺส อกรณํ เปนเครื่องงดเวนจากความชั่วทุกสิ่ง ทุกอยาง ทั้ง กาย วาจา ใจ กุสลสฺสูปสมฺปทา สิ่งที่เปนประโยชน สิ่งที่ทำจิตใหบริสุทธิ์ผุดผอง อะไรก็ตาม คุณงามความดีที่ประกอบ ขึ้น ทานก็ตาม ศีลก็ตาม ศีล ๕ ศีล ๘ ก็ตาม การไดฟงเทศนฟง ธรรม การนั่งสมาธิก็ตาม ไดชื่อวาเปนผูขวนขวายทำใหกุศลเกิด ขึ้น กุศลที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลว รักษาใหมันเจริญเต็ม เปยม บาปที่เกิดขึ้นแลว เพียรประหารเสีย บาปที่ยังไมทันเกิด มี สติระวังไมใหมันเกิดขึ้น จิตมีความเศราหมอง ก็เปนการอบรมจิต อยูในเนื้อ ฝกฝนทรมานจิต ใหมีสติทำความดี อนูปวาโท ไมไปวา รายคนอื่น สัตวอื่น อนูปฆาโต ไมฆาคนอื่นและสัตวอื่น ปาติโมกฺ เข จ สํวโร เปนผูสำรวมอินทรียคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมมี ความยินดียินรายตออารมณทั้งหลายทั้งปวง มตฺตฺุตา จ 130


อนาลโยวาท

ภตฺตสฺมึ เปนผูรูจักประมาณในภัต เรียกวาภัตตาหาร ความเสวย สิ่งที่เราควรรับประทานจึงรับประทาน สิ่งที่เปนประโยชนตอ รางกาย สิ่งที่จะไมทำใหเสื่อม บริโภคเขาไปแลว มันทำใหเกิด ความเจริญ เกิดความสุขอยางนี้แหละจึงควรบริโภคเขาไป สิ่งที่ไม เปนประโยชนแกรางกาย ถาบริโภคเขาไปแลวทำใหรางกายชำรุด ทรุดโทรม หรือทำใหรางกายลำบาก อันนี้ไมควรบริโภค เรียกวา มตฺตฺุตา จ ภตฺตสฺมึ อาหาร หมายเอา อารมณ ไมเอาอาหาร ที่เราบริโภคเขาไปก็ถูก พิจารณาอันไหนมันจะถูก จะพอยัง รางกายใหเปนไป ไมทำใหเกิดโรค อันนี้ก็สำคัญเหมือนกัน อาหารที่เราบริโภคเขาไป อาหารอารมณนั่นไมควรบริโภคสัก อยาง ควรบริโภคเขาไปแตธรรมารมณ คือธรรม คือใจควร บริโภคเขาไป นอกจากนั้น รูป เสียง กลิ่น รส เครื่องสัมผัส ไม ควรบริโภค สิ่งที่ควรบริโภคคือการรักษาใหมีสติ รักษาประจำ บริโภคบอย ๆ กาเย กายานุปสฺส ี วิหรติ พิจารณาภายในกายคือตนนี่ แหละ พิจารณาใหมันเห็นเปนของปฏิกูล ของโสโครก มีสติ พิจารณาภายนอก คือกายผูอื่น อยางนั้นก็ทั้งกายในกายนอก อยางเดียวกัน ไมผิดกัน พระพุทธเจาจึงวา อชฺฌตฺตา ภายในก็ดี ลวนเปนของปฏิกูล ของโสโครกหมดทั้งนั้น พหิทฺธา วา ภายนอก เปนกายผูอื่น ก็เปนของปฏิกูลโสโครกเหมือนกัน โอฬาริกํ วา สวนหยาบก็ตาม สุขุมํ วา สวนละเอียดก็ตาม ลวนแตไมใชคน ไมใชสัตวหมดทั้งนั้น ไมใชตัว ไมใชตนหมดทั้งนั้น ประณีตก็ตาม 131


อนาลโยวาท

เลวทรามก็ตาม ไมใชคน ไมใชสัตว ใหพิจารณาเห็นอยางนั้น สิ่ง ไหนก็ตามที่ไกลก็ตาม ที่อยูใกลก็ตาม ก็ลวนแตไมใชคน ไมใชสัตว พระพุทธเจาใหพิจารณาอยางนี้ อันนี้เรียกวาพิจารณา กาเย กา ยานุปสฺส ี วิหรติ อาตาป สมฺปชาโน อาตาป คือความเพียร มี สติสัมปชัญญะ รูรอบ เพียรเผากิเลสใหเรารอน พึงทำใหอภิชชา และโทมนัสในโลกนี้พินาศเสีย พระพุทธเจาจึงใหพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ คือ กายหนึ่ง ใหกายเปนอารมณของสติ ใหสติพิจารณา กาย จับอยูภายใน ไมใหมันหนีออกจากกาย พิจารณาเหมือนวา ของปฏิกูลโสโครก ภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม ไมใชสัตวไมใช คน พิจารณาไปอยางนั้น หรือไมอยางนั้นใหพิจารณาเอาเวทนาเปนอารมณของสติ เวทนาเปนสุข เกิดขึ้นแลวก็ดับไป เวทนาเปนทุกข เกิดขึ้นแลวก็ ดับไป เวทนาเฉย ๆ เกิดขึ้นแลวก็ดับไป ไมใชคน ไมใชสัตว เวทนา เปนตัวทุกข เราไมไดทุกข เราไปยึดเอาเวทนาทั้งหลายมันก็ทุกข ดวงจิตไมไดทุกขกับเวทนา เมื่ออยางนั้นก็เอาจิต เอาใจนี่แหละ เปนอารมณของสติ เอาสติไปจับอยูกับจิตนั่น นี่ใหเอาอยางใด อยางหนึ่ง ถาไมพิจารณากาย เอาสติไปไวกายจับเอากาย ก็ตอง เอาเวทนา ความเปนทุกข มีแตทุกขนี่แหละแสนทุกข ใหพิจารณา ทุกข จนใจเห็นชัดจริงลงไป ทานหมายความวา ถาเห็นทุกขก็ได ชื่อวาเห็นทุกขสัจจ มันเปนทุกขสัจจ นั่นแหละเรื่องภาวนา เรา ตองทำการพิจารณาทุกครั้ง เราบริกรรมแลวมันไมสงบเราจะพัก เสีย นอนเสีย นั้นไมควร มันตองทำไปพรอม ตองพิจารณาเรียกวา 132


อนาลโยวาท

วิปสสนาพรอมกัน ทำไปอยูอยางนั้นทุกครั้ง ไมทำอันเดียว มัน เปนคูกัน ใหเปนคูกันไป นั่งบริกรรมจะเอาอันไหนก็ตาม อันไหน มันถูกกับนิสัยของตนก็เอา ถามันไมสงบแลวก็พิจารณาคนควา พิจารณากายนี่แหละ ไมตองพิจารณาที่อื่น แมนหมดทั้งกอนที่เรา อาศัยอยูนี่ แมนกอนธรรมหมดทั้งนั้น มันไมอยูที่อื่น

133


อนาลโยวาท

g

กัณฑที่ ๑๘ g g

เทศนโปรดนักศึกษาสมาชิกกลุมอาสา มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่วัดถ้ำกลองเพล ในวันสงกรานต พ.ศ. ๒๕๒๑ (จากบันทึกยอของ อ.ก.)

พวกทานทั้งหลายเปนนักศึกษาแพทยและนักศึกษาอยาง อื่นอยูในมหาวิทยาลัย นับเปนผูมีบุญญาบารมี ไดสั่งสมมาแต กอน ๆ จึงไดเขามาอยูในสถานที่ที่ดี มีครูอาจารยที่เปนแบบอยาง จำนวนมาก ไดเลาเรียนวิชาที่ดี มีประโยชนแกตนเองและแกคน อื่น ๆ เรียนแลวก็จะสอนผูอื่นตอไป พวกนักศึกษาแพทยนั้น มี ความรับผิดชอบมากกวาพวกอื่น ๆ ทำงานเกี่ยวกับชีวิตคน ทำดี ก็ไดบุญ ทำไมดีพลาดพลั้งไปก็เปนบาปใหญ ตองอบรมสติไว รักษาตัว ไมพลั้งเผลอ ทำอันตรายตอคนอื่นและตอตัวเอง จะมีสติไดตองมีศีล ทุกคนตองมีศีล จึงจะเปนคนดีได คนไมมี ศีลทำอะไรก็ผิด ๆ เหมือนเรือไมมีหางเสือ เพราะฉะนั้น ทุกคนตอง มีศีล ไมวาจะเลาเรียนอะไร จะมีอาชีพอะไร ศีลเปนของคนทุกคน ศีลทำคนใหเปนคน ทำมนุษยใหเปน เทวดา คนไมมีศีลก็เหมือนสัตว ทำอะไรไปตามกิเลสชักนำ กิเลสคือ โลภ โกรธ หลง มันคอยชวนคนใหทำผิดตลอด เวลา คนที่ไมไดศึกษาธรรมยอมไมรูจักมัน หลงเชื่อมัน ทำตามมัน 134


อนาลโยวาท

มันก็พาไปพบทุกข คนไมรูก็คิดวาเปนความสุข รูป รส กลิ่น เสียง พอหลงตามไปแลว ทีหลังจึงรูวามันเปนสุขปลอม เปนสุขแตขาง นอก ขางในเปนทุกข ตอนแรก ๆ สนุกสนาน นานไปไดทุกขยาก หนัก ๆ เขา ตกนรกทั้งเปน ตายแลวก็ยังตกนรกอีก คนฉลาดตองรีบเรงศึกษาธรรม ทานทั้งหลายเปนนักศึกษา ศึกษาทางโลกมากแลว มาศึกษาธรรมะเสียบางเปนการดี ถูกตอง ขั้นแรกคือศีล ศีลหานั่นแหละพอแลว ถือใหมันดี ๆ ใหมั่นคง ใหบริสุทธิ์ พอแลว ทานวาถือตามฐานะ พวกทานเปนนักศึกษา ศีลหาก็ดีแลว ถาใครถึงศีลแปด ก็ยิ่งดี ถาทำได ศีลเปนเครื่องระงับสงบกายวาจา กายวาจาสงบ จิตก็สงบ เมื่อจิตสงบ ก็ตั้งมั่น เกิดเปนสมาธิ จิตมีอำนาจ มีกำลัง เมื่อจิตตั้ง มั่นแทแลว อยากรูอะไรก็รูได เกิดปญญาเห็นแจง เมื่อมีปญญา แลวก็ไมหลงอะไรอีกตอไป ไมทำอะไรผิด มีสติ รูเทาทัน อะไรถูก อะไรผิด เมื่อไมทำอะไรผิด ความทุกขก็ไมมี มีปญญารูตามความ เปนจริง ความเศราโศกเสียใจอะไรก็ไมมี เพราะรูแลววามันเปน อยางนั้นเอง ความพลัดพรากจากของรัก ความไมไดสิ่งที่อยากได ความไมไดสิ่งที่อยากเปน เหลานี้เปนของธรรมดา ไมใชเรื่อง สำหรับเศราโศกเสียใจ มีปญญาเห็นจริงอยางนี้แลว คิดอะไรก็ดี ทำอะไรก็ดี พูดอะไรก็ดี ดีทั้งนั้น ทานทั้งหลายควรศึกษาเรื่องเหลา นี้ไปพรอม ๆ กับศึกษาวิชา แลวกาลภายหนาก็จะแจมใส เอาเทา นี้ละนะ 135


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๒๐ เดินจงกรม การทำสมาธิภาวนานั้น บางที ทำยังไงมันก็แข็ง ๆ อยูอยาง นั้น ทำสมาธิไมลง ทำยังไงก็ไมลง ทำไป ๆ มันไมสงบ บอกมันวา เจาเปนผีนรกวิ่งขึ้นจากอเวจี จึงแข็งกระดางเพราะไฟเผา ไลใหมัน ลงไปจมอเวจีอีก อยาใหมันขึ้นมาอีก ใหอเวจีเผาตมมันอีก ดาอีก แลวก็ลงนอน พอเชามาก็ไปถายโถนลางกระโถน ปฏิบัติทาน อาจารยมั่น ทานอาจารยลุกขึ้นมาวา “ทานขาว คนเปนประเสริฐอยู มาดาตนเฮ็ดหยัง ใหลง นรกอเวจียังไงนี่ ประจานตนนี่ ทานประกอบกิจอยูอยางนี้ แลว หนักเขาละฆาตัวตายหนา ครั้นฆาคนตายแลวนับชาติ ไมไดหนา ที่ฆากันอยูนี่ ไมมีพนทุกขแลว ความที่โกรธนี่ หนักเขา ๆ ก็เลยฆาตัวตาย ฆาตัวตายแลวก็หารอยชาติไป เที่ยวเอาภพเอาชาติ ทำเวรผูกเวรกัน ฆาตัวตายอยางนั้น แหละ อยาไปทำอีกเทียว ตนบริสุทธิ์ อยาไปทาตนอยางนั้น อยางนี้” ทานพระอาจารยมั่นนั้น ใครนึกอยางใด ทำอยางใด ทา นรูมด ทานก็อยูกุฏิโนนแนะ แตมันก็ยังโกรธอยูนั่นแหละ ขึ้นอยูบนดอยของพวกมูเซอร มันก็มีแตเสือใหญ ๆ ลายพาดกลอน เดินอยูกลางคืน ใหเสือมันมา กินมึงเสีย มึงเปนหยัง มึงหยาบแท มึงแข็งแท เดินจงกรมแลวก็นั่ง 136


อนาลโยวาท

สมาธิ นั่งจิตมันก็ไมลง ก็เลยนอนหลับไป ปรากฏวามารดามานั่ง อยู นั่งขาง ๆ มูเซอร มันมาจากไรมัน มีผักหลาย มันจะเอาผักไป บานมัน “ไมยาก ไมยากดอก เอาของออนใหกินเนอ อยาไปให กินของแข็ง ถากินของแข็งแลว ไมเปน ครั้นกินของออนละ เปน” แมก็เลยวา ไมเขาใจของออนของแข็ง แมก็เอิ้นถามอีกวา “ของออนนี้มันอะไรหนอ” มันวา “เอาสาหรายซิ มาใหกิน” ก็ลุกขึ้นมานั่งสมาธิ เริ่มตนพิจารณา พิจารณาของแข็งกอน อะไรหนอมันวาของแข็ง มูเซอรมันวา อะไรเปนของแข็ง พิจารณา ไป ๆ มา ๆ “ความขี้โกรธ” อันนั้นแหละของแข็ง ออนละ มันวาใหเอาของออนมากินกอน ออนอะไร พิจารณาไป ๆ มา ๆ “เมตตา” ไดความแลว เมตตา ตั้งแตนั้นมาก็แผเมตตาไปทั่วทิศานุทิศ แผไปมด สัตวทั้ง หลาย แผเมตตาไป ความโกรธนั้นออนลง ๆ ความโกรธไมคอยทำ จิตไมแข็งแลว จิตออนแลว จิตออนมันควรแกการงานทั้งนั้นแหละ 137


อนาลโยวาท

จะทำอะไรมันก็ควรแกการงาน จะพิจารณาอะไรมันก็เหมาะ จิต ออนหมายความวา จิตเบา จิตวาง เราภาวนานี่ก็อบรมจิตนี่แหละ ตองการใหจิตอยู ครั้นจิตอยู แลว มันจึงจะเกิดแสงสวางขึ้น จิตเดิมมันเปนของสวาง เปนของ เลื่อมประภัสสร แตอาศัยอาคันตุกะกิเลส มันจรเขามาปกคลุม รัดรึงใหขุนมัว เรารอน อาคันตุกะกิเลสก็ไมอื่นไมไกลดอก มันไม พน นิวรณธรรมทั้งหา กามฉันทะ พยาบาท ถีนะมิทธะ อุทัจจะ กุกุจจะ วิจิกิจฉา นี่หละ เมื่ออารมณเหลานี้ไมเขาครอบงำแลว จิต นี้มันก็ออน จิตสวางไสว ควรแกการงาน การงานที่พิจารณา มัน เปนแสงสวางขึ้น นิวรณนี้มันมาปกคลุมหุมหอใหจิตเศราหมองขุน มัว มืดดำ ใหจิตรอนเปนไฟขึ้น (มีผูถามถึงการแกความงวง) เมื่อถีนมิทธะ ความงวงเขาครอบงำ ใหมองดูดวงดาว มอง ขึ้นไปดูอากาศ หรือถาไมยังงั้นก็ใหนึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรม คุณ พระสังฆคุณ หรือคุณความดีของเราอยางหนึ่งที่เราไดบำเพ็ญ มา เมื่อระลึกแลวมันมีความดีใจที่ไดทำมา มันก็จะหายงวงเหงา หาวนอน ใหแผเมตตาเรื่อย ๆ มันเปนที่จิตเรานั่นแหละ เปน เพราะอารมณ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส มายุยงใหจิตผูกจิต เพราะเหตุนั้น พระพุทธเจาจึงใหชำระอินทรียทั้งหลาย ไมใหยินดี ยินรายในสัมผัสทั้งหลาย ทำจิตใหเปนกลางตออารมณ 138


อนาลโยวาท

เรื่องเหลานี้มันเปนเพระจริตของแตละบุคคล นิสัยมันตาง กัน พระพุทธเจาก็บอกไวหมดละ จริตของคนที่มีราคะมาก ให อาศัยพิจารณาอสุภอสุภัง ใหเห็นความเปอยเนา จะอิดหนาระอา ใจ เบื่อหนาย ถอนจากความกำหนัดได แกโทสะ ใหมีเมตตา แผ เมตตาบอย ๆ มาก ๆ ยืน เดิน นั่ง นอน มันก็ออนลงเอง แกโมหะ ความหลง ใหใชปญญาพิจารณาไตรตรองชำระจิต (มีผูถามทานวา เดินอยางไร ปฏิบัติอยางไร) ฉันแลวก็ไปเดิน มีนั่งบาง หกชั่วโมง ตอนบายไปเดินอีก จน สี่ชั่วโมงจึงมาปดกวาด ตักน้ำ ทำขอวัตร แลวก็กลับมาเดินอีกสาม สี่ชั่วโมง แลวจึงขึ้นมานั่ง อานิสงสของการเดินจงกรมมี (๑) เดินทางบมีเจ็บแขงเจ็บขา (๒) ทำใหอาหารยอย (๓) ทำใหเลือดลมเดินสะดวก (๔) เวลาเดินจงกรมไป ๆ มา ๆ จิตจะลงเปนสมาธิได ถามัน รวมลงเวลาเดินจงกรมได สมาธิของผูนั้นไมเสื่อม (5) เทพยดาถือพานดอกไมมา สาธุ ๆ มาอนุโมทนา นี่เปนอานิสงสของการเดินจงกรม บางวันเมื่อครั้งอยูกุฏิเกา ตรงขางเจดีย อาตมาเดินจงกรม มันหอม ๆ หมด ทั่วหมด หอมอิ 139


อนาลโยวาท

หยังนี่มันไมเหมือนดอกไมบานเรา มันแมนเทพยดามาอนุโมทนา ถือพานดอกไมมาอนุโมทนา เรื่องเดินนี่มันเรื่องหัดสติ จะใชนึกพุทโธไปพรอมกันกับเทา ที่กาวไปก็ได ยังไงก็ได อยาใหจิตมันออกไปเกี่ยวของกับอารมณ ทั้งอดีตและอนาคต ใหอยูที่จิตเทานั้น อาตมากำหนดพุทโธ ๆ อยู ที่จิต เทาก็เดินไป กำหนดอยูที่จิต ไมใหเกี่ยวของกับอารมณใด ๆ สวนทางเดินจงกรม ก็ไมเลือกทิศเลือกทาง ไดหมด แลวแตมัน จำเปน ในที่เหมาะสม เดินไปเพื่อแกทุกขเวทนา ทานอาจารยมั่น ทานวาใหเดินตัดกระแสของโลก จากทิศ ตะวันออกไปตะวันตก ทานวาตัดกระแสของสมุทัย ใหตัดกระแส แตถามันจำเปน มันยังไมมีบอนที่เหมาะสม ก็ไมเปนไร เดินมันไป อยางนั้นเพื่อแกทุกขเวทนาดอก

140


อนาลโยวาท

กัณฑที่ ๒๑ ทุกขสัจจ รางกายที่อาศัยอยูนี่ก็ดี มันเปนของสำหรับโลก เหมือนกัน ทุกคนนะแหละ สพฺเพธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไมใชของใคร ก็แมน รางกานนี่แหละ หมดกอนเทานี้เปนตัวสมุทัย เปนเหตุใหยึดถือ นั่นแหละอัสสิมานะ คนถือเราวาตัวตน นั่นแหละ อันนี้แหละ ความมานะนี่แหละคือความวาเขาวาเรา พระพุทธเจาวาอัตภาพ สังขาร มันหลงสมมติ ทานใหพิจารณาใหรู ใหรูทุกขสัจจ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริฺเยฺยนฺติ เม ภิกฺขเว ทุกขสัจจควร กำหนดใหมันรู ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริฺาตนฺติ เม ภิกฺขเว อันนี้แหละให ศึกษาสาเหตุมัน เสนผมก็ทุกขสัจจ ความเกิดเปนหญิงเปนชาย วาเขาวาเรา อายกอนนี้มันเกิดมาจากไหน ตองสาวหาเหตุมัน มัน เกิดมาจากตัณหานี่แหละ นั่นแหละจึงใหถอนตัณหา ใหละตัณหา ใหละทิ้ง ใหสละ ครั้นมันรูจักแลวมันก็จะละ เรื่องทุกขสัจจนี้ใหมันรู พิจารณามันทั้งนอกทั้งใน หรือจะ ออกพิจารณา ผม ขน เล็บ ฟน หนัง อาการสามสิบสองนะ กระจายออกทุก ๆ สวนแลว มันเหลือเปนคนไหม บมีคนแลว กำหนดออกไป ๆ จนเหลืออายตนะของมัน บัญญัติ ความสมมุติ 141


อนาลโยวาท

สมมุติคือขันธ รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ รูปขันธ คือธาตุสี่ประชุมกันเปนรูปขันธ ถามีรูป ก็มีเวทนา เกิดขึ้น ตอไปผัสสะมันตอกันเกิดขึ้น พระพุทธเจาไมบอกให พิจารณาไปอื่น ใหพิจารณาที่นี่ หมดกอนของเขาของเรานี่แหละ แมนกอนธรรม อยาไปหาที่อื่น อยาไปพิจารณาที่อื่น มันไปยึด ไป สราง ไปเสีย มันจะเปนเหตุใหเจาของติดอยู ใหพิจารณาอันนี้ ทางจะไปพระนิพพานมีเทานี้แหละ ทานแสดงไว สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ก็เห็นกายนี่แหละ ใหพิจารณา กาย นี่เปนทางไปสูทางพนทุกข ไปสูที่อันบรมสุข สุขอันเนรมิตใส ตน อยาไปหาที่อื่น พระพุทธเจาวาแมนอันนี้หละ ใหมันเห็น นอน กอดอยูแท ๆ หมดทั้งวัน ถามันไปยึดตัวยึดตนอยู มันไมไดไปพระ นิพพานดอกละ วาเขา วาเรา วากู วามึงเสีย พระพุทธเจาวา อัน นี้มาสมมุติวาเปนตัวตนเราหมดทั้งกอน ใหพิจารณาใหเห็นเปน ไตรลักษณ ใหเห็นเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พิจารณาใหเห็นเปน อสุภ อสุภัง ไมใหเห็นเปนสุภะ ความงาม ความดี ความมั่นคง มัน เห็นนี่แหละ มันจึงเกิดนิพพิทา ความเบื่อหนายตอรางกาย เบื่อตอ ความเปนไปของมัน มันเกิดมาแลว มันก็มีความแกคร่ำครา มีพยาธิเบียดเบียน มีมรณะ ความตาย พลัดพรากจากกัน โสกะ ความโศกพิไรรำพัน 142


อนาลโยวาท

มีโทมนัส ความเสียใจ ความคับแคนใจ ความขัดของ เมื่อเกิดมาก็ เปนทุกข พิจารณาทุกขสัจจนี่ใหมันเห็นความจริง ความพลัดพราก ความประสบสิ่งที่ไมเปนที่รักที่ชอบใจ ก็เปนทุกข นี่เนื่องจากทุกข ทั้งหลายมันมารวมอยูที่ขันธทั้งหา ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา ขันธทั้งหาเปนที่ประชุม รับภาระของธุระของหนัก ทานวาขันธทั้ง หาเปนภาระอันหนักเนอ เมื่อวางภาระแลวก็เปนสุขเทานั้น คือวาง รางกายของตน ก็ใหพิจารณาเห็นทุกขนี่เสียกอน พอเห็นทุกขแลวก็ใหสาว ไป อันไหนเปนเหตุใหเกิดทุกข มีกามตัณหา ความใครในกิเลสกาม วัตถุกาม ความใครก็คือความอยากเปนอยากมีนั่นแลว อยากเปน ผูดีมีลาภมียศนั่นแหละเรียกวา ภวะ ความอยากเปนอยากมีนั่น วิภวะ ความไมชอบ อารมณที่ไมชอบ เรียกวาอนิฏฐารมณ อารมณที่ไมชอบใจ เกลียดชังผมหงอก ฟนหัก เกลียดชังหนังหด เหี่ยวเปนเกลียว ความเสื่อมของอายุของตน ความเสื่อมลาภยศ สรรเสริญทรัพย ครั้นเห็นอันนี้ก็เพียรละเพียรถอนมัน เอ มันเปน เพราะอันนี้ มันเปนเพราะอยากนี่แลว ความอยากมันมาจาก ความโงความไมเขาใจ ความเปนตนเปนตัว นี่เรียกวา อวิชชา เรา คืออวิชชา พระพุทธเจาเปรียบเหมือนวิชา เปรียบเหมือนผูกอกำเนิด ของทารก ทารกนั่นเปนที่รักของบิดามารดา มารดาเปนผูทำนุ 143


อนาลโยวาท

บำรุง ทารกก็เปนสุข คือตัณหา ความรักใครความชอบใจ เปนผู รักษาสนองความสุข ทารกก็เจริญขึ้น เจริญขึ้นไป ครั้นเห็นสิ่ง เหลานี้ สิ่งเหลานี้เปนเหตุใหเกิดตัณหา กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา เหลานี้เกิดขึ้นแลวมันก็เปนทุกข ตัณหานี่มันเกิดอยู ที่ไหน มันตั้งอยูที่ไหน ตองคนหามัน นั่นแหละบอนมันเกิด บอน มันตั้งอยู บุคคลจะดับตัณหา ดับที่ไหน ตัณหาเกิดขึ้นที่ไหน บุคคลจะ ละตัณหา ละที่ไหน จะดับตัณหา ดับที่ไหน ตัณหาเกิดขึ้นที่ไหน ให ดับที่นั่น โบราณเพื่อนวา ไฟเกิดที่ไหน เอาน้ำมาราดที่นั่น ดับที่ นั่น ไฟตัณหามันเกิดขึ้นที่ตน ดับนี่ ปลอยนี่ วางนี่ เกิดขึ้นที่ไหน ละ ตัณหาที่เกิด เกิดขึ้นจากจักขุนั่นแหละ เกิดขึ้นที่โสตะ เกิด ขึ้นที่ฆานะ เกิดขึ้นที่ชิวหา เกิดขึ้นที่กาย เกิดขึ้นที่ใจ มันเกิดขึ้นที่ นี่ ก็ตองดับที่นี่ ตองใหเห็นที่นี่ เกิดขึ้นที่ไหนอีก เกิดขึ้นที่รูป เกิด ขึ้นที่เสียง เกิดขึ้นที่กลิ่น เกิดที่รส เกิดที่โผฏฐัพพะ เกิดที่ ธรรมารมณ เกิดที่ไหนอีก เกิดที่จักขุวิญญาณ วิญญาณความรู โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณมโน วิญญาณ เกิดขึ้นที่นี่ มันเกิดขึ้นนี่มันมาจากสาเหตุไหน มันเกิดมาจากความ กระทบ กระทบทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ 144


อนาลโยวาท

เวทนาเกิดขึ้นจากรูป จากจักขุสัมผัส ชิวหากระทบกับรส ชิวหาสัมผัสเกิดเวทนา กายเวทนา เกิดขึ้นจากสัมผัสทางกาย เวทนาเกิดขึ้นทางมโน จากสัมผัสทางใจ ความนอมนึกไปตาม อารมณ ฮือ มันเกิดขึ้นที่นี่ อยูที่นี่แหละ มันอยูตอนอายตนะ มัน จะเกิดขึ้นตอ ๆ ขึ้นไป รูปสัญญา โสตสัญญา คันธสัญญา ชิวหา สัญญา โผฏฐัพพสัญญา มโนสัญญา รู ป สั ญ เจตนาเป น ทุ ก ข ข องโลก โสตสั ญ เจตนา คั น ธ สัญเจตนา ชิวหสัญเจตนา กายสัญเจตนา โผฏฐัพพสัญเจตนา ที่ มันเกิดขึ้น เพราะความสุขของรูป ของเสียง ของกลิ่น ของรส รูป ตัณหา เห็นรูปเกิดตัณหาขึ้น เปนทุกข โสตตัณหา ฆานตัณหา ชิวหตัณหา โผฏฐัพพตัณหา มโน ตัณหา ความกระทบของรูป ของเสียง ของกลิ่น ของรส ของ โผฏฐัพพะ ของธรรมารมณ ยึดเอาละ นี่แหละตัณหา มันเกิดขึ้น เรารูจักบอนมันเกิด เราจะละอยางไรละ ถอนอยางไรละ รูจักบอนมันเกิดแลว เมื่อมันเกิดขึ้นที่หู บุคคลจะดับตัณหา ดับ ที่ไหน ดับที่หู ที่ตา ที่จมูก ที่ลิ้น ที่กาย ที่ใจ ดับรูป ดับตา ดับหู ดับจมูก ดับลิ้น ดับสัมผัส ดับธรรมารมณ ตองดับอันนี้ ไมใชดับ อันอื่น เกิดขึ้นที่ไหน ดับที่นั่น เกิดขึ้นที่นี่ เกิดขึ้นจากอายตน ภายใน เกิดขึ้นจากอายตนภายนอก เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส โสต สัมผัส จากจักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วิญญาณ โผฏฐัพพะวิญญาณ มโนวิญญาณ ดับที่นั่น 145


อนาลโยวาท

เวาซื่อ ๆ วา เกิดที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ดับสนิทแลว ไมมีความยินดียินรายตอสิ่งทั้งปวง วางใจเปนกลาง ครั้นทำใจเปนกลาง ไมมีความยินดียินรายตอสิ่งทั้งปวงแลว ใจไดละวางแลว ตัดไดหมดแลว แจงประจักษ ดับสนิทแลว เราได ทำใหเกิด ใหมีแลวซึ่งมัคคสมังคี ทำใหมันแจง มรรคมีองคแปด ทำใหแจงบริบูรณ จิตของเราเมื่ออบรมไปแลวมันลง มันสงบ มันหมดเรื่อง ความเวา อันนั้นแหละมันจึงรูวา เราจะเอาสัญญานี่ เราเอา สัญญานี่แหละพิจารณารางกายของเรา พิจารณาไป ๆ มันจึงจะ เกิดญาณทัศนะ ความรูความเห็นตามความเปนจริง มันแจง ประจักษ เบื้องตนเราก็พิจารณาใชสัญญานั่นแหละ ทานเจาคุณอุ บาลีทานวา มันจะตองเอาโลกียนั่นมาใชเสียกอน พระพุทธเจาก็ เอาโลกียนี่แหละใชเสียกอน มันจึงไดสำเร็จถึงโลกุตระพอดี โลกีย ะเปนเหตุ โลกียะเปนรากเปนเคา คนควาสังขารรางกาย ผม ขน เล็บ ฟน หนัง คนควาพิจารณาไมใหขาด ใหมีสติสัมปชัญญะ ประจำ ใหมันรูจิต มีราคะก็ใหมันรู หายราคะก็ใหมันรู เอาประจำ อยูนั่นแหละ จิตมีโทสะก็ใหมันรู จิตหายโทสะก็ใหมันรู หายโมหะ ก็ใหมันรู จิตหดหูก็ใหมันรู จิตผุดผองก็ใหมันรู มันเกิดขึ้นเพราะ เหตุใด จิตเราเปนสมาธิ ไดฌาน ฌานอุปจาระ ฌานขนิกะสมาธิ อุปจารสมาธิ จิตเปนรูปาวจรก็ใหรู จิตไมเปนก็ใหรู ใหมีฌาน 146


อนาลโยวาท

ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌานก็ใหมันรู จิตเปนสมาธิ ก็ใหมันรู จิตไมเปนสมาธิก็ใหรู จิตอยูในภพในชาติ ยังไมหลุดพนก็ ใหมันรู จิตหลุดพนก็ใหมันรู ใหกำหนดจิต พิจารณาจิต เอา ประจำอยูอยางนี้ มันก็บพนไปไดดอก ครั้นเราตั้งใจอยูแลว ไดหนึ่งเดือน สองเดือนบพอ ใหมัน ตายเสีย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน ใหรูจัก ทำความเพียร เอามันอยูนั่นแหละ บทมันรู มันจะรูปูน จตุตถฌานไปซื่อ ๆ นูน จะรูเมื่อมันสงบ มันบมีตนไม ภูเขา เถาวัลย ธรรมชาติภูเขาที่ไหน ไมมี มีแตแผนดินกับครอบฟาจางปางอยูฮั่น อันนั้นแหละจิตมัน รวม บริสุทธิ์แลว ครั้นมันเห็นอยางนั้นแลว มันบมีคน บมีหยัง หมดสัญญาแลว อากาสานัญจายตนะนี้ เลยขึ้นไปบมี มันจะกลับ มันจะเอากันอีก อยูบานผือ ไปมันทุกมื้อ ไปพรหมโลกนั่นแหละ ไปสวรรคก็ ไปมื้อนั้นแหละ ไปมันทุกวัน อยากวันไหน ก็ไปวันนั้นแหละ อันนี้ มันสุดแตคนแลว เห็นแจงชัด มันจะขึ้นไป ความทุกขมันจะเห็น ไมมี เหมือนกันกับจุดตะเกียงเจาพายุ แดงโรอยูอยางนั้นแหละ มันสงบลงไปแลว ไมมีหยังแลว แตเราไปเกิดแตวิญญาณ มันก็บ ดีแลว แลวบเปนหยัง บมีหยัง มันก็บดีแลว มันตองคนควา จิตเรา สงบ มันสงบดีแลว บมีหยัง ๆ วายังงั้นมันก็ไมถูก มันตองคนควา มันสวางเต็มโลกแนะ มันสวางก็เห็น ก็คนควาหาสิ่งของได ไมจุด ไฟมันมืด ไมมีดวงไฟมันก็มืด บเห็นหยัง จะเก็บขาวเก็บของ เรา ตองจุดไฟเจาพายุขึ้น เราจึงหาเจอะ บจุดมันก็ตะเกียงซื่อ ๆ นี่ก็ 147


อนาลโยวาท

เขาใจวา ดวงไฟมันมืด คือขี้เขมา มืดก็ตองขัดเอาเขมาออก บขัด ออก จุดไปนาน ๆ มันก็มัวหมอง ไมสวางแลว จิตของเราครั้นไม สงบแลวก็มืด ถาไมมีสิ่งที่หมักหมมใหมันเศราหมองขุนมัว มันก็ สวาง สวางแลวเราก็คนควา ทานจึงวา จิตเดิมธรรมชาติเลื่อมประภัสสร แตอาศัย อา คันตุกกิเลส เขามาหมักหมม จิตมันจึงขุนมัวไป จะเปรียบเทียบ เหมือนกับแกว หรือเพชรนิลจินดาที่เกลือกกลั้วอยูกับฝุนธุลีกับ พื้นแผนดิน บุคคลผูฉลาดมาตรวจวามีเพชรพลอย มีบอทองคำที่ นี่ เขาจะมาขุดขึ้น เอามาเจียระไน จึงเปนทองคำธรรมชาติ เปน เพชร เปนพลอยอันใส เราตองตั้งตนตรงนี้เสียกอน ธุลีมันก็มีอยู จิตเดิมมันมีอยู ตั้งใจอยู แตวามันเอาสมมุติเขาไปใส มันหยิบหนังสือขึ้นมาแลว แตละมันมืดมันดับ มีแตฝุนธุลี มีโคลนมีตมมาเกลือกกลั้วอยู ใช การบได ก็เห็นตัวอยูชัด ๆ จิตของเราก็อยางนั้นแหละ เมื่อจิตของ เราขัดเกลาดีแลว เพื่อไมใหมันหลง ขัดอยูทุกวี่ทุกวัน ไมใหทุกข เขามาขุนมัวหัวใจ รักษาใจใหมันสวางอยู จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิต ขัดดีแลว อบรมดีแลว มีแตความสุข มันสุขก็แมนจิตเทานั้นแหละ มันจะรูสึกได กายมันเปนไปตามเรื่องของมันนั่นแหละ มันกอนพ ยาธิมดทั้งกอน ไมมีดีสักกอน ใจมันไปหมักหมมกับอะไรตออะไร เอามาเปนอารมณ อยูแตมันอันเดียวเทานั้น บยึดอันใดถามันเห็น โทษแลว เวลาไมมีอะไรมาเกลือกกลั้วปะปนแลว มันก็ใสอยูนั่น ก็ 148


อนาลโยวาท

เปนพระนิพพานเทานั้นแลว ใจอยูตามธรรมชาติก็เปนอยางนั้น ก็ ใสอยางนั้น เวทนา รางกายมันเปนธรรมดา มันเปนรังของโรค เปน กอนโรคตั้งแตไหนแตไรมา มันเปนอยางใดก็ไมมีความหวั่นไหว พระพุทธเจาและพระสาวกทั้งหลาย ก็ไมมีความหวั่นไหว เวลามัน จะเปนไป รางกายแลวแตมันจะเปนไปตามเรื่องของมัน หนาที่ของ เขา ทุกขังอยูนั่น เวทนาอยูนั่น เกิดเวทนาก็ใหฝกหัดพิจารณาโลกธรรม รูปอันนี้เราไดมา ดีแลว เมื่อมันชำรุดทรุดโทรมไป พระพุทธเจาก็ไมมีความหวั่นไหว ตอมัน มันจะเสื่อมลาภใหมันเสื่อมไปตามวิสัย ใจเราไมเสื่อม ความ นินทาก็มันลมปาก ครั้นรูเทาแลวจิตไมกระวนกระวาย จิตไมมา รางกายแลว มันก็สุขเทานั้นแหละ ความทุกขกายเกิดขึ้นถารูเทาแลวจิตก็ไมหวั่นไหว อโสกัง วิรชัง ไมมีกิเลสเครื่องมลทินจะตามได ไมมีความโศกเศราตอความ เสื่อมของรางกาย ความเสื่อมลาภ เสื่อมยศ ความนินทา ความ สรรเสริญ มีความรูสึกเปนปกติ นี้ชื่อวาเปนผูรูเทาโลก รูเทาแลว ไมมีความทุกขใจ ครั้นไมรูเทาความเปลี่ยนแปลงของรางกายแลวก็มีความ หวาดเสียว มีความสะดุงอยู กลัวอยู บรูเทา ยั่นมันก็บหายดอก ไมรูเทาแลวมันก็มาเกิดอีก ถามันมาเกิดเปนมนุษยมันไดสราง บารมี ถามันไปเกิดเปนอื่นละ โอ เปนอสุภอสุภัง กลับชาติเปน 149


อนาลโยวาท

มนุษย พระพุทธเจาสรางบารมี ทานขึ้นไปอยูพรหมโลกปูน ไป อธิษฐานใหมันดับเสีย ครั้นอธิษฐานใหมันดับแลว มันนอนอยูชั่ว กัปปชั่วกัลป มันนอนไมไดมาสรางบารมี ครั้นอธิษฐานวาดับเสีย มันไมไดเกิดมาสรางบารมี มีแตมนุษยเทานั้นแหละ มนุสสปติ ลาโภ เกิดเปนมนุษยนี่เปนลาภอันประเสริฐ เพราะไดสรางบารมี เกิดเปนมนุษยแลวมาสรางบาปเฉย ๆ มันก็บมีลาภแลว อยาสราง บาปใสตน เกิดมาเปนลาภแลว รีบสรางบารมีเสีย ไปอยูที่ใด ยั่นมันจะตายเสีย เราตั้งใจแลวเราตั้งสัตย อธิษฐานแลว ยังไงมันก็จะใหเปนชาติสุดทายในชาตินี้ การเกิด ของเรานี่ เปนหรือไมเปนก็ตาม เราจะทำความเพียรอยูนั่นแหละ แมมันจะตายก็เทียวไปเทียวมาอยูนี่ ทำมันอยูนั่นแหละจนตาย ถา ยังไมพนทุกข กอนนี้กอนตาย เกิดมาก็เกี่ยวของกับมาพากันตาย เสีย แบกทุกขอยูอยางเรานี่ เขาปาเขาดงไปซื่อ ๆ เกิดมามีแตตาย เทานั้นแหละ เราไมประมาท ไดตั้งใจทำคุณงามความดีแลว ตาย มันจะไปทุกขรึ อยาทำบาปทำชั่ว อยาเห็นแกปากแกทอง อยาเห็นแกหลับ แกนอน เราสรางความดีใสตนไว ความทุกขยากลำบากบมีความ สบายใจก็แมนเราสรางใหตน ผูอื่นบไดสรางให จะดีก็แมนตน สรางใสตนเอง จะชั่วก็สรางใสตนเองดอก พระพุทธเจาสอนใหทำ ดี ใหกายดี วาจาดี ใจดี อยาเปนกายสกปรก ใจสกปรก ใหใจ สะอาด กายสะอาด นั่นแหละใหรักษาศีล ใหนึกวาเราเปนอะไร 150


อนาลโยวาท

เราเปนพระเนอ เราเปนเณรเนอ ไดมาเจอศาสนาธรรมวินัยของ พระพุทธเจา เปนของเย็น อยูเย็นเปนสุขนะ ไปอยูอำเภอทานอยนั่น บานผือนั่นแหละ เราจะตายอยูนั่น ตากแดด ตากฝุน ตากลมอยูนั่น ใหมันตายอยูนั่น ที่อำเภอนั่น เรา พูดวาเปนแตพระ ใหพากันตายอยูนอกสมมุติ อยาใหมันตายใน สมมุติ นอกสมมุติหมายถึงพระธรรมวินัยของพระพุทธเจานั่น ผู ปฏิบัติตามก็มีความเยือกเย็น ไมมีความเดือดรอน ตายอยูปาชาด ปากุง ปาแก มันฮอน ตามตัวก็มีแตหนอน ตายอยูปาชาด ปากุง มีแตทิ้งเสียนั่นแหละ อยาลืมตน ใหสำนึกตน ใหดูตน อยาไปดูผูอื่น อยาเพงโทษ ผูอื่น ใครทำไมดีก็เปนโทษของเขา โทษของผูอื่น จะไดรับความ ทุกขก็แมนตน ไดรับความสุขก็แมนตน เขาทำดี เขาก็ไดรับความ สุขของเขาเอง ใหดูตน ดูทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน ใหฝกตน ใหมีสติกับตน ใหเรงทำเมื่อรางกายใหโอกาส เมื่อรางกายยังดีอยู ยังแข็ง แรงอยู ทำความเพียรก็ไดอยู ครั้นแกมากครือเรานี่ ก็บทันแลว ได รับทุกขยากทั้งหลายก็ไมได เครื่องมันเกาแลวจะทิ้ง ครือมันไปกับ เจาของซื่อ ๆ ก็ทำทาจะลมแลว แตนอย แตหนุมก็กำหนด เดี๋ยวนี้ เราเปนพระ เดี๋ยวนี้เราเปนเณรแลว ตางจากฆราวาสธรรมดาแลว เพราะมีผาเหลืองนั่น เราตองมีความสำรวม มีความระวัง อยาให ใจคะนอง สนุกสนานไปในอารมณ มีกามารมณ ตองหักหาม มีสติ 151


อนาลโยวาท

อยาไปปลอยตามอารมณ ใหขะมักเขมนทำความเพียรภาวนา พุทโธแลวใหมีสติสำรวมใจอยู เอาอิทธิบาทสี่ ตอนเชาใหมีความสำรวม กายสุจริตัง กลางวันใหมีสติระวัง กายใหเปนสุจริต ใหวาจาเปนสุจริต ใหใจเปนสุจริตอยู ค่ำมาก็ให กายวาจาใจเปนสุจริตอยู ใหเดินจงกรม นั่งสมาธิ ใหชำระนิวรณ ธรรม คืออารมณ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทัจจะ-กุกุจจะ ใหชำระอันนั้นเสีย ใหใจบริสุทธิ์ ชำระจิตของเราใหมันออกจาก นิวรณอันนี้ อยาไปเกี่ยวของกับอันนี้ ใหใจบริสุทธิ์ ยามใดก็ชำระ อันเดียวนี่แหละ ครั้นชำระอันนี้ จิตไมเกี่ยวของกับอารมณ ไมมีราคะ โทสะ โมหะมาเกลือกกลั้ว จิตไมเศราหมองแลว จิตบริสุทธิ์ผุดผอง จิต บริสุทธิ์แลวอยูที่ใดก็มีความสุข ทำการงานอยูก็มีความสุข ความ สุขติดตามผูนั้นไป เหมือนกันกับเงาตามตนไปอยูทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน เพราะชำระจิตใจของตนใหบริสุทธิ์ ใจเศราหมอง ไมดีละก็เปนทุกขอยูนั่น ความทุกขติดตามผูนั้นไป ทำการงานก็ ไมมีความสุข พูดอยูก็ไมมีความสุข ความทุกขยอมติดตามเขาไป เหมือนกับกงลอติดตามรอยเทาโคไป แอกก็ทับคอมันไป มนสาเจ ปทุษเฐนะ มนะคือใจ ครั้นราคะ โทสะ โมหะ โลภ ะ ประทุษรายแลว ผูนั้นจะพูดอยูก็ดี จะทำการงานอยูก็ดี ความ ทุกขยอมติดตามเขาไปเหมือนกงลอติดตามรอยเทาโคไปอยู 152


อนาลโยวาท

มนะสาเจ ปสั น เนนะ จิ ต ใจของผู  ใ ด อั น โทษไม ไ ด ประทุษรายแลว จิตใจผองใสแลว ความสุขยอมติดตามเขาไปอยู เหมือนเงาเทียมตน ถาหากเราไมมีธุระ ไมมีการงานอันหยัง ชำระ จิตใจของตนอยูนั่นแหละ อยาใหมันไปจองเวรกับเขา ไดชื่อวาผู ชนะใจ อยาใหมันมีความกำหนัดกับกายตัวนี้แหละ ครั้นมีความ กำหนัดกับกายแลว ไดชื่อวาจิตไมบริสุทธิ์ จิตเบียดเบียน เบียดเบียนตนใหเดือดรอน แลวก็เบียดเบียนผูอื่น

153


อนาลโยวาท

154


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.