Technical System For Office Design

Page 1

รายงาน: งานระบบ เทคนิคประกอบอาคาร และกฎหมายอาคาร ที่มีผลต่อการออกแบบตกแต่งภายในสานักงาน สมาชิกในกลุ่ม :04530041 , 04530042 , 04530043, 04530044 , 04530045 ประกอบการเรียนวิชา: TECHNOLOGICAL SYSTEM IN INTERIOR DESIGN II ภาควิชา ออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


กฎหมายอาคารทีม่ ผี ลต่ อการออกแบบภายในสานักงาน สาหรับสานักงานที่เป็ นตึกสู ง และ อาคารตึกแถว กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 กฎหมายว่าด้วยบันไดและบันไดหนีไฟ

ข้ อ 27. อาคารที่สูงตั้งแต่สี่ช้ นั ขึ้นไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรื ออาคารที่สูงสามชั้นและมีดาดฟ้ าเหนือชั้นที่สามที่มีพ้นื ที่ เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบนั ไดของอาคารตามปกติแล้วต้องมีบนั ไดหนีไฟทาด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึ่งแห่งและต้องมี ทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ข้ อ 28. บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถวที่สูงไม่เกินสี่ ช้ นั ให้มีบนั ไดหนีไฟที่มี ความลาดชันเกิน 60 องศาได้ และต้องมีชานพักบันไดทุกชั้น

ข้ อ 30. บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตรมีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทน ไฟกั้นโดยรอบเว้นแต่ส่วนที่เป็ นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟและต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารโดยแต่ละชั้น ต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิ ดสู่ภายนอกอาคารได้มีพ้นื ที่รวมกันไม่นอ้ ย 1.4 ตารางเมตร กับต้องมีแสงสว่างให้เพียงพอ ข้ อ 31. ประตูหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไม่นอ้ ยกว่า 1.90 เมตรและต้องทาเป็ น บานเปิ ดชนิดผลักออกสู่ภายนอกเท่านั้นกับต้องติดอุปกรณ์ชนิดที่บงั คับให้บานประตูปิดได้เองและต้องสามารถเปิ ดออกได้ โดยสะดวกตลอดเวลาประตูหรื อทางออกสู่บนั ไดหนีไฟต้องไม่มีธรณี หรื อขอบกั้น ข้ อ 32. พื้นหน้าบันไดหนีไฟต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันไดและอีกด้านหนึ่งกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร


ข้ อ 46 ต้องมีป้ายเรื องแสงหรื อเครื่ องหมายไฟแสงสว่างด้วยไฟสารองฉุกเฉิ นบอกทางออก สู่บนั ไดหนีไฟ โดยป้ ายดังกล่าว ต้องแสดงข้อความทางหนีไฟ เป็ นอักษรมีขนาดสูงไม่นอ้ ยกว่า 16 เซนติเมตร หรื อเครื่ องหมายที่มีแสงสว่างและแสดงว่าเป็ นทาง หนีไฟให้ชดั เจน

2. FIRE SAFETY POLICY ระบบป้ องกันอัคคีภยั ที่จาเป็ นต้องจัดทา เพื่อให้การป้ องกันอัคคีภยั ของอาคารเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของ FIRE SAFETY POLICY ประกอบด้วย 2.1 PASSIVE FIRE SAFETY 2.1.1 บันไดหนีไฟ ระยะห่างของบันไดหนีไฟแต่ละตัวตามแนวทางเดินจะต้องไม่เกิน 60 เมตร บันไดหนีไฟทุกตัวจะต้องมี ระบบป้ องกันไฟและมีอตั ราการทนไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง บันไดหนีไฟทุกตัวจะต้องมีคุณสมบัติดงั ต่อไปนี้  มีอต ั ราการทนไฟของประตูไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง  อุปกรณ์ประตู เป็ นแบบผลัก (PANIC BAR with DOOR CLOSER)  มีราวบันไดตามมาตรฐาน  มีป้ายบอกทางหนี ไฟตามมาตรฐาน  มีอุปกรณ์สื่อสารสาหรับพนักงานดับเพลิง  มีป้ายบอกชั้น  มีระบบอัดอากาศ (กรณี บน ั ไดหนีไฟอยูภ่ ายในอาคาร) 2.1.2 ทางหนีไฟแนวราบ ความกว้างให้เป็ นไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. และมาตรฐาน NFPA 2.1.3 การกั้นแบ่งพื้นที่กนั ไฟลาม ช่องเปิ ดที่พ้นื และผนังสาหรับงานระบบต่าง ๆ จะต้องทา FIRE SEAL ทุกชั้น ห้องเก็บของ , ห้องเครื่ องไฟฟ้ า / เครื่ องกล, โถงของลิฟต์ดบั เพลิง จะต้องก่อสร้างด้วยวัสดุทนไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง มีระบบ กันควัน สาหรับโถงลิฟต์โดยสาร 2.1.4 วัสดุที่ใช้ภายในอาคาร วัสดุที่หา้ มใช้ในอาคาร - FIBRE REINFORCED PLASTIC, EXPOSED POLYSTYRENE, POLYURETHANE FOAM วัสดุที่ควรจากัดการใช้ในอาคาร - PLASTIC / TIMBER/PLYWOOD 2.1.5 ข้อเสนอแนะทัว่ ไป ควรใช้กระจกนิรภัยแทนกระจกธรรมดา ติดตั้งแบบแปลนบอกเส้นทางหนีไฟให้ชดั เจนทุกชั้น จัดตั้งศูนย์สงั่ การดับเพลิงที่ช้ นั ล่างของอาคาร พิจารณาทางเข้าฉุกเฉิ นจากภายนอกอาคาร


2.2 ACTIVE FIRE SAFETY 2.2.1 ระบบป้ องกันอัคคีภยั  ติดตั้งถังเก็บน้ าดับเพลิงสารองอย่างน้อย 2 ชัว่ โมง  ติดตั้งระบบหัวกระจายน้ าดับเพลิงตามมาตรฐาน ว.ส.ท. และมาตรฐาน NFPA  ติดตั้งระบบท่อยืนตามมาตรฐาน ว.ส.ท. และมาตรฐาน NFPA  ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ตามมาตรฐาน ว.ส.ท.  ติดตั้งระบบควบคุมควันไฟตามมาตรฐาน ว.ส.ท. และมาตรฐาน NFPA  ติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแบบมือถือตามมาตรฐาน ว.ส.ท. และมาตรฐาน NFPA

ข้ อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคาร พ.ศ. 2534 อาคารทีม่ คี วามสู งไม่ เกิน 15 เมตรยกเว้นบ้านพักอาศัยที่มีพ้นื ที่ไม่เกิน 300 ตร.ม. จะมีที่วา่ งรอบอาคารไม่ต่ากว่า 1 เมตร

ห้ องนา้ ห้ องส้ วมในทาวน์ เฮาส์ และตึกแถว เป็ นการวัดความสูงของพื้นถึงฝ้ าเพดาน (Floor to Ceiling) ที่กฎหมาย กาหนดให้มีระยะดิ่ง ไม่นอ้ ยกว่า 2.๐๐ เมตร (กฎ 55 ข้อ 22 วรรคสุดท้าย). หากห้องน้ าและห้องส้วมที่แยกจากกันต้องมีขนาด พื้นที่หอ้ งแต่ละห้องไม่ต่ากว่า 0.90 ตารางเมตร (จุดเก้าศูนย์ตารางเมตร) หากห้องส้วมและห้องอาบน้ าใช้ร่วมกันต้องมีพ้นื ที่ไม่ ต่ากว่า 1.50 ตารางเมตร ต้องมีช่องระบายอากาศไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่หอ้ ง ความสูงจากพื้นห้องน้ าถึงฝ้ าเพดานไม่ต่า กว่า 2 เมตร. ถ้ ามีช้ันลอย ความสู งของชั้นลอยก็วดั ตาม Floor to Floor กฎหมายเดิมจะวัดความสูงจากพื้น ถึงฝ้ าเพดาน แต่ตอนนี้นบั จากพื้นถึงพื้นอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งกาหนดไว้ว่​่าจะต้องมีความสูงไม่นอ้ ยกว่า 2.4๐ เมตร (กฎ 55 ข้อ 22 วรรค 3 )

ระยะ Floor to Floor ของทาวน์ เฮาส์ และตึกแถวจะไม่ เท่ ากัน

แต่เดิมกฎหมายเก่ากาหนดความสูงระหว่าง ชั้นเป็ น Floor

to Ceiling แต่ตอนนี้กฎหมายกาหนดให้วดั เป็ น Floor to Floor และระยะ Floor to Floor ของทาวน์เฮาส์น้ นั หลวงกาหนดไว้วา่ จะต้องไม่เตี้ยกว่า 2.6๐ เมตร ส่วนตึกแถว ห้องแถวกาหนดไว้วา่ Floor to Floor ของชั้นล่างจะต้องไม่เตี้ยกว่า 3.50 เมตร ส่วนชั้น สองขึ้นไปต้องไม่เตี้ยกว่า 3.00 เมตร (กฎ 55 ข้อ 22)


รายละเอียดการจัดทาสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2541 1.ทางเข้ าสู่ อาคาร -เป็ นพื้นผิวเรี ยบเสมอกัน ไม่ขรุ ขระ ไม่มีสิ่งกีดขวาง หรื อส่ วนของอาคารยืน่ ออกมาทาให้การสัญจรไม่สะดวก -ให้อยูร่ ะดับเดียวกับพื้นลานจอดรถ หากอยูต่ ่างระดับให้มีทางลาดขึ้น -ลง และทางลาดนี้ให้อยูใ่ กล้ที่จอดรถ -ทางเดินจากบริ เวณภายนอกเข้าสู่อาคาร หากมีพ้นื ต่างระดับกันให้ใช้สีทา หรื อติดเครื่ องหมายให้เห็นชัดสาหรับผูพ้ ิการการมองเห็น 2.ทางลาด - พื้นผิวทางลาดให้ใช้วสั ดุกนั ลื่นและความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 0.90 เมตร โดยมีสัดส่ วนความลาดเอียงไม่เกินค่าที่กาหนด ดังนี้ ความยาวทางลาด

ความลาดเอียง

1 - 3 เมตร

1 : 12

3 - 6 เมตร

1 : 16

6 - 10 เมตร

1 : 20

- ทางลาด ด้านไม่มีผนังกั้นให้ทาขอบสู งจากพื้นผิว ไม่ต่ากว่า 10 เซนติเมตร -มีราวจับทั้ง 2 ข้าง สูงจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร ราวจับด้าที่อยูต่ ิดกับผนังให้มีระยะห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 4.5 เซนติเมตร -ราวจับให้มีลกั ษณะกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 - 5 เซนติเมตร -ราวจับให้ยนื่ จากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสิ้นสุ ดของทางลาดด้านละ ไม่นอ้ ยกว่า 0.30 เซนติเมตร ที่นั่งสาหรับคนพิการ ขนาดของสถานที่(ที่นั่ง) จานวนที่สาหรับเก้าอีเ้ ข็น(ที่นั่ง) 4 - 25

1

26 - 50

2

51 - 300

4

301 - 500

6

4.ทางสั ญจร -ทางสัญจรซึ่งมีพ้นื ต่างระดับที่มีความสู ง 10 เซนติเมตรขึ้นไป และไม่เป็ นทางลาดให้มีพ้นื ผิวต่างสัมผัสมีขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า 30 เซนติเมตร และขอบนอกอยูห่ ่างจากพื้นระดับ 50 เซนติเมตร -ทางเท้าและทางเดินสาธารณะทั้งภายในและภายนอกอาคาร ให้มีพ้นื ผิวต่างสัมผัสมีขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า 30 เซนติเมตร อยูบ่ น ทางเดินนั้น โดยให้ทอดตัวไปตามยาวของเส้นทาง ทั้งนี้เพือ่ แสดงส่ วนของทางเดินทีั ชั่ ดเจนโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง


เทคนิคการประกอบอาคารที่มีผลต่อการออกแบบภายในสานักงาน อาคารนี้เป็ นอาคารประเภท อาคารสานักงานสูง โดยมีโครงสร้างพื้นเป็ นแบบ Post-tensionและ ระบบผนังม่านกระจก curtain wall

พืน้ ระบบ Post Tension คือพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กอัดแรง ที่จะมีการดึงเหล็กเส้นที่อยูใ่ นคอนกรี ต ภายหลังเทคอนกรี ตแล้วเสร็ จ เพื่อให้โครงสร้าง สามารถรับแรงได้มากว่าปกติ จนทาให้โครงสร้างพื้น เห็นเป็ นเพียงแผ่นคอนกรี ตบาง ๆ (20-28 ซม.) ไม่มีคานมารับ ตามช่วง เสา ตัวพื้นจะถ่ายแรงลงเสาเลย พื้นระบบ Post Tension นี้ดีเพราะก่อสร้างไม่ยากนัก (ง่ายกว่าระบบมีคานเยอะ) และลดค่าใช้จ่าย ในงานโครงสร้างได้พอสมควรทีเดียว ความรู้ เกีย่ วกับพืน้ คอนกรีตอัดแรง (Post-tension) พื้นคอนกรี ตอัดแรง มี 2 ชนิด 1. Pre-Tension Slabดึงลวดอัดแรงก่อนการเทคอนกรี ตเช่น พื้นคอนกรี ตสาเร็ จรู ปต่างๆ Plank Slab, Hollow Core Slab 2. Post-Tension Slabดึงลวดอัดแรงหลังการเทคอนกรี ต

ระบบของพืน้ Post-Tension พื้น Post-Tension เป็ นระบบพื้นซึ่งดึงลวดอัดแรงภายหลังการเทคอนกรี ต จึงจาเป็ นต้องร้อยลวดอัดแรงไว้ในท่อเพื่อ ไม่ให้คอนกรี ตจับตัวกับลวดอัดแรง


1. Bonded Systemโครงสร้างของพื้นคอนกรี ตคล้ายคลึงกับระบบเสริ มเหล็กทัว่ ไประบบนี้มกั นิยมใช้กบั อาคารขนาด ใหญ่ เช่น อาคารสานักงาน, อาคารพักอาศัย, โรงแรม, โรงพยาบาล, ห้างสรรพสิ นค้า, โรงงาน, อาคารคลังสิ นค้า, อาคารจอดรถ เป็ นต้นประกอบด้วย ท่อ 1 ท่อร้อยด้วยลวด 2, 3, 4 หรื อ 5 เส้น ท่อ เป็ นท่อ Galvanized Duct ลวด 2, 3, 4 หรื อ 5 เส้น ต้องมีการอัดน้ าปูนเข้าไปให้เต็มท่อหลังการดึงลวด (GROUTING)

2.Unbonded Systemระบบไม่มีแรงยึดแหนี่ยวระบบมีแรงยึดแหนี่ยวระบบนี้มกั นิยมใช้กบั อาคารที่คาดว่าจะไม่ เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การใช้งานอื่นมากนักเช่นอาคารจอดรถและอาคารขนาดเล็กจนถึงปานกลางทัว่ ไปเนื่องจากมีราคาค่า ก่อสร้างประหยัดและขั้นตอนการทางานน้อยกว่าอย่างไรก็ตามในปั จจุบนั นี้ระบบนี้ไม่เป็ นที่นิยมในการก่อสร้างโดยทัว่ ไป ประกอบด้วย ท่อ 1 ท่อร้อยด้วยลวด 1 เส้น ท่อ เป็ นท่อ ลวด 1 เส้น ลวดเคลือบด้วยจารบีระบบนี้ไม่ เหมาะสาหรับอาคารที่จะมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การใช้งานในอนาคต ข้ อได้ เปรียบในการเลือกใช้ ระบบพืน้ Post-Tension 1.ด้ านสถาปัตยกรรม ความคล่องตัวของพื้นที่ใช้สอย ความสะดวกของงานระบบ(ไม่มีคานขวางการเดินแนวท่อ) ลดความสูงของอาคาร


2.ด้ านโครงสร้ าง ลดการแอ่นตัวของแผ่นพื้น ( สภาพใช้งานดี (

ทนต่อการแตกร้าว (Good Crack Behavior) โครงสร้างมีความเหนียว (Ductile)

3.ด้ านความประหยัด ทางตรง ราคาถูกกว่าโครงสร้าง คสล>10% (ค่าวัสดุ + ค่าแรงงาน)ที่ Span > 6m. ทางอ้อม ประหยัดไม้แบบ, โครงสร้างอื่นๆ (เสา, ฐานราก), ค่าโสหุย้ การก่อสร้าง 4. ก่ อสร้ างได้ รวดเร็ว วันต่อ 1 ชั้น พื้นและคาน คสล.สามารถทาต่อเนื่องกับพื้น PTS. ได้แต่ตอ้ งระมัดระวังขั้นตอนการ ทางานความต้านทานไฟไหม้ของพื้น Post-Tension

ระบบผนังม่ านกระจก Curtain –wall ระบบผนังม่ านกระจก คือ ระบบผนังทีเ่ กาะหรือห้ อยแขวนอยู่ภายนอกอาคาร ไม่ ได้ รับนา้ หนักส่ วนโครงสร้ างอาคารอืน่ ใด นอกจากนา้ หนักตัวเองโดยถ่ ายทอดนา้ หนักหรือแรงทีก่ ระทาไปสู่ โครงสร้ างอาคารผ่านจุดยึดตรึงองค์ ประกอบของ Curtain – wall 1. Frame systemกรอบมี 2 ส่วนหลักๆ คือ กรอบแนวตั้ง เรี ยกว่า Mullion และ แนวนอน Tansom

2. Joint system รอยต่ อ มีความสาคัญมากกว่าเรื่ องอื่นใดในเรื่ องของความแขงแรง และการป้ องกันน้ ารั่ว 3. Opening systemช่ องเปิ ด สามารถใช้หน้าต่างได้หลายรู ปแบบ แต่ที่เหมาะสมคือบานกระทุง้ เปิ ดออก หรื อ เปิ ด เข้า ส่วนบานเลื่อนนั้นไม่เหมาะ เนื่องจากปั ญหาน้ าฝนรั่วซึม 4. แผ่ นปิ ด หรือ Infill panel นัน่ ก็คือ กระจกนัน่ เอง หรื ออาจใช้วสั ดุอื่นได้เช้น แผ่นคอนกรี ต แผ่นโลหะ ซีเมนต์ อาคารสานักงานใหม่ ๆ ในยุคนี้ นิยมชอบใช้ผนังกระจกกันมาก เพราะก่อสร้างง่ายและดูสวยงามมองเห็นทัศนียภาพภายนอก ผนังกระจกนี้จะแนบติดกับโครงสร้างของพื้น สามารถแยกออกได้เป็ น 3 แบบคือ


1. แบบธรรมดา (Conventional System)มองด้านนอกเห็นกรอบอลูมิเนียม 4 ด้าน 2. แบบ 2 Sidedมองเห็นกรอบอลูมิเนี ยมเพียง 2 ด้าน 3. แบบ 4 sidedจะมองไม่เห็นกรอบอลูมิเนี ยมด้านนอก

ข้ อดีของผนังม่ านกระจก 1. ติดตั้งง่ายสร้างสะดวกรวดเร็ ว 2. ค่าบารุ งรักษาต่ามีรูปลักษณ์ทางสถาปั ตยกรรมที่สวยงาม ข้ อเสียของผนังม่ านกระจก 1. ใช้ตน้ ทุนสูงในการก่อสร้าง, ร้อนเนื่องจากใช้กระจกผิดประเภท 2. ผนังกระจกหลุดออกได้ ถือเป็ นเรื่ องอันตรายมาก


ระบบบาบัดนา้ เสียแบบติดกับที่ (Onsite Treatment) หมายถึง ระบบบาบัดน้ าเสี ยที่มีการก่อสร้างหรื อติดตั้งเพื่อบาบัด น้ าเสี ยจากอาคารเดี่ยว ๆ เช่น อาคารชุด หรื ออาคารสถานที่ทาการ เป็ นต้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดความสกปรกของ น้ าเสี ยก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบติดกับที่สาหรับบ้านพักอาศัยที่นิยมใช้กนั ได้แก่ บ่อดัก ไขมัน (Grease Trap) ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) ระบบบ่อกรองไร้อากาศ (Anaerobic Filter) เป็ นต้น เนื่องจากเป็ น ระบบที่ก่อสร้างได้ง่าย และในปัจจุบนั มีเป็ นการทาเป็ นถังสาเร็ จรู ปจาหน่ายทาให้สะดวกในการติดตั้ง สาหรับอาคาร พาณิ ชย์หรื ออาคารสานักงานขนาดใหญ่ อาจมีการก่อสร้างเป็ นระบบขนาดใหญ่ เช่น ระบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์ เป็ นต้น เพื่อให้สามารถบาบัดน้ าเสี ยได้ตามมาตราฐานน้ าทิ้งก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม

ระบบบ่ อเกรอะ (Septic Tank)

บ่อเกรอะมีลกั ษณะเป็ นบ่อปิ ด ซึ่งน้ าซึมไม่ได้และไม่มี การเติมอากาศ ดังนั้นสภาวะในบ่อจึงเป็ นแบบไร้ อากาศ (Anaerobic) โดยทัว่ ไปมักใช้สาหรับการบาบัด น้ าเสี ยจากส้วม แต่จะใช้บาบัดน้ าเสี ยจากครัวหรื อน้ า เสี ยอื่นๆ ด้วยก็ได้


ระบบบ่ อกรองไร้ อากาศ (Anaerobic Filter)

มีประสิ ทธิภาพในการบาบัดของเสี ยมากกว่าบ่อเกรอะ โดยภายในถังช่วงกลางจะมีช้ นั ตัวกลาง (Media) บรรจุอยู่ ตัวกลางที่ใช้ กันมีหลายชนิด เช่น หิน หลอดพลาสติก ลูกบอลพลาสติก กรงพลาสติก และวัสดุโปร่ งอื่นๆ ตัวกลางเหล่านี้จะมีพ้นื ที่ผิวมาก เพื่อให้จุลินทรี ยย์ ดึ เกาะได้มากขึ้น น้ าเสี ยจะถูกบาบัดเป็ นลาดับจากด้านล่างจนถึงด้านบน ประสิ ทธิภาพในการกาจัดบีโอดีของระบบนี้จึงสูงกว่าระบบบ่อเกรอะ แต่ อาจเกิดปัญหาจากการอุดตันของตัวกลางภายในถังและทาให้น้ าไม่ไหล ดังนั้นจึงต้องมีการกาจัดสารแขวนลอยออกก่อน เช่น มี ตะแกรงดักขยะและบ่อดักไขมันไว้หน้าระบบ หรื อถ้าใช้บาบัดน้ าส้วมก็ควรผ่านเข้าบ่อเกรอะก่อน

แบบมาตรฐานถังกรองไร้ อากาศสี่เหลีย่ มจัตุรัส

ถังกรองไร้ อากาศแบบวงขอบซีเมนต์


การสร้ างบ่ อดักไขมัน การออกแบบบ่อดักไขมันสาหรับประเทศไทยซึ่งมีอุณหภูมิสูง การจับตัวของไขมันช้า ดังนั้นระยะเวลากักพัก (Detention Time) ของบ่อดักไขมันจึงไม่ควรน้อยกว่า 6 ชัว่ โมง เพื่อให้น้ ามันและไขมันมีโอกาสแยกตัวและลอยขึ้นมาสะสมกันอยูบ่ นผิวน้ า และ ตักออกไปกาจัดเมื่อปริ มาณไขมันและน้ ามันสะสมมากขึ้น เนื่องจากบ่อที่ใช้สาหรับบ้านเรื อนจะมีขนาดเล็กทาให้ไม่คุม้ กับการก่อสร้างแบบเทคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังนั้นอาจก่อสร้างโดย ใช้วงขอบซีเมนต์ที่มีจาหน่ายทัว่ ไปนามาวางซ้อนกัน เพื่อให้ได้ปริ มาตรเก็บกักตามที่ได้คานวณไว้ โดยทางน้ าเข้าและทางน้ า ออกของบ่อดักไขมันอาจจะใช้ท่อรู ปตัวที (T) หรื อแผ่นกั้น (Baffle) สาหรับในกรณี ที่น้ าเสี ยมีปริ มาณมากอาจก่อสร้างจานวน สองบ่อหรื อมากกว่าตามความเหมาะสม แล้วแบ่งน้ าเสี ยไหลเข้าแต่ละบ่อในอัตราเท่า ๆ กัน


ระบบเสียง การติดตั้งระบบเสียง PA ระบบเสี ยงสาธารณะไม่วา่ จะกลางแจ้งหรื อในร่ มที่มีขอบเขตพื้นที่ใช้งานเป็ นบริ เวณกว้าง หรื อที่เรี ยกกันอยูบ่ ่อย ๆ ว่า ระบบเสี ยง PA (Public Address system) ระบบเสี ยง PA เป็ นระบบเสี ยงที่มีขนาดพื้นที่ใช้งานมาก

ชนิดของสัญญาณอินพุตทีป่ ้ อนให้ กบั เครื่องขยายเสียง มีอยู่ 2 แบบ คือ 1.สัญญาณแบบไลน์อินพุต (line level input) อยูใ่ นช่วง -20 dBm จนถึง +30 dBm ซึ่งเครื่ องกาเนิดสัญญาณจัดอยูใ่ นไลน์อินพุต นี้ ได้แก่ พวกเทปเด็ค จูนเนอร์ CD เป็ นต้น 2.สัญญาณแบบบาลานซ์ไลน์ (balanced line) อยูใ่ นช่วง -80 dBm จนถึง -20 dBm ตัวอย่างของตัวกาเนิดสัญญาณแบบนี้ที่เห็น กันชัดที่สุดก็คือ ไมโครโฟนนัน่ เอง

ลาโพงทีใ่ ช้ ในระบบเสียง PA อาจใช้ลาโพงตัวเดียวหรื อสองตัววางไว้บริ เวณด้านหน้าของเวทีใกล้กบั ไมโครโฟนของผูพ้ ดู หรื อแหล่งกาเนิดเสี ยงอื่น ๆ โดยหันหน้าออกการจัด วางแบบนี้เรี ยกว่า แบบซิงเกิลซอร์ซ (single source) แต่ขอ้ เสี ยของการจัด ลาโพงแบบนี้กค็ ือ การรับฟังเสี ยงในบริ เวณใกล้ลาโพงจะเสี ยงดังมาก แต่ ในบริ เวณที่ไกลออกไปความชัดเจนในการรับฟังเสี ยงจะน้อยลง

การวางลาโพงในลักษณะกระจายออกเป็ นแถวทัว่ พื้นที่ (แบบ array) อีกแบบที่นิยมใช้กนั ซึ่งจะใช้ลาโพงเล็กหลายตัววาง กระจายในตาแหน่งที่ตอ้ งการ ซึ่งสามารถจัดวางลาโพงให้ทวั่ พื้นที่ได้ ทาให้การรับฟังเสี ยงสามารถรับฟังได้เท่าเทียมกันทุกพื้นที่ โดยไม่ตอ้ งเร่ งโวลุ่มมาก แต่ขอ้ เสี ยก็คือ การติดตั้งที่ยงุ่ ยากกว่าแบบซิงเกิลซอร์ซ


การต่อลาโพงในระบบเสี ยง PA ที่พบเห็นกันมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบเสียงแบบเน้ นเฉพาะที่ (sound-rein fore cement system) ระบบเสียงแบบกระจายตามจุด (sound distribution systems)

ความแตกต่ างทีเ่ ห็นได้ ชัดของ 2 ระบบนี้ ก็คือ ระยะของการเดินสายจากเครื่ องขยายเสี ยงสู่ลาโพง ในระบบเสี ยงแบบ เน้นเฉพาะที่ลาโพงจะถูกวางอยูใ่ กล้ ๆ กับเครื่ องขยายเสี ยง ระยะการเดินสายก็ไม่ยาวมาก ซึ่งแตกต่างกับระบบเสี ยง แบบกระจายตามจุดที่ตอ้ งเดินสายเป็ นระยะทางไกล ๆ เพื่อที่จะกระจายเสี ยงให้ครอบคลุมออกไปสู่ลาโพงทุกตัวในแต่ ละพื้นที่


ตัวอย่างการจัดระบบเสี ยงแบบต่างๆ


ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบของการทางานออกได้เป็ น 2 ระบบ คือระบบใช้สายไฟและระบบไร้สาย 1. สัญญาณกันขโมยระบบใช้ สายไฟ ข้ อดี คือ ให้ความแน่นอนในการส่งสัญญาณ เนื่องจากเชื่อมต่อด้วยระบบสายไฟ การติดตั้งอุปกรณ์ ตรวจจับสัญญาณ สามารถวางได้ทุกตาแหน่ง ปราศจากอุปสรรค หรื อสัญญาณรบกวนต่างๆ บารุ ง รักษาง่าย ราคาไม่แพงมาก ข้ อเสีย คือ การติดตั้งยุง่ ยาก เพราะต้องมีการเดินสายไฟ ยิง่ ถ้า เป็ นการเดินสายไฟแบบฝังภายในผนัง หรื อ อยูเ่ หนือฝ้ าเพดานแล้ว เวลาเกิดปัญหาขึ้น การตรวจสอบ และ แก้ไขจะทาได้ยาก แต่ถา้ เป็ นการเดินสายไฟ แบบเดินสายลอย ภายนอก เวลาเกิดปั ญหาขึ้นการตรวจ สอบแก้ไขก็สามารถทาได้ไม่ยาก การทางานของสัญญาณกันขโมย ในระบบนี้ ค่อนข้าง เชื่อถือ ได้จึงมีผนู ้ ิยมใช้ 2. สัญญาณกันขโมยระบบไร้ สาย ข้ อดี

คือ ติดตั้งง่าย ไม่ตอ้ งเดินสายไฟให้ยงุ่ ยาก

ข้ อเสีย คือมีขอ้ จากัดในการวางตาแหน่งของตัวอุปกรณ์ตา่ งๆ เพราะถ้าวางใน ตาแหน่งที่ไม่เหมาะสมการ ส่งและ การรับสัญญาณคลื่นวิทยุ ของอุปกรณ์ต่างๆ อาจถูกรบกวน หรื อบดบังทาให้การทางาน ไม่ เหมาะสาหรั บอาคารที่ มี หลายชั้น ซึ่งต้องติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ อย่างกระจัดกระจาย การบารุ งรักษาก็ยากกว่า ระบบใช้สาย ต้องคอยเปลี่ยนแบตเตอรี่ เพราะถ้าเกิดลืม เปลี่ยนปล่อยให้แบตเตอรี่ หมดหรื ออ่อนกาลังลง เครื่ องก็จะไม่ทางาน อีกทั้งระบบนี้ มีราคา ค่อนข้างสูง จึงมีผู ้ นิยมใช้สญ ั ญาณกันขโมยระบบนี้ในวงจากัด 1. อุปกรณ์ ตรวจจับสัญญาณ ( Sensor ) อุปกรณ์น้ ีจะทาหน้าที่ตรวจจับสิ่ งผิดปกติ ที่เกิดขึ้นในรู ปแบบต่างๆ และส่งสัญญาณไปยัง เครื่ องรับสัญญาณ หรื อ เครื่ องควบคุม เพื่อทาการเตือนภัยโดยมีอุปกรณ์พ้นื ฐาน ที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไป ได้แก่ สวิตช์แม่เหล็ก ( magnetlc contact ) ซึ่งจะติดตั้งบริ เวณประตู 2. เครื่องรับสัญญาณหรือเครื่องควบคุม ( Receiver or Control unit ) หน้าที่รับสัญญาณ จาก อุปกรณ์ตรวจจับ สัญญาณ ทุกจุด ควบคุม และประสานการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ให้ สัมพันธ์กนั และ ส่งสัญญาณเตือนภัย ให้ดงั ขึ้น 3. ลาโพงสัญญาณเตือนภัย ( Siren ) การทางานของ ไซเรน ที่จะให้ได้ผลดีน้ นั ควรอยูใ่ นตาแหน่งที่ ไซเรน ทางานแล้ว สามารถ ส่งเสี ยงดังให้ได้ยนิ ไปไกล และติดตั้งไว้ในจุดที่ผบู ้ ุกรุ กจะเข้าไปตัดสายได้ยาก ส่วนการจะเลือก ไซเรน ให้มีความดังระดับใดนั้น ย่อมขึ้นอยูก่ บั ทาเล สถานที่ และสิ่ งแวดล้อมรอบข้างด้วย ซึ่งอาจมีการทด สอบก่อนเพื่อการเลือกใช้ที่เหมาะสม 4. แบตเตอรี่สารอง ( Backup Battery ) มี แบตเตอรี่ สารอง ไว้ ซึ่งจะเป็ น แบตเตอรี่ ที่สามารถชาร์จไฟได้ ในตัวเพื่อใช้ในกรณี ฉุกเฉิ น เช่น ในกรณี ไฟฟ้ าดับ หรื อผูบ้ ุกรุ กตัดกระแสไฟฟ้ าในบ้านสัญญาณกัน ขโมยก็ยงั คงทางานได้ตามปกติ


CCTV ระบบโทรทัศน์ วงจรปิ ด

อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด 1. กล้องโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV Camera) 2. เลนส์ (CCTV Lenses) 3. เครื่ องเลือก / สลับภาพ (Video Switcher) และเครื่ องผสม / รวมภาพ (Multiple Screen Displays) 4. จอภาพ (Video Monitor) 5. เครื่ องบันทึกภาพ (Video Recorder ปั จจุบนั คือ DVR หรื อ Digital Vdo Recorder ) 6. อุปกรณ์เสริ มเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพ (Related Accessories for more efficiency CCTV System) 7. ระบบการควบคุม (Control System) ถ้าแบ่งตามรู ปทรงการใช้งานนั้น จะสามารถแบ่งได้หลัก ๆ ดังนี้ 1.กล้ องวงจรปิ ดแบบโดม (Dome CCTV)

ซึ่งก็มีท้ งั แบบภายใน indoor , ภายนอก outdoor ซึ่งเหมาะสมติดตั้งในจุดที่ตอ้ งการความเรี ยบร้อย และสวยงาม เนื่องจากจะดูกลมกลืน ไม่เกะกะสายตา กล้องวงจรปิ ดชนิดนี้ไม่สามารถเปลี่ยน Lens เป็ นมุมกว้างหรื อแคบได้ เพราะทามาจากโรงงาน


2.กล้องวงจรปิ ดแบบ C/CS Mount (C/CS Mount CCTV) Standard

ซึ่งมีแบบภายใน indoor เท่านั้น แต่เราสามารถติดตั้งในกล่องกันฝนHousing เพื่อใช้งาน outdoorได้เช่นกัน และกล้องวงจร ปิ ดชนิดนี้สามารถเปลี่ยน Lens เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้หลากหลาย เช่น เลนส์มุนกว้าง มุมแคบ ชนิดปรับลดแสง อัตโนมัติ (auto iris) 3.กล้องวงจรปิ ดแบบอินฟราเรด (infrared CCTV)

ซึ่งมีท้ งั แบบ indoor , outdoor โดยจะทาในหลายรู ปแบบ เช่น infrared dome CCTV , Built-in Lens infrared CCTV โดยกล้องวงจรปิ ดแบบนี้มีจุดเด่นที่สามารถรับ ภาพได้แม้ในที่มืดสนิท (0 Lux) แต่กล้องวงจรปิ ดชนิดนี้ไม่สามารถเปลี่ยน Lens เป็ นมุมกว้างหรื อแคบได้เพราะทามาจาก โรงงาน







ข้ อมูลอ้ างอิง

http://www.weloveshopping.com/template/e1/show_article.php?shopid=13507&qid=46374 http://www.zone-it.com/stocks/data/99/99223.html http://www.novabizz.com/CDC/System61.htm#ixzz22Vgg6hof http://www.novabizz.com/CDC/System61.htm#ixzz22VH8xtG9 http://www.tumcivil.com/tips/gen.php?id=86 http://www.zone-it.com/stocks/data/99/99223.html http://www.novabizz.com/CDC/System61.htm#ixzz22Vgg6hof http://www.novabizz.com/CDC/System61.htm#ixzz22VH8xtG9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.