7
1 à´×͹Á¡ÃÒ¤Á – ¡ØÁÀҾѹ¸ 2560
ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
“เรงพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร ใหสังคมยอมรับและอยูรวมกันอยางยั่งยืน”
• รางวัลเหมืองแรสีเขียว ประจำป 2559 • สภาการเหมืองแร เยี่ยมชมกิจการทำเหมือง และโรงไฟฟา ของบริษัท ไฟฟาหงสา จำกัด ณ เมืองหงสา แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • Drone อากาศยานไรคนขับ ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทำเหมืองแร ขจัดปญหาการเขาถึงพื้นที่ที่เขาถึงยาก
7
1 เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2560
คณะกรรมการสภาการเหมืองแร่
1. นายเกรียงศักดิ์ หล่อวัฒนตระกูล 2. นายเข็มชาติ ว่องชาญกิจ 3. นายยุทธ เอีย่ มสอาด 4. นายดิเรก รัตนวิชช์ 5. นายสุทธิเลิศ วีระไพบูลย์ 6. น.ส.อัญชลี ตระกูลดิษฐ 7. นายอนันต์ภกั ดิ์ โชติมงคล 8. นายอนุพงศ์ โรจน์สพ ุ จน์ 9. นายทวี ทวีสขุ เสถียร 10. นายศิรชิ ยั มาโนช 11. นายศิรสิทธิ์ สืบศิร ิ 12. นายวัลลภ การวิวฒ ั น์ 13. นายสุรชิต มานะจิตต์ 14. นายเสกข์สรร ธีระวาณิชย์ 15. นายยงยุทธ รัตนสิร ิ 16. นายณรงค์ จ�ำปาศักดิ ์ 17. นายอภิชาติ สายะสิญจน์ 18. นายสุเทพ สุนทรารัณย์
ประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่
เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ นายสมพร อดิศกั ดิพ ์ านิชกิจ
ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสภาการเหมืองแร่ นางสุปราณี เพชรศิริ
ทีอ่ ยู่ สภาการเหมืองแร่
222/2 ซอยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถนนวิภาวดี-รังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2275-7684-6 แฟกซ์ 0-2692-3321 E-mail Contact : miningthai@miningthai.org Website : www.miningthai.org ID LINE : miningthai ที่ปรึกษา : เกรียงศักดิ์ หล่อวัฒนตระกูล ประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ วัลลภ การวิวัฒน์ กรรมการสภาการเหมืองแร่ และประธานคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ สมพร อดิศักดิ์พานิชกิจ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ บรรณาธิการ : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล กองบรรณาธิการ : สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล / ทัศนีย์ เรืองติก / อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ / ชุติภา จริตพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา บุญพระรักษา ฝ่ายโฆษณา : กฤณากร แดงส�ำราญ / ศิริพร กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภริ มย์ จัดท�ำโดย : บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด เลขที่ 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2354-5333 แฟกซ์ 0-2640-4260 **วารสารเหมืองแร่ จัดท�ำขึน้ เพือ่ ให้ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ป็นประโยชน์แก่สมาชิกสภาการเหมืองแร่ ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานและกิจการของสภาฯ ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ทัง้ นีบ้ ทความต่างๆ ใน วารสารเหมืองแร่ นีเ้ ป็นดุลพินจิ ของกองบรรณาธิการ โดยจะออกทุกๆ 2 เดือน
Contents ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2560
9 แวดวงชาวเหมือง 12 บทความพิเศษ สถานการณแ์ รท่ รายแกว้ ปัจจุบัน
คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาแร่ทรายแก้ว
18 Cover Story
ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม “เรง่ พัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแรใ่ หส้ ังคมยอมรับ และอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน” กองบรรณาธิการ
22 รายงาน
สภาการเหมืองแร่ เยี่ยมชมกิจการทำ�เหมืองและโรงไฟฟ้า ของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด ณ เมืองหงสา แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
สภาการเหมืองแร่
24 เหมืองแร่สีเขียว
รางวัลเหมืองแร่สีเขียว ประจำ�ปี 2559 กองบรรณาธิการ
26 รายงาน DRONE อากาศยานไรค้ นขับ ชว่ ยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานทำ�เหมืองแร่ ขจัดปัญหาการเข้าถึง พื้นที่ที่เขา้ ถึงยาก กองบรรณาธิการ
28 เรื่องเล่าจากชาวเหมือง เรื่องเลา่ ความอัศจรรย์ รุ่งศักดิ์ อินทร์สิงห์
31 รายงาน กพร. วางนโยบายพัฒนาแหลง่ แรค่ วอตซ์ เพื่อใชเ้ ป็นวัตถุดิบสำ�คัญผลิตเซลลแ์ สงอาทิตย์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
33 News กองบรรณาธิการ
34 แนะนำ�สินค้า กองบรรณาธิการ
35 Report มาตรการกำ�กับดูแลเหมืองแรเ่ กา่ เพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ ภายหลังการปิดเหมืองให้สามารถนำ�กลับมา ใช้ประโยชน์อีกครั้ง กองบรรณาธิการ
37 เทคโนโลยีเหมืองแร่ หัวเจาะคุณภาพ ต้อง Robit
บริษัท อิตัลไทยอุตสาหกรรม จำ�กัด
แวดวงชาวเหมือง l
กองบรรณาธิการ
>> สภาการเหมืองแร่ เข้าพบเพื่อสัมภาษณ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
คุณสมพร อดิศักดิ์พานิชกิจ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่
คุณวัลลภ การวิวัฒน์ ประธาน อนุกรรมการประชาสัมพันธ์และ คณะกรรมการสภาการเหมืองแร่
เมื่ อเร็ ว ๆ นี้ คุ ณ สมพร อดิ ศักดิ์ พ านิ ช กิ จ เลขาธิการ สภาการเหมืองแร่ พร้อมด้วย คุณวัลลภ การวิวัฒน์ ประธาน อนุกรรมการประชาสัมพันธ์และคณะกรรมการสภาการเหมืองแร่ และคุณสุปราณี เพชรศิริ ผู้ช่วยเลขาธิการสภาการเหมืองแร่ ได้เข้าพบ ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อสัมภาษณ์ โดยจะน�ำข้อมูลมาตีพิมพ์ในวารสารเหมืองแร่ ฉบั บ ที่ 1 ประจ� ำปี 2560 ณ ชั้ น 3 อาคารส� ำนั ก งานปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม
>> ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มอบนโยบาย และตรวจเยี่ยมกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ ดร.สมชาย หาญหิ รั ญ ปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม มอบนโยบายและตรวจเยี่ย มกรมอุต สาหกรรมพื้น ฐานและ การเหมื อ งแร่ (กพร.) โดยมี คุณปณิธาน จินดาภู รองปลั ด กระทรวงอุตสาหกรรม หัวหน้ากลุม่ ภารกิจด้านก�ำกับตรวจสอบ กระบวนการผลิต คุณสมบูรณ์ ยินดียงั่ ยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ร่วมให้การต้อนรับ ณ ห้ อ งประชุ ม ทองค�ำ ชั้น 1 กรมอุต สาหกรรมพื้น ฐานและ การเหมืองแร่
ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรม พืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
คุณปณิธาน จินดาภู รองปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านก�ำกับ ตรวจสอบกระบวนการผลิต
บรรยากาศในการมอบนโยบาย
>> กพร. จัดพิธีน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ January-February 2017
กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) จัดพิธี น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและถวายอาลัยแด่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร โดยมีคณะ ผู ้ บ ริ ห าร ข้ า ราชการ และเจ้ า หน้ า ที่ กพร. น้ อ มส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณและถวายอาลัย ณ ห้องโถง ชั้น 1 กรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
9
คณะผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ กพร. น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและถวายอาลัย
>> สภาการเหมืองแร่เยี่ยมเหมืองและโรงไฟฟ้าหงสา คณะกรรมการและเจ้าหน้าทีส่ ภาการเหมืองแร่ รวม 20 คน ได้เข้าเยี่ยมชมกิจการท�ำเหมืองและโรงไฟฟ้าของบริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด ณ เมืองหงสา แขวงไชยบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 ที่ผ่านมา โดย ได้รับการต้อนรับจากผู้บริหารและคณะเจ้าหน้าที่ของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด อย่างดียิ่ง ส�ำหรับบริษัท ไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด เป็นการร่วมทุนระหว่าง รัฐวิสาหกิจถือหุน้ ลาว บริษทั บ้านปูเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ราชบุรี โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เงินลงทุน 3,710 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อายุสัมปทาน 25 ปี ผลิตไฟฟ้ารวม 1,878 เมกะวัตต์ โดยใช้ เชือ้ เพลิงถ่านหินลิกไนต์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ จ�ำหน่าย ให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว
คณะกรรมการสภาการเหมืองแร่เยี่ยมชมโรงไฟฟ้าหงสา
>> เปิดตัวการน�ำอากาศยานไร้คนขับ (DRONE) เพื่อใช้ ใน อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ณ โรงโม่ บริษัท ศิลาสานนท์ จ�ำกัด
คุณสุระ เพชรพิรุณ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก วิศวกรรมและฟืน้ ฟูพนื้ ที่ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.)
ดร.อนุชติ สุขเจริญพงศ์ คุณธนพิพัฒน์ วิธูชุลีโชติ วิศวกรปฏิบัติการส�ำนัก นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิศวกรรมและฟืน้ ฟูพนื้ ที่ หน้าพระลาน กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร่
การสาธิตการใช้อากาศยานไร้คนขับ ตรวจงานเหมืองแร่
คณะท�ำงานอากาศยานไร้คนขับ (DRONE) ถ่ายภาพร่วมกัน
คุณสุระ เพชรพิรุณ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิศวกรรมและฟื้นฟูพื้นที่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) พร้อมด้วย ดร.อนุชิต สุ ข เจริ ญ พงศ์ วิ ศ วกรปฏิ บั ติ การส� ำนั กวิ ศวกรรมและฟื ้ นฟู พื้นที่ กรม อุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่และคณะสือ่ มวลชนลงพืน้ ที่ เปิดตัว การน�ำอากาศยานไร้คนขับ (DRONE) มาใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ครัง้ แรกในประเทศไทย ทดแทนการใช้บคุ ลากรในการก�ำกับดูแลเหมืองแร่ ในพืน้ ทีเ่ สีย่ งอันตราย ลดปัญหาการเข้าถึงพืน้ ที่ เช่น หน้าผาสูงชัน บ่อเหมือง ทีใ่ ช้เครือ่ งจักรขนาดใหญ่ พร้อมโชว์ขนั้ ตอนการส�ำรวจและการก�ำกับดูแล เหมืองแร่อย่างเป็นทางการ รวมถึงการร่วมอัพเดทอนาคตเหมืองแร่ไทย ใช้เทคโนโลยีรองรับประเทศไทย 4.0 โดยมี คุณธนพิพัฒน์ วิธูชุลีโชติ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหน้าพระลาน คณะผู้บริหารโรงโม่ บริษัท ศิลาสานนท์ และผูป้ ระกอบการเหมืองแร่ในพืน้ ที่ ให้การต้อนรับ ณ โรงโม่ บริษัท ศิลาสานนท์ จ�ำกัด (กิโลเมตรที่ 129) อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
10
January-February 2017
ตัวอย่าง ภาพถ่ายทางอากาศจากโดรน
>> สภาการเหมืองแร่เข้าพบเจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร เมื่อเร็วๆ นี้ คุณเกรียงศักดิ์ หล่อวัฒนตระกูล (ที่ 2 จากซ้าย) ประธานสภาการเหมืองแร่ พร้อมคณะกรรมการสภาการเหมืองแร่ และ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ เข้าเยีย่ มคารวะในวาระวันขึน้ ปีใหม่ 2560 และหารือข้อราชการกับท่านพลโทภาณุพล บรรณกิจโศภน (กลาง) เจ้ากรมการอุตสาหกรรมทหาร ณ กรมอุตสาหกรรมทหาร กรุงเทพมหานคร
>> กพร. แถลงแนวทางการจัดหาวัตถุดิบให้กับ ภาคอุตสาหกรรมประจ�ำปี 2560 คุณวิษณุ ทับเที่ยง ผู้อ�ำนวยการกองบริหารยุทธศาสตร์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ในฐานะ โฆษกกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) แถลง แนวทางการจัดหาวัตถุดิบให้กับภาคอุตสาหกรรม ขับเคลื่อน ภาคอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 พร้อมเปิดนโยบาย และแผนงานส�ำคัญของ กพร. ปี 2560 ณ ห้องประชุมทองค�ำ ชั้น 1 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
คุณวิษณุ ทับเที่ยง ผู้อ�ำนวยการกองบริหารยุทธศาสตร์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
>> ผู้ประกอบการเหมืองแร่ ร่วมช่วย ผู้ประสบภัยน�้ำท่วมภาคใต้ ผู้ประกอบการเหมืองแร่ ร่วมเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย น�้ำท่วมภาคใต้ ไม่ว่าจะเป็นการบริจาคข้าวสาร อาหารแห้ง น�้ำดื่ม ยารักษาโรค และสิ่งจ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน เป็นต้น พร้อมน�ำเครื่องจักรช่วยท�ำคอสะพานที่พังทลายจากน�้ำ น�ำ เครื่องจักรช่วยชาวบ้านเคลียร์เส้นทางหลังน�้ำท่วมให้การสัญจร กลับมาใช้งานได้เป็นปกติอีกครั้ง
ผู้ประกอบการเหมืองแร่ ร่วมเข้าช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยน�้ำท่วมภาคใต้
>> ผู้ประกอบการเหมืองแร่ภาคใต้ ช่วยชาวนาซื้อข้าวหอมมะลิ ผู ้ ป ระกอบการเหมือ งแร่ภ าคใต้ ร่วมโครงการ “สถาน ประกอบการอุตสาหกรรมและเหมืองแร่ชว่ ยชาวนาไทย” ร่วมซือ้ ข้าวหอมมะลิจากสหกรณ์จงั หวัดศรีสะเกษจ�ำนวน 200 กิโลกรัม ณ ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช
จัดพื้นที่แปรอักษรถวายความอาลัย แด่ในหลวงรัชกาลที่ 9
11
>> กพร. ย�้ำร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ ค�ำนึงถึงประโยชน์ ของชาติเป็นส�ำคัญ คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ย�ำ้ ร่างพระราชบัญญัตแิ ร่ฉบับใหม่ ค�ำนึงถึงประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชาติ รวมทั้ ง ผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสุ ข ภาพของประชาชนเป็ น ส� ำ คั ญ ซึ่ ง ในขณะนี้ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติในวาระที่ 2 และที่ 3 แล้ว เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 ที่ผ่านมา ซึง่ ตามกระบวนการตราพระราชบัญญัติ เมือ่ ร่างพระราชบัญญัตไิ ด้รบั ความ เห็นชอบจากทีป่ ระชุมสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติแล้ว นายกรัฐมนตรีจะน�ำขึน้ ทูลเกล้า เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยให้ประกาศใช้เป็นกฎหมายภายใน 20 วัน นับแต่วันที่ ได้รับร่างพระราชบัญญัติ และมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นก�ำหนด 180 วัน นับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้ด�ำเนินการแต่งตั้งคณะ ท�ำงานเพื่อจัดท�ำอนุบัญญัติที่จะออกตามความในพระราชบัญญัติแร่ฉบับใหม่นี้ จ�ำนวนกว่า 100 เรื่อง ซึ่งคาดว่าจะสามารถด�ำเนินการให้แล้วเสร็จได้ทันตาม ระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนด
January-February 2017
คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.)
ผู้ประกอบการเหมืองแร่ภาคใต้ ร่วมซื้อข้าวหอมมะลิภายในงาน
บทความพิเศษ l
คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาแร่ทรายแก้ว
สถานการณ์
12
January-February 2017
แร่ทรายแก้วปัจจุบัน ความเป็นมา/หลักการ เหตุผล ทรายแก้วเป็นแร่เศรษฐกิจสำ�คัญชนิดหนึ่งในการ พัฒนาแร่เศรษฐกิจของประเทศไทย ทรายแก้วเป็นวัตถุดบิ ทีม่ คี วามจำ�เป็นต่ออุตสาหกรรมแก้วและกระจก อุตสาหกรรม เซรามิก อุตสาหกรรมหล่อโลหะ และอุตสาหกรรมอื่นๆ ในปัจจุบนั อุตสาหกรรมเหล่านีม้ กี ารขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนือ่ ง ความต้องการใช้ทรายแก้วจึงเพิม่ มากขึน้ ในขณะที่ ปริมาณทรายแก้วจากประทานบัตรดำ�เนินการมีจำ�นวน ลดน้ อ ยลงไป และเริ่ ม มี แ นวโน้ ม ไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความ ต้องการใช้ในประเทศ ประกอบกับการใช้พื้นที่ศักยภาพ ทรายแก้วที่คาดว่าจะสามารถพัฒนานำ�ขึ้นมาใช้ แต่มี ข้ อ จำ�กั ด จากการทั บ ซ้ อ นกั บ การใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ ใ น ลักษณะอืน่ ทำ�ให้แหล่งศักยภาพทรายแก้วทีม่ อี ยูแ่ ละการ ที่จะนำ�ขึ้นมาใช้ประโยชน์ของแร่ทรายแก้วเข้าสู่จุดวิกฤต เกิดผลกระทบต่อผู้ประกอบการและอุตสาหกรรมการ ส่งออกแก้วและกระจก ซึ่งหากจะแก้ปัญหาโดยการพึ่งพา การนำ�เข้าทรายแก้วเพือ่ เป็นวัตถุดบิ จากประเทศเพือ่ นบ้าน จะเป็นการเพิ่มต้นทุนราคาวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม เป็นอย่างมาก จึงอาจเป็นการแก้ไขปัญหาที่ไม่ยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2559 กรมทรัพยากรธรณีจึงได้ทำ�การ รวบรวม ประเมินศักยภาพและวิเคราะห์สถานการณ์แร่ ทรายแก้วของประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และคุม้ ค่าทีส่ ดุ รวมไปถึงการวางแผนงานสำ�รวจ การประเมินศักยภาพ การลำ�ดับความสำ�คัญของแหล่งทีจ่ ะ สามารถนำ�มาพั ฒนาใช้ ป ระโยชน์ ต อบสนองต่ อ ความ ต้องการใช้ในประเทศ และสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมและ การส่งออก เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่าง ยั่งยืนต่อไป นอกจากนี้ประกอบกับการที่ตลาดการค้าเสรี อาเซียนทีก่ ำ�ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคต ซึง่ จะเป็นการส่งเสริม โอกาสให้ ป ระเทศไทยเป็ น หนึ่ ง ในกลุ่ ม ผู้ นำ�ในการ ประกอบการและเทคโนโลยีอุตสาหกรรมแก้วและกระจก แบบครบวงจรในภูมิภาคอาเซียน
การใช้ประโยชน์จากแร่ทรายแก้วในปัจจุบัน แร่ทรายแก้ว สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมได้ หลายประเภท โดยการนำ�มาเป็นวัตถุดบิ สำ�หรับอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และอุตสาหกรรมต่อเนื่องประเภทต่างๆ ดังนี้ 1) อุตสาหกรรมแก้วและกระจก เป็นอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง ไปสูอ่ ตุ สาหกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น อุตสาหกรรม ก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และอุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมกระจกรถยนต์ 2) อุตสาหกรรมเซรามิก เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แร่ทรายแก้ว เป็นส่วนประกอบของเนื้อเซรามิกคุณภาพสูง เนื่องจากแร่ทรายแก้ว สามารถเพิ่มการมีสีขาว ใส ความแกร่ง การยึดเกาะระหว่างเนื้อ เซรามิก เป็นตัวเคลือบทำ�ให้คงทนต่อความร้อน และอัตราการทำ�ให้ แห้งง่ายให้กับผลิตภัณฑ์
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมเซรามิก
3) อุตสาหกรรมเคมี เป็นการนำ�แร่ทรายแก้วมาใช้ทำ� สารเคมีประเภทต่างๆ เช่น โซเดียมซิลิเกต ซิลิกอนคาร์ไบต์ ซิลิกอนเทตระคลอไรด์ ซิลิกาเจล แคลเซียมซิลิเกต และซิลิโคน ซึง่ เป็นสารตัง้ ต้นของอุตสาหกรรมประเภทอืน่ ๆ อีกหลายประเภท 4) อุตสาหกรรมหลอมโลหะ โดยการใช้เป็นตัวช่วยในการ หลอม ซึง่ แร่ทรายแก้วสามารถทำ�ให้โลหะมีสภาพในการหลอม ได้งา่ ยขึ้น 5) อุตสาหกรรมหล่อโลหะ โดยการใช้แร่ทรายแก้วมาเป็น ส่วนผสมกับดินเหนียว สำ�หรับทำ�แม่แบบหล่อ เพือ่ ให้ได้ชนิ้ งาน หล่อที่ดี มีความแข็งแรง และมีการจับตัวกันได้ดี 6) อุตสาหกรรมเครือ่ งประดับประเภทแก้วเจียระไน เป็น อุตสาหกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าให้กบั แร่ทรายแก้วในอัตราทีค่ อ่ นข้างสูง ทรายแก้วที่ใช้ในอุตสาหกรรมนี้ ต้องเป็นทรายแก้วที่มีความ บริสุทธิ์สูง เพื่อนำ�มาผลิตเป็นแก้วคริสตัลที่ตกแต่งด้วยการ เจียระไน รวมทั้งใช้เป็นเครื่องประดับเพื่อความสวยงาม 7) ประโยชน์ดา้ นอืน่ ๆ เป็นการใช้ประโยชน์จากแร่ทรายแก้ว ตามส่วนประกอบทางเคมี เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ใช้ทำ�ไฟเบอร์กลาส (fiber glass) ทำ�กระดาษทราย ทำ�หิน เจียระไน สำ�หรับงานขัดสี (ginding wheels) ทำ�อิฐทนไฟ ทำ�ทรายพ่น สำ�หรับถลุงธาตุซิลิกอน (sand blast) ใช้คอนกรีต ชนิดพิเศษ ใช้ทำ�ปุ๋ยเคมี โดยใช้เป็นแกนสำ�หรับการก่อตัวของ เม็ดปุ๋ย ใช้ทำ�กาวชนิดพิเศษ เป็นต้น รวมทั้งใช้เป็นวัตถุดิบ สำ�หรั บ ทำ�ส่ ว นประกอบของเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ท าง อิเล็กทรอนิกส์ ทางวิทยาศาสตร์ และทางการแพทย์อีกด้วย
ปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วของไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 การผลิตแร่ทรายแก้วในประเทศไทย เป็นการผลิตเพื่อใช้ ในอุตสาหกรรมภายในประเทศ เนื่องจากรัฐบาลมีข้อกำ�หนด ในการห้ามส่งออกทรายแก้ว โดยจัดเป็นแร่ทสี่ งวนไว้เป็นวัตถุดบิ สำ�หรั บ อุ ต สาหกรรมภายในประเทศ ปั จ จุ บั น มี แ หล่ ง ผลิ ต ทรายแก้วที่สำ�คัญตั้งอยู่ในภาคตะวันออกคือ จังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด และฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นบริเวณที่ตั้งใกล้กับแหล่ง อุตสาหกรรมทีใ่ ช้ทรายแก้วเป็นวัตถุดบิ สำ�หรับแหล่งทรายแก้วใน ภาคใต้คอื จังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี และแหล่งทรายแก้ว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือ จังหวัดร้อยเอ็ด และบึงกาฬ มีการผลิตเพียงเล็กน้อย จากสถิติการผลิตแร่ทรายแก้วของประเทศไทยในช่วง ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 มีปริมาณการผลิตทรายแก้วรวม 6,740,748 ตัน มีมลู ค่าประมาณ 2,780.50 ล้านบาท คิดเป็น ปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วเฉลีย่ ปีละประมาณ 674,000 ตัน ปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วในรอบ 10 ปีทผ่ี า่ นมา พบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554 ปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วมี แนวโน้มลดลงประมาณ 4 เท่า จาก 861,847 ต้น เป็น 221,721 ตัน และต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ปริมาณการผลิตเริ่มมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนถึง พ.ศ. 2558 มีปริมาณการผลิตแร่ ทรายแก้วเป็น 1,191,212 ตัน ในปี พ.ศ. 2554 มีปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วน้อยทีส่ ดุ คือ 221,721 ตัน มีมลู ค่า 77.60 ล้านบาท และในปี พ.ศ. 2558 มีปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วมากที่สุดคือ 1,191,612 ตัน มีมลู ค่า 838.30 ล้านบาท (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้น ข้อมูล 29 ตุลาคม 2559)
January-February 2017
13
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมแก้ว
จากข้อมูลปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วแยกตามภูมิภาค ของประเทศไทย โดยการผลิตแร่ทรายแก้วในภาคตะวันออก พบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 มีปริมาณการผลิตทรายแก้ว มากที่สุดในท้องที่จังหวัดจันทบุรีและระยองเป็นหลัก ส่วนใน จังหวัดตราดมีปริมาณการผลิตจำ�นวนไม่มาก และผลิตเฉพาะ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2549-2552 และหยุดผลิตไป และจังหวัด ฉะเชิงเทราเริ่มมีการผลิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน การผลิตแร่ทรายแก้วในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มมี การผลิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน ในท้องที่จังหวัด บึงกาฬและร้อยเอ็ด ส่วนการผลิตแร่ทรายแก้วในภาคใต้ เริ่มมี การผลิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เพียงปีเดียว แต่ได้หยุดไป และ เริ่มมีการผลิตอีกครั้งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2558 บริเวณที่มีปริมาณการผลิตทรายแก้ว เป็นหลัก ได้แก่ จังหวัดระยอง ฉะเชิงเทรา จันทบุรี ชุมพร ร้อยเอ็ด และบึงกาฬ ตามลำ�ดับ โดยในปี พ.ศ. 2558 จังหวัดระยอง มีปริมาณการผลิต 600,632 ตัน คิดเป็นร้อยละ 50 ของปริมาณ การผลิตรวม (1,191,612 ตัน) แผนภูมิเส้นแสดงปริมาณการผลิตแร่ทรายแก้วและมูลค่าในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 ภาค
จังหวัด
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
ตะวันออก-
บึงกาฬ
-
-
-
-
-
-
-
-
1,887
23,289
เฉียงเหนือ
ร้อยเอ็ด
-
-
-
-
-
-
-
-
5,950
45,900
ตะวันออก
ใต้
96,431
จันทบุรี
247,010 262,291 220,278 193,485 108,790 117,470 107,600
ระยอง
612,330 576,780 273,470 162,050 215,195 120,851 295,294 464,850 559,843 600,632
240,110 139,560
ตราด
2,100
5,000
2,100
2,050
-
-
-
-
ฉะเชิงเทรา
-
-
-
-
-
-
30,000
80,000
ชุมพร
400
-
-
-
-
1,400
1,200
234,804 136,116 113,231
-
-
190,000 215,000
ปริมาณการผลิตรวม (ตัน) 861,847 844,071 495,848 357,585 323,985 221,721 434,094 876,085 1,133,906 1,191,612
14
January-February 2017
มูลค่า (ล้านบาท)
301.7
295.4
173.5
125.2
การใช้แร่ทรายแก้ว ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2549-2558) มีปริมาณ การใช้แร่ทรายแก้วรวม 6,103,688 ตัน มีมูลค่า 2,448.30 ล้านบาท ปริมาณการใช้แร่ทรายแก้วคิดเป็นเฉลีย่ ปีละประมาณ 610,349 ตัน แนวโน้มปริมาณใช้แร่ทรายแก้วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กับปริมาณการผลิต พบว่าระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554 ปริมาณ การใช้ แ ร่ ท รายแก้ ว มี แ นวโน้ ม ลดลงประมาณ 4 เท่ า จาก 859,240 ตัน เป็น 196,778 ตัน และต่อมาในปี พ.ศ. 2555
113.4
77.6
151.9
306.6
396.9
838.3
ปริ ม าณการใช้ เ ริ่ ม มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง พ.ศ. 2558 มีปริมาณการใช้แร่ทรายแก้วเป็น 992,137 ตัน โดยในปี พ.ศ. 2554 มีปริมาณการใช้ทรายแก้วน้อยทีส่ ดุ คือ 196,778 ตัน มีมูลค่า 68.9 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2557 มีปริมาณการใช้แร่ทรายแก้วมากที่สุดจำ�นวน1,059,202 ตัน มีมลู ค่า 370.7 ล้านบาท รองลงมาได้แก่ปี พ.ศ. 2558 มีปริมาณ การใช้แร่ทรายแก้ว 992,137 ตัน มีมูลค่า 659.3 ล้านบาท (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้นข้อมูล 29 ตุลาคม 2559)
แสดงปริมาณการใช้แร่ทรายแก้วและมูลค่าในประเทศไทย (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้นข้อมูล 29 ตุลาคม 2559) ปี พ.ศ.
ปริมาณ (ตัน)
มูลค่า (ล้านบาท)
2549
859,240
300.7
2550
828,020
289.8
2551
486,790
170.4
2552
355,133
124.3
2553
364,215
127.5
2554
196,778
68.9
2555
393,269
137.6
2556
568,904
199.1
2557
1,059,202
370.7
2558
992,137
659.3
รวม
6,103,688
2,448.3
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมกระจกอาคาร การนำ�เข้าทรายแก้วของไทย ระหว่ า งปี พ.ศ. 2555-2557 ปริ ม าณการนำ�เข้ า แร่ ทรายแก้วมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 51,698 ตัน เป็น 165,366 ตัน และในปี พ.ศ. 2558 ปริมาณการนำ�เข้า แร่ทรายแก้วลดลงเป็น 144,273 ตัน ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 มีการนำ�เข้าทรายซิลิกา และทรายควอตซ์ จำ�นวนรวม 717,225 ตัน มีมลู ค่า 1,821.0 ล้ า นบาท โดยมี ก ารนำ�เข้ า ทรายแก้ ว ปริ ม าณมากที่ สุ ด ในปี
พ.ศ. 2557 จำ�นวน 165,366 ตัน มีมูลค่า 299.3 ล้านบาท รองลงมาได้แก่ปี พ.ศ. 2558 ปริมาณการนำ�เข้า 144,273 ตัน มีมูลค่า 250.3 ล้านบาท และมีปริมาณการนำ�เข้าน้อยที่สุด ในปี พ.ศ. 2554 ที่มีปริมาณการนำ�เข้าจำ�นวน 28,195 ตัน มีมูลค่า 94.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5 ของปริมาณการ นำ�เข้าในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้นข้อมูล 29 ตุลาคม 2559) แสดงปริมาณการนำ�เข้าแร่ทรายแก้วและมูลค่าในประเทศไทย (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้นข้อมูล 29 ตุลาคม 2559) มูลค่า (ล้านบาท)
2549
33,472
96.4
2550
58,251
168.4
2551
66,685
258.3
2552
31,013
106.2
2553
28,195
94.6
2554
27,943
120.3
2555
51,698
192.5
2556
110,329
234.9
2557
165,366
299.3
2558
144,273
250.3
รวม
717,225
1,821.2
15
ปริมาณ (ตัน)
January-February 2017
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมกระจกอาคาร
ปี พ.ศ.
การวิเคราะห์การผลิต การใช้ และการนำ�เข้าแร่ทรายแก้ว จากข้อมูลด้านการผลิต การใช้ และการนำ�เข้าแร่ทรายแก้ว ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 ดังแสดงในรูป สามารถสรุปได้วา่ ประเทศไทยมีการผลิตแร่ทรายแก้วจำ�นวน 6,740,748 ตัน และมีการนำ�ไปใช้ประโยชน์จำ�นวน 6,103,688 ตัน เมือ่ ทำ�การ เปรียบเทียบปริมาณการผลิตกับการใช้ทรายแก้วในแต่ละปี มีความแตกต่างดังนี้ ในปี พ.ศ. 2549-2552 มีการใช้น้อยกว่า การผลิต แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 มีการใช้มากกว่าการผลิต และในปี พ.ศ. 2554-2558 ในแต่ละปีจะมีปริมาณการใช้ น้อยกว่าการผลิต ส่วนในภาพรวมปริมาณการใช้และการผลิต แร่ทรายแก้วมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน จากข้อมูลสถิตสิ ามารถประเมินในภาพรวมได้วา่ ปริมาณ การผลิตและการใช้แร่ทรายแก้วในประเทศไทยอยู่ในสัดส่วน ที่ค่อนข้างสมดุลซึ่งกันและกันตลอดช่วงเวลาทั้ง 10 ปี ยกเว้น ในปี พ.ศ. 2553 อาจประสบปัญหาการขาดแคลนแร่ทรายแก้ว ที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ และนอกจากนี้มีกรณีที่ควร พิจารณาเกี่ยวกับสัดส่วนของปริมาณการใช้แร่ทรายแก้วในช่วง ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2558 พบว่ามีปริมาณการใช้แร่ทรายแก้ว เพิ่มมากขึ้นถึง 5 เท่า ซึ่งปริมาณการใช้แร่ที่เพิ่มขึ้นในสัดส่วน ที่สูงดังกล่าวอาจส่งผลต่อการขาดแคลนแร่ได้ในอนาคต ดังนั้น จึงต้องมีแนวทางในการบริหารจัดการที่เหมาะสม เพื่อให้เกิด ความสมดุลระหว่างการผลิตและการใช้ประโยชน์อยู่ต่อไป สำ�หรับการนำ�เข้าแร่ทรายแก้วของประเทศ ตลอดช่วง เวลา 10 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2558 พบว่ามีสัดส่วนของ ปริมาณการนำ�เข้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
16
January-February 2017
ค่าภาคหลวง กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้ประกาศ ราคาแร่ทรายแก้วและพิกัดค่าภาคหลวงแร่โดยกำ�หนดราคาแร่ ทรายแก้วเมตริกตันละ 990 บาท และกำ�หนดพิกดั ค่าภาคหลวง แร่ในอัตราร้อยละ 4 ของราคาตามประกาศ ทำ�ให้มคี า่ ภาคหลวง สำ�หรับแร่ทรายแก้วจำ�นวน 39.60 บาทต่อตัน (ข้อมูลจาก www.dpim.go.th สืบค้นข้อมูล 29 ตุลาคม 2559) ปัญหา อุปสรรคในการพัฒนา แนวทางแก้ไข > แหล่งทรายแก้วคุณภาพดีอยู่ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว ไม่สามารถพัฒนานำ�มาใช้ประโยชน์ได้ เช่น แหล่งคุณภาพดีใน ภาคตะวันออกและภาคใต้ เป็นชายหาด จึงเห็นได้ว่าปัจจุบัน ได้มกี ารพัฒนาแหล่งทรายแก้วในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัดบึงกาฬ และจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ปัจจุบันได้มีการขอ ประทานบัตรแล้ว
>> ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมหล่อโลหะ > การพัฒนานำ�ทรายแก้วไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม ทีไ่ ม่เหมาะสมและไม่คมุ้ ค่า และการนำ�ทรายแก้วไปใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องยังไม่เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การนำ� ทรายคุณภาพดีเกรดทรายแก้วแต่ไปทำ�ทรายก่อสร้าง ไม่มีการ บริหารจัดการแร่คุณภาพต่ำ�หรือการแต่งแร่ให้สามารถนำ�มาใช้ ประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและเหมาะสมในอุ ต สาหกรรมที่ ต้องการใช้อย่างแท้จริง > ปั ญ หาความล่ า ช้ า ในขั้ น ตอนการขอประทานบั ต ร เนื่องจากขั้นตอนการขออนุญาตประทานบัตรต้องผ่านการ พิ จ ารณาจากหลายหน่ ว ยงานจึ ง เกิ ด ปั ญ หาล่ า ช้ า ทำ�ให้ ผู้ประกอบการหลีกเลี่ยง และการลักลอบทำ�เหมืองเถื่อน > ปัญหาการลักลอบทำ�ทรายแก้วนอกเขตประทานบัตร เนื่องจากพื้นที่ขอประทานบัตรเป็นแปลงเล็กไม่สามารถขอ อนุญาตประทานบัตรในการทำ�เหมืองได้ เพราะไม่คมุ้ ค่าต่อการ ลงทุนทำ�เหมือง ทำ�ให้เกิดการลักลอบทำ�เหมืองขึ้น และได้มี
> ส่งเสริมและกำ�หนดนโยบายในการแสวงหาวัตถุดิบ ทดแทน เช่ น การพั ฒนานำ�ผลพลอยได้ จ ากทรายก่ อ สร้ า ง ทีผ่ า่ นการเพิม่ คุณภาพมาเป็นวัตถุดบิ ทดแทนทรายแก้วธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้ทรายแก้วเป็นวัตถุดิบ > กำ�หนดนโยบายบังคับใช้กฎหมายในการกำ�กับดูแล การประกอบการเหมืองแร่ทรายแก้วให้ปฏิบัติตามมาตรการ และข้อบังคับทางกฎหมายอย่างเคร่งครัด ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหา > ควรมีการทบทวนการกำ�หนดคุณสมบัตแิ ละคุณลักษณะ ของทรายแก้วให้ครอบคลุมประเภทการใช้ในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ นอกเหนือจากอุตสาหกรรมแก้ว กระจก และเซรามิก เพือ่ ให้รฐั มีรายได้จากค่าภาคหลวงแร่และสามารถกำ�กับตรวจสอบได้ อย่างเป็นระบบ เนื่องจากเป็นการทำ�เหมืองจากแหล่งทราย และมีการแต่งแร่ที่ไม่แตกต่างกัน > ควรกำ�หนดแนวทางข้ อ กฎหมายให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง เช่ น การกำ�หนดมาตรการป้ อ งกั น ผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กิ ด จากการทำ�เหมื อ ง กำ�หนดระยะห่ า งจาก ทางน้ำ�หรือทางหลวงสาธารณะให้น้อยกว่า 50 เมตร เป็นต้น
January-February 2017
17
การสรุ ป ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย ที่ นำ�ไปสู่ ก ารลั ก ลอบการทำ� ทรายแก้วไว้ว่า แหล่งทรายแก้วในพื้นที่ครอบครองเป็นพื้นที่ ขนาดเล็ก (ไม่เกิน 10 ไร่) มีปริมาณแร่สำ�รองไม่มากนัก ดังนั้น การรวบรวมที่ดินเพื่อขออนุญาตประทานบัตรเป็นไปได้ยาก รวมทั้ ง การขออนุ ญ าตประทานบั ต รต้ อ งใช้ ร ะยะเวลานาน ในขณะที่ ก ารทำ�เหมื อ งแร่ ท รายแก้ ว เป็ น การทำ�เหมื อ งที่ มี กรรมวิธีไม่ยุ่งยาก เมื่อต้องการขายทรายแก้วก็จะขุดขายโดย ไม่มีการขออนุญาตประทานบัตรเพื่อทำ�เหมือง นอกจากนี้ ผู้ประกอบการเหมืองแร่ทรายแก้วในพื้นที่บางรายที่มีแหล่ง ทรายแก้ ว ขนาดใหญ่ ใ นพื้ น ที่ ค รอบครองก็ ไ ม่ ดำ�เนิ น การขอ อนุญาตประทานบัตร เพราะสามารถซื้อทรายแก้วจากพื้นที่ แหล่งทรายแก้วแปลงเล็กๆ ที่ลักลอบขุดแร่ทรายแก้วในที่ดิน กรรมสิทธิ์ หรือที่ดินมีเอกสารสิทธิ์ ซึ่งใช้ระยะเวลาในการขุด เพียงระยะสั้น (มยุร ปาลวงศ์, 2550) > การกำ�หนดคุณสมบัติและคุณลักษณะของทรายแก้ว หรื อ ทรายซิ ลิ ก าใหม่ ข องกรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานและการ เหมืองแร่ ตามประกาศลงวันที่ 15 มิถนุ ายน 2554 ทำ�ให้แหล่ง ทรายแก้ ว บางแห่ ง ไม่ อ ยู่ ใ นเกณฑ์ ข อทำ�เหมื อ งแร่ ท รายแก้ ว ไม่สามารถขอประทานบัตรหรือขอครอบครองแร่ รวมทั้งไม่อยู่ ในข่ า ยถู ก ดำ�เนิ น คดี ห รื อ ได้ รั บ การยกฟ้ อ งเมื่ อ ผลวิ เ คราะห์ ไม่เป็นทรายแก้ว > การกำ�หนดห้ามทำ�เหมืองเข้าใกล้ทางน้ำ�หรือสาธารณะ ในระยะ 50 เมตร ตามกฎหมายว่าด้วยแร่เพื่อความปลอดภัย ของทรั พ ย์ สิ น และสิ่ ง แวดล้ อ ม สำ�หรั บ เหมื อ งแร่ ท รายแก้ ว ข้อกำ�หนดดังกล่าวอาจไม่เหมาะสมเนือ่ งจากแหล่งทรายแก้วตืน้ และมีถนนตัดผ่านทุกแปลง สภาพที่ดินเป็นโฉนดที่ดินที่มีการ ถือครองที่ดินรายย่อยมานานเพื่อกันพื้นที่ออก 50 เมตร จะไป เหลือพื้นที่ให้สามารถทำ�เหมืองได้ สำ�หรับเหมืองแร่ทรายแก้ว ข้อกำ�หนดดังกล่าวอาจไม่เหมาระสม สมควรมีการพิจารณา ให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของแหล่งทรายแก้วที่เป็นแหล่งแร่ ตื้นๆ ซึ่งกฎหมายมีการผ่อนผันให้สามารถดำ�เนินการได้ แนวทางแก้ไข > กำ�หนดนโยบายส่งเสริมการพัฒนาแหล่งแร่ทรายแก้ว เพื่อสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกับผู้ประกอบการ โดย การกำ�หนดและประกาศพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมกั บ การพั ฒ นา ทรายแก้วขึ้นมาใช้ประโยชน์และคุ้มค่าเชิงพาณิชย์ > สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ป ระกอบการเหมื อ งแร่ ทรายแก้ว มีมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดย ต้องดำ�เนินการประกอบการที่ถูกต้อง และรับผิดชอบต่อผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนที่จะเกิดจากการทำ�เหมือง
Cover Story l
กองบรรณาธิการ
ดร.สมชาย หาญหิรัญ
18
January-February 2017
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ให้สังคมยอมรับและอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เป็นอุตสาหกรรม ต้ น น้ำ� ที่ สำ�คั ญ ของประเทศไทย เพราะหาก ประเทศไทยไม่มีการนำ�ทรัพยากรแร่ในประเทศ ที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ จะต้องมีการนำ�เข้าแร่จาก ต่ า งประเทศ ซึ่ง จะทำ�ให้ เ กิ ด การเสี ย ดุ ล การค้ า และการนำ�เข้าแร่โดยทั่วไป แร่ที่นำ�เข้าจะมีราคา สูงกว่าแร่ทผี่ ลิตได้ในประเทศ ทำ�ให้ตน้ ทุนการผลิต สูงขึ้นเมื่อนำ�ไปทำ�ผลิตภัณฑ์ นั่นหมายถึงราคา สินค้าย่อมสูงขึน้ ตามไปด้วย หากมีการทำ�เหมืองแร่ ในประเทศ เพื่อผลิตแร่ที่สำ�คัญมาใช้ประโยชน์ จะเป็นการทำ�ให้ประเทศไทยมีความมั่นคงด้าน วัตถุดิบสำ�หรับภาคอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงาน ภาครัฐที่กำ�กับดูแลผู้ประกอบการเหมืองแร่ในการ ประกอบกิ จ การเหมื อ งแร่ กั บ การดู แ ลเรื่ อ งผล กระทบต่อประชาชนรอบๆ พืน้ ทีก่ ารทำ�อุตสาหกรรม เหมืองแร่ สิ่งแวดล้อมบริบทรอบๆ พื้นที่การทำ� อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประเทศร่วมกัน ดร.สมชาย หาญหิ รั ญ ปลั ด กระทรวง อุตสาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานภาครัฐทีก่ ำ�กับดูแลผูป้ ระกอบการ เหมืองแร่ในการประกอบกิจการเหมืองแร่ กับการ ดูแลเรือ่ งผลกระทบต่อประชาชนรอบๆ พืน้ ทีก่ ารทำ� อุตสาหกรรมเหมืองแร่ สิ่งแวดล้อมบริบทรอบๆ พื้นที่การทำ�อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ให้อยู่ร่วมกัน อย่ า งปกติ สุ ข แต่ ก็ ต้ อ งยอมรั บว่ า การประกอบ กิจการเหมืองแร่ในประเทศไทย การผลิตของเรา มีปญ ั หาอยูพ่ อสมควร โดยเฉพาะกระแสสังคมและ ความรูส้ กึ ของสังคม ค่อนข้างทีจ่ ะยอมรับเหมืองแร่ ค่ อ นข้ า งน้ อ ย อาจจะมี ภ าพลั ก ษณ์ ใ นอดี ต ที่
การประกอบกิจการเหมืองแร่คอ่ นข้างจะส่งผลกระทบอยูม่ ากกว่าภาพลักษณ์ ทีด่ ี จึงส่งผลต่อการทำ�อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในยุคต่อๆ กันมาจนถึงปัจจุบนั ที่ยังมีความเคลือบแคลงในการประกอบกิจการเหมืองแร่ของผู้ประกอบการ เหมืองแร่ ซึ่งตรงนี้ผู้ประกอบการเหมืองแร่เองก็ต้องแสดงเจตนารมณ์การ
ประกอบกิจการเหมืองแร่ให้ชาวบ้านให้สังคมรอบๆ เหมืองแร่ เข้าใจ รับทราบข้อมูลข้อเท็จจริงการดำ�เนินงานและยอมให้ เข้าไปตรวจสอบการประกอบกิจการเหมืองแร่อย่างไม่มีข้อ ยกเว้นในพื้นที่ประกอบกิจการเหมืองแร่ที่มีข้อกังวลและสงสัย ก็จะช่วยให้การระแวงเคลือบแคลงสงสัยค่อยๆ บรรเทาลงใน ระดับหนึ่ง “ส่วนตัวมองว่าถ้าผู้ประกอบการเหมืองแร่มั่นใจว่าการ ประกอบกิ จ การเหมื อ งแร่ ถู ก ต้ อ งตามกฎระเบี ย บของทาง หน่วยงานราชการ พร้อมให้ชาวบ้าน สังคมภายนอกตรวจสอบ ข้ อ เท็ จ จริ ง ในการดำ � เนิ น กิ จ การ ก็ จ ะช่ ว ยผ่ อ นคลายความ หวาดระแวงต่ อ กั น ได้ เพราะหากเรามี โ อกาสนำ � แร่ ที่ อ ยู่ ในประเทศเรามาใช้เอง ดีกว่าไปซื้อนำ�เข้าจากเหมืองเมืองนอก อาจจะส่งผลให้เสียดุลการค้าระหว่างประเทศได้” ทัง้ นีก้ ารทำ�งานเหมืองในปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการดีมาก จะมี ผู้ประกอบการส่วนน้อยมากที่ทำ�เหมืองที่ขาดความรับผิดชอบ ต่อชุมชน สังคมอยูบ่ า้ ง เพราะผูป้ ระกอบการเหมืองแร่บางส่วน ละเลย มองแค่การทำ�เหมืองเท่านัน้ ทีด่ แู ลรับผิดชอบ แต่ขาดการ ดูแลและรับผิดชอบการดำ�เนินการส่วนอื่นที่ต่อยอดจากการ ทำ�เหมืองแร่ เช่น การขนส่ง ภายในเหมืองออกสู่ชุมชน ภายใน เหมืองเอง ต้องมีการเอาใจใส่และดูแลควบคูก่ นั ไปด้วยทัง้ ระบบ ซึ่ ง ทางกรมอุ ต สาหกรรมพื้น ฐานและการเหมือ งแร่ ไ ด้ มี การ ติ ด ตามถึ ง ผลกระทบส่ ว นนี้ อ ยู่ ต ลอด สิ่ ง ที่ มี เ งื่ อ นไขต่ า งๆ โดยมีเจ้าหน้าที่ EIA ดูแลควบคุมผู้ข้องเกี่ยวทั้งกระบวนการ “ประเด็นใหญ่คอื ต้องสร้างภาพให้คนส่วนรวมเข้าใจในการ ทำ � งานของเหมื อ งแร่ ก่ อ น พื้ น ที่ ใ นช่ ว งอายุ ก ารผลิ ต เราก็ พยายามทำ�ให้ได้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ เรามี Green Mind มากมาย ที่เราได้รางวัลที่ต้องดำ�เนินการให้เห็น ผลให้ได้ แต่หลังจาก การทำ�เหมืองแล้วหมดอายุใบสัมปทานบัตร เราต้องดำ�เนินการ ฟื้ น ฟู ใ ห้ เ ห็ น ผลให้ ไ ด้ ว่ า พื้ น ที่ เ หล่ า นั้ น สามารถนำ � มาใช้ ประโยชน์อะไรได้อีก จะเป็นเหมืองต่างๆ เช่น เหมืองดีบุก จะนำ�พื้นที่นั้นมาใช้สำ�หรับกักเก็บน้ำ� บางแห่งอาจจะทำ�สนาม กอล์ฟได้ เป็นต้น ซึ่งก็ทำ�ได้อยู่ในบางพื้นที่ แต่อาจจะไม่ใช่เป็น พื้ น ที่ ป่ า แบบเดิ ม อี ก สามารถแปรเปลี่ ย นไปทำ � อย่ า งอื่ น ได้ เข้าไปดูแล เข้าไปพัฒนาและฟื้นฟู เพื่อการใช้ประโยชน์ใน รูปแบบอื่นอะไรได้บ้าง”
19
แนวทางการฟื้นฟูของทางกระทรวง ภายหลังจากการทำ�เหมืองแร่ เรือ่ งแนวทางการฟืน้ ฟูของทางกระทรวงภายหลังจากการ ทำ�เหมืองแร่นนั้ ทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้วางนโยบายกำ�กับ ดูแลไว้ 2 ประเด็น คือเรื่องผลกระทบจากการทำ�เหมืองแร่ โดยทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้ให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ มีเงินมาค้ำ�ประกันในการทำ�เหมือง เพื่อเป็นหลักประกัน ซึ่ง อาจจะมีวงเงินมากตามระเบียบที่กำ�หนด เพื่อให้คุ้มกับการ ทำ�เหมือง และแนวทางการฟื้นฟูพื้นที่ที่ประกอบกิจการเหมือง แล้วเสร็จในภายหลัง ส่วนใหญ่ถ้าเป็นพื้นที่ สน.3 อย่างทาง ภาคใต้กจ็ ะนำ�ไปใช้ประโยชน์ภายหลังได้มาก ทำ�สวนบ้าง ใช้เป็น พื้นที่กักเก็บน้ำ�บ้าง ซึ่งต้องเข้าใจพื้นที่การทำ�เหมืองแต่ละแห่ง ประกอบด้วย แต่เราให้ความสำ�คัญเรื่องการฟื้นฟู เพราะไม่ใช่ แค่ต้นทุนสำ�หรับวันนี้ แต่มันหมายถึงอนาคต เพราะถ้าเราทำ� ตัง้ แต่วนั นีใ้ ห้ดี คนก็จะมองตัวอย่างเหมืองแร่ทดี่ ขี นึ้ ภาพลักษณ์ ที่ไม่ดีในอดีตก็จะค่อยๆ ลบเลือนลงไปได้บ้าง โดยเงิ น ค้ำ� ประกั น ที่ ผู้ ป ระกอบการเหมื อ งแร่ ว างไว้ นี้ ทางกระทรวงอุตสาหกรรมจะใช้เงินค้ำ�ประกันนี้ในการเข้าไป จัดการพื้นที่ภายหลังจากที่ผู้ประกอบการทำ�เหมืองแล้วเสร็จ ซึ่งจะนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้มาก บางทีก็เป็นแหล่งน้ำ� อย่างเช่น พื้นที่ในภาคใต้ที่ทำ�เหมือง หลายส่วนก็ยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เป็ น พื้ น ที่ ร องรั บ น้ำ� ไว้ ใ ช้ ใ นการประกอบอาชี พ การเกษตร ต้ อ งเข้ า ใจในสภาพของการทำ�เหมื อ งในแต่ ล ะแห่ ง แต่ เ รา ให้ความสำ�คัญในการฟื้นฟู ไม่ใช่แค่ต้นทุนในการฟื้นฟูสำ�หรับ วั น นี้ แ ละในอนาคต ถ้ า เราไม่ ฟื้ น ฟู ต รงนี้ ใ นปั จ จุ บั น ให้ ดี ในอนาคตเขาก็จะมองเราไม่ดีไปด้วย ไปทำ�ให้กิจการทำ�เหมือง ในอนาคตต้องได้รับการไว้ใจ
January-February 2017
สถานการณ์ปริมาณแร่ของประเทศไทยในปัจจุบัน สำ�หรับสถานการณ์การประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ในประเทศไทยค่อนข้างจะมีน้อยกว่าในอดีตมาก อย่างเช่น แหล่ ง แร่ ดี บุ ก ที่ ใ นปั จ จุ บั น ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ เ ปลี่ ย นการทำ� อุตสาหกรรมเหมืองแร่มาเป็นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น ใน พื้นที่จังหวัดระนอง สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้ปีละ หลายล้านบาท หรือจะเป็นเหมืองแร่ดินมาร์ล ที่สามารถนำ�มา ใช้ทำ�ดินสอพอง ปั้นเครื่องใช้ต่างๆ จะพบแทบทุกภาคของ ประเทศไทย เช่น พบแถวลพบุรี อ่างทอง เพชรบูรณ์ ชลบุรี
เป็นต้น ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญเข้าไปช่วยเหลือ ผ่านโครงการต่างๆ ให้เกิดการต่อยอดเชิงพาณิชย์ ให้ชาวบ้าน เกิดการเรียนรู้และยอมรับการที่จะอยู่ร่วมกันกับเหมืองแร่ “สำ � หรั บ ในขณะนี้ จ ากรายงานพบว่ า ประเทศไทยมี เหมืองแร่ขนาดเล็ก 150-200 แห่ง เหมืองขนาดกลางประมาณ 300-400 แห่ง และเหมืองขนาดใหญ่ 10 แห่ง มีการผลิตมูลค่า แร่ประมาณ 60,000 ล้านต่อปี หรือ 0.5 เปอร์เซ็นต์ของ GDP แต่ อุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งที่ นำ � แร่ ไ ปแปรรู ป ต่ อ ยอดต่ อ เช่ น อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ สร้างมูลค่าสูง 80,000 ล้านบาท อุตสาหกรรมแก้วหรือเซรามิก 70,000-80,000 ล้านบาท อุตสาหกรรมแก้ว-กระจก รวมกันอย่างน้อย 60,000-70,000 ล้านบาท อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า โดยเฉพาะถ่านหินไฟฟ้า มีมลู ค่าไม่นอ้ ยกว่า 3-4 ล้านบาทต่อปี ในอุตสาหกรรมการผลิต เหมืองในประเทศ และอุตสาหกรรมก่อสร้างประเมินราคา ไม่ ไ ด้ เพราะมี มู ล ค่ า มากมายมหาศาล นอกจากนี้ ยั ง มี อุตสาหกรรมที่ต่อยอดจากการทำ�เหมืองแร่อีกหลายล้านบาท ที่ยังไม่สามารถประเมินได้”
20
January-February 2017
“อย่างในช่วงหน้าแล้งที่ผ่านมา กระทรวงอุตสาหกรรม ได้นำ�น้ำ�ในขุมเหมืองมาช่วยบรรเทาภาระการขาดแคลนน้ำ�แก่ ประชาชนด้วย โดยในปัจจุบนั นีก้ ระทรวงอุตสาหกรรมก็เป็นคน ปิดทองหลังพระ มีแหล่งน้ำ�ในขุมเหมือง ซึ่งจะเป็นแหล่งน้ำ� ที่กักเก็บไว้ให้ประชาชนได้ใช้ในพื้นที่ทำ�เหมืองอยู่แล้ว ในการ ทำ�การเกษตร บางแหล่งก็ถูกใช้สำ�หรับเป็นแหล่งน้ำ�อุปโภค บริโภค ในพื้นที่ที่มีการดูแลเหมืองของผู้ประกอบการทำ�เหมือง เขาก็ ยิ น ดี บางแห่ ง เช่ น จั ง หวั ด ระนอง เขาก็ ใ ช้ เ ป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยว เขาเรียกไทยแกรนด์แคนยอน น้ำ�ลึก เขียว ถูกใช้เป็น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว และน้ำ � ก็ ถู ก ใช้ ใ นช่ ว งหน้ า แล้ ง ได้ อี ก ด้ ว ย” พ.ร.บ.เหมืองแร่ฉบับใหม่ สำ�หรับเรื่อง พ.ร.บ.เหมืองแร่ฉบับใหม่ คงเป็น พ.ร.บ.ใหม่ ที่จะอำ�นวยความสะดวกให้กับประชาชนได้มากยิ่งขึ้น ในภาพ ที่ ผู้ ป ระกอบการเหมื อ งแร่ จ ะได้ มี ก ารบริ ห าร กำ�กั บ ดู แ ล กระบวนการผลิตที่จะส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ในหลั ก การใหญ่ ที่ จ ะควบคุ ม ดู แ ลในเทคโนโลยี ที่ เ ปลี่ ย นไป รวมถึงการมีสว่ นร่วมของชุมชน เป็นสาธารณะและจะเป็นธรรม มากยิ่งขึ้น ทุกฝ่าย ในด้านสังคมด้วย อันที่จริงเป็นสิ่งที่ดีที่จะ เป็นเจตนารมณ์ ในส่วนของเป็นศูนย์ประสานหลักเศรษฐกิจ การดูแล การออกใบอนุญาตต่างๆ ให้เป็นไปตามขั้นตอนอย่าง เข้มข้น สำ�หรับเรือ่ งกระบวนการทีจ่ ดั ทำ�ต้องมีการพูดคุยทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ แม้จะล่าช้าไปบ้าง เพราะเรื่อง เหมืองแร่ไม่ใช่เรื่องใหม่สำ�หรับพวกเรา ส่วนประเด็นเรือ่ งทีต่ ดิ ขัดใน พ.ร.บ.เหมืองแร่ฉบับใหม่นนั้ ก็ มีเ รื่อ งที่ต้อ งปรั บ รายละเอี ย ดบางจุ ด ที่ยัง เข้ า ใจไม่ ต รงกั น ในชั้ น กรรมาธิ ก ารหลายๆ ฝ่ า ย ที่ ต้ อ งยอมรั บ สภาพของ ประชาชน ภาพของในส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในส่วนอืน่ ๆ ทีม่ อง เหมืองแร่นน้ั บางคนก็มองว่าถ้ามันง่ายและเอือ้ ต่อผูป้ ระกอบการ ก็จะเป็น ผลดี ถ้ามีการพัฒนา ส่วนอีกด้านก็จะมองในเชิงเรื่อง การอนุรกั ษ์ เก็บไว้ดไี หม มองถึงเรือ่ งผลกระทบอย่างไร เป็นต้น “สำ�หรับ พ.ร.บ.เหมืองแร่ฉบับใหม่น้นั ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อยากให้ออกมาแล้วทุกฝ่ายยอมรับ ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบ พูดคุย ดูสว่ นย่อยๆ ในทุกมาตราทีเ่ ขียนเอาไว้ ทราบว่าเบือ้ งต้น ทางท่านอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้ เข้าไปชีแ้ จงรายละเอียดต่างๆ หลายรอบในชัน้ กรรมาธิการ เพือ่ หาแนวทางทีใ่ ห้เกิดประโยชน์รว่ มกันกับทุกฝ่าย ภาพของแร่ตอ้ ง
ปรับปรุง ความสำ�คัญของแร่ไม่ต้องอธิบายอะไรมากว่าเขามี อะไรเป็นส่วนประกอบบ้าง แต่ตอนนี้ภาพที่ภาครัฐอยากจะให้ ผูป้ ระกอบการเหมืองแร่และชาวบ้านชุมชนมีความชัดเจนในเรือ่ ง ความไว้เนือ้ เชือ่ ใจกันมากกว่า ส่วนตัวมองว่าถ้ามี พ.ร.บ.เหมืองแร่ ฉบับใหม่นอ้ี อกมาใช้กเ็ พือ่ ให้ดแู ล กำ�กับและอนุญาต สะดวกสบาย ลดขั้นตอน ทำ�ให้การออกใบรับรองทำ�เหมืองให้ผู้ประกอบการ มีความรวดเร็วยิ่งขึ้น และมีการเข้มงวดในเรื่องการฟื้นฟูเหมือง ภายหลังการจัดการเหมืองแล้วเสร็จก็จะดียิ่งขึ้น” การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าใจเรื่อง Green Mining ในส่ ว นของการส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ป ระกอบการเข้ า ใจเรื่ อ ง Green Mining นัน้ ทางกระทรวงอุตสาหกรรมตระหนักในเรือ่ งนี้ และให้ความสำ�คัญมาโดยตลอด ไม่ใช่แค่เรื่องผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมเท่านั้น ในเรื่องของการบริหารการจัดการที่ไม่มี ของเสีย ประหยัดที่สุด อะไรก็แล้วแต่ที่ต้องเป็นลีนและกรีน ให้ได้ คือถ้าไม่เป็นลีน ก็จะไม่สามารถเป็นกรีนได้ นอกจากนี้ กระบวนการผลิ ต ข้ า งในเหมื อ งแต่ ล ะที่ ดู เ รื่ อ งการประหยั ด ทรัพยากรแร่ทข่ี ดุ ขึน้ มาใช้ตอ้ งไม่ทำ�ลายพืน้ ทีภ่ ายในเหมืองแร่นน้ั ๆ ในขณะเดียวกันก็จะต้องกระทบกับข้างนอกน้อยลง การบริหาร จั ด การก็ ต้ อ งมี ค วามเข้ ม ข้ น ขึ้ น ตามลำ�ดั บ ในขณะเดี ยวกั น การออกแบบ การลดผลกระทบทีจ่ ะออกสูภ่ ายนอกก็ตอ้ งมีการ จัดการ เป็นสิ่งที่วงการเหมืองแร่ควรจะมีเพื่อลดต้นทุน ไม่ใช่ หมายถึงการปลูกต้นไม้เท่านั้น แต่เป็นการจัดการเรื่องกรีน ให้เกิดผล ภาพการผลิตทีส่ ดุ ยอด มีของเสียน้อย ใช้พลังงานน้อย ใช้ทรัพยากรน้อย จะเป็นสิ่งที่ดีมาก ในการดูแลทรัพยากรที่ต่ำ� ดูแลเรื่องผลกระทบต่อสังคมให้ลดต่ำ�ลงด้วยจะเป็นเรื่องที่ดี และจำ�เป็นมาก ช่วงเวลานี้ผู้ทำ�เหมืองทุกคนทราบดีว่าถ้าการ ทำ�เหมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมก็จะได้รับการยอมรับ จากสังคมมากกว่าในอดีต ถือว่าวันนี้ดีกว่าเดิมมาก น้อยมาก ทีใ่ นปัจจุบนั จะทำ�เหมืองไม่มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน อาจจะมีบ้างที่มาจากกระบวนการอื่นที่ไม่ใช่ Green Mining “ถ้าพืน้ ทีไ่ หนไม่มเี หมืองแร่ เราก็เลือกหาวิถชี มุ ชนอนุรกั ษ์ ให้เกิดประโยชน์ ให้ชาวบ้านเขามีวถิ ชี มุ ชนของเขาในการขับเคลือ่ น ชุมชนของตนเอง ก็ยงั มีอยูท่ ม่ี ปี ญ ั หากัน ต้องปรับการทำ�งานไปตาม แต่ละพืน้ ที่ เป็นกรณีไป ส่วนใหญ่เหมืองทีอ่ ยูก่ บั ชุมชนแล้วไม่มี ปัญหาก็มีมาก ก็ต้องทำ�ความเข้าใจกัน หรือถ้าเข้าใจกันแล้ว ก็ควรปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและกติกา เช่น จะระเบิดการทำ�เหมือง
ก็บอกชาวบ้านก่อน ให้เขาเข้าใจในการทำ�งาน ตัวที่มีปัญหา ก็จะมีในกลุ่มเดิมๆ ที่มีอยู่แล้วในทุกพื้นที่ อย่าว่าแต่เหมืองแร่ เลย ขนาดโรงฟ้า แม้ชาวบ้านรู้ว่ามีประโยชน์ก็ยังโดนคัดค้าน ไม่ให้กอ่ สร้าง ไม่อยากให้ตงั้ แต่ยงั อยากใช้ไฟ มันเป็นเรือ่ งทีเ่ รา ต้องทำ�งานหนักและเหนือ่ ยหน่อยสำ�หรับเหมืองแร่ เพราะเรามี ต้นทุนภาพลักษณ์ที่ค่อนข้างติดลบ ภาพติดลบอยู่มาก และ โรงงานบางประเภทก็คล้ายๆ กัน” ควรทำ�ความมั่ น คงด้ า นการพั ฒ นาประเทศมากกว่ า ตอนนี้ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ ว างแผนในการทำ�ให้ ถ นน ทำ�โครงสร้างระบบคมนาคม มีการสัญจร ขนส่งทีด่ ขี นึ้ แต่เรายัง มองเหมืองไม่ดี คือเรากำ�ลังถึงจุดหนึง่ คือกระบวนการทีท่ ำ�แล้ว มีผลกระทบ จากการทำ�เหมืองของบุคคลหรือการทำ�เหมืองของ ผู้ประกอบการที่ไม่ดีมาค้าน แต่ขณะที่ประเทศต้องการสิ่งที่ เป็นประโยชน์ ทีเ่ ป็นวัตถุดบิ ทีน่ ำ�มาพัฒนาประเทศ ตัวนัน้ มันเป็น หัวใจสำ�คัญมากกว่า ตรงนี้ในส่วนของกระทรวงอุตสาหกรรม และ กพร. ต้ อ งมองถึ ง กระบวนการในการพั ฒนาประเทศ ที่สอดคล้องกั บ แหล่ ง ทรั พ ยากรทางด้ า นแร่ ใ นพื้ น ที่ นั้ น ด้ ว ย เพราะไม่มีทางที่จะสร้างทางในพื้นที่นั้นๆ แล้วต้องขนหินจาก พืน้ ทีอ่ นื่ เข้ามาใช้งานในระยะทางกว่า 200-300 กิโลเมตร เกิน 200 กิโลเมตร ก็หมดแล้ว ซึ่งมันต้องวางแผนที่เป็นคู่ขนานกัน ในการจัดการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเรือ่ งสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน โดยเฉพาะเรื่องแร่ ทรัพยากรธรรมชาติ “เชื่อว่าถ้าผู้ประกอบการ ชาวบ้านและผู้ที่เกี่ยวข้องเรื่อง อุตสาหกรรมเหมืองแร่ทกุ คนทำ�ตามกฎหมายในการจัดการทำ�งาน ด้านเหมืองแร่ ให้ทุกพื้นที่ทำ�เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ก็จะ ทำ�ให้การร้องเรียนระหว่างกันลดลง ที่สำ�คัญจะช่วยให้ลดการ สัง่ ซือ้ แร่ทใี่ ช้ในทางเศรษฐกิจเพือ่ นำ�มาผลิตเป็นวัตถุดบิ ต่อยอด ต่อเนือ่ งจากแร่ เช่น ทำ�ปูนซีเมนต์ ผลิตแก้ว ก็จะมีราคาทีถ่ กู ลง”
January-February 2017
21
อนาคตของเหมืองแร่ไทย ในภาพใหม่ของอุตสาหกรรมเหมืองแร่ไทยนัน้ ต้องไม่มอง ในฐานะแร่ แต่มองในฐานะวัตถุดิบที่จะนำ�มาใช้ในการพัฒนา ประเทศ แร่ไม่ได้อยูโ่ ดดเดีย่ วเพียงลำ�พัง แต่จะอยูร่ วมกับทรัพยากร ทางธรรมชาติอนื่ ในประเทศ เช่น แหล่งแร่จะอยูร่ วมกับพืน้ ทีป่ า่ มั น จะมี ต้ น ทุ น โอกาสของการพั ฒนาแร่ ที่ ม าก แร่ อ ยู่ ใ ต้ ดิ น บนดิ น มี ค วามสมบู ร ณ์ ข องพื้ น ที่ เหนื อ ขึ้ น มาจะเป็ น พื้ น ดิ น จะเป็นป่าไม้ ซึ่งต้องดูพิกัดว่าพื้นที่ที่แร่อยู่นั้นมีต้นทุน มีราคา ค่ า งวดมากน้ อ ยเพี ย งใด ซึ่ ง แต่ ล ะพื้ น ที่ มี ต้ น ทุ น ไม่ เ ท่ า กั น รอบๆ นั้ น คื อ สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง สั ต ว์ สิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด เพราะฉะนั้ น ทุ ก อย่ า งเป็ น ทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ทั้ ง หมด ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ฎหมายเข้ า มาดู แ ลในพื้ น ที่ นั้ น ตามหน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้อง อะไรที่ควรจะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ บางแห่ง จำ�เป็ น ที่ จ ะต้ อ งเก็ บ เอาไว้ เพื่ อ ที่ จ ะเป็ น สถานที่ ที่ เ ป็ น ปอด ให้ชุมชน ให้ชาวบ้าน หรือจะเป็นแหล่งที่เป็นอุทยาน หรือเป็น
อะไรที่จะทำ�ประโยชน์ต่อไป หรือจะเป็นแหล่งแร่ที่ต้องยอม เสียสละต้นไม้ พื้นดิน ก็ต้องมีการจัดการ และจำ�เป็นที่คนที่ เกีย่ วข้องทัง้ หมดต้องมานัง่ พูดคุยกันในเรือ่ งการทำ�งาน ว่าหน่วยงาน ไหนบ้างที่จะต้องดำ�เนินการ ใช้นโยบาย ใช้กฎหมายตัวไหน มาบังคับใช้ เพื่อให้การดำ�เนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพือ่ ลดความสับสน ลดการซ้ำ�ซ้อนของการทำ�งาน มองประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชนนั้ น ๆ มองประโยชน์ ข องอะไรที่ สำ�คั ญ ต้ อ งมี ก าร จัดลำ�ดับการทำ�งาน และต้องมีใครสักคนหนึง่ เป็นคณะกรรมการ ร่วมที่จะเข้ามาดูแลให้การทำ�งานราบรื่น ทำ�การปรับเปลี่ยน การค้า ทำ�ให้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำ�กัดมีการปรับเปลี่ยนไป ในทิ ศ ทางที่ ต ามหลั ก เศรษฐศาสตร์ คื อ ใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู่ อย่างจำ�กัดนีใ้ ห้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ทกุ คน คือเกิดการจัดการ ทีท่ กุ คนมีสว่ นร่วม มองทุกมุม ไม่ใช่มองเพียงสิง่ ทีต่ นเองกำ�กับดูแล “ส่ ว นตั ว เชื่ อว่ า การมี ค ณะกรรมการกำ � กั บ แร่ จะช่ ว ย แก้ปัญหาเรื่องการจัดการทรัพยากรได้ดีมากขึ้น การตัดสิน ในเชิงนโยบายก็จะดีที่สุด ในการจัดการ จะเห็นได้วา่ ต้องมานัง่ พูดคุยกัน ไม่ใช่เรื่องความกังวลใจเรื่องแร่ แต่มีการกังวลในเรื่อง น้ำ � ที่ อ าจจะมีการปนเปื้อนเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะไม่ใช่การ ทำ�เหมืองแร่เท่านัน้ ที่ใช้น�้ำ แต่สว่ นรอบๆ ของบริบทพืน้ ที่ ไม่ว่า จะเป็นการทำ�นาข้าวของชาวบ้าน ทีใ่ ช้ยาฆ่าแมลงหรือใช้สารเคมี ล้วนแล้วแต่กอ่ ให้เกิดมลพิษ ทำ�ลายทรัพยากรแร่ดว้ ยกันทัง้ สิน้ ”
รายงาน l
สภาการเหมืองแร่
สภาการเหมืองแร่ เยี่ยมชมกิจการทำ�เหมืองและโรงไฟฟ้า
ของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด
ณ เมืองหงสา แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
22
January-February 2017
เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 ทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่สภาการเหมืองแร่ รวม 20 คน ได้เข้าเยี่ยมชม กิจการทำ�เหมืองและโรงไฟฟ้าของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด ณ เมืองหงสา แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยได้ รั บ การต้ อ นรั บจากผู้ บ ริ ห ารและคณะเจ้ า หน้ า ที่ ข อง บริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด อย่างดียิ่ง จุดเริ่มต้นของกิจการทำ�เหมืองและโรงไฟฟ้า ของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด สำ�หรั บจุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการกิ จ การทำ�เหมื อ งและ โรงไฟฟ้าของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด ณ เมืองหงสา แขวง ไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนั้น เริ่มจาก การสำ�รวจแหล่งถ่านหินในบริเวณเมืองหงสา เมือ่ พ.ศ. 2535 พบว่าบริเวณเมืองหงสา แขวงไชยะบุรี เป็นแหล่งถ่านหินลิกไนต์ ขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพเพียงพอเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ดังนัน้ ในเดือนพฤศจิกายน 2552 รัฐบาล สปป.ลาว จึงได้อนุมตั ิ สัมปทานโครงการโรงไฟฟ้าใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงให้แก่บริษัท ไฟฟ้ า หงสา จำ�กั ด ซึ่ ง เป็ น การร่ ว มทุ น ระหว่ า งรั ฐ วิ ส าหกิ จ ถือหุ้นลาว ในสัดส่วน 20 เปอร์เซ็นต์ บริษัท บ้านปูเพาเวอร์ จำ�กัด ในสัดส่วน 40 เปอร์เซ็นต์ และบริษทั ราชบุรโี ฮล์ดง้ิ จำ�กัด (มหาชน) ในสัดส่วน 40 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่โครงการรวม 76 ตารางกิโลเมตร เงินลงทุนทั้งโครงการรวม 3,710 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ อายุสมั ปทาน 25 ปี เพือ่ ผลิตไฟฟ้ารวม 1,878 เมกะวัตต์ จำ�หน่ายให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และรัฐวิสาหกิจ ไฟฟ้าลาว เป็นระยะเวลา 25 ปี เริม่ การก่อสร้างใน พ.ศ. 2553 ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2554 มี ธนาคารรวม 61 แห่ง ให้การสนับสนุนเงินกู้แก่โครงการ โดย บริษทั ไฟฟ้าหงสา จำ�กัด จะต้องดำ�เนินการทีส่ ำ�คัญเป็นไปตาม สัญญา ดังนี้
1. ก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดกำ�ลังการผลิต 626 เมกะวัตต์ รวม 3 หน่วย กำ�ลังการผลิตรวม 1,878 เมกะวัตต์ โดยใช้ ถ่านหินลิกไนต์ในพื้นที่โครงการเป็นเชื้อเพลิง เพื่อจำ�หน่าย กระแสไฟฟ้าไปให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจำ�นวน 1,473 เมกะวัตต์ และรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว 100 เมกะวัตต์ ตลอดอายุโครงการ 25 ปี พร้อมติดตัง้ สายส่งขนาด 500 กิโลโวลต์ ไปยังประเทศไทย บริเวณชายแดนจังหวัดน่าน และติดตัง้ สายส่ง ขนาด 115 กิโลโวลต์ จ่ายไฟฟ้าไปยังจังหวัดหลวงพระบาง โดยกำ�หนดการจ่ายไฟเชิงพาณิชย์หน่วยที่ 1 ในวันที่ 2 มิถนุ ายน 2558 หน่วยที่ 2 ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2558 และหน่วยที่ 3 ในวันที่ 2 มีนาคม 2559 เนื่องจากโรงไฟฟ้าหงสาแห่งนี้ ได้รับการคาดหวังให้เป็น โรงไฟฟ้าพลังความร้อนจากเชื้อเพลิงถ่านหินที่เป็นมิตรต่อ
พร้อมทีด่ นิ ทำ�กิน12.5 ไร่ ทีม่ ถี นนเข้าถึง พร้อมประปา ชลประทาน น้ำ�ดืม่ ในพืน้ ที่ โดยได้ดำ�เนินการย้ายเสร็จเรียบร้อยเมือ่ กรกฎาคม 2555 คือชุมชนบ้านนาแก่นคำ� ซึ่งตามเงื่อนไขกำ�หนดให้ว่า ภายใน 3 ปีแรกหลังการโยกย้าย บริษทั จะจัดอาหารให้ทกุ ครอบครัว และแต่ละครอบครัวต้องพ้นขีดความยากจน และภายใน 10 ปี จะต้องมีรายได้มากกว่าเดิม 150 เปอร์เซ็นต์ของรายได้เฉลี่ย ก่อนการโยกย้าย รายได้ประชาชนต้องพ้นขีดความยากจนใน พ.ศ. 2563 7. ระบบสาธารณูปโภคทั้งหมด รวมถึงถนนสายหลัก ความยาวรวม 31.7 กิโลเมตร จากเมืองหงสาไปยังชายแดนไทย ติดอำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน งานป้องกันดูแลสภาพแวดล้อม
23
ตามที่ได้มีการออกแบบและมีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อ ป้องกัน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งจากการดำ�เนินงานของ โรงไฟฟ้าและการทำ�เหมือง โดยเป็นการดำ�เนินการตัง้ แต่เริม่ ต้น โครงการตลอดต่อเนื่องของโครงการ 25 ปี และได้มีการตั้ง งบประมาณรองรับการทำ�งานไว้เรียบร้อย ดูแลด้านคุณภาพอากาศ และคุณภาพน้ำ�ที่จะมีการระบายออกจากโครงการ และการ บริหารจัดการเปลือกดินทีข่ ดุ ออก ขีเ้ ถ้าหนัก ขีเ้ ถ้าเบา และยิปซัม เทียมที่เกิดขึ้น ทั้งการขนย้ายและการกองเก็บ ก็ได้คำ�นึงถึง ผลกระทบต่างๆ ทีจ่ ะมีในอนาคต มีการปลูกต้นไม้เพือ่ ประโยชน์ ทัง้ ด้านการเป็นแนวป้องกันฝุน่ การลดคาร์บอนไดออกไซด์ และ เพื่อทัศนียภาพที่ดี ส่วนน้ำ�ในบริเวณพื้นที่โครงการ จะมีการจัดการโดยหาก เป็นน้ำ�ธรรมชาติจะมีการกันออกไม่ให้ไหลเข้ามาในพืน้ ทีท่ ำ�เหมือง แต่จะให้เบี่ยงไหลลงคลองขุดและส่งออกนอกพื้นที่โครงการ ทำ�เหมือง ส่วนน้ำ�ในบ่อเหมือง เนื่องจากแหล่งถ่านลิกไนต์นี้มี ปริมาณกำ�มะถันและสารโลหะหนักค่อนข้างต่ำ� (กำ�หนดให้มี การตรวจสอบคุณภาพน้ำ�ตลอดเวลา) มีเพียงสารแขวนลอย จำ�พวกอนุภาคดิน ก็จะใช้วธิ ปี ล่อยให้ตกตะกอนในบ่อตกตะกอน โดยมีการตรวจวัดความขุน่ ข้นและคุณภาพน้ำ�ให้ได้ตามข้อกำ�หนด ก่อนปล่อยออกจากพืน้ ทีโ่ ครงการ ส่วนน้ำ�ทีใ่ ช้ทโ่ี รงไฟฟ้าก็มกี าร บำ�บัดที่ดีก่อนปล่อยออกเช่นกัน สำ�หรับขี้เถ้าที่เกิดขึ้น หากเป็นขี้เถ้าหนักก็จะนำ�ไปถมยัง พืน้ ทีท่ จ่ี ดั เตรียมไว้ ไม่ให้มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และจะปรับ สภาพพื้นที่ให้ใช้ประโยชน์ต่อไป ส่วนขี้เถ้าเบาซึ่งสามารถนำ�ไป ผสมซีเมนต์นั้น เป็นสมบัติของรัฐบาล สปป.ลาว ตามสัญญา โดยรัฐบาลจะจัดให้มีบริษัทเอกชนมาดำ�เนินการจัดส่งจำ�หน่าย ให้ผู้ใช้ สำ�หรับยิปซัมเทียมซึ่งเกิดในกระบวนการดักจับก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทโ่ี รงไฟฟ้าก็เป็นสมบัตขิ องรัฐบาล สปป.ลาว ซึง่ ได้มกี ารจัดตัง้ บริษทั ลาวโฮล์ดง้ิ จำ�กัด เพือ่ ดำ�เนินการจัดการ จำ�หน่าย แต่ในปัจจุบันยังไม่สามารถจำ�หน่ายได้ จึงเป็นหน้าที่ ของบริษัทฯ ที่ต้องนำ�ไปทิ้งฝังกลบในพื้นที่ที่กำ�หนด
January-February 2017
สิ่งแวดล้อม จึงได้มีการนำ�เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีมาตรฐานที่ดี มาใช้ในการควบคุมและตรวจสอบ เพือ่ เป็นการป้องกันไม่ให้เกิด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเกินระดับมาตรฐานสากล ได้แก่ ระบบ อุปกรณ์ดกั จับฝุน่ ด้วยระบบไฟฟ้าสถิต (ESP) ซึง่ มีประสิทธิภาพ สูงถึง 99.83 เปอร์เซ็นต์ และระบบอุปกรณ์ดักจับก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (FGD) ขนาด 360 ตันต่อหน่วยผลิตทีป่ ระสิทธิภาพ 92 เปอร์เซ็นต์ รวมถึงติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพน้ำ�และ อากาศโดยรอบพื้นที่โครงการ และทำ�การตรวจสอบอากาศที่ จังหวัดน่านด้วย 2. เหมืองถ่านหินลิกไนต์ กำ�ลังการผลิตเฉลีย่ 14.3 ล้านตัน ต่อปี ถ่านหินในบริเวณพืน้ ทีโ่ ครงการจะเป็นลิกไนต์คา่ ความร้อน เฉลี่ย 2,492 แคลอรี่ต่อกรัม ความชื้นเฉลี่ย 30 เปอร์เซ็นต์ ขี้เถ้าเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์ และกำ�มะถันเฉลี่ย 0.7 เปอร์เซ็นต์ ชัน้ ถ่านลิกไนต์ความยาวประมาณ 4 กิโลเมตร และกว้างประมาณ 3 กิโลเมตร มีปริมาณสำ�รองประมาณ 577.4 ล้านตัน (Geo Resource) โดยจะต้องผลิตถ่านลิกไนต์รวม 370.8 ล้านตัน เพือ่ ใช้ตลอดอายุโครงการ 25 ปี ซึง่ จะต้องขุดเปลือกดินและดิน ในระหว่างชัน้ ถ่านออกจำ�นวนประมาณ 1,250 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนดิน : ถ่าน = 3.4 ลูกบาศก์เมตร แน่น : 1 ตัน พบชั้นถ่านลิกไนต์ที่ขอบบ่อเหมืองที่ระดับ 5-10 เมตรจากผิวดิน และจุดลึกสุดของชั้นถ่านที่ระดับ 350 เมตร จากผิวดินบริเวณกลางบ่อเหมือง ซึ่งชั้นถ่านหนาต่อเนื่องรวม 100 เมตร โดยมีชั้นดินปิดทับหนารวม 250 เมตร 3. เหมืองหินปูน เพื่อผลิตหินปูนใช้ในขบวนการกำ�จัด ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่โรงไฟฟ้าเป็นหลัก ตั้งอยู่ที่เมืองเงิน พื้นที่ประมาณ 10.5 ตารางกิโลเมตร โดยต้องผลิตหินปูนรวม 12 ล้านตัน ตลอดอายุโครงการ 25 ปี 4. เขือ่ นเก็บน้ำ� 2 เขือ่ น คือเขือ่ นน้ำ�แก่นและเขือ่ นน้ำ�เงือบ เพือ่ ใช้ในกระบวนการหล่อเย็นทีโ่ รงไฟฟ้า น้ำ�ใช้เพือ่ เกษตรกรรม ชลประทานและงานประปาของชุมชนในบริเวณรอบโครงการ รวมถึงงานขุดคลองส่งน้ำ�ความยาวรวม 9 กิโลเมตร ลึก 5.50 เมตร ท้องคลองกว้างสูงสุด 25 เมตร เพือ่ รองรับน้ำ�ฝนธรรมชาติ ที่ไม่ปนเปื้อนจากการทำ�เหมือง 5. ก่อสร้างคันดินขนาดความสูง 25 เมตร กว้าง 80 เมตร ยาว 7 กิโลเมตร เพื่อกั้นระหว่างพื้นที่โรงไฟฟ้ากับพื้นที่การ ทำ�เหมือง กับหมู่บ้านทาน ซึ่งอยู่ใกล้โครงการ ระยะห่างจาก โครงการ 1 กิโลเมตร โดยมีการปลูกต้นไม้ในพื้นที่ว่างของ คันดินทั้งหมด เพื่อป้องกันปัญหาฝุ่นและเพื่อทัศนียภาพที่ดี 6. อพยพโยกย้ายประชาชนจำ�นวน 450 ครอบครัวที่อยู่ ในบริเวณพืน้ ทีโ่ ครงการไปยังหมูบ่ า้ นจัดสรรทีโ่ ครงการก่อสร้างให้ เพื่อที่จะพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ในเส้นทางเมืองหงสาไชยะบุรี โดยได้ทำ�ความเข้าใจเรือ่ งความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องทำ�การ โยกย้าย และแต่ละครอบครัวได้รับเงินชดเชย พร้อมได้บ้าน หลังใหม่ (ในแบบทีโ่ ครงการจัดสร้างและพิจารณาให้ตามสภาพ บ้านเดิมของแต่ละครอบครัวนั้นๆ) บนที่ดิน 450 ตารางเมตร
เหมืองแร่สีเขียว l
กองบรรณาธิการ
รางวัล
เหมืองแร่สีเขียว
ประจ�ำปี 2559
ตามทีก่ รมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ประกาศนโยบาย “เหมืองแร่สเี ขียว” (Green Mining Policy) เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552 โดยเน้น การทำ�งานเชิงรุก เพือ่ มุง่ สูค่ วามเป็นเลิศทัง้ ในด้านการให้บริการแก่ผปู้ ระกอบการ พร้อมกับการสนับสนุนและผลักดันให้สถานประกอบการดำ�เนินธุรกิจอย่างเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ด้วยการเปิดโอกาสให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมมากที่สุด และ จัดให้มีการประกวดเพื่อรับรางวัลเหมืองแร่สีเขียว (Green Mining Award) นั้น กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) พร้อมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ดำ�เนินการพิจารณาคัดเลือกสถานประกอบการที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ เหมืองแร่สีเขียวและรักษามาตรฐานเหมืองแร่สีเขียว ประจำ�ปี 2559 มีดังนี้
24
January-February 2017
รางวัลเหมืองแร่สีเขียว ประจำ�ปี 2559 สถานประกอบการประเภทเหมืองแร่ มีจ�ำ นวน 32 ราย 1. บริษัท ตรัง ยู ซี จำ�กัด 2. บริษัท มรรคาสาธิต จำ�กัด รับช่วงจาก บริษัท ศิลาสากลอุบลราชธานี จำ�กัด 3. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด แพร่วิศวกรรม 4. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด โรงโม่หินชัยประภารุ่งเรือง 5. บริษัท มินเนอรัลรีซอร์สเซส ดิเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด 6. บริษัท ศิลาชัยสุราษฎร์ จำ�กัด 7. บริษัท สหกิจภักดี จำ�กัด 8. บริษัท สหชาติเศรษฐกิจ จำ�กัด 9. บริษัท สยามสโตน แอ็กกริแกรท จำ�กัด (จังหวัดชลบุรี) รับช่วงจาก บริษัท รวมทรัพย์สิน จำ�กัด 10. บริษัท ถาวรภูรีวิศวโยธา จำ�กัด รับช่วงจาก ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ถาวรวิศวโยธา 11. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด เทพศิลาอุตสาหกรรม 12. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด หินบุรีรัมย์ 13. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด นางรองศิลาทอง 14. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด พลัดแอกอุตสาหกรรม 15. บริษัท ศิลาภูลาน จำ�กัด รับช่วงจาก บริษัท หินอ่อน จำ�กัด 16. บริษัท ปูนซีเมนต์ตราลูกโลก จำ�กัด
17. บริษัท เทพประทานการแร่ จำ�กัด 18. นายณรงค์ จำ�ปาศักดิ์ ประเภทโรงงานโม่ บด หรือย่อยหิน 19. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด แพร่วิศวกรรม 20. บริษัท สยามสโตน แอ็กกริเกรท จำ�กัด (จังหวัดเชียงใหม่) 21. บริษัท สยามสโตน แอ็กกริเกรท จำ�กัด (จังหวัดชลบุรี) 22. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุราษฎร์ผาทอง (บ้านทำ�เนียบ) 23. บริษัท สหกิจภักดี จำ�กัด 24. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด เทพศิลาอุตสาหกรรม 25. บริษัท เทพศิลา แอกรีเกรท ซัพพลาย จำ�กัด 26. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด หินบุรีรัมย์ 27. บริษัท พรพิศศิลา จำ�กัด 28. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�กัด 29. บริษัท โรงโม่หินศิลามิตรเจริญ (อู่ทอง) จำ�กัด ประเภทโรงแต่งแร่ 30. บริษัท มินเนอรัลรีซอร์สเซส ดิเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด 31. บริษัท สยามมิเนอร์รัล เซอร์วิส จำ�กัด 32. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�กัด
สถานประกอบการ รางวัลรักษามาตรฐานเหมืองแร่สีเขียว จำ�นวน 70 รางวัล ประเภทโรงงานโม่ บด หรือย่อยหิน 38. บริษัท ศิลาอารี จำ�กัด 39. บริษัท นครรัตนศิลา จำ�กัด 40. บริษัท ตรัง ยู ซี จำ�กัด 41. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด แพร่ธำ�รงวิทย์ 42. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด หาญกิตติชัย 43. บริษัท สโตนวัน จำ�กัด (มหาชน) 44. บริษัท ทัศนชลบุรี จำ�กัด 45. บริษัท หินเพชร จำ�กัด 46. บริษัท สุรินทร์ศิลาทรัพย์ จำ�กัด 47. บริษัท ขุมเงินขุมทอง จำ�กัด 48. บริษัท สหศิลาเลย จำ�กัด 49. บริษัท ศิลาภูพระลาน จำ�กัด 50. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ผลิตภัณฑ์ศิลาบุรี 51. บริษัท ศิลาสานนท์ จำ�กัด 52. บริษัท เหมืองหินศิริพัฒนาหน้าพระลาน จำ�กัด 53. บริษัท ศิลาสมบูรณ์ทรัพย์ จำ�กัด 54. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ศิลาเขาน้อย 55. บริษัท ราชบุรีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด 56. บริษัท ศรีปฐมอุตสาหกรรม จำ�กัด 57. บริษัท ปฐมศิลาสหมิตร จำ�กัด รับช่วงจาก ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ปฐมวัฒนโลหะกิจ 58. บริษัท ศุภศิลาชัย จำ�กัด 59. บริษัท ทุ่งนุ้ยศิลาทอง จำ�กัด 60. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด วังศิลา ประเภทโรงแต่งแร่ 61. บริษัท เคมีแมน จำ�กัด 62. บริษัท สินแร่สาคร จำ�กัด 63. บริษัท ธรรมชาติทรายแก้ว จำ�กัด 64. บริษัท พิพัฒน์กร จำ�กัด 65. บริษัท สินหลวง จำ�กัด 66. บริษัท ศิลาชัยสุราษฎร์ จำ�กัด 67. บริษัท เอ็ม.อาร์.ดี.อี.ซี.ซี. จำ�กัด 68. บริษทั ซิเบลโก้ มิเนอร์รลั จำ�กัด (มหาชน) (สาขาสบปราบ) 69. บริษัท หินแสงวัฒนาฤกษ์ (กำ�แพงเพชร) จำ�กัด
25
ประเภทโรงประกอบโลหกรรม 70. บริษัท จี เจ สตีล จำ�กัด (มหาชน)
January-February 2017
ประเภทเหมืองแร่ 1. บริษัท ศิลา อารี จำ�กัด 2. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ชุติวรรณ 3. บริษัท สยามสโตน แอ็กกริเกรท จำ�กัด (จังหวัดเชียงใหม่) รับช่วงจาก บริษัท หยุ่นศิลา จังหวัดเชียงใหม่ จำ�กัด และบริษัท หยุ่นศิลา อีสาน จำ�กัด 4. ห้างหุ้นจำ�กัด แพร่ธำ�รงวิทย์ 5. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด หาญกิตติชัย 6. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เหมืองแร่ถ่านหิน 7. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เหมืองแร่หินปูน 8. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ลำ�ปาง) จำ�กัด 9. บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จำ�กัด (เหมืองแม่ทาน) 10. บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จำ�กัด (เหมืองยิปซั่ม) 11. บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จำ�กัด (เหมืองแร่ไพโรฟิลไรต์) 12. บริษัท สโตนวัน จำ�กัด (มหาชน) 13. บริษัท ทัศนาชลบุรี จำ�กัด 14. บริษัท หินเพชร จำ�กัด 15. บริษัท สิรินนิธิ จำ�กัด 16. บริษัท เกลือพิมาย จำ�กัด 17. บริษัท ทรูสโตน จำ�กัด 18. บริษัท ปูนซีเมนต์เอเชีย จำ�กัด (มหาชน) 19. ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ผลิตภัณฑ์ศิลาศรีบุรี 20. บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำ�กัด (มหาชน) 21. บริษัท ศิลาสานนท์ จำ�กัด 22. บริษัท เคมีแมน จำ�กัด 23. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�กัด 24. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�กัด 25. บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จำ�กัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุร)ี 26. บริษัท เหมืองศิลาสยาม จำ�กัด 27. บริษัท ศิลาเขาน้อย จำ�กัด 28. บริษัท ราชบุรีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด 29. บริษัท ศรีปฐมอุตสาหกรรม จำ�กัด 30. บริษัท ปฐมศิลาสหมิตร จำ�กัด รับช่วงจาก ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ปฐมวัฒนะโลหะกิจ 31. บริษัท ศุภศิลาชัย จำ�กัด 32. บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำ�กัด 33. บริษัท พิพัฒน์กร จำ�กัด 34. บริษัท สหศิลาเลย จำ�กัด 35. บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 36. นายลำ�พูน กองศาสนะ 37. นายนิธิรักษ์ สังฆรักษ์ ร่วมแผนโครงการ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด วังศิลา
รายงาน l
กองบรรณาธิการ
DRONE อากาศยานไร้คนขับ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทำ�เหมืองแร่ ขจัดปัญหาการเข้าถึงพื้นที่ที่เข้าถึงยาก
คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน
26
January-February 2017
อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม นำ�เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ ในงานตรวจสอบและกำ�กับดูแลเหมืองแร่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การทำ�งานและลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงานบริเวณ พื้นที่อันตราย เช่น บริเวณหน้าผาสูงชัน ในบ่อเหมืองที่มี การทำ�งานของเครื่องจักรขนาดใหญ่ อีกทั้งช่วยลดต้นทุน การใช้ทรัพยากรต่างๆ ในการตรวจสอบและกำ�กับดูแล เหมืองแร่ ทั้งนี้ อากาศยานไร้คนขับสามารถทำ�การรังวัด ภาคสนาม และประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ โดยภาพถ่ายทางอากาศที่ได้จะถูกนำ�มาคำ�นวณความสูง และพิ กั ด ของพื้ น ที่ เ พื่ อ นำ�ไปใช้ ใ นการสร้ า งแผนที่ แบบจำ�ลองภูมปิ ระเทศ และการคำ�นวณปริมาตรพืน้ ดินทีถ่ กู ขุดตักจากการทำ�เหมือง อย่างไรก็ดี ข้อมูลที่ได้จากการ ใช้ อ ากาศยานไร้ ค นขั บจะเป็ น ข้ อ มู ล แบบเป็ น ปั จ จุ บั น (Real time) สามารถใช้ประกอบการตัดสินใจและแก้ปญ ั หา ได้ทันต่อสถานการณ์ พร้อมนำ�ร่องใช้ในเหมืองหินปูน เหมืองแร่ยิปซัม เหมืองแร่แคลไซต์ และเหมืองแร่ทองคำ� ซึ่งรวมเป็นพื้นที่ประทานบัตรประมาณ 50 แปลง คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรม พืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กล่าวว่า ปัจจุบนั เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทกับทุกภาคอุตสาหกรรม เช่นเดียวกันกับ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ทต่ี อ้ งอาศัยการใช้เทคโนโลยีในการ กำ�กั บ ดู แ ล เนื่ อ งจากการดำ�เนิ น งานกำ�กั บ ดู แ ลการ ประกอบการเหมื อ งแร่ พ บข้ อ จำ�กั ด ด้ า นงบประมาณ
และบุคลากร ทำ�ให้ไม่สามารถดำ�เนินการตรวจสอบและกำ�กับดูแล การประกอบการเหมืองแร่ได้อย่างทัว่ ถึงและมีประสิทธิภาพอย่างทัน สถานการณ์ ทั้งในแง่ของการควบคุมการทำ�เหมืองให้ถูกต้องตาม เงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ในใบอนุญาต และควบคุมการลักลอบทำ�เหมือง โดยผิดกฎหมาย >> DRONE เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับช่วยงานเหมืองแร่ จากปั ญ หาการกำ�กั บ ดู แ ลการประกอบการเหมื อ งแร่ ที่ มี หลากหลายข้อจำ�กัดของทางภาครัฐนัน้ จึงทำ�ให้ทางกรมอุตสาหกรรม
ตัวอย่างอากาศยานไร้คนขับ
พื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม มีการนำ�เทคโนโลยีการรังวัดสำ�รวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV หรือ DRONE) มาใช้สนับสนุนในการตรวจสอบกำ�กับดูแลกิจการการทำ� เหมืองแร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ขจัด ปัญหาการเข้าถึงพืน้ ทีท่ เ่ี ข้าถึงยาก หรือพืน้ ทีเ่ สีย่ งอันตราย เช่น บริเวณหน้าผาสูงชัน หรือในบ่อเหมืองทีม่ กี ารทำ�งาน ของเครือ่ งจักรขนาดใหญ่ อีกทัง้ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสำ�รวจ เป็นข้อมูลแบบเป็นปัจจุบัน (Real time) สามารถช่วย ในการตัดสินใจหรือแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง ทันท่วงที โดยการปฏิบัติงานสำ�รวจรังวัดด้วยอากาศยาน ไร้ ค นขั บจะประกอบด้ ว ย การรั ง วั ด ภาคสนาม โดยผู้ ปฏิบัติงานจะทำ�การลงพื้นที่เพื่อทำ�การวางเป้าในการ กำ�หนดจุดพิกดั ภาคพืน้ ดิน (Ground control point : GCP) แล้วจึงทำ�การบินเพื่อถ่ายภาพตามแนวบินที่กำ�หนด โดย อากาศยานไร้คนขับจะติดตั้งกล้องเพื่อถ่ายภาพในระยะ ความสูงประมาณ 50-300 เมตร และการประมวลผล ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ ซึ่งภาพถ่ายทางอากาศที่ได้ จะถูกนำ�มาคำ�นวณความสูงและพิกัดของพื้นที่ เพื่อนำ� มาใช้ในการสร้างแผนที่และแบบจำ�ลองภูมิประเทศและ การคำ�นวณปริมาตรพื้นดินที่ถูกขุดตักจากการทำ�เหมือง
จังหวัดพิจติ ร รวมพืน้ ทีป่ ระทานบัตรประมาณ 50 แปลง โดยเชือ่ มัน่ ว่าการนำ�เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับมาช่วยในการตรวจสอบและ กำ�กับดูแลกิจการการทำ�เหมืองแร่ จะช่วยให้ได้ขอ้ มูลทีม่ คี วามรวดเร็ว แม่นยำ� เพือ่ นำ�มาใช้เป็นข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจการกำ�กับ ดูแลด้านต่างๆ เช่น กำ�กับดูแลการประกอบการเหมืองแร่ที่ถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม การใช้เป็นข้อมูลเพื่อการประเมินความถูกต้อง ในการชำ�ระค่าภาคหลวง การตรวจสอบเพื่อเปรียบเทียบพื้นที่สถาน ประกอบการ เพื่อป้องกันการทำ�เหมืองออกนอกเขต และการกำ�กับ ดูแลการออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ การฟืน้ ฟูเหมืองหลังเสร็จสิน้ การทำ�เหมือง ที่สำ�คัญเป็นการลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ในการกำ�กับดูแล ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
27
>> นำ�ร่องใช้อากาศยานไร้คนขับในพื้นที่เหมือง ล่าสุดกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้นำ�ร่องใช้เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ หรือ “โดรน” ดังกล่าวในพื้นที่เหมืองหินปูน จังหวัดสระบุรี เหมื อ งแร่ ยิ ป ซั ม จั ง หวั ด นครสวรรค์ แ ละจั ง หวั ด พิ จิ ต ร เหมืองแร่แคลไซต์ จังหวัดลพบุรี และเหมืองแร่ทองคำ�
ตัวอย่างพื้นที่เหมืองที่จะใช้อากาศยานไร้คนขับ หรือ โดรน เข้าตรวจสอบพื้นที่
January-February 2017
>> ประเภทของนวัตกรรมอากาศยานไร้คนขับ ที่น�ำ มาใช้ สำ�หรับการใช้งานอากาศยานไร้คนขับ หรือ “โดรน” กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) นั้นมี 2 ประเภท ด้วยกัน คือ อากาศยานไร้คนขับแบบปีกตรึง (Fixed wing) และ อากาศยานไร้ ค นขั บ แบบปี ก หมุ น (Multi-rotor UAV) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทมีข้อแตกต่างของ คุณลักษณะในการปฏิบตั งิ าน กล่าวคือ อากาศยานไร้คนขับ แบบปีกตรึ งจะสามารถปฏิบัติง านได้ยาวนานกว่า ซึ่ ง เป็น ผลให้สามารถปฏิบัติงานได้ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า ในแต่ละรอบการบิน ในขณะทีแ่ บบปีกหมุนมีความคล่องตัว ในการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่เป็นแนวดิ่งได้มากกว่า ดังนั้น การใช้งานอากาศยานไร้คนขับแต่ละประเภทต้องคำ�นึงถึง ขนาดพื้นที่และสภาพภูมิประเทศที่ต้องการสำ�รวจรังวัด
สาธิตการใช้อากาศยานไร้คนขับ หรือโดรน ในพื้นที่ทำ�เหมืองแร่
เรื่องเล่าจากชาวเหมือง l
รุ่งศักดิ์ อินทร์สิงห์
เรื่องเล่า
ความอัศจรรย์
28
January-February 2017
ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทำ�อะไรให้เ หมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือทำ�จากรายได้ 200-300 บาท ขึ้นไปเป็น 20,000 บาท 30,000 บาท คนชอบเอา คำ�พู ด ของฉั น เศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปพู ด กั น เลอะเทอะ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งคื อ ทำ�เป็ น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมาย ไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือ เป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทวี กี ค็ วรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจำ�กัดเขาไม่ให้ซอ้ื ทีวดี ู เขาต้องการ ดูเพือ่ ความสนุกสนาน ในหมูบ่ า้ นไกลๆ ทีฉ่ นั ไป เขามีทวี ดี ู แต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มไี ฟฟ้า แต่ถา้ Sufficiency นั้น มีทีวี เขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่ และยังใส่เนกไท เวอร์ซาเช่ อันนี้ก็เกินไป
พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2544 ตรัสขยายความเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพราะหลังจากทีพ่ ระองค์ทรงวางแนว พระราชดำ�ริเมื่อปี พ.ศ. 2539 ที่ผ่านมา ปรากฏว่ามีผู้นำ�ไป ตีความกันผิดๆ จนทำ�ให้ พ ระองค์ ต้ อ งทรงอธิ บ ายความเรื่ อ งปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงอยู่บ่อยครั้ง ถึงวันนี้ผ่านมากว่า 30 ปีแล้ว ที่เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงต่างถูกน้อมนำ�เข้าไปปรับใช้กบั หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ของ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งยังถูกน้อมนำ�ไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานต่างๆ ใน ระดับสากลอีกด้วย เพราะทุกคนประจักษ์ชดั แล้วว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงให้คำ�นิยาม ต่างเกี่ยวข้องกับ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ห่วงที่หนึ่ง ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากจนเกินไป โดยไม่ไปเบียดเบียนตนเอง และผูอ้ นื่ เช่น การผลิตและการบริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ ห่วงทีส่ อง ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกีย่ วกับ ระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล โดย พิจารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนคำ�นึงถึงผลทีค่ าดว่า จะเกิดขึ้นจากการกระทำ�นั้นๆ อย่างรอบคอบ ห่วงที่สาม ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยคำ�นึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคต โดยมีเงือ่ นไขของการตัดสินใจ และดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่พอเพียง 2 ประการ
หนึง่ เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรูเ้ กีย่ วกับวิชาการ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนำ�ความรูเ้ หล่านัน้ มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนเพื่อจะได้ ระมัดระวังในการปฏิบัติ สอง เงือ่ นไขคุณธรรม ทีจ่ ะเป็นตัวสร้างเสริมอันประกอบ ด้วย ความตระหนักในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีความอดทน มีความเพียร เพื่อใช้สติปัญญาในการดำ�เนินชีวิต ถ้าพอเพียงในความต้องการ ความโลภจะน้อยลง ถ้า โลภน้อยลง ความเบียดเบียนผู้อื่นก็น้อยลงด้วย ถ้าในสังคม ไม่ค่อยมีความเบียดเบียนกัน สังคมนั้นจะเป็นสุข....ความ พอเพียงจึงทำ�ให้สังคมสงบสุขได้อย่างน่าอัศจรรย์ การทำ�เหมืองแร่ คือการกระทำ�เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ทรัพยากร ธรรมชาติ ดิน หิน แร่ นำ�มาสร้างมูลค่าและก่อให้เกิดประโยชน์ จะด้วยวิธีใดอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธีตามหลักวิชาการ ไม่ว่าจะนำ�ขึ้นมาใช้เองหรือส่งต่อให้ผู้ต้องการใช้ จะด้วยวิธี ขายแร่ดิบขายเพื่อนแร่เหล่านั้น แปรแร่ดิบให้เป็น ผลิตภัณฑ์ กึ่งสำ�เร็จรูปและผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูป การทำ�เหมืองแร่ตามเศรษฐกิจพอเพียง คือการทำ�เหมืองแร่ ตามความพอประมาณ อย่างมีประสิทธิภาพ ตามความจำ�เป็น ประหยัด ตรงจุดประสงค์ ตรงตามความต้องการ ไม่ใช่ได้หนึง่ อย่าง แล้วทิ้งอีกอย่างหนึ่ง ที่มีเหตุผลไม่มากเกินไปไม่น้อยเกินไป พอเหมาะพอควร คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง ด้วยการคำ�นึงถึงความปลอดภัย เป็นพันธมิตรต่อรอบข้างใน ทุกๆ สิ่ง ไม่เอาเปรียบเห็นแก่ตัว ไม่เบียดเบียนต่อตนเองและ ผูอ้ น่ื และจำ�กัดความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อสิง่ แวดล้อมข้างเคียง ให้น้อยที่สุด โดยต้องเป็นไปด้วยความรอบรู้และมีคุณธรรม
29
ทีร่ อ่ นแร่ในท้องห้วยหรือท้ายราง ผูห้ าเช้ากินค่ำ� ทีเ่ หมืองเจ้าฟ้า ของคุณหลวงอนุภาษภูเก็ตการ เจ้าของเหมืองได้จัดการปราบ เนินดินด้านหนึ่งของหุบเขากระทู้ สร้างศาลาที่ประทับชั่วคราว บนเนินนั้น สำ�หรับเป็นที่ประทับทอดพระเนตรชมการฉีดดิน ในขุมเหมืองด้วยแรงน้ำ� ทรงเห็นทรายและแร่ไหลไปตามร่องน้ำ� จนถูกสูบขึน้ ไปบนรางล้างแร่ คุณหลวงอนุภาษฯ เจ้าของเหมือง เฝ้ากราบบังคมทูลกิจการโดยใกล้ชดิ ทำ�ให้บรรดาประชาราษฎร ที่รายล้อมอยู่ห่างๆ ชื่นชมโสมนัสในพระราชจริยวัตร ได้เห็นว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงซักถามข้าแผ่นดินตลอดเวลา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ทรงนึกถึงแต่เรื่องของ ภาคใต้ที่กำ�ลังทรงเสด็จพระราชดำ�เนินเยี่ยมอยู่ แต่ทรงซักถาม ผู้ที่เข้าเฝ้าใกล้ชิดเลยไปถึงเรื่องที่ใหญ่กว่า คือปัญหาที่ว่า ทำ�ไม ไทยเราจึงทำ�แต่เหมืองแร่ดีบุกในภาคใต้เท่านั้น ในเมื่อภูเขา ชนิดเดียวกันก็มีในภาคอื่น เช่น ภาคเหนือ ทำ�ไมเราต้องส่งแร่ ไปขายโรงถลุงทีป่ นี งั ทำ�ไมไม่ถลุงเป็นโลหะใช้เสียเองในประเทศ หรือเราทำ�แผ่นเหล็กชุบดีบุกใช้เป็นกระป๋องบรรจุอาหาร ที่ฝรั่ง เขาทำ�มาขายเรา จะได้มโี รงงานเกิดขึน้ ในประเทศ ราษฎรจะได้ มีงานทำ�มากขึ้น แล้วถ่านหินน้ำ�มันเล่า จะไม่มีในประเทศเรา บ้างเชียวหรือ ฯลฯ พระราชปุจฉาเหล่านี้ หมายถึง พระราช ปณิ ธ านที่ จ ะได้ เ ห็ น ประเทศไทยนั้ น พั ฒนาอุ ต สาหกรรมแร่ ให้กว้างขวาง เจริญเติบโตขึ้นในรัชสมัยของพระองค์... จากพระราชปุจฉาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในคราวนั้น นับเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำ�คัญอย่างน่าอัศจรรย์ต่อ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ไทย พระราชปุจฉาของพระองค์ทา่ นได้ เป็นแรงบันดาลใจกระตุน้ ให้กรมโลหกิจ (ปัจจุบนั ได้เปลีย่ นชือ่ เป็นกรมทรัพยากรธรณี) ทำ�การสำ�รวจพบแร่ดบี กุ ปริมาณมาก ที่มีศักยภาพในเชิงพาณิชย์กระจายตัวเรียงรายตั้งแต่เหนือ จรดใต้ ทางซีกตะวันตกของประเทศ และได้มีการตั้งโรงถลุง แร่ดบี กุ “ไทยซาร์โก้” ขึน้ ทีภ่ เู ก็ต เปิดดำ�เนินการปี พ.ศ. 2508… สมกับพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน พระองค์ได้เสด็จ พระราชดำ�เนินไปชมกิจการโรงถลุงเมือ่ 23 กรกฎาคม 2511 ด้วยความพอพระทัยเป็นอย่างยิ่ง และต่อมาได้มีการสำ�รวจค้นพบถ่านหินปริมาณสำ�รอง จำ�นวนมากทางภาคเหนือและภาคใต้ ทั้งขุดเจาะพบน้ำ�มัน และก๊าซธรรมชาติที่อ่าวไทยอีกด้วย นอกจากแร่ ดี บุ ก ถ่ า นหิ น และน้ำ�มั น แล้ ว ทางกรม ทรัพยากรธรณีได้สำ�รวจค้นพบแร่มคี า่ ทางเศรษฐกิจอีกมากมาย หลายชนิดในรัชสมัยของพระองค์ กระจัดกระจายอยูท่ ว่ั ทุกภูมภิ าค ของประเทศ ซึ่งแร่ต่างๆ เหล่านี้ได้มีการผลิตขึ้นมาใช้ภายใน
January-February 2017
การจะทำ�เหมืองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น หากลองคำ�นึ ง ถึ ง หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง 3 ห่ ว ง คื อ มี ค วามพอเพี ย ง มี เ หตุ ผ ล มี ภู มิ คุ้ ม กั น ในตั ว ที่ ดี และ 2 เงื่อนไข อันเป็นสิ่งสนับสนุนคือ มีความรู้ มีคุณธรรม ต้อง เดินทีละก้าว กินทีละคำ� ทำ�ทีละครั้ง สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ให้กับสังคมและสิ่งแวดล้อม มีค่านิยมร่วม สร้างอุดมการณ์ ร่วมกัน โดยการปฏิบัติดังนี้ 1. ละลายพฤติกรรมความคิดเก่าๆ ทีค่ ดิ แต่ทำ�อย่างไรก็ได้ ให้ได้มาซึ่งแร่ โดยไม่คำ�นึงถึงเหตุผล ผลกระทบ ความเสียหาย ทีจ่ ะตามมาในอนาคต ซึง่ เป็นมูลเหตุของความเอารัดเอาเปรียบ ไม่รู้จักพอ คือไม่พอเพียง 2. สร้างความสำ�นึกในการมีส่วนร่วม มีอุดมการณ์ร่วม มีค่านิยมร่วม มีเป้าหมายร่วม และสิ่งที่ตามมาก็คือ ความรู้สึก สำ�นึก สำ�นึกต่อความรับผิดชอบ สำ�นึกเสมอว่าสิ่งที่เราจะทำ� สิง่ ทีเ่ ราดูแล สิง่ ทีเ่ ราเกีย่ วข้องนี้ เราก็คอื คนหนึง่ ทีเ่ ป็นเจ้าของร่วม 3. สร้างความมั่นคงและมั่งคั่งแบบยั่งยืน ก็คือมีเพื่อน มัง่ คัง่ มากมาย มีสงิ่ แวดล้อมมัง่ คัง่ มีความพรัง่ พร้อม แม้สงิ่ หนึง่ หายไป ก็มีสิ่งทดแทนที่ดีตามมามากมาย แต่ไม่วูบวาบ ผลที่ ตามมาก็คือ เศรษฐกิจพอเพียงแบบยั่งยืนนั่นเอง จะเห็นได้วา่ ถ้ายึดหลักการทำ�เหมืองตามเศรษฐกิจพอเพียง แล้ว ก็จะเกิดผลดีตอ่ ผูป้ ระกอบการ ชาวบ้าน ชุมชน สิง่ แวดล้อม สังคมเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติ ฯลฯ ....ถ้าทำ�อะไร อย่างพอเพียง เราก็จะเพียงพอในการดำ�รงชีวิต หลักความ พอเพี ย งนอกจากจะทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จ ในชี วิ ต แล้ ว ยังทำ�ให้ชีวิตมีความสุขอีกด้วยครับ.... พ.ศ. 2502... เป็นประวัตศิ าสตร์ทส่ี ำ�คัญทีส่ ดุ ของกรมโลหกิจ (ชือ่ เดิมสมัยนัน้ ) ทีก่ รมได้รบั แรงบันดาลใจให้พฒ ั นาอุตสาหกรรม เหมืองแร่ของประเทศให้ครบระบบ โครงการตั้งโรงถลุงแร่ดีบุก เชิงพาณิชย์ ก็เป็นผลส่วนหนึง่ ของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ด้วย เดือน มีนาคมปีนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชดำ�เนินประพาส ภาคใต้ นับเป็นการประกอบพระราชภารกิจตามโบราณราช ประเพณีท่มี ีสืบกันมาว่า หลังจากที่ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ แล้ว พระมหากษัตริยจ์ ะต้องเสด็จเยีย่ มราษฎรในภาคต่างๆ ของ ประเทศ หมายกำ�หนดการครัง้ นัน้ มีวา่ มีพระราชประสงค์จะเสด็จ พระราชดำ�เนินชมการทำ�เหมืองแร่ดีบุกอันเป็นอาชีพหลักของ ภาคใต้ ทางกรมโลหกิจได้จดั แผนให้ได้เสด็จทอดพระเนตรการทำ� เหมืองแร่ดบี กุ ด้วยเรือขุดของบริษทั ไซมีสทิน ทีต่ ำ�บลบางนอน อำ�เภอเมือง จังหวัดระนอง ในวันที่ 8 มีนาคม เพราะเป็นเรือขุด ลำ�เดียวทีก่ ำ�ลังขุดอยูใ่ กล้ทางหลวงทีข่ บวนจะผ่าน และเมือ่ วันที่ 9 มีนาคม ได้ทอดพระเนตรการทำ�เหมืองสูบ ของเหมืองเจ้าฟ้า ที่อำ�เภอกระทู้ จังหวัดภูเก็ต การเสด็จพระราชดำ�เนินครัง้ นีเ้ ป็นการเสด็จพระราชดำ�เนิน โดยรถยนต์พระที่นั่ง เลียบฝั่งตะวันตกของประเทศไทยตั้งแต่ จังหวัดระนองถึงภูเก็ต ทำ�ให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรง เห็นภูมปิ ระเทศอันเป็นแหล่งกำ�เนิดแร่ดบี กุ ทัง้ ภูเขาและลานแร่ พระองค์ทรงเข้าพระทัยได้ดีถึงความยากลำ�บาก และวิริยะ อุตสาหะของผูท้ ำ�เหมือง ไม่วา่ บริษทั ใหญ่ของเศรษฐีหรือชาวบ้าน
30
January-February 2017
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะเสด็จพระราชดำ�เนินทรงงานในทุกๆ พื้นที่บนผืนแผ่นดินไทย ประเทศ และส่ ง ออกขายยั ง ต่ า งประเทศ ทำ�รายได้ ส ร้ า ง เม็ดเงินจำ�นวนมหาศาล ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศ อย่างใหญ่หลวงเหลือคณานับ ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล แสดงถึงพระปรีชาสามารถ ของพระองค์ท่าน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุด มิได้ ต่อวงการเหมืองแร่และปวงชนชาวไทย..... ความพอใจในสิง่ ทีม่ ี ยินดีในสิง่ ทีไ่ ด้ นับว่าเป็นความอัศจรรย์ อย่างหนึง่ ในจิตใจของคนทีร่ จู้ กั พอเพียง สิง่ อัศจรรย์เกิดได้ทกุ ที่ ทุกเวลา และกับทุกคน...ผมมีเรื่องเล่าเบาสมองเกี่ยวกับความ อัศจรรย์ทมี่ อี ยูใ่ นตัวเราทีค่ นเราคิดไม่ถงึ มองข้ามหรือลืมนึกไป ในห้องเรียนแห่งหนึง่ คุณครูให้นกั เรียนเขียนสิง่ ทีค่ ดิ ว่าก็คอื สิง่ อัศจรรย์ของโลก นักเรียนทุกคนนัง่ นึกและเขียนลงบนกระดาษ อย่างขะมักเขม้น ซึ่งคุณครูได้รวบรวมโดยสรุปว่าสิ่งอัศจรรย์ ของโลกมีดังนี้ 1. พีระมิดแห่งอียปิ ต์ 2. ทัชมาฮาล 3. แกรนด์แคนยอน 4. คลองปานามา 5. ตึกเอ็มไพร์สเตท 6. มหาวิหารเซนต์ปเี ตอร์ 7. กำ�แพงเมืองจีน ขณะที่กำ�ลังรวบรวมกระดาษอยู่ คุณ ครูได้สังเกตเห็น นักเรียนหญิงคนหนึง่ ยังตอบไม่เสร็จสักที คุณครูจงึ ถามว่ามีปญ ั หา อะไรหรือเปล่ากับสิ่งที่ให้ทำ� เด็กนักเรียนหญิงคนนั้นตอบว่า “มีนดิ หน่อยค่ะ หนูตดั สินใจไม่ถกู เพราะมีมากมายเหลือเกิน” “เหรอจ๊ะ งั้นหนูลองบอกครูหน่อยสิ ว่าหนูรวบรวมอะไร ได้บ้าง เผื่อพวกเราจะช่วยได้” เด็กหญิงจึงตอบขึน้ ว่า “หนูคดิ ว่าสิง่ อัศจรรย์ 7 อย่างของโลก คือ 1. การมองเห็น 2. การได้ยิน 3. การสัมผัส 4. การรู้รส 5. การรู้สึก 6. การหัวเราะ 7. และ...รัก” ครับ...สิ่งอัศจรรย์มีอยู่ในตัวเราทุกคน ท่านมองเห็นแล้ว หรือยัง? “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9” พระราชทาน โครงการมากกว่า 2,000 โครงการ ทั้งการแพทย์ สาธารณสุข การศึกษา การศาสนา สังคม วัฒนธรรม รวมถึงเศรษฐกิจ นับตั้งแต่เถลิงถวัลยราชตราบจนเสด็จสวรรคต เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์นานที่สุดในโลก เป็นพระมหากษัตริย์นักพัฒนา ทรงงานหนักเพื่อคนไทยทั้งชาติที่อาศัยใต้ร่มพระบรม
โพธิสมภารของพระองค์ ซึ่งพระกรณียกิจของพระองค์ทุกด้าน เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ และยกระดับประเทศไทยให้มี ความมั่งคั่งและมั่นคง ตามปฐมพระบรมราชโองการในระหว่ า งพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษก ความว่า “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพือ่ ประโยชน์สุขแก่มหาชนชาวสยาม” เลข “9” จึงเป็นเลขมงคล ที่มีค่ามากที่สุดสำ�หรับคนไทย เพราะ “รัชกาลที่ 9” คือสิ่งที่ คนไทยเทิดทูนบูชาสูงสุด “9 อัศจรรย์” กับ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช” ที่คนไทยจดจำ�ไปอีกนานแสนนาน 1. รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี 2. ทรงครองราชย์วันที่ 9 3. ปีครองราชย์ พ.ศ. 2489 4. ครองราชย์พระชนมายุ 19 5. ทรงผนวชเมื่อ พ.ศ. 2499 6. สวรรคตพระชนมายุ 89 7. สวรรคตปี พ.ศ. 2559 8. นับ ค.ศ. 2016 เอาเลข 2+0+1+6 ผลออกมาเป็น 9 9. วันที่เสด็จสวรรคต วันที่ 13 ขึ้น 12 ค่ำ� เดือน 11 เอา 1+3+1+2+1+1 เท่ากับ 9 เลข 9 เป็นเลขอัศจรรย์ นำ�ไปตั้งแล้วยกทุกเลขมาคูณ ตั้งแต่ 1 ถึง 12 นำ�ตัวเลขผลที่ได้มาบวกกัน ผลที่ออกมาเป็น เลข 9 9 x 1 เท่ากับ 9 9 x 2 เท่ากับ 18 เอา 1 + 8 เท่ากับ 9 9 x 3 เท่ากับ 27 เอา 2 + 7 เท่ากับ 9 9 x 4 เท่ากับ 36 เอา 3 + 6 เท่ากับ 9 9 x 5 เท่ากับ 45 เอา 4 + 5 เท่ากับ 9 9 x 6 เท่ากับ 54 เอา 5 + 4 เท่ากับ 9 9 x 7 เท่ากับ 63 เอา 6 + 3 เท่ากับ 9 9 x 8 เท่ากับ 72 เอา 7 + 2 เท่ากับ 9 9 x 9 เท่ากับ 81 เอา 8 + 1 เท่ากับ 9 9 x 10 เท่ากับ 90 เอา 9 + 0 เท่ากับ 9 9 x 11 เท่ากับ 99 เอา 9 + 9 เท่ากับ 18 แล้วเอา 1 + 8 เท่ากับ 9 9 x 12 เท่ากับ 108 เอา 1 + 0 + 8 เท่ากับ 9 และนีก่ ค็ อื เรือ่ งเล่าตัวเลขชวนพิศวง...ให้อศั จรรย์ใจกันครับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระผูเ้ สด็จสูส่ วรรคาลัย น้อมศิระกรานยุคลบาท สถิตในดวงใจ ปวงชนชาวไทยตราบนิรันดร์กาล...
รายงาน
l
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
กพร. วางนโยบาย พัฒนาแหล่งแร่ควอตซ์ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสำ�คัญ ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์
คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
January-February 2017
31
กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม วางนโยบายพัฒนาศักยภาพแร่ควอตซ์สู่การพัฒนาเป็นซิลิกอนเกรดแสงอาทิตย์ (Solar Grade Silicon) เพือ่ เป็นส่วนประกอบหลักของการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) โดยประเทศไทยมีปริมาณสำ�รองแร่ควอตซ์คณ ุ ภาพสูงกว่า 25 ล้านตัน สามารถผลิตซิลิกอนเกรดแสงอาทิตย์ได้ประมาณ 6 ล้านตัน ซึ่งสามารถใช้เป็น วัตถุดิบในการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 1 ล้าน เมกะวัตต์ หรือประมาณ 34 เท่าของความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดของ ประเทศไทยใน พ.ศ. 2559 และสามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไทยได้ไม่นอ้ ยกว่า 3.6-4.5 ล้านล้านบาท ซึ่งยังไม่รวมมูลค่าเพิ่มจากอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง (Hi-technology) และมีมูลค่าสูงในประเทศ ทั้งนี้ เชื่อมั่นว่า หากมีอุตสาหกรรมการผลิตพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ครบวงจรจากแร่ควอตซ์ ในประเทศไทย จะส่งผลให้เกิดรายได้แก่ประเทศเป็นจำ�นวนมหาศาล รวมทั้ง
ส่งผลให้ต้นทุนค่าไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ลดลง สามารถแข่งขันกับพลังงานทางเลือก อืน่ ๆ ได้ และประเทศไทยจะเป็นฐานการผลิต ซิลกิ อนเกรดโลหกรรม ซิลกิ อนเกรดแสงอาทิตย์ และแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าค อาเซียน คุ ณ สมบู ร ณ์ ยิ น ดี ยั่ ง ยื น อธิ บ ดี ก รม อุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กล่ า วว่ า แร่ ค วอตซ์ นั บ เป็ นวั ต ถุ ดิ บ ตั้ ง ต้ น ที่ สำ�คั ญ ในอุ ต สาหกรรมซิ ลิ กอน ซึ่ ง เป็ น ส่ ว น ประกอบหลักของการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า กรม อุ ต สาหกรรมพื้ นฐานและการเหมื องแร่ ใน ฐานะหน่วยงานกำ�กับดูแลการประกอบกิจการแร่ เล็ ง เห็ น ว่ า ประเทศไทยมี ศั ก ยภาพของแร่ ควอตซ์คุณภาพสูงมากพอที่จะผลักดันสู่การ นำ�ไปใช้ ใ นการผลิ ต พลั ง งานทดแทนจาก แสงอาทิตย์ โดยมี เ ป้ า หมายในการใช้ แ ร่ ค วอตซ์ คุณภาพสูงเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตซิลกิ อนเกรด แสงอาทิตย์ (Solar Grade Silicon) ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีอุตสาหกรรมผลิตซิลิกอน เกรดแสงอาทิตย์ มีเพียงการผลิตซิลิกอนเกรด โลหกรรม (Metallurgical Grade Silicon) ซึ่งถูกนำ�ไปใช้ในอุตสาหกรรมหล่อโลหะผสม อะลู มิ เ นี ย มสำ�หรั บ ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ แ ละ อุตสาหกรรมเคมีเพื่อผลิตซิลิโคนเท่านั้น
>> แหล่งผลิตแร่ควอตซ์ในประเทศไทย ประเทศไทยมีปริมาณสำ�รองแร่ควอตซ์คุณภาพสูงกว่า 25 ล้ า นตั น ซึ่ ง จะสามารถผลิ ต ซิ ลิ กอนความบริ สุ ท ธิ์ สู ง ได้ ประมาณ 6 ล้านตัน และสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 1 ล้านเมกะวัตต์ หรือประมาณ 34 เท่าของความต้องการ พลังงานไฟฟ้าสูงสุดของประเทศไทย และสามารถสร้างรายได้ ให้ประเทศไทยได้ไม่นอ้ ยกว่า 3.6-4.5 ล้านล้านบาท ซึง่ ยังไม่รวม มู ล ค่ า เพิ่ ม จากอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ขั้ น สู ง (Hi-technology) และมีมูลค่าสูงในประเทศ “พื้นที่ที่พบว่าเป็นแหล่งแร่ควอตซ์ในประเทศไทย ได้แก่ พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีปริมาณ 9.97แสนตัน เพชรบุรี มีปริมาณ 9.7 หมื่นตัน สระแก้วมีปริมาณ 4 แสนตัน ระยองมี ปริมาณ 7.56 ล้านตัน จันทบุรมี ปี ริมาณ 2 หมืน่ ตัน และราชบุรี มีปริมาณ 16 ล้านตัน”
32
January-February 2017
>> การลงทุนแร่ควอตซ์ในประเทศไทย ปัจจุบันมีนักลงทุนจากต่างประเทศสนใจเข้ามาลงทุน และพัฒนาแร่ควอตซ์ในประเทศไทย โดยกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร่อยูร่ ะหว่างการจัดทำ�นโยบายการพัฒนาแหล่ง แร่ควอตซ์ เพื่อรองรับการผลิตพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ โดย คำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดต่อประเทศและผลกระทบต่อประชาชน ซึง่ เชือ่ มัน่ ว่าหากมีอตุ สาหกรรมการผลิตพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ ครบวงจรจากแร่ ค วอตซ์ ใ นประเทศไทย จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด รายได้แก่ประเทศเป็นจำ�นวนมหาศาล ก่อให้เกิดการลงทุนและ พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งทีใ่ ช้เทคโนโลยีขนั้ สูงและมีมลู ค่าสูง ในประเทศ รวมทัง้ ส่งผลให้ตน้ ทุนค่าไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ลดลง สามารถแข่ ง ขั น กั บ พลั ง งานทางเลื อ กอื่ น ๆ ได้ และ ประเทศไทยจะเป็นฐานการผลิตซิลกิ อนเกรดโลหกรรม ซิลกิ อน เกรดแสงอาทิตย์ และแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าค อาเซียน สามารถรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ที่เป็นโลหะผสมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมเคมี ที่ผลิตซิลิโคน และโรงไฟฟ้าแสงอาทิตย์ในภูมิภาคอาเซียนได้ “สำ�หรับเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้ในการแปลงแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้านั้น หากมีการใช้งานที่ถูกวิธีและการดูแล รักษาอย่างถูกต้อง จะทำ�ให้เซลล์แสงอาทิตย์ใช้งานได้นานถึง 20-30 ปี โดยไม่ก ระทบต่อ สิ่งแวดล้อ ม นอกจากนี้ เซลล์ แสงอาทิ ต ย์ เ มื่ อหมดอายุก ารใช้งานแล้วสามารถนำ� มาแยก ชิ้นส่วนเป็นซิลิกอนกระจก และวัสดุอื่นๆ นำ�ไปรีไซเคิลเพื่อให้ สามารถนำ�กลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกครั้ง” คุณสมบูรณ์ กล่าว ทิ้งท้าย
ตัวอย่างแร่ควอตซ์
ตัวอย่างโซลาร์เซลล์
NEWS
l
กองบรรณาธิการ
>> อิตลั ไทยอุตสาหกรรม จับมือแฟคเตอรีกสิกรไทย หนุนลีสซิง่ เครือ่ งจักร คุณพฤกษ์ พัฒนรักษ์ (ที่ 4 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อิตลั ไทยอุตสาหกรรม จ�ำกัด พร้อมด้วย คุณศาศวัต วีระปรีย (ที่ 5 จากขวา) ประธาน กรรมการบริหาร บริษัท แฟคเตอรี แอนด์ อีควิปเมนท์ กสิกรไทย จ�ำกัด ร่วมพิธี ลงนามสัญญาความร่วมมือในการเป็นพันธมิตรด้านการให้บริการลีสซิง่ เพือ่ ความ คล่องตัวอย่างเป็นทางการส�ำหรับลูกค้า พร้อมร่วมการประชุมหารือทางธุรกิจ ระหว่างกัน ณ อิตัลไทย เซ็นเตอร์ มหาชัย เมื่อเร็วๆ นี้ >> สหกลอิควิปเมนท์ เข้าซื้อ-ขายในตลาดหลักทรัพย์ หมวดบริการรับเหมาก่อสร้าง คุณศาศวัต ศิริสรรพ์ (คนที่ 5 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SQ พร้อมด้วย คุณมนตรี ศรไพศาล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน และผู้จัดการร่วมการจัดจ�ำหน่ายและ รับประกันการจ�ำหน่าย และ คุณวีณา เลิศนิมิต ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสาย Primary Distribution ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะที่ปรึกษา ทางการเงิน และตัวแทนบริษัทหลักทรัพย์ ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด ในฐานะผู้จัดการ ร่วมการจัดจ�ำหน่ายและรับประกันการจ�ำหน่าย ร่วมพิธีลงนามแต่งตั้งผู้จัดจ�ำหน่ายและรับประกันการจ�ำหน่ายหุ้นสามัญ บริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SQ ผู้รับเหมางานเหมืองครบวงจรรายแรกของไทย โดยครอบคลุมถึงการวางแผนงาน ในเหมือง การปฏิบัติงานเปิดหน้าเหมือง การให้ค�ำปรึกษาด้านงานเหมือง และการให้เช่าและซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรขนาดใหญ่ ซึ่งมี ประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการเหมืองถ่านหินแม่เมาะให้กับ EGAT กว่า 30 ปี เปิดจองซื้อหุ้นไอพีโอราคา 3.20 บาทต่อหุ้น ในตลาดหลักทรัพย์หมวดบริการรับเหมาก่อสร้าง ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย >> JCB ผนึกก�ำลัง DKSH รุกตลาดเครื่องจักรหนักในประเทศไทย คุณทอม คอร์เนล (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ บริษัท JCB เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมด้วย คุณจารึก มีขันทอง (ซ้ายสุด) รองประธานกรรมการ บริหารหน่วยธุรกิจเทคโนโลยี บริษัท DKSH (ประเทศไทย) ร่วมแถลงข่าวการเป็น พันธมิตรทางธุรกิจร่วมกัน โดยทางบริษทั DKSH (ประเทศไทย) จะให้บริการด้าน การขายชิ้นส่วนอะไหล่และบริการส�ำหรับเครื่องจักรกลที่ผลิตโดยบริษัท JCB ทุกชนิด และช่วยด�ำเนินการด้านการท�ำตลาดเครื่องจักรหนักในธุรกิจด้านการ ก่อสร้าง เหมืองหิน และเหมืองแร่ในประเทศไทย เพื่อให้บริการลูกค้าได้อย่างครอบคลุมและครบวงจรมากยิ่งขึ้น ณ คันทวาส เพลส ชั้น 4 โรงแรมพลาซ่า แอทธินีฯ ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ เมื่อเร็วๆ นี้
January-February 2017
33
>> SANY เปิดตัวรถขุดไฮดรอลิครุ่นใหม่ ปี 2017 พร้อมจัดงานเลี้ยงขอบคุณลูกค้า อลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ เป็นประธาน เปิดงานเลี้ยงขอบคุณลูกค้า พร้อมเปิดตัว “รถขุดระบบไฮดรอลิครุ่นใหม่ล่าสุด ปี 2017” เจ้าแห่งการประหยัดน�้ำมัน รับรองมาตรฐานจาก EPA และ Euro จาก ประสบการณ์ของผูใ้ ช้งานจริง ด้วยการออกแบบการวิจยั และพัฒนาเพิม่ ประสิทธิภาพ ระบบเครือ่ งยนต์ และระบบการควบคุมแบบไฮดรอลิค ให้ทำ� งานร่วมกับระบบไฟฟ้า ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการขุดได้เต็มก�ำลัง และประหยัดพลังงานสูงสุด โดยมี จันทนา อริยะวุฒิพันธุ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด ยศวัฒน์ เรืองรักษ์ลิขิต กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด ฝู เว้ย จง รองประธานกรรมการ บริษทั ซานี่ เฮฟวี่ อินดัสทรี จ�ำกัด ต้า เจิง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ซานี่ เฮฟวี่ แมทชีนเนอรี่ จ�ำกัด และลูกค้าบริษัท ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด ให้การต้อนรับ ณ ห้องคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ ชั้น 4 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดี-รังสิต
แนะนำ�สินค้า l
กองบรรณาธิการ
รถขุดไฮดรอลิค SANY
รุ่น SY 135C ประหยัดน้ำ�มัน ลดการใช้พลังงาน
บริษัท ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด เปิดตัวรถขุดไฮดรอลิค รุ่น SY 135C ประหยัดน�้ำมัน ลดการใช้ พลังงาน ด้วยเครือ่ งยนต์ ISUZU รุน่ 4BG1-TABGA ประหยัดน�ำ้ มัน ลดการใช้พลังงาน ได้ประสิทธิภาพ การใช้นำ้� มันเชือ้ เพลิงสูงสุด เลือกโหมดการท�ำงานได้ถงึ 4 ระดับ Heavy Duty (H) Standard Duty (S) Light Duty (L) และเพิ่มระบบ Brake Duty Mode (B) เมื่อใช้คู่กับอุปกรณ์ขุดเจาะ ส่วนความดัง เสียงเครื่องยนต์ลดลง ผ่านมาตรฐานการควบคุมมลพิษ และได้รับการรับรองมาตรฐานการควบคุม มลพิษจาก EPA Tier 2 และ EU Tier 2 อีกทั้งอุปกรณ์แขนขุด บูม และอาร์ม ออกแบบให้เพิ่ม ประสิทธิภาพ เสริมความแข็งแรงส�ำหรับงานหนัก เพิม่ ก�ำลังการขุดให้มากขึน้ ระยะขุดลึกสุด 5.5 เมตร รองรับการท�ำงานหนักได้เป็นอย่างดี แรงขุดที่ปลายบุ้งกี๋ 92.7 kN แรงขุดที่ปลายอาร์ม 66.13 kN พร้อมบุ้งกี๋ขนาดมาตรฐาน เสริมความแข็งแรงด้วยเหล็กเหนียวอัดขึ้นรูป เพิ่มก�ำลังการขุดให้ได้งาน มากขึ้น ที่สุดแห่งความทนทาน เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน บุ้งกี๋ขนาดมาตรฐาน 0.53 ลูกบาศก์เมตร พร้อมปั๊มไฮดรอลิค KAWASAKI มาตรฐานสูง จากประเทศญี่ปุ่น มีระบบแจ้งเตือนเมื่อเกิดความผิดปกติภายในห้องเครื่องยนต์ และสัญญาณเตือนเมื่อถึงรอบการบ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์ สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด 70/14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2996-6100 หรือ E-mail : sales@sanythaiyont.com
รถขุดวอลโว่ EC210D ดีไซน์โฉบเฉี่ยว มาตรฐานไอเสีย Tier 3 รถขุดวอลโว่ EC210D เป็นรถขุดที่สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย มีน�้ำหนักปฏิบัติการ 21 ตัน ดีไซน์โฉบเฉี่ยวตามแบบฉบับของวอลโว่ D series ด้วยเครื่องยนต์ D5Tier3 ด้วยมาตรฐาน ไอเสีย Tier 3 ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณไอเสียที่ปล่อยออกสู่บรรยากาศ มากไปกว่านั้น เครื่องยนต์ D5E เป็นเครื่องยนต์แบบคอมมอนเรลหรือแบบท่อน�้ำมันรางร่วม สามารถสร้างแรงดัน ได้สูง ท�ำให้การฉีดน�้ำมันเป็นละอองได้ดีกว่าแรงดันต�่ำ ซึ่งระบบฉีดน�้ำมันนั้นจะเข้าสู่ห้องเผาไหม้ โดยตรง หรือที่เราคุ้นเคยกันว่าเป็นแบบ Direct injection จึงท�ำให้ผู้ใช้มั่นใจได้ในเรื่องของการจ่าย น�้ำมันที่เท่ากันทุกหัวฉีด เพื่อแรงขับเคลื่อนของเครื่องยนตร์ที่ทรงพลัง แต่กินเชื้อเพลิงน้อยลง ส�ำหรับระบบ ECO-Mode โหมดควบคุมการท�ำงานที่มีให้เลือกถึง 4 ระดับ ตามสภาพการ ใช้งาน นอกจากนีร้ ถขุดวอลโว่ EC210D ยังมี Power Boost Mode ซึง่ เป็นโหมดเพิม่ พลังเพือ่ จังหวะการขับเคลือ่ นทีต่ อ้ งการใช้แรงมากกว่าปกติชวั่ ขณะ ในทางตรงกันข้าม หากไม่มีการใช้งานก้านควบคุม เครื่องจักรรุ่นนี้จะมีระบบปรับรอบเครื่องยนต์อัตโนมัติ หรือที่เรียกกันว่า (Auto idling system) โดย เครื่องยนต์จะถูกปรับลงมาที่รอบต�่ำอัตโนมัติ ซึ่งจะช่วยประหยัดน�้ำมันและช่วยลดเสียงในห้องคนขับ เหมาะกับงานในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานดิน งานสร้างเขื่อน งานก่อสร้าง หรืองานในเหมือง สอบถามรายละเอียดได้ที่ บริษัท อิตัลไทยอุตสาหกรรม จ�ำกัด Call Center โทรศัพท์ 0-2105-4015
34
January-February 2017
รถขุด HITACHI รุ่น ZX210W-3 ครบครันทุกฟังก์ชันสำ�หรับการใช้งาน รถขุด HITACHI รุ่น ZX210W-3 มาพร้อมเครื่องยนต์ดีเซลพลังสูงที่ออกแบบมาสนองทุกฟังก์ชัน การใช้งาน โดยเฉพาะเพื่อให้เครื่องแรงและใช้งานได้อย่างต่อเนื่องหากต้องใช้ในระยะเวลานาน และยังมี ระบบ Cooled EGR System ผสานนวัตกรรมใหม่ และเทคโนโลยีชนั้ สูงเพือ่ ช่วยลดการบริโภคน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง และลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงเป็นมลพิษทางอากาศ ช่วยให้การด�ำเนินงานนั้นมีประสิทธิภาพสูง อีกทั้ง เครื่องยนต์ OHC 4-Valve Engine ที่ให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานสูง และยังประหยัดน�้ำมันเชื้อเพลิงมากขึ้น ถูกออกแบบมาส�ำหรับ HITACHI รุ่น ZX210W-3 โดยเฉพาะ ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงและนักพัฒนามืออาชีพ ภายใต้ชื่อของ HITACHI ขับเคลื่อนด้วยระบบคอมมอนเรล ช่วยให้การขับเคลื่อนลื่นไหลมากยิ่งขึ้น และยัง บริโภคน�้ำมันเชื้อเพลิงน้อยลงอีกเมื่อเทียบกับรุ่นอื่นๆ สอบถามรายละเอียดได้ที่ บริษัท Hitachi Construction Machinery ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 0-2325-1011-27
รถขุดไฮดรอลิค 320D
จาก CAT ประหยัดน้ำ�มันเครื่องยนต์ รถขุ ด ไฮดรอลิ ค รุ ่ น 320D ประหยั ด น�้ ำ มั น เครื่ อ งยนต์ ด้ ว ย CAT C6.4 ACERT 6 สูบ 138 แรงม้า แรงขุดงัดที่บุ้งกี๋ 138 กิโลนิวตัน บุ้งกี่ขนาด 1.0 ลูกบาศก์เมตร น�้ำหนักตัวรถ 21,450 กิโลกรัม ช่วยลดการบริโภคน�้ำมันเครื่องยนต์ได้อย่างยอดเยี่ยม แถมการใช้งานสมรรถนะ ทน สู้ทุกงาน คุ้มค่าส�ำหรับผู้ใช้งาน สอบถามรายละเอียดได้ที่ กลุม่ บริษทั เมโทรแมชีนเนอรี่ จ�ำกัด โทรศัพท์ 0-2742-8000 ต่อ 183
Report
l
กองบรรณาธิการ
มาตรการ กำ�กับดูแลเหมืองแร่เก่า
เพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ภายหลังการปิดเหมือง ให้สามารถนำ�กลับมาใช้ประโยชน์อีกครั้ง
คุณสมบูรณ์ ยินดียั่งยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
หมายรวมถึงการพัฒนาพื้นที่ที่ผ่านการทำ�เหมืองแล้วให้สามารถ นำ�กลั บ มาใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ ให้ ป ระชาชนและสั ง คม เชื่อมั่นว่าเหมืองที่ปิดตัวลงจะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ชุ ม ชน ทั้ ง ด้ า นสุ ข อนามั ย และความปลอดภั ย ไม่ ทำ�ให้ พ้ืนที่ของประเทศไร้ประโยชน์เมื่อไม่สามารถสร้างมูลค่า เชิงพาณิชย์ได้
35
แผนการดำ�เนินการสำ�หรับปิดเหมืองแร่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้กำ�หนด รายละเอี ย ดแผนการปิ ด เหมื อ ง เพื่ อ ฟื้ น ฟู พื้ น ที่ แ ละการรื้ อ ถอน สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ออกให้หมด โดยในการออกแบบนั้นต้องมีการ วิเคราะห์ความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงจากการพังทลายของกองดิน และบ่อเหมือง ซึง่ มีระบบการตรวจสอบการออกแบบโดยใช้มาตรฐาน ด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำ�หนด ต้องครอบคลุม ผลด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม โดยต้องดำ�เนินการฟื้นฟูตั้งแต่ ในระหว่างทำ�เหมืองไปจนถึงภายหลังการทำ�เหมือง จนกว่าพื้นที่จะ กลับคืนสูส่ ภาพทีส่ ามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ หรืออยูใ่ นสภาพทีเ่ ป็นที่ ยอมรับของชุมชนและสังคมได้ โดยมีข้อกำ�หนดสำ�คัญที่มีผลต่อการ จัดทำ�แผนปิดเหมือง 3 ประการ ได้แก่ 1. ความมั่นคงของพื้นที่ ผู้ประกอบการต้องพิจารณาองค์ ประกอบหลักของพื้นที่ อันได้แก่ ผนังบ่อเหมือง กองเศษดิน อุโมงค์ หรือปล่องใต้ดิน บ่อเก็บกักตะกอน ทางระบายน้ำ� และคลองผันน้ำ� ที่ต้องมีความมั่นคงปลอดภัย ไม่มีความเสี่ยงจากการพังทลาย หรือ ถูกกัดเซาะ ส่งผลกระทบต่อเนื่องอื่นๆ
January-February 2017
กรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานและเหมื อ งแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม เผยมาตรการกำ�กับดูแลเหมืองแร่เก่า เพือ่ การฟืน้ ฟูพน้ื ทีภ่ ายหลังการปิดเหมือง เพือ่ ให้พน้ื ทีท่ ผ่ี า่ น การทำ�เหมืองแล้วสามารถนำ�กลับมาใช้ประโยชน์ด้านอื่น ได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ข้อกำ�หนดสำ�คัญ คือ ความมั่นคง ของพื้นที่ไม่มีความเสี่ยงจากการพังทลาย การปนเปื้อน ของสารเคมีในดิน น้ำ� และสิ่งแวดล้อม ต้องไม่เกินค่า มาตรฐาน และตั้งเป้าการฟื้นฟูให้สามารถนำ�กลับมาใช้ ประโยชน์ใกล้เคียงสภาพพืน้ ทีเ่ ดิมหรือเหมาะสมกับสภาพ โดยรอบ โดยการฟื้นฟูพื้นที่สามารถทำ�ได้หลายรูปแบบ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ อาทิ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ราชการ พื้นที่สวน สาธารณะ แหล่งเก็บกักน้ำ� เป็นต้น คุณสมบูรณ์ ยินดีย่ังยืน อธิบดีกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กล่าวว่า อุตสาหกรรม เหมืองแร่เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติ ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพของแร่ทสี่ ามารถนำ�มา พัฒนาได้ โดยบางแห่งใช้พนื้ ทีบ่ ริเวณกว้าง ดังนัน้ นอกจาก การทำ�รายงานวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว การประกอบกิจการเหมืองแร่จะต้องทำ�แผนการฟืน้ ฟูเหมือง ภายหลังการปิดเหมือง โดยเฉพาะในปัจจุบันมีกระแส การตระหนักถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ และชุมชน มากขึ้ น ทำ�ให้ ก ารปิ ด เหมื อ งไม่ ใ ช่ แ ค่ การยุติการขุดแร่ รื้ อ ถอนเครื่ อ งจั ก ร รื้ อ ถอนอาคารโรงงานเท่ า นั้ น แต่
36
January-February 2017
2. การปนเปือ้ นของสารเคมี การฟืน้ ฟูพน้ื ทีห่ ลังการ ทำ�เหมื อ ง จะต้ อ งผ่ า นการวิ เ คราะห์ ก ารปนเปื้ อ นของ สารเคมี ว่าต้องไม่มีสารตกค้างหรือปนเปื้อนในดิน น้ำ� และสิ่งแวดล้อม เกินกว่าค่ามาตรฐานกำ�หนด เพื่อไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3. การตัง้ เป้าหมายการฟืน้ ฟูพน้ื ทีห่ ลังการทำ�เหมือง ซึง่ จะต้องฟืน้ ฟูให้สามารถนำ�กลับมาใช้ประโยชน์ใกล้เคียง สภาพพืน้ ทีเ่ ดิม หรือสามารถเป็นประโยชน์อนื่ ทีเ่ หมาะสม และเป็นทีย่ อมรับ มีทศั นียภาพและระบบนิเวศทีก่ ลมกลืน กับสภาพโดยรอบ ขั้นตอนการดำ�เนินการปิดเหมืองแร่ สำ�หรับขั้นตอนการวางแผนปิดเหมืองนั้น ทางกรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้เตรียม แผนการปิดเหมืองไว้แล้ว โดยเห็นควรว่าจะต้องทำ�ใน ระยะยาว ตัง้ แต่เริม่ ต้นออกแบบเหมือง และมีการปรับปรุง อยู่เสมอ เพื่อให้มีการพิจารณาผลกระทบอย่างรอบด้าน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ศึกษาสภาพแวดล้อมเพื่อให้ทราบถึง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นภายหลังการปิดเหมือง กำ�หนด นโยบายปิดเหมืองให้มีความสอดคล้องกับลักษณะพื้นที่ และครอบคลุมด้านสิ่งแวดล้อม วิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย และชุมชน เลือกวิธีการปิดเหมือง ศึกษาความ เป็นไปได้และประเมินวิธกี ารปิดเหมืองทีเ่ หมาะสม พร้อม วิเคราะห์ความเสี่ยงและมีการปรับปรุงแผนเป็นระยะๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด จั ด ทำ�แผนการบำ�รุ ง รั ก ษาพื้ น ที่ ภายหลังการทำ�เหมือง และแผนการติดตามประเมิน ผล ความสำ�เร็จของแผนการปิดเหมือง เพื่อการพัฒนาพื้นที่ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน เปิดรับฟังความ คิดเห็นจากผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง เพือ่ นำ�มาปรับปรุงแผนเป็นลำ�ดับ ต่อไป อย่างไรก็ตาม การฟืน้ ฟูพน้ื ทีภ่ ายหลังการปิดเหมือง ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ เช่น พืน้ ที่ เกษตรกรรม พื้นที่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ราชการ
พื้นที่สวนสาธารณะสำ�หรับเป็นพื้นที่ออกกำ�ลังกายของชุมชนหรือ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว แหล่งเก็บกักน้ำ�สาธารณะจากขุมเหมืองขนาดใหญ่ พื้นที่เพื่อการปลูกสวนป่าหรือการปลูกป่าทดแทน พื้นที่ฝังกลบขยะ หรือสารพิษ เป็นต้น ประโยชน์ของเหมืองแร่ที่ผ่านการฟื้นฟูพื้นที่ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ดำ�เนินการ ฟื้นฟูพื้นที่เหมืองเก่ามากกว่า 10 แห่ง เพื่อเป็นต้นแบบด้านการ ปรับปรุงฟืน้ ฟูพนื้ ทีข่ องรัฐทีผ่ า่ นการทำ�เหมืองแล้ว โดยพิจารณาตาม ความเหมาะสมของพืน้ ทีแ่ ละการใช้ประโยชน์ของชุมชน เช่น โครงการ สวนเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดภูเก็ต สวนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชินี จังหวัดระนอง โครงการฟื้นฟูพื้นที่ที่ผา่ นการทำ�เหมืองแล้ว เพื่องาน วิจัยและแหล่งท่องเที่ยว บริเวณที่ราชพัสดุ หน้าอุทยานแห่งชาติ น้ำ�ตกหงาว จังหวัดระนอง โครงการฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพืน้ ทีเ่ หมืองแร่ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ เป็นต้น ปัจจุบนั มีเหมืองทีส่ น้ิ อายุประทานบัตรแล้ว จำ�นวน 1,800 แห่ง จากจำ�นวนเหมืองที่ กพร. กำ�กับดูแลทั้งสิ้น กว่า 3,000 แห่ง อย่างไรก็ตาม การฟื้นฟูเหมืองภายหลัง การ ปิดเหมืองจะต้องเป็นไปตามข้อกำ�หนด เพือ่ มุง่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ สังคมและชุมชนว่าจะสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ภายหลังการทำ� เหมืองได้ โดยไม่กระทบต่อสิง่ แวดล้อม วิถชี วี ติ ของคนในชุมชนรอบๆ เหมืองอย่างเด็ดขาด
เทคโนโลยีเหมืองแร่ l
บริษัท อิตัลไทยอุตสาหกรรม จำ�กัด
หัวเจาะคุณภาพ ต้อง
Robit
งานเจาะ ฟ�งดูแล วอาจเป นงานทีง่ า ย ไม ซบั ซ อน แต เมือ่ คุณได ลงลึก
ไปในรายละเอียดแล ว คุณจะพบว ามันไม ใช แค เร�่องการเจาะ แต มันมี เร�่องของเทคโนโลยีที่เข ามาเกี่ยวข อง เพ�่อให ผลลัพธ ของการเจาะ และความแม นยำเป นไปตามที่หวังผลไว โรบิท ไม ใช แบรนด น องใหม ในตลาดงานเหมือง และโรงโม แต อย างใด โรบิทเป นแบรนด อุปกรณ เจาะคุณภาพจากประเทศฟ�นแลนด ที่มากไปด วยคุณภาพ และ เทคโนโลยีที่ ได รับการยอมรับจากผู ใช กว า 115 ประเทศทั่วโลก และยังได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ฟ�นแลนด เฟ�สท นอร ธ ของแนซแดค เฮลซิงกิ ลิมิเต็ด โดยมีรหัสซื้อขายคือ โรบิท (ROBIT) อีกด วย
หากมาพ�ดกันในเร�่องคุณภาพ อุปกรณ เจาะโรบิทจะไม ทำให ผู ใช ผิดหวังทั้งในเร�่องของ วัตถุดิบที่นำมาใช และมาตรฐานในการผลิต โรบิทใช เหล็กสแกนดิเนเว�ยน (Scandinavian Steel) ซึง่ ถือเป นเหล็กกล า ทีม่ คี วามคงทน และแข็งแกร งกว าเหล็กชนิดอืน่ ตามที่ได รบั การ ยอมรับจากทั่วโลก เป นวัตถุดิบในการผลิต นอกจากนั้นในด านมาตรฐานการผลิต โรบิท ยังควบคุมการออกแบบให อุปกรณ เจาะมีความสมดุลที่เหมาะสมระหว างเม็ดกระดุม ทังสเตนคาร ไบด (Tungsten Carbide) กับตัวเสื้อของดอกเจาะหิน เพ�่อเพ��มประสิทธิภาพ ในการเจาะ และเพ��มอายุการใช งานให ยาวนานข�้น มากกว านั้นอุปกรณ เจาะของโรบิท ยังถูกผลิตข�้นภายใต มาตรฐานสากล ISO 9001:2008 ที่ทั่วโลกต างให การยอมรับ January-February 2017
ในด านความครอบคลุมของอุปกรณ เจาะนั้น โรบิทมีความครอบคลุมในด านวัสดุที่ หลากหลาย ทั้งอุปกรณ ที่ใช ในการเจาะอุโมงค การเจาะเพ�่อใช ความร อนใต พ�ภพในการ ทำความร อน และทำความเย็น การก อสร าง และโดยเฉพาะอย างยิ�งอุปกรณ เจาะสำหรับ อุตสาหกรรมเหมืองแร ซึง่ มีดอกเจาะเพ�อ่ การเจาะแบบกระแทกจากด านบน (Top Hammer) การเจาะแบบกระแทกในหลุมเจาะ (Down the Hole) รวมถึงบร�การทางด านการตรวจ วัดความเบี่ยงเบนของหลุมเจาะด วยระบบดิจ�ตอล เป นต น
37