หมดห�วง
งานขุดลึกหรือไกลแค�ไหนก็ตาม
ไม�ว�า
ใช�งานง�าย
ตอบโจทย�ทุกการใช�งานอย�างครบครัน
ประสิทธิภาพสูง
แข็งแกร�ง พร�อมลุยทุกงานไปกับคุณ
ประหยัดสูงสุด
แรงขุดดังใจ สบายเหนือชั้น บริษัท ลีดเวย� เฮฟวี่ แมชชีนเนอร�รี่ จำกัด
(สำนักงานใหญ�การปฏิบัติการ) เลขที่ 1/2 หมู�ที่ 2 ถนนบางนา-ตราด กม.40 ตำบลบางวัว อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24130 ประเทศไทย Sales/ฝ�ายขาย : +66 (0) 38 086 731, +66 (0) 91 119 9220 Service/ฝ�ายบริการ : +66 (0) 91 119 9219 Spare parts/ฝ�ายอะไหล� : +66 (0) 38 086 733 Fax./แฟกซ� : +66 (0) 38 086 730 E-mail/อีเมลล� : info@leadwayheavy.com Website/เว็บไซต� : www.leadwayheavy.com Administrative Head Office สำนักงานใหญ�การบริหาร 102/1, 102/3 หมู�ที่ 6 ต.สันทรายน�อย อ.สันทราย จ.เชียงใหม� 50210 ประเทศไทย Tel/โทรศัพท� : +66 (0) 5349 2721-3 Fax/แฟกซ� : +66 (0) 5349 2724
@Leadway-Sumitomo Leadway Sumitomo WWW
www.leadwayheavy.com
Leadway Call Center 02 021 5577
รับข�อมูลข�าวสาร พร�อมลุ�นรับรางวัลมากมายกับเรา ผ�านทาง Line ได�แล�ววันนี้
9
3 เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2562
คณะกรรมการสภาการเหมืองแร่
1. นายเข็มชาติ ว่องชาญกิจ 2. น.ส.อัญชลี ตระกูลดิษฐ 3. นายดิเรก รัตนวิชช์ 4. นายยุทธ เอีย่ มสะอาด 5. นายวัลลภ การวิวฒ ั น์ 6. นายทวี ทวีสขุ เสถียร 7. นายอนุพงศ์ โรจน์สพ ุ จน์ 8. นายชาญณรงค์ ทองแจ่ม 9. นายศิรชิ ยั มาโนช 10. นายศิรสิทธิ์ สืบศิร ิ 11. นายสุรชิต มานะจิตต์ 12. นายเสกข์สรร ธีระวาณิชย์ 13. นายสุรพล อุดมพรวิรตั น์ 14. นายยงยุทธ รัตนสิร ิ 15. นายณรงค์ จ�ำปาศักดิ ์ 16. นายอภิชาติ สายะสิญจน์ 17. นายสุเทพ สุนทรารัณย์ 18. นายอับดุลลาเตะ ยากัต
ประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่ กรรมการสภาการเหมืองแร่
เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ สมหวัง วิทยาปัญญานนท์
ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสภาการเหมืองแร่ นางอรพิณ เปรือ่ งการ
ทีอ่ ยู่ สภาการเหมืองแร่
222/2 ซอยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถนนวิภาวดี-รังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2275-7684-6 แฟกซ์ 0-2692-3321 E-mail Contact : miningthai@miningthai.org Website : www.miningthai.org ID LINE : miningthai ที่ปรึกษา : เข็มชาติ ว่องชาญกิจ ประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ วัลลภ การวิวัฒน์ รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ และประธานคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ บรรณาธิการ : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล กองบรรณาธิการ : สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล / ทัศนีย์ เรืองติก / อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ / ชุติภา จริตพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภริ มย์ จัดท�ำโดย : บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด เลขที่ 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2354-5333 แฟกซ์ 0-2640-4260 **วารสารเหมืองแร่ จัดท�ำขึน้ เพือ่ ให้ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ป็นประโยชน์แก่สมาชิกสภาการเหมืองแร่ ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานและกิจการของสภาฯ ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ทัง้ นีบ้ ทความต่างๆ ใน วารสารเหมืองแร่ นีเ้ ป็นดุลพินจิ ของกองบรรณาธิการ โดยจะออกทุกๆ 2 เดือน
สารจากเลขาธิการ
สภาการเหมืองแร่ สมหวัง วิทยาปัญญานนท์
ก่อนอืน่ ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการ
สภาการเหมื อ งแร่ ที่ ล งมติ ไ ว้ ว างใจรั บ ผมเข้ า มา ทำ�งานในตำ�แหน่ ง เลขาธิ ก ารสภาการเหมื อ งแร่ ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป วาระ 2 ปี ตลอดจนสมาชิก สภาฯ ได้ต้อนรับ ผมมาทำ�งาน ในฐานะตัวแทนสมาชิกสภาฯ ตามวัตถุประสงค์ ของ พ.ร.บ.สภาการเหมืองแร่ 2526 ในโอกาสแรกผมขอแนะนำ�ตัวให้สมาชิกสภาฯ ทราบว่า ผมเป็นคนทับสะแก ดินแดนแห่งสวนมะพร้าว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีความรู้ทางสายวิศวกรรมศาสตร์มาตลอด ปริญญาตรีเหมืองแร่ PSU ปริญญาโท อุตสาหการ CU ปริญญาเอกการจัดการเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ARU เริ่มทำ�งานที่กองการเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี ปัจจุบันคือกรมอุตสาหกรรม พืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เกือบ 10 ปี แล้ว เข้ามาร่วมงานกับ SCG ประมาณ 27 ปี ผ่านงานที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตวัตถุดิบป้อนโรงงานปูนซีเมนต์ มี เ หมื อ งหิ น ปูน เหมือ งดิน เหมือ งยิป ซัม เหมื อง ถ่านหิน เหมืองไพโรฟิลไลต์ และงานที่เกี่ยวข้องกับ การตัง้ โรงงานปูนซีเมนต์แห่งใหม่ อาทิ การแก้ปญ ั หา การขุดคลองเดินเรือทีเ่ มียนมาร์ การศึกษาความเป็น ไปได้การตั้งโรงงานปูนซีเมนต์ลำ�ปาง ได้เกษียณอายุ จาก SCG เมือ่ 1 มกราคม 2561 สะสางงานส่วนตัว ได้ปกี ว่า ก็มาเป็นตำ�แหน่งเลขาธิการสภาฯ โดยไม่ได้ คาดฝันมาก่อน ใช้เวลาคิด 2 สัปดาห์ในการตัดสินใจ ร่วมงานกับสภาฯ โดยทางสภาฯ นัดหมายให้ผมมา แนะนำ�ตัวและแสดงวิสัยทัศน์ต่อที่ประชุมกรรมการ สภาฯ เขียน Power Point 2 แผ่น แล้วมานำ�เสนอ ในที่ประชุม 18 เมษายน นี้ ตอนที่ เ ป็ น ว่ า ที่ เ ลขาธิ ก ารสภาฯ เมื่ อ 26 เมษายนนี้ ทางกรรมการสภาฯ ได้ ใ ห้ ผ มเข้ า ร่ ว ม ประชุมใหญ่สมาชิกเพื่อสังเกตการณ์และแนะนำ�ตัว ต่อทีป่ ระชุม และเมือ่ 30 เมษายน นีไ้ ด้ให้ผมเข้าร่วม
6
May-June 2019
ประชุมคณะกรรมการแร่ ตาม พ.ร.บ.แร่ เพื่อซึมซับภารกิจงาน ด้วยผม ยั ง ไม่ มี ป ระสบการณ์ ม าก่ อ นว่ า ตำ�แหน่ ง เลขาธิ ก ารนี้ มี ห น้ า ที่ อ ะไร ต้องทำ�อะไร เพื่ออะไร มีอำ�นาจแค่ไหน คล้ายๆ ระบบ OJT หลังจาก เข้าทำ�งานก็ต้องศึกษาเอง และเข้าปรึกษากับกรรมการสภาฯ เอง คงต้อง เป็นแบบ Event Driving Self Learning และเริ่มเรียนรู้ว่า เลขานุการ (Secretary) กับเลขาธิการ (Secretary General) จะแตกต่างกันตรงไหน ดูคำ�เรียกคล้ายๆ กัน เมื่องานประชุมใหญ่สามัญเดือนเมษายนที่ผ่านมา มีประเด็นที่ผม ต้องนำ�มาคิดพิจารณา คือ ท่านอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่ หรือ กพร. บอกความคาดหวังที่มีต่อสภาฯ ต่อหน้าสมาชิก
คล้ายๆ จะส่งสัญญาณมาที่ว่าที่เลขาธิการหลายประเด็น ประเด็นหลัก ก็คือ สร้างคุณค่าสภาฯ ให้สมาชิกเห็นอย่างเป็นรูปธรรม นั่นหมายถึง ท่านแนะนำ�ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงให้ทนั ต่อสมัยทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว โดยไม่ตกขบวน กับขณะรายงานกิจการสภาฯ ประจำ�ปี ก็มผี ทู้ กั ท้วง ให้มีการรับรองจากสมาชิกในประเด็น ผู้ตรวจสอบบัญชีและจำ�นวนเงิน ที่เปลี่ยนแปลงในการประชุมใหญ่สมาชิกวิสามัญครั้งหน้าเดือนสิงหาคม 2562 มีสงิ่ หนึง่ ทีเ่ ป็นข้อวิตกกังวลของผม คือ ข้อมูลจำ�นวนเงินค้างชำ�ระ ค่าบำ�รุงสมาชิกมียอดเงินเป็นจำ�นวนหลายล้านบาท และยังทราบอีกว่า มี ย อดเงิ น รายรับที่ไ ม่ส ามารถทราบว่าสมาชิกรายใดโอนเงิ นมา เป็ น ยอดเงินหลายล้านบาท และสะสมมาหลายปีแล้ว เลยเริม่ เป็นห่วงในเรือ่ ง ผลกระทบต่ อ สถานภาพของสมาชิ ก สภาฯ เหตุ ก ารณ์ แ บบนี้ ถ้ า เป็ น เหตุการณ์เกิดขึ้นใน SCG แค่เดือนเดียว จะถูกผู้บริหารสั่งสอบและให้ ผู้ตรวจสอบภายในดำ�เนินการตรวจสอบทันที ด้วยแนวคิดการบริหารงาน สไตล์ SCG ที่ผมถูกหล่อหลอมมานาน จึงคิดว่าคงเอาฉบับย่อมาใช้งาน เพราะองค์กรสภาการเหมืองแร่ ดูภายนอกเหมือนใหญ่โต เป็น Big Brother แต่เนือ้ ในเป็นองค์กรขนาดเล็ก สมาชิกท่านใดไม่เชือ่ ขอเชิญมาเยีย่ มสำ�นักงาน สภาฯ ได้ในเวลาทำ�การ ยินดีต้อนรับครับ แวะมาทานกาแฟด้วยกัน จากข้อมูลดังกล่าว จึงอยู่ในวาระงานของผมในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ให้เป็นที่ยอมรับแบบสากล คิดว่าน่าจะให้เร็วที่สุดภายใน 1 ปี สารจากเลขาธิการสภาฯ นี้ มีวัตถุประสงค์ให้สมาชิกสภาฯ ทราบ การเคลือ่ นไหวของสภาฯ โดยเฉพาะการขับเคลือ่ นองค์กรของเลขาฯ อย่างมี ส่วนร่วม เจอหน้าผมในการพบปะสมาชิก จะได้มีข้อมูลแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ผมมีหลักคิดว่า สภาฯ เป็นของสมาชิก โดยสมาชิกมอบความ ไว้วางใจให้คณะกรรมการสภาฯ และเลขาฯ มาช่วยบริหารแทนสมาชิก ทีม่ อี ยูป่ ระมาณ 2,500 ราย อยากให้สมาชิกมองสภาฯ เป็นทรัพย์สนิ ของท่าน ทีต่ อ้ งช่วยกันดูแลให้ขบั เคลือ่ นไปด้วยดี รวมกลุม่ กันเพีอ่ ช่วยกันแก้ปญ ั หา และทลายอุปสรรคที่มีอยู่รอบด้าน นับวันยิ่งรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ โดยวิธีการ ที่สร้างสรรค์นวัตกรรม และไม่ผิดกฎหมาย ตลอดจนร่วมรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม สารจากเลขาธิการสภาฯ จากประสบการณ์ทมี่ าทำ�งานจริงทีม่ าเขียน ครบอายุหนึ่งเดือนพอดี แบบมือใหม่หัดขับ พบว่ามีเหตุการณ์มากมาย ที่จะนำ�มาเล่าสู่กันฟังในบางส่วน ดังนี้ การศึกษาโครงสร้างองค์กรสภาฯ สมาชิกลองไปเปิดเว็บสภาฯ ดูผงั องค์กร จะดูเหมือนใหญ่โต แต่ของจริงมีตำ�แหน่งว่างอีกหลายตำ�แหน่ง แต่ผมไม่คิดที่จะประกาศรับสมัครงาน เพราะคิดว่าจำ�นวนคนที่มีอยู่ สามารถรองรับการทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพได้ จากการบริหารจัดการ จึงทดลองจำ�ลองวางผังองค์กรใหม่แบบใช้กันภายในก่อน เพื่อพิสูจน์และ ดูผล ตามหลักวิศวกรรมตรวจสอบยืนยัน (Verification and Validation Engineering) พร้อ มน้อ มนำ�ปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งมาใช้ อี ก ทั้ ง นำ�แนวคิดจิ๋วแต่แจ๋ว (Small is Beautiful) องค์กรแบบแบนราบ (Flat Organization) แนวคิดกระชับงานโดยการจัดการความสูญเปล่า (LEAN
Concepts) ตลอดจนการนำ�แนวคิ ด สำ�นั ก งาน อั จ ฉริ ย ะ (Smart Office) ที่ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี สมัยใหม่ทมี่ ใี ช้กนั แพร่หลายในไทยมาปรับใช้งาน เพือ่ บรรเทาความยุ่งยากในการทำ�งาน จะได้ไม่เสียเวลา กับการแก้ปัญหาประจำ�วัน มาเป็นการใช้เวลากับ การปรับปรุงงานให้มากขึ้น การเริ่มทำ�การศึกษาสิ่งที่ได้ข้อมูลที่เป็นที่วิตก กังวลเมื่อครั้งประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี ว่าทำ�ไมถึง ไม่ ท ราบชื่ อ คนโอนเงิ น ค่ า บำ�รุ ง สมาชิ ก มา พบว่ า สมาชิ ก จำ�นวนหนึ่ ง ให้ ใ ครโอนมาก็ ไ ม่ รู้ ไม่ บ อก เลขสมาชิก ประเภทสมาชิก และชือ่ สมาชิก ตลอดจน ไม่บอกเบอร์มือถือให้สอบถามกลับ แถมโอนเงิน มาแล้วก็ไม่ทวงใบเสร็จรับเงิน ไม่ทวงหนังสือรับรอง สมาชิกภาพ โดยที่สมาชิกไม่ทราบว่า หนังสือรับรอง สมาชิกภาพนีส้ ำ�คัญมากๆ เป็นความเสีย่ งขององค์กร ของสมาชิ ก ระดั บ ต้ น ๆ อาจถึ ง ขั้ น ปิ ด กิ จ การของ สมาชิกเลยทีเดียว ที่แล้วมาทางสภาฯ ก็พยายามถึง ทีส่ ดุ ในการสืบค้นกับธนาคาร แต่ผลทีไ่ ด้ตามทีร่ ายงาน ในที่ ป ระชุ ม ใหญ่ ตอนนี้ ผ มในฐานะเลขาฯ ไม่ นิ่ ง นอนใจ ตามหารายชื่อผู้โอนเงินย้อนหลัง ตั้งเป้าปี พ.ศ. 2562 ต้องหาให้ครบ และปี พ.ศ. 2561 จะ ติ ด ตามให้ ม ากที่ สุ ด ปี พ.ศ. 2560 ย้ อ นหลั ง ไป ผู้ตรวจสอบบัญชีปิดผนึกยกเป็นรายได้อื่นๆ ไปแล้ว สมาชิกควรทบทวนตัวเอง ถ้ามีหลักฐานการโอนเงิน มาให้สภาฯ แจ้งโดยด่วนนะครับ ผมบอกทีมงาน ในสำ�นักงานจะตรวจสอบรายการโอนเงินมาเป็น รายการติดตามทุกเดือน ตั้งแต่ผมมารับตำ�แหน่งนี้ และจะหาทางแก้ ปั ญ หานี้ โดยการวางระบบให้ ถูกต้อง และเมื่อทราบเหตุการณ์เกิดขึ้น ต้องแจ้งผม ทันที เพื่อสืบค้น การสือ่ สารระหว่างสภาฯ กับสมาชิก ควรเป็นไป แบบทันที (Real Time) และเมื่อใดก็ได้ (Any Time) จึงได้พิจารณาไลน์กลุ่มสมาชิกสภาแบบทั่วไป รับได้ ไม่เกิน 400 ราย แต่สมาชิกสภาฯ มีประมาณ 2,500 ราย จึ ง ได้ ป รั บ ไลน์ ก ลุ่ ม แบบสำ�นั ก งาน เสี ย เงิ น รายเดือน รับรายชื่อสมาชิกถึง 25,000 ราย สมาชิก สามารถถามสภาฯ แบบเดี่ยวๆ ได้ และทางสภาฯ แจ้งข่าวสมาชิกแบบมวลรวมได้ แต่สมาชิกก็ยงั สมัคร ไม่ครบ ฝากสมาชิกเข้าไลน์กลุ่มทุกท่านเลยครับ ผมลองไปอ่าน พ.ร.บ.สภาฯ มาตรา 6 สภาฯ มี วัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้ ที่ (5) ส่งเสริม สนับสนุนการ
May-June 2019
7
ศึกษา ค้นคว้า วิจัยและทดลองเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่และธุรกิจ เหมืองแร่ รวมทั้งเผยแพร่ผลงานดังกล่าวให้สมาชิกทราบ จึงเป็นที่มา ของการเปิดเพจ Mining Industry Technology ลองติดตามดูนะครับ การปรับปรุงระบบบัญชีและการเงิน ระบบเดิมใช้วิธีสมุดจด แบบที่ ผมเคยเห็นและตรวจสอบมูลนิธิโรงเจ มูลนิธิฌาปนกิจสถาน และโรงเรียน ทีท่ บั สะแก เกือบ 40 ปีทแี่ ล้ว จึงปรับปรุงเปลีย่ นแปลงตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป สภาฯ จะใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติงานคอมพิวเตอร์มาใช้งาน การศึกษาเว็บไซต์สภาฯ ยังคงเป็นแบบพืน้ ๆ นัน่ คือเป็นระบบสือ่ สาร ทางเดียว กำ�หนดอยูใ่ นขัน้ ออกแบบให้เป็นแบบสองทาง ให้สมาชิกสามารถ สืบค้นข้อมูลตัวเองได้ แบบเว็บไซต์สหกรณ์ออมทรัพย์ เว็บไซต์มหาวิทยาลัย ที่มีระบบสมาชิก ในเบื้องต้นเขานิยมเขียนด้วย pHp, MySQL, Apache ที่มีซอฟต์แวร์แบบฟรีหรือ Open เช่น AppServ, WAMPServer ยังเป็น แผนงานอยู่ครับ เมื่อลองอ่าน พ.ร.บ.สภาฯ และข้อบังคับดู มีเรื่องที่ผมวิตกกังวลอยู่ คื อ มาตรา 21 (2) (4) (5) ต้ อ งผ่ า นการรั บ รองจากสมาชิ ก ในการ ประชุมใหญ่ ก่อนนำ�เข้าให้รฐั มนตรีเห็นชอบก่อนบังคับใช้ ผมขอดูหลักฐาน รัฐมนตรีเห็นชอบ ตามสไตล์ที่เคยชินกับการเป็น Auditor ใน ISO9000 พบว่า มีแต่คนสมมติฐานว่าผ่านแล้ว สงสัยอาจต้องไปค้นทีส่ ำ�นักงานปลัด กระทรวงอุตสาหกรรมต่อไป กำ�ลังคิดอยู่ อาจต้องใช้แนวคิด Re-work ที่สอนกันมาในวิศวกรรมอุตสาหการ อีกอย่างหลักฐานนั้นอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2526-2527 สมาชิก บางท่ านอาจยังไม่ เ กิ ด และถึ ง สมั ย ที่ ต้ อง รับรองใหม่ (Re-certificate) เรือ่ งสุดท้ายทีอ่ ยากจะเล่าสูก่ นั ฟัง คือ ตาม พ.ร.บ.สภาฯ พ.ศ. 2526 ที่ว่าเก่า ความคิดผมยังใช้ได้อยู่ แต่ข้อบังคับที่ออกตาม พ.ร.บ.สภาฯ ทีร่ ฐั มนตรีเห็นชอบก่อนตามมาตรา 21 ทีก่ ล่าวข้างต้น ตามมาตรา 21 (2) ว่าด้วยการเลือกตั้งคณะกรรมการ ผมว่าน่าจะทันสมัย เพราะคล้ายคลึง กับการเลือกตั้งประธานสภาวุฒิที่ผ่านมาเร็วๆ นี้ สำ�หรับมาตรา 21 (4) ข้อบังคับว่าด้วยสมาชิก บางข้ออาจส่อแววว่าอาจขัด พ.ร.บ.สภาฯ ตาม มาตรา 6(4) ว่าด้วยสภา ต้องคุ้มครองและรักษาประโยชน์ของสมาชิก ยังไม่ฟนั ธงนะครับ เพราะสามารถตีความได้ทงั้ สองทาง ผมเลยคิดว่า ทำ�ให้
8
May-June 2019
ข้อบังคับที่มีปัญหานั้นเขียนตีความชัดๆ ทางเดียวว่า ไม่ขดั กับมาตรา 6(4) จะดีกว่าไหมครับ ความคิดผม สมาชิ ก ให้ ด าบผมเพื่ อ ไปถางป่ า ไม่ ค วรเอามา ทำ�ร้ายสมาชิกทีบ่ กพร่องด้วยรูไ้ ม่ถงึ การณ์อย่างรุนแรง ถึงลบชื่อออก เว้นแต่สมาชิกมีความประสงค์จะขอ ลาออกเองครับ ผมไปศึกษาระบบสมาชิกขององค์กร ต่างๆ มีบริบทไม่เหมือนกันและความเสียหายต่อ สมาชิ ก ไม่ ม าก และเสี ย หายต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ ประเทศไม่ เ ยอะ ในเรื่ อ งข้ อ บั ง คั บ เรื่ อ งสมาชิ ก ค้างชำ�ระเงิน ระบบสมาชิกของมหาวิทยาลัยมีระบบ พ้นสภาพและคืนสภาพ ต้องมีคา่ ปรับของสภาวิศวกร เลขสมาชิกเดิมตลอดชีวติ ไม่ขน้ึ เลขใหม่ เสียค่าสมาชิก ทุกๆ 5 ปี ค้างชำ�ระช่วงไหนก็ห้ามประกอบอาชีพ วิศวกรรมช่วงนัน้ มาชำ�ระเงินก็นบั จากปัจจุบนั เป็นต้นไป สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ค้างชำ�ระเกิน 2 ปี ลบชื่อ มาใหม่รับทันที ในขณะที่สภาการเหมืองแร่ ค้างชำ�ระตามเงือ่ นไข เข้าข่ายลบชือ่ เสนอคณะกรรมการ สภาฯ ลงมติลบชื่อ ขอใหม่ให้เลขสมาชิกใหม่ แต่ของ สภาการเหมืองแร่นั้นโยงไปกับ พ.ร.บ.แร่ 2560 ซึ่ง การขาดสมาชิกภาพลบชือ่ ออก หมายถึงอาจหมดสิทธิ์ ได้รบั ใบอนุญาต เนือ่ งจากตกคุณสมบัติ ซึง่ ทาง กพร. จะขอดูหนังสือรับรองทุกปีต่อเนื่อง ซึ่งที่ผมสืบค้นมา มี 1 ราย กำ�ลังจะได้ประทานบัตรอยู่แล้ว ต้องไป นับหนึ่งใหม่ในการเดินเรื่องขอประทานบัตร ด้วยปี ทีย่ นื่ คำ�ขอไม่ได้เป็นสมาชิกสภาการเหมืองแร่ นัน่ อาจ หมายถึงค่าใช้จา่ ยทีจ่ ะต้องมาทำ�ซ้ำ� เวลาทีร่ อคอย และ หากกรณีนมี้ เี กือบ 40% ของสมาชิก ระบบเศรษฐกิจ ประเทศกระทบอย่างร้ายแรง อาจถึงพันล้านบาท หมืน่ ล้านบาทก็มคี วามเป็นไปได้ครับ คิดว่าทางสมาชิก น่าจะมอบความไว้วางใจผมในการจัดระบบให้อยูร่ ว่ มกัน อย่างถ้อยทีถอ้ ยอาศัย พัฒนาเศรษฐกิจประเทศร่วมกัน เลขาฯ รักสมาชิกทุกราย แต่อยากให้สมาชิก รักตัวเองให้มากๆ สภาฯ อยูไ่ ด้เพราะสมาชิกสนับสนุน และสมาชิก อยู่ดีเพราะสภาฯ สามารถทำ�หน้าที่คุ้มครองรักษาได้ อย่างเต็มที่ ไว้ฉบับหน้า เลขาฯ จะนำ�เรื่องราวมาเล่าสู่ กันฟังต่อครับ สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่ มิถุนายน 2562
Contents ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2562
21 6
14
สารจากเลขาธิการสภาการเหมืองแร่
สมหวัง วิทยาปัญญานนท์
26 บทความพิเศษ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ 4.0
อัมพรพรรณ วงษท์ า่ เรือ สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
11 การประชุมคณะกรรมการแร่
การประชุมคณะกรรมการแร่ ครั้งที่ 1/2562 ครั้งที่ 2/2562 และครั้งที่ 3/2562
14 Interview วิษณุ ทับเที่ยง อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) “พัฒนาอุตสาหกรรมแร่แบบบูรณาการอย่างยั่งยืน สร้างสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม กองบรรณาธิการ
21 เหมืองแร่สีเขียว
“สวนพฤกษศาสตร์ผาแดง” พลิกฟื้นเหมืองสังกะสี สู่ Botanic Garden แหง่ ใหม่ในผืนป่าภาคตะวันตก สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล
29 เรื่องเล่าจากชาวเหมือง คนเหมืองมีเรื่องเลา่ รุ่งศักดิ์ อินทร์สิงห์
32
34
ธุรกิจแร่
ลีดเวย์ จับมือ ซานตง เผิงเซียง เปิดตัวรถบรรทุก “PX90ATYQ” ขนาด 35 ตัน รุกตลาดงานเหมืองในไทยและอาเซียน 4 หัวใจหลักของการทำ�โรงโมท่ ี่มีประสิทธิภาพ เครื่องจักร-ระบบการทำ�งาน-การบริหาร และการซ่อมบำ�รุง
36 กฎหมายแร่ 39 แวดวงชาวเหมือง
10
May-June 2019
การประชุมคณะกรรมการแร่ เข็มชาติ ว่องชาญกิจ ประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ ได้มอบหมายให้ ทวี ทวีสุขเสถียร รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่ เป็นผู้แทนเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการแร่ จำ�นวน 3 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการมีการพิจารณาให้ความเห็นชอบ 1) คำ�ขอประทานบัตร จำ�นวน 3 ราย รวม 20 แปลง ลำ�ดับ
เลขที่คำ�ขอ
ชื่อผู้ขอ
ตำ�บล
อำ�เภอ
จังหวัด
1
3/2559
บริษัท อรพิณก่อสร้าง จำ�กัด
ผานกเค้า
ภูกระดึง
เลย
ชนิดแร่ มีอายุ/ปี หินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรมชนิด หินปูนและหินดินดาน เพื่ออุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์
6-19/2554 ซึ ่งร่วมแผนผัง บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง ทับกวาง และ แก่งคอย สระบุรี 2 โครงการทำ� จำ�กัด (มหาชน) ท่าคล้อ เหมืองเดียวกัน 20-24/2554 หินอุตสาหกรรมชนิด 3 ซึ่งร่วมแผนผัง บริษัท ภูมิใจไทยซีเมนต์ จำ�กัด ทับซ้อน แก่งคอย สระบุรี หินปูนเพื่ออุตสาหกรรม โครงการทำ� ปูนซีเมนต์ เหมืองเดียวกัน
2) คำ�ขอต่ออายุประทานบัตร จำ�นวน 3 ราย รวม 4 แปลง ชื่อผู้ขอ เลขที่คำ�ขอ ตำ�บล อำ�เภอ บริษัท มิเนอรัล รีซอร์สเซส 1/2554 1 (25282/14906) ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด หาดส้มแป้น เมือง
ลำ�ดับ
1/2559 (21591/15251) และ 2/2559 2 (21590/15250) ซึ่งร่วมแผนผัง
กิตติ กิตติชนม์ธวัช
ขุนกระทิง
เมือง
จังหวัด ระนอง
ชุมพร
โครงการทำ�เหมือง เดียวกัน
2/2559 บริษัท โชคอนันต์ 3 (27229/15815) ก่อสร้างอุดรธานี จำ�กัด
อุทัยสวรรค์ นากลาง หนองบัวลำ�ภู
ชนิดแร่ ดินขาว ดีบุก และวุลเฟรม
มีอายุ/ปี
หินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง
3) คำ�ขอโอนประทานบัตร จำ�นวน 2 ราย รวม 2 แปลง มีอายุ/ปี ตำ�บล อำ�เภอ จังหวัด ชนิดแร่ ชื่อผู้ขอ หินอุตสาหกรรม นเรศวร์ เลขะกุล 1/2561 1 ขอรั บ โอนประทานบั ต รของ ลิ ด ล เมื อ ง ยะลา ชนิดหินปูนเพื่อ (12342/15235) มนู เลขะกุล โดยการตกทอด อุตสาหกรรมก่อสร้าง วชิราภรณ์ กาญจนะ ขอโอน นครศรี 1/2561 2 ประทานบัตรให้แก่ บริษัท ถ้ำ�พรรณรา ถ้ำ�พรรณรา ธรรมราช ยิปซัม และแอนไฮไดรต์ (33081/15908) ดาราใต้ เหมืองแร่ จำ�กัด
ลำ�ดับ
เลขที่คำ�ขอ
May-June 2019
11
4) คำ�ขออาชญาบัตรพิเศษ จำ�นวน 1 ราย รวม 3 แปลง ลำ�ดับ
เลขที่คำ�ขอ
1
1-3/2559
ชื่อผู้ขอ
ตำ�บล
อำ�เภอ
บริษัท สยามโลหะ ถ้ำ� กระโสม อุตสาหกรรม จำ�กัด กะไหล และท่าอยู่ ตะกั่วทุ่ง
จังหวัด พังงา
ชนิดแร่ มีอายุ/ปี ดีบุก ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ลิเธียม 5 และทังสเตน
ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 พิจารณาให้ความเห็นชอบ 1) คำ�ขอประทานบัตร จำ�นวน 8 ราย รวม 12 แปลง
12
ชนิดแร่ มีอายุ/ปี หินอุตสาหกรรม สามัคคี น้ำ�โสม อุดรธานี ชนิดหินปูนเพื่อ 22 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม เอราวัณ เอราวัณ เลย ชนิดหินปูนเพื่อ 23 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม ทับไทร โป่งน้ำ�ร้อน จันทบุรี ชนิดหินปูนเพื่อ 26 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม พลับพลาไชย อู่ทอง ชนิดหินปูนเพื่อ สุพรรณบุรี 23 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม กรูด กาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี ชนิดหินปูนเพื่อ 30 อุตสาหกรรมก่อสร้าง
ลำ�ดับ
เลขที่คำ�ขอ
ชื่อผู้ขอ
1
5/2557
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ศิลาวัฒน์
2
15/2558
บริษัท เพชรเมืองเลย อสังหาริมทรัพย์ จำ�กัด
3
1/2559
บริษัท สหศิลาแก้ว จำ�กัด
4
3/2557
บริษทั ศิลามาตรศรี จำ�กัด
5
17/2557
บริษัท สุราษฎร์ผาทอง
6
23-27/2553 ซึ่งร่วมแผนผัง โครงการทำ� เหมืองเดียวกัน
บริษัท ปูนซีเมนต์เอเชีย จำ�กัด (มหาชน)
7
2/2559
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด โรงงานโม่บดหินมุ่งเจริญ
นาบัว
เมือง
สุรินทร์
8
3/2556
ปิ่นชัย พิษณุวงษ์
ประทัดบุ
ปราสาท
สุรินทร์
จำ�กัด
May-June 2019
ตำ�บล
อำ�เภอ
พุกร่าง
พระพุทธบาท
จังหวัด
สระบุรี
หินอุตสาหกรรม 5 แปลง ชนิดหินปูนเพื่อ แปลงละ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ 27 ปี หินอุตสาหกรรม ชนิดหินบะซอลต์เพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม ชนิดหินบะซอลต์เพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง
13 10
ครั้งที่ 3/2562 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2562 พิจารณาให้ความเห็นชอบ 1) คำ�ขอประทานบัตร จำ�นวน 6 ราย รวม 7 แปลง ลำ�ดับ เลขที่คำ�ขอ 1 8/2559 2
4/2556
ชื่อผู้ขอ บริษัท ศิลาเลิศ จำ�กัด บริษัท เอเชียเหมืองแร่ อุตสาหกรรม จำ�กัด
3
4/2559
ชัยวัฒน์ วงศ์อารีย์สันติ
4
5/2559
ชัยวัฒน์ วงศ์อารีย์สันติ
5
2/2559
บริษัท ชาญยุทธการศิลาเลย (1997) จำ�กัด
6
1/2545 และ 6/2546
บริษัท ร็อคส์ ไมน์นิ่ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด (เดิมชื่อ บริษัท ร็อค ไมน์นิ่ง จำ�กัด)
อำ�เภอ ตำ�บล จังหวัด มีอายุ/ปี ชนิดแร่ ปากแพรก ดอนสัก สุราษฎร์ธานี 22 โดโลไมต์ นครศรี- เฟลด์สปาร์ และควอตซ์ 25 นบพิตำ� นบพิตำ� ธรรมราช หินอุตสาหกรรม นาบัว เมือง สุรินทร์ ชนิดหินบะซอลต์เพื่อ 13 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม นาบัว ชนิดหินบะซอลต์เพื่อ เมือง สุรินทร์ 10 อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม เอราวัณ เอราวัณ ชนิดหินปูนเพื่อ เลย 27 อุตสาหกรรมก่อสร้าง โคกตูม
เมือง
ลพบุรี
แคลไซต์
12
2) คำ�ขอต่ออายุประทานบัตร จำ�นวน 2 ราย รวม 2 แปลง ลำ�ดับ
เลขที่คำ�ขอ
ชื่อผู้ขอ
ตำ�บล
อำ�เภอ
จังหวัด
1
3/2553 (23437/15533)
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ณัฐพงศ์ศิลา
บางเตย
เมือง
พังงา
2
1/2560 (23935/15157)
อรัญ จิตติถาวร
หน้าเขา
เขาพนม
กระบี่
อำ�เภอ
ตำ�บล
จังหวัด
ชนิดแร่ มีอายุ/ปี หินอุตสาหกรรม 9 ชนิดหินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง หินอุตสาหกรรม 10 ชนิดหินปูนเพื่อ อุตสาหกรรมก่อสร้าง
3) คำ�ขอโอนประทานบัตร จำ�นวน 1 ราย รวม 1 แปลง ลำ�ดับ
เลขที่ค�ำ ขอ
ชื่อผู้ขอ มัณฑนา ลี้ตระกูล 1/2561 1 โอนให้แก่ (20670/16297) บริษัท เอ็มแพค ไมนิง่ จำ�กัด
ชนิดแร่ มีอายุ/ปี หินอุตสาหกรรมชนิด บ้านแปะ จอมทอง เชียงใหม่ หินปูนเพื่ออุตสาหกรรม ก่อสร้าง
May-June 2019
13
Interview l
กองบรรณาธิการ
วิษณุ ทับเที่ยง อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)
“พัฒนาอุตสาหกรรมแร่แบบบูรณาการอย่างยัง่ ยืน สร้างสมดุลทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม”
หลัง
จากที่ วิษณุ ทับเทีย่ ง ได้รบั การโปรดเกล้าฯ ให้ ดำ�รงตำ�แหน่งอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.) เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2561 จวบจน ถึ ง ปั จ จุ บั น เป็ น ระยะเวลาประมาณปี เ ศษ นั บ เป็ น ช่ ว งที่ อุ ต สาหกรรมแร่ ข องไทยได้ มี ก ารเปลี่ ย นผ่ า นไปสู่ มิ ติ ใ หม่ เหมืองแร่ไทย สร้างเหมืองแร่ทม่ี ธี รรมาภิบาล และเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมอย่างแท้จริง ผ่านแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560-2564 การบังคับใช้ พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2560 การ จัดตั้งคณะกรรมการแร่ ซึ่งในปี พ.ศ. 2562 นี้ ได้อนุมัติ ประทานบัตรเหมืองแร่ 59 แปลง หลังจากปีที่ผ่านมาไม่มี การอนุมัติประทานบัตรและอาชญาบัตรใดๆ เลย ความสำ�เร็จดังกล่าวนี้ อยู่ภายใต้การขับเคลื่อนและ การบริหารงานอย่างรู้ลึกและเข้าใจของ วิษณุ ทับเที่ยง ซึ่งมีประสบการณ์และคร่ำ�หวอดในวงการอุตสาหกรรมแร่ มาอย่างยาวนาน และพร้อมที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมแร่ แบบบูรณาการอย่างยั่งยืน สมดุลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
กพร. วางทิศทางยุทธศาสตร์เชื่อมโยง และสอดคล้องกับแผนระดับชาติ พัฒนาอุตสาหกรรมแร่อย่างยั่งยืน วิษณุ ทับเทีย่ ง อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.) กล่าวว่า ในฐานะคนเหมืองแร่ ทีท่ ำ�งานและอยูใ่ นวงการนีม้ านาน ผมมองเห็นพัฒนาการ
14
May-June 2019
ของ กพร. มาโดยตลอด และคิดว่าเรามีความก้าวหน้าในงานอุตสาหกรรม เหมื อ งแร่ อุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานและอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งค่ อ นข้ า งดี เนือ่ งจาก กพร. มีบคุ ลากรอยูม่ ากทีเ่ ชีย่ วชาญในด้านนี้ รวมทัง้ งานโลจิสติกส์ ซึ่งเคยอยู่ที่น่ีมาก่อน ทั้งนี้ กพร. มีแนวทางในการทำ�งานผ่านการวาง ทิศทางยุทธศาสตร์ให้เชือ่ มโยงและสอดคล้องกับแผนระดับชาติมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมแร่แบบบูรณาการอย่างยัง่ ยืน และสมดุล ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม จากกรอบของยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มี 2 ยุทธศาสตร์หลักสำ�คัญ 2 ด้าน ที่มีความเชื่อมโยงกับ กพร. คือ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และยุทธศาสตร์ ด้านการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้อง กับทิศทางของยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแร่ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ที่ต้องการให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรแร่ในประเทศพัฒนาสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม โดยภาพรวมของยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 2 ด้านเองก็มี เป้าหมายในการยกระดับศักยภาพของประเทศบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ และ กพร. ได้มีการดำ�เนินการที่สอดคล้องกับแนวคิด ทั้ง 3 ประการ ได้แก่ 1) ต่อยอดอดีต ทรัพยากรแร่ถือว่ามีความโดดเด่นและ หลากหลายมาตั้งแต่อดีต แร่ถูกนำ�มาใช้เป็นวัตถุดิบพื้นฐานใน การผลิตสิ่งต่างๆ เช่น การก่อสร้างที่อยู่อาศัย เครื่องประดับ และยารั ก ษาโรค เป็ น ต้ น ซึ่ ง ช่ ว ยสร้ า งมู ล ค่ า และพั ฒ นา เศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรแร่ มีลักษณะเฉพาะตัว คือ มีแหล่งกำ�เนิดเฉพาะบางพื้นที่ เท่ า นั้ น เคลื่ อ นย้ า ยแหล่ ง ไม่ ไ ด้ และส่ ว นใหญ่ ก ารนำ� ทรัพยากรแร่มาใช้จำ�เป็นต้องก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพของสภาพแวดล้อมในพื้นที่แหล่งแร่ด้วย “ประเด็นเหล่านี้ กพร. ทราบเป็นอย่างดีจึงมีความ พยายามอย่างต่อเนือ่ งในการพัฒนาอุตสาหกรรมแร่ ภายใต้ การกำ�กับดูแลและส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมและการ มีส่วนร่วมของชุมชน ตลอดจนพยายามที่จะคิดค้นและสร้าง เทคโนโลยีพร้อมทัง้ นวัตกรรมต่างๆ ให้เกิดการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรแร่อย่างคุ้มค่าและอยู่ร่วมกับชุมชนได้ ดังวิสัยทัศน์ กพร. ที่ว่า “มุ่งสู่การจัดการอุตสาหกรรมแร่และอุตสาหกรรม พื้นฐานให้มีมาตรฐานในระดับสูง เป็นมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงกับความต้องการใช้วัตถุดิบของภาคอุตสาหกรรม” 2) ปรั บ ปั จ จุ บั น กพร. ได้ กำ�หนดยุ ท ธศาสตร์ ก ารยกระดั บ อุ ต สาหกรรมแร่ แ ละอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานให้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิง่ แวดล้อม ซึง่ มุง่ เน้นสร้างความสมดุลของการประกอบการอุตสาหกรรม
เหมืองแร่ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน ในอนาคต ทัง้ นี้ กพร. ยังคงดำ�เนินการอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการฯ เข้าสู่มาตรฐาน เหมืองแร่สีเขียว (Green Mining) เพื่อมุ่งให้สถาน ประกอบการมีความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ชุมชน และสังคม การกำ�จัด ลด ป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภั ย และสุ ข ภาพอนามั ย ของบุคลากรและชุมชนใกล้เคียง มีพื้นที่สีเขียวและ ทั ศ นี ย ภาพเรี ย บร้ อ ยสะอาดตา มี ค วามโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ และใช้ทรัพยากรแร่อย่างคุม้ ค่า รวมทัง้ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการมีมาตรฐานความรับผิดชอบ ต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแร่ (CSRDPIM) อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ มุง่ หวังว่าชุมชนโดยรอบบริเวณ การประกอบการเหมื อ งแร่ จ ะมี ค วามเชื่ อ มั่ น ใน อุ ต สาหกรรมเหมื อ งแร่ แ ละอยู่ ร่ ว มกั น ได้ ม ากขึ้ น ขณะเดี ย วกั น ก็ ยั ง พยายามที่ จ ะพั ฒนาระบบการ อนุ ญ าตกำ�กั บ ดู แ ลโดยอาศั ย การประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยี ต่ า งๆ เข้ า มาช่ ว ยให้ เ กิ ด ความสะดวก รวดเร็ ว แม่ น ยำ� และโปร่ ง ใสมากขึ้ น ในอนาคต 3) สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต จากยุทธศาสตร์ กพร. ด้าน “การเพิ่มความสามารถในการจัดหาและ เชือ่ มโยงการใช้วตั ถุดบิ ให้แก่ภาคอุตสาหกรรม” ซึง่ มี เป้าประสงค์เพื่อให้อุตสาหกรรมเป้าหมายได้รับการ จัดหาและเชือ่ มโยงการใช้วตั ถุดบิ อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพ เป็นการย้ำ�ชัดว่า กพร. พยายามพัฒนา และบริหารจัดการวัตถุดิบโดยอาศัยการบูรณาการ ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน รวมทั้งการพัฒนาการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการข้อมูล แบบ Big Data เข้ามาเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการ วิเคราะห์/ประเมิน Demand และ Supply ของ วัตถุดิบแต่ละประเภท ทั้งวัตถุดิบจากทรัพยากรแร่ วัตถุดิบจากการรีไซเคิล และวัตถุดิบขั้นสูง (Natural Raw Materials / Recycle / Advanced Raw Materials) เพือ่ ส่งเสริมศักยภาพในการจัดหาวัตถุดบิ รองรับภาคอุตสาหกรรม ทั้ง First S-Curve และ New S-Curve ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเป้าหมายตาม นโยบายของรัฐบาลที่จะขับเคลื่อนให้ประเทศไทย หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) ได้ในระยะยาว
May-June 2019
15
ชูแนวคิดพัฒนาพื้นที่ที่ผ่านการทำ�เหมือง ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอนาคต นอกจากนี้ กพร. ยั ง ให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพที่ใช้วัตถุดิบจากแร่ เช่น อุตสาหกรรมปุ๋ย อุตสาหกรรมก่อสร้าง รวมทั้งการ สนับสนุนการจัดหาวัตถุดิบเพื่อรองรับการพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น EEC เป็นต้น เพื่อมุ่งให้เกิด ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในประเทศโดยรวม “จะเห็นได้ว่า กพร. มีความพยายามในการ พัฒนาอย่างเป็นขัน้ ตอนและเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแร่ 20 ปี (2560-2579) และแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ ระยะ 5 ปี (2560-2564) และในอนาคตเรามีแนวคิด ทีจ่ ะพัฒนาพืน้ ทีท่ ผี่ า่ นการทำ�เหมืองแล้วให้เป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วเชิงนิเวศเพือ่ การเรียนรูแ้ ละสร้างภาพลักษณ์ ที่ดี จะมีการสร้างเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการใช้ ทรัพยากรแร่ให้คมุ้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุด พร้อม การประกอบการอุตสาหกรรมแร่ทเี่ ป็นมิตรกับชุมชน และสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง กพร. จะยังคงเดินหน้าเพื่อ พัฒนาวิทยาการและกลไกการบริหารจัดการต่างๆ เพือ่ มุง่ สูก่ ารพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทเี่ ป็นมิตร กับชุมชนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป”
กำ�หนดมาตรการจัดการฝุน่ จากธุรกิจเหมืองแร่ และโรงโม่หิน พร้อมตรวจสอบ-ให้ค�ำ แนะนำ� ไม่น้อยกว่า 500 แห่งต่อปี เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ การประกอบกิจการเหมืองแร่ และโรงโม่หินย่อมมีกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบ ด้านฝุ่นละออง ซึ่งหากไม่มีการควบคุมและแก้ไข ปัญหาดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำ�คาญ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ในบริเวณใกล้เคียงได้ ประกอบกับในช่วงต้นปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา ประเทศไทยเผชิญปัญหาฝุ่นพิษ ขนาดเล็ก PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครและหลาย จังหวัด ในเรื่องนี้ วิษณุ กล่าวว่า ที่ผ่านมา กพร. ได้ กำ�หนดมาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ให้ ผู้ ป ระกอบการเหมื อ งแร่ แ ละ โรงโม่หินปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขในการอนุญาต และตามภารกิจของ กพร. ได้มกี ารส่งเจ้าหน้าทีเ่ ข้าไป ตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการฯ การเฝ้าระวัง คุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยการตรวจวัดฝุ่นละอองจาก 16
May-June 2019
แหล่งกำ�เนิด และการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ พร้อมทั้ง ให้คำ�แนะนำ�สำ�หรับปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติตามมาตรการฯ และระบบ ควบคุมฝุน่ ละออง เพือ่ ให้การจัดการฝุน่ ละอองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสถานประกอบการจะได้รับการตรวจสอบและให้คำ�แนะนำ�อย่างทั่วถึง ทั่วประเทศ นอกจากนี้ ในช่วงสถานการณ์ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา กพร. ได้ประสาน สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดทุกจังหวัดให้แจ้งสถานประกอบการเหมืองแร่ โรงโม่หิน ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้มีการประกอบกิจการโดยปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด และให้ ปฏิบัติตามมาตรการเร่งด่วน ได้แก่ การทำ�เหมืองแร่ ให้ควบคุมการระเบิด ให้เป็นไปตามหลักวิชาการ ฉีดพรมน้ำ�และปรับปรุงเส้นทางขนส่งแร่ ปลูก ต้นไม้รอบสถานประกอบการ การประกอบกิจการโรงโม่ ให้ตรวจสอบ ระบบการกำ�จัดฝุน่ ของสถานประกอบการ การทำ�ความสะอาดบริเวณพืน้ ที่ สถานประกอบการ ลานเก็บกองแร่และมูลดินทราย พร้อมทั้งฉีดพรมน้ำ� เพื่ อ ลดการฟุ้ ง กระจายของฝุ่ น และการขนส่ ง ให้ มี ก ารปิ ด คลุ ม ผ้ า ใบ รถบรรทุกก่อนออกจากสถานประกอบการ ควบคุมความเร็วรถ พร้อมทั้ง ปรับปรุงเส้นทางขนส่งแร่และทำ�ความสะอาดอย่างสม่ำ�เสมอ ทั้งนี้ได้ให้ผู้ประกอบการรายงานผลการดำ�เนินการให้สำ�นักงาน อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด (สอจ.) ทราบทุ ก สั ป ดาห์ จ นกว่ า สถานการณ์ จ ะ คลีค่ ลาย ซึง่ กพร. ก็ได้รบั ความร่วมมือจาก สอจ. และผูป้ ระกอบการในการ ดำ�เนินการเพื่อจัดการฝุ่นละอองจากการประกอบกิจการเหมืองแร่และ โรงโม่หนิ เป็นอย่างดี โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการ ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ทัง้ กลุม่ โรงโม่และกลุม่ โรงงานปูนซีเมนต์ ซึง่ แก้ปญ ั หาฝุน่ PM 2.5 ได้อย่างดี มีระบบสเปรย์น้ำ� ช่วยลดฝุน่ ในโรงโม่ การกวาดล้างถนน มีเครือ่ ง วัดฝุ่น ทำ�ให้ทราบค่าฝุ่นโดยตลอด มีการตั้งไลน์กลุ่มเพื่อรายงานผลค่าฝุ่น ตลอด ทั้งนี้ได้กำ�ชับให้กลุ่มผู้ประกอบการหน้าพระลานเดินหน้าทำ�ต่อไป อย่างเต็มที่ และเดินหน้าการปรับปรุงต่างๆ ต่อไปให้สุด เพื่อเป็นต้นแบบ ให้ที่อื่นๆ ด้วย
มิติใหม่ เหมืองแร่ ไทย สร้างเหมืองแร่ที่มีธรรมาภิบาล เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. 2560-2564 ได้ให้ความ สำ�คัญต่อการประกอบกิจการเหมืองแร่ดว้ ยหลักธรรมาภิบาลและเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม โดยสร้างความตืน่ ตัวให้ผปู้ ระกอบการเหมืองแร่ไทยหันมา ให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการประกอบกิจการเหมืองแร่ทมี่ ธี รรมาภิบาล และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ผ่านการประกาศเจตนารมณ์ในเวทีสาธารณะ และติ ด ตามผลการดำ�เนิน งานการเป็น เหมือ งแร่ ที่ มี ธ รรมาภิ บ าลและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างมิติใหม่เหมืองแร่ไทย วิษณุ กล่าวว่า กพร. ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญดังกล่าว จึงนำ� “หลักธรรมาภิบาล” ทัง้ 6 หลักการ ได้แก่ หลัก 1) หลักนิตธิ รรม 2) หลัก คุณธรรม 3) หลักความโปร่งใส 4) หลักการมีส่วนร่วม 5) หลักความ รับผิดชอบ และ 6) หลักความคุ้มค่า ซึ่งสำ�นักงาน ก.พ. กำ�หนดไว้มา ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่และการกำ�กับดูแลการ ประกอบกิจการเหมืองแร่ เพือ่ สร้างเหมืองแร่ทมี่ ธี รรมาภิบาลและเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม เพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมแร่อย่างยัง่ ยืนมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีนโยบาย โครงการ และกิจกรรมที่สำ�คัญ อาทิ การส่งเสริมการ เพิ่มมูลค่าให้กับแร่และผลิตภัณฑ์แร่ การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด การยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการ การประกาศนโยบายเหมืองแร่
สีเขียว (Green Mining Policy) และจัดทำ�มาตรฐาน เหมืองแร่สีเขียว (Green Mining Standard) โดย สถานประกอบการเหมื อ งแร่ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานเหมืองแร่สเี ขียวต้องได้รบั การประเมินตาม หลักเกณฑ์ทั้งหมด 6 ด้าน คือ 1) มีความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นที่ตั้ง 2) ลด ป้องกัน และแก้ ไ ขผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม 3) ดู แ ลความ ปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของคนงานและชุมชน ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง 4) มีพื้นที่สีเขียวและทัศนียภาพ เรียบร้อยสะอาดตา 5) มีความโปร่งใสและตรวจสอบ ได้ และ 6) มีการใช้ทรัพยากรแร่อย่างคุ้มค่า ปัจจุบันมีสถานประกอบการที่ผ่านการรับรอง เป็นเหมืองแร่สเี ขียวแล้วจำ�นวน 219 ราย ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน CSR-DPIM ไปแล้ ว 103 ราย และ เป็นสมาชิกเครือข่าย CSR Network กว่า 75 ราย โดย กพร. ยังคงดำ�เนินการเพื่อสร้างเหมืองแร่ที่มี ธรรมาภิบาลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อไปอย่าง ต่อเนือ่ ง เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ซงึ่ ถือเป็น อีกหนึ่งภาคส่วนที่สำ�คัญของการขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจของประเทศให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่าง สมดุลและยั่งยืนต่อไป May-June 2019
17
10 ปี CSR-DPIM ปลูกจิตสำ�นึก ผู้ประกอบการเหมืองแร่ รับผิดชอบต่อสังคม บนหลักการ 7 ประการ นอกจากการสร้างเหมืองแร่ที่มีธรรมาภิบาล และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว กรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ในฐานะหน่วยงานที่กำ�กับ ดูแลอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน ได้ดำ�เนินโครงการงานด้านมาตรฐานสากลเพือ่ ความ รับผิดชอบต่อสังคมสำ�หรับธุรกิจเหมืองแร่ (CSRDPIM) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบันได้ดำ�เนิน โครงการมาเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้สถานประกอบการเหมืองแร่และอุตสาหกรรม พืน้ ฐาน สามารถประกอบการได้อย่างยัง่ ยืน เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมและอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างเป็นสุข วิษณุ กล่าวว่า มาตรฐาน CSR-DPIM ได้รับ การพัฒนามาจากมาตรฐานสากล ISO 26000 ซึ่ง ได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับการประกอบการ อุ ต สาหกรรมแร่ โดยให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ หลั ก การ 7 ประการ ประกอบด้วย 1) หลักการความรับผิดชอบ ทีต่ รวจสอบได้ 2) หลักการความโปร่งใส 3) หลักการ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งมี จ ริ ย ธรรม 4) หลั ก การยอมรั บ ถึ ง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย 5) หลักการเคารพ
18
May-June 2019
ต่อหลักนิติธรรม 6) หลักการเคารพต่อหลักปฏิบัติสากล และ 7) หลักการ เคารพต่อสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถนำ�เอาหลักการตาม มาตรฐานดั ง กล่ า วมาประยุ กต์ ใ ช้ ใ นองค์ ก รตามศั ก ยภาพและขีด ความ สามารถของตน โดยองค์กรขนาดเล็กอาจประยุกต์ใช้เฉพาะข้อกำ�หนด พื้นฐาน ขณะที่องค์กรขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพและขีดความสามารถสูง อาจประยุกต์ใช้ข้อกำ�หนดเพิ่มเติม เพื่อให้การประกอบการมีมาตรฐานที่ สูงขึ้น สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการ และสร้าง สภาพแวดล้อมที่ดีในบริเวณสถานประกอบการและชุมชนโดยรอบ
ใช้งบ 23.1 ล้านบาท แต่ผลักดันให้เกิดโครงการ ที่รับผิดชอบต่อสังคมมูลค่า 332.64 ล้านบาท ในระยะเวลา 10 ปี ทีผ่ า่ นมา กพร. ได้รว่ มกับสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ ดำ�เนินการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐาน CSR-DPIM มาอย่าง ต่อเนื่อง ผลของการดำ�เนินโครงการ มีสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน CSR-DPIM จำ�นวน 111 แห่ง และในปี พ.ศ. 2555 ได้เริ่ม จัดตั้งเครือข่าย CSR-DPIM ขึ้น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและส่งเสริม ความร่วมมือในระดับเครือข่ายของผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CSR-DPIM ปัจจุบันมีสมาชิกเครือข่ายจำ�นวน 84 แห่ง และตลอดเวลา หลังจากการจัดตัง้ เครือข่าย สมาชิกได้มกี ารรวมกลุม่ กัน ก่อให้เกิดกิจกรรม แลกเปลีย่ นเรียนรู้ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเครือข่ายอย่างต่อเนือ่ ง ในด้านเศรษฐกิจพบว่า งบประมาณทีร่ ฐั ใช้ไปในการส่งเสริมมาตรฐาน CSR-DPIM ที่ผ่านมาเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 23.1 ล้านบาท แต่ทำ�ให้เกิด โครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมระหว่างผู้ประกอบการและชุมชน
เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 332.64 ล้านบาท นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดการ จ้างงาน สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้ชุมชน และทำ�ให้เกิดเงินหมุนเวียน ซึ่งทำ�ให้เศรษฐกิจในชุมชนดีขึ้นอีกด้วย ผลประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ดังกล่าวทำ�ให้ภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรม พืน้ ฐานดีขนึ้ ประชาชนโดยรอบพืน้ ทีเ่ หมืองแร่รบั รูแ้ ละตระหนักถึงบทบาท ของการช่วยเหลือสังคมของผู้ประกอบการเหมืองแร่และเกิดการยอมรับ ในอุตสาหกรรมด้านนี้มากยิ่งขึ้น
เผยมีสถานประกอบการทีผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน CSR-DPIM 10% เตรียมออกนโยบายให้ผู้ประกอบการทั้งหมดเข้าร่วมโครงการ วิษณุ กล่าวว่า ปัจจุบันมีสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CSR-DPIM เพียง 10 เปอร์เซ็นต์ของสถานประกอบการที่อยู่ในความดูแล ของ กพร. ทั้งหมด ดังนั้นก้าวต่อไปของการพัฒนามาตรฐาน CSR-DPIM จะเป็นการขยายผลโครงการให้ครอบคลุมสถานประกอบการทั้งหมด โดย การออกเป็นนโยบายให้สถานประกอบการเหมืองแร่และอุตสาหกรรม พื้นฐานทั้งหมดต้องเข้าร่วมโครงการหรือต้องนำ�มาตรฐานดังกล่าวไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และมาตรฐาน CSR-DPIM อาจแบ่งออกเป็น
ระดับต่างๆ 5 ระดับ เช่น ระดับที่ 1 มีความรู้ด้าน CSR คือสถานประกอบการทีผ่ า่ นการอบรมหลักสูตร CSR Beginner ระดับที่ 2 ปฏิบัติการ CSR คือ สถานประกอบการที่นำ�มาตรฐาน CSR ไปประยุกต์ ใช้บางส่วน ระดับที่ 3 ผ่านมาตรฐาน CSR คือ สถานประกอบการที่ผ่านมาตรฐาน CSR ทั้งระบบ และได้การรับรองจาก กพร. ระดับที่ 4 วัฒนธรรม CSR คือ สถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน CSR อย่างต่อเนื่องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี และ ระดับ 5 เครือข่าย CSR คือสถานประกอบการ ที่เป็นสมาชิกเครือข่าย CSR ที่คอยประชาสัมพันธ์ และเป็นพี่เลี้ยงให้กับสถานประกอบการอื่นๆ นอกจากนี้ ยังต้องอบรมเจ้าหน้าที่ของ กพร. เพื่ อ ให้ ส ามารถเป็ น ผู้ ป ระเมิ น การปฏิ บั ติ ต าม มาตรฐาน CSR ของผู้ประกอบการได้ ซึ่งจะช่วยให้ สถานประกอบการของกรมฯ เข้าร่วมและผ่านเกณฑ์ มาตรฐานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
May-June 2019
19
โครงการ “เหมืองแร่ปลอดภัย ห่วงใยประชาชน” ส่งเสริมภาพลักษณ์เหมืองแร่รับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2560 กพร. ได้ ดำ�เนินงานเชิงรุกในการปลุกจิตสำ�นึก และสร้างความ รับผิดชอบต่อการประกอบการทัง้ ด้านความปลอดภัย สุขภาพอนามัยของประชาชน รวมทั้งเป็นมิตรต่อ สิ่ ง แวดล้ อ มและชุ ม ชนโดยรอบ เพื่ อ กระตุ้ น และ สนับสนุนให้สถานประกอบการเหมืองแร่มกี ารเฝ้าระวัง สุ ข ภาพของประชาชน โดยการตรวจสุ ข ภาพของ ประชาชนภายใต้กองทุนเฝ้าระวังสุขภาพตามเงือ่ นไข แนบท้ายประทานบัตร และส่งเสริมให้อุตสาหกรรม เหมืองแร่เป็นอุตสาหกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้การประกอบการเหมืองแร่ อยู่ร่วมกับสังคมอย่างเป็นสุข วิษณุ กล่าวว่า กพร. ได้รเิ ริม่ โครงการ “เหมืองแร่ ปลอดภัย ห่วงใยประชาชน” เมือ่ ปี พ.ศ. 2561 ได้รบั ความร่ ว มมื อ จากสถานประกอบการเหมื อ งแร่ ทัว่ ประเทศ โดยมีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมรวมทัง้ สิน้ 23,397 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2562 กำ�หนดให้จัด
20
May-June 2019
กิจกรรมระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2561 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 โดยสำ�นักงานอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต (สรข.) 1-7 สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ร่วมกับผู้ประกอบการเหมืองแร่ทั่วประเทศ จำ�นวนประชาชนทีไ่ ด้รบั การตรวจสุขภาพและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ จำ�นวน ทั้งสิ้น 31,657 คน กิจกรรมหลักคือการตรวจสุขภาพของประชาชน ได้แก่ วัดความดันโลหิต การตรวจเอกซเรย์ปอด เป่าปอด เป็นต้น และรับฟัง คำ�แนะนำ�จากแพทย์ รวมทั้งมีกิจกรรมอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและ สังคม เช่น นิทรรศการการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมรอบเหมืองแร่ การจัดแสดงผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้และต่อยอดจากการทำ�เหมือง บริการ ตรวจวัดสายตาประกอบแว่นสำ�หรับผู้มีปัญหาทางสายตา ตรวจสุขภาพ ช่องปาก ตัดผม กิจกรรมวันเด็ก มอบทุนการศึกษา มอบอุปกรณ์ทางการ เกษตร และส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย เป็นต้น การจัดกิจกรรมโครงการฯ ได้รับความร่วมมือและได้รับความสนใจ จากผู้ประกอบการ ชุมชน ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี อีกทั้งกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้เห็นว่า อุตสาหกรรมเหมืองแร่เป็นอุตสาหกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ การดูแลสุขภาพของประชาชนโดยรอบสถานประกอบการ ให้มีสุขภาพดี “กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่จงึ ขอเชิญชวนผูป้ ระกอบการ เหมืองแร่และโรงโม่หินทั่วประเทศ จัดกิจกรรมพร้อมกันในช่วงเทศกาล ปีใหม่ ภายใต้โครงการ “เหมืองแร่ปลอดภัย ห่วงใยประชาชน” เป็นประจำ� ทุกปี” วิษณุ กล่าวทิ้งท้าย
เหมืองแร่สีเขียว l
สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล
“สวนพฤกษศาสตร์ ผ าแดง” พลิกฟื้นเหมืองสังกะสีสู่ Botanic Garden แห่งใหม่ในผืนป่าภาคตะวันตก “โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดตาก” เป็นโครงการทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับไว้เป็นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558 กรณี บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้าทำ�ประโยชน์ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่สอด ท้องที่ตำ�บลพระธาตุผาแดง อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก เนื้อที่ รวม 2,077 ไร่ เพื่อดำ�เนินกิจการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และถลุงโลหะสังกะสี และยุติการทำ�เหมืองในปี พ.ศ. 2560 และพัฒนา พื้นที่เหมืองแร่เดิมให้เป็นศูนย์การพัฒนาและแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ โดยมีกรมป่าไม้เป็นผูด้ ำ�เนินการหลัก และมีสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) เป็นผู้ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วยแนวทาง ต่างๆ ดังนี้ 1) ศูนย์อบรมสัมมนาด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2) พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่สังกะสีดอยผาแดง 3) ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้สูงอายุ 4) ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ป่าและพืชท้องถิ่น 5) ศูนย์พัฒนา และส่งเสริมการใช้หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ� และ 6) สถานที่ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศและแหล่งนันทนาการ
ทรงมุ่งหวังให้สวนพฤกษศาสตร์ผาแดง มีลักษณะเช่นเดียวกับ Eden Project
ต่อมาสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมีแนวพระราชดำ�ริให้ดำ�เนินการจัดสร้างสวน พฤกษศาสตร์ในโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟู สิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดตาก ซึ่งทรงมีพระราช ปณิธานแน่วแน่ในการทีจ่ ะสนับสนุนงานด้านพฤกษศาสตร์ การอนุรกั ษ์ และ งานด้านสวนพฤกษศาสตร์ ทรงมุ่งหวังที่จะให้สวนพฤกษศาสตร์ผาแดง มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสวนพฤกษศาสตร์ Eden Project สหราชอาณาจักร
ซึ่งใช้เวลา 10 ปี ในการสร้างสวนพฤกษศาสตร์ ขึน้ อย่างสวยงามจากพืน้ ทีท่ ผี่ า่ นการทำ�เหมืองมาแล้ว เช่นเดียวกับเหมืองผาแดง เพือ่ ให้สวนพฤกษศาสตร์ ผาแดงเป็นแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ เป็นสถานที่ รวบรวมพันธุ์ไม้ของผืนป่าตะวันตกของประเทศไทย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างรายได้ให้กับชุมชน ที่อยู่โดยรอบโครงการ
>> ดร.วีระชัย ณ นคร กรรมการมูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ที่ปรึกษาโครงการฯ
จัดทำ�กรอบแนวคิด-ออกแบบผัง จัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ 5 ลักษณะพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 970 ไร่
กรมป่าไม้ ได้รว่ มกับ ดร.วีระชัย ณ นคร ทีป่ รึกษา และคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ดำ�เนินการจัดทำ�กรอบแนวคิดและ ออกแบบผั ง การจั ด สร้ า งสวนพฤกษศาสตร์ โดย จำ�แนกการดำ�เนินงานแบ่งพื้นที่ต่างๆ จำ�นวน 5 ลักษณะพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 970 ไร่ แบ่งเป็น Zone A May-June 2019
21
>> “สวนพฤกษศาสตร์ผาแดง” Botanic Garden แห่งใหม่ในผืนป่าภาคตะวันตก
พื้นที่ก่อสร้างสระมรกตและป่าดึกดำ�บรรพ์ เนื้อที่ 200 ไร่ Zone B พื้นที่ก่อสร้างน้ำ�ตก จำ�นวน 100 ไร่ Zone C พื้นที่ก่อสร้างกลุ่มอาคาร เรือนกระจก จำ�นวน 200 ไร่ Zone D พืน้ ทีส่ ำ�หรับการฟืน้ ฟูปา่ จำ�นวน 300 ไร่ และ Zone E พื้นที่ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ�ผาแดง จำ�นวน 170 ไร่ เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2561 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำ�เนินปฏิบตั ิ พระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดตาก โดยการนี้ เลขาธิการคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พร้อมด้วย อธิบดีกรมป่าไม้ และ ดร.วีระชัย ณ นคร ที่ปรึกษา ถวายรายงานความ ก้าวหน้าการจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ในโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อ การอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูสงิ่ แวดล้อมอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดตาก และทรงทอดพระเนตรผังการออกแบบการจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ ทรงมีพระราชดำ�ริเห็นชอบในเบื้องต้นแล้ว
ทำ�ความรู้จักสวนพฤกษศาสตร์ Eden มีเรือนเพาะพันธุ์ ไม้ ในระบบนิเวศป่าฝนที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก
ดร.ราเชล วามิงตัน ผู้จัดการทีมวิทยาศาสตร์ โครงการ Eden Project คอร์นวอลล์ สหราชอาณาจักร กล่าวบรรยาย ในงานประชุม วิชาการนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (International Conference on Biodiversity 2019: IBD2019) ซึ่ ง จั ด ขึ้ นโดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) โดยสำ�นักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. และเครือข่าย 22
May-June 2019
พันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 31 องค์กร 25 ชุ ม ชน ในระหว่ า งวั น ที่ 22-24 พฤษภาคม ที่ผ่านมาว่า โครงการอีเด็น (Eden Project) เป็น โครงการเพื่อการศึกษา เป็นแหล่งเชื่อมโยงเรากับ สิ่งมีชีวิตอื่นในโลก โดยสวนพฤกษศาสตร์ Eden ตั้งอยู่บนพื้นที่หลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่ ในเมือง คอร์ นวอลล์ สหราชอาณาจั ก ร เป็ น โครงการที่ พลิกฟืน้ ผืนทีด่ นิ ทรุดโทรมจากการทำ�เหมืองมาสูส่ วน พฤกษศาสตร์บนพื้นที่ขนาด 22 เฮกตาร์ ภายใน มีเรือนเพาะพันธุ์ไม้ในระบบนิเวศป่าฝนที่ใหญ่ที่สุด ในโลก แหล่งพันธุ์ไม้หายากจากทั่วโลก และโซนจัด แสดงนิทรรศการหอพรรณไม้ รวมถึงเป็นหอแสดง นิทรรศการศิลปะไปในตัว นอกจากนี้ยังมีการจัด เทศกาลดนตรี ศิลปะและกิจกรรมต่างๆ สำ�หรับ ครอบครัว เป้าหมายสูงสุดของ Eden Project มี 2 มุม คือ มุมของการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ซึ่งเสียสภาพ จากการใช้งาน และมุมของการสร้างรายได้ให้แก่ ชุมชน ปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้ Eden Project ประสบ ความสำ�เร็จมีหลายประเด็น เริ่มตั้งแต่วิสัยทัศน์ของ ผู้จัดตั้งโครงการ ซึ่งดีมาก รวมถึงการต้องการความ ร่วมมือกับคนจำ�นวนมาก เนื่องจากระหว่างก่อสร้าง โครงการฯ ก็มีปัญหามากเช่นกัน
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมุ่งหวังที่จะให้ สวนพฤกษศาสตร์ผาแดงมีลักษณะเช่ น เดี ยวกั บ สวน พฤกษศาสตร์ Eden Project สหราชอาณาจักร ซึง่ สร้าง สวนพฤกษศาสตร์ขึ้นอย่างสวยงามจากพื้นที่ที่ผ่านการ ทำ�เหมืองมาแล้ว เพื่อให้สวนพฤกษศาสตร์ผาแดงเป็น แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ เป็นสถานที่รวบรวมพันธุ์ ไม้ ของผืนป่าตะวันตกของประเทศไทย
โครงการ Eden เปิดมาแล้ว 18 ปี มีผู้เข้าเยี่ยมชม 20 ล้านคน สร้างรายได้ ให้ท้องถิ่นรวม 2 พันล้านปอนด์
โครงการ Eden ดำ�เนินการมาเป็นเวลา 18 ปี มีเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 400 คน มีผเู้ ข้าเยีย่ มชมแล้ว 20 ล้านคน สร้างรายได้ประมาณ 27 ล้านปอนด์ ต่อปี และสามารถสร้างรายได้ให้กบั ท้องถิน่ รวม 2 พันล้านปอนด์ เริม่ จาก การใช้สินค้าหรือวัตถุดิบที่หาได้จากท้องถิ่นเป็นหลัก ซึ่งจะช่วยกระตุ้น เศรษฐกิจของท้องถิ่น สำ�หรับประเทศไทยเชื่อว่าจะต่อยอดในเรื่องนี้ได้ ไม่ยาก “ความท้าทายของการจัดทำ�สวนพฤกษศาสตร์คอื การหาแหล่งเงินทุน เพื่ออนุรักษ์สิ่งมีชีวิตหายากและอยู่ในภาวะเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์ การทำ�ให้ ผู้เยี่ยมชมเกิดความสุข เพลิดเพลิน ควบคู่ไปกับการสร้างความตระหนัก ถึงความสำ�คัญของการอนุรักษ์และการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความสามารถ ในการดูแลเก็บรักษาพรรณไม้ได้อย่างเหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญ และการ ทำ�งานร่วมกันเป็นเครือข่ายสวนพฤกษศาสตร์ระดับโลกผ่านโครงการต่างๆ เช่น BGCI” ดร.ราเชล วามิงตัน กล่าว
สวนพฤกษศาสตร์ผาแดงส่งเสริมการท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมและสร้างรายได้ ให้กับชุมชน
สำ�หรับสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง ตัง้ อยูท่ อี่ ำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก มีความมุ่งหวังว่าจะพัฒนาพื้นที่นี้เป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำ�คัญ ของนักท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งในอนาคต โดยในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่สอด ท้องทีต่ ำ�บลพระธาตุผาแดง อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก จำ�นวน 2,200 ไร่ เคยเป็นพืน้ ทีด่ ำ�เนินกิจการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และถลุงโลหะสังกะสีมาก่อน ต่อมาสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมีแนวพระราชดำ�ริ ให้ดำ�เนินการจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ผาแดงบนพื้นที่ 970 ไร่ “การจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ผาแดงจะช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟู ผืนป่าตะวันตก เป็นโอกาสทีจ่ ะนำ�ไปสูก่ ารอนุรกั ษ์และสร้างประโยชน์จาก พืน้ ทีน่ ใี้ นระยะยาว พืน้ ทีแ่ ห่งนีจ้ ะก่อให้เกิดความเชือ่ มโยงในการดูแลรักษา ร่วมกับป่าที่อยู่โดยรอบ และสามารถระบุสิ่งมีชีวิตที่เป็น Species สำ�คัญ
เพื่ อ ตั้ ง เป้ า หมายด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ที่ เ หมาะสม สิ่งสำ�คัญที่จะได้รับจากการจัดทำ�สวนพฤกษศาสตร์ คื อ การช่ ว ยส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว การส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มและสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ชุมชนที่อยู่โดยรอบ การเป็นศูนย์กลางการวิจัยและ อนุรกั ษ์พรรณไม้และป่าขนาดใหญ่ในผืนป่าตะวันตก ของประเทศไทย ทำ�ให้เกิดการเก็บรวมรวมจัดแสดง และอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ ไ ม้ ทั้ ง ในและนอกถิ่ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย เกิดสถานีวจิ ยั ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และ ช่วยเพิ่มจำ�นวนนักพฤกษศาสตร์ นักอนุกรมวิธาน ให้ กั บ ประเทศ นอกจากนี้ ยั ง เอื้ อ ให้ เ กิ ด การสร้ า ง โปรแกรมการศึ ก ษาในโรงเรี ย น การฝึ ก อบรม นักศึกษาในมหาวิทยาลัย รวมถึงการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานระดับภูมิภาคและระดับประเทศในการจัด อบรมผู้เชี่ยวชาญด้านพืชสวนและสร้างให้เกิดผู้นำ� ที่มีศักยภาพ รวมไปถึงชุมชนสวนพฤกษศาสตร์ขึ้น” ดร.ราเชล วามิงตัน กล่าว
>> ดร.ราเชล วามิงตัน ผู้จัดการทีมวิทยาศาสตร์ โครงการ Eden Project คอร์นวอลล์ สหราชอาณาจักร
Eden Project กับสวนพฤกษศาสตร์ ผาแดง ความเหมือนบนความต่าง
ดร.ราเชล วามิ ง ตั น ได้ ก ล่ า วเปรี ย บเที ย บ โครงการ Eden Project กับสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง ว่า มีความเหมือนและความแตกต่างในคราวเดียวกัน กล่าวคือ ทั้งสองโครงการมีขนาดพื้นที่ 2,200 ไร่ เท่ากัน แต่ทำ�ธุรกิจแร่ตา่ งชนิดกัน โดย Eden Project ผลิตแร่ทองแดงและดิน ส่วนสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง ผลิตแร่สังกะสี ขณะที่ความร่วมมือกันระหว่างพื้นที่ ถื อว่ า สวนพฤกษศาสตร์ ผาแดงร่ ว มมื อ กั น อย่า งดี พร้อมทั้งยกย่องว่าสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่าทรงมีส่วนสำ�คัญในความสำ�เร็จของโครงการสวน พฤกษศาสตร์ผาแดงเช่นกัน May-June 2019
23
ผังการจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง แบ่งตามลักษณะพื้นที่ 5 โซน ทั้งสิ้น 970 ไร่
Eden Project กับสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง มีความเหมือนและความแตกต่างในคราวเดียวกัน กล่าวคือ ทั้งสองโครงการมีขนาดพื้นที่ 2,200 ไร่ เท่ากัน แต่ท�ำ ธุรกิจแร่ตา่ งชนิดกัน โดย Eden Project ผลิตแร่ทองแดงและดิน ส่วนสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง ผลิตแร่สังกะสี ขณะที่ความร่วมมือกันระหว่างพื้นที่ ถือว่าสวนพฤกษศาสตร์ผาแดงร่วมมือกันอย่างดี
24
May-June 2019
ชุบชีวิตเหมืองสังกะสีให้เป็น สวนพฤกษศาสตร์ ผืนป่าแห่งใหม่ของภาคตะวันตก
ดร.วีระชัย ณ นคร กรรมการมูลนิธิสวนสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ ที่ปรึกษาโครงการสวนพฤกษศาสตร์ ผาแดง ย้อนรอยถึงจุดเริม่ ต้นของโครงการสวนพฤกษศาสตร์ ผาแดงว่า เดิมทีเหมืองผาแดงได้เช่าพื้นที่ 2,200 ไร่ จาก กรมป่าไม้ เป็นเวลา 30 ปี เพือ่ ดำ�เนินธุรกิจเหมืองทองแดง และได้รบั สัมปทานอีก 10 ปี รวมทัง้ หมด 40 ปี ซึง่ จะต้อง คื น พื้ น ที่ ใ ห้ ต ามกฎหมาย โดยคงอยู่ ใ นสภาพเดิ ม หรื อ ใกล้เคียงที่สุด ปัจจุบันพื้นที่ทำ�เหมืองมีทั้งหมด 6 แปลง คืนมาแล้ว 4 แปลง ภายในปีนี้จะคืนแปลงที่ 5 และ 6
สำ�หรับขุมเหมืองของผาแดง มีความสูงขึ้นบันได 100 เมตร สภาพ หน้าดินหาย ดินไม่มีแร่ธาตุ ทั้งนี้โครงการเหมืองผาแดงได้สร้างสิ่งอำ�นวย ความสะดวกต่างๆ ไว้ดีมาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปภาคตะวันตก โครงการผาแดงได้ทลู เกล้าถวายโครงการฯ ให้พระองค์ แล้วทรงมีพระราช วินิจฉัยว่า พื้นที่ที่สร้างสาธารณูปโภคไว้แล้วให้เป็น Concept Zone และ พื้นที่ส่วนใหญ่ให้ทำ�เป็นสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อให้เป็นศูนย์อนุรักษ์ความ หลากหลาย และแหล่งเรียนรู้ใน อ.แม่สอด จ.ตาก จัดทำ�พันธุ์ไม้หายาก 600-700 ชนิด เป็นศูนย์รวมพันธุ์กล้วยไม้ป่า ซึ่งในป่ามีพันธุ์ไม้กว่า 4,000 ชนิด มีสัตว์ป่ามากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ทุ่งใหญ่นเรศวร
คณะอนุกรรมการฯ ใช้เวลา 2 ปี ออกแบบศูนย์อนุรักษ์ผืนป่าภาคตะวันตก เป็น Master Plan
ดร.วีระชัย กล่าวว่า ภายในระยะเวลา 2 ปี คณะอนุกรรมการ จัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ฯ ได้เริม่ ออกแบบพัฒนาพืน้ ทีใ่ ห้เป็นศูนย์เรียนรู้ อนุรักษ์และฟื้นฟูผืนป่าภาคตะวันตก สำ�เร็จเป็น Master Plan โดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกแบบให้ฟรี ประกอบด้วย พื้นที่ปรับปรุง ตกแต่ง มีอาคารเรือนกระจก หอพันธุ์ไม้ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว มีป่า ดึกดำ�บรรพ์ สระมรกต ศูนย์กล้วยไม้แห่งชาติ มีการจัดหาพันธุ์ไม้ทั้งหมด ทีม่ สี มี ว่ ง โดยกรมป่าไม้ได้จดั หามากกว่า 20 ชนิด ใช้เวลาไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี ในการเลือกพันธุไ์ ม้ เช่น อินทรชิต ให้กรมป่าไม้เตรียมโครงสร้าง กิจกรรม ปลูกป่า หาพันธุ์ไม้ การอนุบาล ให้เป็น Showcase ใหญ่ของผืนป่า ภาคตะวันตก ในส่วนของพันธุ์ไม้ดึกดำ�บรรพ์ มีการสร้างใหม่ คือ มีการ สร้างอ่างเก็บน้ำ�ใหม่ และความเขียว มีการสร้างเครือข่ายในการแลกเปลีย่ น พันธุ์ไม้ให้นิสิตนักศึกษาด้านพืช ซึ่งมีเครือข่ายที่ดีมาก นอกจากนี้ มีการประสานงานกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ในการดูแลการใช้พลังงาน มีอา่ งเก็บน้ำ�ขนาดใหญ่ ใช้เวลาราว 5 ปี คาดว่าจะเปิดให้เยี่ยมชมได้
ผู้บริหาร Eden Project เยี่ยมชม พร้อมให้คำ�แนะนำ�การจัดสร้าง สวนพฤกษศาสตร์
ในระหว่ า งวั น ที่ 31 มกราคม ถึ ง วั น ที่ 3 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้บริหาร Eden Project ได้ เดินทางมาเยี่ยมชมและให้คำ�แนะนำ�การจัดสร้าง สวนพฤกษศาสตร์ในพืน้ ทีโ่ ครงการส่งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ การอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูสงิ่ แวดล้อมอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริ จังหวัดตาก ตามคำ�เชิญของกรมป่าไม้ แล้ว โดยผู้บริหาร Eden Project ได้จัดทำ�รายงาน ข้อเสนอแนะในการจัดสร้างสวนพฤกษศาสตร์ผาแดง จั ง หวั ด ตาก ซึ่ ง คณะอนุ ก รรมการจั ด สร้ า งสวน พฤกษศาสตร์ ฯ จะได้ ดำ�เนิ น การปรั บ ปรุ ง ผั ง การ จั ด สร้ า งสวนพฤกษศาสตร์ ต ามข้ อ เสนอแนะของ ผู้บริหาร Eden Project ดร.วีระชัย กล่าวว่า สำ�หรับ Master Plan คาดว่า จะเริ่มพิมพ์เขียวทั้งหมดภายในปีนี้ โดยมีค่าใช้จ่าย และสิ่งปลูกสร้าง 700 ล้านบาท รับผิดชอบโดยกรม ป่าไม้ คาดว่าภายใน 5 ปีน่าจะสำ�เร็จเป็น Excellent Center “การทีส่ มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็น องค์ประธาน ทำ�ให้ได้รบั ความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน โดยมีกรมพัฒนาพื้นฐานและอุตสาหกรรมเหมืองแร่ (กพร.) เป็นหน่วยงานประสานใกล้ชดิ มีทงั้ หน่วยงาน จังหวัด กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช” ดร.วีระชัย กล่าว
สวนพฤกษศาสตร์ Eden มีเรือนเพาะพันธุ์ ไม้ในระบบนิเวศป่าฝนที่ใหญ่ที่สุดในโลก แหล่งพันธุ์ ไม้หายากจากทั่วโลก
May-June 2019
25
บทความพิเศษ l
อัมพรพรรณ วงษ์ท่าเรือ กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์ 4.0 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เริม่ เป็นทีก่ ล่าวขานจาก นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของประเทศเยอรมนีประกาศใน ปี ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) โดยระบุวา่ อุตสาหกรรมของเยอรมนี ในปี ค.ศ. 2033 (พ.ศ. 2576) จะเข้าสูย่ คุ อุตสาหกรรมอัจฉริยะ และเข้าสู่ช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 โดยอุตสาหกรรม ใหม่จะขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีอัตโนมัติควบคู่ไปกับหุ่นยนต์ อัจฉริยะและเชื่อมโยงกับเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ทําให้ ระบบการผลิตยกระดับจาก LEAN ไปสู่ “Cyber-Physical Production”
>> ทำ�ไมผู้ประกอบการจึงต้องยอมรับอุตสาหกรรม 4.0
อุตสาหกรรม 4.0 เป็นนวัตกรรมดิจิทัลที่เกิดขึ้นจากการ วิเคราะห์ขอ้ มูลและการเชือ่ มโยงเครือข่ายอัจฉริยะ ทําให้เกิดการ สร้างคุณค่าและยกระดับประสิทธิภาพในการผลิต ผูป้ ระกอบการ บางรายจึงได้มกี ารนําความก้าวหน้าของอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้ ในระบบ โดยผูป้ ระกอบการทีป่ รับตัวได้รวดเร็วจะมีศกั ยภาพและ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันได้กอ่ นผูป้ ระกอบการรายอืน่ ๆ ทําให้ผู้ประกอบการเหล่านั้นได้รับประโยชน์จากการแข่งขัน เหนือกว่าผูป้ ระกอบการรายอืน่ ในระดับเดียวกันทีย่ งั มิได้ปรับตัว
>> ข้อดีของอุตสาหกรรม 4.0 ที่มีต่อการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ภาพที่ 1 อุตสาหกรรม 4.0 (ที่มา : http://tools-article.sumipol.com/wp-content/ uploads/2015/08/INDUSTRY4.0-The-Next-Industrial-Revolution.pdf)
นอกจากนี้ หุ่นยนต์ในอนาคตจะพัฒนาไปสู่การควบคุม เครื่องจักร สามารถคิดเองเชื่อมโยงกับระบบคอมพิวเตอร์และ ตอบสนองการทํางานได้อย่างรวดเร็วเหนือกว่ามนุษย์ เป็นการ ปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมใหม่ อ ย่ า งสิ้ น เชิ ง เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า แนวคิดดังกล่าวเกิดขึ้นในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศ อุตสาหกรรมในยุโรปและสหรัฐอเมริกา รวมถึงญีป่ นุ่ และเกาหลี ซึง่ ประเทศเหล่านัน้ มีการทําวิจยั และพัฒนา (R&D) และพัฒนา เทคโนโลยีชั้นสูงเพื่อเตรียมตัวเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 มาก่อน หน้านี้หลายปีแล้ว ในขณะที่อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของไทย ยังอยู่ในระดับ 2.0 และ 3.0 26
May-June 2019
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 หรืออุตสาหกรรม 4.0 เป็นการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม เทคโนโลยีสมัยใหม่มาสร้าง ให้เกิดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างด้านกายภาพกับ ระบบดิจทิ ลั ตัวอย่างของอุตสาหกรรมทีไ่ ด้มกี ารนํากระบวนการ ของอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้แล้วเกิดผลลัพธ์ทดี่ ี เช่น อุตสาหกรรม เหมืองแร่ มีการใช้ข้อมูลด้านสุขภาพนํามาคาดการณ์ความ ล้มเหลวหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ขณะที่อุตสาหกรรม การบินและยานยนต์ มีการใช้หนุ่ ยนต์และใช้ระบบ end-to-end digital twins มาใช้ในการเก็บข้อมูลจากระบบเซ็นเซอร์เพือ่ นำ�มา ปรับปรุงพัฒนาแผนงานและกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม จึงไม่นา่ แปลกใจทีโ่ รงงานอุตสาหกรรมทีน่ ําระบบนีม้ าใช้จะเป็น กลุ่มแรกๆ ที่ได้รับประโยชน์มากกว่าคู่แข่งจากการมีศักยภาพ ที่สูงกว่า โดยคนที่เริ่มก่อนก็จะเป็นผู้นําก่อน
>> อุตสาหกรรม 4.0 กับอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
สําหรับอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์จะสามารถนําระบบ อุตสาหกรรม 4.0 มาใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในระบบการผลิต และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้อย่างไร จาก แนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 ผูป้ ระกอบการสามารถนําหลักการ
ของแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในหลากหลายรูปแบบ แต่แนวทาง สําคัญๆ ของอุตสาหกรรม 4.0 ที่มีผลต่ออุตสาหกรรมผลิต ปูนซีเมนต์ที่จะช่วยส่งเสริมกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ให้มี ศักยภาพสูงขึ้นมี 5 ประการ ได้แก่ Analytics-Driven Predictive Maintenance : การ .คาดการณ์และวิเคราะห์ระยะเวลาการบํารุงรักษาจะช่วย ผู้ผลิตทราบระยะเวลาที่เครื่องจักรจะมีปัญหา ทําให้รู้ช่วงเวลา ทีจ่ ะผลิตไม่ได้ สามารถหลีกเลีย่ งไม่ให้เกิดความเสียหายด้วยการ พัฒนาการจัดการประสิทธิภาพและลดค่าบํารุงรักษาเครือ่ งจักร ซึ่งจะช่วยให้เจ้าหน้าที่บํารุงรักษาเครื่องจักรที่อาจจะเสียได้ถูก ช่วงเวลา จะไม่มกี ารปล่อยให้เครือ่ งจักรเกิดความเสียหายโดยที่ ไม่รู้ตัวจนถึงกับต้องเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ ในอุตสาหกรรม ผลิตปูนซีเมนต์ ผู้ผลิตจะใช้เซ็นเซอร์ในการควบคุมสถานะของ เครื่องจักร เช่น เครื่องวัดการสั่น อุณหภูมิ ความดัน และเก็บ รวบรวมข้อมูลไว้ในแหล่งเก็บ (Data Lakes) จากนั้นก็มีระดับ ที่บ่งบอกถึงค่าที่แจ้งให้รู้ว่าเครื่องจักรอาจจะมีปัญหา จากการ ใช้ขอ้ มูลทีเ่ คยเก็บสะสมไว้เพือ่ จําลองสถานการณ์และวิเคราะห์ สาเหตุของการเกิดข้อผิดพลาดเพือ่ คาดการณ์ความล้มเหลวของ แต่ละเครื่องจักรที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ การคาดการณ์การบํารุง รักษาเครื่องจักรจะเสมือนการเพิ่มมูลค่าให้กับชิ้นส่วนที่ติดตั้ง ในโรงงานผลิตปูนซีเมนต์คอื Gear Boxes, Mills, Kiln ซึง่ มีราคา แพงและใช้เป็นจํานวนมาก เพราะในกรณีที่ต้องมีการเปลี่ยน ชิน้ ส่วนใหม่จะใช้เวลาในการซ่อมแซมหลายสัปดาห์ จนอาจทําให้ ต้องปิดการทํางานของเครื่องจักรนั้นๆ ไปเลย End-to-End Optimization via Digital Twin : การ .ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ซเี มนต์เป็นเรือ่ งทีย่ าก เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างที่ทําให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ แตกต่างกันออกไป เช่น คุณภาพของหินปูน คุณสมบัติของ ถ่ า นหิ น ประเภทของน้ำ� มั น ในเตาเผา คุ ณ ภาพและต้ น ทุ น ที่ต้องการของผลิตภัณฑ์ดิจิทัลทวินจึงเป็นเครื่องมือในการแก้ ปัญหาดังกล่าว โดยจําลองการตั้งค่ากระบวนการผลิตทั้งแบบ ง่ายๆ และแบบที่เคลื่อนไหว ซึ่งทําให้เกิดผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงตัวแปรและกระบวนการ เช่น การตรวจสอบ การลดค่าใช้จ่ายให้ต่ำ�ที่สุดว่าจะเป็นไปได้เท่าไร โดยที่ยังคง รักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์คงเดิม กิจกรรมเหล่านีจ้ ะก่อให้เกิด การเรียนรู้และการพัฒนาของผู้ควบคุม AI ซึ่งในอุตสาหกรรม ซีเมนต์ทใ่ี ช้ดจิ ทิ ลั ทวินจะเริม่ จากการใช้ในขัน้ ตอนย่อยๆ ก่อน และ เพิม่ ขึน้ จนครบทุกขัน้ ตอน และนํามาเชือ่ มโยงกับนวัตกรรม 4.0 อื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลผ่าน IoT ที่จะทําให้ ผู้รับผิดชอบสามารถจะตัดสินใจอย่าง Realtime และสามารถ ปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที หมายเหตุ : Digital Twin ซึ่งหมายถึงการเก็บสําเนา ของทรัพย์สิน สิ่งของ อาคารหรือเครื่องจักร ในรูปแบบดิจิทัล Digital Twin ไม่ได้หมายถึงแค่การสร้างโมเดลจําลองของสิง่ ของ
1
2
ในแบบ 3 มิติ แต่รวมถึงการบันทึกข้อมูลสถานะทุกอย่างของ ของชิน้ นัน้ เพือ่ ตรวจสอบการทํางานเพือ่ คาดการณ์ความผิดปกติ ล่วงหน้าเพือ่ หาต้นตอของปัญหาและหลีกเลีย่ งปัญหาในอนาคต ฯลฯ Digital Twin ต้องอาศัยการติดเซ็นเซอร์จํานวนมากเพื่อ ให้ได้สําเนาทีใ่ กล้เคียงความจริงในปัจจุบนั ทีส่ ดุ ข้อมูลมหาศาล จากเซ็นเซอร์จะถูกส่งขึ้นคลาวด์เพื่อจัดเก็บและประมวลผล ตามบริ บ ทของการใช้ ง าน (ที่ ม า: Digital Twin, Panita Pongpaibool, https://medium.com/nectec/digital-twin887cbeb1a4b1, Oct 15, 2017)
ภาพที่ 2 ภาพแบบจำ�ลอง Digital Twin ของกระบวนการผลิต (ที่มา : https://www2.deloitte.com/insights/us/en/focus/industry-4-0/ digital-twin-technology-smart-factory.html)
3
Predictive Quality Analytics : การคาดการณ์การ .วิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพ เป็ น โมเดลในการคาดการณ์ คุณภาพของซีเมนต์แบบ Realtime ในจุดต่างๆ ของกระบวนการ เพื่อลดค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่ไม่จําเป็นและให้ได้คุณภาพตาม ทีต่ อ้ งการ ทีผ่ า่ นมาเป็นเรือ่ งยากสําหรับโรงงานซีเมนต์ทจ่ี ะทราบ ค่าความแข็ง (Strength) ของซีเมนต์ จนกระทั่งผ่านไป 1 และ 28 วัน ถึงจะสามารถวัดค่าได้ ดังนั้น เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพดีตามที่ต้องการ ผู้ผลิตจะต้องลงทุนด้วยการใช้หินปูน คุณภาพสูงและใส่สารเติมแต่งต่างๆ โดยไม่สามารถวัดค่าทาง กายภาพได้แบบ Realtime ส่วนทางเลือกอื่นๆ เช่น ผู้ผลิตจะ ทําการบดวัตถุดิบให้มีความละเอียดมากขึ้นเพื่อให้ปูนซีเมนต์ แข็งตัวดีขึ้น ซึ่งวิธีการเหล่านี้นอกจากจะทําให้เสียค่าใช้จ่ายสูง แล้ว ผูผ้ ลิตก็ยงั ไม่สามารถจะหาวิธกี ารอืน่ ทีด่ กี ว่าเข้ามาช่วยเพิม่ คุณภาพให้ผลิตภัณฑ์ (ภาพที่ 3) เป็นเรื่องยากที่จะทราบผลกระทบในทุกๆ ขั้นตอน แต่ อย่างไรก็ตาม การกระทําดังกล่าวจะเป็นส่วนช่วยให้ AI ทีผ่ ผู้ ลิต นํามาใช้ทําการเรียนรู้ระบบต่างๆ ในการเชื่อมโยงระหว่าง กระบวนการและคุณลักษณะของวัตถุดิบ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิต สามารถสร้างโมเดลการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ เข้าใจในต้นเหตุ ของการเกิดปัญหาที่ทําให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้ตรงตามคุณภาพและ การเลือกวัตถุดิบกระบวนการต่างๆ ในแต่ละขั้นตอนเพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ May-June 2019
27
4
Alternative Fuel Optimization : การใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง .ทางเลือก/เชือ้ เพลิงทดแทน การวิเคราะห์การบริโภค เชื้ อ เพลิ ง ทางเลื อ กจะช่ ว ยลดต้ น ทุ น และพั ฒนาแนวทางใน การปรับปรุงสภาวะแวดล้อมของธุรกิจปูนซีเมนต์ให้ดีขึ้น ใน อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์จะมีสดั ส่วนค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน คิดเป็น 45% หรือมากกว่าของต้นทุนการผลิตปูนซีเมนต์ทงั้ หมด ซึ่ ง ผู้ ผ ลิ ต สามารถลดค่ า ใช้ จ่ า ยในส่ ว นนี้ ไ ด้ กว่ า ครึ่ ง ด้ ว ยการ ปรับเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิงทางเลือก จากข้อมูลของ 3 ผู้นําด้าน ปู น ซี เ มนต์ โ ลกที่ ไ ด้ มี ก ารประมาณการว่ า มี ก ารใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ทางเลือกประมาณ 17% ของการใช้เชือ้ เพลิงในอุตสาหกรรมทัว่ โลก และถูกใช้น้อยกว่าในประเทศกําลังพัฒนา หากอุตสาหกรรม ต้องการปรับเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิงทางเลือกจะต้องเพิ่มการ ควบคุมความผันผวนของกระบวนการ เนื่องจากอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์มีความไม่แน่นอนของกระบวนการทางเคมี ความ ซับซ้อนในบางส่วนของกระบวนการผลิต ดังนัน้ การทีจ่ ะคาดการณ์ความแม่นยําของค่าความร้อนและ ส่วนผสมของเชื้อเพลิงให้มีความเหมาะสมและเป็น ผลสําเร็จ สามารถดําเนินการได้ใน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) รวบรวมข้ อ มู ล ทางเคมี แ ละประสิ ท ธิ ภ าพเตาเผา ภายใต้การใช้เชื้อเพลิงที่มีการกําหนดค่าไว้ 2) สร้างโมเดลการคาดการณ์ความร้อนด้วยการแบ่ง หมวดหมูแ่ ละปริมาณของพลังงานทางเลือกเพือ่ จําลองผลลัพธ์ ของศักยภาพปริมาณของพลังงานที่ได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นจาก ค่าเริ่มต้นที่เปลี่ยนแปลงเชื้อเพลิง 3) ตั้งค่าชุดคําสั่งทางคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล แบบ Full Machine Learning เพื่อคาดการณ์ปริมาณและ ประเภทของเชือ้ เพลิงทีต่ อ้ งการเพือ่ ให้ได้ผลผลิตและต้นทุนทีก่ ําหนด 4) ติดตั้งเครื่องจักรให้เป็น Dynamic Model ตลอดจน ให้ทํางานเป็นเครือข่าย และยอมให้เครื่องจักรทําการปรับปรุง แบบอั ต โนมั ติ ด้ ว ยตั ว เองในการปรั บ เปลี่ ย นส่ ว นผสมของ เชื้อเพลิงทางเลือกในเตาเผาตามที่ต้องการให้ได้คุณภาพที่ เหมาะสมในต้นทุนที่กําหนด
ภาพที่ 3 Source : BCG analysis
28
May-June 2019
5
Integrated Control Tower ICTs : ผู้ประกอบการ .ที่ดําเนินการในโรงงานซีเมนต์ที่เป็นโรงงานดิจิทัล จะทําการควบคุมในระยะไกลผ่านทางหอควบคุมแบบบูรณาการ ซึ่งผู้ประกอบการปูนซีเมนต์น้อยรายที่ใช้ ICT ในการเดินสาย การผลิตในปัจจุบันนอกจากจะมีกําไรอย่างมีนัยสําคัญแล้ว ยังสามารถลดต้นทุนในการดําเนินการได้ถึง 15% มีการใช้ แรงงานได้อย่างเหมาะสม ต้นทุนในการบํารุงรักษาต่ํา มีการ ปรับปรุงเงื่อนไขด้านความปลอดภัยและการทํางาน จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นก็พอจะเห็นได้วา่ ผูป้ ระกอบการทีน่ ํา เอาแนวทางการเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้จะมีความได้เปรียบผู้ประกอบการรายอื่นๆ ที่ยังไม่ได้ ปรับตัว เช่น การเพิม่ ศักยภาพในการผลิต การลดต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในสายการผลิตและต้นทุนเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ผลิต ลดความผิดพลาด และการเกิดของเสีย เป็นต้น ในประเทศไทยได้มผี ปู้ ระกอบการ ปูนซีเมนต์บางรายได้นําแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้บา้ งแล้ว โดยนํามาใช้เพือ่ ปรับปรุงการผลิตและระบบในโรงงาน ซึง่ ก็ชว่ ย ให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ลดการสูญเสียจาก การหยุดเครื่องจักร ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบํารุง ลดระดับ สินค้าคงคลัง พัฒนาระบบความปลอดภัยในการทํางาน ปรับปรุง กระบวนการทํางานภายในองค์กร ฯลฯ ซึ่งผลดีที่เกิดขึ้นเหล่านี้ จะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้ประกอบการที่ยังไม่ได้ทําการปรับตัว คงต้องหันกลับมาพิจารณานําแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 มา ปรับใช้เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในอนาคต
ข้อมูลอ้างอิง
• อุตสาหกรรม 4.0 ...การปฏิวัติอุตสาหกรรมใหม่แห่ง อนาคต THE NEXT INDUSTRIAL REVOLUTION, เอกสาร ประกอบการบรรยาย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผูป้ ระกอบการค้าและ อุตสาหกรรมไทย, วันที่ 10 สิงหาคม 2559 • Why Cement Producers Need to Embrace Industry 4.0, https://www.bcg.com/publications/ 2018/why-cement-producers-need-embrace-industry-4. aspx • ฝาแฝดดิจิตอล (Digital Twin), วิลาศ สมิทธิฤทธา สํานักนโยบายและวิชาการกระจายเสียงโทรทัศน์, https:// broadcast.nbtc.go.th/bcj/2561/doc/2561_02_3.pdf • Digital Twin, Panita Pongpaibool, https://medium. com/nectec/digital-twin-887cbeb1a4b1, Oct 15, 2017 • ปูนซีเมนต์นครหลวง พร้อมก้าวสู่ยุค “อุตสาหกรรม 4.0”, http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/ 35937, 24 มกราคม 2561
เรื่องเล่าจากชาวเหมือง l
รุ่งศักดิ์ อินทร์สิงห์
คนเหมืองมีเรื่องเล่า
มี
คนจำ�นวนไม่นอ้ ยทีช่ อบเริม่ ต้นสิง่ ใหม่ๆ โดยถือโอกาสดีๆ เช่นเลือกเอาวันปีใหม่เป็นวาระสร้างแรงบันดาลใจ ให้แก้ไขสิ่งที่ ผิดพลาดและเดินหน้าต่อไป คนทั่วโลกเรียกเดือนแรกของปีว่า January โดยถือคติตาม ตำ�นานของเทพเจ้าโรมันที่มีชื่อว่า Janus ซึ่งเจนัสเป็นเทพเจ้าโรมัน ทีม่ ใี บหน้า 2 หน้า หันไปในทิศทีต่ รงกันข้าม ใบหน้าหนึง่ มองอนาคต ไปข้างหน้าด้วยความหวัง อีกใบหน้าหนึ่งมองอดีตไปข้างหลังด้วย ความภูมิใจ เปรียบได้กับการย้ำ�เตือนตัวเองว่า...จงนำ�อดีตมารับใช้ ปัจจุบัน เพราะเราเปลี่ยนอดีตไม่ได้ แต่เราเปลี่ยนปัจจุบันและเลือก ที่จะมีอนาคตได้ตามใจปรารถนา ครับ...คนเราควรจะมีอดีตอยู่ข้างหลัง และมีความหวังอยู่ ข้างหน้า ผมมีเรือ่ งราวการต่อสูข้ องคนขัว้ โลกเหนือมาเล่าสูก่ นั ฟัง รูไ้ ว้ใช่วา่ ใส่หน้าแบกหามครับ... มีชาวเผ่าเอสกิโมที่คนส่วนมากรู้จักว่า พวกเขาคือคนที่อาศัย อยู่ในถิ่นที่ปกคลุมด้วยน้ำ�แข็งจากขั้วโลกเหนือ ในขั้วโลกเหนือนั้นมี สัตว์ประเภทหนึง่ ทีช่ าวเอสกิโมนำ�มาทำ�เป็นอาหารคือหมี เพราะเนือ้ ของมันจะทำ�ให้ร่างกายอบอุ่น สามารถที่จะทำ�ให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ในท่ามกลางอากาศที่หนาวเหน็บ แต่การจะล่าหมีขวั้ โลกเหนือไม่ใช่เรือ่ งง่ายนัก เพราะว่ามันเป็น สัตว์ตัวใหญ่ เวลามีศัตรูมารุกราน มันก็จะแสดงความดุร้ายเพื่อ ปกป้องตัวเองให้พ้นภัย น้อยนักที่จะเพลี่ยงพล้ำ�ให้แก่สัตว์ชนิดอื่นๆ หรือแม้แต่มนุษย์ที่เป็นคนฉลาดก็ยากจะเอาชนะ ทว่าธรรมชาติก็ให้ความแตกต่างระหว่างคนกับสัตว์เดรัจฉาน เพราะแม้สัตว์จะมีพละกําลังเป็นของตัวเอง แต่มนุษย์ก็มีปัญญา เป็ น อาวุ ธ ติ ด ตั ว มาเพื่ อ ป้ อ งกั น ตั ว เอง หากฝึ ก ฝนการใช้ ง านอยู่ บ่ อ ยๆ ความฉลาดหลั ก แหลม ย่ อ มช่ ว ยเหลื อ ให้ ม นุ ษ ย์ อ ยู่ ร อด ปลอดภัยได้ เมื่อใช้กําลังแต่ไม่สามารถเอาชนะหมีขั้วโลกเหนือได้ง่ายๆ ชนเผ่าเอสกิโมจึงเฝ้าสังเกตว่าหมีนั้นชอบกินอะไร คําตอบที่ได้รับ ก็คือ มันชอบกินเนื้อและเลือดของสัตว์ชนิดอื่น โดยเฉพาะแมวน้ำ� ถือว่าเป็นอาหารอันโอชะของหมีขั้วโลกเหนือเลยทีเดียว
นักล่าในเผ่าจึงช่วยกันคิดวิธีล่าหมีขั้วโลกเหนือมา เป็นอาหาร โดยไม่เน้นที่การใช้กําลังเข้าต่อสู้เหมือนครั้ง ก่อนเคย พวกเขาคิดร่วมกันว่าหากจะเอาชนะสัตว์ตวั ใหญ่ เช่นนั้นได้ ต้องมีแผนการที่แยบยล โดยที่เราเองก็ไม่ต้อง บาดเจ็บหรือล้มตายเพราะการปะทะกับหมี ความคิดอย่างหนึ่งที่ชนเผ่าเอสกิโมได้ตกลงร่วมกัน และใช้ได้ผลก็คือ ทุกครั้งเมื่อมีการล่าหมีขั้วโลกเหนือ พวกเขาจะต้องฆ่าแมวน้ำ� 1 ตัว แล้วนําเอาเลือดแมวน้ำ� เทลงไปในถังไม้ พร้อมกับนํามีดที่มีสองคมหรือสิ่งที่มีคม แช่ลงไปในถังนั้นด้วย เมื่อถังที่แช่เลือดแมวน้ำ�แข็งตัวจนได้ที่ เหล่านักล่า ก็จะนําถังไปวางไว้บริเวณที่หมีชอบมาหากิน แล้วจัดการ ผ่าถังไม้ออก ให้เหลือแต่ก้อนน้ำ�แข็งที่เจือปนด้วยเลือด และมีของมีคมซ่อนไว้เท่านั้น เพื่อล่อให้หมีมาติดกับดัก ของพวกตน ฝ่ า ยหมี ขั้ ว โลกเหนื อ เมื่ อ ได้ ก ลิ่ น เลื อ ดของสั ต ว์ อันเป็นอาหารอันโอชะของตนก็รีบมายังที่นั้นทันที โดย ไม่เฉลียวใจแม้เพียงน้อยว่าอันตรายกําลังจะมาถึงตน พอมาถึงที่ดังกล่าวก็จัดการใช้ลิ้นเลียกินก้อนน้ำ�แข็งที่มี เลือดในทันที โดยไม่เอะใจเลยว่ามีมีดคมๆ ปักอยู่ด้านใน เมื่อได้ลิ้มรสก้อนน้ำ�แข็งที่มีกลิ่นเลือดอยู่ด้วย ก็ทํา ให้หมียักษ์ลืมทุกอย่างที่เกิดขึ้น มันใช้ลิ้นเลียกินอย่าง เอร็ดอร่อย ในขณะเดียวกันลิน้ ของมันก็ถกู มีดสองคมกรีด เป็นบาดแผลด้วย ยิ่งดื่มเลือดที่อยู่ในน้ำ�แข็ง และเลือด ที่ไหลออกมาจากปากของตัวเองเท่าใด กําลังของมันก็จะ ยิ่งถดถอยมากเท่านั้น เมือ่ ดืม่ กินก้อนน้ำ�แข็งไปได้สกั พัก เจ้าหมีทไี่ ม่รจู้ กั ระวังภัยที่เกิดขึ้น ก็ล้มลงใกล้ๆ ถังเลือดนั้น และกลาย เป็นอาหารของชนเผ่าเอสกิโมในที่สุด โดยที่พวกเขา ไม่ต้องลงแรงในการต่อสู้กับมันเลย! ขอคัน่ รายการด้วยเรือ่ งสนุกเคล็ดลับการเอาตัวรอด มาเล่าเป็นความรู้ครับ...ปกติหมีเมื่อตะปบเหยื่อตัวที่วิ่งช้า May-June 2019
29
อยู่หลังสุดได้แล้ว มันจะหยุดเพื่อขย้ำ�กินเหยื่อเป็นอาหาร ทำ�ให้ เหยือ่ ตัวทีว่ งิ่ เร็วกว่ารอดตายไม่ถกู ตามไล่ลา่ เพราะหมีมวั แต่กม้ หน้า ก้มตากัดกินเหยื่อโดยไม่สนใจสิ่งอื่นใดอีกเลย ลูกพี่กับลูกน้อง 2 คน ได้ออกสำ�รวจแร่ทองคำ�ที่ขั้วโลกเหนือ ในระหว่างเดินไปด้วยกัน ฝ่ายลูกพี่อยากทดสอบไอคิวลูกน้อง จึงได้ เอ่ยพูดขึ้นว่า “เฮ้ย! ถ้าเผอิญมีหมีโผล่พรวดมา เอ็งจะทำ�อย่างไรเพือ่ เอาตัว ให้รอดตายวะ” “ผมก็จะวิ่งให้เร็วที่สุดสิครับ” ลูกน้องตอบ “เอ็งจะวิ่งสู้หมีได้อย่างไร หมีมันวิ่งเร็วจะตาย เอ็งจะหนีรอด หรือ..ไอ้โง่” “รอดสิ...ผมมั่นใจ” “รอดได้ยังไงวะ” ลูกพี่ถามย้ำ�แบบไม่เชื่อ “จะไปยากอะไร ผมแค่วิ่งให้เร็วกว่าลูกพี่ ผมก็รอดแล้วชัวร์ ส่วนใครที่ไม่รอดคิดดูเอาเองก็แล้วกัน ฮ่ะ...ฮ่า” ลู ก น้ อ งพู ด จบก็ หั ว เราะด้ ว ยความชอบใจ ทิ้ ง ให้ ลู ก พี่ ค้ อ น ปะหลับปะเหลือกด้วยถูกย้อนเกล็ดแบบคิดไม่ถึง ให้รู้ซะบ้าง...ใครไอ.คิว. สูงเหนือชั้นกว่ากัน (แฮ่ม) วันเวลาหมุนเวียน ชีวิตคนเราเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกลมหายใจ คนเราจึงควรให้ความใส่ใจกับวันและเวลาแห่งชีวติ จะได้เร่งขวนขวาย สร้างตัวพัฒนาตน มีคำ�พูดว่า “เพราะชีวิตคือการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา คนทั้งมวลย่อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ” ชีวิตคนเราแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะต้นของชีวิตปฐมวัย ระยะกลางของชีวิตมัชฌิมวัย และระยะปลายของชีวิตปัจฉิมวัย... มี ผู้เปรียบเทียบวัยเด็กจนถึงวัยชราไว้อย่างน่าคิดว่า ดุจรุ่งอรุณ ชีวิตสดใส บริสุทธิ์เริ่มเรียนรู้ ดุจอัญมณี เจียระไน แสวงหา ขัดเกลา พัฒนาตนเอง ดุจสุรสีห์ หนุ่มแน่น แข็งแรง มีพลัง ดุจพญาอินทรี มั่นคง ก้าวหน้า มองอนาคตที่ดี ดุจร่มโพธิร์ ม่ ไทร มีคา่ ด้วยแก่น เป็นทีอ่ าศัยของคนรอบข้างได้ ดุจไม้ใกล้ฝั่ง ผจญชีวิต รู้ร้อนหนาว หนักเหนื่อยมามาก ดุจเดียวกัน สูงสุดคืนสูส่ ามัญ หนีไม่พน้ ต้องสูญสลายไป ในที่สุด เราจึงควรอยู่อย่างเข้าใจวัยและชีวิต ทําหน้าที่แต่ละวัยให้สม คุณ ค่า มีพลังกาย สมอง ความคิด จงใช้สิ่งดังกล่าวเพื่อทํางาน สร้างชีวิตตน ทำ�ประโยชน์ให้สังคม... “ชีวติ คือการเดินทาง”...จะโดยรูต้ วั หรือไม่รตู้ วั ก็ตาม ชีวติ ได้ออก เดินทางมาแล้วหลายร้อย พัน หมื่น แสน ล้านภพชาติ ทุกคนจึงเป็น นักเดินทางมาตัง้ แต่ตน้ จากทีน่ สี่ ทู่ โ่ี น่น จากวันนีส้ วู่ นั พรุง่ นี้ จากอดีต สู่ปัจจุบัน จากปัจจุบันสู่อนาคต และเมื่อชีวิตคือการเดินทางก็ต้องมี จุดหมายปลายทาง เป้าหมายของทุกชีวิตล้วนต้องการความสำ�เร็จ บรรลุสู่ “อุดมชีวิต” คือการมีความสุข สงบ ร่มเย็น และเป็นไท ทางจิตวิญญาณ... นี่คือความสำ�เร็จสูงสุดของชีวิตครับ กระบี่ . ..จั ด ว่ า เป็ น จั ง หวั ด ที่ แ ปลก คื อ มี อ าณาเขตล้ อ มรอบ ไปด้ ว ยจั ง หวั ด (ในอดี ต )ที่ มี แ ร่ ดี บุ กอุ ด มสมบู ร ณ์ ได้ แ ก่ ฝั่ ง ทะเล 30
May-June 2019
อันดามัน (ภูเก็ต พังงา ตรัง) และฝัง่ อ่าวไทย (สุราษฎร์ธานี นครศรี ธ รรมราช) โดยมี ก ระบี่ เ ป็ นไข่ แ ดงอยู่ตรงกลาง แต่กระบี่ไม่ยักกะมีแร่ดีบุกสักเม็ดเดียว...น่าแปลกแฮะ แหล่งแร่ที่พอเป็นหน้าเป็นตาของกระบี่ในสมัยนั้น คือแหล่งถ่านหินทีใ่ ช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโรงไฟฟ้ากระบีข่ อง กฟผ. และแหล่งฟลูออไรต์ ที่ อ.คลองท่อม นอกจากนั้น ก็เป็นแหล่งหินปูนที่ใช้ในการก่อสร้างกระจัดกระจายอยู่ ทั่วไป เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2526 ...ผมได้ ไ ปทำ�งาน ที่เหมืองกระบี่ฟลูออไรต์ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ นั่งรถทัวร์ จากกรุงเทพฯ ในตอนหัวค่ำ� ถึงกระบี่ก็รุ่งเช้าของอีกวัน พี่วิวัฒน์ เจียมพานทอง ผู้ จั ด การเหมื อ งเอารถมารั บ นับเป็นครั้งแรกในชีวิตที่ได้มาทำ�งานที่จังหวัดนี้ กระบี่ เป็นเมืองเงียบเหมือนแดนสนธยา ในสมัยนั้นยังไม่ค่อย เจริ ญ จั ด ว่ า เป็ น ดิ น แดนสี ช มพู มี ก ลิ่ น อายคุ ก รุ่ น ของ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในขณะนั้น ในระหว่างการเดินทางเข้าเหมือง ผมสังเกตเห็น พี่วิวัฒน์ขับรถเร็วผิดปกติ ไม่ยอมให้ใครแซงได้เลย ผม เก็บความสงสัยนี้ไว้ในใจ พอถึงเหมืองผมได้ถามแกว่า ทำ�ไมขับรถเร็วนัก พี่วิวัฒน์ตอบผมว่า “เมื่อเดือนที่แล้วผมได้รับหนังสือเรียกค่าคุ้มครอง โดยให้นำ�เงินไปวางไว้ที่จุดนัดหมายแห่งหนึ่ง ถ้าผมไม่ ปฏิบตั ติ าม จะไม่รบั รองความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ผมไม่รู้ว่าโจรจริงหรือโจรกระจอกเขียนหนังสือมา ผมเลย ไม่ยอมจ่าย เพราะถ้าจ่ายรายใดรายหนึง่ เดีย๋ วก็จะมีไอ้โจร ห้าร้อยประเภทนีเ้ ขียนหนังสือมาขูข่ ออยูเ่ รือ่ ย...จึงต้องคอย ระวังตัวอยูน่ แี่ หละ เวลาขับรถผมจะไม่ยอมให้ใครขับไล่ทนั เพราะผมไม่รู้ว่าใครเป็นใคร” ได้ ยิ น พี่ วิ วั ฒน์ พู ด บอกดั ง นั้ น เล่ น เอาผมใจแป้ ว ไปเลย แต่ทำ�ใจดีสเู้ สือเป็นอะไรก็ให้มนั เป็นไป เพราะก่อน ทีผ่ มจะมาทีก่ ระบีไ่ ม่กเี่ ดือน ผูก้ อ่ การร้ายคอมมิวนิสต์กเ็ พิง่ เผาโรงพักคลองท่อมไปหยกๆ เมื่อไม่นาน “ก็ต้องระวังตัวหน่อย ตอนแรกๆ ที่ได้รับหนังสือ ผมก็เครียด แต่พอผ่านไปสักอาทิตย์ผมก็ชินไปเอง...คือ เครียดตลอดจนชินชายังไงล่ะ” เป็นจริงอย่างพี่วิวัฒน์พูด ตอนแรกออกนอกเหมือง ไปไหนต่อไหน ผมก็ต้องระวังตัวแจจนโรคประสาทจะกิน แต่พอผ่านไปสักพัก โรคหวาดระแวงชักอยูต่ วั ..คือประสาทเสีย ตายด้านจนชินไปเองครับ (เฮ้อ!) จากเหตุการณ์นี้ทำ�ให้คิดถึงคำ�พูดที่ว่ากันว่า การ เป็นนักเขียนบ้านเรานั้นจะอดอยากปากแห้ง ที่เรียกว่า “นักประพันธ์ไส้แห้ง” นั้น ผมว่าชักไม่ค่อยจะจริงเสียแล้ว การเป็นนักเขียนบางทีก็มีเงินรวยได้เหมือนกัน ถ้าเขียน หนังสือเรียกค่าคุม้ ครองหรือเรียกค่าไถ่ยงั ไงล่ะครับ...ได้ทลี ะ ตั้งเยอะแน่ะ (แฮ่ม)
กระบี่ในอดีตเมื่อ 35 ปี...ที่ผมเคยไปอยู่ทำ�งานกับเดี๋ยวนี้ แตกต่างกันลิบลับ จากแดนสนธยาบ้านป่าเมืองเถื่อนในสมัยนั้น ปัจจุบันนี้กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวชื่อเสียงโด่งดังไปซะแล้ว มีเกาะ พี.พี. และเกาะอื่นๆ รวมทั้งชายหาดที่สวยงาม... จึงขอเชิญชวน ให้ท่านไปท่องเที่ยวกันครับ ทรั พ ยากรแร่ ทั้ ง หลายมี ค วามจำ�เป็ น และเป็ น สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ทุกคนในปัจจุบนั นีต้ อ้ งการอย่างขาดมิได้ มนุษย์นำ�เอาแร่โลหะต่างๆ มาประกอบเป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ทำ�วิทยุ ไฟฟ้า ทีวี ตู้เย็น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ เรือยนต์ ฯลฯ และอื่นๆ จิปาถะมากมาย ซึ่งประดิษฐกรรมเหล่านี้ช่วยให้มนุษย์ดำ�รงชีวิต สะดวกสบาย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเป็นอย่างมาก... เด็กหนุ่มสองคน นัง่ คุยเล่าเรือ่ งราวแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกัน เป็นเรือ่ งของ เรือยนต์ กับเครื่องบิน โดยเด็กหนุ่มคนหนึ่งพูดเปิดประเด็นตั้งข้อสังเกตว่า “กูว่าการเป็นกัปตันเรือยากกว่าเป็นกัปตันเครื่องบินว่ะ” “ทำ�ไมวะ” “อ้าว!! ก็คนเป็นกัปตันเรือสเปคต้องว่ายน้ำ�เป็น แต่คนเป็น กัปตันเครื่องบินไม่เห็นใครบินได้สักคน..ว่ามั้ย” “เออ...จริงด้วยว่ะ” เด็กหนุ่มอีกคนผงกหัวพูดยอมรับ พลางชู ประเด็นข้อสงสัยขึ้นมาบ้าง “กูแปลกใจว่ะ ไม่ว่าสายการบินไหน ทำ�ไมพนักงานต้อนรับ เขาจึงสาธิตการใช้เสื้อชูชีพ กูว่าไม่ถูกเรื่อง” “ทำ�ไมวะ” เพื่อนคนแรกถามขึ้น “อ้าว!! ก็เสื้อชูชีพมันใช้กับคนบนเรือมิใช่หรือ บนเครื่องบิน เขาน่าจะสาธิตการใช้ร่มชูชีพมันถึงจะถูก...จริงมั้ย” พูดจบทั้งคู่ก็ปล่อยก๊ากออกมาด้วยความขำ�ขัน...กับความคิด ขวางโลกที่ประหลาดไม่เหมือนใคร ปี พ.ศ. 2523...ผมได้ไปทำ�งานที่เหมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต ของ องค์การเหมืองแร่ สมัยที่พี่นคร ปิยะพงศ์ เป็น ผู้อำ�นวยการกอง ทำ�เหมือง และปัจจุบันนี้พื้นที่เลิกทำ�เหมืองประมาณเกือบ 300 ไร่ ได้พัฒนาปรับปรุงเป็นสวนหลวง ร.9 อันร่มรื่นสวยงาม เพื่อให้เป็น ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของชาวจังหวัดภูเก็ต ถ้าใครได้มโี อกาสไปเทีย่ วชม สวนอยู่ใกล้กลางใจเมืองแห่งนี้แล้วละก้อ... อย่าลืมคิดถึงอดีตคน ทำ�เหมืองคนนี้บา้ งนะครับ และผมมีเรื่องราวขายหน้าห้าแต้มที่เหมืองนี้มาเล่าให้ฟัง... เชิญติดตามเรื่องกลับตาลปัตรที่คิดไม่ถึงครับ ภู เ ก็ ต เมื่ อ เกื อ บ 40 ปี ที่ ผ่ า นมายั ง เป็ น เมื อ งสงบเงี ย บด้ ว ย ธรรมชาติสวยงาม ไม่พลุกพล่านคลาคล่ำ�ไปด้วยนักท่องเทีย่ วเหมือน ทุกวันนี้ แร่ทที่ ำ�เป็นแร่ดบี กุ ทำ�โดยวิธเี หมืองสูบ รางกูแ้ ร่ทช่ี าวเหมือง เรียกพาลองทำ�เป็นรางเอียงสร้างด้วยคอนกรีต มีเครื่องมือแยกแร่ ที่เรียกว่าจิ๊กวางไว้ท้ายรางเพื่อเก็บแร่เม็ดเล็ก ภูเก็ตก็เหมือนกับหลายจังหวัดในภาคใต้คือมี 2 ฤดู ฤดูฝนกับ ฤดูร้อน เนื่องจากภูเก็ตเป็นเกาะ ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิต เมื่อตอน หน้าร้อนจะร้อนมาก แม้จะอยู่ใกล้ทะเลก็ตาม มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ผมได้รบั แจ้งจากพีน่ ครว่า จะมีแขกของผูอ้ ำ�นวยกการ
องค์การเหมืองแร่ซึ่งเป็นชาวญี่ปุ่นมาท่องเที่ยวที่ภูเก็ต และจะขอเข้าไปดูการทำ�เหมืองแร่ดีบุกที่เหมือง ขอให้ผม จัดเตรียมการต้อนรับด้วย และเนือ่ งจากเป็นแขกพิเศษของ เจ้านาย ผมจึงให้ความสำ�คัญกับงานนีม้ าก...ลูกน้องก็ตอ้ ง เอาใจนายสิครับ จริงไหม อย่างที่ผมบอกแล้วไงว่า เกาะภูเก็ตช่วงหน้าร้อน จะร้อนเอาเรือ่ ง ปกติคนงานทีเ่ หมืองจะถอดเสือ้ ทำ�งานกัน เพราะร้อนมาก พวกคนงานจึงตากแดดทำ�งานเนื้อตัว ดำ�เมี่ยม เพราะไม่นิยมใส่เสื้อกัน เขาบอกใส่เสื้อแล้วร้อน เนื่องจากเหมืองที่ผมทำ�เป็นรัฐวิสาหกิจ พูดง่ายๆ เป็นเหมืองของรัฐนั่นแหละ ผมเลยมีความคิดอยากรักษา ภาพพจน์ของเหมือง จึงอยากจะให้คนงานใส่เสื้อทำ�งาน จะได้สุภาพดูดีเป็นการรักษาหน้าตา คือให้มีฟอร์มดูโก้ หน่อย จะได้ไม่อายเขา ผมเลยเรียกประชุมคนงานว่าวันที่ แขกญี่ปุ่นมาเหมือง ผมขอร้องให้คนงานทนร้อนใส่เสื้อ กันหน่อย อย่าให้เขาดูถูกได้...โดยผมยอมควักเงินส่วนตัว สั่งซื้อเสื้อยืดที่ตลาดโบ๊เบ๊ให้คนงานใส่ฟรี ตอนแรกพวกคนงานก็ทกั ท้วง อิดออดไม่อยากใส่เสือ้ เพราะร้อน และไม่ชนิ กับการใส่เสือ้ ทำ�งานกัน แต่พอบอกว่า ผมซื้อเสื้อให้ ฟรี ไ ม่ คิด ตั ง ค์ และให้ ใ ส่ แ ค่ วันนั้นวันเดียว คนงานจึงยอม “ญีป่ นุ่ เป็นชาติเจริญมีความศิวไิ ลซ์ เดีย๋ วเขาจะมอง ได้ว่า ...คนเหมืองบ้านเราไม่ศิวิไลซ์เสียเลย” ผมพูดย้ำ�กับหัวหน้าคนงาน ยังไงก็ขอให้เห็นแก่หน้าผม เพราะเป็นแขกของเจ้านาย จึงอยากโชว์ฟอร์มภาพลักษณ์ ของเหมืองให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวต่างชาติ ผลเป็นอย่างไรรูไ้ หมครับ...วันทีแ่ ขกญีป่ นุ่ มาเหมือง ทันทีที่ลงจากรถ ขณะที่เดินตากแดดโผล่เข้าไปที่หน้า เหมือง ทุกคนต่างพากันถอดเสื้อเดินตัวเปล่ากันหมด เพราะอากาศร้อนจัด เหงือ่ กาฬแตกพลัก่ บางคนต้องคอย เอาเสื้อที่ถอดพัดโบกลมใส่ตัวตลอดเวลาเพื่อคลายร้อน ผมลื ม นึ ก ไปว่ า ญี่ ปุ่ น เป็ น ประเทศที่ อ ากาศหนาว พอมาเจออากาศร้อนแทบตับแลบทางภาคใต้ของเมืองไทย ก็เลยทนร้อนไม่ค่อยได้ และยิ่งเดินกลางแจ้งแดดเปรี้ยง อย่างนั้นด้วย จึงถอดเสื้อตัวล่อนจ้อนกันเป็นแถว พอ ส่งแขกญี่ปุ่นกลับหมดแล้ว ผมเห็นรอยยิ้มเยาะของคน ในเหมืองทีม่ องมาทางผม ทำ�ท่าเหมือนอยากจะปล่อยก๊าก หัวเราะออกมา ทีน่ า่ เจ็บใจก็อตี อนหัวหน้าคนงานเดินอมยิม้ เข้ามาที่ผม พูดถามหาความศิวิไลซ์ เล่นเอาผมหน้าชาว่า “พวกผมอุตส่าห์ทนร้อนใส่เสือ้ รับแขก แต่แขกทีม่ า ไม่เห็นมีใครใส่เสือ้ สักคน แล้วยังงีใ้ ครศิวไิ ลซ์กว่ากันครับ... นายช่าง” ขึ้นต้นเป็นมะลิซ้อน พอแตกใบอ่อนไหง กลาย เป็นมะลิลาไปซะฉิบ “คนเหมื อ งมี เ รื่ อ งเล่ า ” ก็ ข อจบแบบหน้ า แตก เย็บไม่ติดแต่เพียงเท่านี้..เจ็บนี้อีกนานครับ!! May-June 2019
31
ธุรกิจแร่
หยาง หมิง เจี๋ย ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซานตง เผิงเซียง ออโตโมบิล จ�ำกัด ประเทศจีน และ ฉกาจ แสนจัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จ�ำกัด
ลีดเวย์
ซานตง เผิงเซียง
โฉมหน้ารถบรรทุก “PX90ATYQ” ขนาด 35 ตัน รุกตลาดงานเหมือง ในไทยและอาเซียน
บริษัท ลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จำ�กัด จับมือ บริษัท ซานตง เผิงเซียง ออโตโมบิล จำ�กัด รุกตลาด รถบรรทุกงานเหมืองในไทยและภูมิภาคอาเซียน พร้อม เปิดตัวรถบรรทุก “PX90ATYQ” ขนาด 35 ตัน สำ�หรับ ธุ ร กิ จเหมื อ งแร่แ ละโรงโม่ ตั้งเป้ายอดขายในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 60-70 คัน ฉกาจ แสนจัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จำ�กัด กล่าวว่า บริษทั ลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จำ�กัด ผู้แทนจำ�หน่ายหลักอย่างเป็น ทางการของบริษัท SUMITOMO (S.H.I.) Construction Machinery Co., Ltd. และบริษัท Terex Equipment Limited ผู้ผลิตรถขุด รถปูยางมะตอย รถบรรทุกเทท้าย ยีห่ อ้ ชัน้ นำ�ของโลก ได้เสริมความแข็งแกร่งในการทำ�ธุรกิจ
32
May-June 2019
จับมือ เปิดตัวรถบรรทุก “PX90ATYQ” ขนาด 35 ตัน รุกตลาดงานเหมือง ในไทยและอาเซียน
ด้วยการจับมือกับบริษัท ซานตง เผิงเซียง ออโตโมบิล จำ�กัด จาก ประเทศจีน เปิดตัว รถบรรทุกงานเหมือง PX รุ่น PX90ATYQ ขนาด 35 ตั น ซึ่ ง มี จุ ด เด่ น ที่ เ ครื่ อ งยนต์ ข นาด 530 แรงม้ า ระบบเกียร์อัตโนมัติ ระบบช่วงล่างไฮโดรนิวเมติก กระบะบรรทุก ความจุ 35 ตัน เทียบเท่ารถบรรทุก 10 ล้อ 3 คัน รองรับทุกหน้างาน ด้วยยางเรเดียลขนาด 16.00R25 พร้อมเครื่องอัดจาระบีอัตโนมัติ และมีระบบตรวจเช็คการทำ�งานผ่าน GPS เพือ่ เป็นทางเลือกให้กบั ลูกค้า สำ�หรับธุรกิจเหมืองแร่และโรงโม่ทั้งในประเทศไทยและในภูมิภาค อาเซียน ปั จ จุ บั นธุ ร กิ จ ประเภทนี้ กำ�ลั ง มี การเติ บ โตในทิศทางที่ดีขึ้น อย่างต่อเนือ่ งในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา ตลาดรถบรรทุกงานเหมืองมีมลู ค่า ตลาดอยู่ที่ประมาณ 1,000 ล้านบาท และคาดว่าในปี พ.ศ. 2562 นี้จะมีความต้องการเพิ่มขึ้นประมาณ 30% โดยเฉพาะในประเทศ เมียนมาและอินโดนีเซีย ที่กำ�ลังมีโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ทั้งใน
ส่วนสร้างถนน ที่อยู่อาศัย สาธารณูปโภค เขื่อน โครงการ ทำ�เหมืองต่างๆ เป็นต้น ซึง่ บริษทั ฯ มีบริการครบวงจรแบบ One Stop Service ตั้งแต่ขั้นตอนการแนะนำ�ผลิตภัณฑ์ บริการสินเชื่อเช่าซื้อภายในและระหว่างประเทศ (Cross Border) ที่ให้ระยะเวลาผ่อนชำ�ระนานสูงสุด 48 เดือน ที่ เ หมาะสมกั บ ลู ก ค้ า แต่ ล ะราย มี อ ะไหล่ ใ ห้ บ ริ ก าร ตามประเภทรถ รวมถึงบริการหลังการขายจากวิศวกรผู้ ชำ�นาญงานและพนักงานของบริษทั ฯ ในทุกๆ ศูนย์บริการ ฉกาจ กล่าวว่า บริษัทฯ มุ่งเป้าจำ�หน่ายรถบรรทุก งานเหมืองรุน่ ทีเ่ ปิดตัวใหม่ให้กลุม่ ลูกค้างานขุดขนในพืน้ ที่ เหมื อ งแม่ เ มาะ จั ง หวั ด ลำ�ปาง และเหมื อ งหงสา ใน ประเทศเมียนมาเป็นหลัก เนื่องจากเป็นพื้นที่เป้าหมาย ทีม่ แี นวโน้มเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะกลุม่ ผูร้ บั เหมา ช่ ว งงานขนย้ า ยหน้ า ดิ น ของโครงการเปิ ด หน้ า เหมื อ ง โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โครงการที่ 8 และ 9 (Mae Moh Overburden Phase 8-9 Project) ซึ่ ง มี ผู้ รั บ เหมา งานหลัก ได้แก่ บริษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำ�กัด และกลุ่มบริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) จาก จำ�นวนผู้รับเหมาในปัจจุบันที่มีมากกว่า 15 ราย ส่วนการจำ�หน่ายไปยังลูกค้างานเหมืองและงาน เขือ่ นในต่างประเทศ เช่น ใน สปป.ลาว จำ�หน่ายผ่านดีลเลอร์ ชาวไทย และในประเทศเมียนมา จำ�หน่ายผ่านดีลเลอร์ Aung Hein Min ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของลีดเวย์ ตั้งเป้า ยอดขายในปี พ.ศ. 2562 ไว้ที่ประมาณ 60-70 คัน ขณะนี้ บ ริ ษั ท ฯ มี ศู น ย์ บ ริ ก ารทั้ ง สิ้ น 10 สาขา ทั่ ว ประเทศในพื้ น ที่ ป ระกอบกิ จ การที่ ลู ก ค้ า สามารถ เข้ารับบริการภายในรัศมี 250 กิโลเมตร ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ ลำ�ปาง นครสวรรค์ ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น อุบลราชธานี นครสวรรค์ และ อำ�เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยในปี พ.ศ. 2562 นี้ จะเพิ่มศูนย์บริการอีก 2 แห่ง ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา และปราจีนบุรี เพื่อให้บริการลูกค้าครบวงจรมากยิ่งขึ้น ฉกาจ กล่าวว่า สำ�หรับผลประกอบการในปี พ.ศ. 2561 ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ มี ผ ลประกอบการที่ เ ติ บ โต อย่ า งต่ อ เนื่ อ งประมาณ 2,030 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ 80-85% มาจากการจำ�หน่ายรถขุดไฮดรอลิกและรถปู ยางมะตอย SOMITOMO ให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) บริษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั สหกลอิควิปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นต้น ส่วนอีก 15% มาจากการจำ�หน่ายอะไหล่ บริการ หลังการขายจากศูนย์บริการของบริษทั ฯ ทีม่ อี ยูท่ วั่ ประเทศ
ในปี พ.ศ. 2562 นี้ บริษัทฯ ตั้งเป้ายอดขายไว้ที่ประมาณ 2,400 ล้านบาท คาดว่าจะมาจากยอดขายรถขุดไฮดรอลิกและ รถปูยางมะตอย SOMITOMO ประมาณ 2,000-2,100 ล้านบาท และยอดขายจากรถบรรทุกงานเหมือง PX รุ่น PX90ATYQ ขนาด 35 ตัน จากบริษัท ซานตง เผิงเซียง ออโตโมบิล จำ�กัด ประเทศจีน ประมาณ 300-350 ล้านบาท โดยบริษัทฯ ได้ตั้งงบประมาณในการ ทำ�การตลาดในแต่ ล ะปี ที่ ป ระมาณ 5 ล้ า นบาท ทั้ ง การทำ�แผน ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัทฯ การลงสื่อประชาสัมพันธ์ ต่างๆ และการเปิดศูนย์บริการของบริษทั ฯ รวมทัง้ กิจกรรมสานสัมพันธ์ กับกลุ่มลูกค้า ด้าน หยาง หมิง เจี๋ย ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซานตง เผิงเซียง ออโตโมบิล จำ�กัด ประเทศจีน กล่าวว่า บริษัทฯ ได้เข้ามา ทำ�ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนมากว่า 6 ปีแล้ว ทั้งในประเทศมาเลเซีย เมียนมา อินโดนีเซีย แม้ใน สปป.ลาว บริษทั ฯ จะไม่ได้เข้าไปทำ�ธุรกิจ โดยตรง แต่ ก็ มี พั น ธมิ ต รทางการค้ า เข้ า ไปทำ�ธุ ร กิ จ เช่ น เดี ยวกั น โดยในปี พ.ศ. 2561 ทีผ่ า่ นมา ทางบริษทั ฯ สามารถสร้างยอดขายได้ ประมาณ 10,000 ล้านบาท “การตัดสินใจร่วมเป็นพันธมิตรธุรกิจกับบริษัท ลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จำ�กัด เพราะเชื่อมั่นในความแข็งแกร่งและศักยภาพ ของลี ด เวย์ ที่ เ ข้ า ใจตลาดอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งจั ก รกลหนั ก และ ความต้ อ งการใช้ ร ถบรรทุ ก สำ � หรั บ งานเหมื อ งแร่ แ ละงานโรงโม่ ในประเทศไทยและในภู มิ ภ าคอาเซี ย นเป็ น อย่ า งดี อี ก ทั้ ง ยั ง มี ความพร้อมด้านบริการทั้งก่อนและหลังการขาย โดยมีศูนย์บริการ ครอบคลุมทั่วประเทศ ประกอบกับมีความโดดเด่นด้านการจัดหา สินเชื่อให้กับลูกค้า” หยาง หมิง เจี๋ย กล่าว
May-June 2019
33
ธุรกิจแร่
4 หัวใจหลักของการท�ำโรงโม่ที่มีประสิทธิภาพ เครื่องจักร-ระบบการท�ำงาน-การบริหาร และการซ่อมบ�ำรุง
ห
ากกล่าวถึงโรงโม่หนิ แล้ว แน่นอน ว่ า ภาพที่ ติ ด ตาเราทุ ก คนคื อ สถานทีท่ เี่ ต็มไปด้วยฝุน่ คนงานต้องทำ�งาน หนักท่ามกลางแดดเมืองไทยที่ร้อนจัด แต่ ไม่ใช่สำ�หรับ คุณศราวุธ จันทรวรินทร์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท โรงโม่หินเขาใหญ่ จำ�กัด ผู้ ซึ่ ง ใช้ ป ระสบการณ์ จ ากการทำ�ธุ ร กิ จ ใน อุตสาหกรรมนีม้ ากว่า 10 ปี ในการผสมผสาน เทคโนโลยี เ ข้ า กั บ กระบวนการผลิ ต ของ โรงโม่หิน จนเกิดเป็นโรงโม่หินเขาใหญ่ ที่มี ความโดดเด่นทัง้ ในด้านประสิทธิภาพการผลิต และเทคโนโลยีในการควบคุมทีท่ นั สมัย ทำ�ให้ เกิดการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพอย่างสม่ำ�เสมอ ตลอดระยะเวลาเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา
กว่าจะมาเป็นโรงโม่หินเขาใหญ่
อี ก หนึ่ ง ท่ า นที่ ใ ห้ เ กี ย รติ ร่ ว มแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ ใ นครั้ ง นี้ คื อ คุ ณ จั น ทนา จันทรวรินทร์ ภรรยาคุณศราวุธ ซึง่ ทัง้ 2 ท่าน ได้ เ ล่ า ถึ ง ที่ ม าของโรงโม่ หิ น เขาใหญ่ ซึ่ ง นับเป็นโรงโม่ที่ 3 ของบริษทั ในเครือ จากเดิม ที่มีอยู่แล้ว 2 แห่งคือ ศิลาภูพระลาน และ ศิลาเพชรพระลาน ตัง้ อยูใ่ นตำ�บลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรเี ช่นเดียวกัน แต่เนือ่ งด้วยกำ�ลัง การผลิตทีไ่ ม่เพียงพอทีจ่ ะรองรับความต้องการ หินประเภทต่างๆ เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม ก่อสร้างที่กำ�ลังเติบโตอย่างก้าวกระโดดของ ประเทศไทยได้ จึงทำ�ให้ทางบริษทั ฯ มองเห็น ความจำ�เป็นในการก่อสร้างโรงโม่หนิ แห่งใหม่ ขึ้น ซึ่งก็คือโรงโม่หินเขาใหญ่นั่นเอง “สิ่ ง ที่ เ ราตั้ ง ไว้ เ ป็ น เป้ า หมายในการ สร้างโรงโม่หินใหม่ก็คือ กำ�ลังการผลิตที่ต้อง 34
May-June 2019
คงทีส่ ม่�ำ เสมอ เครือ่ งจักรต้องสามารถทำ�งาน ได้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ และระบบต้ อ งเอื้ อ อำ�นวยความสะดวกต่อการทำ�งานให้คนงาน ของเรา” คุณศราวุธ กล่าว และทั้งหมดนี้ มาจากประสบการณ์ในการบริหารโรงโม่ทั้ง 2 แห่งที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการผลิตที่ไม่ คงทีจ่ ากเครือ่ งจักรทีม่ ปี ญ ั หาบ่อย ไม่ทนทาน และต้องซ่อมบำ�รุงบ่อยครั้ง ทำ�ให้เสียเวลา เสียโอกาสทางธุรกิจ เมื่อตัดสินใจสร้างแล้ว คุณศราวุธได้ ทำ�การศึกษาแนวทางการก่อสร้างโรงโม่หิน ทั้งจากในประเทศไทยและจากการเดินทาง ไปดู ตั ว อย่ า งโรงโม่ หิ น กั บ ทาง Telsmith ที่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เพื่ อ นำ�มาปรั บ ให้เหมาะกับการใช้งานของตนเอง โดยทั้ง
ทีมงานจาก Telsmith และดีเคเอสเอชเอง ก็ได้เข้ามามีส่วนช่วยในการออกแบบและ ตรวจสอบเครื่องจักรจนสามารถทำ�งานได้ ตามเป้าหมายทีค่ ุณศราวุธวางไว้ “ทางทีมงาน Telsmith จากประเทศ สหรัฐอเมริกาเองก็เข้ามาช่วยในการตรวจสอบ แบบของโรงโม่วา่ จะสามารถทำ�งานได้ตามทีเ่ รา ต้องการหรือไม่ เครื่องจักรตัวไหน รุ่นไหน ทีเ่ หมาะสม เริม่ ต้นเลยเราตัง้ ไว้วา่ โรงโม่แห่งนี้ ต้องมีก�ำ ลังการผลิตที่ 600 ตันต่อชัว่ โมง แต่ ตอนนีส้ ามารถทำ�งานได้ทเี่ ฉลีย่ 650 ตันต่อ ชั่วโมง” คุณศราวุธ กล่าวเสริม เมื่อเรื่อง เครื่องจักรต่างๆ ทั้ง Jaw Crusher, Cone Crusher, Feeder และ Screen ได้ รั บ การสรุปจาก Telsmith แล้ว สิง่ ต่อไปทีต่ อ้ งทำ�
คุณศราวุธ จันทรวรินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โรงโม่หินเขาใหญ่ จ�ำกัด และ คุณจันทนา จันทรวรินทร์
คือการวางระบบการทำ�งานและการบริหาร จัดการ เพื่อให้ทุกอย่างภายในโรงโม่ทำ�งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุณศราวุธ จึงเลือก ระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติ และการใช้ กล้อง CCTV เพือ่ ให้ทมี งานสามารถตรวจดู การทำ�งานของเครือ่ งจักร และการลำ�เลียงใน ทุกๆ จุดของโรงโม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัยมากกว่าเดิม ด้วยความร่วมมือ ของทุกฝ่าย โรงโม่หนิ เขาใหญ่กไ็ ด้ถกู สร้างขึน้ อย่างสมบูรณ์
4 หัวใจในการทำ�โรงโม่หิน
เครื่องจักรที่ดี ระบบการทำ�งานที่ดี การบริหารจัดการที่ดี และสุดท้ายการบำ�รุง ซ่อมแซมเครื่องจักร ทั้งหมดนี้เป็น 4 หัวใจ หลักในการดำ�เนินงานของโรงโม่หินอย่าง แท้จริง “งานโรงโม่หนิ ต้องอยูก่ บั หินและเหล็ก เครือ่ งจักรจึงต้องมีคณ ุ ภาพ ทนทาน Telsmith เป็นแบรนด์จากสหรัฐอเมริกา ซึง่ เป็นประเทศ ที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับด้านคุณภาพของ งานเหล็กกล้า ผมจึงมั่นใจเลือกใช้ ไม่ใช่แค่ ในโรงโม่นเ้ี ท่านัน้ แต่รวมถึง 2 โรงก่อนหน้านี้ ด้วยทีท่ ยอยปรับปรุง” คุณศราวุธ กล่าวเพิม่ เติม สำ�หรับระบบการทำ�งาน ก็หมายถึงระบบการ วางสายการผลิตของโรงโม่ที่ต้องได้รับการ ตรวจสอบ ทดสอบ และสร้างด้วยประสบการณ์ และผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านนัน้ ๆ การบริหารจัดการ ก็คอื เรือ่ งของคน คุณศราวุธ และคุณจันทนา เห็ นว่ า งานในโรงโม่ นั้ น เสี่ ย งอั น ตรายและ ก่อปัญหาสุขภาพให้คนงาน จึงพยายามอยูเ่ สมอ ทีจ่ ะพัฒนาให้คนงานทำ�งานในสภาพแวดล้อม ที่ดี จัดฝึกอบรมโดยทีมงานจากดีเคเอสเอช และ Telsmith เข้ า สนั บ สนุ น การสอนให้ พนักงานมีความรู้ และมีความสุขในการทำ�งาน
ทำ�งานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย สุดท้ายคือ การบำ�รุงรักษา เพราะการหยุดรอ เท่ากับการหยุดรายได้ ดังนั้นการสนับสนุน ด้านการซ่อม อะไหล่ต่างๆ ต้องพร้อมเสมอ และนีก่ เ็ ป็นหน้าทีข่ องดีเคเอสเอชทีร่ บั ผิดชอบ ด้านงานบริการหลังการขายให้แก่ Telsmith ในประเทศไทย
การลงทุนเพื่อลดต้นทุน
“ก่อนหน้านี้ตัวผมเองก็ไม่กล้าลงทุน ในเครื่องจักรมากนัก ใช้เครื่องจักรราคาที่ ไม่ สู ง มากหรื อ เป็ น เครื่ อ งจั ก รมื อ สอง แต่ หลังจากที่ใช้แล้ว ปัญหาหลักคือกำ�ลังการ ผลิตไม่เป็นไปตามทีต่ งั้ เป้าไว้ เครือ่ งเสียบ่อย เสี ย เวลา ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง และ ทำ�ให้เกิดค่าเสียโอกาส” คุณศราวุธ กล่าว การทำ�ธุรกิจของโรงโม่นนั้ หากเครือ่ งจักรเสีย บ่อย หยุดการผลิตบ่อย หินก็อาจจะไม่พอ
จำ � หน่ า ย ทำ � ให้ ลู ก ค้ า เปลี่ ย นไปรั บ สิ น ค้ า จากผู้ผลิตรายอื่น นอกจากผู้ผลิตเองจะเสีย โอกาสในการขายแล้ว ยังมีความเป็นไปได้สงู ที่ จ ะสู ญ เสี ย ลู ก ค้ า เสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ ซ่อมแซม “จากเหตุผลดังกล่าว ทำ� ให้เรา ลงทุนกับเครื่องจักรที่ดี มีมาตรฐาน ทนทาน และประสิทธิภาพสูง เพื่อลดต้นทุน” คุณ ศราวุธ กล่าวย้�ำ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างโรงโม่ใหม่หรือ การปรับปรุงโรงโม่เดิม สิ่งที่ต้องคำ�นึงถึงเลย คือทั้ง 4 หัวใจของโรงโม่ เครื่องจักร ระบบ การทำ�งาน การบริหารจัดการ และสุดท้าย คือการซ่อมบำ�รุง ทั้งหมดนี้มีความสำ�คัญ ไม่ด้อยไปกว่ากัน แต่อีกหนึ่งตัวแปรที่ส�ำ คัญ ทีไ่ ม่ควรละเลยคือ คูค่ า้ เช่น ดีเคเอสเอช และ Telsmith ที่จะสามารถเข้ามาสนับสนุนใน ทุกช่วงของการจัดการเพื่อไปสู่การบริหาร งานโรงโม่หนิ ทีป่ ระสบความสำ�เร็จในทีส่ ดุ
เครื่องจักรไม่ ได้คุณภาพ
ต้องเสียค่าซ่อม ค่าเสียเวลา ค่าเสียโอกาส ท�ำให้ต้นทุนเราสูงไปด้วย
คุณศราวุธ จันทรวรินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โรงโม่หินเขาใหญ่ จ�ำกัด
May-June 2019
35
กฎหมายแร่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดประชุมปรึกษาเบื้องต้นกับผู้มีส่วนได้เสียของผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยทีพ่ ระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. ๒๕๖๐ กำ�หนดให้ผปู้ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ ตามหมวด ๖ แห่งพระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ต้องทำ�การปรึกษาเบื้องต้นกับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อพัฒนาโครงการทำ�เหมืองใต้ดินของตนก่อนการขอประทานบัตรตาม ขั้นตอนที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศกำ�หนด อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๘๖ แห่งพระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนีเ้ รียกว่า “ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การจัดประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นกับผูม้ สี ว่ นได้เสียของผูป้ ระสงค์ จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ผูป้ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ ให้ยน่ื คำ�ขอต่ออธิบดีกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ เพือ่ แต่งตัง้ คณะกรรมการดำ�เนินการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กำ�หนดไว้ตามประกาศนี้
หมวด ๑
รายงานเบื้องต้นของโครงการ ข้อ ๔ รายงานเบือ้ งต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดนิ ทีจ่ ะนำ�ไปสูก่ ารปรึกษาเบือ้ งต้นกับผูม้ สี ว่ นได้เสียต้องประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี้ (๑) ข้อมูลแนะนำ�โครงการของผูป้ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ ทีแ่ สดงถึงแนวความคิดต่างๆ เกีย่ วกับขอบเขตและ วิธีการทำ�เหมืองใต้ดิน การแต่งแร่ การฟื้นฟูสภาพพื้นที่ภายหลังการทำ�เหมืองใต้ดิน การขนส่ง การใช้น้ำ� การใช้สาธารณูปโภค ที่เกี่ยวข้องกับประชาชน การจัดการกากแร่หรือผลพลอยได้หรือของเสีย การประเมินความเหมาะสมของโครงการและผลประโยชน์ ที่รัฐและท้องถิ่นจะได้รับจากโครงการ หรือข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�เหมืองใต้ดิน (๒) ข้อมูลการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำ�เนินการตาม (๑) โดยให้สรุปประเด็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้น แนวทาง การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบดังกล่าว เช่น ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ และด้านความปลอดภัย เป็นต้น
หมวด ๒
การได้มาซึ่งตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสีย ข้อ ๕ ผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ ผู้มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินแปลงนั้นตามประมวลกฎหมายที่ดิน หรือผู้มีสิทธิ ทำ�กินในทีด่ นิ แปลงนัน้ ตามกฎหมายอืน่ หรือผูอ้ ยูอ่ าศัยในเขตทีป่ ระสงค์จะทำ�เหมืองใต้ดนิ ทีม่ ชี อื่ อยูใ่ นทะเบียนบ้านมาแล้วเป็นเวลา ติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันคัดเลือกตัวแทนเพือ่ เข้าร่วมประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทัง้ นี้ ไม่วา่ จะได้รวมตัว กันเป็นกลุ่มหรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ในกรณีทผี่ มู้ ีสว่ นได้เสียซึง่ อยู่ในหมูบ่ ้านเดียวกัน ได้ลงลายมือชือ่ ร่วมกันเกินกว่าห้าสิบคนและได้ยนื่ รายชื่อต่อผูใ้ หญ่บา้ นที่ตน อยูใ่ นเขตการปกครองภายในยีส่ บิ วันนับแต่วนั ปิดประกาศแจ้งกำ�หนดวันจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้น ให้ถอื ว่าเป็นกลุม่ หรือองค์กร อันเกิดจากการรวมตัวของผูม้ สี ว่ นได้เสีย และหากในการลงลายมือชือ่ ร่วมกันดังกล่าวได้ระบุให้บคุ คลใดเป็นตัวแทนกลุม่ หรือองค์กร อันเกิดจากการรวมตัวของผูม้ สี ว่ นได้เสียหรือมีขอ้ ความใดทำ�ให้เข้าใจได้โดยปริยายเช่นนัน้ ให้ถอื ว่าผูท้ ถี่ กู ระบุชอื่ ดังกล่าวเป็นตัวแทน กลุ่มหรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผู้มีส่วนได้เสียนั้น ในกรณีที่มีกลุ่มหรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผู้มีส่วนได้เสียเกินกว่าหนึ่งกลุ่มหรือหนึ่งองค์กรหรือกลุ่มหรือองค์กร อันเกิดจากการรวมตัวของผูม้ สี ว่ นได้เสียไม่ได้กำ�หนดให้บคุ คลใดเป็นตัวแทนกลุม่ หรือองค์กรตามวรรคสอง และหรือมีผมู้ สี ว่ นได้เสีย อืน่ ทีม่ ไิ ด้รวมตัวกันเป็นกลุม่ หรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ให้ผใู้ หญ่บา้ นทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียอยูใ่ นเขตการปกครอง ของตนจัดให้มกี ารลงคะแนนเสียง เพือ่ คัดเลือกบุคคลเป็นตัวแทนของผูม้ สี ว่ นได้เสียจำ�นวนไม่เกินสองคน ทัง้ นีผ้ มู้ สี ว่ นได้เสียใช้สทิ ธิ ในการลงคะแนนเสียงได้เพียงครั้งเดียว และให้ถือว่ากลุ่มหรือองค์กรอันเกิดจากการรวมตัวของผู้มีส่วนได้เสียมีคะแนนเสียงเท่ากับ จำ�นวนสมาชิกของกลุ่มหรือองค์กรนั้น และเมื่อได้ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียจากคะแนนเสียงข้างมากแล้ว ให้ผู้ใหญ่บ้านแจ้งรายชื่อ บุคคลดังกล่าวให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นทราบ ทั้งนี้ การได้มาซึ่งตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียต้องดำ�เนินการ ให้แล้วเสร็จภายในยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น 36
May-June 2019
กรณีระยะเวลาเหลือน้อยกว่ายีส่ บิ วันนับถึงวันจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้น ถ้ายังไม่มตี วั แทนของผูม้ สี ว่ นได้เสีย หรือผูม้ สี ว่ น ได้เสียยังมิอาจระบุช่ือบุคคลใดเป็นตัวแทนของตนได้ ให้ถือว่าผู้ใหญ่บ้านที่ผู้มีส่วนได้เสียอยู่ในเขตการปกครองของตนเป็นตัวแทน ของผู้มีส่วนได้เสีย นอกจากตัวแทนของผูม้ สี ว่ นได้เสียตามวรรคสามแล้ว ให้กำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น ตัวแทนผูบ้ ริหารและสมาชิกสภาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีพื้นที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินตั้งอยู่ในเขตการปกครองของตนเป็นตัวแทนของผู้มีส่วน ได้เสียด้วย ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียต้องเป็นบุคคลธรรมดาและบรรลุนิติภาวะแล้ว ผู้มีส่วนได้เสียสามารถบอกเลิกการเป็นตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียเมื่อใดก็ได้ โดยให้ทำ�หนังสือพร้อมระบุชื่อตัวแทนที่จะ บอกเลิกต่อคณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นทราบก่อนเริ่มการประชุมปรึกษาเบื้องต้น ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียสามารถบอกเลิกการเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ โดยให้ทำ�หนังสือแจ้งต่อคณะกรรมการจัดการประชุม ปรึกษาเบื้องต้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกรายทราบ และให้มีตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียคนใหม่ โดยนำ�ความในวรรคสองหรือวรรคสาม แล้วแต่กรณีมาใช้บังคับโดยอนุโลม กรณีตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียถึงแก่ความตาย ให้มีตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียใหม่โดยนำ�ความในวรรคสองหรือวรรคสาม แล้วแต่กรณีมาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๖ ผู้เข้าร่วมการประชุมปรึกษาเบื้องต้น ได้แก่ (๑) ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียหมู่บ้านละไม่เกินสองคน (๒) กำ�นันและผู้ใหญ่บา้ นทุกคน ซึ่งพื้นที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินตั้งอยู่ในเขตการปกครองของตน (๓) ตัวแทนกลุ่มผู้บริหาร สมาชิกสภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพื้นที่ท่ีประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของตน หน่วยงานละไม่เกินสองคน
หมวด ๓
คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น ข้อ ๗ ให้อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการ จัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น” ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินยื่นคำ�ขอเพื่อแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นตามวรรคหนึ่ง ประกอบด้วย (๑) ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายในท้องที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตร ทำ�เหมืองใต้ดินส่วนใหญ่ตั้งอยู่ เป็นประธานกรรมการ (๒) นายอำ�เภอหรือผู้แทน ในท้องที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน เป็นกรรมการ (๓) ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดหรือผูแ้ ทน ในจังหวัดทีป่ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ เป็นกรรมการ (๔) เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือผู้แทน ในจังหวัดที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน เป็นกรรมการ (๕) ผู้บังคับการตำ�รวจภูธรจังหวัดหรือผู้แทน ในจังหวัดที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน เป็นกรรมการ (๖) ประชาสัมพันธ์จังหวัดหรือผู้แทน ในจังหวัดที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน เป็นกรรมการ (๗) ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในจังหวัดที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินส่วนใหญ่ จำ�นวนหนึ่งคน เป็นกรรมการ (๘) ผู้แทนกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เป็นกรรมการ (๙) บุคคลอื่นซึ่งอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่แต่งตั้ง จำ�นวนไม่เกินสามคน เป็นกรรมการ (๑๐) อุตสาหกรรมจังหวัด ในจังหวัดทีป่ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ ส่วนใหญ่ตงั้ อยู่ เป็นกรรมการและเลขานุการ (๑๑) หั วหน้ากลุ่มอุต สาหกรรมพื้น ฐานและการเหมื องแร่ สำ�นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ในจั ง หวั ด ที่ ป ระสงค์จะขอ ประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินส่วนใหญ่ตั้งอยู่ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ข้อ ๘ ให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น มีอำ�นาจและหน้าที่ ดังนี้ (๑) แจ้งผู้ใหญ่บ้านที่ผู้มีส่วนได้เสียอยู่ในเขตการปกครองของตนทำ�การคัดเลือกตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสีย (๒) แจ้งกลุ่มผู้บริหารและสมาชิกสภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน อยู่ในเขตการปกครองของตนทำ�การคัดเลือกตัวแทนของตน (๓) จัดส่งรายงานเบื้องต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดินตามข้อ ๔ ให้แก่ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียศึกษารายละเอียดล่วงหน้า ก่อนการประชุมปรึกษาเบื้องต้น (๔) สรุปประเด็นข้อซักถาม และหรือข้อคิดเห็นจากตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียส่งให้แก่ผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมือง ใต้ดินล่วงหน้า เพื่อเตรียมชี้แจงต่อที่ประชุมปรึกษาเบื้องต้น May-June 2019
37
(๕) ดำ�เนินการประชุมปรึกษาเบื้องต้น (๖) สรุปผลการประชุมส่งให้แก่ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสีย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และผู้ประสงค์จะขอ ประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน (๗) ประเมินและเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นจากผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน รวบรวมหลักฐานการใช้เงินและเงินคงเหลือให้แก่ผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน
หมวด ๔
การประชุมปรึกษาเบื้องต้น ข้อ ๙ เมือ่ คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นได้รบั รายงานเบือ้ งต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดนิ ตามข้อ ๔ ทีค่ รบถ้วน สมบูรณ์แล้ว ให้เตรียมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น ดังนี้ (๑) กำ�หนดวันจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้น โดยให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับจากวันที่ได้รับรายงานเบื้องต้นของ โครงการ แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยวันนับแต่วันดังกล่าว (๒) ภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั รายงานเบือ้ งต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดนิ ให้จดั ทำ�สำ�เนารายงานเบือ้ งต้นของโครงการ ทำ�เหมืองใต้ดินตามข้อ ๔ ไปปิดประกาศ ณ ที่ทำ�การผู้ใหญ่บ้าน ที่ทำ�การกำ�นัน ที่ว่าการอำ�เภอ ศาลากลางจังหวัด และที่ทำ�การ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียศึกษารายละเอียดและให้ ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อตัวแทนของตน โดยให้ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียรวบรวมข้อเสนอแนะหรือข้อกังวลหรือประเด็น ข้อซักถามต่างๆ เกีย่ วกับโครงการทำ�เหมืองใต้ดนิ ส่งให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นล่วงหน้าก่อนวันประชุมปรึกษาเบือ้ งต้น (๓) ภายในสิบวันนับแต่วันปิดประกาศตาม (๒) ให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นมีหนังสือแจ้งผู้ใหญ่บา้ นที่ผู้มี ส่วนได้เสียอยู่ในเขตการปกครองของตน กลุ่มผู้บริหาร และสมาชิกสภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ประสงค์จะขอ ประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินอยู่ในเขตการปกครองของตนแจ้งรายชื่อตัวแทนที่จะเข้าร่วมประชุมปรึกษาเบื้องต้นเป็นหนังสือต่อ คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นทราบภายในยีส่ บิ วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งจากคณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้น (๔) ภายในสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งรายชื่อตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียตาม (๓) ให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษา เบื้องต้นส่งรายงานเบื้องต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดินตามข้อ ๔ ให้ตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียศึกษารายละเอียดล่วงหน้า (๕) ส่งกำ�หนดการวันจัดประชุมปรึกษาเบื้องต้นให้ประชาสัมพันธ์จังหวัดในจังหวัดที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมือง ใต้ดิน เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายของประชาสัมพันธ์จังหวัดให้ทราบโดยทั่วถึง (๖) ทำ�หนังสือเชิญประชุมไปยังบุคคลผู้เข้าร่วมการประชุมปรึกษาเบื้องต้นตามข้อ ๖ ทั้งนี้หนังสือเชิญประชุมให้ระบุขั้นตอน การประชุมและการลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมด้วย ข้อ ๑๐ การดำ�เนินการประชุมปรึกษาเบื้องต้น (๑) ให้บคุ คลผูเ้ ข้าร่วมการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นตามข้อ ๖ และผูป้ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ ลงทะเบียนก่อน การเข้าประชุมปรึกษาเบื้องต้น (๒) ในการประชุมปรึกษาเบื้องต้น ต้องมีบุคคลผู้เข้าร่วมการประชุมปรึกษาเบื้องต้นตามข้อ ๖ จำ�นวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง กรณีเกิดเหตุสุดวิสัยไม่สามารถดำ�เนินการประชุมปรึกษาเบื้องต้นได้ให้จัดประชุมใหม่ (๓) เมือ่ เริม่ ประชุมให้ผปู้ ระสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดนิ นำ�เสนอข้อมูลรายงานเบือ้ งต้นของโครงการทำ�เหมืองใต้ดนิ ตามข้อ ๔ รวมถึงข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับโครงการทำ�เหมืองใต้ดิน และชี้แจงประเด็นข้อซักถาม และหรือข้อคิดเห็นหรือข้อกังวลของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ด้รบั จากคณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นล่วงหน้า และประเด็นข้อกังวลทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีป่ ระชุมปรึกษา เบื้องต้น ข้อ ๑๑ ให้คณะกรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบือ้ งต้นสรุปผลการประชุมให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ทีเ่ สร็จสิน้ การ ประชุมปรึกษาเบือ้ งต้น และส่งให้แก่ตวั แทนของผูม้ สี ว่ นได้เสีย กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ ผูป้ ระสงค์จะขอประทานบัตร ทำ�เหมืองใต้ดิน พร้อมทั้งนำ�ไปปิดประกาศ ณ ที่ทำ�การผู้ใหญ่บ้าน ที่ทำ�การกำ�นัน ที่วา่ การอำ�เภอ ศาลากลางจังหวัด และที่ทำ�การ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดิน กรณีผู้เข้าร่วมประชุมเห็นว่า รายงานการประชุมปรึกษาเบื้องต้นไม่เป็นไปตามที่ประชุม ให้โต้แย้งต่อคณะกรรมการจัดการ ประชุมปรึกษาเบื้องต้นเป็นลายลักษณ์อักษรภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับรายงานการประชุม หากข้อโต้แย้งนั้นรับฟังได้ให้คณะ กรรมการจัดการประชุมปรึกษาเบื้องต้นแก้ไขแล้วแจ้งให้ผู้โต้แย้งและผู้ประสงค์จะขอประทานบัตรทำ�เหมืองใต้ดินทราบ และรวมไว้ ในรายงานการประชุมปรึกษาเบื้องต้นเสนอต่ออธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ต่อไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 38
May-June 2019
แวดวงชาวเหมือง
สภาการเหมืองแร่ จัดงานประชุมสามัญประจำ�ปี 2562 วิษณุ ทับเที่ยง อธิบดี
กรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานและการ เหมื อ งแร่ (กพร.) เป็ น ประธานเปิ ด การประชุ ม สามั ญ ประจำ�ปี 2562 จัดโดย สภาการเหมืองแร่ เพื่อเสนอ นโยบายและรายงานผลการดำ�เนินงาน พร้อมด้วยงบดุลประจำ�ปี โดยมี อัญชลี ตระกู ล ดิ ษ ฐ รองประธานกรรมการ สภาการเหมื อ งแร่ ดิ เ รก รั ต นวิ ช ช์ รองประธานกรรมการการเหมืองแร่ สุรชิต มานะจิตต์ กรรมการสภาการ เหมืองแร่ และแขกผู้มีเกียรติ ตลอดจน สมาชิกเข้าร่วมการประชุมอย่างคับคั่ง เมื่ อวั น ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องแกรนด์ ซี โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ ให้เกียรติบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ทิศทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของ ประเทศไทย” พร้อมเยี่ยมชมบูธที่จัด แสดงภายในงานด้วย
วิษณุ ทับเที่ยง อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.)
สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ เลขาธิการสภาการเหมืองแร่
วัลลภ การวิวัฒน์ (กลาง) และ อัญชลี ตระกูลดิษฐ (ขวา) รองประธานกรรมการสภาการเหมืองแร่
May-June 2019
39