สมุดประจำ�ตัวผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลสิงหนคร
ต.สทิงหม้อ อ.สิงหนคร จ.สงขลา โทรศัพท์ 074-330539-43
ชื่อ....................................สกุล.....................................อายุ..........ปี HN.................................................................................................... การวินิจฉัยโรค.................................................................................... ผูท้ ตี่ ดิ ต่อได้กรณีฉกุ เฉิน....................................................................... เกีย่ วข้อง............................................................................................. เบอร์โทรศัพท์..............................................................
1
วันที่เริ่มป่วยเป็นโรค วันที่.............เดือน............................พ.ศ. ....................ระยะเวลา................ปี โรคแทรกซ้อน................................................................................................. ส่วนสูง ...............เซนติเมตร นำ�้หนัก................กิโลกรัม BMI.............. การเจ็บป่วยในอดีต DM GOUT HT RF
Storke / CVA Asthma /COPD
IHD / CHF Retinopathy
Other
พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยง ประวัติ DM/HT /Asthma ในครอบครัว ระบุ.......................... ออกกำ�ลังกาย.....................ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ.....................นาที กินอาหารเค็ม กินอาหารมัน กินอาหารหวาน สูบบุหรี่................มวน/วัน ดื่มสุรา................แก้ว/วัน เครียด/หงุดหงิด อื่นๆ.................................... คัดกรองอัมพฤกษ์ อัมพาต วันที่................................................ สูงมาก ( ผิดปกติ > 5 ข้อ ) สูงปานกลาง ( ผิดปกติ 3- 5 ข้อ) สูง ( ผิดปกติ > 5 ข้อ ) คัดกรองสุขภาพจิต/ซึมเศร้า ( 2Q ) ผล ปกติ ผิดปกติ ( ส่งต่อประเมิน 9Q ) Self – help group ระบุวันที่..........................
2
5 สัญญาณอันตราย โรคอัมพฤกษ์ อัมพาตมักจะมีอาการเตือนก่อนที่จะเกิดโรคโปรดจำ� ไว้ หากท่านมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้ว่าขณะนี้ท่านจะสบายดีควร ปรึกษาแพทย์ อาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันเป็นสัญญาณเตือนถึงความ เสียหายชั่วคราวที่เกิดขึ้นกับการไหลเวียนของเลือดไปสู่สมอง 1. ตาพร่ามัวมองเห็นภาพซ้อน 2. อาการชาครึ่งซีก หน้าชา ปากเบี้ยว แขนขาอ่อนแรง 3. พูดลำ�บาก ฟังไม่เข้าใจ 4. เวียนศีรษะ บ้านหมุน เดินเซ 5. ปวดศีรษะรุนแรง หากท่านมีอาการดังกล่าวข้างต้นควรรีบไปโรงพยาบาลใกล้บ้าน ทันทีเพื่อการตรวจและวินิจฉัยภายใน 3 ชม.
3
อย่ารอช้าเมื่อมีสัญญาณเตือน ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันนั้น อาจเกิดขึ้นเมื่อไรก็ได้โดยมี อาการแตกต่างกันออกไปในแต่ละราย ซึ่งอาการบอกเหตุของผู้ป่วยกล้าม เนื้อหัวใจตายที่สามารถสังเกตได้มีดังนี้ • เจ็บแน่นหน้าอกเหมือนมีอะไรหนักๆ มากดทับ • จุกแน่นหรือแสบบริเวณลิ้นปี่ • หายใจสั้น หอบ • อาจมีอาการเจ็บร้าวที่บริเวณแขน คอ ไหล่และกราม • เหงื่อออกท่วมตัว • คลื่นไส้ หน้ามืด ใจสั่น หากท่านมีอาการดังกล่าวให้รีบไปโรงพยาบาลใกล้บ้านทันที
4
ภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� ภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� คือ ภาวะที่ระดับน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ�กว่า 70 มก./ดล. เป็นภาวะที่ร้ายแรง หากรักษาไม่ทันอาจเป็นอันตรายได้ สาเหตุ • กินอาหารน้อยหรือกินอาหารเลยเวลาปกติ • ออกกำ�ลังกายมากกว่าที่เคยทำ�อยู่ • ใช้ยาอินสุลินหรือยาเม็ดรับประทานมากเกินไป • ดื่มสุราขณะท้องว่าง • เกิดอาการไม่สบาย เช่น อาเจียน ถ่ายเหลว อาการ - รู้สึกไม่สบายอย่างทันทีทันใด - หิวจัด ตัวสั่น เหงื่อออกมาก - ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว แรง - มึนงง เวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย - ปวดศีรษะ - รู้สึกชาบริเวณปลายมือและริมฝีปาก - ความรู้สึกนึกคิดผิดปกติไป - มีความผิดปกติทางการออกเสียงและการมองเห็น - พฤติกรรมหงุดหงิดและก้าวร้าว - รู้สึกสับสน - ถ้าช่วยเหลือไม่ทัน ผู้ป่วยจะหมดสติ
5
การแกƒ้ไขภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� 1. ถ้าผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดีให้รับประทานอาหารอย่าง ใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ทันที • ดื่มน้ำ�หวาน 100 - 200 มล. (1/2 - 1 แก้ว) อาจใช้เฮลล์บลูบอย 4 - 5 ช้อนชา ละลายน้ำ� 1 แก้ว • น้ำ�ตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ ละลายในน้ำ� 100 มล. • น้ำ�ผลไม้ 1/2 แก้ว, น้ำ�อัดลม 1/2 แก้ว หรือน้ำ�นม (หวาน) 1/2 แก้ว (120 มล.) • ลูกอม 2 เม็ดหรือน้ำ�ตาลก้อน 3 ก้อน • ผลไม้รสหวาน เช่น ส้ม 1-2 ผล, กล้วยน้ำ�ว้า 1-2 ผล อาการจะดีขึ้นภายใน 5 - 10 นาที ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ดื่มหรือรับ ประทานของหวานซ้ำ�อีก 2. ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวให้รีบนำ�ส่งโรงพยาบาลทันที
6
ภาวะน้ำ�ตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำ�ตาลในเลือดสูง คือ ภาวะที่ร่างกายควบคุมระดับน้ำ�ตาลใน เลือดไม่ได้ จะสูงมากกว่า 200 มก./ดล. สาเหตุ ไม่ควบคุมอาหาร กินอาหารมากเกินไป ขาดการออกกำ�ลังกาย ขาดยาหรือใช้ยาเบาหวานน้อยไป เช่น ไม่ได้ฉีดยาอินสุลิน หรือไม่กินยาเม็ดโดยสม่ำ�เสมอ อาการเจ็บป่วยมีภาวะติดเชื้อหรือมีไข้สูง ได้รับยาซึ่งต้านฤทธิ์อินสุลิน มีภาวะเครียดมาก ผู้สูงอายุ อาการ กระหายน้ำ�มาก อ่อนเพลีย ผอมลง เหนื่อยง่าย ปัสสาวะบ่อย และมากผิดปกติโดยเฉพาะเวลากลางคืน ง่วงเหงาหาวนอนอย่างที่ไม่เคยเป็น ปวดศีรษะ ตามัว คลื่นไส้ อาเจียน ปวดมวนในท้อง ซึม หมดสติ ชักกระตุก การแก้ƒไขภาวะน้ำ�ตาลในเลือดสูง ดื่มน้ำ�สะอาดมากๆ พักผ่อน งดการออกกำ�ลังกาย รีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล เพื่อรักษาตัวและแก้ไขภาวะ แทรกซ้อน
7
สัญญาณอันตรายบ‡งบอกโรคไต
1. ปัสสาวะขัดหรือปัสสาวะลำ�บาก 2. ปัสสาวะกลางคืนหรือปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ 3. ปัสสาวะเป็นเลือดสีน้ำ�ล้างเนื้อหรือขุ่นผิดปกติ 4. อาการบวมรอบตา บวมหน้า บวมเท้า 5. ปวดหลัง ปวดเอว 6. ความดันโลหิตสูง สาเหตุที่ทำ�ใหƒเกิดภาวะไตวาย
• เบาหวาน • ความดันโลหิตสูง • การติดเชื้อที่ซ้ำ�ๆของไต • นิ่วในไต
• ไตอักเสบ • โรคอ้วน • กรรมพันธ์ุ • สาเหตุอื่นๆ เช่น ถุงน้ำ�ในไต
ดูแลตนเองตามระยะการทำ�งานของไต โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 งดสูบบุหรี่ รักษาควบคุมโรคที่เป็นสาเหตุ โรคไตเรื้อรังระยะที่ 2 งดอาหารเค็ม โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 จำ�กัดอาหารโปรตีน โรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 จำ�กัดการกินผลไม ผักใบเขียวที่มีโปตัสเซียมสูง โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 เตรียมตัวพรอมเพื่อรอลางไตหรือผาตัดปลูกถายไต
การเฝ้าระวังภาวะ
8
ผู้ป่วย สีเขียว (ไม่เร่งด่วน)
การเฝ้าระวังเพื่อการดูแลตนเอง อาการแสดง
ระดับความดันโลหิตสูง (mg)
< 140/90
อาการทั่วไปปกติดี
สีเหลือง (เร่งด่วนปานกลาง)
ตัวบน 140- 159 ตัวล่าง 90-99
มึนงง ตาพร่ามัว ปวดศีรษะตรงท้ายทอยโดย มักจะปวดตอนตื่นนอน
สีส้ม (เร่งด่วน)
ตัวบน 160- 179 ตัวล่าง 100-109
หัวใจเต้นแรง ตื่นเต้น นอนไม่หลับ มือสั่น ปวดศีรษะ เหนื่อยง่าย
สีแดง (เร่งด่วนมาก)
>180/>110
ผู้ป่วย
แน่นหน้าอก นอนไม่หลับ เลือดกำ�เดาออกบ่อย ๆ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอัมพฤกษ์ อัมพาต
การเฝ้าระวังเพื่อการดูแลตนเอง ระดับน้ำ�ตาล(มิลลิกรัม เปอร์เซ็นต์)
อาการแสดงที่อาจพบได้
สีเขียว (ปกติ)
70 - 130
อาการทั่วไปปกติดี
สีเหลือง (รีบป้องกัน)
130 - 200
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย กระหายน้ำ� ปัสสาวะมากขึ้น
น้อยกว่า 70
หิวตัวสั่น มือสั่น เหงื่อมาก ซีด ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว แรง อ่อนเพลียระดับความรู้สึกตัวลดลงและหมดสติ
สีแดง (รีบ แก้ไขเร่งด่วน) สีแดง (รีบ แก้ไขเร่งด่วน)
อ่อนเพลียอย่างรุนแรง ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ� ผิวหนังแห้ง หายใจมีกลิ่นหอมเอียน หอบลึก ซึม สับสน หมดสติ ดูแลผูปวย เปาหมายเพื่อใหผูปวยปลอดภัย ไมมีภาวะแทรกซอนถามีปัญหาขอสงสัย ใหสอบถามจากเจาหนาที่
> 200
ด้วยความปรารถนาดี
สุขภาพของผู้ป่วย
9
ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ข้อควรปฏิบัติ
หมายเหตุ
งดอาหารรสเค็มจัด ควบคุมน้ำ�หนัก ไม่เครียด ออกกำ�ลังกาย สม่ำ�เสมอเบาๆ งดบุหรี่ สุรา
- คุณดูแลตนเองได้ดีมาก ขอให้ทำ�อย่าง ต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ประคบเย็นบริเวณศีรษะ นวดต้นคอและหลัง งดอาหารเค็ม กินยาครบทุกมื้อ ตรงเวลา พักผ่อนบนเตียง ประคบเย็น เลี่ยงกิจกรรมเบ่ง อุจจาระ ไอ จำ�กัดกิจกรรม อาการไม่ทุเลา พบแพทย์
- ลองทบทวนดูว่าอะไรทำ�ให้คุมความดัน ไม่ได้ กินยาถูกต้องไหม เครียดไปหรือ กินอาหารเค็ม มัน มากไปไหม แก้ไขที่ สาเหตุ แล้วความดันจะลดลง
พักผ่อนบนเตียง ลดสิ่งกระตุ้น อาหารอ่อน ย่อยง่าย ดูแล จมูกและช่องปากในรายที่มีเลือดกำ�เดาออก พบแพทย์/ญาติ นำ�ส่ง รพ.ทันทีหรือโทรสายด่วน 1669
ของผู้ป่วยเบาหวาน ข้อควรปฏิบัติ
หมายเหตุ
กินอาหาร อ่อนหวาน ลดเค็ม เพิ่มผัก ผลไม้ - คุณดูแลตนเองได้ดีมาก ขอให้ทำ�อย่าง ออกกำ�ลังกายสม่ำ�เสมอ กินยาและรับการรักษาต่อเนื่อง ต่อเนื่อง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน งดอาหารที่มีรสหวาน ทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย ดื่มน้ำ� เปล่า ทำ�กิจกรรมได้ตามปกติ สังเกตอาการ รีบดื่มน้ำ�หวานหรืออมทอฟฟี่ นอนพักเอาฟันปลอมออก จากปาก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง สังเกตอาการไม่ทุเลา พบแพทย์
พบแพทย์, ญาตินำ�ส่งรพ. ทันทีหรือโทรสายด่วน 1669
- ลองทบทวนดูว่าอะไรทำ�ให้น้ำ�ตาลสูง กินอาหาร พวกแป้ง ข้าว ของหวาน มาก ไปไหม, กินยาตรงเวลาหรือไม่, กินข้าว ตรงเวลาหรือไม่ หรือเครียดไป แก้ให้ตรง สาเหตุ แล้วน้ำ�ตาลจะลด
ดูแลผูปวย เปาหมายเพื่อใหผูปวยปลอดภัย ไมมีภาวะแทรกซอนถามีปัญหาขอสงสัย ใหสอบถามจากเจาหนาที่ จากโรงพยาบาลสิงหนคร
10
ผลการตรวจสุขภาพประจำ�ปี
รายการ
ค่าปกติ 80-126 mg/dl 7-18 mg/dl 0.7-1.4 mg/dl
^
2.6-6.0 mg/dl <7% <200 mg/dl >150 mg/dl >40 mg/dl <100 mg/dl <35 U/L <45 U/L Negative Negative
11
วัน/เดือน/ปี
12
ผลการตรวจภาวะแทรกซƒ้อน ตรวจ
..... . ศ . ปี พ ผล
การรักษา
..... . ศ . ปี พ ผล
การรักษา
13
..... ีป พ.ศ. ผล
การรักษา
...... ีป พ.ศ ผล
การรักษา
14
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
15
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
16
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
17
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
18
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
19
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
20
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
21
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
22
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
23
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
24
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
25
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
26
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
27
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
28
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
29
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
30
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
31
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
32
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
33
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
34
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
35
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
36
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
37
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
38
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
39
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง
40
วันที่
สถานที่ ตรวจ
นำ�หนัก (กก.)
ความดันโลหิต ชีพจร (มม.ปรอท) (ครั้ง/นาที)
ประวัติการรักษา นำ�ตาลในเลือด (มก/ดล)
41
การรักษา
วันนัด
ผู้ตรวจ
การประเมินผล เขียว
เหลือง
ส้ม
แดง