2384 p

Page 1

ฉบับส่งสื่อมวลชน

ท่องเที่ยวทำบุญเข้ำพรรษำ...คึกคัก หนุนตลำดไทยเที่ยวไทยไตรมำส 3 ปี’56 มีรำยได้ 1.2 แสนล้ำนบำท

CURRENT ISSUE วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 ปีที่ 19 ฉบับที่ 2384

ประเด็นสำคัญ  กระแสความนิยมเดิน ทางท่องเที่ยวทาบุญกระตุ้น ตลาดคนไทยเที่ยวในประเทศช่วงเทศกาล เข้าพรรษาปีนี้คึกคัก  ศูน ย์ วิ จั ย กสิ ก รไทย คาดตลาดไทยเที่ ย วไทยช่ ว งไตรมาส 3 ปี ’56 ขยายตั ว ร้ อยละ 6.0 จ า ก ช่ ว ง เ ดี ย ว กั น ข อง ปี ก่ อน ห น้ า แ ล ะ ส ร้ า ง ร า ย ได้ ส ะ พั ด ทั่ ว ไท ย คิ ด เ ป็ น มู ล ค่ า ประมาณ 1.2 แสนล้านบาทเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 จากปีก่อนหน้า  ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาปีนี้ คนกรุงฯ ส่วนใหญ่เข้าร่วมกิ จกรรมสาคัญในเทศกาลเข้าพรรษา คือ การทาบุญตักบาตร ไหว้พระขอพร และถวายเทียนเข้าพรรษาตามวัดต่างๆ เทศกาลเข้าพรรษาปีนี้อยู่ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม - 19 ตุลาคม 2556 ซึ่งตรงกับช่วงฤดูฝน และอยู่ ในช่วงนอกฤดูท่องเที่ยวของตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากตลาดระยะไกลในยุโรป ทาให้ บรรดาผู้ ประกอบธุร กิ จด้า นการท่อ งเที่ยวทั้ง หลายต่า งต้อ งพึ่ง ตลาดนักท่อ งเที่ยวคนไทย เพื่อมาช่ว ยชดเชย นักท่องเที่ยวต่างชาติที่ลดลง ด้วยการจัดรายการส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ ดึงดูดลูกค้า ทั้งในกลุ่มตลาด นักท่อ งเที่ยวทั่ว ไป และตลาดนักท่ อ งเที่ยวเฉพาะกลุ่ ม ซึ่ง ส่ ว นใหญ่ ก็ จะมุ่ ง ขยายตลาดการประชุมสั มมนา ทั้งของหน่วยราชการและธุรกิจเอกชน นอกจากนี้ ยังมีตลาดท่องเที่ยวทาบุญไหว้พระที่มีแนวโน้มขยายตัวอย่าง ต่อเนื่อง โดยได้แรงเกื้อหนุนสาคัญจากการแสวงหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางใจของผู้คนในปัจจุบัน ที่ส่วนใหญ่ต้องเผชิญ กับปัญหาต่างๆ ที่รุมเร้า ท่ามกลางความเร่งรีบแข่งกับเวลาในสังคมเมืองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะปัญหา ด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้านสุขภาพ และภัยธรรมชาติต่างๆ การทาบุญเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษามีประเพณีสาคัญอยู่ 2 ประเพณีท่ีคนไทยปฏิบัติสืบทอดกันมาช้า นานแล้ว คือ - ประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา เป็ นประเพณี ที่ เ กิ ดจากความจ าเป็ นในสมั ยก่ อ นที่ ยัง ไม่ มี ไฟฟ้า ใช้ พุทธศาสนิกชนจึงนิยมร่วมกันหล่อเทียนต้นใหญ่ เพื่อจุดได้นานตลอดระยะเวลา 3 เดือน ไปถวายพระสงฆ์เพื่อ


2

อานวยความสะดวกในการปฏิบัติกิจวัตร (เช่น ทาวัตรสวดมนต์เช้าและเย็น ศึกษาพระปริยัติธรรม เป็นต้น) ปัจจุบนั ประเพณีแห่เทียนพรรษายังนิยมถือปฏิบัติกันอยู่ทั่วไป และมีพุทธศาสนิกชนบางส่วนหันมาถวายหลอดไฟแทน - ประเพณี ถ วายผ้ าอาบน้ าฝน พุทธศาสนิกชนไทยยั ง คงให้ความส าคั ญ กั บ การนาผ้ า อาบน้าฝน ไปถวายพระสงฆ์ พร้อมกับอาหารและเครื่องใช้ที่จาเป็น ในช่วงเข้าพรรษา จัง หวั ดที่มีการจัด งานประเพณี ทาบุญเข้า พรรษาอย่ า งยิ่ ง ใหญ่ จนกลายเป็นกิ จกรรมระดับประเทศ ที่ ส ามารถดึ ง ดู ดนั กท่ อ งเที่ ยวทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ จ านวนมากเดิ นทางไปร่ ว มกิ จ กรรมทุ กปี ได้ แ ก่ ประเพณีการแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี และประเพณีตักบาตรดอกเข้าพรรษา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ท้องถิ่นของจังหวั ดสระบุรี นอกจากนี้ ประเพณีตักบาตรดอกไม้ยัง ได้ขยาย วงกว้างไปในหลายพื้นที่ รวมทั้งกรุงเทพฯ ซึ่งมีพระอารามหลวงหลายแห่งที่มี พิ ธี นี้ ได้ แ ก่ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห ารฯ วั ด ราชบพิ ธ สถิ ต มหาสี ม ารามฯ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามฯ วัดเทพศิริ นทราวาสฯ และวัดพระราม 9 กาญจนาภิเ ษก โดยแต่ล ะแห่งจะนาดอกไม้ชนิ ดอื่ นที่ไม่ใ ช่ดอกเข้า พรรษา มาตักบาตรดอกไม้ เช่น ดอกบัว ดอกกล้วยไม้ ดอกดาวเรือง และดอกมะลิ ขณะเดี ยวกั น คนไทยที่อ าศั ยอยู่ ตามแนวลุ่ มแม่ น้าเจ้า พระยา แม่ น้าสายหลั กของไทย ในเทศกาล เข้าพรรษา นิยมจัดกิจกรรมประเพณีแห่เทียนพรรษาทางน้า เช่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดนนทบุรี ที่ยังคงอนุรักษ์ไว้เพื่อให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมแก่คนรุ่นหลัง ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ต่ า งจั ด งานท าบุ ญ ในเทศกาลเข้ า พรรษาตามประเพณี ที่ สื บ ทอดกั น มา ดึ ง ดู ด ให้ พุทธศาสนิกชนทั้ ง ในพื้นที่ แ ละต่ า งพื้น ที่ ม าร่ ว มกิ จ กรรมกั นอย่ า งคึ กคั กในปีนี้ ซึ่ง มี วั น หยุ ด ติ ด ต่ อ กั น 4 วั น (วันที่ 20 – 23 กรกฎาคม 2556)

คนกรุงฯ ร้อยละ 96.4 ยังเห็นถึงความส้าคัญของเทศกาลเข้าพรรษา ประชาชนส่วนใหญ่ต่างวางแผนการใช้เวลาช่วงวันหยุดต่อเนื่องในวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษานี้ ทากิ จกรรมเกี่ ยวเนื่อ งกั บพุทธประเพณี และกิ จกรรมอื่นๆ โดยเฉพาะการเดิ น ท่องเที่ยวในสถานที่ ท่อ งเที่ยว ใกล้เคียงวัดที่เดินทางไปทาบุญ นอกจากคนไทยในต่างจังหวัดที่มีวิถีการดารงชีวิตเอื้ออานวยต่อการทาบุญเป็นประจาในทุกวาระแล้ว ในปัจจุบันคนกรุงเทพฯ เองก็หันมาเข้าวัดทาบุญกันมากขึ้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นวัดในพื้นที่รอบเกาะรัตนโกสินทร์ และจังหวัดใกล้เคียง (อาทิ นครปฐม พระนครศรีอยุธยา และฉะเชิงเทรา เป็นต้น ) ที่สามารถเดินทางไปและกลับ ในวันเดียวกันได้อย่างสะดวกสบาย ด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล หรือระบบขนส่งสาธารณะ

CURRENT ISSUE


3

ศูนย์ว ัยกสกร ทย ด้ท้าการส้ารว พฤตกรรมการเข้าร่วมก กรรมงานบุญประเพณี น ่ว ง เข้าพรรษาป 6 ของคนกรุงเทพฯ ในลักษณะการสารวจเชิงคุณภาพ ระหว่างวันที่ 10-16 กรกฎาคม 2556 จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 416 คน ที่ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพหลัก และทุก ช่วงอายุ เพื่อสะท้อนถึงค่านิยมต่ อ กิจกรรมทางพุทธศาสนาของคนไทยที่สืบทอดกันช้านาน รวมถึงพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในงานประเพณี เข้าพรรษาในปีนี้ ซึ่งสามารถสรุปประเด็นที่สาคัญได้ดังนี้  กลุ่มตัวอย่างส่วน หญ่ คอ ร้อยละ 96.4 เห็นว่าเทศกาลเข้าพรรษายังคงมีความส้าคัญ เนื่ อ งจากเป็ นกิ จ กรรมที่ ช่ ว ยสื บ ทอดประเพณี แ ละวั ฒ นธรรมอั น ดี ข องไทย ในวั น ส าคั ญ ทางพุ ท ธศาสนา โดยร้ อยละ 69 2 มี แผนจะเข้า ร่วมกิจกรรมในวันเข้ าพรรษา ได้แก่ การทาบุญตักบาตร ทาทาน บริจาคปัจจั ย การถวายเทียนพรรษา หลอดไฟ การปฏิบัติธรรม การถวายผ้าอาบน้าฝน และการไหว้พระขอพร เป็นต้น  กลุ่ ม ตั ว อย่างเล อก ปท้ าบุญที วั ด นกรุ ง เทพฯ มากอั นดั บ หนึง รองลงมา คื อ ที่วั ดใน จัง หวั ดใกล้ เ คี ยงกรุ ง เทพฯ เช่น พระนครศรี อ ยุ ธ ยา นครปฐม ฉะเชิง เทรา ปทุมธานี นนทบุรี สมุ ทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังรวมถึงวัดในต่างจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ซึ่งมีญาติหรือคนรู้จัก พานักอยู่  กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ และญาติพี่น้อง

เดนทาง ปท้าบุญกับสมา ก นครอบครัว รวมทั้งเพื่อนฝูง

 กลุ่ มตั ว อย่ า งส่ ว น ห ญ่ เ ด น ท าง ปร่ ว มก กร ร ม ่ ว ง เ ทศ ก าล เ ข้ า พ รร ษ า ด้วยรถยนต์ส่วนตัว คดร้อยละ . รองลงมา คือ ใช้บริการระบบขนส่งมวลชน สรุปผลส้ารว พฤตกรรมคนกรุงฯ นวันหยุด ่วงเข้าพรรษา ป 2556

ก กรรมของคนกรุงฯ น ่วงเข้าพรรษาปนี     

. % ทาบุญตักบาตร ทาทาน บริจาคปัจจัย . % ถวายเทียนพรรษา หลอดไฟ . % ปฏิบัติธรรม . % ถวายผ้าอาบน้าฝน .6% ไหว้พระขอพร

คนกรุงฯ เลอก ปท้าบุญที หน 4 .4% วัดในกรุงเทพฯ  .9% วัดในจังหวัดใกล้เคียง (เช่น พระนครศรีอยุธยา นครปฐม เป็นต้น)

 .4% วัดในต่างจัง หวัด ตามภูมิภาคต่างๆ

อ ด้ ากก า 1 ข้อ

ไม่ใช่

นปนี …คนกรุงฯ มีแผนเข้าร่วมก กรรม ท้าบุญ น ่วงเข้าพรรษา คนกรุงฯ ยังเห็นถึงความส้าคัญของเทศกาลเข้าพรรษา ที่มา : โพลล์ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

69. % 96.4%

30 %

3 6%

CURRENT ISSUE


4

ท่องเทียวท้าบุญ....คึกคัก : หนุน ทยเทียว ทยสร้างราย ด้สะพัด . แสนล้านบาท การจัดกิจกรรมในช่วงเทศกาลเข้าพรรษากันอย่างยิ่งใหญ่ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะตามวัดที่มีชื่อเสียง ซึ่งบรรดาพุทธศาสนิกชนเลื่อมใสศรัทธากันมาช้านาน เพื่อรองรับกระแสการทาบุญที่ขยายตัวอย่างกว้างขวางไป ในหมู่คนไทยชาวพุทธ ทุกเพศ ทุกวัย ที่ส่วนใหญ่ต่างแสวงหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางใจ เพื่อสามารถยืนหยัดผ่านพ้น วิกฤตต่า งๆ ที่ผ่ านเข้ ามาในชีวิ ตยุ คโลกไร้พ รมแดนในปัจจุบัน เมื่อ ประกอบกั บบรรยากาศการท่อ งเที่ยวไทย ที่ แ จ่ ม ใส จึ ง มี แ นวโน้ ม เกื้ อ หนุ น การเติ บ โตของตลาดคนไทยเที่ ย วในประเทศช่ ว งไตรมาส 3 ของปี นี้ โดย ศูนย์ว ัยกสกร ทย คาดการณ์ว่า ะมีคน ทยเดนทางท่องเทียว นประเทศประมาณ . ล้านคน ครั ง เพมขึ นร้ อยละ 6. เม อเทียบกั บ ่ว งเดี ยวกั นของปก่ อนหน้ า และมีแ นวโน้ มก่ อ ห้ เ กดราย ด้ ท่ อ งเที ยว ค ดเป็ น มู ล ค่ า ประมาณ . แสนล้ า นบาท เพ มขึ นร้ อ ยละ . ากป ก่ อ นหน้ า ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวคนไทยที่เที่ยวในประเทศนับได้ว่ายังเติบโต ต่อเนื่องจากช่วงครึ่งแรกของปี ท่ีขยายตัว ประมาณร้อยละ 9 6 (เทียบกับครึ่งแรกของปี 2555 ที่บรรยากาศภายในประเทศยังไม่เอื้อต่อการเดินทางท่องเที่ยว เนื่องจากเป็นช่วงที่คนไทยในหลายพื้นที่อยู่ระหว่างการซ่อมแซมบ้านเรือนหลังภัยน้าท่วมในช่วงไตรมาสสุดท้าย ของปี 2554) เม็ดเงิ นรายได้ท่อ งเที่ยวมูล ค่า 1 2 แสนล้านบาท ในช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้ มี แนวโน้มสะพัดสู่ธุ รกิ จ ที่เ กี่ยวข้อ ง โดยประมาณร้ อยละ 23 คิดเป็นมู ลค่ า 2 75 หมื่ นล้ า นบาท มีแ นวโน้มสะพัดไปสู่ ธุร กิ จด้ า นที่พัก รองลงมา คือ ร้อยละ 22 คิดเป็นมูลค่า 2 65 หมื่นล้านบาท สะพัดสู่ธุรกิจจาหน่ายสินค้าพื้นเมือง และร้อยละ 1 คิดเป็นมูลค่า 2 15 หมื่นล้านบาท สะพัดสู่ธุรกิจด้านอาหารและเครื่องดื่ม นอกจากนี้ เม็ดเงินรายได้ท่องเที่ยว ดั ง กล่ า ว ยั ง สะพัดสู่ ธุ ร กิ จด้ า นคมนาคมขนส่ ง และธุ ร กิ จด้ า นบัน เทิง และนั นทนาการในสั ดส่ ว นเท่า กั น คื อ ร้อยละ 15 คิดเป็นมูลค่ารวมกัน 3 6 หมื่นล้านบาท สาหรับแนวโน้มโดยรวมตลอดปี 2556 ศูนย์ว ัยกสกร ทย คาดว่า จานวนนักท่องเที่ยวคนไทยเที่ยว ในประเทศจะเติ บ โตประมาณ ร้ อ ยละ 6 1 จากปีก่อ นหน้ า โดยในช่ว งไตรมาส 4 ยั ง มี ปัจจัย หนุนจากการ ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วคนไทยส่ ว นใหญ่ นิ ย มเดิ น ทางไปท่ อ งเที่ ย วในภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเ หนื อ เพื่อสัมผัสอากาศที่หนาวเย็นในช่วงปลายปี -----------------------------------------Disclaimer รายงานวิจัยฉบับนีจ้ ัดทาเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยจัดทาขึ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ แต่บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความ น่าเชื่อถือ หรือความสมบูรณ์เพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงข้อมูลได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้า ทั้งนี้ผใู้ ช้ข้อมูลต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้ข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณของตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษัทฯ จะไม่รบั ผิด ต่อผู้ใช้หรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าว ข้อมูลในรายงานฉบับนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการให้ความเห็นหรือคาแนะนาในการตัดสินใจทาง ธุรกิจ แต่อย่างใดทั้งสิ้น

CURRENT ISSUE


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.