3375-p-การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอาเซียนปี’55 สร้างรายได้สะพัดในไทยกว่า 2,500 ล้านบาท

Page 1

ปที่ 18 ฉบับที่ 3375 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555

การทองเที่ยวเชิงสุขภาพอาเซียนป’55 : สรางรายไดสะพัดในไทยกวา 2,500 ลานบาท (ฉบับสงสื่อมวลชน)

ในปจจุบันผูคนสวนใหญตางหันมาใหความสําคัญในการเอาใจใสดูแลสุขภาพกันมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยง การเกิดโรคภัยตางๆ ซึ่งจะนําไปสูการเยียวยารักษาและเกิดค าใชจายตามมาจํานวนมาก สงผลใหผูประกอบธุรกิจ บริการดานสุขภาพ คือ โรงพยาบาลเอกชน ตางขยายบริการดานสุขภาพ จากเดิมที่มุงเนนการบําบัดรักษาโรคภัย ตางๆ ใหครอบคลุมตั้งแตการสงเสริมสุขภาพทั้งรางกายและ จิตใจใหแข็งแรงเพื่อปองกันโรคภัยตางๆ และการ ฟนฟูสุขภาพหลังการบําบัดรักษา รวมไปถึงบริการเสริมความงามเพื่อเสริมบุคลิกภาพ ที่เขามามีบทบาทมากขึน้ ใน ระยะหลัง

การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism)

นักทองเทีย่ วเชิงสุขภาพจาก ตางประเทศ

บริการดานการแพทยจากโรงพยาบาล (อาทิ ตรวจสุขภาพ รักษาโรคเฉพาะทาง ทันตกรรม ศัลยกรรม)

รวบรวมโดย บริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากัด

จากกระแสความใสใจดานสุขภาพที่เติบโตอยางรวดเร็วดังกลาว ทําใหหนวยงานภาครัฐในหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ตางใหการสนับสนุนธุรกิจเอกชนที่ใหบริการดานสุขภาพ เพื่อขยายตลาดในตางประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งกลุมประเทศที่กําลังพัฒนา (ยังขาดความพรอมของบริการดานสุขภาพในประเทศ) และกลุม ประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งสวนใหญมีคาบริการดานสุขภาพอยูในระดับสูง รวมทั้งยังตองรอคิวการใชบริการนาน การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) คือ การที่ชาวตางชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกวา นักทองเที่ยว เชิงสุขภาพ ซึ่งมีทั้งผูปวยตางชาติที่เดินทางเขารับการรักษาจากโรงพยาบาลในอีกประเทศ และนักทองเที่ ยว ตางชาติที่เดินทางทองเที่ยวตางประเทศพรอมใชบริการดานสุขภาพ อาทิ ตรวจสุขภาพ ทําฟน ศัลยกรรมความ งาม เปนตน ในโรงพยาบาลของประเทศนั้นๆ) เดินทางเขามาใชบริการดานสุขภาพในอีกประเทศ ปจจุบันหลายประเทศตางใหความสําคัญกับ การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งสรางรายไดจํานวนมากเขา ประเทศในแตละป โดยนอกจากการใชจายสําหรับบริการดานการแพทยของนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพใน โรงพยาบาลเอกชนของไทยแลว ยังมีการใชจายในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องดานการทองเที่ยวที่ติดตามมา ทั้งจาก นักทองเที่ยวเชิงสุขภาพและผูติดตามผูปวยตางชาติ นอกจากนี้ ยังมีการใชจายในบริการแพทยทางเลือกเพื่อ สงเสริมสุขภาพ/ ปองกันโรค อาทิ นวดแผนไทย และสปา จากสถานบริการนอกโรงพยาบาล ของนักทองเที่ยว ตางชาติทั่วไปของไทยอีกดวย


2

การทองเที่ยวเชิงสุขภาพป’55 : สรางรายไดเขาประเทศกวา 7 หมื่นลานบาท ทั้งนี้ จากขอมูลในการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพของการทองเที่ยวแหง ประเทศไทย (พิจารณาเฉพาะชาวตางชาติที่เดินทางเขามาใชบริการดานสุขภาพจากโรงพยาบาลเอกชนในไทย) ซึ่งไดประมาณการวา ในป 2555 ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพโลกจะมีมูลคาสูงถึง 1,740,000 ลานบาท ( 58,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ) โดยภูมิภาคเอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ครองสวนแบงตลาดอยูที่ รอยละ 15 ของ มูลคาตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพโลก หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 2.7 แสนลานบาท ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิภาคเอเชียใตและตะวันออกเฉียงใต มีประเทศผูใหบริการดานสุขภาพที่ สําคัญ คือ สิงคโปร ไทย อินเดีย มาเลเซีย และฟลิปปนส โดยสิงคโปรมีสวนแบงการตลาดมากที่สุด โดยมีสัดสวน รอยละ 33 คิดเปนมูลคาประมาณ 90,000 ลานบาท รองลงมา คือ ไทย สัดสวนรอยละ 26 คิดเปนมูลคาประมาณ 70,000 ลานบาท และอินเดียสัดสวนรอยละ 19 คิดเปนมูลคาประมาณกวา 50,000 ลานบาท ตามลําดับ สิงคโปรนับเปนประเทศแรกในภูมิภาคที่พัฒนาบริการดานสุขภาพมากอน โดยเนน บริการทางการแพทย ที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อขยายตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพในตลาดระดับบน ดวยการพยายามดึงดูดผูปวยตางชาติ จากภูมิภาคเอเชียและขยายไปยังตลาดในภูมิภาคอื่นๆ ที่สนใจไปรักษาในสหรัฐอเมริกาใหมารักษาที่สิงคโปรแทน ทั้งนี้ดวยบริการที่ไดมาตรฐานระดับโลก แตคาบริการที่ต่ํากวา รวมทั้งไมตองรอคิวนาน สําหรับประเทศไทยแมวาจะพัฒนาบริการดานสุขภาพเพื่อขยายตลาดในตางประเทศตามหลังสิงคโปร แตก็นับวามีการเติบโตในดานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพอยางรวดเร็ว เนื่องจากมี ความไดเปรียบในบริการดาน สุขภาพหลายประการ เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ในภูมิภาคเอเชียดวยกัน โดยเฉพาะความพรอ มในดานบุคลากร ทางการแพทย ที่มี ความสามารถเชี่ยวชาญโรคเฉพาะทาง และคาใชจายที่ต่ํากวา ดวยบริการที่มีคุณ ภาพใน มาตรฐานระดับเดียวกับประเทศที่พัฒนาแลว รวมทั้งยังมีความหลากหลายของแหลงทองเที่ยว และบริการรองรับ ดานการทองเที่ยวที่มีคุณภาพไดมาตรฐานสากล ซึ่งเกื้อหนุนตอการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ จากกระแสความใสใจในสุขภาพที่ มีมากขึ้นตามลําดับ ทําใหโรงพยาบาลเอกชนของไทย ซึ่งเดิมเนน บริการดานการรักษาโรคตางๆ หันมาพัฒนาบริการดานสงเสริมสุขภาพ รวมทั้งบริการดานเสริมความงาม เพื่อ สนองความตองการที่เพิ่มขึ้น โดยอาศัยความไดเปรียบจากความนาเชื่อถือในการใหคําปรึกษาของแพทย ขณะที่ บ ริ ก ารด า นแพทย ท างเลื อกซึ่ ง เน น ด า นการส ง เสริ มสุ ข ภาพเป น หลั ก มี ผู ป ระกอบการเข า มา ใหบริก ารเพิ่มขึ้นจํานวนมาก และพั ฒนาบริ การสง เสริมสุขภาพในหลากหลายรูปแบบ เพื่อตอบสนองความ ตองการที่เพิ่มขึ้น โดยมีบริการนวดแผนไทย และสปา เปนกิจกรรมที่มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับอยา งกวางขวางใน ตางประเทศ ทําใหสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาเที่ยวประเทศไทยใหใชบริการเพื่อสัมผัสบริการ นวดแผนไทย และบริการสปาที่เลื่องชื่อดวยสมุนไพรไทย โดย ศูนยวิจัยกสิกรไทย ประมาณการวา ในป 2555 การทองเที่ยวเชิงสุขภาพสรางรายไดสะพัด สู โรงพยาบาลเอกชนคิดเปนมูลคาประมาณ 70,000 ลานบาท นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารใช จ า ยในด า นอื่ น ๆของนั ก ท อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพและผู ติ ด ตามผู ป ว ยต า งชาติ ที่ ส ะพั ด สู ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งด า นการท อ งเที่ ย ว (อาทิ ธุ ร กิ จ ด า นที่ พั ก อาหาร สิ น ค า ของที่ ร ะลึ ก เป น ต น )


3

คิดเปนมูลคาประมาณ 50,000 ลานบาท รวมทั้ง ยังมีการใชจายในบริการแพทยทางเลือก (อาทิ นวดแผนไทย และสปา) จากสถานบริการนอกโรงพยาบาล ของนักทองเที่ยวตางชาติทั่วไปของไทย คิดเปนมูลคาประมาณ 20,000 ลานบาท ดั ง นั้ น ศู น ย วิ จั ย กสิ ก รไทย จึ ง คาดการณ ว า ในป 2555 บริ ก ารด า นสุ ข ภาพทั้ งบริ ก ารด า น การแพทย และบริ ก ารด า นแพทย ท างเลื อก รวมทั้ งบริ ก ารที่ เ กี่ ย วเนื่ องด า นการท องเที่ ย วของไทย สรางรายไดโดยรวมเขาประเทศคิดเปนมูลคาไมต่ํากวา 1.4 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 18 เมื่อเทียบกับปกอนหนา

อาเซียน : ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพมูลคา 2,500 ลานบาท...กับความทาทายหลังเปดเสรีป 2558  อาเซียน.....ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพมูลคา 2,500 ลานบาทป 2555 หากพิ จ ารณาค า ใช จา ยด า นสุ ขภาพในโรงพยาบาลเอกชนของตลาดท องเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพอาเซี ย น จากขอมูลผูปวยตางชาติและรายไดของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ซึ่งรวบรวมโดยกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ กระทรวงพาณิชย พบวา มีผูปวยอาเซียน (สวนใหญ คือ ลาว เมียนมาร และกัมพูชา) คิดเปนสัดสวน ประมาณรอยละ 5 ในป 2554 ดังนั้น จากจํานวนชาวตางชาติที่คาดวาจะเดินทางเขามาใชบริการดานสุขภาพใน ประเทศไทยประมาณ 1.48 ลานคน ในป 2555 คาดวาจะเปนผูปวยอาเซียนประมาณ 8.14 หมื่นคน โดย ศูนยวิจัยกสิกรไทย ประมาณการวา ในป 2555 การทองเที่ยวเชิงสุขภาพจากตลาดอาเซียน สรางรายไดสะพัดสูโรงพยาบาลเอกชนคิดเปนมูลคาประมาณ 2,500 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีการใชจายในดานอื่น ๆของนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพจากอาเซียน และผูติดตามผูปวยจาก อาเซียน ที่สะพัดสูธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องดานการทองเที่ยว (อาทิ ธุรกิจดานที่พัก อาหาร สินคาของที่ระลึก เปนตน ) คิดเปนมูลคาประมาณ 1,370 ลานบาท รวมทั้ง ยังมีการใชจายในบริการแพทยทางเลือก (อาทิ นวดแผนไทย และสปา) จากสถานบริการนอกโรงพยาบาล ของนักทองเที่ยวทั่วไปจากอาเซียน คิดเปนมูลคาประมาณ 1,530 ลานบาท ศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดการณวา ในป 2555 บริการดานสุขภาพทั้งบริการดานการแพทย และบริการ ดานแพทยทางเลือก รวมทั้งบริการที่เกี่ยวเนื่องดานการทองเที่ยวของไทย สรางรายไดโดยรวมเขาประเทศคิดเปน มูลคาไมต่ํากวา 5,400 ลานบาท เพิ่มขึ้นกวารอยละ 20 เมื่อเทียบกับปกอนหนา  ความทาทายหลัง AEC….ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพที่เติบโตแบบกาวกระโดด การเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) นั้น มีผลกระทบทั้งใน ดานบวกและดานลบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยว และธุรกิจบริการดานสุขภาพของไทย กลาวคือ การเปดเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะชวยเพิ่มโอกาสใหภาคการทองเที่ยว และบริการดานสุขภาพของไทย ดังนี้ - ขยายตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิ ภาคอาเซียนของไทย โดยเฉพาะตลาดนักทองเที่ยวที่มี กําลังซื้อสูงในกลุมประเทศเพื่อนบาน เชน เมียนมาร ลาว กัมพูชา รวมถึงตลาดนักทองเที่ยวอินโดนีเซีย ที่ปจจุบัน มีหลายปจจัยหนุนใหประชาชนเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ อาทิ สภาพสังคมและเศรษฐกิจภายในประเทศ


4

- ขยายตลาดนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพจากนอกภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลวที่มี คาใชจายดานสุขภาพในประเทศสูงกวาประเทศในอาเซียนหลายเทาตัว รวมทั้งประเทศผูผลิตน้ํามันในภูมิภาค ตะวันออกกลาง ซึ่งมีแนวโนมหลีกเลี่ยงการเดินทางไปรักษาในสหรัฐอเมริกา ที่เข มงวดดานความปลอดภัยมากขึ้น หลังเกิดเหตุการณวินาศกรรมตึกเวิลดเทรดเมื่อ 11 กันยายน 2001 - จุ ดเดน ในด านการให บริ การที่มี คุณ ภาพได มาตรฐานระดั บสากลของธุ รกิ จบริ การด านการแพทย ของไทย เปนจุดแข็งที่ชวยสรางโอกาสในการเขาไปลงทุนหรือเขาไปรับบริหารโรงพยาบาลเอกชนในกลุม ประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร และเวียดนาม) อยางไรก็ตาม การเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีแนวโนมจะยิ่งเพิ่มระดับความรุนแรงของการ แขงขันดานการทองเที่ยวและธุรกิจบริการดานสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน โดยนักลงทุนจากประเทศกลุมสมาชิก อาเซียนจะขยายการลงทุนเขามาในประเทศไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในธุรกิจบริการดานการแพทยทางเลือก ที่มุง เนน ดานการสงเสริ มสุข ภาพ (อาทิ ธุร กิจนวดแผนไทย และธุร กิจสปา) และธุร กิจ บริก ารด านการแพทย ซึ่งมุงเนนทั้งดานการสงเสริมสุขภาพ การบําบัดรักษา และการฟนฟูสุขภาพ รวมทั้ งการเสริมความงาม (อาทิ โรงพยาบาล และสถานใหบริการดานการแพทย ) รวมถึงธุรกิจดานการทองเที่ยว และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ เชน ธุรกิจดานที่พัก อาทิ โรงแรม และ เซอรวิสอพารตเมนท เปนตน ทั้งนี้ ศูนยวิจัยกสิกรไทย ไดวิเคราะหศักยภาพของประเทศอาเซียนที่ สําคัญ ซึ่งอยูระหวางการเพิ่มขีด ความสามารถเพื่อขยายสวนแบงในตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพของภูมิภาคอาเซียน โดยมองจากคุณภาพการ ใหบริการดานการแพทย และการมีจิตใจในการใหบริการ (Service Mind) ดังรายละเอียดตอไปนี้ สิงคโปร แม ว า จะเป น เพี ย งเกาะเล็ ก ๆ ที่ ไ ม มี แ หล ง ท อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ แต รั ฐ บาล สิงคโปรก็ใหการสนับสนุนทั้งดานเงินทุนเพื่อพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น และดานกิจกรรมสงเสริม การตลาดเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวให เดินทางเขามาเที่ยวตลอดทั้งป ขณะที่ตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพเปนอีกหนึ่ง อุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญในการสรางรายไดเขาประเทศของสิงคโปร โดยมีการประสานงานอยางเปนระบบ ของหน ว ยงานภาครั ฐ ในการสนับ สนุน ภาคเอกชน ทั้ ง นี้ หนว ยงานที่เ กี่ ยวข องไดว างตํ า แหน งทางการตลาด (Positioning) ของสิงคโปร ใหเปนการตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพระดับ High-End เนื่องจากการใหบริการทาง การแพทยที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง โดยมีชื่อเสียงที่โดดเดนในดานคุณภาพของบริการรักษาพยาบาลในระดับแนวหนา ของโลกเปนจุดขายที่ชัดเจน สิงคโปรเนนเจาะลูกคาที่เปนองคกร และขยายจากตลาดกลุมประเทศที่กําลังพัฒนา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และตะวั นออกกลางในระยะแรก ไปยังตลาดขนาดใหญในเอเชีย คือ จีน และอินเดีย รวมทั้งกลุมประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และประเทศอื่นๆในยุโรป ทั้งนี้ หากเปรียบเทียบกับไทยแลว พบวา การมีจิตใจในการใหบริการในระดับที่ต่ํากวาและคาใชจาย ที่สูงกวา นาจะเปนขอเสียเปรียบของสิงคโปร แตเมื่อพิจารณาปจจัยในดานคุณภาพการบริการดานการแพทยดวย เทคโนโลยีขั้นสู ง และความสะอาด ถูก สุขอนามัย ของสภาพแวดลอมในสิง คโปร รวมทั้ง ความไดเ ปรีย บดา น ภาษาตางประเทศ ทําใหสิงคโปรครองสวนแบงในตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพในเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียง ใต ในสัดสวนที่สูงกวาไทย คือ รอยละ 33 เทียบกับรอยละ 26 ของไทย


5

ไทย มีปจจัยหนุนสําคัญ คือ ความคุมคาเงินที่จายไปทั้งดานการทองเที่ยวและดานสุขภาพ รวมทั้งการมีจิตใจในการใหบริการที่สามารถสรางความประทับใจ และดึงดู ดใหนักทองเที่ยวตางกลับมาใชบริการ อีก อยางไรก็ตาม ทักษะการสื่อสารภาษาตางประเทศ สถานการณความไมสงบในประเทศ และภัยธรรมชาติ ยังคงเปนขอจํากัดและอาจจะเปนอุปสรรคที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกประเทศไทยเปนปลายทางทองเที่ยวเชิง สุขภาพ ปจจัยดานบุคลากรทางการแพทยนับเปนอีกหนึ่งความทาทายทั้งกอนและหลังการเปดเสรีประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 เนื่องจากแรงงานฝมืออาจจะเคลื่อนยายไปทํางานในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นที่ให ผลตอบแทนสูงกวา มาเลเซีย จุดเดนของมาเลเซีย คือ ความเปนชาติมุสลิมที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวเชิง สุขภาพที่นับถือศาสนาอิสลาม จากบรรดาประเทศสมาชิกในอาเซียน และหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งอาศัยความ ไดเปรียบดานวัฒนธรรมที่คลายคลึงกัน ขณะที่คาบริการดานสุขภาพถูกกวาสิงคโปร โดยตลาดในภูมิภาคอาเซียน ที่สําคัญ คือ ตลาดนักทองเที่ยวอินโดนีเซียที่มีกําลังซื้อ สูง ขณะที่ปจจัยดานคุณภาพการใหบริการดานการแพทย และดานการมีจิตใจในการใหบริการยังอยูในระดับคอนขางต่ําหากเทียบกับประเทศไทย ฟลิปปนส แมจะเริ่มพัฒนาบริการดานสุขภาพเพื่อสรางรายไดเขาประเทศหลังไทยและ มาเลเซีย แตฟลิปปนสก็มีความไดเปรียบดานทักษะในการสื่อสารภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และ ความสามารถของบุคลากรทางการแพทย ที่ถูกสงไปฝกอบรมในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ซึ่งนาจะหนุนใหฟลิปปนส สามารถพัฒนาบริการดานสุขภาพขึ้นมาทัดเทียมมาเลเซียไดในไมชา ตําแหนงทางการตลาด (Positioning) ของตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพที่สําคัญในภูมภิ าคอาเซียน

คุณภาพการใหบริการดาน การแพทย ไทย สิงคโปร

มาเลเซีย

ฟลิปป นส

การมีจิตใจในการใหบริการ (Service Mind)

โดย บริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากัด

สรุปและขอเสนอแนะ ในป จ จุ บั น หลายประเทศที่ มี ศั ก ยภาพในบริ ก ารด า นสุ ข ภาพต า งเร ง ส ง เสริ ม ด า นการตลาด ในตางประเทศเพื่อดึงรายไดเขาประเทศ โดยเฉพาะประเทศในกลุมสมาชิกอาเซีย นดวยกัน อยางสิงคโปรและ


6

มาเลเซีย ที่ตางเรงเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับการขยายตัวของตลาดทองเที่ยวสุขภาพ เนื่องจากเห็น โอกาสการเติบโตทางธุรกิจ จากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของผูบริโภคที่หันมาใสใจกับการรักษาสุขภาพเพื่อ ปองกันโรคภัย รวมทั้งการชะลอความแก และการเสริมความงามกันมากขึ้น ประกอบกับแนวโนมการขยายตัวของ ตลา ดผู สู ง วั ย (อายุ 60 ป ขึ้ น ไป ) ในหลายๆ ประเทศ โ ดยเ ฉพ าะในกลุ ม ประเทศที่ พั ฒ นา แล ว โดย ศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดวา รายไดจากตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยในป 2555 จะมีมูลคา ประมาณ 70,000 ลานบาท และในจํานวนนี้มาจากตลาดอาเซียนประมาณ 2,500 บาท จากแนวโนมการเติบโตของตลาดทองเที่ยวเชิงสุขภาพ และการแขงขันที่ เขมขนขึ้น จําเปนอยางยิ่งที่ ประเทศไทยจะตองเรงปรับตัวและเตรียมความพรอมรองรับกับการแขงขันที่จะทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการเปด เสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนในป 2558 ที่นอกจากจะชวยหนุนใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางหลัก อันดับ ตนๆของนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพจากทั่วโลกแลว ยังมีผลตอการแขงขันระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกัน ที่ตางจะดึงดูดนักทองเที่ยวกลุมนี้เขาประเทศตน สําหรับบริการดานแพทยทางเลือกเพื่อสุขภาพของไทย โดยเฉพาะบริการนวดแผนไทย และสปา ซึ่งเปน กิจกรรมที่มีชื่อเสียงและไดรับการยอมรับอยางกวางขวางในตางประเทศ ทําใหสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวจาก อาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ที่เดินทางมาเที่ยวประเทศไทยจํานวนไมนอย ใหใชบริการนวดแผนไทย และสปา ที่เลื่อง ชื่อดวยสมุนไพรไทยก็ตาม แตจากการแขงขันที่ ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ทําใหผูประกอบการไทยจําเปนตองเรงพัฒนา คุ ณ ภาพการให บ ริ ก ารให ไ ด ม าตรฐานทั้ ง ในด า นสถานที่ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ ช คุ ณ ภาพของผู ใ ห บ ริ ก าร และ ความสามารถในการบริหารจัดการ รวมทั้ง การพัฒนาในดานการตลาด เพื่อเขาถึงผูใชบริการไดอยางกวางขวาง ขณะเดียวกัน AEC ก็ยังสรางโอกาสใหกับผูประกอบการไทย ที่มีความพรอมดานเงินทุนและบุคลากร สามารถอาศัยจุดแข็งดานภูมิปญญาในการนวดแผนไทย และการมีจิตใจในการใหบริการขยายธุรกิจไปยังประเทศ สมาชิกอาเซียนที่ยังขาดบริการดานนี้ไดเช นกัน

-----------------------------------------Disclaimer รายงานวิจยั ฉบับนี้จัดทําเพื่อเผยแพรทั่วไป โดยจัดทําขึ้นจากแหลงขอมูลตางๆ ที่นาเชื่อถือ แตบริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกตอง ความ นาเชื่อถือ หรือความสมบูรณเพื่อใชในทางการคาหรือประโยชนอื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงขอมูลไดตลอดเวลาโดยไมตองแจงใหทราบ ลวงหนา ทั้งนี้ผูใชขอมูลตองใชความระมัดระวังในการใชขอมูลตางๆ ดวยวิจารณญาณของตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษัทฯ จะไมรับผิด ตอผูใชหรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใชขอมูลดังกลาว ขอมูลในรายงานฉบับนี้จึงไมถือวาเปนการใหความเห็นหรือคําแนะนําในการตัดสินใจทาง ธุรกิจ แตอยางใดทั้งสิ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.