g
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 28 วันที่ 8-12 กรกฎาคม 2556
กนง.คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายที่ร้อยละ 2.50 ขณะที่ ธปท. เตรี ยมปรั บประมาณการจีดีพีปี 2556 ลงต่ากว่ าร้ อยละ 5.0 ECONOMIC HIGHLIGHT THAI ECONOMY
ทิศทางเศรษฐกิจในประเทศ
กนง. มีมติคงอัตราดอกเบี ย้ นโยบายร้ อยละ 2.50 ขณะที่ ธปท. รายงาน การกู้ยืมภาคครั วเรื อนของสถาบันรั บฝากเงินทัง้ ระบบ ณ สิน้ ไตรมาส 1 ปี 2556 มียอดรวม 8.97 ล้ านล้ านบาท
INTERNATIONAL ECONOMY
IMF ปรั บลดอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ขณะที่ ธนาคารกลาง อินโดนีเซียและบราซิลมีมติขึน้ ดอกเบีย้
BUSINESS HIGHLIGHT
ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์
ทิศทางธุรกิจและอุตสาหกรรม
COMMODITY MARKETS COMMODITY MARKET WATCH
THAI INDUSTRY
ทิศทางเศรษฐกิจต่ างประเทศ
การส่ งออกไก่ ของไทยในปี 2556 ยังมีแนวโน้ มขยายตัว ท่ องเที่ยววิถีไทย...แคมเปญหนุนรายได้ จากต่ างชาติปี 2557 ราว 1.32 ล้ านล้ านบาท
สั ญญาณชะลอมาตรการ QE ที่ ยั งไม่ ชั ด หนุ น ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์
ทิศทางเศรษฐกิจในประเทศ Highlight: กนง. มีมติเป็ นเอกฉันท์ ให้ คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ ท่ รี ้ อยละ 2.50 ในการประชุมวันที่ 9-10 ก.ค.2556 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเป็ นเอกฉันท์ คงต้ องรอติ ด ตามรายละเอี ยดความชัดเจนก่ อ น แต่ ก าร ให้ ค งอั ต ราดอกเบี ย้ นโยบายไว้ ท่ ี ร้ อยละ 2.50 ในการ ประชุมครัง้ ที่ ผ่านมาคณะกรรมการกนง.ได้ หารื อแนวโน้ ม ประชุ ม วัน ที่ 9-10 ก.ค. 2556 โดยประเมิ น ว่ า อุป สงค์ ใ น เศรษฐกิ จ ในระยะข้ างหน้ า และมี ค วามเห็ น ตรงกั น ว่ า ประเทศที่ชะลอลงในช่วงที่ผา่ นมา ส่วนหนึ่งเป็ นผลจากการพัก นโยบายที่ ก ระตุ้น อุป สงค์ ด้ านเดี ย วนัน้ อาจมี ผลต่ อ การ ฐานหลังจากที่เร่งตัวมากในช่วงก่อนหน้ าจากมาตรการกระตุ้น เติบโตของเศรษฐกิจในระยะสันเท่ ้ านัน้ ของภาครั ฐ จึ งน่าจะกลับมาขยายตัวในระดับปกติ ในระยะ ธปท. รายงานการกู้ ยืมภาคครั วเรื อนของสถาบันรั บ ฝากเงินทั ง้ ระบบ ณ สิ น้ ไตรมาส 1/2556 มี ยอดรวม ต่อไป เนื่องจากปั จจัยพื ้นฐานในประเทศ เช่น การจ้ างงาน และ 8.97 ล้ านล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันปี ก่อน ร้ อยละ รายได้ ของประชาชนยังอยู่ในเกณฑ์ ดี ประกอบกับนโยบาย 16.24 (YoY) แบ่งเป็ น การเพิ่มขึ ้นในส่วนของสถาบันรับฝาก การเงินการคลังที่ยงั ผ่อนคลาย ยังน่าจะสามารถสนับสนุนการ เงิน (ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเฉพาะกิจ สหกรณ์ออมทรัพย์ ขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ ทังนี ้ ้ ยังต้ องติดตามความเสี่ยง และอื่นๆ) ร้ อยละ 14.76 (YoY) หรื อ 7.84 ล้ านล้ านบาท ด้ านเสถียรภาพทางการเงิน รวมถึงภาวะเศรษฐกิจและการเงิน และเป็ นการเพิ่มขึ ้นในส่วนของสถาบันการเงินอื่น (บริ ษัท โลกที่กาลังอยู่ในช่วงปรั บตัว อนึ่ง ธนาคารแห่งประเทศไทย บัตรเครดิต ลิสซิ่ง และสินเชื่อส่วนบุคคล บริ ษัทประกันภัย (ธปท.) จะเปิ ดเผยประมาณการเศรษฐกิจชุดใหม่ในรายงาน และชี วิ ต บริ ษั ทหลักทรั พย์ (บล.) ธุ รกิ จบริ หารสิ นทรั พ ย์ นโยบายการเงินในวันที่ 19 ก.ค. นี ้ โดยจะปรับลดประมาณการ สถาบันการเงิน โรงรับจานา และอื่นๆ) ร้ อยละ27.66 (YoY) จีดีพีลงต่ากว่าร้ อยละ 5.0 จากเดิมที่คาดการณ์ ไว้ ร้อยละ 5.1 คิดเป็ น 1.13 ล้ านล้ านบาท ส่วนกรณีที่รัฐบาลอาจมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมนัน้
2 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ หารนโยบายพลังงาน (กบง.)
รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง เปิ ดเผยว่ า มีความ
มีมติเห็นชอบให้ ปรับลดอัตราเงินนาส่ งเข้ ากองทุนนา้ มัน เป็ นไปได้ ที่ รั ฐ บาลจะมี ก ารปรั บ ลดประมาณการ เศรษฐกิจไทยในปี นี ้ จากเดิมที่คาดการณ์ ไว้ ท่ ีร้อยละ เชือ้ เพลิง สาหรั บนา้ มันดีเซลลง 0.40 บาท/ลิตร เป็ น 1.30 4.5-5.5 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกยังอยู่ในช่วงชะลอตัว บาท/ลิตร เพื่อคงให้ ราคาขายปลีกน ้ามันดีเซลไม่เกิน 30 บาท/ หลังจากที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ ปรับลด ลิตร หลังจากสถานการณ์ ราคาน า้ มันในตลาดโลกปรั บตัว ประมาณการเศรษฐกิจ โลกเหลือร้ อยละ 3.1 รวมถึงหลาย เพิ่มขึ ้น ส่วนน ้ามันชนิดอื่นๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงการจัดเก็บ หน่วยงานด้ านเศรษฐกิ จ ก็ ได้ มี การปรั บลดประมาณการ เงิ นเข้ ากองทุนน า้ มัน ฯ โดยการปรั บอัตราเงิ นส่งเข้ ากองทุน ตัวเลขจีดีพีในปี นี ้ ลงไปก่อนหน้ าแล้ ว น ้ามันฯ ครัง้ นี ้ จะทาให้ กองทุนน ้ามัน มีรายรับลดลงเหลือวัน ละ 94 ล้ านบาท/วัน จากเดิมมีรายรับ 118 ล้ านบาท/วัน โดย ล่าสุด กองทุนน ้ามันฯ มีฐานะสุทธิเป็ นบวก 4,100 ล้ านบาท รัฐเตรียมปรับขึน้ ราคาก๊ าซ LPG ภาคครัวเรือนเดือนก.ย.นี ้ แต่ ยังตรึ งค่ า Ft และราคานา้ มันดีเซลจนถึงปลายปี 2556 นายพงษ์ ศกั ดิ์ รักตพงศ์ไพศาล รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน เปิ ดเผยว่า ที่ประชุมผู้บริ หารกระทรวงพลังงานได้ ทบทวนแผน แบ่งเบาภาระประชาชนที่เพิ่มขึ ้นจากค่าครองชีพและราคาน ้ามันโลกที่กาลังปรับตัวสูงขึ ้น โดยจะดูแลราคาน ้ามันดีเซลไม่ให้ เกิน ลิตรละ 30 บาทไปจนถึงปลายปี นี ้ เช่นเดียวกับราคาก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV) และค่าไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Ft) งวดเดือน ก.ย.-ธ.ค.2556 ที่จะตรึงราคาไปจนถึงปลายปี นี ้เช่นกัน อย่างไรก็ดี สาหรับราคาก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) ภาครัวเรื อนนัน้ นาย พงษ์ ศกั ดิ์ ยืนยันว่า จะเริ่ มปรับขึ ้นตังแต่ ้ 1 ก.ย.นี ้ เดือนละ 50 สต./กก. และจะปรับขึ ้นรวม 6 บาท/กก. เพราะมีนโยบายช่วยเหลือ ผู้มีรายได้ น้อยและหาบเร่แผงลอยอยูแ่ ล้ ว อนึง่ รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในฐานะกากับดูแลกรมสรรพสามิต เปิ ดเผย ว่า กระทรวงการคลังเตรี ยมจะพิจารณาปรับขึ ้นภาษี น ้ามันดีเซลที่ 1.50 บาท/ลิตร ในปี งบประมาณ 2557 หรื อ ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ต.ค. 2556 เป็ นต้ นไป หลังจากที่มีการจัดเก็บที่ 0.005 บาท/ลิตร (ลดลงจากที่เคยจัดเก็บ 5.31 บาท/ลิตร) อย่างไรก็ดี กลไกของกองทุน น ้ามันฯ อาจช่วยให้ สามารถตรึงราคาน ้ามันดีเซลไว้ ที่ไม่เกิน 30 บาท/ลิตร เศรษฐกิจไทยเคลื่อนตัวเข้ าสู่ช่วงครึ่ งหลังของปี 2556 พร้ อมๆ กับการแผ่วตัวลงของหลายปั จจัยขับเคลื่อน โดยภาคการ ส่งออกยังคงเผชิญความไม่แน่นอน เนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยงั คงเปราะบาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จีน ที่เป็ นคู่ค้า อันดับหนึง่ ของไทย (ซึง่ อาจไม่สามารถชดเชยได้ ด้วยสัญญาณบวกที่สะท้ อนผ่านการฟื น้ ตัวอย่างช้ าๆ ของสหรัฐฯ และญี่ปน) ุ่ ขณะที่ ภาวะหนี ้ครัวเรื อนที่เร่ งตัวสูงและการทยอยสิ ้นสุดแรงส่งของมาตรการคืนภาษี รถยนต์คนั แรก รวมถึงกิจกรรมการ ซ่อมแซมความเสียหายจากเหตุการณ์ อุทกภัย ก็อาจส่งผลให้ ภาพรวมของการใช้ จ่ายในประเทศในช่ วงครึ่ งหลังของปี ไม่ สามารถรักษาโมเมนตัมการเติบโตไว้ ได้ ซึ่งเมื่อรวมเข้ ากับความล่าช้ าของโรงการลงทุนภาครัฐ ที่เคยถูกคาดหวังว่าจะเป็ น ปั จจัยเสริ มความแข็งแกร่งของการเติบโตเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี แล้ ว ทาให้ ศูนย์ วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า เศรษฐกิจ ไทยในช่วงครึ่งปี หลังอาจเติบโตในอัตราใกล้ เคียงหรื อชะลอลงกว่าช่วงครึ่ งแรก และทาให้ ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2556 สามารถบันทึกอัตราการขยายตัวได้ เพียงร้ อยละ 4.0 ดังนัน้ คาดว่า โมเมนตัมของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกจะยังคงมี น ้าหนักไม่น้อยต่อการประเมินจุดยืนนโยบายการเงินของกนง.ในช่วงที่เหลือของปี นอกเหนือไปจากประเด็นความเสี่ยงด้ าน เสถียรภาพทางการเงินที่กนง.ยังคงติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ ชิด
3
ทิศทางเศรษฐกิจและธุรกิจต่ างประเทศ Highlight: IMF ปรับลดคาดการณ์ เศรษฐกิจโลก ขณะที่ ธนาคารกลางอินโดนีเซียและบราซิล มีมติขึน้ ดอกเบีย้ กองทุ น การเงิ น ระหว่ างประเทศ (The International เศรษฐกิจสิงคโปร์ ในช่ วงไตรมาสที่ 2/2556 เร่ งตัวขึ น ้ Monetary Fund: IMF) ปรั บลดประมาณการอัตราการ เหนื อ การคาดการณ์ ของนั กวิ เคราะห์ โดยกระทรวง ขยายตัวของเศรษฐกิจโลก เหตุจากการชะลอลงของอุปสงค์ การค้ าและอุตสาหกรรม (Ministry of Trade and Industry) ภายในประเทศ (Domestic Demand) ในกลุม่ ประเทศเกิดใหม่ เปิ ดเผยตัวเลขอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิ จสิงคโปร์ ขณะที่ สถานการณ์ ใ นยู โ รโซนยั ง ไม่ ก ระเตื อ้ งนั ก โดย เบื ้องต้ นของไตรมาส 2/2556 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 (YoY) และ คาดการณ์ ว่า เศรษฐกิ จโลกน่าจะเติบโตที่ร้อยละ 3.1 ในปี 15.2 (QoQ) จากที่มีการขยายตัวเพียงร้ อยละ 0.2 (YoY) 2556 และร้ อยละ 3.8 ในปี 2557 ลดลงจากประมาณการเดิม และ 1.8 (QoQ) ในไตรมาสแรกของปี โดยปั จจัยกระตุ้น (เมื่อเดือน เม.ย.) ที่ร้อยละ 3.3 และร้ อยละ 4.0 ตามลาดับ สาคัญมาจากภาคการผลิต ซึ่งพลิกกลับมาขยายตัวร้ อยละ ธนาคารกลางจีน (PBoC) ออกเกณฑ์ ใหม่ เพื่ออานวย 1.1 (YoY) จากที่หดตัวร้ อยละ 6.9 (YoY) ในช่วง 3 เดือน ความสะดวกแก่ ธุรกิจที่มีธุรกรรมเงินหยวนข้ ามประเทศ ก่ อนหน้ า อันเป็ นผลของปริ ม าณการผลิ ตสิ นค้ า ในกลุ่ม โดยเกณฑ์ใหม่นี ้ จะผ่อนคลายข้ อจากัดในส่วนของบัญชีทุน เวชภัณฑ์และอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ ้นเป็ นสาคัญ ในขณะที่ เคลื่ อนย้ าย (Capital Account) เช่ น ธนาคารพาณิ ช ย์ ภาคการก่อสร้ าง และภาคบริ การยังคงขยายตัวต่อเนื่องกว่า ภายในประเทศจะสามารถปล่อยกู้ในรู ปสกุลเงินหยวนให้ กับ ร้ อยละ 5.6 และร้ อยละ 5.0 ตามลาดับ อนึง่ รัฐบาลสิงคโปร์ บริ ษั ท ข้ า มชาติ ที่ ไม่ ใ ช่ สถาบัน การเงิ น ผ่ า นบริ ษั ท สาขาใน จะมีการประกาศตัวเลขการขยายตัวที่แท้ จริ งอีกครัง้ ในช่วง ประเทศจีนได้ นอกเหนือไปจากนี ้ ธนาคารพาณิชย์ในประเทศ เดือนส.ค. 2556 ยัง สามารถจั ด หาเงิ น ทุน ในสกุ ล เงิ น หยวนให้ กั บ ธนาคาร มูลค่ าการส่ งออกของฟิ ลิ ปปิ นส์ ในเดื อนพ.ค. 2556 ต่างประเทศ (Offshore Bank) ในช่วงระยะเวลาครบกาหนด ลดลงเล็ กน้ อยร้ อยละ 0.8 (YoY) น้ อยกว่าที่ ตลาด (Maturity) ถึง 1 ปี ซึง่ จากเดิมอนุญาตเพียงระยะเวลา 1 เดือน คาดการณ์ ไว้ ค่อนข้ างมาก (คาดการณ์ ว่าจะหดตัวร้ อยละ โดย PBoC คาดหวังว่า การปรับปรุ งเกณฑ์ดงั กล่าว จะช่วย 14.1) นอกจากนี ้ มูลค่าการส่งออกในเดือนพ.ค.นับว่ามี เพิ่มธุรกรรมการใช้ เงินหยวนข้ ามประเทศมากขึ ้น อีกทังจะเป็ ้ น ทิศทางที่ดีขึ ้นเมื่อเทียบกับในเดือนเม.ย.ที่ผ่านมา ที่หดตัว การช่วยเพิ่มสภาพคล่องสาหรับตลาดเงินหยวนนอกประเทศ ประมาณร้ อยละ 11.1 (YoY) ขณะที่ กองทุนการเงิ น จีน (Offshore RMB Markets) เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และ ระหว่างประเทศ (The International Monetary Fund : ลอนดอน เป็ นต้ น IMF) ได้ ป รั บ ประมาณการอัต ราการเจริ ญ เติ บโตทาง เศรษฐกิจของฟิ ลิปปิ นส์ในปี 2556 ขึ ้นอีกครัง้ เป็ นร้ อยละ 7.0 ภายหลังการปรับประมาณครัง้ แรกเมื่อต้ นปี จากร้ อย ละ 4.8 เป็ นร้ อยละ 6.0 หลังจากเศรษฐกิจ ขยายตัวอย่าง โดดเด่นทีร่ ้ อยละ 7.8 (YoY) ในช่วงไตรมาส 1/2556 การส่ งออกของจีนในเดือนมิ.ย.2556 หดตัวครัง้ แรกในรอบ 17 เดือน ที่ร้อยละ 3.1 (YoY) ตามการหดตัวของการส่งออกไป ทังสหภาพยุ ้ โรป ญี่ปนุ่ และสหรัฐฯ ขณะที่ การนาเข้ าหดตัวต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 2 ที่ร้อยละ 0.7 (YoY) จากการหดตัวของมูลค่าการ นาเข้ าสินค้ าทุน น ้ามันดิบ เหล็กกล้ า และแร่ เหล็ก ซึ่งสะท้ อนภาวะชะลอตัวของอุปสงค์ในประเทศ ขณะที่ อัตราเงินเฟ้ อเร่ งขึน้ สู่ ระดับสูงสุดในรอบ 4 เดือนที่ร้อยละ 2.7 (YoY) จากราคาอาหารที่เร่งขึ ้นสูงสุดในรอบ 4 เดือนเช่นกันที่ร้อยละ 4.9 (YoY) อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับในเดือนก่อนหน้ า อัตราเงินเฟ้ อไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรื ออยู่ที่ร้อยละ 0.0 (s.a., MoM) ในส่วนของผลกระทบจาก ภาวะตึงตัวในตลาดเงินนัน้ ได้ เริ่ มส่งผลกระทบทางจิตวิทยาต่อกลุม่ ดีลเลอร์ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งมีนโยบายการให้ เครดิต การค้ าที่รัดกุมมากขึ ้น ขณะที่ ผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจโดยรวม ยังคงต้ องจับตามองอย่างใกล้ ชิดต่อไปในส่วนของภาวะสินเชื่อ
4 ในระบบ ซึ่งล่าสุดผลสารวจความเห็นนักวิเคราะห์โดยสานักข่าว Bloomberg ประเมินว่า ปั ญหาความตึงตัวของสภาพคล่อง ดังกล่าว จะมีผลดูดซับปริ มาณสินเชื่อในระบบหายไปราว 750 พันล้ านหยวน (ราว 122 พันล้ านดอลลาร์ ฯ ในปี 2556) ขณะที่ ล่าสุดอัตราดอกเบี ้ย RP ระยะ 7 วันยังเคลือ่ นไหวใกล้ เคียงกับในสัปดาห์ก่อน โดยอยูท่ ี่ร้อยละ 3.81 (ณ วันที่ 12 ก.ค.) ธนาคารกลางของประเทศเกิดใหม่ หลายประเทศ มีมติคงอัตราดอกเบี ้ยภายหลังการประชุมครัง้ ล่าสุดตามคาด ขณะที่ ธนาคารกลางอินโดนีเซียตัดสินใจปรั บขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายเหนือความคาดหมายที่ร้อยละ 0.5 ส่งผลให้ อตั ราดอกเบีย้ นโยบายอยูท่ ี่ร้อยละ 6.5 ภายหลังที่ได้ ปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยดังกล่าวไปแล้ วร้ อยละ 0.25 เมื่อวันที่ 13 มิ.ย.ที่ผ่านมา เช่นเดียวกับ ธนาคารกลางบราซิลทีป่ รับเพิ่มอัตราดอกเบี ้ยอีกร้ อยละ 0.5 ขึ ้นมาอยูท่ ี่ร้อยละ 8.5 เนื่องจากอัตราเงินเฟ้ อปรับตัวเร็ วที่สดุ ในรอบ 20 เดือน โดยรายละเอียดแสดงดังตารางด้ านล่าง ประเทศ บราซิล อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ไทย
อัตราดอกเบีย้ นโยบาย Selic Target Rate Bank Indonesia Reference Rate South Korea 7-Day Repo Rate Overnight Rate 1-Day Repo Rate
อัตราดอกเบีย้ ล่ าสุด 8.50% 6.50% 2.50% 3.00% 2.50%
อัตราดอกเบีย้ เดิม 8.00% 6.00% 2.50% 3.00% 2.50%
ตลาดคาดการณ์ 8.50% 6.25% 2.50% 3.00% 2.50%
ปรั บครั ง้ ก่ อนหน้ าในปี นี ้ 29 พ.ค. 13 มิ.ย. 9 พ.ค. -29 พ.ค.
ที่มา: Bloomberg โดยศูนย์วิจยั กสิกรไทย
ศูนย์ วิจัยกสิกรไทย เห็นว่า ประเมินว่าการปรับประมาณการการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศส่วนใหญ่ในครัง้ นี ้ มี มูลเหตุสาคัญจากความเคลื่อนไหวของตลาดเงินตลาดทุนโลกในช่วงเดือน พ.ค.-มิ.ย. รวมถึงความคาดหวังของตลาดที่มีต่อ การฟื ้นตัวของกลุ่มประเทศหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ ซึ่งธนาคารกลางสหรัฐฯ หรื อเฟดได้ ออกมาส่งสัญญาณความ เป็ นไปได้ ของการชะลอหรื อลดขนาดของมาตรการผ่อนปรนเชิงปริ มาณหรื อ QE หากเครื่ องชี ้เศรษฐกิจของสหรัฐฯขยายตัวไปใน ทิศทางที่คาดหวังไว้ ส่งผลให้ ตลาดตีความและเกิดแรงเทขายสินทรัพย์ในกลุม่ ประเทศเกิดใหม่ รวมทังอั ้ ตราตอบแทนพันธบัตร ที่ปรั บตัวสูงขึน้ อันมีผลเกี่ ยวเนื่องต่อการอ่อนตัวลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศเกิ ดใหม่ในที่สุด ซึ่งประเทศที่ได้ รั บ ผลกระทบจากเหตุการณ์เงินทุนไหลออกจากประเทศ และส่งผลต่อการปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายเพื่อประวิงเงินทุนไว้ ได้ แก่ อินโดนีเซียที่มีความพยายามปรับอัตราดอกเบี ้ยขึ ้นไปแล้ วถึงร้ อยละ 0.75 นับตังแต่ ้ เดือน มิ.ย.ที่ผา่ นมา ทังนี ้ ้ หากพิจารณาทิศทางการเติบโตของเศรษฐกิจโลกที่ผ่านมา IMF ได้ ชี ้ให้ เห็นถึงปั จจัยฉุดรัง้ 3 ปั จจัยหลัก อันประกอบไป ด้ วย 1) กลุม่ ประเทศตลาดเกิดใหม่ไม่มีแรงขับดันได้ ไกลอย่างที่คาดสืบเนื่องจาก ข้ อจากัดด้ านประสิทธิภาพการผลิต ความ ล่าช้ าของโครงการก่อสร้ าง อุปสงค์จากภายนอกชะลอลงกว่าคาด รวมทังราคาสิ ้ นค้ าโภคภัณฑ์ที่มีแนวโน้ มขาลง 2) ความ ยืดเยื ้อของปั ญหาในยูโรโซนยาวนานกว่าที่คาดไว้ สะท้ อนจากความอ่อนแอด้ านการคลังและด้ านการเงิน และ 3)เศรษฐกิจ สหรัฐฯเติบโตในอัตราอ่อนแรงกว่าที่ IMF ได้ คาดการณ์ไว้ เดิม มองไปข้ างหน้ า ศูนย์วิจยั กสิกรไทยเห็นว่า การขยายตัวของ เศรษฐกิจโลกอย่างมีเสถียรภาพนับเป็ นความท้ าทายของทางการและธนาคารกลางแต่ละประเทศ สาหรับประเทศเศรษฐกิจ หลัก ส่วนผสมของนโยบายที่พอเหมาะหรื อ Right Policy Mix ถือเป็ นโจทย์สาคัญในจังหวะและทิศทางที่จะสามารถบริ หาร จัดการเสถียรภาพทางการคลังและทางการเงินได้ ในระยะถัดไป การปรับปรุ งโครงสร้ างทางเศรษฐกิจและการปรับกลไกการให้ เครดิตสินเชื่อ (Credit Channel) ก็เป็ นเรื่ องสาคัญไม่แพ้ กัน และสาหรับกรณีของประเทศเกิดใหม่ คงจะต้ องหาดุลยภาพที่ เหมาะสมระหว่างการบริ หารจัดการเงินทุนเคลื่อนย้ าย และเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาคภายในประเทศ ซึ่งการใช้ Macro prudential Measures ผสมผสานไปกับการปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจในประเทศน่าจะช่วยบรรเทาแรงกระทบให้ อยู่ในระดับที่ สามารถบริ หารจัดการได้
5 AEC CORNER เวียดนาม บริ ษัท Nestle Vietnam ได้ เริ่ มโครงการ ก่อสร้ างโรงงานแห่งใหม่มูลค่ากว่า 238 ล้ านดอลลาร์ ฯ ใน พื ้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ในจังหวัดดองไน ทางตอนใต้ ของเวียดนาม ซึง่ มีกาลังการผลิตประมาณ 32,500 ตันต่อปี โดยตัง้ เป้ าจะใช้ เ ป็ นฐานในการผลิ ต กาแฟสาเร็ จ รู ป เพื่ อ รองรั บปริ ม าณการบริ โภคในประเทศและเพื่อ การส่งออก ทัง้ นี ้ โครงการลงทุน แห่ ง นี ้ ถื อ เป็ นการลงทุน ในรู ป แบบ Public-Private Investment ร่ วมกับกระทรวง Ministry of Agriculture and Rural Development เพื่อร่ วมมือกัน พัฒนากระบวนการเพาะปลูกและผลิตกาแฟของเวียดนาม ให้ เ ป็ นที่ ร้ ู จัก ทั่ว โลก ทัง้ ในเชิ ง ของปริ ม าณและคุณ ภาพ โดยเฉพาะกาแฟโรบัสต้ า ทังนี ้ ้ Nestle มีแผนที่จะให้ ความรู้ ด้ านการเพาะปลูก กาแฟ รวมถึงการแจกเมล็ดพันธุ์ที่มีการ พั ฒ นาให้ มี ค วามทนทานต่ อ โรคและให้ ผลผลิ ต สู ง แก่ เกษตรกรในท้ องถิ่นที่ได้ รับการคัดเลือกเข้ าร่ วมโครงการ อีก ด้ วย กัมพูชา กัมพูชา-จีน มีธุรกรรมการชาระเงินในรู ป สกุลหยวนระหว่างกันเพิ่มขึ ้น ทังนี ้ ้ จากรายงานของ Bank of China สาขาประจากรุ งพนมเปญ ระบุว่า ในช่วง 6 เดือน แรกของปี 2556 ธนาคารได้ รับการชาระเงิ นในสกุลหยวน เป็ นจานวนราว 163 ล้ านดอลลาร์ ฯ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 50 เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันในปี ก่อนหน้ า โดยปั จจุบันมีธนาคาร พาณิชย์หลายรายในกัมพูชา อาทิ Acleda, ANZ Royal, Cambodia Public Bank, Union Commercial Bank และ Maruhan Japan Bank ที่เปิ ดให้ บริ การการโอนเงินในสกุล เงิ น หยวนแล้ ว สะท้ อนความสั ม พั น ธ์ ท างการค้ าและ เศรษฐกิจระหว่าง 2 ประเทศที่แนบแน่นมากขึ ้น อย่างไรก็ดี เงินสกุลหยวนยังคงใช้ ในวงจากัดเพื่อการชาระเงินค่าสินค้ า และบริ ก ารหว่ า งประเทศจี น และกัม พูช าเท่ า นัน้ ขณะที่ เงินตราต่างประเทศที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจกัมพู ชา ยังคงเป็ นเงินสกุลดอลลาร์ ฯ ซึง่ มีสดั ส่วนประมาณร้ อยละ 80 ของเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจกัมพูชาในปั จจุบนั
สิ งคโปร์ ธนาคาร Standard Chartered ระบุ ว่ า ครัวเรื อนสิงคโปร์ มีอตั ราการกู้ยืมคิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 151 ของ รายได้ ตอ่ ปี มากเป็ นอันดับ 2 ของเอเชีย รองจากมาเลเซีย ที่มีหนี ้ ครั วเรื อนสูงถึ งร้ อยละ 182 ของรายได้ โดยหนี ค้ รั วเรื อนของ สิงคโปร์ ส่วนใหญ่ เป็ นหนี ้ที่เกิดจากการซื ้ออสังหาริ มทรัพย์ คิด เป็ นสัดส่วนร้ อยละ 11 ของรายได้ ครัวเรื อน แตะระดับสูงสุด ของ ภูมิภาค อย่างไรก็ดี แม้ จะมีหนี ้ในระดับสูง แต่ครัวเรื อนสิงคโปร์ ก็ มีอตั ราการออมในระดับสูง เช่นเดียวกัน ทาให้ ระดับหนี ้ที่เกิดขึ ้น ค่อนข้ างต่าเมื่อเทียบกับการออม และไม่มีความน่าวิตกในเรื่ อง การผิดนัดชาระหนี ้ครัวเรื อนแต่อย่างใด สปป.ลาว การลงทุนใน สปป.ลาว ช่ วงครึ่ งแรกของ ปี งบประมาณ 2555/2556 (ต.ค. 2555- ก.ย. 2556) มีการอนุมตั ิ โครงการลงทุน 29 โครงการ เป็ นมูลค่า 1.6 พันล้ านดอลลาร์ ฯ ซึ่ง คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 65 ของเป้าหมายการลงทุนในปี นี ้ ซึ่งเม็ด เงิ นลงทุนหลักอยู่ในภาคพลังงาน 739 ล้ านดอลลาร์ ฯ ตามมา ด้ วยการทาเหมืองแร่ 217 ล้ านดอลลาร์ ฯ และการก่อสร้ าง 100 ล้ านดอลลาร์ ฯ ตามลาดับ โดยสาขาการผลิตไฟฟ้ าพลังนา้ เป็ น สาขาการลงทุนหลักที่คาดว่าจะยังคงเป็ นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สปป.ลาว ต่ อ ไปในระยะข้ างหน้ า ทัง้ นี ้ สปป.ลาว ได้ มี การ ปรับปรุ งกฎระเบียบด้ านการลงทุนให้ มีความสะดวกมากขึ ้น โดย ปรั บระเบี ยบการขอใบอนุญาตการลงทุนให้ สามารถยื่ นขอต่อ หน่วยงานทางการระดับตาบล (District) ได้ ต่างจากในอดีตที่ต้อง เสนอขออนุมตั ิจากหน่วยงานระดับแขวง (Provincial Capital) เวียดนาม เวียดเจ็ต (Vietjet Air) สายการบินต้ นทุนต่า น้ องใหม่จากประเทศเวียดนาม ตัดสินใจร่ วมทุนกับสายการบิน ท้ องถิ่น กานต์แอร์ ของไทย เพื่อที่จะขยายธุรกิจของเวียดเจ็ทนอก ประเทศเป็ นแห่ งแรกหลังจากที่ เวี ยดเจ็ ตได้ เปิ ดเส้ นทางบิ น ระหว่างประเทศมายังประเทศไทยเป็ นเส้ นทางระหว่างประเทศ เส้ นทางแรกก่อนหน้ าแล้ ว เนื่องจากมองเห็นโอกาสที่ประเทศไทย เป็ นศูนย์ กลางธุ รกิ จการบิ นในอาเซี ยน นอกจากนี ไ้ ทยยังเป็ น ตั ว เลื อ กแรกส าหรั บ ชาวเวี ย ดนาม ที่ ต้ องการท่ อ งเที่ ย ว ต่างประเทศ การมาเปิ ดเส้ นทางบิ นจะช่ วยเชื่ อมการเดิ นทาง ระหว่างสองประเทศให้ สะดวกขึน้ สาหรับกลยุทธ์ การแข่งขันจะ มุ่งเน้ นที่ ราคาค่าโดยสารที่ อยู่ระดับต่ ากว่าคู่แข่ง พร้ อมด้ วย
6 คุณภาพของธุรกิจสายการบินที่เน้ นการบริ การด้ วยจิตใจที่แจ่มใส เวลาบินที่ตรงต่อเวลารวมถึงความปลอดภัยในระดับสูง โดยมี เป้าหมายที่จะเป็ นสายการบินที่มีคณ ุ ค่าในใจลูกค้ ามากที่สดุ
ทิศทางธุรกิจและอุตสาหกรรม ไก่ การส่ งออกไก่ ของไทยในปี 2556 ยังมีแนวโน้ มขยายตัว ศู น ย์ วิ จั ย กสิ ก รไทย มองว่า การส่ง ออกไก่ ข องไทยในปี ผู้ประกอบการในวงการส่งออกไก่ ประเมินว่า การส่งออกไก่ 2556 มีโอกาสจะเติบโตได้ แตกต่างจากสินค้ าอื่น อาทิ กุ้ง ที่ ในช่วงครึ่ งปี หลัง ยังมีแนวโน้ มขยายตัว เพราะถือเป็ นช่วงที่มี ถูกกดดันจากหลายปั จจัยลบ โดยการส่งออกเป็ นดอลลาร์ ฯ การสัง่ ซื ้อสูงหรื อไฮซีซนั โดยลูกค้ าต่างประเทศได้ เริ่ มมีคาสัง่ ในช่วง 5 เดือนแรกของปี มีมูลค่า 892.18 ล้ านดอลลาร์ ฯ ซือ้ เข้ ามาอย่างหนาแน่น โดยเฉพาะตลาดหลักคื อสหภาพ ขยายตัวร้ อยละ 0.32 (YoY) จากการกลับมานาเข้ าไก่สดแช่ ยุโรป (อียู) และญี่ ปนุ่ ขณะที่ผ้ ปู ระกอบการส่งออกไก่สดแช่ เย็นแช่แข็งของสหภาพยุโรป ตังแต่ ้ เดือนก.ค. 2555 สาหรับ เย็นแช่แข็ง คาดว่า ในปี นี ้จะสามารถส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่ การส่งออกในช่วงครึ่ งปี หลัง หากญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ ฟิ ลิปปิ นส์ แข็งได้ เพิ่มขึ ้นเป็ น 620,000 ตัน มูลค่ารวมกว่า 79,000 ล้ าน และสิงคโปร์ อนุญาตให้ นาเข้ าไก่สดแช่เย็นแช่แข็งจากไทย บาท เติบโตจากปี ที่แล้ วร้ อยละ 7 ประกอบกับคาสัง่ ซื ้อไก่แปรรู ปจากญี่ ปนที ุ่ ่คาดว่าจะเพิ่มขึ ้น จากค่าเงิ นเยนที่เริ่ มมีเสถียรภาพ และสินค้ าไก่ไทยที่ได้ รับ การยอมรับในเรื่ องคุณภาพ ก็น่าจะช่วยหนุนให้ การส่งออก ไก่เนื ้อของไทยขยายตัวได้ ในช่วงที่เหลือของปี นี ้ สาหรับข้ อกังวลที่ราคาไก่อาจมีโอกาสปรับขึ น้ จากปริ มาณ ผลผลิตในตลาดบางส่วนที่ห ายไปนัน้ ศูนย์ วิจัย กสิกรไทย เห็นว่า การปรับตัวของราคาในประเทศ คงจะขึ ้นอยูก่ บั หลาย ปั จจัยโดยเฉพาะภาวะการแข่งขันในตลาด และทางการก็คง จะมีการดูแลไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อผู้บริ โภคในภาพรวมด้ วย ส่วนราคาส่งออกนัน้ ก็ยงั ขึ ้นอยู่กบั สถานการณ์ของคู่ค้าและ คูแ่ ข่งรายสาคัญอย่างบราซิลและสหรัฐฯ เช่นกัน มองไปข้ างหน้ า หากไทยสามารถสร้ างการยอมรับในระบบ การควบคุมการเลี ้ยงสัตว์ปีกว่ามีมาตรฐานความปลอดภัย ซึ่งจะเป็ นโอกาสในการพิจารณาเปิ ดตลาดนาเข้ าไก่สดของ ไทยจากหลายประเทศ รวมทังการรั ้ กษาคุณภาพในการผลิต ก็ จะช่วยสร้ างมูลค่าและทาให้ ยังมี คาสัง่ ซือ้ อย่างต่อเนื่อ ง นอกจากนี ้ ผู้ประกอบการที่มีศกั ยภาพอาจหาลู่ทางในการ ขยายการค้ าการลงทุนไปยังตลาดใหม่อย่างสหรัฐอาหรับเอ มิเรตส์ แอฟริ กา และอาเซียน รวมถึงตลาดอาหารฮาลาล ซึ่ง เป็ นตลาดขนาดใหญ่และมีศกั ยภาพในการเติบโตสูง เสือ้ ผ้ าสาเร็จรูป อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ มชีส้ ่ งออกติดลบร้ อยละ 5-10 ... ศู น ย์ วิ จั ย กสิ ก รไทย มองว่ า รู ป แบบการด าเนิ น ธุ ร กิ จ
7 แนะ BOI ยกเลิ ก ภาษี ซ า้ ซ้ อ น กลุ่ม อุต สาหกรรม เครื่ อ งนุ่ง ห่ ม สภาอุ ต สาหกรรม ประเมิ น ว่ า การส่ ง ออก เครื่ อ งนุ่ง ห่ ม ครึ่ ง หลัง ปี 2556 น่า จะยัง ทรงตัว ส่ง ผลให้ ภาพรวมมูลค่าการส่งออกเครื่ องนุ่งห่มทังปี ้ ติดลบประมาณ ร้ อยละ 5-10 ทังนี ้ ้ จากปั ญหาการขาดแคลนแรงงานและการ ขึ น้ ค่ า แรงขัน้ ต่ า 300 บาท ส่ง ผลให้ ผู้ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมเครื่ องนุ่งห่ม 10-20 อันดับต้ นๆ ของไทย ย้ าย ฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้ าน อย่างไรก็ดี การลงทุนใน ต่างประเทศของผู้ประกอบการไทย ยังมีข้อจากัดในเรื่ องของ การเก็บภาษี ที่ซ ้าซ้ อน เช่น กรณีผ้ ปู ระกอบการไทยต้ องการไป ลงทุนในเมียนมาร์ เมื่อมีรายได้ ต้องจ่ายภาษี ให้ แก่เมียนมาร์ และเมื่อนาเงินรายได้ กลับเข้ ามาไทย ก็ต้องเสียภาษี นิติบคุ คล อีก โดยเสนอแนะให้ คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) พิจารณาแก้ พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการลงทุน โดยเฉพาะ ในเรื่ อ งของการยกเลิ ก ภาษี ซ า้ ซ้ อน ซึ่ ง น่ า จะส่ ง ผลดี ต่ อ ผู้ประกอบการไทยที่จะส่งเงินรายได้ กลับประเทศมากขึ ้น
(Business Model) ของอุต สาหกรรมปลายน า้ อย่า ง เครื่ องนุ่งห่มนับจากนี ้น่า จะปรับเปลี่ยนไปสูก่ ารเสริ มสร้ าง ศักยภาพแรงงานให้ มีผลิตภาพที่สงู ขึ ้น รวมไปถึงการออกไป ขยายฐานการผลิตในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อน บ้ านที่มีความได้ เปรี ยบด้ านต้ นทุนแรงงาน และยังคงได้ รับ สิ ท ธิ พิ เ ศษต่ า งๆ จากทางฝั่ งคู่ ค้ า ภายหลั ง จากได้ รั บ ผลกระทบจากการปรับขึ ้นค่าแรงและปั ญหาการขาดแคลน แรงงานในภาคการผลิต โดยหากเส้ นทางการปรับตัวเป็ นไป ในทิศทางดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง คงทาให้ โครงสร้ างรายได้ ของธุรกิจเครื่ องนุ่งห่ม เปลี่ยนไปสู่การพึ่งพารายได้ สง่ กลับ จากต่า งประเทศด้ ว ยสัด ส่ว นที่ สูง ขึ น้ ตามลาดับ (ขณะที่ รายได้ ส่ง ออกหลักน่าจะยังคงมาจากผลิต ภั ณ ฑ์ สิ่งทอใน ส่วนของอุตสาหกรรมต้ นน ้าที่มีศกั ยภาพและยังพอแข่งขัน ได้ ) ทังนี ้ ้ คงต้ องขึน้ อยู่กับนโยบายของภาครัฐ ที่จะเข้ ามา สนับสนุนทังในเรื ้ ่ องการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ และมาตรการทางภาษี ที่หากเป็ นไปในทิศทางที่จูงใจให้ มี การนารายได้ กลับประเทศของผู้ประกอบการที่มีศกั ยภาพ ก็ คาดว่าในระยะยาว สัดส่วนรายได้ สง่ กลับจากต่างประเทศที่ เพิ่มขึ ้นนี ้ จะสามารถช่วยทดแทนการส่งออกที่อาจให้ ภาพที่ ไม่สดใสได้ ในระดับหนึง่ อนึ่ง ศูนย์ วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการส่งออกสิ่งทอ และเครื่ องนุ่งห่มในปี 2556 น่าจะอยู่ที่ระดับ 6,700-7,200 ล้ านดอลลาร์ ฯ หรื ออยู่ระหว่างอัตราการหดตัวร้ อยละ 5.0 ถึงทรงตัวในระดับใกล้ เคียงกับปี 2555 (-5.0 ถึง 0.0)
ท่ องเที่ยว ท่ องเที่ยววิถีไ ทย แคมเปญหนุ นรายได้ จากต่ างชาติ ปี ศูนย์ วิจัยกสิกรไทย มองว่า ตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 2557 ราว 1.32 ล้ านล้ านบาท การท่องเที่ยวแห่งประเทศ เป็ นแรงหนุนสาคัญที่ก่อให้ เกิดรายได้ ท่องเที่ยวเข้ าประเทศ ไทย (ททท.) เปิ ดเผยทิศทางการดาเนินงานและเป้าหมายด้ าน มู ล ค่ า 9.83 แสนล้ านบาทในปี 2555 โดยจ านวน การท่อ งเที่ย วในปี 2557 หากสถานการณ์ ใ นประเทศและ นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เลือกประเทศไทยเป็ นปลายทางการ ปั จจัยภายนอกเป็ นปกติ ททท. คาดว่า ตลาดนักท่องเที่ย ว ท่องเที่ยว ขยายตัวอย่างต่อเนื่องตัง้ แต่ปลายปี ที่แล้ ว จนถึง ต่างชาติของไทย จะเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 7.28 จากจานวน 24.5 ครึ่ งแรกของปี นี ้ ทังนี ้ ้ ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2556 พบว่า ล้ านคนในปี นี ้ และมีแนวโน้ มสร้ างรายได้ สะพัดสู่ธุรกิจด้ าน จ านวนนัก ท่อ งเที่ ย วต่า งชาติ ข ยายตัว ร้ อยละ 20 น าโดย การท่อ งเที่ ย ว คิ ดเป็ นมูลค่า ประมาณ 1.32 ล้ านล้ านบาท นักท่องเที่ยวชาวจีน (อันดับ 1) จานวน 2.28 ล้ านคน เพิ่มขึ ้น ขยายตัวร้ อยละ 13.0 จากปี ก่อนหน้ า โดย ททท. มีเป้าหมาย ราวร้ อยละ 95.1 จากช่วงเดียวกันปี ก่อน ส่วนตลาดรัสเซีย ให้ ต ลาดนัก ท่ อ งเที่ ย วในภูมิ ภ าคเอเชี ย และแปซิ ฟิ กสร้ าง เองก็ ยังขยายตัวประมาณร้ อยละ 35.7 จากจ านวน 6.71
8 รายได้ ทอ่ งเที่ยว คิดเป็ นมูลค่า 742,000 ล้ านบาท และตลาด แสนคนในปี ก่อนหน้ า นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นอีกประมาณ 584,000 ล้ านบาท ส าหรั บ ผู้ ประกอบการด้ านการท่ อ งเที่ ย วของไทย ซึ่ ง ขณะเดียวกัน ยังมีแผนทาการตลาดเชิ งรุ ก ต่อเนื่องสาหรั บ ประกอบด้ ว ย ธุ ร กิ จ ด้ า นที่ พัก ธุ ร กิ จอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ขยายอย่างก้ าวกระโดดของตลาดนักท่องเที่ยวจากจีน อินเดีย ธุรกิจทัวร์ และธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่น ควรเร่ งปรับกลยุทธ์ ด้าน และรัสเซีย การตลาดให้ สอดคล้ อ งกับ กลุ่ม นัก ท่ อ งเที่ ย วเป้ าหมายที่ ส าหรั บ มาตรการที่ ททท. จะน ามาใช้ ส่ ง เสริ มตลาด ภาครัฐให้ การสนับสนุน ขณะเดียวกันผู้ประกอบการเองควร นักท่องเที่ยวต่างชาติของไทย คือ การชูวิถีไทยแก่กลุ่มตลาด มีมาตรการต่างๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้ กับธุรกิจของ เป้าหมาย ประกอบด้ วยสินค้ าด้ านการท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ ตนเอง อาทิ การพัฒนาคุณภาพการให้ บริ การ การพัฒนา ได้ แก่ มวยไทย อาหารไทย ฮั น นี มู น และคู่ แ ต่ ง งาน การ รู ปแบบการให้ บ ริ ก ารที่ หลากหลาย การท าโปรโมชั่น ด้ า น ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง การแพทย์ และการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน ราคา และการพัฒนาช่องทางการสื่อสารใหม่ๆ นอกจากนี ้ (Community-Based Tourism: CBT) อย่างไรก็ดี มาตรการ ยังรวมถึงการบริ การจัดการที่ดีภายในองค์กร และการสร้ าง กระตุ้นด้ านการท่องเที่ยวดังกล่าว เป็ นแผนที่สอดคล้ องกับ พัน ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ เหล่า นี น้ ่ า จะเป็ นแนวทางการเตรี ย ม เป้าหมายรายได้ ทอ่ งเที่ยว 2 ล้ านล้ านบาทของภาครัฐ รวมถึง ความพร้ อม รองรับแนวโน้ มการแข่งขันที่จะเพิ่มสูงขึ ้นได้ (ทัง้ การสร้ างความยัง่ ยืนให้ แก่การท่องเที่ยวของไทย จากคูแ่ ข่งชาวไทยและชาวต่างชาติ) โลจิสติกส์ บริษัทโลจิสติกส์ รายใหญ่ ต่างเตรียมพร้ อมรับมือนา้ ท่ วม ศูนย์ วิจัยกสิกรไทย มองว่า ผู้ประกอบการหลายรายเริ่ มหัน โดยวางแนวทางป้องกันความเสีย่ งหลากหลายแนวทาง ได้ แก่ มาสนใจการท าแผนการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยมี ก าร การจัดทาประกันภัยสินค้ า การลงทุนซื ้อรถขนาดใหญ่สาหรับ ปรับเปลี่ยนรู ปแบบและกลยุทธ์ ในการกาหนดพืน้ ที่ตงั ้ ของ ส่งสินค้ าเพื่อป้องกันในกรณีที่รถขนาดเล็กไม่สามารถวิ่งได้ โรงงาน ตลอดจนการบริ หารคลังสินค้ า หรื อศูนย์ กระจาย การสร้ างเครื อข่ายการจัดส่งสินค้ าร่ วมกับพันธมิตร และการ สินค้ าที่คานึงถึงประสิทธิ ภาพในการรองรั บความเสี่ยงใน ขยายคลังสินค้ าสารองและสร้ างศูนย์การกระจายสิ นค้ าแห่ง กรณีเหตุการณ์ ภัยพิบัติ โดยมีการเพิ่มคลังสินค้ าและศูนย์ ใหม่ โดยเฉพาะการวางแผนสร้ างคลัง สิ น ค้ า เพิ่ ม เติ ม ใน กระจายสิ น ค้ า ไปในต่ า งจัง หวัด ที่ ป ลอดภัย จากน า้ ท่ ว ม ต่า งจัง หวัด ที่ มีศัก ยภาพ เช่น ขอนแก่ น พิ ษ ณุโลก เพื่อ ลด โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ นอกจากจะสามารถ ความเสีย่ งจากการมีสนิ ค้ าเก็บไว้ ที่เดียว ช่วยในการป้องกันความเสี่ยงจากอุทกภัยแล้ ว ยังช่วยเพิ่ม ประสิทธิ ภาพและลดต้ นทุนของธุรกิ จได้ อีก ด้ วย กล่าวคื อ จากแนวโน้ มการเติบโตของความเป็ นเมือง และการก้ าวสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย น ทาให้ ความต้ องการ สินค้ าและบริ การในต่างจังหวัดและการค้ าชายแดนมีความ คึกคักเพิ่มมากขึ ้น การมีคลังสินค้ าหรื อศูนย์กระจายตามหัว เมื อ งต่ า งๆ ที่ มี ศั ก ยภาพทางเศรษฐกิ จ และมี เ ส้ นทาง คมนาคมที่สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้ านได้ ก็จะ ท าให้ เป็ นการประหยั ด ต้ นทุ น ในการขนส่ ง สิ น ค้ าและ สามารถส่ง สิน ค้ า ไปยัง ผู้บ ริ โภคได้ ในระยะเวลาที่ร วดเร็ ว สอดคล้ องกับนโยบายของภาครัฐที่ซึ่งตามแผน พรบ. เงินกู้ 2 ล้ านล้ านบาท มีการจัดสรรงบประมาณกว่า 11,857 ล้ าน
9 บาท พัฒ นาสถานี ขนส่งสิน ค้ า เพื่อ เพิ่ม ประสิทธิ ภาพการ ขนส่งทางถนนด้ วยรถบรรทุกจ านวน 15 แห่ง ใน 8 เมือ ง หลัก (เชี ย งใหม่ พิ ษ ณุ โ ลก นครสวรรค์ ขอนแก่ น นครราชสี ม า อุบ ลราชธานี ปราจีน บุรี และสุร าษฎร์ ธ านี ) และ 7 เมื องชายแดน (เชียงราย ตาก หนองคาย มุกดาหาร สระแก้ ว สงขลา และนราธิวาส) Commodity Market Watch 8 - 12 กรกฏาคม 2556 2 0 12 Indic a t o rs
C lo s e
2 0 13
2 0 11
%C hg 3Q
4Q
1Q
P re v io us
La t e s t
C hg
B re nt C rude ( US D / B a rre l)
79.62
113.30
111.94
110.37
108.14
109.45
1.31
1.2%
G a s o ho l 9 5 ( T H B / L)
36.21
38.23
37.83
39.03
39.33
40.53
1.20
3.1% 0.0%
D ie s e l ( T H B / L)
29.51
29.79
29.79
29.99
29.99
29.99
0.00
G o ld ( US D / O z)
1225.54
1772.10
1655.85
1598.75
1223.20
1285.70
62.50
5.1%
G o ld ( T H B , S e ll)
22,428
25,850
24,150
22,200
18,200
19,000
800
4.4%
A lum inium ( US D / T o n) 1
2,369
2,094
2,044
1,882
1,743
1,791
47.5
2.7%
C o ppe r ( US D / T o n) 1
8,837
8,268
7,872
7,583
6,821
6,923
102
1.5%
569
360
310
186
145
140
-5.00
-3.4%
P o lye t hyle ne ( US D / T o n) 2 HDP E
1,220
1,360
1,400
1,450
1,445
n.a
LD P E
1,461
1,335
1,380
1,450
1,450
n.a.
P o lypro pyle ne ( US D / T o n)
1344
1,243
1,243
1,438
1,453
n.a.
S t e e l B ille t ( US D / T o n) 1
Short Long
Short Long
SPDR
Short Long
Short Long
P a ra xyle ne ( US D / T o n)
1,046
1,485
1,525
1,390
1,340
n.a.
ข้าวขาว 5 % ( B a ht / t o n )
15,641
17,620
17,520
16,520
16,120
16,120
0
0.0%
นา ้ ตาลทรายด ิบ ( c e nt / lb ) 1
28.85
19.50
19.45
18.21
16.26
16.06
-0.20
-1.2%
ม ันสาปะหล ังเส้น ( B a ht / k g )
7.23
6.80
6.50
6.70
6.58
6.59
0.01
0.2%
144.00
100.70
100.00
86.20
81.40
79.60
-1.80
-2.2%
ั้ ยางแผ่นรมคว ันชน3 ( B a ht / k g )
F acto r
Short Long
1/ Thursday clo sing level , 2/ Last week values
ราคานา้ มันปรั บเพิ่มขึน้ เล็กน้ อย โดยได้ รับปั จจัยหนุนจากสถานการณ์ในอียิปต์ซึ่งยังคงวุ่นวาย และเหตุการณ์ ความไม่ สงบในเลบานอนหลังเกิดเหตุระเบิดในกรุ งเบรุ ต ประกอบกับนักลงทุนได้ คลายความกังวลในกรณีที่อาจจะมีการลดขนาด มาตรการ QE ของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ลงในอนาคตอันใกล้ อย่างไรก็ดี ราคาน ้ามันก็ยังคงได้ รับแรงกดดันจาก อุปทานน ้ามันที่เพิ่มขึ ้นจากการที่ท่อส่งน ้ามันจากอิรักไปยังตุรกี และแหล่งผลิตน ้ามันในลิเบีย ซึ่งมีกาลังการผลิตรวมกันถึง 1.95 ล้ านบาร์ เรล/วัน จะกลับมาเริ่ มเปิ ดดาเนินการ ส่วนทิศทางราคาในช่วงต่อจากนี ้ไป ยังคงต้ องติดตามทิศทางเศรษฐกิจ แกนหลักของโลก และสถานการณ์ความไม่สงบในตะวันออกกลางอย่างต่อเนื่อง ราคาทองคาปรั บขึน้ แรงจากสัปดาห์ ก่ อน โดยได้ รับแรงหนุนจากทิศทางการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์ ฯ หลังการเปิ ดเผย รายงานการประชุมนโยบายการเงิ นของเฟด ประกอบกับนักลงทุน ได้ เข้ าซื ้อสัญญาทองคาหลังจากราคาปรับลงต่อเนื่อง ในช่วงก่อนหน้ า อย่างไรก็ดี ช่วงขาขึ ้นของราคาทองคาถูกจากัดไว้ บางส่วน เนื่องจากกองทุน SPDR ยังคงทยอยขายทองคา ออกมาอย่างต่อเนื่อง ส่วนทิศทางราคาในช่วงต่อจากนี ้ไป ยังคงต้ องจับตาแนวโน้ มทิศทางเศรษฐกิจโลก และแนวโน้ มการถือ ทองคาของกองทุน SPDR ราคายางพาราปรั บลดลงต่ อเนื่ อง โดยได้ รับแรงกดดันจากสต็ อกยางของจีนที่ยงั คงเพิ่มขึ ้นต่อเนื่อง ประกอบกับภาวะ ชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ซึง่ ส่งผลให้ ความต้ องการยางมีแนวโน้ มลดลง อย่างไรก็ดี ราคายางยังคงได้ รับแรงหนุนจากการที่ เฟดจะยังคงไม่ลดขนาดการดาเนินมาตรการ QE ในระยะใกล้ ๆ นี ้ ประกอบกับหลายพื ้นที่ปลูกยางของไทยยังเผชิญกับภาวะ ฝนตกหนัก จึงส่งผลพยุงราคายางไว้ ในระดับหนึ่ง ส่วนทิศทางราคาในช่วงต่อจากนี ้ไป ยังคงต้ องจับตาแนวโน้ มทิศทาง เศรษฐกิจโลก และภาวะฝนในพื ้นที่ภาคใต้ ของไทย ------------------------------------
Disclaimer รายงานวิจยั ฉบับนี ้จัดทาเพื่อเผยแพร่ ทวั่ ไป โดยจัดทาขึ ้นจากแหล่งข้ อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือ แต่บริ ษัทฯ มิอาจรั บรองความถูกต้ อง ความน่าเชื่อถือ หรื อความสมบูรณ์ เพื่อใช้ ในทางการค้ าหรื อ ประโยชน์อื่นใด บริ ษัทฯ อาจมีการเปลีย่ นแปลงปรับปรุงข้ อมูลได้ ตลอดเวลาโดยไม่ต้องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า ทั ้งนี ้ผู้ใช้ ข้อมูลต้ องใช้ ความระมัดระวังในการใช้ ข้อมูลต่างๆ ด้ วยวิจารณญาณของ ตนเองและรับผิดชอบในความเสีย่ งเองทั ้งสิ ้น บริ ษัทฯจะไม่รับผิดต่อผู้ใช้ หรื อบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ ข้อมูลดังกล่าว ข้ อมูลในรายงานฉบับนี ้จึงไม่ ถือว่าเป็ นการให้ ความเห็นหรื อ คาแนะนาในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใดทั ้งสิ ้น