1
2
กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขาพเจาไดมาฝกงาน ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( Samut Songkhram PAO.) ตั้งแตวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2556 สงผลใหขาพเจา ไดรับความรูใหมๆและประสบการณตางๆอยางมากมาย สําหรับรายงานการฝกงานฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดีจาก ความรวมมือและสนับสนุนจากหลายฝายดังนี้ 1. คุณพิสิฐ เสือสมิง นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 2. คุณขวัญใจ หอสกุล หัวหนาสํานักปลัด 3. คุณนิรมล กลัดสมบูรณ หัวหนาฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป และบุคคลทานอื่นๆในฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทุกทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือในการจัดทํา รายงานฉบับนี้ ขาพเจาใครขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่มีสวนรวมในการใหขอมูล เปนที่ปรึกษาในการ ทํารายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ ตลอดจนใหการดูแลและใหความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตการทํางานจริง ขาพเจา ขอขอบคุณ ไว ณ ที่นี้
นางสาวมนนิสา รุงปจฉิม ผูจัดทํารายงาน 20 มิถุนายน 2556
3
บทคัดยอ (Abstract) การฝกประสบการณวิชาชีพ เปนการฝกประสบการณในการทํางานในบริษัทหรือองคกร เปนการนํา ความรูที่นอกเหนือจากตําราเรียน มาฝกประสบการณวิชาชีพและสามารถนํามาประยุกตใช เพื่อเตรียมตัว สําหรับการทํางานจริงในบริษัทหรือองคกรตางๆ ซึ่งการฝกประสบการณวิชาชีพนั้นสามารถสอนใหรับมือกับ ปญหาและแกไขปญหาในสถานการณที่เกิดขึ้นจริง ไดเรียนรูเทคนิคตาง ๆและพรอมที่จะพัฒนาตนเอง ทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไดกําหนดการฝกประสบการณวิชาชีพขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสในการ ปฏิบัติงานจริงในสถานที่ประกอบการ ทําใหนักศึกษามีความรูความเขาใจในการทํางาน และสามารถนํา ความรูทั้งทางดานทฤษฎีและปฏิบัติ ที่ไดจากการปฏิบัติงานนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสิทธิภาพ หลังจากจบหลักสูตรปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
4
สารบัญ จดหมายตอบรับนักศึกษาฝกงาน กิตติกรรมประกาศ บทคัดยอ สารบัญ บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงคของการศึกษา วิธีการดําเนินการศึกษา ระยะเวลาในการฝกประสบการณวิชาชีพ ขอบเขตการศึกษา บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ก. ชื่อหนวยงาน ข. สถานที่ตั้ง ค. ประวัติหนวยงาน ง. อัตลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม จ. ลักษณะของหนวยงานองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ฉ. ผังการบริหารงาน ช. งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการปฏิบัติงาน การวิเคราะห SWOT การฝกประสบการณวิชาชีพ งานที่ไดรับมอบหมาย บทที่ 4 ผลที่ไดรับจากการปฎิบัติงาน บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบัติงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก
2
หนา 1 3 4 5 5 6 6 6 7 8 8 9 9 13 14 18 19 20 21 21 26 46 47 49 52
5
บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ การศึกษาในระดับปริญญาตรี สิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งคือการฝกประสบการณวิชาชีพ ซึ่งเปนเปนการ นําความรูในแขนงวิชาที่ศึกษา มาประยุกตใชในการฝกประสบการณวิชาชีพในบริษัทหรือองคกรตางๆ เพื่อ เจาของกิจการตองการตรวจสอบความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานของบัณฑิตวามีความรูความสามารถ จริง ดังใบปริญญา หรือมีความรูความสามารถตรงกับขอบเขต และคุณภาพของงานที่ตองการจะวาจางหรือไม สิ่งที่เปนเครื่องยืนยันในคุณสมบัติ และในคุณภาพที่เปนรูปธรรมก็คือ รายงานเลมนี้ ดังนั้นการทําความเขาใจ อยางถองแทลึกซึ้ง และการใชความสามารถในการทํารายงาน จึงนับวามีความสําคัญมากที่สุดของการศึกษา ระดับปริญญาตรี สิ่งที่สําคัญที่สุดของรายงานที่สมบูรณก็คือ การฝกประสบการณวิชาชีพซึ่งในที่นี้หมายรวมถึง องคประกอบ และขั้นตอนการปฏิบัติการตางๆที่ถูกตองตามหลักการศึกษา การดําเนินการ ปฏิบัติงาน จึงเปน การสรางเสริมความรูความสามารถ หลายประการใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรี ความสามารถทั้งหลายที่ กลาวถึงนี้เปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของการศึกษาระดับปริญญาตรีดังนั้นการทํารายงาน จึงเปนสวนสําคัญใน การเสริมสรางความสามารถที่พึงประสงคทั้งหลายเหลานี้ การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรมเปนกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทํารวมกัน ระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูทักษะและฝกประสบการณในการทํางาน จริงในสายงานที่มีความจําเปนตอการประกอบอาชีพซึ่งมุงเสริมใหนักศึกษาไดประสบการณโดยตรงจากการฝก ประสบการณวิชาชีพและเรียนรูสถานการณที่เปนจริงของการทํางาน เปนการเรียนรูการเพิ่มทักษะและ ประสบการณในการทํางานที่มีประโยชนตอการประกอบอาชีพของนักศึกษา ซึ่งเปนการนําความรูจากวิชาที่ได ศึกษาตลอดทั้งหลักสูตรนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงในการทํางานกับสถานประกอบการณ อีกทั้งยัง เปนการฝกใหมีความอดทน มีความตรงตอเวลา การใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ การชวยเหลือผูอื่น การมี มนุษยสัมพันธที่ดี รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตนเองในการเตรียมความพรอมกับปญหาที่จะเกิดขึ้น ขางหนาและคนหาวิธีแกไขเฉพาะหนาไดอยางเหมาะสมตรงตามปญหานั้นๆ เพื่อที่จะออกไปดําเนินชีวิตและ ประกอบอาชีพดานออกแบบกราฟก ไดอยางมีประสิทธิภาพตอสังคมและหนวยงาน หรือองคกรไดเปนอยางดี
6
การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ครั้งนี้ เปนการนําความรู ความสามารถที่นักศึกษาไดเรียนมาในชั้นเรียนดานตางๆ มาประยุกตปรับใชในการฝกประสบการณวิชาชีพ ซึ่ง นักศึกษาจะตองนําความรูที่ไดจากภายในชั้นเรียนมาปรับใชกับงานที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนางาน เพื่อ นักศึกษาจะไดรูจักกระบวนการคิด วิธีการทํางานจริง และเมื่อพบปญหาการทํางานสามารถใชไหวพริบแกไข เหตุการณเฉพาะหนาได เปนแนวทางในการประกอบอาชีพ และนักศึกษาจะไดทราบถึงประสิทธิภาพการ ทํางานของตนเองได วัตถุประสงคของการศึกษา 1.1 เพื่อบรรลุตามจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษารายวิชา การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม 1.2 เพื่อสรางประสบการณการทํางาน ณ สถานที่จริง 1.3 เพื่อพัฒนาตนในดานความรับผิดชอบตอหนาที่ การเขากับสังคม และวิถีชีวิตการทํางานจริง 1.4 เพื่อใหนักศึกษานําความรู ความสามารถที่ไดเรียนมาประยุกตใช ในที่ทํางานจริง วิธีการดําเนินการศึกษา 1.1 หาสถานที่ฝกประสบการณดวยตนเองและดําเนินการติดตอหนวยงาน 1.2 เขาไปติดตอกับหัวหนางานกอนวันที่จะทําการฝก หากหนวยงานรับนักศึกษาฝกประสบการณ วิชาชีพ ใหรีบแจงกับทางมหาวิทยาลัยรับทราบและพิจารณา 1.3 นําเอกสารสงตัวนักศึกษาที่ไดจากทางมหาวิยาลัย ไปยื่นใหกับหนวยงานที่ไดทําการฝก 1.4 นําเอกสารตอบรับที่ไดรับจากหนวยงาน ไปยื่นใหกับมหาวิทยาลัย 1.5 เขารายงานตัวกับหนวยงานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ 1.6 เริ่มเขาฝกประสบการณวิชาชีพ ตั้งแตวันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 1.7 ในระหวางฝกประสบการณวิชาชีพ ทําภาคนิพนธประกอบไปดวย คือ เก็บสะสมผลงานที่ไดรับ มอบหมาย เปนตน 1.8 สงผลงานการปฏิบัติงานวิชาชีพศิลปกรรม ระยะเวลาในการฝกประสบการณวิชาชีพ วันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึง วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลา 36 วัน เปนจํานวน 288 ชั่วโมง โดยฝกประสบการณวิชาชีพในวันจันทรถึงวันศุกร ตั้งแตเวลา 08.30 น. – 16.30 น. วันละ 8 ชั่วโมง เปนจํานวน 9 สัปดาห
7
ขอบเขตการศึกษา 1.1 ศึกษาบทบาทหนาที่ของการเปนบุคลากรขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 1.2 ศึกษาระบบการทํางานของฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป 1.3 ภาพถายพิธีการ กิจกรรมตางๆ ขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 1.4 Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) 1.5 Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels 1.6 Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว ขอบเขตการศึกษาดานระยะเวลา ฝกประสบการณวิชาชีพตั้งแตวันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.1 ไดประสบการณจากการปฏิบัติงานในสถานที่ประกอบการจริง เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนา ตนเองใหดีขึ้น 1.2 สามารถนําความรูที่เรียนมาแกไขปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นในขณะการปฏิบัติงาน 1.3 รูจักการทํางานเปนทีม การทํางานเปนหมูคณะ และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน 1.4 ไดเรียนรูถึงสภาพการทํางาน สังคม และวัฒนาธรรมจากสถานที่ประกอบการจริง 1.5 มีความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ
8
บทที่ 2 การจัดการภายในองคกร
การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( ครั้งนี้ ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของดังหัวขอตอไปนี้
Samut Songkram PAO.)
ก. ชื่อหน่วยงาน ข. สถานที่ตั ้ง ค. ประวัติหน่วยงาน ง. อัตลักษณ์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม จ. ลักษณะของหน่วยงาน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม ฉ. ผังการบริหารงาน ช. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง
ก. ชื่อหนวยงาน องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.)
ภาพที่ 2.1 ภาพบริเวณสํานักงานองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.)
9
ข. สถานที่ตั้ง องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) อาคารสํานักงานตั้งอยูที่ ถนนเอกชัย ตําบลแมกลอง อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทรศัพท : 0-3471-5012 / โทรสาร : 0-3471-5012 / Website : www.skmpao.go.th
ภาพที่ 2.2 ภาพแผนที่องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) ค. ประวัติหนวยงาน การจัดรูปแบบขององคการบริหารสวนจังหวัดซึ่งเปนการปกครองทองถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใชอยูใน ปจจุบันไดมีการปรับปรุงแกไขและวิวัฒนาการมาตามลําดับ โดยจัดใหสภาจังหวัดขึ้นเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2476 ตามความในพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ.2476 ฐานะของสภาจังหวัดขณะนั้น มีลักษณะเปน องคการแทนประชาชน ทําหนาที่ใหคําปรึกษาหารือแนะนําแกคณะกรรมการจังหวัดยังมิไดมีฐานะเปนนิติ บุคคลที่แยกตางหากจากราชการบริหารสวนภูมิภาคหรือเปนหนวยการปกครองทองถิ่นตามกฎหมาย ตอมาในป พ.ศ.2481 ไดมีการตราพระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ.2481 ขึ้นโดยมีความประสงคที่จะ แยกกฎหมายที่เกี่ยวกับสภาจังหวัดไวโดยเฉพาะ สําหรับสาระสําคัญของพระราชบัญญัติฯ นั้นยังมิไดมีการ
10
เปลี่ยนแปลงฐานะและบทบาทของสภาจังหวัดไปจากเดิม กลาวคือ สภาจังหวัดยังคงทําหนาที่เปนสภาที่ปรึกษา ของคณะกรรมการจังหวัดเทานั้น จนกระทั้งไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2495 ซึ่งกําหนดใหผูวาราชการจังหวัดเปนหัวหนาปกครองบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบ บริหาร ราชการในสวนจังหวัด ของกระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ โดยตรงแทนคณะกรรมการจังหวัดเดิม โดยผลแหงพระราชบัญญัติฯ นี้ทําใหสภาจังหวัดมีฐานะเปนสภาที่ปรึกษาของผูวาราชการจังหวัด แต เนื่องจากบทบาทและการดําเนินงานของสภาจังหวัดในฐานะ ที่ปรึกษา ซึ่งคอยใหคําแนะนําและควบคุมดูแล การปฏิบัติงานของจังหวัด ไมสูจะไดผลตามความมุงหมายเทาใดนักจึงทําใหเกิดแนวคิดที่จะปรับปรุงบทบาท ของสภาจังหวัด ใหมีประสิทธิภาพโดยให ประชาชนไดเขามามีสวนในการปกครองตนเองยิ่งขึ้น ในป พ.ศ. 2498 อันมีผลใหเกิด "องคการบริหารสวนจังหวัด" ขึ้นตามภูมิภาคตอมา ไดมีการประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน 2515 ซึ่งเปนกฎหมายแมบทวาดวยการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดิน กําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีฐานะเปนหนวยการปกครองทองถิ่นรูปหนึ่งเมื่อสภาจังหวัดแปรสภาพมา เปนสภาการปกครองทองถิ่น จึงมีบทบาทและอํานาจหนาที่เพิ่มขึ้นอยางมาก ดังนั้นเพื่อประโยชนในการทํา ความเขาใจอํานาจหนาที่และบทบาทของสภาจังหวัดจากอดีตจนถึงปจจุบัน จึงขอแบงระยะวิวัฒนาการของ สภาจังหวัดออกเปน ดังนี้ ในอดีต (พ.ศ.2476 - 2498) นับตั้งแตป พ.ศ.2476 ที่ไดมีการจัดตั้งสภาจังหวัดขึ้น ตามพระราชบัญญัติระเบียบเทศบาล พ.ศ.2476 ซึ่ง นับเปนจุดกําเนิด และรากฐานของการพัฒนาที่ทําใหใหมีหนวยงานปกครองทองถิ่นในรูปองคการบริหารสวน จังหวัดขึ้น จนถึงป พ.ศ.2498 นั้น อาจกลาว โดยสรุปถึงฐานอํานาจหนาที่บทบาทของสภาจังหวัดไดวามี ลักษณะ ดังนี้ ฐานะสภาจังหวัดในขณะนั้นก็ยังมิไดมีฐานะเปนหนวยการปกครองทองถิ่นและเปนนิติบุคคลที่แยกตางหากจาก ราชการบริหารสวนภูมิภาคตามกฎหมายเปนเพียงองคกรตัวแทนประชาชนรูปแบบหนึ่ง ที่ทําหนาที่ให คําปรึกษา แนะนําแกจังหวัด ซึ่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแหงพระราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2476 กําหนดใหจังหวัดเปนหนวยราชการบริหารสวนภูมิภาคอํานาจการบริหารงานในจังหวัดอยูภายใตการ ดําเนินงานของคณะกรรมการจังหวัด ซึ่งมีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานสภาจังหวัดจึงมีบทบาทเปนเพียงที่ ปรึกษาเกี่ยวกับกิจการของสภาจังหวัดแกคณะกรรมการจังหวัด และคณะกรรมการจังหวัด ไมจําเปนตองปฏิบัติ ตามเสมอไป กระทั่งในป พ.ศ.2495 ไดมีการตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนแผนดิน กําหนดให ผูวาราชการจังหวัด สภาจังหวัดจึงเปลี่ยนบทบาทจากสภาที่ปรึกษาของกรรมการจังหวัดมาเปนสภาที่ปรึกษา ของผูวาราชการจังหวัด สําหรับอํานาจหนาที่ของสภาจังหวัดพระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ.2481 มาตรา 25 ไดกําหนดใหสภาจังหวัดมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
11
1. ตรวจและรายงานเรื่องงบประมาณที่ทางจังหวัดตั้งขึ้น และสอบสวนการคลังทางจังหวัดตาม ระเบียบ ซึ่งจะไดมีกฎกระทรวงกําหนดไว 2. แบงสรรเงินทุนอุดหนุนของรัฐบาลระหวางบรรดาเทศบาลในจังหวัด 3. เสนอขอแนะนําและใหคําปรึกษาตอคณะกรรมการจังหวัดในกิจการจังหวัด ดังตอไปนี้ ก. การรักษาความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ข. การประถมศึกษาและอาชีวศึกษา ค. การปองกันโรค การบําบัดโรค การจัดตั้งและบํารุงสถานพยาบาล ง. การจัดใหมีและบํารุงทางบก ทางน้ํา จ. การกสิกรรมและการขนสง ฉ. การเก็บภาษีอากรโดยตรง ซึ่งจะเปนรายไดสวนจังหวัด ช. การเปลี่ยนแปลงเขตหมูบาน ตําบล อําเภอ และเขตเทศบาล 4. ใหคําปรึกษาในกิจการคณะกรรมการจังหวัดรองขอในป (พ.ศ.2498 - 2540) การจัดตั้งและการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัด ในปจจุบัน เปนไปตามพระราชบัญญัติระเบียบ ราชการสวนจังหวัด พ.ศ.2498 ซึ่งกําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีฐานะเปนนิติบุคคลและประกาศของ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ไดกําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดเปนหนวยการปกครองทองถิ่นรูปหนึ่ง ดังนั้น องคการบริหารสวนจังหวัด จึงเปนหนวยราชการบริหารสวนทองถิ่น ที่มีฐานะเปนนิติบุคคล และใน พระราชบัญญัติฯ ดังกลาว ไดกําหนดอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดไว เชน การรักษาความสงบ เรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน การศึกษา การทํานุบํารุงศาสนา และการสงเสริมวัฒนธรรม การ สาธารณูปการ การปองกันโรค การบําบัดโรค และการจัดตั้งและบํารุงสถานพยาบาล ฯลฯ เปนตน นอกจากนี้ องคการบริหารสวนจังหวัดยังอาจทํากิจการซึ่งอยูนอกเขต เมื่อกิจการนั้น จําเปนตองทําและเปน การเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมที่ดําเนินตามอํานาจหนาที่ อยูภายในเขตของตน โดยไดรับความยินยอมจากสภา เทศบาล คณะกรรมการสุขาภิบาล สภาจังหวัดหรือสภาตําบลที่เกี่ยวของนั้น และไดรับอนุมัติจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยแลวดวย ป (พ.ศ.2540 - ปจจุบัน) พระราชบัญญัติองคการบริหารสวน จังหวัด พ.ศ.2540 ไดผานการพิจารณาของรัฐสภาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 114 ตอนที่ 62 ก ลง วันที่ 31 ตุลาคม 2540 โดยใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2540 เปนตนมา พระราชบัญญัติดังกลาว เปน กฎหมายที่กลาวถึงระเบียบวิธีการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งเปนหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่นแทนที่องคการบริหารสวนบริหารสวนจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวน จังหวัด พ.ศ.2498 สําหรับเหตุผลของการ ใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ อาจพิจารณาไดจากบทบัญญัติของ พระราชบัญญัติซึ่งระบุวา "โดยที่องคการบริหารสวนจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
12
ราชการสวนจังหวัด พ.ศ.2498 เปนองคกรปกครองทองถิ่นที่รับผิดชอบในพื้นที่ทั้งจังหวัดที่อยูนอกเขต สุขาภิบาล และเทศบาล เมื่อไดมีพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล ในการนี้สมควร ปรับปรุงบทบาทและอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดใหสอดคลองกัน และปรับปรุงโครงสรางของ องคการบริหารสวนจังหวัดใหเหมาะสมยิ่งขึ้น"นอกจากจะพิจารณาในเหตุผลของพระราชบัญญัติแลว จาก บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ สภาผูแทนราษฎร ซึ่งพิจารณารางพระราชบัญญัติองคการบริหาร สวนจังหวัด พ.ศ. ....... ครั้งที่ 2 วันที่ 13 มีนาคม 2540 ที่ประชุมไดอภิปรายประเด็นวัตถุประสงคของการออก กฎหมายสรุปวา 1. เพื่อจัดระบบบริหารใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งปจจุบันมีปญหาดานการบริหารการจัดการดานพื้นที่ และ รายไดช้ําซอน 2. เพื่อเปนการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของการเมืองการปกครองทองถิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางดานการขยายความเจริญเติบโตของแตละทองถิ่น 3. เพื่อเปนการถายโอนอํานาจการปกครองสวนภูมิภาคมาสูทองถิ่น โดยใหองคการบริหารสวนจังหวัด ทําหนาที่ในการประสานกับองคกรปกครองทองถิ่น การประสานกับรัฐบาลและตัวแทนหนวยงานของรัฐ การ ถายโอนภารกิจและงบประมาณ ที่เคยอยูในภูมิภาคไปอยูในองคการบริหารสวนจังหวัด 4. เพื่อเปนการกระจายอํานาจสูทองถิ่นใหมากยิ่งขึ้น โดยจะเพิ่มอิสระใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด มากขึ้นดวย โดยการลดการกํากับดูแลจากสวนกลางลง ซึ่งพระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2546) มีการกําหนดภารกิจ อํานาจและหนาที่ขององคการบริหาร สวนจังหวัดไมใหซ้ําซอนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น นอกจากนั้นยังปรับปรุงโครงสรางใหเหมาะสม เพื่อใหการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัดเปนไปดวย ความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งใหการไดมาซึ่งนายกองคการบริหารสวนจังหวัดและสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดมาจากการ เลือกตั้งโดยตรงของประชาชนซึ่งจะสอดคลองกับกฎหมายการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น องคการบริหารสวนจังหวัดนอกจากจะมีอํานาจและหนาที่ตามพระราชบัญญัติ องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และฉบับแกไขเพิ่มเติมแลว ยังมีอํานาจและหนาที่ ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของ ประชาชนในทองถิ่นของตนเองตามมาตรา 12 (15) 17 และมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 การจัดตั้งและฐานะ พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 กําหนดใหมีหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่น รูปแบบหนึ่งเรียกวา องคการบริหารสวนจังหวัด โดยมีอยูใน ทุกจังหวัด ๆ ละ 1 แหง รวม 76 แหง มีฐานะ
13
เปนนิติบุคคลและมีพื้นที่รับผิดชอบทั่วทั้ง จัง หวัด โดยทับซอนกับพื้นที่ของหนวยการบริหารราชการ สวน ทองถิ่น อื่น คือ เทศบาล สุขาภิบาล และองคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดนั้น ง. อัตลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดมีประกาศลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ เรื่อง กําหนดตรา เครื่องหมายเปนรูปหนาจั่ว กลองทัด ปลาทูถือไมตีกลอง เพื่อใชเปนตราสัญลักษณประจําหนวยงานตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๓๗ แลวนั้น องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดกําหนดตรา เครื่องหมายเปนรูปกงจักรมีชางศึกภายใน และไดรับอนุมัติจากผูวาราชการจังหวัดสมุทรสงคราม ในการใชแทน ตราเดิมดังกลาว โดยความหมายของตราเครื่องหมายองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงครามดังนี้
ภาพที่ 2.3 ภาพตราสัญลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม • รูปกงจักรมีชางอยูภายใน สื่อถึงธงชาติสมัยรัชกาลที่ ๒ ซึ่งพระองคทรงประสูติที่อําเภออัมพวา ลักษณะใบจักรมี ๙ ใบ แสดงวาตรานี้ทําขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ ๙ • ภาษาบาลี อหังนาโค วสังคาเม"” มีคําแปลวา เราจะอดทนตอคําเสียดสีของคนอื่น เหมือนพญาคช" สารในสนามรบ” สื่อความหมายถึงขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานองคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม ซึ่งเปนขาพระบาทฯ ทํางานตางพระเนตร พระกรรณ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยา
14
หัวฯ ตองอดทนตออุปสรรคตางๆ ไมยอทอในการที่จะแกไขปญหาความเดือดรอนใหกับประชาชน ตอเนื่องไปถึงรูปชางภายในกงจักร ก็คือ ขาราชการ ลูกจาง และพนักงานขององคการบริหารสวน) (จังหวัดสมุทรสงครามนั่นเอง ความหมายของสี • • • •
ขอบวงกลมสีน้ําเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย วงกลมสีแดง หมายถึง ชาติ วงกลมสีขาว หมายถึง ศาสนา จักรสีทอง หมายถึง ความมั่งคั่งของจังหวัดสมุทรสงคราม
จ. ลักษณะของหนวยงานองคการบริหารสวนจังหวั ดสมุทรสงคราม นโยบายของนายกองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดกําหนดนโยบายบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับ แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุมจังหวัด/ แผนการบริหารราชการแผนดิน/ นโยบายของรัฐบาล ซึ่งจะเปนการประสาน รวมมือกันในการขับเคลื่อนการพัฒนาองคกรปกครองทองถิ่น อันจะกอใหเกิดการบูรณาการในการแกปญหาที่มี ผลกระทบตอประชาชนในจังหวัด และประสานกับองคกรสวนทองถิ่นอื่นในการแกปญหาทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งประเภทโครงการที่ตองการรวมกันพัฒนาตามศักยภาพของทองถิ่น และ เสริมสรางบทบาทการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม สงเสริมกลไกลการ ตรวจสอบ การดําเนินงานของภาครัฐ เพื่อใหอยูในกรอบแนวทางของการบริหารองคกรตามหลักธรรมาภิบาล โดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางปฏิบัติควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนเมืองนาอยู เชื่อมโยงทุกมิติทั้งดานคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และการเมือง อยางมีเหตุผล ใชหลัก “ความ พอประมาณ” โดยมีระบบ “ภูมิคุมกัน” และนําทุนที่มีศักยภาพในทองถิ่นมาใชประโยชนอยางบูรณาการและ เกื้อกูลกัน มีเปาหมายที่จะพัฒนาจังหวัดสมุทรสงครามใหเปนจังหวัดที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน เปนเมืองนาอยู ชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง โดยมีงานหลักที่จะดําเนินการ ๔ ดาน ดังนี้
15
๑. ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๒. ดานการเพิ่มรายได ๓. ดานการพัฒนาชุมชน ๔. ดานการพัฒนาองคกร อํานาจหนาที่/บทบาทองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม อํานาจหนาที่ของนายกองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552 มาตรา 35/5 นายกองคการบริหารสวนจังหวัดมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) กําหนดนโยบายโดยไมขัดตอกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององคการบริหารสวนจังหวัด ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ขอบัญญัติและนโยบาย (2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการขององคการบริหารสวนจังหวัด (3) แตงตั้งและถอดถอนรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัด เลขานุการนายกองคการบริหารสวนจังหวัด และ ที่ปรึกษานายกองคการบริหารสวนจังหวัด (4) วางระเบียบเพื่อใหงานขององคการบริหารสวนจังหวัดเปนไปดวยความเรียบรอย (5) รักษาการใหเปนไปตามขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด (6) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ.2552
16
มาตรา 45 องคการบริหารสวนจังหวัดมีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการภายในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด ดังตอไปนี้ (1) ตราขอบัญญัติโดยไมขัดหรือแยงตอกฎหมาย (2) จัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด และประสานการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ตามระเบียบ คณะรัฐมนตรีกําหนด (3) สนับสนุนสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่นในการพัฒนาทองถิ่น (4) ประสานและใหความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ของสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่น (5) แบงสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะตองแบงใหแกสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่น (6) อํานาจหนาที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 เฉพาะภายใน เขตสภาตําบล (7) คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (7 ทวิ) บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น (8) จัดทํากิจการใดๆ อันเปนอํานาจหนาที่ของราชการสวนทองถิ่นอื่นที่อยูในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด และกิจการนั้นเปนการสมควรใหราชการสวนทองถิ่นอื่นรวมกันดําเนินการหรือใหองคการบริหารสวนจังหวัด จัดทํา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (9) จัดทํากิจการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ องคการบริหารสวนจังหวัด ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา อบจ.สมุทรสงคราม 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน แหลงทองเที่ยว อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางการพัฒนา
17
• พัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การกอสราง ซอมแซม ปรับปรุง บํารุงรักษา โครงสราง พื้นฐานใหไดมาตรฐาน • พัฒนาระบบการคมนาคมทางบกและทางน้ํา • การจัดทําผังเมืองและผังเมืองรวม • อนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ • บริหารจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ําเสีย • พัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอุปโภค - บริโภค 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต สงเสริมเศรษฐกิจ สังคมเขมแข็ง แนวทางการพัฒนา • สงเสริม อนุรักษ ฟนฟู และเผยแพร ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี คุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมทางศาสนา โบราณสถาน โบราณวัตถุ และภูมิปญญาทองถิ่น • สงเสริมสนับสนุน การมีสวนรวมทางการศึกษา การกีฬา นันทนาการ และชองทางการรับรูขอมูล ขาวสารใหกับเด็ก เยาวชน ประชาชน รวมถึงผูดอยโอกาส • สงเสริมสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐาน ยกระดับการบริการทางแพทย เสริมสรางสุขภาพอนามัย ปองกัน แกไข ควบคุม โรคติดตอ และโรคไมติดตอ • สงเสริมสนับสนุนการปองกัน แกไขปญหาสังคม การจัดสวัสดิการ ใหความชวยเหลือ เด็ก สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส และผูติดเชื้อเอดส • พัฒนาสถาบันครอบครัว ชุมชน และสังคม ใหมีความเขมแข็ง ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • บริหารจัดการปองกัน บรรเทาสาธารณภัย การรักษาความสงบเรียบรอย ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชน • สงเสริมสนับสนุนภาครัฐ เอกชน องคกรชุมชน/เครือขาย ในการพัฒนาอาชีพ การลงทุน พาณิชยกรรม การบริการ เพื่อสรางงาน สรางอาชีพ และสรางรายไดใหกับประชาชน • สงเสริมสนับสนุนการปองกัน แกไข ปญหายาเสพติด ตลอดจนการฟนฟูผูติดยาเสพติด • สงเสริมการมีสวนรวมของภาครัฐและเอกชน 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร การปกครอง และสงเสริมระบอบประชาธิปไตย
18
แนวทางการพัฒนา - พัฒนาความรูความเขาใจและการมีสวนรวมของประชาชนเกี่ยวกับการเมือง การปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย - พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงพัฒนาหนวยงานและบุคลากร ทุกรูปแบบ ฉ. ผังการบริหารงาน นายพิสิฐ เสือสมิง นายก อบจ.สมุทรสงคราม นางปริมพร อ่ําพันธุ ปลัด อบจ. นักบริหารงาน อบจ. 9 นางวรรณดี เล็กเซง รองปลัดอบจ. นักบริหารงาน
นางสาวนิรมล กลัดสมบูรณ หัวหนาฝายพัฒนา
นางวรรณา แตรสังข หัวหนาฝายนิติการ
และสงเสริมการทองเที่ยว นักบริหารงานทั่วไป
และการพาณิชย นักบริหารงานทั่วไป 7
นางสาวขวัญใจ หอสกุล หัวหนาฝายบริหารงาน ทั่วไป นักบริหารงานทั่วไป 7
นางสุทัสสี ทับทิมทอง หัวหนาฝายบริหารงาน บุคคล นักบริหารงานทั่วไป 7
ภาพที่ 2.4 ภาพผังการบริหารโดยสังเขป ที่มา : http://www.skmpao.go.th/index.php?option=com_content&view= article&id=36&Itemid=4
19
ช. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ชาญศิลป กิตติโชติพาณิชย. 2544 ไดศึกษา” การศึกษาความสําคัญของวิวัฒนาการการออกแบบสิ่งพิมพ โฆษณาไทย ที่มีตอการสอนสาขาออกแบบนิเทศศิลป ระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย”การวิจัยครั้งนี้แบงออกเปน 2 ตอน วัตถุประสงคการวิจัยตอนที่ 1 เพื่อศึกษาวิวัฒนาการ การออกแบบสิ่งพิมพโฆษณาไทย วัตถุประสงคการวิจัย ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาความสําคัญของวิวัฒนาการการ ออกแบบสิ่งพิมพโฆษณาไทยที่มีตอการสอนสาขาออกแบบนิเทศศิลป ระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย สุรเชษฐ ระวัง. 2547 ไดศึกษา” การออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศศิลปดวยตนเอง สําหรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย” การตวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อการออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศศิลป ดวยตนเองสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สําหรับเปนแนวทางในการเตรียมตัวสอบเขาศึกษาตอ ระดับมหาวิทยาลัย วิชาออกแบบนิเทศศิลป รหัสวิชา 33 วิธีการดําเนินการวิจัยคือรวบรวมขอมูลภาคเอกสาร ขอมูลทางภาคสนาม วิเคราะหขอมูล โดยการสัมภาษณนักเรียน ผูสอนติวศิลปะสําหรับสอบเขามหาวิทยาลัย หลังจากนั้นสรุปวิเคราะหและผลิตคูมือตัวอยาง ทําการทดสอบขอมูล เพื่อออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศ ศิลปดวยตนเองสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยางสมบูรณ ชนัญญา สุวรรณวงศ. 2550 ไดศึกษา” การพัฒนาแบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียนศิลปกรรม โดยใช คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย ” การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค 1) เพื่อพัฒนา 2) เพื่อประเมินคุณภาพ 3) เพื่อหา ความสัมพันธของคะแนนสอบที่ไดจากแบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียนศิลปกรรมกับคะแนนวิชาความรู ทั่วไปทางศิลปะของผูทดสอบ 4) เพื่อหาความพึงพอใจของผูทดสอบที่มีตอแบบทดสอบวัดความถนัดทางการ เรียนดานศิลปดกรรมโดยใชคอมพิวเตอรมัลติมีเดียที่สรางขึ้น
20
บทที่ 3 การปฏิบัติงาน
การฝกประสบการณวิชาชีพนั้น นักศึกษาตองนําเอาความรูที่ไดรับจากการศึกษาทั้งนอกและใน สาขาวิชาศิลปกรรม มาประยุกตใชใหเขากับงานที่ไดรับมอบหมายใหไดผลงานที่สามารถนําไปใชไดจริง เพื่อ ประโยชนตอตัวนักศึกษาและหนวยงาน และงานที่ไดรับมอบหมายตองมีความถูกตอง เสร็จทันเวลาตามที่ หัวหนางานกําหนด จึงจะถือวางานชิ้นนั้นสําเร็จตามเปาหมายที่ไดกําหนด หลักการของการปฏิบัติงาน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สรางเสริมประสบการณ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเปนจริงในสถานประกอบการ 2. เพื่อจะไดทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใชสติปญญาแกปญหาไดอยางมีเหตุผล 3. เพื่อใหมีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีระเบียบวินัย และทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการประกอบอาชีพตอไป ภายหลังจากสําเร็จการศึกษา 5. เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหนวยงานรัฐบาล ระเบียบวาดวย งานที่ไดรับมอบหมาย การวิเคราะห SWOT การฝกประสบการณวิชาชีพ จุดแข็งของเรา (Strengths : S) เปนจุดเดนของตัวเรา ซึ่งจะวิเคราะหจากการฝกประสบการณวิชาชีพภายใน จังหวัดสมุทรสงคราม
องคการบริหารสวน
21
โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.
เปนคนที่ตรงตอเวลาจึงทําใหมาทํางานไมสาย 2. เปนคนอัธยาศัยดี เขากับบุคคลอื่นไดงาย ทําใหการปฏิบัติงานไดอยางราบรื่น 3. เปนคนที่เรียนรูสิ่งตางๆไดอยางรวดเร็ว 4. ไมปฏิเสธงานที่ไดรับมอบหมาย
จุดออน (Weakness : W) เปนจุดออนของตัวเรา ซึ่งจะวิเคราะหจากการฝกประสบการณวิชาชีพภายใน องคการบริหารสวน จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ไมชินกับระบบงานราชการ โอกาส (Opportunities : O) 1. ไดมีโอกาสรูจักกับผูบริหารระดับสูงของจังหวัด 2. ความรู และประสบการณที่ไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพครั้งนี้ สามารถ นําไปใชกับงาน และชีวิตประจําวันได 3. ไดมีโอกาสออกแบบงานในรูปแบบใหมๆเสนอหนวยงาน อุปสรรค (Threat : T) 1. สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพเปนหนวยงานของราชการจึงตองใชความละเอียด รอบคอบสูง หาก เกิดขอผิดพลาดจะเกิดความเสียหาย 2. เนื่องจากหนวยงานไมมีเครื่องมือที่ใชในงานกราฟกโดยตรงจึงทําใหงานลาชา
22
การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน 1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ตองไม กระทําการ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดตอ กลับมายังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ผลการฝกประสบการณวิชาชีพ การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( Samut Songkram PAO.) นักศึกษาไดเขาฝกในฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป เปนฝายที่รับผิดชอบงานดาน การถายรูป-วีดิโอ การทําปายโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ เชน วารสาร โบชัวร เปนตน นักศึกษาไดทําการฝก ประสบการณวิชาชีพ โดยมีรายระเอียดและขั้นตอนดังนี้
23
1. รับงานจากผูบริหาร 2. จัดทําเอกสารเพื่อยื่นเรื่องใหหัวหนางานดูความเหมาะสม 3. ออกแบบตามลักษณะงานที่ไดรับมอบหมาย 4. สงตนแบบใหหัวหนางานตรวจ 5. ปรับแกไขงานตามที่หัวหนางานตองการ 6. สงตัวอยางผลงานใหผูบริหารดู 7. สงโรงพิมพเพื่อผลิตผลงาน
24
งานที่ไดรับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ : ถายภาพ โครงการขยายเครือขายเศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ : สํานักงาน คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (กปร.) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.รับหัวขอในการถายภาพจากหัวหนางาน โดยหัวขอที่รับคือ การเขาประชุมของคณะผูที่มาประชุม กิจกรรมตางๆตลอดการประชุม 2. นําภาพที่ไดไปตกแตงในโปรแกรม Adobe Photoshop 3. ไรทภาพที่ไดลงแผนซีดีพรองสงใหหัวหนางาน
ภาพที่ 1.1 ภาพสํานักงาน (กปร.)
25
ภาพที่ 1.2 ภาพผูบรรยายการประชุม
ภาพที่ 1.3 ภาพผูเขารวมประชุม
26
ภาพที่ 1.4 ภาพอาหารมือกลางวัน
ภาพที่ 1.5 ภาพถายรูปหมูของคณะที่เขารวมประชุม
27
สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ 1. ไดรับรูถึงการทํางานนอกสถานที่เปนครั้งแรก 2. ไดรับรูถึงการทํางานเปนหมูคณะ 3. ไดรับรูมุมในการถายรูปการเขาประชุม ปญหาที่เกิดขึ้น 1. เนื่องจากเปนการทํางานครั้งแรก จึงทํางานไดไมคลองแคลวเทาที่ควร 2. มุมมองในการถายภาพยังไมสวย การแกไขปญหา 1. ศึกษาการทํางานของเพื่อนรวมงาน 2. ศึกษาการถายภาพจากชางกลองในพื้นที่ ประสบการณที่ไดรับ ไดรับความรูการหัวขอในการประชุม มุมมองการถายภาพการเขาประชุม และการทํางานในหนวยงาน ราชการ 2. เรื่อง/รายการ : ออกแบบปายโฆษณางาน วัดพระยาญาติ สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ การออกแบบปายงานปดทองวัดพระยาญาติ โดยมี ขอความมาใหและออกแบบตามความเขาใจของตนเอง
28
2. นําหัวขอที่ไดไปทําการสเก็ตแบบ 3. เมื่อไดแบบที่ตองการมาผลิตงานในโปรแกรม Adobe Photoshop
ภาพที่ 2.1 ภาพการผลิตงานในโปรแกรม Adobe Photoshop
ภาพที่ 2.2 ภาพปายโฆษณางาน วัดพระยาญาติ
29
สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดเรียนรูการทํางานตามหัวขอตามที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนางาน ปญหาที่เกิดขึ้น การออกแบบยังไมสามารถทําใหมีดีไซนที่แตกออกไปจากเดิมได ยังคงตองเปนแนวเดิมๆอยางที่เคย เปน การแกไขปญหา ออกแบบใหเปนในแนวทางเดิมมากที่สุด ประสบการณที่ไดรับ
3. เรื่อง/รายการ : Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ การผลิตโบวชัว ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) โดยหัวหนางานตองการความเรียบงาย สีสันไมเยอะเกินไป 2. นําเนื้อหาที่ไดไปทําการผลิตในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. สงใหหัวหนาเลือกแบบและแกไขงาน 4. นํางานไปปริ้นเพื่อผลิตผลงานออกมาใชงานจริง
30
ภาพที่ 3.1 ภาพการผลิตผลงานในโปรแกรม Adobe Illustrator
ภาพที่ 3.2 ภาพผลงานในโปรแกรม Adobe Illustrator รอสงตรวจ
31
32
ภาพที่ 3.3 ภาพ Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดเรียนรูการใชฟอนตในงานราชการ ที่ควรจะใชฟอนต TH SarabunPSK ในการทํางาน ปญหาที่เกิดขึ้น การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดเรียนรูการใชฟอนตในงานราชการ ที่ควรจะใชฟอนต TH SarabunPSK ในการทํางาน
4. เรื่อง/รายการ : ถายภาพโครงการ สถานที่ : จังหวัดเชียงใหม 1.รับหัวขอในการถายภาพจากหัวหนางาน โดยหัวขอที่รับคือ การถายรูปกิจกรรมตลอดโครงการ 2. นําภาพที่ไดไปตกแตงในโปรแกรม Adobe Photoshop 3. ไรทภาพที่ไดลงแผนซีดีพรองสงใหหัวหนางาน
33
34
35
36
สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดรูจักการทํางานกับหมูคณะใหญๆ การวางตัวในการทํางาน ปญหาที่เกิดขึ้น พื้นที่ในกลองถายรูปไมเพียงพอในการทํางาน การแกไขปญหา นํารูปลงเครื่องคอมพิวเตอรและฟอรแมชหนวยความจําในกลองทุกครั้งกอนทํางาน ประสบการณที่ไดรับ การทํางานลวนมีทั้งความสําเร็จและอุปสรรค
37
5. เรื่อง/รายการ : Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํา ยุทธศาสตร โดยมีภาพวาดของนายก อบจ. มาให 2. นําภาพที่ไดไปดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. เตรียมภาพที่จะนําไปประกอบเปนงาน 4. นําภาพที่เตรียมไวไปประกอบและทําเอนิเมชั่นในโปรแกรม Adobe Flash
ภาพที่ 5.1 ภาพการดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator
38
ภาพที่ 5.2 ภาพการเตรียมภาพในโปรแกรม Adobe Illustator
ภาพที่ 5.3 ภาพการประกอบภาพโปรแกรม Adobe Flash
39
ภาพที่ 5.4 ภาพBanner Animation 2D
40
ภาพที่ 5.5 ภาพBanner Animation 2D ในการประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดรูการทํางานเปนอยางเปนระบบเปนขั้นเปนตอน ปญหาที่เกิดขึ้น ระยะเวลาการทํางานที่กระชันชิดเกินไป การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดรูการทํางานแตละขั้นตอนตองผานการตรวจสอบของแตละฝายเพื่องานที่สมบูรณ 6. เรื่อง/รายการ : ถายภาพ รีทัชภาพ พิธีเปด โครงการสอนกีฬาภาคฤดูรอน (เด็กดี มีกีฬา) สถานที่ : หอประชุมองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6.1 ถายภาพ/เตรียมไฟล ที่ตองการนํามาทําเปนภาพพาโนรามา
ภาพที6่ .1 ภาพการเตรียมไฟลรูป
41
6.2 นําภาพที่ไดมารีทัชในโปรแกรม Adobo Photoshop
ภาพที่6.2 ภาพการรีทัชรูปในโปรแกรม Adobe Photoshop
ภาพที่6.2 ภาพพาโนรามาจากโปรแกรม Adobe Photoshop สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ปญหาที่เกิดขึ้น การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดรับทักษะการรีทัชภาพหลายๆใหเปนภาพพาโนรามา
42
7. เรื่อง/รายการ : ออกแบบ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ ออกแบบ Brochure การทองเที่ยวจังหวัด สมุทรสงคราม โดยบอกสถานที่ทองเที่ยวของแตละอําเภอในจังหวัดสมุทรสงคราม 2. หาขอมูลและรูปสถานที่ทองเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงคราม 3. นํารูปที่ไดไปตกแตง 4. นําขอมูลและรูปที่หาไดไปจัดเรียงในโปรแกรม Adobe Illustrator 5. นําไปปริ้นทเพื่อไปผลิตจริง
ภาพที่ 7.1 ภาพการเตรียมไฟลงาน
43
ภาพที่ 7.2 ภาพการทํางานในโปรแกรม Adobe Illustrator
ภาพที่ 7.3 ภาพ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว
44
ภาพที่ 7.4 ภาพ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ 1.ไดทราบถึงสถานที่ทองเที่ยงในจังหวัดสมุทรสงครามมากขึ้น 2. มีอิสระในการออกแบบในสไตลของตนเอง ปญหาที่เกิดขึ้น 1. ขอมูลที่หัวหนางานใหมามีมากเกินไป 2. รูปสถานที่ทองเที่ยวมีนอย การแกไขปญหา 1. ตัดเอาแตใจความสําคัญของเนื้อหา 2. นํารูปที่ตนมีมาใชในงาน ประสบการณที่ไดรับ ในการทํางานครั้งนี้ทําใหนักศึกษามีประสบการณในการจัดการสื่อสิ่งพิมพใหอยูในจุดที่สวยงาม ไม เยอะจนเกินไป มีองคประกอบที่สวยง
45
บทที่4 ผลที่ไดจากการฝกงาน
ประโยชนจากการฝกประสบการณวิชาชีพ ประโยชนที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณืวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) ในครั้งนี้ นักศึกษาไดรับความรูและประสบการณในการฝกงาน ดังนี้ 1. การปรับตัว ในการฝกงานชวยทําใหเราไดรูจักผูอื่นมากขึ้น รูจักการวางตัวเมื่ออยูตอหนาผูใหญ สามารถทําใหเราปรับตัวเขากับสังคมการทํางานในฝายงานนั้นๆไดดี 2. การตรงตอเวลาในการมาทํางานและการทํางาน ในการฝกงาน ณ องคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม ซึ่งเปนหนวยงานราชการมีการตรวจเวลาเขาออกงาน การตรงตอเวลาจึงเปนสิ่งที่สําคัญในการ ทํางานราชการ 3. ความรับผิดชอบเปนสิ่งที่สําคัญในการทํางานราชการเพราะถามีฝายใดฝายหนึ่งลาชาไมรับผิดชอบ งานในสวนที่ตนเองทํา จะทําใหงานๆนั้นลาชาไมทันกําหนด 4. ความขยัน งานที่ไดรับมาในแตละครั้งจะมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอน ทําใหนักศึกษามีความขยันที่ จะทํางานใหเสร็จตามเวลาที่กําหนด 5. ความละเอียดรอบคอบและความเอาใจใส งานทุกชิ้นตองมีคุณภาพ สวยงาม ถูกตองตามที่หัวหนา งานตองการ งานที่ผลิตออกมาสามารถนํามาใชงานไดจริง สามารถบงบอกความเอาใจใสทมุ เทในงานที่ รับผิดชอบได 6. ความอดทน การฝกงานจะชวยใหมีความอดทน เมื่อนักศึกษาไดทํางานจริงๆไมวาจะเปนความอด ทําในการปฏิบัติงานสวนที่ตนเองรับผิดชอบใหลุลวงเรื่องเวลาที่มีกําหนดระยะเวลาของงาน แรงกดดันจากหัว หนางาน และลูกคา
46
งานชิ้นที่ประสบความสําเร็จ เรื่อง/รายการ : Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํา ยุทธศาสตร โดยมีภาพวาดของนายก อบจ. มาให 2. นําภาพที่ไดไปดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. เตรียมภาพที่จะนําไปประกอบเปนงาน 4. นําภาพที่เตรียมไวไปประกอบและทําเอนิเมชั่นในโปรแกรม Adobe Flash
ภาพการดราฟรูปในโปรแกรม Adobe Illustrator
47
ภาพการเตรียมภาพในโปรแกรม Adobe Illustator
ภาพการประกอบภาพโปรแกรม Adobe Flash
48
ภาพBanner Animation 2D
ภาพBanner Animation 2D ในการประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร
49
บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน
ในการฝกประสบการณวิชาชีพมีขอดีหลายอยางที่สามารถทําใหเรามีความรูความสามารถกอนที่จะ ออกไปทํางานจริงกับองคกรหรือบริษัทฯอื่นๆ เปนการเตรียมความพรอมที่จะเริ่มการทํางานจริงหลังจากที่จบ การศึกษาปริญญาตรี แตในการฝกประสบการณวิชาชีพนั้นมีอุปสรรคตางๆ ซึ่งทําใหเราไดเรียนรูและคิดหา วิธีการแกปญหาตางๆและพรอมรับมือกับปญหาที่จะเกิดขึ้นอีก การฝกประสบการณทําใหเรารูวิธีการวาง แผนการทํางานอยางเปนระบบ และความสามัคคีของพนักงานใน แตละฝาย ที่รวมมือกันแกปญหาไดเปน อยางดี ไมมีการเกี่ยงกันวาฝายนี้ทําผิดตองเปนผูรับผิดชอบ แตทุกคนในหนวยงานไมวาจะเปน ฝายไหนก็ตาม ทุกคนจึงมีสวนรวมในการคิดและตัดสินใจที่จะแกปญหารวมกัน สิ่งที่เราไดเรียนรูจากหนวยงานนี้ เราสามารถ นํามาประยุกตใชในการทํางานในอนาคตได ไมวาเปนเปนการเรียนรูการทํางาน การแกปญหา การแสดง ความคิดเห็นรวมกับผูอื่น ความสามัคคี ความรับผิดชอบในหนาที่ของตนเอง ความตรงตอเวลา การวางตัว เมื่ออยูตอหนาผูใหญหรือเพื่อนรวมงาน เปนตน องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( หนาที่พัฒนาจังหวัดในทุกๆดานของจังหวัด
Samut Songkram PAO.) เปนหนวยงานราชการ ที่มี ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การอาชีพ
สาธารณูปโภคตาง ๆ ซึ่งทําใหเราสามารถเรียนรูการทํางานในระบบราชการและเขาใจกับการทํางานของแตละ ฝายในหนวยงานมากขึ้น จึงเปนเรื่องที่ดีที่ทําใหเราไดเรียนรู และฝกประสบการณหลายอยางในหนวยงานเดียว สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) อาคารสํานักงานตั้งอยูที่ ถนนเอกชัย ตําบลแมกลอง อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทรศัพท : 0-3471-5012 / โทรสาร : 0-3471-5012 / Website : www.skmpao.go.th
50
ระยะเวลาการฝก วันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึง วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลา 36 วัน เปนจํานวน 288 ชั่วโมง โดยฝกประสบการณวิชาชีพในวันจันทรถึงวันศุกร ตั้งแตเวลา 08.30 น. – 16.30 น. วันละ 8 ชั่วโมง เปนจํานวน 9 สัปดาห หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 1.ศึกษาระบบการทํางานของฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป 2. ภาพถายพิธีการ กิจกรรมตางๆ ขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 3. Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) 4. Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels 5. Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว
51
บรรณานุกรม ขาวประชาสัมพันธแมกลอง, 2556, Online URL : http://pr.prd.go.th/samutsongkhram/ewt_news.php?nid=2273, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556 เว็บไซตองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม, 2556, Online URL : http://www.skmpao.go.th/index.php, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556 หองสมุดงานวิจัย , 2556 Online URL : http://www.riclib.nrct.go.th/database/database.html#N1, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556
52
ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร
ประวัติผศู ึกษา
ชื่อ-สกุล
นางสาวมนนิสา รุงปจฉิม Ms. MONNISA RUNGPATCHIM
รหัสประจําตัว
5221304792
สาขาวิชา ศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป
หมูเรียน ศศ.บ.522(4)/9 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
มหาวิทยาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม e-mail: monnisa522@gmail.com ………………………………… ( นางสาวมนนิสา รุ่งปั จฉิม) ผู้ศกึ ษา วันที่ ......./เดือน..../พ.ศ.........