ฝึกงาน นางสาววิจิตตรา ภาวนากร

Page 1

การสอบบัญชี

โดย

นางสาว วิจิตตรา

ภาวนากร

รหัสนิสติ 5330160740 R12

รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจบัณทิต ( การบัญชีบริหาร ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต ศรีราชา พ.ศ.2556



บช.1 ชื่อ นางสาว วิจิตตรา E-mail

นามสกุล ภาวนากร ชื่อเลน มอส

mo_fi.lo@hotmail.com โทรศัพท 089-8474595

ชื่อสถานที่ประกอบการ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด ที่อยู ตําแหนงงานที่ฝกงาน พนักงานบัญชี รายละเอียดงานที่ทํา จัดทําการคียการรับ – ขาย , ปดภาษีซื้อ- ขาย โดยใชโปรแกรม Express , ชวยงานสวนของ งานตรวจสอบ จัดทํา Working ประกอบการตรวจสอบบัญชี , ตรวจเอกสาร ตรวจคาเสื่อมราคา และจัดทําหนา รายงานผูสอบบัญชี กรอก แบบเพื่อยื่นภาษี อาทิ ภ.ง.ด.50 , ภ.ง.ด 3 , ภ.ง.ด 53 , ภพ.30 , สบช.3 ขอคิดหรือขอเสนอแนะสําหรับนอง ๆ การไดมาฝกงานจะทําใหเรารูถึงกระบวนการที่ชัดเจน และมีความเขาใจมากขึ้นจากการเรียนที่ผานมา การ ปฏิบัติจริง จะทําใหเรารูถึงการพลิก การหา คําตอบใหกับเหตุการณตาง ๆไดดีขึ้น การทํางานจริงเปนเปนการทํางาน ที่เหนื่อย และตองใชความอดทนรวมถึงการใชความรอบคอบเปนอยางสูงจากการฝกงานไดเรียนรูถึงการทํางานเปน ทีม การมีน้ําใจกับเพื่อนรวมงาน การใชความระมัดระวัง การพูดคุยกับลูกคา การเรียงลําดับความสําคัญของงาน จาก การรวมงานกับพี่ๆ พี่ๆทุกคนนารักมาก คอยใหคําปรึกษา และคอยชวยเหลือ และดูแลตลอดการฝกงาน อีกทั้งเปน กันเองมากคะ คําแนะนําสําหรับนอง ๆ เล็ก ๆนอย ๆ การทํางานนอกจากจะมีความรูและความสามรถแลว การมี น้ําใจกับเพื่อนรวมงาน เปนสิ่งที่สําคัญมากนะคะ 

เหมาะสมใหนองฝกงานตอ

ไมเหมาะสมใหนองฝกงานตอ



วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เรื่อง ขอสงรายงานการฝกงาน เรียน อาจารยที่ปรึกษา สาขาการบัญชีบริหาร ผูชวยศาสตราจารยพัชนิจ เนาวพันธ ตามที่ขาพเจา นางสาววิจิตตรา ภาวนากร นิสิตสาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา ไดเขารับฝกงาน ระหวางวันที่ 18 มีนาคม 2555 ถึง 31 พฤษภาคม 2555 ในตําแหนง พนักงานบัญชี ณ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร และไดรบั หมอบ หมายใหศึกษาและทํารายงานเรื่อง การตรวจบัญชี บัดนี้ การฝกงานดังกลาวไดสิ้นสุดลง ขาพเจาขอสงรายงานดังกลาวมาพรอมกันนี้ จํานวน คําปรึกษาตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ ( นางสาววิจิตตรา ภาวนากร)

1 เลม เพื่อขอรับ


กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับบนี้เปนรายงานประกอบการฝกงาน ณ บริษัท ฐิติพร แอ็คดคาทติ้ง กรุป จํากัด ตั้งแต วันที่ 18 มีนาคม 2556 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 ซึ่งเปนการฝกงานตามหลักสูตรบัยชีบริหาร โดยไดรวบรวมความรู ประสบการณตางๆ ที่ไดจากการศึกษาขอมูล สอบถามและสัมภาษณในระหวางชวงการฝกงาน จนสําเร็จเปนรายงาน ฉบับบนี้ ทั้งนี้ขอขอบพระคุณ ฐิติพร พรไพรินท ผูจัดการ และพี่ดูแลฝกงาน รวมถึงบุคลากรทุกทานของบริษัท ฐิติพร แอ็คเคทติ้ง กรุป จํากัด ที่ใหโอกาสและสอนงาน ใหคําแนะนํา ในเรื่องของการปฏิบัติงาน และเรื่องของการ ติดตอสื่อสารกับลูกคา รวมถึง เรื่องการปรับตัว การวางตัว ในเรื่องของการทํางาน เพื่อนําไปปรับปรุงและพัฒนา เพื่อ การนําไปใชในการปฏิบัติงานและเกิดประโยชนตอไป จากการศึกาและประสบการณืการฝกงาน ทําใหขาพเจาไดเรียนรูในเรื่องของการจัดทําบัญชี การกรอกแบบ ในการยื่นเสียภาษี ไมวาจะในเรื่องของการหัก ณ ที่จาย การยื่นเพื่อเสีย ภาษีมูลคาเพิ่ม ,ไดเรียนรูและไดศึกาเอกสาร ตาง ๆที่ใชในการตรวจสอบบัญชี การจัดตั้งบริษัท อาทิ บอจ.5 การตรวจสอบบัญชี ทั้งในและนอกสถานที่ การ จัดทํา Working paper ประกอบการตรวจสอบบัญชี , ตรวจเอกสาร ตรวจคาเสื่อมราคา และจัดทําหนารายงาน ผูสอบบัญชี และไดปฏิบัติงานในเรื่องของการตรวจสอบบัญชี จึงทําใหขาพเจาสนใจในเรื่องของการตรวจสอบ บัญชี และทําการศึกษา จนมาทํารายงานเรื่อง การเปนผูสอบและการตรวจสอบบัญชี เลมนี้ ซึ่งความรูที่ขาพเจาไดรับ จากการฝกสอนและไดจากการลงมือทํา รวมถึงคําแนะนําตาง ๆ มาประยุกตใชจนสามารถทําใหรายงานฉบับนี้สําเร็จ ลุลวงไดอยางสมบูรณ ขอขอบคุณอาจารยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสต วิทยาเขตศรีราชา ทุกทาน โดยฌฉพาะ อาจารยสาขาการบัญชีบริหาร ที่ไดประสิทธิประสาทวิชาความรู รวมถึงใหคําปรึกษา ชี้แนะ และสั่งสอนทั้งเรื่องการ เรียน การดํารงชีวิตในเรื่องตาง ๆ และสุดทายนี้ตองขอกราบพระคุณ บิดามารดา ที่ใหกําเนิด และคอยเลี้ยงดู ใหคําสั่ง สอน ใหคําปรึกษาชี้แนะ ใหการศึกษาและอนาคตที่ดี เปนกําลังใจที่สําคัยตลอด รวมถึงผูที่อยูเบื้องหลังความสําเร็จ ของงานอีกมากมาย ซึ่งขาพเจาขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ดวย คุณคาและประโยชนอันพึงมีจากรายงานฉบับนี้ ขอมอบแดผู มีพระคุณทุกทาน

วิจิตตรา ภาวนากร 9 พฤษภาคม 2556


คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต ( การบัญชีบริหาร ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา โดยผูจัดทําไดรวบรวมเนื้อหา สาระเกี่ยวกับเรื่อง การเปนผูตรวจสอบบบัญชีและขั้นตอนของการตรวจสอบบัญชี สาระสําคัญของรายงานฉบับนี้ จะมีเนื้อหาที่เปน ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและขั้นตอนการปฏิบัติจริง ในการตรวจสอบบัญชี การจัดทํางบการเงิน จนถึงการ จัดสงขั้นตอนการจัดสงใหลูกคา ซึ่งนิสิต นักศึกษาและผูที่สนใจจะตองนําความรูที่ไดรับไปปรับปรุงหรือประยุกตใช กับการศึกษาและการทํางานไดอยางถูกตอง และมีความเปนระบบมากขึ้น ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนแก นิสิต นักศึกษา และผูที่สนใจในเรื่องนี้ไม มากก็นอย หากรายงานฉบับนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําก็ขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย

ผูจัดทํา นางสาว วิจิตตรา ภาวนากร


สารบัญ เรื่อง

หนา

บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของการฝกงาน วัตถุประสงคหลักของการฝกงาน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการฝกงาน

บทที่ 2 การฝกงาน ณ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด ประวัติ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด สถานที่ตั้ง ผังการจัดองคกรและการบริหารจัดการ ผลิตภัณฑของบริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด กลุมลูกคา ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด งานที่ไดรับมอบหมาย ประโยชนที่ไดรับจากการฝกงาน ขอเสนอแนะ ประเด็นที่สําคัญจากการฝกงานนนําสูรายงานการศึกษา


สารบัญ( ตอ ) บทที่ 3 หลักการตรวจสอบบัญชีเบื้องตน บทที่ 4 วิธีปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชี ณ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด วัตถุประสงคของการศึกษา วิธีปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชี

บทที่ 5 สรุป ขอเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข บันทึกสมุดฝกงานทั้งหมด

สารบัญภาพ สถานที่ฝกงาน -

หนังสือรับรองบริษัท ฯ / หาง ( ฉบับปจจุบัน ) + บอจ.5 ( ฉบับปจจุบัน )

- งบการเงินปกอน - งบทดลอง , งบกําไรขาดทุน , งบดุล - BANK STATEMENT , BOOK BANK , เอกสารการกูยืมเงิน - รายละเอียดลูกหนี้ , เจาหนี้


สารบัญภาพ ( ตอ ) - รายละเอียดสินคาคงเหลือ - ทะเบียนทรัพยสิน และทะเบียนการจําหนายทรัพยสิน - ภ.ง.ด.1 , ภ.ง.ด.1 ก , ภ.ง.ด.3, ภ.ง.ด.53 , ภ.พ.30 , ภ.พ.36 ฯลฯ - ภ.ง.ด. 50 , ภ.ง.ด.51 - รายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย - รายงานสินคาและวัตถุดบิ

งบการเงินที่เสร็จสมบูรณ เพื่อผานการเซ็นต จากออดิท (งบออดิท)


บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของการฝกงาน การฝกงานเปนการนําเอาทฤษฎีที่เรียนมา นํามาประยุกตใชในการทํางานจริง เพื่อความเขาใจ และ ทราบขั้นตอน สามารถมองภาพการทํางานไดดียิ่งขึ้น อีกทั้งเปนการสรางเสริม ประสบการณ และทักษะของการ ทํางาน การเรียนรูที่จะทํางานรวมกับบุคคลในองคกร ซึ่งปจจุบันการสมัครงาน นอกเหนือจากผลการเรียน ที่ดีแลว ประสบการณก็เปนสิ่งที่สําคัย ในการตัดสินใจในการคัดเลือกบุคลากร เขาสูองคกร ตาง ๆ ดังนั้นผูที่มีประสบการณื จึงไดเปรียบบุคคลที่ไมมีประสบการณการฝกงาน ดังนั้นการฝกงานจึงมีความสําคัญเปนอยางมากที่จะเพิ่มทักษะ ใน การปฏิบัติงานจริง และเพื่อการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสูวิชาชีพบัญชี ซึ่งในปจจุบันในหลาย ๆ องคกรก็ไดเปดโอกาส ใหนิสิต นักศึกษา ไดเขารับการฝกงานเพื่อการเรียนรูการ ทํางานจริง ฝกความรับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับหมอบหมาย สั่งสมความรู ทักษะ ประสบการณืและเทคนิคตาง ๆ ซึ่งไมสามารถหาไดในชั้นเรียน อีกทั้งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับตนเองในสังคมที่มีการแขงขันที่สูง เชนปจจุบันนี้ดวย

วัตถุประสงคหลักของการฝกงาน 1. เพื่อใหนิสิตสามารถนํา วิชาความรู ที่เรียนมานํามาประยุกตใช และสามารถเขาใจในเนื้อหา วิชา เพิ่มขึ้น จาก การปฏิบัตงานจริง 2. เพื่อใหนิสิตสามารถแกไขปญหา และสถานการณตาง ๆที่สามารถพบเจอในสวนของงาน หรือบุคคลใน องคกร 3. เพื่อใหนิสิตไดเรียนรูขั้นตอน และการทํางานจริง ที่สามารถทําใหมองภาพรวมของการปฏิบัติงานจริงได 4. เรียนรูที่จะทํางานรวมกับบุคคลในองคกร การวางตัว การทํางานเปนทีม การเคารพในกฎระเบียบของคนใน องคกร รวมถึงการมีน้ําใจกับเพื่อนรวมงาน 5. เพื่อใหนิสิตมีความพรอมที่จะออกสูการปฎิบัติงานจริง 6. เพื่อการเรียนรูการสื่อสาร การประสานงาน กับเพื่อนรวมงาน หัวหนา ผูบริหาร และลูกคา 7. เพื่อใหนิสิตไดพัฒนาบุคลิกภาพสรางความมั่นใจ กลาแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นและการปรับตัว เพื่อการทํางานในอนาคต


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการฝกงาน 1. ไดมีความรู ความเขาใจ และมีประสบการณในวิชาชีพ 2. สามารถนําความรูและประสบการณไปประยุกตใชในอนาคต 3. ไดเตรียมความพรอมกอนไปสูการประกอบวิชาชีพจริงในอนาคต 4. ไดฝกการแกไขปญหาเฉพาะหนา และแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับงานได 5. ไดเพิ่มทักษะในการทํางานรวมกับเพื่อนรวมงาน การวางตัว การทํางานเปนทีม และ การมีน้ําใจใน เพื่อนรวมงาน 6. ไดฝกความรับผิดชอบในหนาที่ หรืองานที่ไดรับหมอบหมาย 7. นิสิต ไดพัฒนาบุคลิกภาพ สรางความมั่นใจ กลาแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น 8. นิสิตไดลงมือปฏิบัติ และไดช็โปรแกรมสําเร็จรูป ทางดานบัญชีตาง ๆ ในสถานการณจริง 9. นิสิตไดมีความกระตื้อรื้อรนและพัฒนาตนเองทั้งในดานการทํางาน และการหาความรูเพิ่มเติม 10. นิสิตไดเรียนรูที่จะรักษาระเบียบวินัย ขององคกร เชน การตรงตอเวลา


บทที่ 2 การฝกงาน ณ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด ประวัติ บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด บริษทั ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด เปนบริษัทที่ใหบริการทางดานการสอบและทํา บัญชี จัดตั้งวันที่ 16 กุมภาพันธ 2540 มีทีมงานทางดานการทําและการสอบบัญชีรับอนุญาตที่มี ประสบการณ มากกวา 10 ป มีวัตถุประสงคเพื่อใหบริการลูกคาใหมีระบบบัญชีที่ดี ถูกตอง และเปน สากลมากที่สุด

วิสัยทัศน ( Vision ) ดําเนินธุรกิจภายใตความตั้งใจที่จะใหบริการดานวิชาชีพบัญชี อยางสรางสรรค และเปน ประโยชน

พันธกิจ( Mission ) - ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองถูกตองตามกฎหมายทั่วไป -

ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 อยางเครงครัด วางแผนภาษีอากรใหลูกคาโดยถูกตองตามประมวลรัษฎากร บริการเต็มที่ เต็มความสามารถ เต็มใจ ซื่อสัตย สุจริต ถูกตองและรวดเร็ว ใหคําปรึกษาแนะนํา และชี้แจงทุกประเด็นปญหา มุงเนนใหลูกคามีระบบบัญชีที่ดี ถูกตอง และ เปนสากลมากที่สุด


สถานที่ตั้ง บริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด จดทะเบียนเปนนิติบุคคลประเภท “ บริษัทจํากัด ” 350 ซอยลาดพราว 53 ( โชคชัย 4 ) แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทร. ( 02 ) 933 4212-3 E-mail : TAG350 @hotmail .com


ผังการจัดองคกรและการบริหารจัดการ คุณฐิตพิ ร พรไพรินทร กรรมการ ที่ปรึกษาดานกฎหมาย

ผูตรวจสอบประจําบริษทั

คุณพัชฌา เมืองจึนทึก

1.คุณธงชัย ปยดํารงกุล 2.คุณวรรณพร โชติวรรณ

ปรึกษาดานภาษีและบัญชี คุณชูเกียรติ โกสุมา คุณตุกตา โพธิแสน ผูจัดการฝายบัญชี

กลุมลูกคาองคกร (Corporate) คุณพรณภัทร คุณวรรณิษา

คุณเพลินทิพย

กลุมลูกคาบุคคล(Individual) คุณดวงเดือน

คุณวรรณภา

แมบาน : คุณรัชฏา Massenger : คุณสุพจน


ผลิตภัณฑของบริษัท ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด 1. ใหบริการดาน บัญชี Accounting Service 2. บริการจดทะเบียน Registration Service 3. บริการทางดานตรวจสอบบัญชี Auditing Service 4. บริการทางดานวางแผนภาษี Tax Planning Service 5. บริการทางดานการวางระบบยัญชี Accounting Planning Service แก บริษัทจํากัด หางหุนสวน ภายในกรุงเทพ ฯ ปริมณฑล และภาคตะวันออก ใหบริการ ดานบัญชี

งานทีไ่ ดรบั มอบหมาย ลําคับ การฝกปฏิบตั ิ คําอธิบายการฝกงาน สิ่งที่ไดเรียนรูเพิ่มเติมจาก ที่ การศึกษาในชั้นเรียน 1. งานคียเอกสาร เกี่ยวกับการซื้อ – ขาย , ปดภาษีซื้อ – ขาย , การชําระ เขาใจระบบการทํางาน และ หนี้ , การเลื่อนไหวของรายการธนาคารโดย โปรแกรมสําเร็จรูป Express กรอก ภ.ง.ด 3 ภ.ง.ด 53 ภ.ง.ด 50 ภ.พ.30 ทั้งแบบยื่นทางินเตอรเน็ต และกระดาษ

สามารถชโปรแกรม Express ไดดีขึ้น เขาใจในเรื่องภาษีมากขึ้น และ สามารถกรอกภ.ง.ด 50 ได ถูกตองมากขึ้น

2.

กรอก แบบยื่น ภาษีตาง ๆ

3.

งานธุรการทั่วไป ถายเอกสาร , สงแฟกซ , สงอีเมลล , สแกน พิมพงาน ฯลฯ งานตรวจสอบ ชวยในเรื่งการตรวจคาเสื่อมราคา , ตรวจเช็คเอกสาร มีความรูและเขาใจในการ ที่มีสาระสําคัญ ,ตรวจรายการในเรื่องของ statement , ตรวจสอบมากขึ้น ยอดยกมาของปที่ผานมา เพื่อความถูกตอง จัดเรียงเอกสาร จัดเรียงเอกสาร สําหรับการทําและตรวจสอบบัญชี

4. 5. 6. 7. 8.

เปดแฟมถาวร

จัดเก็บขอมูลลูกคา working paper

ออกหนารายงาน จัดพิมพหนารายงานผูสอบ ผูสอบบัญชี เขาเลมงบการเงิน เขาปกงบการเงิน เพื่อสงใหลูกคา สรรพกร และกรม พัฒนาธุรกิจ

เขาใจในเรื่องของหนารายงาน มากขึ้น


ประโยชนที่ไดรับจากการฝกงาน 1. ไดมีความรู ความเขาใจ และมีประสบการณในวิชาชีพ 2. สามารถนําความรูและประสบการณไปประยุกตใชในอนาคต 3. ไดเตรียมความพรอมกอนไปสูการประกอบวิชาชีพจริงในอนาคต 4. ไดฝกการแกไขปญหาเฉพาะหนา และแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับงานได 5. ไดเพิ่มทักษะในการทํางานรวมกับเพื่อนรวมงาน การวางตัว การทํางานเปนทีม และ การมีน้ําใจใน เพื่อนรวมงาน 6. ไดฝกความรับผิดชอบในหนาที่ หรืองานที่ไดรับหมอบหมาย 7. นิสิต ไดพัฒนาบุคลิกภาพ สรางความมั่นใจ กลาแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น

ขอเสนอแนะ - ควรมีทักษะและมีความรูพื้นฐานในการใชโปรแกรม Excel เพราะใชในการทํางานเยอะมาก - การทํางานนอกจากจะมีความรูและความสามารถแลว การมีน้ําใจกับเพื่อนรวมงาน เปนสิ่งที่สําคัญเปนอยาง มาก - ควรฝกฝน และมีความเขาใจ เกี่ยวกับโปรแกรมสําเร็จรูป Express Accounting เพราะหลายสํานักงานใชใน การทํางานจริง - ควรรักษา มารยาท กฎเกณฑ ขององคกร และรักษาเวลาในการทํางาน - ควรมีที่พักใกลสถานที่ทํางาน ( ฝกงาน )

ประเด็นที่สําคัญจากการฝกงานนนําสูรายงานการศึกษา การตรวจสอบบัญชี หากตองการทําใหเปนระเบียบ และถูกตองจําเปนตองรูหลักการ วิธีการ และมีความ เขาใจ ในทฤษฏี และขั้นตอนการปฎิบัติงานที่ถูกตอง นอกเหนือจากความรูที่เปนทฤษฏีในการตรวจสอบ ในการ ปฎิบัติงานจริง เราตองมีขั้นตอนการทํางานที่เปนเทคนิค และสาระสําคัญตาง ๆ เพื่อการทํางานที่รวดเร็วและถูกตอง มากขึ้น รูจักที่จะแกปญหาตาง ๆ ตามสถานการณที่อาจพบเจอจากลูกคาแตละราย การตรวจสอบบัญชี ตองใชความ ระมัดระวังเปนอยางมาก เพราะหากเกิดขอผิดพลาดจะสงผลกระทบตอหลายฝาย ที่เปนสาระสําคัญ จากการทํากระดาษทําการวิเคราะห รายการตาง ๆที่ตองตรวจสอบ และการทดลองงานตรวจสอบทําให ขาพเจา มีความสนใจในเรื่องงงานตรวจสอบ จึงนํามาศึกษา และสนใจที่จะทํารายงาน เรื่องการตรวจสอบบัญชี


บทที่ 3 หลักการสอบบัญชี การสอบบัญชี วัตถุประสงคของการสอบบัญชี ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับที่ 200 เรื่องวัตถุประสงคและหลักการพื้นฐานของการสอบบบัญชีไดกําหนด วัตถุประสงคของการสอบบัญชีดังนี้ “การตรวจสอบงบการเงินมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูสอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นตองบการเงินวางบการเงินนั้นได จัดทําในสวนสาระสําคัญ เปนไปตามแมบทการบัญชีในการรายงานทางการเงินหรือไม ” ดังนั้น วัตถุประสงคของการตรวจสอบงบการเงิน คือ การแสดงความเห็นวางบการเงินนั้นไดแสดงฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด ของกิจการโดยถูกตองตามควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม

การสอบบัญชี หมายถึงกระบวนการรวบรวม และการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสารสนเทศเพื่อระบุและ รายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคลอง ตองกันของสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑที่กําหนดไวและสื่อสารผลลัพธให ผูใชที่สนใจ


กระบวนการสอบบัญชี การสอบบัญชีเปนกระบวนการของการรวบรวมและประเมินหลักฐานการสอบบัญชี เพื่อใหผูสอบบัญชี สามารถสรุปผลการตรวจสอบและจัดทํารายงานการสอบบัญชีได

กระบวนการสอบบัญชีแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน 1. กระบวนการวางแผน 1.1 การพิจารณารับงานสอบบัญชี 1.2 การรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ 1.3 การวิเคราะหเปรียบเทียบในเบื้องตน 1.4 การกําหนดระดังความมีสาระสําคัญ 1.5 การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับไดและความเสี่ยงสืบเนื่อง 1.6 การทําความเขาใจระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม 1.7 การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและการจัดทําแนวการสอบบัญชี

2. การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบดวย การทดสอบการควบคุมและการตรวจสอบเนื้อหาสาระ 2.1 วงจรรายได 2.2 วงจรรายจาย 2.3 วงจรการผลิต 2.4 วงจรการลงทุน 2.5 วงจรการจัดหาเงิน 2.6 การตรวจสอบที่สําคัญเพิ่มเติม


3. การเสร็จสิน้ การสอบบัญชีและการออกรายงานการสอบบัญชี 3.1 การประเมินผลจากหลักฐานการสอบบัญชี 3.2 การเสนอรายการปรับปรุงและรายการจัดประเภทบัญชี 3.3 การออกรายงานการสอบบัญชี

ประเภทของการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบงบการเงิน หมายถึง การตรวจสอบขอมูลทางบัญชีและรายงานทางการเงิน เชน งบดุล งบ กําไรขาดทุน งบกระแสเงินสดและหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อประเมินวาขอมูลดังกลาวมีความสมบูรณ เชื่อถือได และเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดไวหรือไม โดยผูสอบบัญชีทําหนาที่ตรวจสอบงบการเงินเพื่อแสดงความเห็นตอความถูกตองของงบการเงินนั้น โดยปฎิบัติ ตามหลักการพื้นฐาน ดังตอไปนี้ - มรรยาทผูสอบบัญชี - มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป - การใชวิจารณญานในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ

2. การตรวจสอบการดําเนินการ หมายถึง การสอบทานขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานและภาระหนาที่ตางๆใน องคกร เพื่อใหมั่นใจวา ลําดับขั้นตอน ในการปฎิบัติงานและภาระหนาที่ในแตละหนวยงานไดดําเนินไปอยางมี ประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนที่กําหนดไวอยางเหมาะสม ซึ่งจะสงผลให มีการใชทรัพยากรอยางประหยัด และผลของ งานนัน้ ไดบรรลุเปาหมายทีก่ าํ หนดไว

3. การตรวจสอบการปฎิบตั งิ านตามกฏระเบียบ หมายถึง การตรวจสอบเพื่อใหมั่นใจวาการ ปฎิบัติงานขององคกรเปนไปตามกฏหมาย ระเบียบ ขอบังคับของหนวยงานกํากับดูแล และกฏระเบียบนโยบายของ องคกร


มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป หมายถึง แนวทางการปฎิบัติงานของผูสอบบัญชี ผูสอบบัญชีตอง ปฎิบัติงานตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐาน การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชีประกอบดวยหลักการพื้นฐานและวิธีการตรวจสอบที่สําคัญ รวมทั้งแนวทางปฎิบัติตางๆที่ เกี่ยวของ โดยในปจจุบัน สภาวิชาชีพไดจัดทํารางมาตรฐานการสอบบัญชีเพื่อใชแทนมาตรฐานการสอบบัญชีที่ใชอยู ในปจจุบัน

หลักฐานการบัญชี ไดแก สมุดบัญชีและเอกสารประกอบรายการการบัญชี ซึ่งผูสอบบัญชีไดมาจาก 1) ภายในกิจการ เชนสมุดบัญชีและเอกสารประกอบรายการบัญชีตางๆ 2) ภายนอกกิจการ เชน หนังสือตอบคําขอยืนยันยอดลูกหนี้และเจาหนี้ ขอมูลที่ไดรับจากธนาคารและ ทนายความเพื่อประโยชน ในการสอบบัญชี 3) การปฏิบัติงานโดยอิสระ เชน การตรวจนับทรัพยสิน การคํานวณตัวเลข 4) หลักฐานประกอบตางๆ เชน หลักฐานการสอบถามผายบริหารและและพนักงานที่เกี่ยวของกับกิจการ รายงานการประชุม สัญญา คํารับรอง การรวบรวมหลักฐานจึงเปนหนาที่ของผูสอบบัญชีโดยตรงที่จะตองหาหลักฐานเพื่อใชประโยชนในการ อางอิง รวมถึงเพื่อใชประโยชน ในการจัดทํารายงานการสอบบัญชีและความเห็นตองบการเงิน


ประเภทของหลักฐาน 1) หลักฐานตามแหลงที่มา ไดแก - หลักฐานตนฉบับ (Primary Evidence) เปนหลักฐานที่ตนฉบับที่ใชพิสูจนความถูกตองไดดีที่สุด เชน สัญญาตนฉบับที่มีการลงนามกันอยางสมบูรณตอหนาพยาน - หลักฐานที่เปนสําเนา (Secondary Evidence ) คุณภาพขอหลักฐานที่เปนสําเนายอมดอยกวาหลักฐาน ตนฉบับ เชน สําเนาหรือคูฉบับใบเสร็จรับเงิน - หลักฐานโดยตรง (Direct Evidence) เปนหลักฐานโดยตรงจากการพิสูจนขอเท็จจริง ไมตองพิสูจน ความจริงหรือหาเหตุผลอื่นๆมาประกอบอีก เชน การตรวจนับเงินสด

1) หลักฐานตามแหลงที่มา ไดแก - หลักฐานตนฉบับ (Primary Evidence) เปนหลักฐานที่ตนฉบับที่ใชพิสูจนความถูกตองไดดีที่สุด เชน สัญญาตนฉบับที่มีการลงนามกันอยางสมบูรณตอหนาพยาน - หลักฐานที่เปนสําเนา (Secondary Evidence ) คุณภาพขอหลักฐานที่เปนสําเนายอมดอยกวาหลักฐาน ตนฉบับ เชน สําเนาหรือคูฉบับใบเสร็จรับเงิน - หลักฐานโดยตรง (Direct Evidence) เปนหลักฐานโดยตรงจากการพิสูจนขอเท็จจริง ไมตองพิสูจน ความจริงหรือหาเหตุผลอื่นๆมาประกอบอีก เชน การตรวจนับเงินสด

2) หลักฐานการตรวจสอบ - ขอมูลทางการบัญชี (Underlying Accounting Data) เปนขอมูลที่บันทึกไวในสมุดบัญชี เชน สมุดรายวัน ขั้นตน กระดาษทําการ - ขอมูลประกอบหรือรายละเอียดแนบ(Corroborating Information) เปนขอมูลที่ไดจากเอกสาร หลักฐาน และการซักถาม เชน ใบเสร็จรับเงิน


3) หลักฐานตามรูปลักษณะ ไดแก - หลักฐานจากกิจการที่มีการควบคุมภายในที่ดี เชนใบเสร็จรับเงินจากธนาคารยอมดีกวาสําเนาใบเสร็จ ของรานอาหารที่ใชตรายางชื่อราน - การตรวจนับของจริง เชน การตรวจนับเงินสด การตรวจนับสินคา - เอกสารหลักฐาน เชน กรมธรรมประกันภัย ใบสั่งซื้อ - สมุดรายการขั้นตนและบัญชีแยกประเภท เชน ชื่อลูกคาจากสมุดแยกประเภทลูกหนี้ - การวิเคราะหเปรียบเทียบ เชน ขอแตกตางของรายไดและคาใชจายในงวดที่ผานมา - การคํานวณของผูสอบบัญชี เชน การคํานวณคาเสื่อมราคา หรือ การคํานวณวัสดุใชไป - การสอบถามดวยวาจา เชน ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน อาจสอบถามจากผูรับรองเพื่อหาคนรับผิดชอบ - การอนุมาน เปนการเดาที่มีเหตุผล แตจะตองพิสูจนในภายหลัง เชน ไดรับสมุดคูฝากมาตรวจสอบและมี ลายเซ็นเจาหนาที่ธนาคาร ยอมถือวายอดคงที่คงเหลือเปน ยอดที่แสดงสุดทายแตตองไดรับคํายืนยันจากธนาคารอีก ครั้งจึงจะนาเชื่อถือได ประเภทของหลักฐานตางๆใชเปนหลักฐานในการสอบบัญชีประกอบรายการตรวจสอบ เพื่อสามารถแสดง ความเห็นตองบการเงินตอไป

ขอพิจารณาถึงความนาเชื่อถือของเอกสาร ความนาเชื่อถือของเอกสารซึ่งประกอบดวย 1. หลักฐานประเภทสมุดบัญชี ไมวาจะเปนสมุดรายวันขั้นตน สมุดรายวันแยกประเภท ยอมมีความ นาเชื่อถือในตัวของมันเอง เอกสารดังกลาวเหลานี้จะตองเก็บรักษาไวเปนระยะเวลา 10 ปจึงจะทําลายได หลักฐาน ชนิดนี้เมื่อมีการยกคดีความขึ้นมาพิจารณาในศาลจะตองเก็บรักษาไวตลอดจนกวาคดีจะสิ้นสุดลง 2. หลักฐานประเภทขอมูลหรือรายละเอียดที่ใชในการบันทึกบัญชี เชน ใบสําคัญทางการเงิน เอกสาร ประกอบการบันทึกบัญชี


3. ความเกี่ยวพันกับรายการที่ตรวจสอบ เพื่อใหความนาเชื่อถือของเอกสารบางประเภทที่ไดมาจากการ ตรวจสอบมีความเชื่อโยงไปถึงอีกเรื่องหนึ่ง สวนใหญผูสอบบัญชีจะถายเอกสารประกอบไวทั้งสองประเภท 4. ที่มาของหลักฐาน ถือวามีสวนสําคัญในดานความนาเชื่อถือ เพราะเอกสารหลักฐานดังกลาวจะใช ประโยชนในการประกอบรายการบันทึกบัญชีดวย เอกสารทางราชการ ใบเสร็จรับเงินที่บุคคลภายนอกหรือสวน ราชการออกให ถือวาเปนที่มาของหลักฐานที่นาจะใหความนาเชื่อถือมากที่สุดกอน 5. เวลาที่ไดรับหลักฐาน ระยะเวลาของเอกสารที่อยูในแฟมถาวรหรืออยูในเรื่องราวที่กิจการใชประกอบการ ลงบัญชี หากเก็บไวนานแลวยอมมีความนาเชื่อถือมากกวาที่เพิ่งไดรับมาจากการตรวจสอบของผูสอบบัญชี 6. สามารถพิสูจนได การพิสูจนหลักฐานและเอกสารวาเปนของจริง ของปลอมนั้นผูสอบบัญชีจะตองใช วิจารณญาณในเรื่องนี้ เพราะการหาขอเท็จจริงนั้นเปนหนาที่ของทางราชการที่จะพิสูจน ซึ่งผูสอบบัญชีควรมีความรู ความเขาใจในเรื่องแนวทางการพิสูจนเอกสารไวบางเพื่อชวยใหความเห็นในอันดับแรกของความนาเชื่อถือของ เอกสารกอนที่จะสงใหทางการพิจารณาตอไป

วิธีรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ การรวบรวมเอกสารหลักฐานของผูสอบบัญชี สามารถกระทําไดหลายอยางดวยกันคือ 1) การสังเกต (Observation) 2) การตรวจดู (Inspection) 3) การสอบถาม (Inquiry) 4) การตรวจนับ (counting) 5) การขอคํายืนยัน (Confirmation) 6) การคํานวณใหม (Re-computation) 7) การตรวจเอกสารใบสําคัญ (Vouching of Examination of Original Document) 8) การตรวจหารายการผิดปกติ (Scanning) 9) การตรวจสอบการผานรายการ (Retracing Book-keeping Procedure)


10) การตรวจสอบบัญชียอยๆ (Examination of Subsidiary Record) 11) การตรวจสอบความสําพันธของขอมูล (Correlation with Related Information) 12) การวิเคราะหเปรียบเทียบ (Analytical Review) 13) การสืบสวน (Investigation) ผูสอบบัญชีจะตองใชวิจารญาณของตนเองวาจะมีวิธีการหาหลักฐานดังกลาวอยางไร เพื่อที่จะสามารถ ใชประกอบกับรายงานการตรวจสอบไดดีที่สุด

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต ประเภทของความเห็น เงือ่ นไข ของผูสอบบัญชี 1. การแสดงความเห็นแบบ 1. ผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงาน ไมมีเงื่อนไข (Unqualified ตรวจสอบการเงินตามมาตรฐานการ Opinion) สอบบัญชีที่รับรองทั่วไปได และ 2. ผูสอบบัญชีมีความเชื่อมั่นวางบ การเงินที่ตรวจสอบแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงใน สวนของผูถือหุน และกระแสเงินสด ไว อยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. การแสดงความเห็นแบบ 1. เมื่อเกิดเหตุการณที่สําคัญแต ไม ไมมีเงื่อนไขโดยการเปลี่ยน กระทบตอความเห็นของผูสอบบัญชี ขอความในรายงานแบบ 2. ตัวอยาง หนา 15-4,5 มาตรฐาน

แบบรายงาน รายงานแบบมาตรฐาน

รายงานแบบมาตรฐาน โดยเพิ่มวรรคเนน ตอจากวรรคความเห็น และไมตองกลาวถึง เหตุการณที่ตองการเนนในวรรคความเห็น (ตัวอยาง หนา 15-10)


ประเภทของความเห็น ของผูสอบบัญชี

เงือ่ นไข

1. ผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐานการ สอบบัญชีที่รับรองทั่วไปไดเปนสวน ใหญแตอาจมีบางเรื่องที่เปนปญหา อุปสรรค ซึ่งมีสาระสําคัญในการ ปฏิบัติงานตรวจสอบ และ 2. ผูสอบบัญชีมีความเชื่อมั่นวางบ การเงินที่ตรวจสอบแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงใน สวนของผูถือหุน และกระแสเงินสด ไว อยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปเมือ่ ได ยกเวนเรื่องที่เปนปญหาอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานตรวจสอบหรือยกเวนเงือ่ นไข ที่ไดกลาวอธิบายไวในวรรคอธิบาย 4. การแสดงความเห็นแบบ 1. ผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงาน มีเงื่อนไข -กรณีงบการเงิน ตรวจสอบการเงินตามมาตรฐานการ ไมไดปฏิบัติตามหลักการ สอบบัญชีที่รับรองทั่วไปได และ 2. ผูสอบบัญชีมีความเชื่อมั่นวางบ บัญชีที่รับรองทั่วไป การเงินที่ตรวจสอบแสดงฐานะการเงิน (Qualified Opinion) ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงใน สวนของผูถือหุน และกระแสเงินสด ไว อยางถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปเมือ่ ได ยกเวนเงื่อนไขที่ไดกลาวอธิบายไวใน วรรคอธิบาย 5. การแสดงความเห็นวางบ 1. ผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐานการ การเงินไมถูกตอง สอบบัญชีที่รับรองทั่วไปได และ (Adverse Opinion) 3. การแสดงความเห็นแบบ มีเงื่อนไข -กรณีถูกจํากัด ขอบเขตการตรวจสอบ (Qualified Opinion)

แบบรายงาน

รายงานประกอบดวยอยางนอย 4 วรรค คือ วรรคนํา วรรคขอบเขต วรรคอธิบาย และ วรรคความเห็น (ตัวอยาง หนา 15-11)

รายงานประกอบดวยอยางนอย 4 วรรค คือ วรรคนํา วรรคขอบเขต วรรคอธิบาย และ วรรคความเห็น (ตัวอยาง หนา 15-12)

รายงานประกอบดวยอยางนอย 4 วรรค คือ วรรคนํา วรรคขอบเขต วรรคอธิบาย และ วรรคความเห็น (ตัวอยาง หนา 15-12)


ประเภทของความเห็น ของผูสอบบัญชี

6. การไมแสดงความเห็น (Disclaimer of Opinion)

เงือ่ นไข 2. ผูสอบบัญชีมีความเชื่อมั่นวางบ การเงินที่ตรวจสอบไมไดแสดงฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงาน การ เปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน และ กระแสเงินสด ไวอยางถูกตองตามที่ควร ในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไป 1. ผูสอบบัญชีไมสามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐานการ สอบบัญชีที่รับรองทั่วไปได (ในสวนทีม่ ี สาระสําคัญมาก) หรือ 2. กิจการมีปญหาการดําเนินงานตอเนื่อง อยางมีสาระสําคัญมาก หรือ 3. มีความไมแนนอนอันมีผลกระทบตอ งบการเงินอยางมีสาระสําคัญมาก

แบบรายงาน


รายงานของผูสอบบัญชี ป 2555 ตัวอยางรายงานผูสอบ 6 วรรค รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนและคณะกรรมการ บริษัท ………….. จํากัด

รายงานตองบการเงิน ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินของบริษัท ………….. จํากัด ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงสรุป นโยบายการบัญชีที่สําคัญและคําอธิบายอื่น ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงิน ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงินที่ ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาดได ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจา เปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกําหนดดาน จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินปราศจาก การแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงินและ การเปดเผยขอมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมิน ความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงิน ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือ ขอผิดพลาดในการประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทําและ การนําเสนองบการเงินโดยถูกตองตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ


แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่ จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนอโดยรวมของงบการเงิน ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดง ความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวางบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงินของ บริษัท ………….. จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดําเนินงาน สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องอื่นๆ งบการเงินดังกลาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น ซึ่งไดแสดง ความเห็นอยางไมมีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 9 มีนาคม 2555

(

)

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน

กรุงเทพมหานคร วันที่……………..


บทที่ 4 ขั้นตอนการตรวจสอบบัญชีในดานการปฏิบัติจริง วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อเรียนรูที่จะเปนผูตรวจสอบที่ดี 2. เพื่อเรียนรูขั้นตอนการปฏิบัติงานในดานการตรวจสอบ 3. เพื่อความเขาใจในดานการเรียน วิชาการสอบบัญชี มากขึ้น และเรียนรูในเรื่องที่ควรตรวจสอบที่ เปนสาระสําคัญ

วิธีปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชี 1.หนังสือแจงลูกคา ระบุวัน เวลา เขาตรวจสอบ และแจงเอกสารที่จะใชในการตรวจสอบ เอกสารที่ตองใชประกอบการตรวจสอบบัญชี - หนังสือรับรองบริษัท ฯ / หาง ( ฉบับปจจุบัน ) + บอจ.5 ( ฉบับปจจุบัน ) + ภ.พ.09 (ถามี) - งบการเงินปกอน ( กรณีบริษัท , หาง ฯ ตรวจสอบเปนปแรก ) และ Soft File 1 ชุด - งบทดลอง , งบกําไรขาดทุน , งบดุล และ Soft File 1 ชุด - BANK STATEMENT , BOOK BANK , เอกสารการกูยืมเงิน - รายละเอียดลูกหนี้ , เจาหนี้ และ Soft File 1 ชุด - รายละเอียดสินคาคงเหลือ และ Soft File 1 ชุด - ทะเบียนทรัพยสิน และทะเบียนการจําหนายทรัพยสิน และ Soft File 1 ชุด - ภ.ง.ด.1 , ภ.ง.ด.1 ก , ภ.ง.ด.3, ภ.ง.ด.53 , ภ.พ.30 , ภ.พ.36 ฯลฯ - ภ.ง.ด. 50 , ภ.ง.ด.51 - รายละเอียดการรับรูร ายได ( กรณี กิจการอสังหาริมทรัพย , ขายสินคาผอนชําระ , งานกอสรางระยะยาว) - รายละเดอียดรายการปรับปรุงบัญชีที่สําคัญ - รายละเอียดประกอบยอดสินทรัพยและหนี้สินในงบการเงิน - บัญชีแยกประเภท - สมุดรายวันตาง ๆ


- รายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย - รายงานสินคาและวัตถุดบิ - ใบกํากับภาษีซื้อ – ภาษีขาย - เอกสารใบสําคัญ รับ- จาย , ทั่วไป - เอกสารคาใชจายอื่น ๆ - สัญญาตาง ๆ เชน สัญญาขายสินคา บริการ สัญญาเชา หนังสือสงเสริมการลงทุน ( BOI )

2.วิธีปฏิบัติดานการตรวจสอบ 2.1) จัดทํา Working paper และตรวจสอบโดยใชงบทดลองปปจจุบัน เทียบกับปกอน 2.2) วิเคราะหเปรียบเทียบบัญชีที่มีสาระสําคัญเพื่อการตรวจสอบ 2.3) ทดสอบการคํานวณตัวเลขและตรวจสอบกับรายละเอียด หรือเอกสารของแตละบัญชี ที่มี สาระสําคัญ 2.4) ตรวจสอบงบการเงินและขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา เรื่องกําหนดรายการยอ ที่ตองมีในงบการเงิน 2.5 ) ตรวจสอบ ภ.ง.ด50 ทดสอบการคํานวณกําไรทางภาษี เครดิตภาษี และรายการกลับ รวมกับ การกระทบรายได ตาม ภ.พ 30 กับ รายไดทางบัญชี 2.6 ) จัด Clearance meeting กับลูกคา เพื่ออธิบายภาพรวมของงบการเงิน Audit finding 2.7) จัดทํารายงานผูสอบบัญชีตามมารตฐานการบัญชี


งบการเงิน 1 ฉบับประกอบดวย 1.หนารายงานงบการเงิน ป 2555 เปนรายงานแบบ 6 วรรค 2.งบแสดงฐานะทางการเงิน 3.งบกําไรขาดทุน 4.งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน 5.หมายเหตุประกอบงบการเงิน 6.จัดทําเอกสาร 6 ชุด เพื่อการนําสง 6.1 ตนฉบับ 1 ฉบับ เพื่อเปน Working paper ในการทํางบการเงินปถัดไป และการตรวจสอบ จากกรมสรรพากร 6.2 นําสงผูสอบ 1 ฉบับ นําสงลูกคา 2 ฉบับ 6.3 นําสง กรมสรรพากร 1 ฉบับ 6.4นําสง กรมพัฒนาธุรกิจ 1 ฉบับ


บทที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ สรุป ในการตรวจสอบกิจการใดกิจการหนึ่ง การตรวจสอบรายการคาทุกรายการที่เกิดขึ้นหรือ ทุกบัญชีที่มีอยูนาจะทําใหหลักฐานที่สมบูรณที่สุดเพื่อผูสอบบัญชีใชในการรายงานความคิดเห็นตองบ การเงิน แตจะทําใหคาใชจายในการปฏิบัติงานสูงมากจนอาจทําใหหลักฐานที่ไดมาไมคุมคาและการใช เวลานานจนอาจทําใหรายงานความคิดเห็นไมทันกาลหรืออาจไมใหประโยชนตอผูใชงบการเงินและ บางสถานการณผูสอบไมสามารถทําการตรวจสอบรายการทุกรายการที่เกิดขึ้นไดหรือไมสามารถ ตรวจสอบบัญชีทุกบัญชีที่ประกอบอยูในงบการเงินได เชน การตรวจสอบกิจการที่มีหลายสาขาหรือ ความรับผิดชอบที่จะตองเสนอรายงานในเวลาจํากัด

ขอเสนอแนะ ในการตรวจสอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปกําหนดให “กําหนดใหผูสอบ บัญชีควรไดมาซึ่งหลักฐานที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อสามารถสรุปความเห็นของผูสอบบัญชีไดอยางสมเหตุสมผล” และกําหนดให “ ผูสอบบัญชีตองวางแผนและปฏิบัติงานโดยใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบ วิชาชีพตอขอมูลของกิจการโดยคํานึงถึงสภาพแวดลอมที่อาจมีอยูซึ่งเปนเหตุใหขอมูลในงบการเงินขัดตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญ ” ดังนั้น หลักฐานที่ไดจากการตรวจสอบรายการทุกรายการหรือทุกบัญชีอาจเกินความจําเปนและ อาจไมใหขอมูลที่เหมาะสมหากการตรวจสอบไมคํานึงถึงสภาพแวดลอมของขอมูลรวมถึงการไมไดใชวิจารณญาณที่ ดีพอในการพิจารณาหลักฐานที่ไดมา


สารบัญภาพ สถานที่ฝกงาน บริษทั ฐิติพร แอ็คเคาทติ้ง กรุป จํากัด


ยกตัวอยางเอกสารที่ใชในการตรวจสอบ หนังสือรับรองบริษัท ฯ / หาง ( ฉบับปจจุบัน ) + บอจ.5 ( ฉบับปจจุบัน )







BANK STATEMENT , BOOK BANK , เอกสารการกูยืมเงิน

ทะเบียนทรัพยสิน และ ทะเบียนการจําหนายทรัพยสิน








รายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย งบการเงินที่เสร็จสมบูรณ เพื่อผานการเซ็นต จากออดิท (งบออดิท)

บรรณานุกรม - วินยั ( 2556).ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการสอบบัญชี.สืบคน เมื่อ 5 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www.tice.ac.th/division/account 1 - กรมพัฒนาธุรกิจการคา ( 2556).เทคนิคการสอบบัญชี.สืบคน เมื่อ 5 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www.jarataccontingandlaw - สภาวิชาชีพบัญชีในพระราชณูปถัมณ ( 2556).มาตรฐานการสอบบัญชี. สืบคน เมื่อ 5 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www.fap.or.th/มาตรฐานวิชาชีพบัญชี/มาตรฐานการสอบบัญชี html - อ.เมธา สุวรรณสาร ( 2556).ขัน้ ตอนและกระบวนการตรวจสอบ. สืบคน เมื่อ 6 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www.itgthailand.com/tag/ขัน้ ตอนและกระบวนการตรวจสอบ - Accounting Solution. ( 2556).การสอบบัญชี.สืบคน. เมื่อ 6 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www. accsol.co.th/test.html - กรมสรรพากร. ( 2556).ความรูเกี่ยวกับผูสอบบัญชี.สืบคน. เมื่อ 6 พฤษภาคม 2556 จาก htpp://www.rd.go.th/publish/7247.html - ( 2556).ขัน้ ตอนและกระบวนการตรวจสอบ. สืบคน เมื่อ 6 พฤษภาคม 2556 จาก htpp:// www.pvtaudit.com/knowledge/Auditing/0103.pdf

ภาคผนวก


ภาคผนวก ก คําสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. ๑๙๔/๒๕๕๕ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑการปฏิบตั งิ าน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ของผูส อบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา ๓ สัตต แหงประมวลรัษฎากร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓ สัตต แหงประมวลรัษฎากร ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไข เพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๔๙๖ และขอ ๕ ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา ๓ สัตต แหง ประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี (ฉบับที่ ๒) เรือ่ ง กําหนดระเบียบเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา ๓ สัตต แหงประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของผูสอบบัญชีภาษีอากร ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหยกเลิกแบบรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามขอ ๓ ของคําสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. ๑๒๒/๒๕๔๕ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑการปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ของผูสอบ บัญชีภาษีอากร ตามมาตรา ๓ สัตต แหงประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ ๒ ใหใชแบบรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีทายคําสั่งนี้เปนแบบรายงานการตรวจ สอบและ รับรองบัญชี ตามขอ ๓ ของคําสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.๑๒๒/๒๕๔๕ เรือ่ ง กําหนดหลักเกณฑการปฏิบัติงาน และ การรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของผูสอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา ๓ สัตต แหงประมวลรัษฎากร ลง วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ แทน ขอ ๓ คําสั่งนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ที่ลงในคําสั่งนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๕ สาธิต รังคสิริ (นายสาธิต รังคสิริ) อธิบดีกรมสรรพากร


ตอนที่ 1 หลักเกณฑและวิธกี ารยืน่ งบการเงิน 1.1 ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี 1.2 “ผูทําบัญชี” ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 1.3 เอกสารที่กฎหมายกําหนดใหสง 1.4 กําหนดเวลาในการยื่นงบการเงิน 1.5 การขยายหรือเลื่อนกําหนดเวลาการยื่นงบการเงิน 1.6 วิธีการในการยื่นงบการเงิน 1.7 หลักเกณฑและวิธีการยื่นแบบ ส.บช. 3/1 ตอนที่ 1 หลักเกณฑและวิธีการยื่นงบการเงิน 1.1 ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี นิติบุคคลที่จดทะเบียนแลวมีหนาที่ตองนําสงงบการเงินตอกรมพัฒนาธุรกิจการคาเปนประจําทุกปไมวา จะดําเนินกิจการหรือไม กอนอื่นเราตองทราบกอนวาใครบางที่กฎหมายกําหนดใหมีหนาที่จะตองจัดทําบัญชีและ ปดบัญชีเพื่อจัดทํางบการเงินและยื่นตอกรมพัฒนาธุรกิจการคา ซึ่งตามกฎหมายไดกําหนดใหผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ตองยื่นงบการเงินตอกรมพัฒนาธุรกิจการคา ดังนี้ 1. หางหุนสวนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ไดแกหางหุนสวนจํากัด และหางหุนสวนสามัญนิติบุคคล 2. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย 3. กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร 4. บริษัทจํากัด


5. บริษัทมหาชนจํากัด 6. สมาคมการคา 7. หอการคา ผูมีหนาที่จัดทําบัญชีจะตองจัดใหมีการทําบัญชีนับแตวันเริ่มทําบัญชีดังตอไปนี้ 1. หางหุนสวนจดทะเบียน บริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัดใหเริ่มจัดทําบัญชีนับแตวันที่ หางหุนสวนจดทะเบียน บริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัดนั้นไดรับการจดทะเบียน เปนนิติบุคคลตาม กฎหมาย 2. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทยใหเริ่มทําบัญชีนับแตวันที่ นิติบุคคลนั้นไดเริ่มตนประกอบธุรกิจในประเทศไทย 3. กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากรใหเริ่มทําบัญชีตั้งแตวันที่กิจการรวมคานั้นไดเริ่มตนประกอบ กิจการผูมีหนาที่จัดทําบัญชีตองปดบัญชีครั้งแรกภายในสิบสองเดือนนับแตวันเริ่มทําบัญชีและปดบัญชีทุกรอบ สิบสองเดือนนับแตวันปดบัญชีครั้งแรก






ภาคผนวก ข บันทึกสมุดฝกงานทั้งหมด (สแกนใส)























Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.