QUEEN SIRIKIT MUSEUM OF TEXTILES

Page 1


CONTENT สารบัญ

1.Phaa Mat Mii ผ้าไหมมัดหมี่

2.Phaa Chok ผ้าจก

3. Thai-style Embroidery ปักซอยแบบไทย

4. Hill Tribe Textiles ผ้าปักชาวไทยภูเขา


5.Khit, Baan Nong ขิดลายสมเด็จฯ

6. Phaa yok ผ้ายก

7. Phrae wa แพรวา

8. Beetle-wing Embroidery งานประดับปีกแมลงทับ


ผ้าไหมมัดหมี่

ผ้าไหมมัดหมี่ ของดีที่อส ี านกลายเป็นอาชีพเลีย ้ งปากเลีย ้ งท้อง ของราษฎร ใน พ.ศ. 2515 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ “คณะราตรี” ลงพื้นที่เพื่อสนับสนุนให้ชาวบ้านปลูกหม่อนเลีย ้ ง ไหมเพื่อทอผ้าเป็นอาชีพเสริม โดยทรงรับซื้อไว้เอง และ พระราชทานเงินค่าผ้าในราคาสูงเป็นการเพิ่มพูนรายได้ของ ราษฎรนอกเหนือจากอาชี เกษตรกรรม สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถสนพระราช หฤทัยในภูมิปญ ั ญาของราษฎรที่สืบต่อกันมายาวนาน โดย เฉพาะในด้านการทอผ้า เนื่องจากทรงทราบว่าชาวบ้านทำาตา มกรรมวิธีดั้งเดิม ตัง้ แต่การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตเส้นไหม ไปจนถึงการย้อมสีธรรมชาติ จึงมีพระราชดำาริให้การส่งเสริม และพัฒนาผ้าทอพื้นถิน ่ ให้มค ี ณ ุ ภาพดีและเหมาะสมแก่การ ใช้สอยมากขึน ้ แต่ยังอนุรักษ์การทอและลวดลายดั้งเดิมอันเป็น เอกลักษณ์ไว้ ส่งผลให้เกิดการสืบสานศิลปวัฒนธรรมและ ภูมป ิ ญ ั ญาท้องถิน ่ ในขณะเดียวกัน พ.ศ. 2513 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกต ิ ิ์ พระบรม ราชินีนาถ ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว ั ไปทรง เยีย ่ มราษฎรผูป ้ ระสบอุทกภัยที่ อ.นาหว้า จ.นครพนม ทอด พระเนตรเห็นราษฎรที่มาเฝ้ารับเสด็จฯ นุ่งซิ่นไหมมัดหมีท ่ ี่ สวยงามเป็นเอกลักษณ์


สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรง ตระหนักว่าคนไทยในแต่ละท้องถิน ่ มีความ สามารถในการสร้างสรรค์งานฝีมือ หากได้รับการ ส่งเสริมอย่างถูกต้อง จึงทรงให้การสนับสนุนชาว บ้านได้ทดผ้าเพือ ่ หารายได้เลีย ้ งดูตนเองและ ครอบครัว แทนการใช้สอยในครัวเรือนเพียงอย่าง เดียว ซึง่ การที่ทรงสนับสนุนให้ปลูกหม่อนเลีย ้ ง ไหมก็จะช่วยให้ราษฎรมีบา้ นเรือนที่สะอาดด้วย เนื่องจากหากมีความสกปรก มีแมลงวันจะทำาให้ หนอนไหมตาย ปัจจุบันนี้ สมาชิกทอผ้า อ.นาหว้า จ.นครพนม ยังคงสืบสานงาน หัตถกรรมทอผ้าจากรุ่นสู่รุ่นสมดังพระราชปณิธาน ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ปลูก หม่อน เลีย ้ งไหม ทอผ้า สืบต่อภูมิปัญญา บรรพบุรุษ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ โปรดเกล้าฯให้อนุรักษ์กระบวนการทอ แบบดัง้ เดิพ.ศ. 2534 นางประจวบ จันทร์นวล สมาชิกรุ่นแรก ได้รับเลือกให้เดินทางโดยเสด็จ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปเผย แพร่งานศิลปาชีพและวัฒนธรรมการทอผ้าของ ไทยที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ต่อมานางสาวแสงเดือน จันทร์นวล ทายาทของนางประจวบ ได้ขยายขอบข่ายงานผ้า ออกไปอย่างกว้างขวาง มีรายได้เลีย ้ งตนเองเป็น อย่างดี มีผู้มาศึกษาดูงานต่อเนื่องทั้งชาวไทยและ ต่างประเทศพร้อมประกาศตนแสดงความสำานึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ในฐานะลูกศิลปาชีพที่มี เจตนารมณ์ “ทำาสิ่งที่สูญหาย ให้คงอยู”่ สืบไป

Mat Mii: lkat Tradition of the Northeast (Isaan) The Birth of SUPPORT

The Birth of SUPPORT, Na Wa, Nakhon Phanom Province The 1970 visit made by Their Majesties to Na Wa in northeastern Thailand (Isaan) offering help to victims of flooding, led directly to the founding of SUPPORT. During their visit, Her Majesty noticed the beautiful ikat (mat mii) skirts worn by local women and larned of the silkweaving traditions they still practiced. As a result, Her Majesty decided that purchasing the textiles of Her own wardrobe would encourage the villagers to weave more silk. This would increase production and create a supplemental income unaffected by weather conditions for these farming families. Her Majestr assembled a task force, code-named Ratri, to spearthead the endeavour. Mat mii (known in the West as “ikat”) is a form of resit-dyeing in which, prior to weaving, bundles of threads are bound uing srips of plastic following a predetermined pattern. The bindings ‘resits’ the dye and thus control the colouring of the yarns. As practiced in Thailand, only the horizontal threads (wefts) are patterned in this manner. Since the mid19th century, Na Pho district has been famous for its silk. Every stage of production can be found there. The painstaking processes yield beautiful textiles, which nonetheless have been threatened by the easy availability of mass-produced fabrics. SUPPORT’S cultivation of textile traditions such as mat mii has played a major role in their survival. Mat Mii, Na Pho, Buri Ram Province Buri Ram Province suffered several years of drought in the early 1970s, leaving many villagers desperate for food and drinking water. Having virtually no income outside of farming, some resorted to bartering their handmade silk cloth for rice from other other areas. When Her Majesty’s Private Secretary, Thanpuying Suprapada Kasemsant, visited Buri Ram’s Na Pho district in 1973, she realized thea villagers needed additional income. Then by chance, Thanpuying Suprapada encountered Mrs. Prachuap Channuan and a few other skilled local weavers. She persuaded then to weave their mat mii silk for Her Majesty to purchase. The effort was successful: Na Pho became a SUPPORT village and Mrs. Prachuap a founding member.


ผ้าจก ชาวไท-ยวน

บ้านคูบว ั อำาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ผ้าซิ่นตีนจกลวดลายละเอียด สีสันสวยงามแปลกตาของหญิงชรา บ้านคูบว ั สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โปรดเกล้าฯ ให้สืบทอด ภูมป ิ ญ ั ญาทีก ่ ำาลังสูญหาย ผ้าซิ่นตีนจกเป็นภูมิปญ ั ญาการทอผ้าที่สืบทอดมายาวนานของ ชาวไท-ยวน ซึ่งต่อมาอพยพโยกย้ายกระจายไปตามจังหวัด ต่างๆ 7 แหล่ง ได้แก่ เชียงใหม่ น่าน ลำาปาง แพร่ อุตรดิตถ์ ราชบุรี และสระบุรี ปัจจุบน ั โรงฝึกศิลปะชีพฯ สวนจิตรลดา มีแผนกผ้าจกเพื่ออนุรักษ์ และสืบทอดงานฝีมืออันลำ้าค่าเอาไว้มใ ิ ห้สูญหาย ตีนจก คือตีนของผ้าซิ่น ซึ่งเป็นส่วนทีม ่ ีลวดลายสวยงาม ทอด้วย ฝ้ายหรือไหม เกิดจากเทคนิคการทอฝ้ายหรือไหมด้วยวิธีจก งัด หรือดึงด้ายเส้นยืนขึ้นด้วยขนเม่น และเพิ่มด้วยเส้นพุ่งที่มีสีสัน หรือลักษณะพิเศษเข้าไปเพื่อสร้างลวดลายซึ่งเกิดขึ้นด้านใต้กี่ เมือ ่ ทดแล้วพลิกขึน ้ จึงได้เห็นลวดลายสวยงามเป็นเอกลักษณ์ เช่น ลายดอกเซียลายหักนกคู่ ลายหน้าหมอน และลายนกคูก ่ น ิ นำ้าร่วมต้น ฯลฯ พ.ศ. 2520 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำาเนินเป็นการส่วนพระองค์ เพื่อทอพระเนตรการทอผ้า จกของนางซ้อน กำาลังหาญ ณ บ้านคูบว ั อ.เมือง จ.ราชบุรี ต่อ มาจึงได้ขอพระราชทานพระราชานุญาตจากสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถให้ทรงพิจารณารับนางซ้อนไปเป็นครู สอนผ้าจกที่โรงฝึกศิลปาชีพฯ วังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปัจจุบน ั นางสาวทองอยู่ กำาลังหาญ ทายาทได้สืบทอดงานทอ ผ้าจกที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชาวไท-ยวน เอาไว้ ณ บ้านคูบว ั


Phaa Chok

The Legacy of the Tai Yuan community Phaa Chok, an intricate brocade, is the textile heritage of the Tai Yuan community who now resides in seven provinces-five in the North and two in Central Thailand. Chok may be made of cotton of silk, and sometimes incorporates metallic thread. It most often appears as a narrow, colourful band decoratinb the hem of women’s wrap skirts (phaa sin) and traditionally functioned as an indicator of status-the more silk, gold, or silver thread in the chok, the higher the owner’s social and economic position. Aided by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Her Majesty helped promote the art of phaa chok weaving through SUPPORT. Phaa Chok is a type of brocade a patterned textile in which the design is created with an extra set of horizontal patteming threads (supplementary wefts) it is weaven face side down on the loom. To create the highly intricate patterns of chok, the weaver raises the warps a pointed instrument, such as a porcupine quill, to create a space to insert the coloured supplementr patteming threads. The painstaking process makes weaving phaa chok extrernely time-consuming, explaining why there are few results to the craft. In 1977 Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn met Mrs. Son Kamlanghan, an elderly native of Ratchaburi Province and a master weaver of chok in the style of her hometown, Khu Bua. Chok was then on the verge of extinction for lack of young weavers to carry on the tradition. Through the intervention of her Royal Highness, Mrs. Son was invited of work as a trainer at the SUPPORT workshop at Klai Kangwon Palace in the South. After her death in 1993 her daughter, Ms. Thongyu Kamlanghan, took over the task of preserving the now-flourishing art of Tai Yuan-style phaa Chok weaving.


ปักซอยแบบไทย

ภาคใต้ จากงานโบราณในราชสำานัก สู่อาชีพของราษฎรในภาคใต้ การปักซอยแบบไทยต้องอาศัยความละเอียดสูงนิยมใช้ไหมน้อย ย้อมสีธรรมชาติในการปัก ผูม ้ ฝ ี ีมือจะปักให้เกิดเหลือบเงาได้เหมือนจริงโดยใบไม้สีเขียวใบ หนึ่งอาจใช้สีได้ถงึ 5 สีในเฉดเดียวกัน ภาพปักขนาดใหญ่อาจกว้างยาวได้หลายเมตร ซึ่งต้องขึงสะดึง ใหญ่ใช้ช่างปักหลายคนและใช้เวลานาน


Thai-style Embroidery

The education of high-ranking nineteenth-century Thai girls often included instruction in embroidery; many women of the court were thus known for their fine needlework. Sirnple stitches combined with lavish materials created dazzling textiles. In the 1970s, Her Majesty, whose ladies would sometimes embroider traditional skirts (phaa sin) for Her, decided to revive court-style embroidery. She was motivated by the desire to help people in the South who were victims of unrest, as well as those who were too ill or occupied with child care to work collecting latex in the region’s rubber plantations. The first embroidery training centre opened in 1976 at Thaksin Ratchaniwet Palace in southern Thailand; a second was later established at Chitralada Villa in Bangkok. Modren Thai embroidery emphasizes realistic pictorial effects that are often based on literature or nature. Embroiderers use small, slender needles and silk yarns of hairlike fineness dyed in a wide variety of colours. Highly detailed areas--faces, hair, and clothing, for example—are commonly worked first, before the background is filled in.


ผ้าปักชาวไทยภูเขา ภาคเหนือ

ความหลากหลายของางาเย็บ ปัก ถัก ร้อย บนดอยสูง อาชีพเสริมตามแนวพระราชดำาริเพื่อรักษาป่าต้นนำ้า และทดแทน พื้นที่ปลูกฝิน ่ ผ้าปักชาวไทยภูเขา ภาคเหนือ ชาวไทยภูเขาในประเทศไทย ประกอบด้วย กระเหรี่ยง (ยาง) ม้ง (แม้ว) เมี้ยน (เย้า) ล่าหู่ (มูเซอ) อาข่า (ก้อ) และลีซู (ลีซอ) ซึ่งแต่ละเผ่ามีฝีมอ ื ในการปักผ้าแบบต่างๆ ทั้งที่ เป็นแบบปักไขว้ ปักลูกโซ่ ปักปะ เย็บริมแถบผ้าต่อกันเป็นผืน หรือเย็บเป็นเชือกหลากสี และยังมีผา้ ทอ ผ้าปักประดับเหรียญเงิน ลูกปัดเงิน และลูกเดือย อีกด้วย


ขิด เป็นภาษาอีสาน หมายถึงสะกิด งัด ช้อน ผ้าขิด (ผ้า เก็บขิด ผ้าเก็บดอก ผ้าเหยียบ หรือผ้าเก็บ) เรียกตามกรรมวิธี ทอ คือสะกิด ช้อนด้ายหรือไหมขึน ้ เป็นจังหวะเพือ ่ สร้าง ลวดลายช่างทอผ้าขิด ต้องมีความชำานาญและความอดทนสูง เพราะเทคนิคซับซ้อนกว่าผ้าทอพืน ้ เดิมที่นิยมทอเฉพาะขิด ฝ้ายหน้าแคบ เพือ ่ เป็นผ้าปูกราบ หรือสำาหรับประดับหน้า หมอน ซึง่ หมอนขิดนั้น เป็นหมอนหนุนนอนที่ชาวอีสานทำาขึน ้ ใช้เอง ตลอดจนถวายพระภิกษุในงานบุญและเป็นของขวัญ ของฝากในทุกโอกาสพ.ศ.2525 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงนมัสการหลวงปูข ่ าว อ นาลโยที่วด ั ถำ้ากลองเพล จังหวัดอุดรธานี นางสุนา ศรีบุตร โคตร ได้นำาผ้าไหมมัดหมี่ไปรอเฝ้าฯ เพือ ่ ทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทอดพระเนตรเห็นเป็น ผู้มีฝีมือจึงทรงชวนให้เป็นสมาชิกศิลปาชีพและตั้งกลุม ่ ทอผ้า ไหมขึน ้ นางสุนาจึงทอผ้าขิดตามแบบอีสานขึน ้ ทูลเกล้าฯ ถวาย ต่อมาจึงได้รับพระราชทาง พระมหากรุณาให้ไปสอนที่ โรงฝึกศิลปาชีพ ภูพงิ คราชนิเวศน์ และได้รับยกย่องเป็นครู ภูมิปญ ั ญา สอนการทอผ้าขิดทั่วภาคอีสาน ปัจจุบน ั มีทายาทคือ นางสาววารุณี ศรีบต ุ รโคตร เป็นผู้ ช่วยสืบทอดงานคนสำาคัญ

Northern Thailand

Embroidery and Cloth Applique; Traditional Textile Techniques of the Hill Tribes Under SUPPORT Textile Crafts Replace Opium Poppy Cultivation as a Source of lncome Hill Tribe Textiles The minority peoples of the hills of northern Thailand---Karen, Hmong, Mien, Lahu, Akha, and Lisu (often referred to as the Hill Tribes) ---each have distinctive costumes that differ from traditional Thai clathing in both garment structure and ornamentation. Whereas Thai dress is draped and wrapped, minority dress in the highlands comprises jackets, tunics, skirts, trousers or leggings, and head coverings; women also wear elaborate headdresses and fine silver jewellery. Equally distinctive are the decorative techniques used on clothing: batik; patchwork (piecing); appliqué; ernbroidery; and applied objects such as sequins, coins, silver beads, cowrie shells, and seeds (Job’s tears).


ขิดลายสมเด็จฯ บ้านหนองอ้อ อำาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี

ผืนผ้าหน้าหมอนขิดทีร่ าษฎรทูลเกล้าฯ ถวาย มีพระราชดำาริให้ถอดลายและทอผ้าให้หน้ากว้างเพื่อเพิ่ม ประโยชน์ใช้สอย ขิดลายสมเด็จฯ บ้านหนองอ้อ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เมื่อสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกต ิ ิ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบ้านมักจะทูลเกล้าฯ ถวายผ้า ทอมือโดยวางบนหมอนขิดซึ่งถือเป็นของสูง เมือ ่ ได้ทอด พระเนตร จึงทรงตระหนักถึงความงามและงานอาชีพที่จะสร้าง รายได้เสริมแก่ราษฎร จึงมีพระราชดำาริให้ถอดลายจากผ้าขิดที่ หน้าหมอน แล้วนำาลายมาขยายทอเป็นผืนผ้า เพื่อประโยชน์ ใช้สอยหลากหลายขึ้น ผ้าไหมขิดลายดอกแก้วนั้น ราษฎรมัก เรียกว่า “สายสมเด็จ” เพราะสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินิ นาถ โปรดที่จะนำามาตัดเย็บเป็นฉลองพระองค์บอ ่ ยครั้ง


Khit, Baan Nong Or, Udon Thani Province

During early visits to the Northeast (Isaan), villagers presented their locally woven silks to Her Majesty on cushions as a sign of respect. These traditional cushions, used in the home and as gifts, were patterned with narrow bands of cotton brocade called khit. Struck by the beauty of khit, Her Majesty selected one of the narrow patterns and asked weavers to repeat it to create a wider cloth suitable for fashion or decorating. Sales opportunites for the weavers were thus increased. The pattem chosen by Her Majesty for this innovation was based on a traditional one, but the weavers renamed it “Lai Somdet” or “the Queen’s Pattern.” Khit is a form of brocade, a patterned textile that has a set of vertical threads (warps) and horizontal threads (wefts) creating the fabric’s ground, plus an additional set ofthicker, horizontal patterning threads (supplementary wefts). In khit, the supplementary wefts are continuous from one side of the fabric to the other and the weaver inserts them by lifting the appropriate warp yarns in a pre-determined sequence. A painstaking and intricate technique, the weaving of khit requires extraordinary skill and patlence. In 1987, during a visit to Nong Bua Lamphu, then a district in Udon Thani Province in the Northeast, Her Majesty received a piece of silk mat mii woven by Mrs. Suna Sibutkhot. Impressed by Mrs. Suna’s skill, Her Majesty asked if she would be willing to join SUPPORT and try weaving khit. Mrs. Suna Mastered the khit technique so well that Her Majesty later recruited her to teach at the SUPPORT workshop in Chitralada Villa in Bangkok. In 2002, Mrs. Suna’s teaching, and the many award-winning silks she wove, led to her recognition as a master teacher of khit. Today, her daughter, Waruni Sibutkhot, continues her legacy.


ผ้ายก

ผ้ายกเมืองนครฯ ศิลปะการทอชั้นสูงทีใ ่ กล้จะสูญหาย โปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูเพื่อเป็นอาชีพเสริมแก่ราษฎร ผ้ายก เนินธัมมัง อำาเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผ้ายก คือผ้าที่ทอให้ลวดลายนูนเด่นขึน ้ มาบนเนื้อผ้า มีทั้งชนิดที่ ยกลายด้วยเส้นไหม ไหมเงิน และไหมทอง ตัง้ แต่สมัยกรุง ศรีอยุธยา เป็นต้น มาราชสำานักนิยมนำาเข้าผ้ายกคุณภาพดีจาก อินเดีย เปอร์เซีย และจีน ซึ่งจะมีลวดลายผ้าที่ละเอียดประณีต สวยงามเป็นพิเศษ เพื่อใช้เป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเหล่าขุนนางชั้นสูง ต่อมาในสมัย รัตนโกสินทร์ ผ้ายกที่ใช้ในราชสำานักนอกจากนำาเข้ามาจากต่าง ประเทศแล้ว ยังมีผ้ายกทีไ ่ ด้รับเป็นเครื่องบรรณาการและสั่งทอ เป็นพิเศษมาจากหัวเมืองทางภาคใต้ ได้แก่ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และสงขลา ซึ่งเป็นแหล่งที่มีช่างทอผูเ้ ชี่ยวชาญ มาก พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปทรงงานใน โครงการพัฒนาลุม ่ นำ้าปากพนังฯ และการบรรเทาปัญหาอุทกภัย ในพื้นที่จงั หวัดนครศรีธรรมราช ขณะที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงดูแลความเป็นอยูข ่ องราษฎรในพื้นทีโ่ ดย ได้พระราชทางอาชีพเสริม เกิดเป็นโครงการศิลปาชีพบ้านเนิน ธัมมัง อำาเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมกลุ่ม ชาวบ้านตรอกแคไว้ด้วย สมาชิกกลุม ่ แปรรูปกระจูด ปักผ้า และ ทอผ้า ซึ่งประกอบด้วยผ้าไหม ผ้าฝ้าย และผ้ายก ด้วยมีพระ ราชดำาริวา่ ผ้ายกเมืองนครนั้นมีชื่อเสียงมาแต่อดีต โดยเฉพาะผ้า ยกราชสำานักโบราณ ซึ่งกำาลังจะสูญหายไปจากถิน ่ เดิม จึงมีพระ ราชเสาวนีย์ให้นำาผ้ายกราชสำานักคืนถิน ่ โดยผ่านศิลปาชีพ


Phaa yok

Neun Thammang, Nakhon Si Thammarat Province Phaa yok is a brocade that has extra (supplementary) metallic wefts contained within a pattern unit. In the past, the Kings of Thailand wore gold brocaded textiles imported from India, China, and Persia for important occasions. The weaving of phaa yok was brought toNakhon Si Thammarat province in southern Thailand in the early 19th century by captured Malay weavers who had been supplying the Siamese court and local elites with phaa yok since at least the 18th century. Once relocated, the Malay weavers shared their skills with local women, making Nakhon Si Thammarat justly famous for its gold brocades. In 1992 His Majesty the King implemented a project to develop the Pak Phanang River Basin to mitigate the constant flooding of Nakhon Si Thammarat, at the same time, Her Majesty began working to provide supplementary occupations to local women. Her Majesty is aware of the well-established fame of the old gold brocades from the area, especially those made for the royal court. However, by 1992 the knowledge of how to weave these exquisite brocades had been lost. Through a new SUPPORT project, Her Majesty requested that the royal court brocade be revived.


แพรวา ผ้าแห่งศักดิ์ศรี

บ้านโพน อำาเภอคำาม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ แพรวาถือเป็นผ้าแห่งศักดิ์ศรีความเป็นลูกผู้หญิงของชาวผู้ไทย ที่ทอเป็นผ้าเบี่ยง (สไบ) เพื่อใช้ในพิธีแต่งงานหรือพิธีสำาคัญทางศาสนา ใน พ.ศ. 2520 สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯไปทรงเยี่ยมราษฎรใน จ.กาฬสินธุ์ นาง คำาใหม่ โยคะสิงห์ และคณะ แต่งชุดประจำาถิ่นผู้ไทยไปรับเสด็จ เป็นเสื้อแขน กระบอกสีดำา มีแพรวาสีแดงเข้มพาดเบี่ยงสวยงามแปลกตา และเมื่อชาวบ้าน โพนปูแพรวาเป็นลาดพระบาทให้ทรงพระดำาเนิน ก็ประทับพระราชหฤทัยใน ความงดงาม และมีพระราชดำาริว่าแพรวาเป็นผ้าที่มีลวดลายสวยแปลกตา ขั้น ตอนการทำาละเอียดซับซ้อน อีกทั้งยังใกล้จะสูญหาย จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ตั้งกลุม ่ ทอผ้าแพรวาขึน ้ ในมูลนิธิสง่ เสริมศิลปาชีพฯ แพรวา หรือแพวา หมายถึงผ้าผืนยาวประมาณ 1 วา กว้างประมาณ 1 ศอก วิธี ทอแพรวาคล้ายจกและขิด คือสะกิดเอาเส้นไหมสีต่างๆ ขึ้นมา โดยใช้มือจกหรือ ยกเส้นด้ายยืนโดยไม่ใช้เข็มหรือขนเม่น ช่างทอแพรวา จึงต้องมีความชำานาญ และความอดทน เนื่องจากมีลวดลายซับซ้อน ทอได้ยาก และใช้เวลานานแพรวา จึงได้รับการยกย่องเป็น “ราชินีแห่งไหม” และเป็นผ้าที่มีมูลค่าสูงชาวผู้ไทยโดย เฉพาะที่บ้านโพน อ.คำาม่วง จ.กาฬสินธุ์ มีความชำานาญสูงในการทอแพรวา ซึ่ง มีลวดลายสีสันผสมผสานกันอยู่บนพื้นสีแดงเข้ม ปัจจุบันกลุ่มศิลปาชีพแพรวาบ้านโพน ซึ่งเริ่มแรกแทบจะหาคนทอไม่ได้ขยาย จำานวนสมาชิกมาถึง 400 คน ทุกวันนี้ชาวบ้านโพนยังทอแพรวาเป็นอาชีพเสริม อย่างต่อเนื่อง และได้เพิ่มสีสันบนผืนผ้ากลายเป็นพัฒนาการสำาคัญของแพรวา นอกจากนี้เยาวชนในพื้นที่ยังได้เรียนรู้และสืบทอดการทอแพรวาต่อไปด้วย


Phrae wa

Baan Phon, Kham Muang District, Kalasin Province The term phrae wa denotes a shoulder cloth of elaborately patterned silk brocade, traditionally on a deep red ground. It is woven a worn by women of the Phu Tai community---an ethnic group originally from China, who live today in Laos and three northeastern Thai provinces. Phrae wa has very intricate patterns requiring highly developed weaving skills. It is a brocade, a patterned textile that has a set of vertical threads (warps) and horizontal threads (wefts) creating the fabric’s ground and an additional set of multicolored horizontal threads (supplementary wefts) that are used only for the pattern. In phrae wa, the patterning wefts run the full width of the cloth, and are therefore referred to as continuous supplementary wefts. The weaver inserts the patterning wefts by lifting the appropriate warp yarns in a pre-determined sequence. Phrae wa is still proudly worn by Phu Tai women of all ages and the original SUPPORT group of a few weavers has since grown to more than 400. Some weave as a sideline, others as their major source of income. With SUPPORT’s help, however, their phrae wa has moved beyond its traditional colour scheme and narrow width to appeal to appeal to a broader market.


งานประดับปีกแมลงทับ

ภาคอีสาน จากแมลงปีกสวยที่หมดวงจรชีวต ิ ใต้ตน ้ ไม้ในอีสาน มีพระราชดำาริให้ใช้ประโยชน์จากปีแมลงทับซึง่ ราษฎรนำามา ถวาย งานประดับปีกแมลงทับ นับตัง้ แต่ พ.ศ.2498 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ว ั และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำาเนิน ไปทรงเยีย ่ มราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากผ้า ทอ หมอนขิด ผลไม้ และดอกไม้แล้ว ราษฎรยังได้นำาแมลงทับ และปีกแมลงทับมาทูลเกล้าฯ ถวายเป็นจำานวนมากเป็นแมลง ทับที่ตายแล้ว แต่ยงั มีปก ี สีเขียวเหลือบเป็นมันสวยงาม ใน พ.ศ. 2525 กรุงเทพมหานครมีอายุ 200 ปี สมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรือ ้ กรุผ้าโบราณในช่วงการ บูรณปฏิสังขรณ์พระตำาหนังโบราณต่างๆ ได้ทอดพระเนตรผ้า ทรงสะพักประดับปีกแมลงทับของสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกา เจ้า พระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยูห ่ ว ั รัชกาลที่ 5 ซึง่ ปีกแมลงทับยังคงทน แวววาวเหลือบ สวยงาม จึงมีพระราชดำาริให้ตงั้ แผนกประดับปีกแมลงทับขึน ้ ในโรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา เพือ ่ หาวิธใ ี ช้ประโยชน์จาก สิ่งที่ราษฎรมีนำ้าใจทูลเกล้าฯ ถวายมาเป็นจำานวนมาก โดย โปรดเกล้าฯ ให้นำามาประดิษฐ์เป็นเครือ ่ งประดับต่างๆ รวมทั้ง ตกแต่งบนฉลองพระองค์ ฉลองพระบาท และกระเป๋าทรงถือ เป็นต้น สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงฉลอง พระองค์และฉลองพระบาทประดับปีกแมลงทับในโอกาส สำาคัญต่างๆ หลายครั้งนอกจากนี้ปีกแมลงทับยังนำาไปสอด สานประดับงานย่านลิเภาปรากฏในการแสดงนิทรรศการศิลป์ แผ่นดิน ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิน เป็นที่ ประทับใจแก่ผู้ที่ได้พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง


Beetle-wing Embroidery

Beetle-wing Embroidery, long a tradition in India, was popular with the Thai court in the past. The iridescent wings were used to decorate accessories such as shoulder cloths and waist sashes. The wings come from a species of metallic wood-boring beetles, also known as jewel beetles. In Thailand, they are commonly found in the Northeast where villagers often presented entire beetles or their wings to Her Majesty during Her visits there. In preparation for Bangkok’s 1982 bicentenary celebrations, Her Majesty found a shoulder cloth with still-beautiful beetle-wing embroidery once belonging to Queen Savang Vadhana, wift of King Rama V (r. 18681910). Her discovery, and the memory of all the colourful wings She had been given, inspired Her Majesty to revive its use for embroidery in Thailand. Since its comeback, beetle-wing embroidery has graced many of the garments Her Majesty has worn on state and other formal occasions, and SUPPORT now teaches the technique at its Chitralada Palace workshop in Bangkok, and in two other palace workshops in northern and northeastern Thailand. Jewel beetles are prized for their spectacular colours and glossy, enamel-like forewings, called elytra, which form a hard, protective shield for the hind wings used for flight. The beetles, with a life cycle of about four weeks, are allowed to die naturally before their wings are harvested. The elytra may be cut to any desired shape for embroidering clothing and weaving into fashion and home accessories. Additional examples of beetle-wing work may be seen in the Arts of the Kingdom exhibition at the Ananta Samakhom Throne Hall, Dusit Palace.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.