คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2559

Page 1


คูมือนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2559 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน


ที่ปรึกษา รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ผศ.ดร.อัญชลี ตัตตะวะศาสตร รศ.ดร.พงศกร พรรณรัตนศิลป# ผศ.ดร.ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย รองคณบดีฝายวิชาการ รองคณบดีฝายแผนและการประกัน คุณภาพ รองคณบดีฝายวิจัย

คณะผูจัดทํา รวบรวมเรียบเรียงต+นฉบับ พัชลี พวงคต รัตติยากร วิมลศิริ พาณิภัค พระชัย

ตรวจสอบ ดิลกรัตน โคตรสุมาตย

ออกแบบปก ศิตธีรา สโมสร

จัดทําต+นฉบับ CD อภิเชษฐ บุญจวง รัฐพล สมบูรณ

เจาของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น พิมพ'จํานวน

1,700

เลม


คํานํา คู6มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเล6มนี้ ได+รวมรวมระเบียบ ข+อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติต6าง ๆ ที่เกี่ยวข+องกับการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อให+นักศึกษาที่จะเข+าศึกษา ในป?การศึกษา 2559 ได+เตรียมความพร+อม สามารถประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข+อบังคับ และแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัย และคณะได+อย6างถูกต+องครบถ+วน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น ได+ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับ เรื่องนี้ จึงได+จัดทําหนังสือคู6มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยขอนแก6นขึ้น นอกจากนี้ยังใช+เปEน คู6มือของอาจารยที่ปรึกษา และเจ+าหน+าที่ที่ปฏิบัติงานด+านบัณฑิตศึกษา ในการให+คําแนะนํานักศึกษา ตลอดจน เปEนประโยชนในการศึกษาอ+างอิงของผู+เกี่ยวข+องหรือผู+สนใจทั่วไป โดยได+แบ6งเนื้อหาออกเปEน 7 ส6วน ประกอบด+วย 1 บทนํา 2 ข+อบังคับ ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3 ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับค6าธรรมเนียมต6าง ๆ 4 แนวปฏิบัติต6าง ๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 5 บริการต6าง ๆ ของ บัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก6น 6 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 7 ภาคผนวก แบบฟอรมที่นักศึกษาควรทราบและหนังสือราชการสําหรับติดต6อต6าง ๆ นอกจากนี้ ระเบียบ ประกาศ คําสั่งต6างๆ ที่คณะและบัณฑิตวิทยาลัยได+จัดทําขึ้นเพื่อเปEนแนวปฏิบัติ สําหรับการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะ ในป?การศึกษา 2559 บัณฑิตวิทยาลัย ได+ปรับ รู ป แบบรู ป เล6 ม โดยเอกสารเหล6 า นั้ น ได+ นํ า บรรจุ ไ ว+ ใ นรู ปแบบไฟลอิ เล็ กทรอนิ กสในแผ6 น ซี ดี ซึ่ ง สามารถ ดูรายละเอียดประกาศต6างๆได+จากสารบัญของแผ6นซีดี สําหรับในส6วนของข+อมูลหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ทางผู+จัดทําได+จัดทําข+อมูลหลักสูตรไว+เบื้องต+น ในท+ายเล6ม และข+อมูลสมบูรณจะอยู6ในรูปแบบไฟลอิเล็กทรอนิกสแนบท+ายปกหลัง และคู6มือนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาเล6มนี้ สําเร็จลุล6วงได+ด+วยความร6วมมือของคณะทํางานจัดทําคู6มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและ คณะกรรมการเครือข6ายสายสนับสนุนบัณฑิตศึกษาทุกท6าน ที่ได+รวบรวมประกาศต6าง ๆ ที่เกี่ยวข+องกับคณะ และแบบฟอรมที่เกี่ยวข+องกับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา จึงขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด+วย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น กรกฎาคม 2559


สารบัญ หนา ตอนที่ 1 บทนํา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู+บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก6น คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก6น คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัยขอนแก6น ปฏิทินการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ป?การศึกษา 2559

ตอนที่ 2 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 2.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก6น ว6าด+วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 2.3 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 1365 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา 2.4 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 1073 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ 2.5 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 164/2557) เรื่อง การ ปSองกันการคัดลอกผลงานผู+อื่นในวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 2.6 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา 2.7 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑ ประเมินความรู+ความสามารถทางภาษาต6างประเทศสําหรับผู+เข+าศึกษาในหลักสูตร ปริญญาดุษฎีบัณฑิต 2.8 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑ มาตรฐานความรู+ความสามารถทางภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับ ปริญญามหาบัณฑิต ตอนที่ 3 3.1 3.2 3.3

3 4 6 7 8 10 17 28 47 50 52 54 61 63

ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับคาธรรมเนียมตางๆ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 308 /2557 ) เรื่อง อัตราค6าธรรมเนียม 67 การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2557 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงินค6าธรรมเนียม 79 การศึกษาของภาคแรกที่เข+าศึกษาและสถานภาพของผู+มีสิทธิ์เข+าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค6าธรรมเนียม 80 การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ


สารบัญ (ตอ) หนา 3.4 3.5

ตอนที่ 4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4.15 4.16 4.17 4.18 4.19 4.20 4.21

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บ ค6าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก6น (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บค6าธรรมเนียม ในการคืนสถานภาพการเปEนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา และการเทียบโอนหน6วยกิต ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แนวปฏิบัติตางๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ การขอทําบัตรประจําตัวนักศึกษา ขั้นตอนการลงทะเบียน การเทียบโอนรายวิชาและค6าคะแนนของรายวิชา การขอแจ+งการเปลี่ยนชื่อ-ชื่อสกุล การลาพักการศึกษา การขยายเวลาศึกษาต6อ การขอรายงานตัวเพื่อกลับเข+าปฏิบัติราชการ การรักษาสถานภาพการเปEนนักศึกษา การรักษาสถานภาพการเปEนนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให+ตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ การขอลาออก การพ+นสภาพการเปEนนักศึกษา การขอกลับเข+าเปEนนักศึกษา การขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา การขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา การขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา การขอเปลี่ยนสาขาวิชา การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ํากว6าหลักสูตรที่เข+าศึกษา การขอหนังสือรับรองการเปEนนักศึกษา การขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) การทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.1 การลงทะเบียนวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.2 การเสนอแต6งตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษาร6วม 4.21.3 การขอเปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษาร6วม 4.21.4 การเสนอเค+าโครงวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.5 แนวปฏิบัติในการแต6งตั้งอาจารยผู+เชี่ยวชาญ 4.21.6 การขอความอนุเคราะหจากหน6วยงานต6างๆ เพื่อขอความร6วมมือ ในการเก็บข+อมูลทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ

84 85

89 89 90 91 91 92 92 93 93 94 94 95 96 96 96 97 97 98 98 99 99 99 99 99 100 101 101


สารบัญ (ตอ) หนา

4.22 4.23 4.24 4.25 4.26 4.27

4.21.7 การขอความอนุเคราะหให+เปEนผู+เชี่ยวชาญหรือผู+ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ เครื่องมือในการทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.8 การขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.9 การขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.10 การส6งวิทยานิพนธ/การส6งรายงานการศึกษาอิสระ การสอบประมวลความรู+ การสอบวัดคุณสมบัติ การสําเร็จการศึกษา การขออนุมัติปริญญา การขอรับปริญญา เงื่อนไขของหน6วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการขอความร6วมมือ ในการเก็บรวบรวมข+อมูล

ตอนที่ 5 5.1 5.2 5.3 5.4

บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขอนแกน ทุนการศึกษา สํานักหอสมุด สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรฝ_กอบรมภายใต+โครงการการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของคณาจารย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5.5 โภชนาการ 5.6 รถขนส6งมวลชน มหาวิทยาลัยขอนแก6น และรถประจําทาง 5.7 บริการไปรษณีย 5.8 บริการธนาคาร 5.9 ศูนยอาหารและบริการ (คอมเพล็กซ) 5.10 ศูนยสุขภาพนักศึกษา 5.11 การประกันอุบัติเหตุ

ตอนที่ 6 6.1

คณาจารย'บัณฑิตศึกษาและบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณาจารย'บัณฑิตศึกษา 6.1.1 คณะวิทยาศาสตร 6.1.2 คณะเกษตรศาสตร 6.1.3 คณะวิศวกรรมศาสตร 6.1.4 คณะเทคโนโลยี 6.1.5 คณะสัตวแพทยศาสตร 6.1.6 คณะพยาบาลศาสตร

102 102 103 103 104 104 105 105 105 106

111 113 113 114 114 114 114 115 115 115 115 119 120 127 130 135 137 139


สารบัญ (ตอ) หนา

6.2

6.1.7 คณะแพทยศาสตร 6.1.8 คณะเทคนิคการแพทย 6.1.9 คณะสาธารณสุขศาสตร 6.1.10 คณะทันตแพทยศาสตร 6.1.11 คณะเภสัชศาสตร 6.1.12 คณะศึกษาศาสตร 6.1.13 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 6.1.14 คณะสถาป`ตยกรรมศาสตร 6.1.15 คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี 6.1.16 คณะเศรษฐศาสตร 6.1.17 คณะศิลปกรรมศาสตร 6.1.18 วิทยาเขตหนองคาย บุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย

สารบัญในแผนซีดี

142 158 161 162 165 167 170 173 175 176 177 178 182 183


บทนํา 1.1 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยขอนแกน จะมีคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ซึ่งเปนสภาสูงสุด มี อํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย ควบคุม กํากับและติดตาม การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยให เปนไปตาม นโยบายและวัตถุประสงค คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแกน ประกอบดวย 1. ดร.ณรงคชัย อัครเศรณี นายกสภามหาวิทยาลัย 2. ดร.เตช บุนนาค อุปนายกสภามหาวิทยาลัย 3. นายเฉลิมชัย วงษนาคเพ็ชร กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 4. นายชูเกียรติ รัตนชัยชาญ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 5. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 6. หมอมราชวงศปรีดิยาธร เทวกุล กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 7. นายยินชัย อานันทนสกุล กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 8. นายวนัส แตไพสิฐพงษ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 9. ดร.วิชัย ธัญญพาณิชย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 10. ศ.เกียรติคุณ ดร.วิชัย บุญแสง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 11. รศ.ดร.วีระพงษ แพสุวรรณ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 12. ศ.เกียรติคุณ นพ.ศาสตรี เสาวคนธ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 13. ศ.ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 14.นายสุรพงษ ชัยนาม กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 15. นายกําธร ถาวรสถิตย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 16. รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดี 17. นายอํานาจ พรหมสูตร ประธานกรรมการสงเสริมกิจการ มข. 18. ผศ.สุทิน เวียนวิวัฒน ประธานสภาพนักงานมหาวิทยาลัย 19. รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูแทนรองอธิการบดี 20. รศ.ดร.มนตชัย ดวงจินดา กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูแทนคณบดี 21. รศ.นพ.ชาญชัย พานทองวิริยะกุล กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูแทนคณบดี 22. รศ.ดร.กุลธิดา ทวมสุข กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูแทนคณบดี 23. รศ.ดร.วนิดา แกนอากาศ กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูแทนผูอํานวยการ 24. รศ.ดร.รัชพล สันติวรากร กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจํา 25. ศ.นพ.บวรศิลป เชาวนชื่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจํา 26. ศ.ดร.สุพรรณี พรหมเทศ กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจํา 27. รศ.ดร.สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจํา 28. รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจํา 29. นางกาญจนศรี สิงหภู กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากขาราชการพลเรือนฯ 30. ผศ.ดร.เดนพงษ สุดภักดี กรรมการและเลขานุการสภามหาวิทยาลัย 31. นางสุภารัตน มูลศรี ผูชวยเลขานุการสภามหาวิทยาลัย

คูมือนักศึกษา 2559

3


คูมือนักศึกษา 2559

4 บทนํา 1.2 ผูบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน ในระดับมหาวิทยาลัย จะมีอธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาสูงสุด โดยมีรองอธิการบดีหรือผูชวยอธิการบดีฝายตางๆ ชวยปฏิบัติงานตามภารกิจที่อธิการบดีมอบหมาย ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ อธิการบดี รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย รองอธิการบดี รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม ฝายการคลังและทรัพยสิน รศ.ทพญ.ดร.นวรัตน วราอัศวปติ เจริญ ฝายการตางประเทศ ผศ.ดร.เดนพงษ สุดภักดี ฝายวิชาการและสื่อสารองคกร รศ.ดร.ลําปาง แมนมาตย ฝายวางแผนยุทธศาสตร ผศ.ลิขิต อมาตยคง ฝายทรัพยากรบุคคล ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล ฝายวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ ฝายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ อาจารยธันฐกรณ พงศพิมล ฝายโครงสรางพื้นฐาน รศ.เพียรศักดิ์ ภักดี ฝายพัฒนานักศึกษาและศิษยเกาสัมพันธ ผศ.วิชัย ณีรัตนพันธุ ที่ปรึกษาฝายรักษาความปลอดภัย ผศ.ดร.เกียรติ แสงอรุณ ฝายวิทยาเขตหนองคาย ผูชวยอธิการบดี ผศ.ดร.ภาวดี ภักดี อาจารยปาริชาต บุตรวงค ผศ. ทพ.ดร.ฑีฆายุ พลางกูร จอรนส อ.ดร.ภญ.อัจฉราวรรณ โตภาคงาม รศ.ดร.นันทรัตน โฆมานะสิน อ.ดร.ศิริพงษ เพียศิริ รศ.นพ.พจนชวิทย อภินิเวศ ผศ.ดร.จงรักษ หงษงาม รศ.ดร.สพญ.ธิดารัตน บุญมาศ ผศ.ดร.รัชฎา ตั้งวงคไชย นายบัญชา พระพล ผศ.กฤตภัทร ถาปาลบุตร อ.ดร.นรินทร จันทรศรี ผศ.จรูญศักดิ์ พันธวิศิษฎ ผศ.ดร.สมพงษ สิทธิพรหม อาจารยชาติภร เมืองโคตร มุงคุณแสน

ฝายทรัพยสิน ฝายการคลัง ฝายวิเทศสัมพันธ ฝายความรวมมือระหวางประเทศ ฝายวิชาการ ฝายสื่อสารองคกร ฝายวางแผนยุทธศาสตร ฝายทรัพยากรบุคคล ฝายวิจัย ฝายการถายทอดเทคโนโลยี ฝายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ ฝายโครงสรางพื้นฐาน ฝายพัฒนานักศึกษาและศิษยเกาสัมพันธ ฝายกีฬา ฝายรักษาความปลอดภัย ฝายวิทยาเขตหนองคาย


บทนํา ในระดับคณะ สถาบัน สํานัก ศูนย และวิทยาลัย จะมีคณบดี ผูอํานวยการสถาบัน สํานัก ศูนย และ วิทยาลัย เปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงาน ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ คณบดี รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน บัณฑิตวิทยาลัย รศ.ดร.มนตชัย ดวงจินดา คณะเกษตรศาสตร ศ.ดร.อภิรัฐ ศิริธราธิวัตร คณะวิศวกรรมศาสตร ผศ.ดร.สมเกียรติ ศรีจารนัย คณะวิทยาศาสตร ผศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์ คณะศึกษาศาสตร ผศ.ดร.เสาวมาศ คุณลาน เถื่อนนาดี คณะพยาบาลศาสตร รศ.นพ.ชาญชัย พานทองวิริยะกุล คณะแพทยศาสตร รศ.ดร.กุลธิดา ทวมสุข คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร รศ.ดร.พัชรี เจียรนัยกูร คณะเทคนิคการแพทย ผศ.ดร.สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน คณะสาธารณสุขศาสตร รศ.ทพญ.ดร.วรานุช ปติพัฒน คณะทันตแพทยศาสตร รศ.ดร.ไพบูลย ดาวสดใส คณะเภสัชศาสตร รศ.ดร.พรเทพ ถนนแกว คณะเทคโนโลยี รศ.น.สพ.ชูชาติ กมลเลิศ คณะสัตวแพทยศาสตร รศ.ดร.ชูพงษ ทองคําสมุทร คณะสถาปตยกรรมศาสตร รศ.ดร.เพ็ญศรี เจริญวานิช คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี รศ.เพียรศักดิ์ ภักดี คณะเศรษฐศาสตร(รักษาการ) รศ.ดร.นิยม วงศพงษคํา คณะศิลปกรรมศาสตร ผศ.กิตติบดี ใยพูล คณะนิติศาสตร รศ.ดร.วินิต ชินสุวรรณ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศธนวสุ วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น ศ.ดร.ละออศรี เสนาะเมือง วิทยาลัยนานาชาติ รศ.ดร.วิรัช จิ๋วแหยม คณะวิทยาศาสตรประยุกตและ วิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตหนองคาย รศ.ดร.อภิรัตน เพ็ชรศิริ คณบดีคณะสังคมศาสตรบูรณาการ วิทยาเขตหนองคาย ผศ.ดร.กริช แรงสูงเนิน คณบดีคณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตหนองคาย ผศ.ดร.รักชนก แสงภักดีจิต คณบดีคณะศิลปศาสตร วิทยาเขตหนองคาย

คูมือนักศึกษา 2559

5


คูมือนักศึกษา 2559

6 บทนํา ผูอํานวยการศูนย สํานัก สถาบัน อ.ดร.กิตติ์ เธียรธโนปจัย สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ผศ.ดร.รักพงษ เพชรคํา สํานักบริการวิชาการ รศ.พญ.วราภรณ เชื้ออินทร ศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ รศ.ดร.วนิดา แกนอากาศ สํานักหอสมุด รศ.ดร.ประพันธศักดิ์ ฉวีราช สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ รศ.ดร.บัณฑิตย เต็งเจริญกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา ผศ.ดร.ภาวดี ภักดี สํานักวิชาการศึกษาทั่วไป นายบัญชา พระพล สํานักวัฒนธรรม (รักษาการ) นางดารารัตน อุนคํา ผูอํานวยการสํานักงานวิทยาเขตหนองคาย (รักษาการ)

1.3 คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีการบริหารและรับผิดชอบดําเนินการโดยคณบดี ภายใตการกําหนดนโยบายและแผน การกํากับควบคุมดูแล และการใหคําปรึกษาและชี้แนะของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการ ประจําบัณฑิตวิทยาลัย ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ 1. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานกรรมการ 2. รองคณบดีฝายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 3. รองคณบดีฝายแผนและการประกันคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 4. รองคณบดีฝายวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 5. รศ.ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน กรรมการ 6. ศ.ดร.สุจินต บุรีรัตน กรรมการ 7. รศ.ดร.สุวรี ฤกษจารี กรรมการ 8. หัวหนาสํานักงานคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการและเลขานุการ


บทนํา 1.4 การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนมหาวิทยาลัยแหงแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่กอตั้งเพื่อเปนศูนยกลางใน การพั ฒ นาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และเป น ศู น ย ก ลางทางด า นวิ ช าการของภูมิภาคนี้ โดยไดมีพระบรม ราชโองการโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2509 การดําเนินการรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี เริ่มรับตั้งแตป พ.ศ. 2507 เปนตนมา โดยเปน การผลิตบัณฑิตในเฉพาะสาขาวิชาชีพที่เปนความตองการของประเทศ ตอมาเมื่อมหาวิทยาลัยพิจารณาถึงความ พรอมและศักยภาพของบุคลากรในสาขาวิชาตาง ๆ และเพื่อนําแหลงทรัพยากรทางการศึกษาที่มีอยูมาใชใหเปน ประโยชน มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงไดขยายการศึกษาขั้นสูงกวาปริญญาตรีขึ้น โดยเริ่มรับนักศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาตาง ๆ ตั้งแตปการศึกษา 2523 มาจนถึงปจจุบัน ปจจุบันมหาวิทยาลัยขอนแกนมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เปดสอนจํานวนทั้งสิ้น 244 หลักสูตร แบงเปนหลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวน 2 หลักสูตร ระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน 138 หลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวน 16 หลักสูตร ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวน 88 หลักสูตร ในจํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีหลักสูตรที่เปนหลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรที่ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ 35 หลักสูตร ในการศึกษาหลักสูตรเหลานี้ นักศึกษาจะศึกษาในคณะตางๆ ของมหาวิทยาลัย โดยมี บัณฑิตวิทยาลัยทําหนาที่ในการประสานงานและสนับสนุนการดําเนินการจัดการศึกษา จํานวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่กําลังศึกษาในหลักสูตรตางๆ ในภาคปลาย ปการศึกษา 2558 มี จํานวนทั้งสิ้นประมาณ 7,140 คน แบงออกเปนนักศึกษาในกลุมตางๆ 3 กลุม คือ กลุมมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร จํานวน 3,173 คน กลุมวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวน 2,021 คน กลุมวิทยาศาสตรเทคโนโลยี จํานวน 1,946 คน และในจํานวนนักศึกษาเหลานี้เปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวน 1 คน ระดับปริญญา โท 5,258 คน ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสู ง จํานวน 269 คน และระดับปริ ญญาเอก 1,612 คน (ขอมูล ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ 2559)

คูมือนักศึกษา 2559

7


คูมือนักศึกษา 2559

8 บทนํา 1.5 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อใหการปฏิรูปการเรียนรูโดยเนนนักศึกษาเปนศูนยกลางของกระบวนการเรียนการสอน โดยเปนไปตาม เจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 โดยมุงพัฒนาใหนักศึกษาสามารถศึกษาคนควาและ เรียนรูดวยตนเอง รูจักคิดวิเคราะห และประยุกตใชความรู รูจักทํางานเปนทีมและมีโอกาสฝกทักษะจากการปฏิบัติจริง รวมทั้งมีจิตสํานึกในเรื่องคุณ ธรรม จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ดังนั้นจากการประชุมสภา มหาวิทยาลัยครั้งที่ 3/2545 เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2545 สภามหาวิทยาลัยจึงไดเห็นชอบใหกําหนดนโยบายดานการ เรียนการสอน และคุณลักษณะของบัณฑิตที่มีคุณภาพและพึงประสงค ดังนี้ นโยบายดานการเรียนการสอน “ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง” บัณฑิตที่มีคุณภาพ หมายถึง “บัณฑิตที่มีความรูความสามารถและมีทักษะในวิชาชีพ รวมทั้งทักษะในการเรียนรู และเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต” คุณลักษณะของบัณฑิตที่มีคุณภาพ 1. มีความรูความสามารถและทักษะในการสรางองคความรูโดยการวิจัย (Research Skills) 2. มีความสามารถและทักษะในการสื่อสาร โดยครอบคลุมทักษะดานการพูด การฟง การอาน และการเขียน 3. มีความสามารถและทักษะในการทํางานเปนทีม เชน กระบวนการคิด การเรียนรูและ ทักษะการแกปญหารวมกัน (Teamwork Skills) คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค 1. มีความรูความสามารถในการคิด วิเคราะหทางวิชาการอยางมีเหตุผล 2. มีจริยธรรม คุณธรรมและความซื่อสัตยในวิชาชีพ 3. มีความรับผิดชอบตอสังคม และปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี 4. สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดดี 5. มีความสามารถในการใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง 6. มีความสามารถในการใชภาษาตางประเทศในระดับที่สื่อสารไดอยางนอย 1 ภาษา 7. มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม 8. สามารถประกอบวิชาชีพไดอยางมีคุณภาพและสอดคลองกับความตองการของผูใช 9. มีจิตสํานึกในการใฝศึกษาไดอยางตอเนื่อง 10. มีวิจารณญาณและความสามารถในการแกปญหา 11. มีวินัยและคานิยมที่ดี 12. เสียสละ อุทิศตนและเห็นแกประโยชนสวนรวม


บทนํา คุณลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน นอกเหนือจากคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัยขอนแกนแลว ผูสําเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตควรมีคุณลักษณะดังนี้ 1. มีความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง สามารถแสวงหาความรูใหมอยางอิสระและมีความสนใจใฝ รูอยางตอเนื่อง 2. มีความสามารถในการสรางสรรคความกาวหนาทางวิชาการไดอยางตอเนื่อง 3. มีความสามารถในการสื่อความหมาย ไดแก - การแสดงความคิดเห็น - การเขียนบทความ - การเสนอเรื่องทางวิชาการตอที่ประชุม - การใชโสตทัศนอุปกรณ - การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. มีความสามารถเชิงวิจารณบนพื้นฐานวิชาการและเหตุผล 5. มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในระดับที่สื่อสารได เอกลักษณของบัณฑิตวิทยาลัย “การทํางานแบบความรวมมือและเชื่อมโยง (COLLABORATION AND CONNECTION)” อัตลักษณของบัณฑิตวิทยาลัย “บัณฑิตพรอมทํางานบนพื้นฐานการวิจัย (READY TO WORK ON RESEARCH)”

คูมือนักศึกษา 2559

9


คูมือนักศึกษา 2559

10 บทนํา 1.6 ปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2558 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 16/2559) เรื่อง ปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจําปการศึกษา 2559 ----------------------เพื่อใหการดําเนินการดานการเรียนการสอน ของระดับบัณฑิตศึกษา ประจําปการศึกษา 2559 เปนไปดวย ความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ อาศั ยอํ านาจตามมาตรา 37(1) แห งพระราชบัญ ญัติ มหาวิ ทยาลัย ขอนแกน พ.ศ.2558 ประกอบกั บ มติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแกน ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2558 เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2558 เรื่อง มอบอํานาจ ใหอธิการบดีและมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน ในการปะชุม ครั้งที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2558 จึงกําหนดปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจําปการศึกษา 2559 ดังนี้ ลําดับ

รายการ

1

นักศึกษารหัสขึ้นตนดวย 59 รายงานตัวขึ้นทะเบียน เปนนักศึกษา ผานเว็บไซต http://reg.kku.ac.th และชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ตามใบแจงยอด การชําระเงิน และชําระเงินที่ธนาคาร ที่ทําการ ไปรษณีย หรือเคานเตอรเซอรวิส -สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาตน

ภาคตน

ภาคการศึกษา ภาคปลาย

ภาคพิเศษ

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาปลาย

วันจันทรที่ 23 พ.ค. วันศุกรที่ 27 พ.ค. 2559 -

2

นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 59 ตรวจสอบขอมูลการ ชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา การรายงานตัวขึ้น ทะเบียนเปนนักศึกษาผานเว็บไซต

วันอังคารที่ 24 พ.ค. -วันพุธที่ 31 ส.ค. 2559

วันจันทรที่ 19 ธ.ค.วันพุธที่ 21 ธ.ค. 2559 วันอังคารที่ 20 ธ.ค. 2559 วันศุกรที่ 29 ม.ค.2560

3

นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 58 หรือนักศึกษาที่เขา ศึกษากอนปการศึกษา 2558 บันทึกขอมูลการ ลงทะเบียนวิชาเรียนผาน เว็บไซต หรือพิมพใบแจง ยอดการชําระเงิน หรือชําระเงินที่ธนาคาร ที่ทําการ ไปรษณีย หรือเคานเตอรเซอรวิส นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 58 หรือนักศึกษาที่เขา ศึกษากอนปการศึกษา 2558 รักษาสถานภาพการเปน นักศึกษา หรือลาพักการศึกษา ที่สํานักบริหารและพัฒนา วิชาการหรือพิมพใบแจงยอดการชําระเงิน ชําระเงินที่ ธนาคาร ที่ทําการไปรษณีย หรือเคานเตอรเซอรวิส

วันจันทรที่ 18 ก.ค. - วันพุธที่ 27 ก.ค. 2559

วันจันทรที่ 26 ธ.ค. 2559 -วันพฤหัสบดี ที่ 5 ม.ค.2560

วันพุธที่ 22 พ.ค. – วันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ค.2560

วันจันทรที่ 18 ก.ค. - วันพุธที่ 27 ก.ค. 2559

วันจันทรที่ 26 ธ.ค. 2559 -วันพฤหัสบดี ที่ 5 ม.ค.2560

วันจันทรที่ 22 พ.ค. วันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ค.2560

4

-

-

-


บทนํา ลําดับ

รายการ

5

นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 58 หรือนักศึกษาที่เขา ศึกษากอนปการศึกษา 2558 ตรวจสอบขอมูลการ ชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา การรักษาสถานภาพ การเปนนักศึกษา หรือลาพักการศึกษา หรือการ ลงทะเบียนวิชาเรียน ผานเว็บไซต นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 59 รับการปฐมนิเทศ หรือพบอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาที่มีรหัสขึ้นตนดวย 59 ลงทะเบียนวิชาเรียนผาน เว็บไซต

6 7

8 9

วันประกาศรายชื่อนักศึกษาพนสภาพการเปน นักศึกษาเนื่องจาก มีผลการเรียนต่ํากวาเกณฑ นักศึกษารหัสขึ้นตนดวย 59 ลงทะเบียนวิชาเรียน และชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ตามใบแจง ยอดการชําระเงินที่ธนาคาร ที่ทําการไปรษณีย หรือ เคานเตอรเซอรวิส - สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาตน

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาปลาย 10

วันเปดภาคการศึกษา

11

วันรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษาลาชา หรือวันลาพัก การศึกษาลาชา หรือวันลงทะเบียนวิชาเรียนลาชาดวย ตนเองผานเว็บไซต หรือเพิ่มวิชาเรียนดวยตนเองผาน เว็บไซต หรือพิมพใบแจงยอดการชําระเงินและชําระเงินที่ ธนาคาร ที่ทําการไปรษณีย หรือเคานเตอรเซอรวิส นักศึกษาตรวจสอบขอมูลการชําระเงินคาธรรมเนียม การศึกษาการรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา หรือ ลาพักการศึกษา หรือลงทะเบียนวิชาเรียน หรือเพิ่ม วิชาเรียนผานเว็บไซต วันถอนรายวิชาเรียนดวยตนเองผานเว็บไซต โดย รายวิชานั้นไมปรากฏในทรานสคริปต

12

13

14

วันที่นักศึกษายื่นคํารองขอเทียบโอนรายวิชา

ภาคการศึกษา ภาคปลาย วันอังคารที่ 27 ธ.ค. 2559– วันศุกรที่ 29 ม.ค. 2560

ภาคพิเศษ วันอังคารที่ 23 พ.ค.วันศุกรที่16 มิ.ย. 2560

วันจันทรที่ 1 ส.ค. 2559 วันจันทรที่ 1 ส.ค.– วันพฤหัสบดีที่ 4 ส.ค. 2559 วันพฤหัสบดีที่ 16 มิ.ย.2559

วันศุกรที่ 6 ม.ค. 2560

-

วันศุกรที่ 6 ม.ค. – วันอาทิตยที่ 8 ม.ค. 2560 วันศุกรที่ 6 ม.ค.2560

วันจันทรที่ 22พ.ค. – วันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ค.2560 -

-

วันศุกรที่ 6 ม.ค. วันอาทิตยที่ 8 ม.ค. 2560

-

-

วันจันทรที่ 8 ส.ค. 2559 วันจันทรที่ 8 ส.ค. วันศุกรที่ 19 ส.ค. 2559

วันจันทรที่ 9 ม.ค.2560

วันจันทรที่ 22 พ.ค. - วันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ค.2560 วันจันทรที่ 22 พ.ค. - วันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ค.2560 วันจันทรที่ 29 พ.ค. 2560 วันจันทรที่ 29 พ.ค.วันพุธที่ 31 พ.ค. 2560

ภาคตน วันอังคารที่ 19 ก.ค. - วันพุธที่ 31 ส.ค. 2559

วันจันทรที่ 9 ม.ค. – วันศุกรที่ 20 ม.ค. 2560

วันอังคารที่ 9 ส.ค.วันพุธที่ 31 ส.ค. 2559

วันอังคารที่ 10 ม.ค. - วันศุกรที่ 29 ม.ค. 2560

วันอังคารที่ 30 พ.ค.- วันศุกรที่ 16 มิ.ย. 2560

วันจันทรที่ 8 ส.ค. วันศุกรที่ 2 ก.ย. 2559 วันจันทรที่ 8 ส.ค.วันจันทรที่ 22 ส.ค. 2559

วันจันทรที่ 9 ม.ค. – วันศุกรที่ 3 ก.พ. 2560

วันจันทรที่ 29 พ.ค.วันอังคารที่ 6 มิ.ย. 2560 -

วันจันทรที่ 9 ม.ค. – วันจันทรที่ 23 ม.ค. 2560

คูมือนักศึกษา 2559

11


คูมือนักศึกษา 2559

12 บทนํา ลําดับ

รายการ

15

วันสุดทายของการขอเปดรายวิชาและวันสุดทายที่ คณะสงการขอเปลี่ยนแปลง มข.30 วันสุดทายที่คณะสงการขอปดรายวิชา ใหสํานักบริหารและ พัฒนาวิชาการ วันไหวครู

16 17 18

20

วันประกาศรายชื่อนักศึกษาที่พนสภาพการเปน นักศึกษาเนื่องจากฝาฝนระเบียบการลงทะเบียนและ การชําระคาธรรมเนียมการศึกษา วันถอนวิชาเรียนโดยที่รายวิชานั้นไดสัญลักษณ W โดย รายวิชานั้นปรากฎในทรานสคริปต ที่สํานักบริหารและพัฒนา วิชาการ วันลอยกระทง ประจําป พ.ศ.2559

21 22

วันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย วันสุดทายของการเรียน

23

วันสอบปลายภาค

24

วันปดภาคการศึกษา

25

วันสุดทายที่คณะสงผลการเรียน ที่ผานความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจําคณะ ใหสํานักบริหารและพัฒนา วิชาการ วันสุดทายของการสอบรายงานการศึกษาอิสระหรือ วิทยานิพนธสําหรับนักศึกษาที่ครบระยะเวลาการศึกษาตาม หลักสูตร วันสุดทายของการสงรายงานการศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณ เขาปกเรียบรอยใหกับคณะที่สังกัด หรือวิทยานิพนธ ฉบับ สมบูรณเขาปกเรียบรอย ใหบัณฑิตวิทยาลัย สําหรับนักศึกษา ที่ครบระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร วันสุดทายของการสงรายงานการศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณที่ เขาปกเรียบรอยใหกับคณะที่สังกัด หรือวิทยานิพนธฉบับ สมบูรณที่เขาปกเรียบรอยใหบัณฑิตวิทยาลัย สําหรับผูที่จะ สําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น โดยไมตองรักษา สถานภาพในภาคการศึกษาถัดไป

19

26

27

28

ภาคตน วันศุกรที่ 19 ส.ค. 2559 วันศุกรที่ 2 ก.ย.2559 วันพฤหัสบดีที่ 8 ก.ย. 2559 วันศุกรที่ 2 ก.ย. 2559 วันจันทรที่ 5 ก.ย. – วันศุกรที่ 30 ก.ย. 2559 วันจันทรที่ 14 พ.ย. 2559 วันอาทิตยที่ 27 พ.ย.2559 วันจันทรที่ 28 พ.ย.วันจันทรที่ 19 ธ.ค. 2559 วันอังคารที่ 20 ธ.ค. 2559 วันพฤหัสบดีที่ 29 ธ.ค.2559

ภาคการศึกษา ภาคปลาย วันศุกรที่ 20 ม.ค. 2560 วันศุกรที่ 3 ก.พ.2560 -

ภาคพิเศษ วันพุธที่ 31 พ.ค. 2560 วันพุธที่ 7 มิ.ย. 2560 -

วันศุกรที่ 3 ก.พ.2560

-

วันจันทรที่ 6 ก.พ. วันศุกรที่ 3 มี.ค. 2560

วันพุธที่ 7 มิ.ย. – วันศุกรที่ 16 มิ.ย. 2560 -

-

วันพุธที่ 25 ม.ค.2560 วันอาทิตยที่ 30 เม.ย. วันศุกรที่ 7 ก.ค.2560 2560 วันจันทรที่ 1 พ.ค. –วัน วันพุธที่ 12 ก.ค. – จันทรที่ 22 พ.ค. 2560 วันศุกรที่ 14 ก.ค. 2560 วันอังคารที่ 23 พ.ค. วันเสารที่ 15 ก.ค. 2560 2560 วันจันทรที่ 29 พ.ค. วันจันทรที่ 21 ก.ค. 2560 2560

วันพฤหัสบดีที่ 15 ก.ย.2559

วันจันทรที่ 24 เม.ย. 2560

-

วันศุกรที่ 7 ต.ค. 2559

วันพุธที่ 11 พ.ค.2560

-

วันพุธที่ 18 ม.ค. 2560

วันสุดทายของการ ลงทะเบียนชาของภาค การศึกษาตนป การศึกษา 2560

วันสุดทายของการ ลงทะเบียนชาของ ภาคการศึกษาตนป การศึกษา 2560


บทนํา ลําดับ

รายการ

29

วันสุดทายของการสงรายงานการศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณที่ เขาปกเรียบรอยใหกับคณะที่สังกัด หรือวิทยานิพนธฉบับ สมบูรณที่เขาปกเรียบรอยใหบัณฑิตวิทยาลัย สําหรับ นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาและมีสิทธิ์เขารับพระราชทาน ปริญญาบัตร ประจําปพ.ศ. 2559 วันสุดทายที่คณะกรรมการประจําคณะใหความ เห็นชอบใหนักศึกษาสําเร็จการศึกษาและมีสิทธิ์เขารับ พระราชทานปริญญาบัตร ประจําป พ.ศ. 2559 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําป พ.ศ. 2559 วันสุดทายของการจัดทํารายงานผลการดําเนินการ ของรายวิชาตามแบบ มคอ.5 และรายงานผลการ ดําเนินการของประสบการณภาคสนามตามแบบ มคอ.6 โดยบันทึกผานเว็บไซต http://tqf.kku.ac.th วันสุดทายของการจัดทํารายงานผลการดําเนินการ ของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 โดยบันทึกผานเว็บไซต http://tqf.kku.ac.th

30

31 32

33

กําหนดใหงดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2559 2. วันจันทรที่ 14 พฤศจิกายน 2559 3. ประมาณเดือนธันวาคม 2559 4. วันพุธที่ 25 มกราคม 2560

ภาคตน วันศุกรที่ 30 ก.ย. 2559

ภาคการศึกษา ภาคปลาย -

วันศุกรที่ 28 ต.ค. 2559

-

ภาคพิเศษ -

-

ประมาณเดือนธันวาคม 2559 วันพฤหัสบดีที่ 19 วันพฤหัสบดีที่ 22 มิ.ย. วันอังคารที่ 15ส.ค. ม.ค.2560 2560 2560

วันพุธที่ 13 ก.ย. 2560

วันพุธที่ 13 ก.ย.2560

วันไหวครู วันลอยกระทง ประจําป พ.ศ. 2559 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําป พ.ศ. 2559 วันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย

ประกาศ ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) เดนพงษ สุดภักดี (ผูชวยศาสตราจารยเดนพงษ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝายวิชาการและสื่อสารองคกร ปฏิบัติการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแกน

วันพุธที่ 13 ก.ย. 2560

คูมือนักศึกษา 2559

13


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 โดยที่เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ไดประกาศใชมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว จึง มีความจําเปนตองมีการปรับปรุงเกณฑมาตรฐานดังกลาวสําหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาที่เหมาะสมกับ พลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว โดยมีเจตนารมณใหเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 รองรับการบริหารจัดการหลักสูตรใหไดคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และ ตามจุดเนนของแตละสาขาวิชา ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 16 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” ดังตอไปนี้ 1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้เรียกวา “เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” 2. ใหใชประกาศกระทรวงนี้สาหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต (การศึกษาหลังปริญญาตรี) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (การศึกษาหลังประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโท) ระดับปริญญาโท และ ระดั บ ปริ ญ ญาเอกทุ ก สาขาวิ ช า สํ า หรั บ หลั ก สู ต รที่ จ ะเป ด ใหม แ ละหลั ก สู ต รเก า ที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ใหม ข อง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน และใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 3. ใหยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548” ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2548 4. ในประกาศกระทรวงนี้ “อาจารยประจํา” หมายถึง บุคคลที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหนาที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหนาที่เต็มเวลา สําหรับอาจารยประจาที่สถาบันอุดมศึกษารับเขาใหมตั้งแตเกณฑมาตรฐานนี้เริ่มบังคับใช ตองมี คะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษไดตามเกณฑที่กําหนดไวในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง มาตรฐานความสามารถภาษาอังกฤษของอาจารยประจํา “อาจารยประจําหลักสูตร” หมายถึง อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของ หลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งมีหนาที่สอนและคนควาวิจัยในสาขาวิชาดังกลาว ทั้งนี้ สามารถเปนอาจารยประจําหลักสูตร หลายหลักสูตรไดในเวลาเดียวกัน แตตองเปนหลักสูตรที่อาจารยผูนั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของ หลักสูตร “อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรที่มีภาระหนาที่ในการบริหาร และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแตการวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการ พัฒนาหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรตองอยูประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเปน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรเกินกวา 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได ยกเวนพหุวิทยาการหรือสหวิทยาการ ใหเปน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรไดอีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้ําไดไมเกิน 2 คน

คูมือนักศึกษา 2559

17


คูมือนักศึกษา 2559

18 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ “อาจารยพิเศษ” หมายถึง ผูสอนที่ไมใชอาจารยประจํา 5. ปรัชญา และวัตถุประสงค 5.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มุงใหมีความสัมพันธ สอดคลองกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบัน อุดมศึกษา และมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เนนการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพใหมีความชํานาญใน สาขาวิชาเฉพาะ เพื่อใหมีความรูความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานไดดียิ่งขึ้น โดยเปนหลักสูตรการศึกษาที่มี ลักษณะเบ็ดเสร็จในตัวเอง 5.2 หลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก มุงใหมีความสัมพันธสอดคลองกับแผนพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐาน วิชาการและวิชาชีพที่เปนสากล เนนการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ที่มีความรูความสามารถระดับสูงใน สาขาวิชาตาง ๆ โดยกระบวนการวิจัยเพื่อใหสามารถบุกเบิกแสวงหาความรูใหมไดอยางมีอิสระ รวมทั้งมี ความสามารถในการสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตรที่ตนเชี่ยวชาญกับ ศาสตรอื่นไดอยางตอเนื่อง มีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ทั้งนี้ในระดับปริญญาโท มุงใหมี ความรูความเขาใจในกระบวนการสรางและประยุกตใชความรูใหมเพื่อการพัฒนางานและสังคม ในขณะที่ระดับ ปริญญาเอก มุงใหมีความสามารถในการคนควาวิจัยเพื่อสรรคสรางองคความรูใหมหรือนวัตกรรม ซึ่งเปนประโยชน ตอการพัฒนางาน สังคม และประเทศ 6. ระบบการจัดการศึกษา ใชระบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห สถาบันอุดมศึกษาที่เปดการศึกษาภาคฤดูรอน ใหกําหนด ระยะเวลาและจํานวนหนวยกิต โดยมีสัดสวนเทียบเคียงกันไดกับการศึกษาภาคปกติ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาค ใหถือแนวทาง ดังนี้ ระบบไตรภาค 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี ระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 12 สัปดาห โดย 1 หนวยกิตระบบไตรภาค เทียบไดกับ 12/15 หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ 4 หนวยกิต ระบบทวิภาค เทียบไดกับ 5 หนวยกิตระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 4 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี ระยะเวลาศึกษา ไมนอยกวา 10 สัปดาห โดย 1 หนวยกิตระบบจตุรภาค เทียบไดกับ 10/15 หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ 2 หนวยกิต ระบบทวิภาค เทียบไดกับ 3 หนวยกิตระบบจตุรภาค สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระบบอื่น ใหแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้งรายละเอียดการเทียบเคียงหนวยกิตกับระบบทวิภาคไวในหลักสูตรใหชัดเจนดวย 7. การคิดหนวยกิต 7.1 รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค 7.2 รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ให มีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7.3 การฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค 7.4 การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ไดรับมอบหมาย ที่ใชเวลาทําโครงงาน หรือกิจกรรมนั้นไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค 7.5 การคนควาอิสระ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมี คาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค 7.6 วิทยานิพนธ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคา เทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค 8. โครงสรางหลักสูตร 8.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอด หลักสูตรไมนอยกวา 24 หนวยกิต 8.2 ปริญญาโท ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 36 หนวยกิต โดยแบง การศึกษาเปน 2 แผน คือ แผน ก เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธ ดังนี้ แบบ ก 1 ทําเฉพาะวิทยานิพนธซึ่งมีคาเทียบไดไมนอยกวา 36 หนวยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจ กําหนด ใหเรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ไดโดยไมนับหนวยกิต แตจะตองมี ผลสัมฤทธิ์ตามที่สถาบันอุดมศึกษากําหนด แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธซึ่งมีคาเทียบไดไมนอยกวา 12 หนวยกิต และศึกษางานรายวิชาอีก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต แผน ข เปนแผนการศึกษาที่เนนการศึกษางานรายวิชา โดยไมตองทําวิทยานิพนธ แตตองมีการ คนควาอิสระไมนอยกวา 3 หนวยกิต และไมเกิน 6 หนวยกิต 8.3 ปริญญาเอก แบงการศึกษาเปน 2 แบบ โดยเนนการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและนัก วิชาชีพชั้นสูง คือ แบบ 1 เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธที่กอใหเกิดความรูใหม สถาบันอุดมศึกษาอาจกําหนดใหเรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ไดโดยไมนับหนวยกิต แตจะตองมีผลสัมฤทธิ์ตามที่สถาบันอุดมศึกษากําหนด ดังนี้ แบบ 1.1 ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 48 หนวยกิต แบบ 1.2 ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 72 หนวยกิต ทั้งนี้ วิทยานิพนธตาม แบบ 1.1 และแบบ 1.2 จะตองมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน แบบ 2 เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธที่มีคุณภาพสูงและกอใหเกิด ความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้ แบบ 2.1 ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 36 หนวยกิต และ ศึกษางานรายวิชาอีกไมนอยกวา 12 หนวยกิต แบบ 2.2 ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 48 หนวยกิต และ ศึกษางานรายวิชาอีกไมนอยกวา 24 หนวยกิต ทั้งนี้ วิทยานิพนธตามแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 จะตองมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน

คูมือนักศึกษา 2559

19


คูมือนักศึกษา 2559

20 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 9. การรับและเทียบโอนหนวยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเวนหรือเทียบโอนหนวยกิตรายวิชา หรือ วิทยานิพนธจากหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ใหกับนักศึกษาที่มีความรู ความสามารถ ที่สามารถวัดมาตรฐานได ทั้งนี้ นักศึกษาตองศึกษาใหครบตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในเกณฑ มาตรฐานหลักสูตร และเปนไปตามหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเขาสูการศึกษาในระบบ และ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเทียบโอนของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อนึ่ง ผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หากเขาศึกษาตอระดับปริญญาโท ในสาขาวิชา เดียวกันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน ใหเทียบโอนหนวยกิตไดไมเกินรอยละ 40 ของหลักสูตร ที่จะเขาศึกษา 10. จํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย 10.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.1.1 อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมี ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ป ยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยประจําหลักสูตรตองมี คุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.1.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการ ที่ไมใช สวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่กําหนดใน การพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาตองเสนอจํานวนและ คุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 10.1.3 อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้นต่ํา ปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และตองมี ประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงาน ทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการ อยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาโท แตทั้งนี้ตองมี คุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาที่สอนมาแลวไมนอยกวา 6 ป ทั้งนี้อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารยประจําเปนผูรับผิดชอบรายวิชานั้น สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยผูสอนตองมีคุณสมบัติ เปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 10.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ํา ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้ง ใหบุคคล ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใช สวน หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการ พิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวนหรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิ ของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 10.2.3 อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทาหรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่ สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และตองมีประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการ ที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาเอก แตทั้งนี้ตองมี คุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาที่สอนมาแลวไมนอยกวา 4 ป ทั้งนี้อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารยประจําเปนผูรับผิดชอบรายวิชานั้น สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารยผูสอนตองมีคุณสมบัติเปนไป ตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.3 ปริญญาโท 10.3.1 อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมี ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ป ยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 10.3.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย 3 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใช สวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดใน การพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย

คูมือนักศึกษา 2559

21


คูมือนักศึกษา 2559

22 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาตองเสนอจํานวนและ คุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 10.3.3 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักและการคนควาอิสระ ตองเปนอาจารยประจํา หลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และ มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ป ยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 2) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและคุณสมบัติ ดังนี้ อาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธหลัก สําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่ เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการคนควาอิสระ ไมนอยกวา 10 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกจะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับ หัวขอวิทยานิพนธหรือการคนควาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแหงนั้น และแจง คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 10.3.4 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตรและ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไมนอยกวา 3 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตองไมเปนอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธหลักหรืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม โดยอาจารยผูสอบวิทยานิพนธตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และ ผลงานทางวิชาการดังนี้ 1) กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ํา ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคล ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 2) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และ มีผลงาน ทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการคนควาอิสระ ไมนอยกวา 10 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกจะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและ ประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการคนควาอิสระ โดยผานความ เห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแหงนั้น และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 10.3.5 อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้นต่ํา


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และตองมี ประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงาน ทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการ อยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ทั้งนี้ อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย ประจําเปนผูรับผิดชอบรายวิชานั้น 10.4 ปริญญาเอก 10.4.1 อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ํา ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้ง ใหบุคคล ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 10.4.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย 3 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวน หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการ พิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาตองเสนอจํานวนและ คุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 10.4.3 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงาน ทาง วิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตาม หลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ป ยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 2) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและคุณสมบัติดังนี้ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมีคุณวุฒิและผลงานทาง วิชาการเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก สําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่ เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 5 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกจะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผานความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแหงนั้น และแจงคณะกรรมการ การอุดมศึกษารับทราบ

คูมือนักศึกษา 2559

23


คูมือนักศึกษา 2559

24 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 10.4.4 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตรและ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไมนอยกวา 5 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบตองเปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก โดย อาจารยผูสอบวิทยานิพนธตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการดังนี้ 1) กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ํา ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคล ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 2) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงาน ทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรง หรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 5 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกจะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผานความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแหงนั้น และแจงคณะกรรมการ การอุดมศึกษารับทราบ 10.4.5 อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่ สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และตองมีประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวิชาการ ที่ ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่ กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ในกรณีรายวิชาที่สอนไมใชวิชาในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมใหอาจารยที่มีคุณวุฒิ ระดับปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการต่ํากวารองศาสตราจารย ทําหนาที่อาจารยผูสอนได ทั้งนี้ อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย ประจําเปนผูรับผิดชอบรายวิชานั้น 11. ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ 11.1 อาจารยประจําหลักสูตร 1 คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของนักศึกษา ปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลักเกณฑ ดังนี้ กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมไดไมเกิน 5 คน ตอภาคการศึกษา กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และดํารงตําแหนงระดับผูชวย ศาสตราจารยขึ้นไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารยขึ้นไป และมีผลงานทาง วิชาการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมไดไมเกิน 10 คน ตอภาคการศึกษา กรณี อ าจารย ป ระจํ า หลั ก สู ต รมี คุ ณ วุ ฒิ ป ริ ญ ญาเอกหรื อ เที ย บเท า และดํ า รงตํ า แหน ง ศาสตราจารยและมีความจําเปนตองดูแลนักศึกษาเกินกวาจํานวนที่กําหนดใหเสนอตอสภาสถาบันพิจารณา แตทั้งนี้


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ตองไมเกิน 15 คนตอภาคการศึกษา หากมีความจําเปนตองดูแลนักศึกษามากกวา 15 คน ใหขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนรายกรณี 11.2 อาจารยประจําหลักสูตร 1 คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ของนักศึกษา ปริญญาโทไดไมเกิน 15 คน หากเปนอาจารยที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ ใหคิดสัดสวนจํานวน นักศึกษาที่ทําวิทยานิพนธ 1 คน เทียบไดกับจํานวนนักศึกษาที่คนควาอิสระ 3 คน แตทั้งนี้รวมแลวตองไมเกิน 15 คนตอภาคการศึกษา 11.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ตองทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ/หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ และ/หรืออาจารยผูสอนในหลักสูตรนั้นดวย 12. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 12.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา 12.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโท หรือเทียบเทา 12.3 ปริญญาโท จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา 12.4 ปริญญาเอก จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาที่มีผลการเรียน ดีมาก หรือปริญญาโทหรือเทียบเทา และมีผลการสอบภาษาอังกฤษไดตามเกณฑที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนด 13. การลงทะเบียนเรียนและระยะเวลาการศึกษา ใหลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 15 หนวยกิตในแตละภาค การศึกษาปกติ และใหใชเวลาศึกษาในแตละหลักสูตร ดังนี้ 13.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน 3 ป การศึกษา 13.2 ปริญญาโท ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน 5 ปการศึกษา 13.3 ปริญญาเอก ผูที่สําเร็จปริญญาตรีแลวเขาศึกษาตอในระดับปริญญาเอกใหใชเวลาศึกษา ไมเกิน 8 ปการศึกษา สวนผูที่สําเร็จปริญญาโทแลวเขาศึกษาตอในระดับปริญญาเอกใหใชเวลาศึกษาไมเกิน 6 ปการศึกษา การลงทะเบียนเรียนสําหรับผูเขาศึกษาแบบไมเต็มเวลา ใหสถาบันอุดมศึกษากําหนดจํานวน หนวยกิตที่ใหลงทะเบียนเรียนไดในแตละภาคการศึกษาปกติ โดยเทียบเคียงกับจํานวนหนวยกิต ที่กําหนดขางตน ในสัดสวนที่เหมาะสม หากสถาบันอุดมศึกษาใดมีเหตุผลและความจําเปนพิเศษ การลงทะเบียนเรียนที่มีจํานวน หนวยกิต แตกตางไปจากเกณฑขางตนก็อาจทําได แตทั้งนี้ตองไมกระทบกระเทือนตอมาตรฐานและคุณภาพ การศึกษา 14. เกณฑการสําเร็จการศึกษา นักศึกษาจะตองปฏิบัติ ดังนี้ 14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ตองเรียนครบตามจํานวนหนวยกิต ที่กําหนดไวในหลักสูตร และตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเทา 14.2 ปริญญาโท 14.2.1 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้น สุดทาย โดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแตงตั้ง และตองเปนระบบเปดใหผูสนใจเขารับฟงได สําหรับ

คูมือนักศึกษา 2559

25


คูมือนักศึกษา 2559

26 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพใน วารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการ พิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ 14.2.2 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยจะตอง ไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเทา พรอมทั้งเสนอวิทยานิพนธและสอบ ผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแตงตั้ง และตองเปนระบบเปด ให ผูสนใจเขารับฟงได ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอย ไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ หรือนําเสนอ ตอที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นําเสนอฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกลาว 14.2.3 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยจะตองไดระดับ คะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเทา และสอบผานการสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวยขอเขียนและ/หรือปากเปลาในสาขาวิชานั้น พรอมทั้งเสนอรายงานการ คนควาอิสระและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแตงตั้ง โดยเปน ระบบเปดใหผูสนใจเขารับฟงได และรายงานการคนควาอิสระหรือสวนหนึ่งของรายงานการคนควาอิสระตองไดรับ การเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบคนได 14.3 ปริญญาเอก 14.3.1 แบบ 1 สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเปน ผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการ ที่ สถาบันอุดมศึกษานั้นแตงตั้ง ซึ่งจะตองประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและตองเปนระบบ เปดใหผูสนใจเขารับฟงได สําหรับผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับ การยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงาน ทางวิชาการ อยางนอย 2 เรื่อง 14.3.2 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยจะตองไดระดับ คะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเทา สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเปนผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดย คณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแตงตั้ง ซึ่งจะตองประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และตองเปนระบบเปดใหผูสนใจเขารับฟงได สําหรับผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรือ อยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 15. ชื่อประกาศนียบัตรและชื่อปริญญา 15.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ใหใชชื่อวา “ประกาศนียบัตรบัณฑิต (Graduate Diploma)” อักษรยอ “ป.บัณฑิต (Grad. Dip.)” แลวตามดวยชื่อสาขาวิชาตอทาย 15.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหใชชื่อวา “ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (Higher Graduate Diploma)” อักษรยอ “ป.บัณฑิตชั้นสูง (Higher Grad. Dip.)” แลวตามดวยชื่อสาขาวิชาตอทาย 15.3 ปริญญาโทและปริญญาเอก สถาบันอุดมศึกษาที่มีการตราพระราชกฤษฎีกา วาดวย ปริญญาในสาขาวิชา และอักษรยอสําหรับสาขาวิชาไวแลว ใหใชชื่อปริญญาตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกานั้น ใน กรณี ที่ ป ริ ญ ญาใดยั ง มิ ไ ด กํ า หนดชื่ อ ไว ใ นพระราชกฤษฎี ก า หรื อ กรณี ที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใดไม มี ก ารตรา พระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาในสาขาวิชา และอักษรยอสําหรับสาขาวิชาใหใชชื่อปริญญาตามหลักเกณฑการ กําหนดชื่อปริญญา ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด 16. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดย มีองคประกอบในการประกันคุณภาพอยางนอย 6 ดาน คือ (1) การกํากับมาตรฐาน (2) บัณฑิต (3) นักศึกษา (4) คณาจารย (5) หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน (6) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู 17. การพัฒนาหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย โดยมีการประเมินและรายงานผลการ ดําเนินการของหลักสูตรทุกปการศึกษาเพื่อนําขอมูลที่ไดไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเปนระยะๆ อยางนอย ตามรอบ ระยะเวลาของหลักสูตร หรือทุกรอบ 5 ป 18. ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวได หรือมีความจําเปนตองปฏิบัตินอกเหนือจากที่ กําหนดไวในประกาศนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่จะพิจารณา และใหถือคําวินิจฉัยของ คณะกรรมการการอุดมศึกษานั้นเปนที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 7 ตุลาคม 2558 (ลงชื่อ) พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

คูมือนักศึกษา 2559

27


คูมือนักศึกษา 2559

28 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 -------------------------เพื่อใหการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเปนไปอยางถูกตองตามมาตรฐานวิชาการ มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ และ สอดคลองกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนว ทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 23(2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ.2558 ประกอบกับ มติสภามหาวิทยาลัยขอนแกน ในการประชุม ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2559 จึงวางระเบียบไว ดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป ขอ 1. ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559” ขอ 2. ระเบียบนี้ใหใชสําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแกนทุกหลักสูตรตั้งแต ปการศึกษา 2559 เปนตนไป ขอ 3. ใหยกเลิก 3.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 3.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 บรรดาขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง หรือประกาศอื่นใดของมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใช ระเบียบนี้แทน ขอ 4. ในระเบียบนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยขอนแกน “สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยขอนแกน “อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะ” หมายความวา คณะ วิทยาลัย หรือสวนงานที่มีหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายความวา คณบดีของคณะ วิทยาลัย หรือหัวหนา สวนงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “สาขาวิชา” หมายความวา สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร”

หมายความวา

“ประธานหลักสูตร” “สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ”

หมายความวา หมายความวา

คณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากคณบดี เพื่อรับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ “บัณฑิตวิทยาลัย” “คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย”

หมายความวา หมายความวา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน “นักศึกษา” หมายความวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ขอ 5. ใหอธิการบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจออกหลักเกณฑ ประกาศ คําสั่ง หรือระเบียบ ปฏิบัติซึ่งไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ในกรณีที่มิไดกําหนดหลักการและการปฏิบัติไวในระเบียบนี้ หรือในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาและเสนอความเห็นตออธิการบดี และใหอธิการบดีมีอํานาจ วินิจฉัยสั่งการ คําวินิจฉัยของอธิการบดีใหถือเปนที่สิ้นสุด ทั้งนี้การวินิจฉัยหรือตีความใหยึดประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 หมวดที่ 2 ระบบการจัดการศึกษา ขอ 6. การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ใหดําเนินการดังนี้ 6.1 บัณฑิตวิทยาลัยเปนผูรักษามาตรฐานของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย 6.2 บัณฑิตวิทยาลัยมีหนาที่ประสานงานและสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สวนคณะและสาขาวิชามีหนาที่จัดการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวของ 6.3 บัณฑิตวิทยาลัยจัดใหมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชารวม เพื่อบริหารและจัด การศึก ษาในหลัก สูตรที่มี กระบวนวิ ชาเกี่ย วข องกับหลายคณะโดยมีองคป ระกอบและหนาที่ ตามประกาศของ มหาวิทยาลัย ขอ 7. ระบบการศึกษาเปนแบบสะสมหนวยกิตใชระบบทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปนสองภาค การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติใหมีระยะเวลาศึกษา ไมนอยกวา 15 สัปดาห สวนภาคการศึกษาพิเศษอาจ จัดไดตามความจําเปนของแตละหลักสูตร โดยใหกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนวยกิตมีสัดสวนเทียบเคียงกันได กับการศึกษาภาคปกติ หลักสูตรอาจจัดการศึกษาระบบอื่น เชน ระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค หรืออื่นๆ ก็ได โดยใหถือแนวทาง ดังนี้ ระบบไตรภาค หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 3 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 12 สัปดาห ระบบจตุรภาค หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 4 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห

คูมือนักศึกษา 2559

29


คูมือนักศึกษา 2559

30 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 8. การคิดหนวยกิต 8.1 ระบบทวิภาค รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา ไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต รายวิชาการฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต รายวิชาการศึกษาอิสระ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษา ปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2 ระบบไตรภาค 1 หนวยกิต ระบบไตรภาค เทียบไดกับ 12/15 หนวยกิต ระบบทวิภาค หรือ 4 หนวยกิต ระบบทวิภาค เทียบไดกับ 5 หนวยกิต ระบบไตรภาค 8.3 ระบบจตุรภาค 1 หนวยกิต ระบบจตุรภาค เทียบไดกับ 10/15 หนวยกิต ระบบทวิภาค หรือ 2 หนวยกิต ระบบทวิภาค เทียบไดกับ 3 หนวยกิต ระบบจตุรภาค ขอ 9. การจัดแผนการศึกษา แบงเปน ๓ ประเภทคือ 9.1 การจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดย กําหนดจํานวนหนวยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 9 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ สําหรับระบบทวิภาค 9.2 การจัดแผนการศึกษาแบบไมเต็มเวลา (Part-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตร โดยกําหนดจํานวนหนวยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร นอยกวา 9 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ สําหรับระบบทวิภาค 9.3 การจัดการศึกษาแบบพิเศษ ใหพิจารณาตามความเหมาะสมของแตละหลักสูตร โดยความ เห็นชอบของคณะ ขอ 10. หลักสูตรหนึ่งๆ อาจจัดระบบการศึกษา และหรือจัดแผนการศึกษาแบบใดแบบหนึ่ง หรือหลายแบบได ทั้งนี้ ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบการจัดแผนการศึกษาตามวรรคหนึ่งใหเปนไป ตามประกาศของมหาวิทยาลัย หมวดที่ 3 หลักสูตร ขอ 11. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ 11.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริมความเชี่ยวชาญ


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ เปนหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญา บัณฑิตหรือเทียบเทามาแลว 11.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการ และหรือการวิจัยในสาขาวิชาตางๆ ในระดับสูงกวาขั้นปริญญาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิต 11.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริมความเชี่ยวชาญ หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทามาแลว 11.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการ การวิจัยในสาขาวิชาตางๆ ในระดับสูงกวาปริญญามหาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ขอ 12 โครงสรางของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 13 ประเภทของหลักสูตร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 13.1 หลักสูตรปกติ (Regular Program) หมายถึง หลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่งที่ใชภาษาไทย เปนสื่อหลักในการเรียนการสอน และ/หรืออาจมีบางรายวิชาที่ใชภาษาตางประเทศเปนสื่อในการเรียนการสอนดวยก็ได 13.2 หลักสูตรนานาชาติ (International Program) หมายถึง หลักสูตรที่มีองคความรู และ เนื้อหาสาระที่มีความเปนสากล และมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมความเปนนานาชาติ เพื่อมุงผลิตบัณฑิตใหมี คุณภาพและมาตรฐานสากล โดยใชภาษาตางประเทศเปนสื่อในการเรียนการสอน คณะหรือสาขาวิชาอาจดําเนินการจัดทําหลักสูตรรวมกับสถาบันอื่นในลักษณะรวมแบบหลาย ปริญญา เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับหลักสูตร ทั้งนี้การดําเนินการดังกลาวใหเปนไปตามหลักเกณฑที่บัณฑิตวิทยาลัย กําหนด ขอ 14. ระยะเวลาการศึกษาของแตละหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา เปนดังนี้ 14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ไมเกิน 3 ปการศึกษา 14.2 ปริญญามหาบัณฑิต ไมเกิน 5 ปการศึกษา 14.3 ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผูที่สําเร็จปริญญาบัณฑิตไมเกิน 8 ปการศึกษา สวนผูที่สําเร็จ ปริญญามหาบัณฑิต ไมเกิน 6 ปการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาสําหรับหลักสูตรแบบไมเต็มเวลาหรือที่จัดการศึกษาแบบอื่น ใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 15. การประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพของหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร ใหเปนไปตาม ระบบการประกันคุณภาพหลักสูตรของมหาวิทยาลัย หมวดที่ 4 อาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 16. อาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย

คูมือนักศึกษา 2559

31


คูมือนักศึกษา 2559

32 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 16.1 อาจารยประจํา หมายถึง บุคคลที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รอง ศาสตราจารย และศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัย ที่มีหนาที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติ หนาที่เต็มเวลา สําหรับอาจารยประจําที่มหาวิทยาลัยรับเขาใหมตั้งแตระเบียบนี้เริ่มบังคับใช ตองมีคะแนน ทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกําหนด 16.2 อาจารยประจําหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งมีหนาที่สอนและคนควาวิจัยในสาขาวิชาดังกลาว 16.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรที่มีภาระหนาที่ในการ บริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแตการวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรตองอยูประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา 16.4 อาจารยพิเศษ หมายถึง อาจารยผูสอนที่ไมใชอาจารยประจํา 16.5 อาจารยผูสอน หมายถึง อาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษที่ไดรับมอบหมายหรือแตงตั้งให ทําหนาที่สอนในรายวิชาหรือบางหัวขอในแตละรายวิชา 16.6 อาจารยที่ปรึกษาทั่วไป หมายถึง อาจารยประจําที่คณะแตงตั้งเพื่อทําหนาที่ใหคําปรึกษา ดานการศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา 16.7 อาจารยที่ปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรที่ไดรับแตงตั้ง ใหรับผิดชอบกระบวนการเรียนรูเพื่อวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เชน การพิจารณา เคาโครง การใหคําแนะนําและควบคุมดูแล รวมทั้งการประเมินความกาวหนาและการสอบวิทยานิพนธหรือ การศึกษาอิสระของนักศึกษา 16.8 อาจารยที่ปรึกษารวม (Co-advisor) หมายถึง อาจารยประจํา หรือ อาจารยผูทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแตงตั้ง เพื่อใหทําหนาที่รวมกับอาจารยที่ปรึกษาหลักในการพิจารณาเคาโครง รวมทั้งชวยเหลือให คําแนะนําและควบคุมดูแลการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา 16.9 อาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง ผูที่มิไดเปนอาจารยประจําที่ไดรับการแตงตั้งให ทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษารวม หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธโดยผูที่ไดรับแตงตั้งนั้นมีคุณสมบัติตามที่กําหนดใน หนาที่นั้นๆ 16.10 อาจารยผูเชี่ยวชาญ หมายถึง ผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณสมบัติและผลงานทาง วิชาการตามที่กําหนดในหนาที่นั้นๆ แตเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ขอ 17. คุณสมบัติอาจารยประจําหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยผูสอน อาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก อาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม อาจารยผูสอบ วิทยานิพนธ และอาจารยพิเศษ ของหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิต ชั้นสูง และปริญญาดุษฎีบัณฑิต ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 18. ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ใหเปนไปตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 19. การบริหารจัดการศึกษาหลักสูตร ใหดําเนินการ ดังนี้ 19.1 หลักสูตรหนึ่งๆ ตองอยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งคณบดี ที่หลักสูตรสังกัดเปนผูแตงตั้ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะ มีวาระการดํารงตําแหนง 2 ป 19.2 องคประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบดวยอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตร ทั้งนี้ อาจมีอาจารยประจําหลักสูตรเปนกรรมการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม 19.3 หนาที่ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 19.3.1 วางนโยบายและแผนการบริหารจัดการและการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร 19.3.2 ควบคุมมาตรฐานหลักสูตรสาขาวิชาที่รับผิดชอบใหเปนไปตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เกณฑมาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และเกณฑมาตรฐานวิชาชีพ (ถามี) 19.3.3 ดําเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร 19.3.4 ติดตามรายงานผลการดําเนินการของรายวิชา รายงานผลการดําเนินการของ ประสบการณภาคสนาม (ถามี) และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรรวมทั้งใหคําแนะนําเพื่อการพัฒนา ขอ 20. ใหมีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ เพื่อทําหนาที่กํากับดูแลคุณภาพและการบริหาร จัดการหลักสู ตรระดับบัณ ฑิตศึกษาทุกหลักสูต รในองครวมของคณะนั้น ๆ องคประกอบและอํานาจหน าที่ของ คณะกรรมการดังกลาว ใหเปนไปตามที่คณะกําหนด หมวดที่ 5 การรับเขาศึกษา

ขอ 21. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 21.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา ตามที่หลักสูตรกําหนด และมี คุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 21.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตตามที่ หลักสูตรกําหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 21.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ผูเขา ศึกษาตองเปนผู สําเร็ จการศึกษาประกาศนี ยบัต รบัณฑิ ตหรือ ปริญ ญามหาบัณฑิ ตหรื อ เทียบเทาตามที่หลักสูตรกําหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิต วิทยาลัยกําหนด 21.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา ที่มีผลการเรียนดีมาก หรือปริญญา มหาบัณฑิตหรือเทียบเทา และมีผลการสอบภาษาอังกฤษไดตามเกณฑที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด และมีพื้นความรู

คูมือนักศึกษา 2559

33


คูมือนักศึกษา 2559

34 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ความสามารถและศักยภาพเพียงพอที่จะทําวิทยานิพนธได หรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ บริหาร หลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด ขอ 22. การรับสมัคร ใบสมัคร ระยะเวลาสมัคร หลักฐานประกอบและเงื่อนไขอื่นๆ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 23. การรับเขาศึกษา การรับบุคคลใดเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ใหออกเปนประกาศบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ 23.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะเปนผู กําหนดเงื่อนไข วิธีการและจํานวนนักศึกษาที่จะรับในแตละสาขาวิชา และไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจําบัณฑิตวิทยาลัย 23.2 คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจใหความเห็นชอบในการรับบุคคลเขาศึกษาเปน กรณีพิเศษได ทั้งนี้ตองผานการพิจารณารับเขาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวของ 23.3 คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจใหความเห็นชอบในการรับผูมีพื้นความรูไมต่ํา กวาปริญญาบัณฑิต และมีคุณสมบัติตามขอ 21 เขาศึกษาหรือวิจัยโดยไมขอรับปริญญาเปนกรณีพิเศษเฉพาะรายได ทั้งนี้ตองผานการพิจารณารับเขาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวของ 23.4 ในกรณีที่ผูสมัครกําลังรอผลการศึกษาขั้นปริญญาบัณฑิต หรือปริญญามหาบัณฑิตแลวแต กรณี การรับเขาศึกษาจะมีผลสมบูรณเมื่อผูสมัครสงหลักฐานการสําเร็จการศึกษาขั้นปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งตามที่ หลักสูตรที่เขาศึกษานั้นกําหนด ภายในเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 23.5 การรับนักศึกษาตางชาติ ใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน 23.6 การรับนักศึกษาจากหลักสูตรความรวมมือกับสถาบันการศึกษาอื่นใหเปนไปตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย กรณีไมเปนไปตาม ขอ 23.1 – 23.6 ใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมประจําบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 24. การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 25. ประเภทของนักศึกษา แบงเปน 2 ประเภทคือ 25.1 นักศึกษาสามัญ คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปนนักศึกษาโดยสมบูรณในแตละ สาขาวิชา หรือรับเขาเปนนักศึกษาทดลองศึกษาตามเงื่อนไขของแตละสาขาวิชา ซึ่งเมื่อผานการประเมินผลหรือครบ เงื่อนไขของแตละสาขาวิชา จึงจะไดรับเขาเปนนักศึกษาตามหลักสูตรในสาขาวิชาตางๆ เพื่อรับปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร 25.2 นักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกรวมเรียน คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปน นักศึกษาโดยไมขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร การดําเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกรวม เรียนใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ หมวดที่ 6 การลงทะเบียนวิชาเรียน ขอ 26. การลงทะเบียนและการเพิ่มหรือถอนวิชาเรียน 26.1 การลงทะเบียนวิชาเรียนแบงออกเปน 2 ประเภทคือ 26.1.1 การลงทะเบียนโดยนับหนวยกิตและคิดคาคะแนน (Credit) 26.1.2 การลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิต (Audit) 26.2 การลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลาตองลงทะเบียนวิชาเรียนไมนอยกว า 9 หนวยกิต และไมมากกวา 15 หนวยกิต นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบไมเต็มเวลาตองลงทะเบียนวิชาเรียนไมนอยกวา 3 หนวยกิต และไมมากกวา 8 หนวยกิต นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่เขาศึกษาในภาคเรียนที่หนึ่งและ นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ยังสอบไมผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) อาจ ไดรับการยกเวนไมตองลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้นๆ โดยการอนุมัติของคณบดี ตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้ตองตอทะเบียนนักศึกษาและชําระคาธรรมเนียมการศึกษาเต็มตามอัตราที่ กําหนด 26.3 ในภาคการศึกษาพิเศษนักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนไดไมเกิน 6 หนวยกิต 26.4 การลงทะเบียนวิชาเรียนนอยกวาหรือมากกวาที่กําหนดในขอ 26.2 และ 26.3 จะกระทํา ไดในกรณีที่จํานวนหนวยกิตที่เหลือตามหลักสูตรมีจํานวนนอยกวา หรือมากกวาที่กําหนดไวขางตน และจําเปนตอง สําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ตองไดรับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวของ ตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 26.5 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนซ้ําเพื่อคิดคาคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียน และไดผล การเรียนตั้งแตระดับคะแนน B ขึ้นไปแลวมิได ในกรณีที่นักศึกษาเรียนครบรายวิชาตามหลักสูตรแลว แตไดคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 3.00 จะ สามารถลงทะเบียนวิชาเรียนซ้ําเพื่อคิดคาคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียนและไดผลการเรียนต่ํากวาระดับคะแนน A ได 26.6 นักศึกษาที่เรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแลวแตยังไมสําเร็จการศึกษา และนักศึกษาที่ลา พักการศึกษาจะตองชําระคาธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด 26.7 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิชาที่บรรจุอยูในแผนการเรียนตามหลักสูตรหรือรายวิชาที่ เทียบเทาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพื่อนับเปนวิชาตามแผนการเรียนตามหลักสูตรได เมื่อไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดรับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวของ ขอ 27. เกณฑการขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 28. การโอนหนวยกิตและคาคะแนนของรายวิชาที่ไดศึกษามาแลวทั้งจากสถาบันการศึกษาอื่นและ จากมหาวิทยาลัยขอนแกน ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 29. การเปลี่ยนสาขาวิชา

คูมือนักศึกษา 2559

35


คูมือนักศึกษา 2559

36 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาไดเมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแลวไมนอยกวา 8 หนวยกิต มี รายวิชาที่สามารถโอนเขาสาขาวิชาใหมไดไมนอยกวา 6 หนวยกิต และทุกวิชาที่จะขอโอนตองไดระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แลวแตกรณี และไดศึกษามาแลวไมเกิน 3 ป สําหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาไดหลังจากที่ไดลงทะเบียนเรียนแลวอยางนอย 1 ภาคการศึกษา และไดศึกษา มาแลวไมเกิน 3 ป โดยมีศักยภาพในการทําวิทยานิพนธในสาขาวิชาใหมได การดําเนินการเปลี่ยนสาขาวิชาใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 30. การเปลี่ยนระดับการศึกษา นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่ต่ํากวา อาจไดรับการพิจารณาใหโอนเขาศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกวา หรือในทางกลับกัน นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกวา อาจไดรับการพิจารณาใหโอนเขาศึกษาในหลักสูตรระดับที่ ต่ํากวาได ทั้งนี้ใหเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในหลักสูตรนั้นๆ และ/หรือประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย หมวดที่ 7 การวัดและประเมินผลการศึกษา ขอ 31. การวัดและประเมินผลการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ 31.1 การสอบรายวิชา นักศึกษาจะตองสอบรายวิชาทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน เวนแต รายวิชาที่ไดถอนโดยถูกตองตามระเบียบ ใหอาจารยประจําวิชาสงผลการประเมินผลรายวิชาตามแบบฟอรมของ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ผานความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่ เกี่ยวของ แลวแจงใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 31.2 การสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) เปนการสอบขอเขียนหรือ การสอบปากเปลา หรือการสอบทั้งสองแบบขางตน สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข การสอบ ประกอบดวยวิ ชาในสาขาวิ ชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวของ โดยใหมีคณะกรรมการสอบประมวลความรูซึ่ ง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอคณบดีเปนผูพิจารณาแตงตั้ง 31.3 การสอบวิทยานิพนธ เปนการสอบเพื่อประเมินผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษาใน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ประกอบดวยการตรวจอานและ ประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรูของนักศึกษาดวยวิธีการสอบปากเปลา และการประชุมพิจารณาผลงานของ กรรมการ โดยใหมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธเปนผูสอบ 31.4 การสอบการศึกษาอิสระ เปนการสอบเพื่อประเมินผลงานการศึกษาอิสระของนักศึกษาใน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข โดยคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ประกอบดวย การตรวจอานและ ประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรูของนักศึกษาดวยวิธีการสอบปากเปลา และการประชุมตัดสินผลงานของ กรรมการ 31.5 การสอบวัดคุณสมบัติ เปนการสอบวัดความรูความสามารถของนักศึกษาในสาขาวิชาเอก


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และสาขาวิชาที่เกี่ยวของ เพื่อประเมินวานักศึกษามีความสามารถที่จะดําเนินการวิจัยโดยอิสระ และเปนผูมีสิทธิ์เสนอขอ อนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธ ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได ซึ่งกําหนดใหนักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญา ดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 และ แบบ 2 ตองสอบผาน โดยมีหลักเกณฑ และแนวปฏิบัติดังนี้ 31.5.1 การสอบวัดคุณสมบัติเปนการสอบขอเขียนหรือการสอบปากเปลา หรือทั้งสอง แบบในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ 31.5.2 ใหคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติเปนผูดําเนินการจัดสอบวัดคุณสมบัติภาค การศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่จําเปนอาจจัดการสอบในภาคการศึกษาพิเศษได คณะกรรมการสอบวัด คุณสมบัติประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 4 คน โดยอาจจะมีกรรมการซึ่งเปนบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยรวมดวย ไมเกิน 2 คน ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อใหคณบดีที่หลักสูตรสังกัดเปนผูแตงตั้ง 31.5.3 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ คือ (1) นักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตั้งแตภาคการศึกษาแรก เปนตนไป (2) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่มีความประสงคจะขอเปลี่ยน ระดับการศึกษา แผน ก แบบ ก 2 ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ไดลงทะเบียนเรียน รายวิชาที่ประเมินผลเปน A B+ B C+ C D+ D F มาแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมในภาค สุดทายกอนการสอบวัดคุณสมบัติไมต่ํา 3.5 หรือนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัย เพื่อทําวิทยานิพนธอันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนวิทยานิพนธในระดับดุษฎีบัณฑิตได ทั้งนี้โดยไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร/สาขาวิชา และคณะที่หลักสูตรสังกัด 31.5.4 การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติ ใหเปนสัญลักษณ S หมายถึง สอบผาน หรือ U หมายถึง สอบไมผาน ใหประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบตอคณะ สํานักบริหารและพัฒนา วิชาการและบัณฑิตวิทยาลัย ผาน หัวหนาสาขาวิชา/ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 31.5.5 นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติผานแลว จะเรียกวานักศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต มีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได 31.5.6 นักศึกษา ตามขอ 31.5.3 (1) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งแรกไมผานสามารถขอ สอบไดอีก 1 ครั้ง และตองสอบวัดคุณสมบัติใหไดภายใน 2 ปการศึกษา นับตั้งแตลงทะเบียน รายวิชาวิทยานิพนธ นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแลวไมผาน จะพนสภาพการเปนนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 ขอ 55.8 เวนแตไดรับอนุมัติใหเปลี่ยนระดับการศึกษา ใหเปนไป ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย 31.5.7 นักศึกษาตามขอ 31.5.3 (2) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแลวไมผาน จะยังคง มีสภาพเปนนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตตอไป 31.6 การประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ สําหรับนักศึกษาในหลักสูตร ปริญญาดุษฎีบัณฑิตใหดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายใน 2 ป โดยเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

คูมือนักศึกษา 2559

37


คูมือนักศึกษา 2559

38 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 32. การสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการประเมินความรูความสามารถทาง ภาษาตางประเทศ ตามขอ 31.2, 31.5, 31.6 ใหบัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิต วิทยาลัยเปนผูกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ ขอ 33. การลงโทษนักศึกษาที่ทําการทุจริตทางวิชาการใหดําเนินการตามขอบังคับมหาวิทยาลัย วาดวยวินัย นักศึกษา พ.ศ. 2551 และประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 1365/2550 เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑการ พิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา หรือขอบังคับและประกาศที่ ปรับปรุงใหม ขอ 34. การประเมินผลการศึกษา ใหกระทําเมื่อสิ้นภาคการศึกษาแตละภาค ยกเวนรายวิชาวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ใหมีการประเมินผลไดกอนสิ้นภาคการศึกษา ขอ 35. การประเมินผลรายวิชา ใหกําหนดระดับคะแนนหรือสัญลักษณ ซึ่งมีความหมาย และคาคะแนนดังนี้ ระดับคะแนน ความหมาย คาคะแนนตอหนวยกิต A ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม (Excellent) 4.0 ผลการประเมินขั้นดีมาก (Very Good) 3.5 B+ B ผลการประเมินขั้นดี (Good) 3.0 C+ ผลการประเมินขั้นคอนขางดี (Fairly Good) 2.5 C ผลการประเมินขั้นพอใช (Fair) 2.0 ผลการประเมินขั้นออน (Poor) 1.5 D+ D ผลการประเมินขั้นออนมาก (Very Poor) 1.0 F ผลการประเมินขั้นตก (Failed) 0 สัญลักษณ ความหมาย I การวัดผลยังไมสมบูรณ (Incomplete) ใชสําหรับรายวิชาที่มีคาคะแนน ในกรณีนักศึกษาไมสามารถเขาสอบไดโดยเหตุสุดวิสัย โดยอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาจะตองระบุสาเหตุของการใหสัญลักษณ I และแจงใหนักศึกษาทราบภายใน 1 เดือน นับจากวันที่ประกาศผลการประเมิน และการแกสัญลักษณ I ใหดําเนินการภายในภาคการศึกษาถัดไป มิฉะนั้น จะเปลี่ยนสัญลักษณ เปน F เวนแตในกรณีที่จําเปนโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจําคณะที่รายวิชานั้นสังกัด และใหคณบดีที่รายวิชานั้นสังกัด มีอํานาจอนุมัติใหขยายเวลาได โดยตองแจงใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบลวงหนา S ผลการศึกษาเปนที่พอใจ (Satisfactory) ใชสําหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน โดยไมนับหนวยกิต (Audit) U ผลการศึกษายังไมเปนที่พอใจ (Unsatisfactory) ใชสําหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน โดยไมนับหนวยกิต


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ W ถอนวิชาเรียนแลว (Withdrawn) ใชสําหรับรายวิชาที่ไดรับอนุมัติใหถอน หรือใชในกรณีที่นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา หรือใชในกรณีที่นักศึกษาถูกสั่งพักการศึกษาในภาค การศึกษานั้น ขอ 36. การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบภาษาตางประเทศ ใหเปนดังนี้ S (Satisfactory) หมายความวา สอบผาน U (Unsatisfactory) หมายความวา สอบไมผาน การสอบประมวลความรูและการสอบวัดคุณสมบัติจะสอบไดไมเกิน 2 ครั้ง ในแตละหลักสูตร สําหรับการสอบภาษาตางประเทศ ไมจํากัดจํานวนครั้งที่สอบ ขอ 37. นักศึกษาที่ไดระดับคะแนนต่ํากวา C หรือได U แลวแตกรณี ในหมวดวิชาบังคับถือวาต่ํากวา มาตรฐาน ใหลงทะเบียนเรียนซ้ํา ขอ 38. การนับจํานวนหนวยกิตและคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม 38.1 ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งมากกวา 1 ครั้ง ใหนับจํานวนหนวยกิต ตาม หลักสูตรในวิชานั้นเพียงครั้งเดียว 38.2 ในการคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average) ใหคํานวณจาก ทุกรายวิชาที่มีคาคะแนน ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาใดมากกวา 1 ครั้ง ใหนําจํานวนหนวยกิตและคา คะแนนที่ไดทุกครั้งไปใชในการคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม การคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสมใหตั้งหารถึงทศนิยม 4 ตําแหนง และใหปดเศษเฉพาะทศนิยมที่มีคาตั้งแต 5 ขึ้นไป ตั้งแตตําแหนงที่ 4 เพื่อใหเหลือทศนิยม 2 ตําแหนง หมวดที่ 8 การทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ขอ 39. การลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระกระทําไดเมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบตามที่ แต ละหลัก สูตรกํา หนด โดยได รับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึ กษาวิท ยานิพนธหรือ การศึก ษาอิสระ ทั้ง นี้ หลักเกณฑอื่นๆ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 40. การเสนออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธ 40.1 ปริญญาโทตองไดรับอนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธภายใน 1 ป หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ 40.2 ปริญญาเอกตองไดรับอนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธภายใน 2 ป หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ ขอ 41. การควบคุมวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ใหมีอาจารยที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจมีอาจารย ที่ปรึกษารวมไดอีกตามความเหมาะสมแตละกรณี ทั้งนี้ใหเปนไปตามประกาศหรือขอกําหนดของแตละคณะ (ถามี) ขอ 42. การประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 42.1 การประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตองกระทําในทุก ภาคการศึกษา โดยผานความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่เกี่ยวของ 42.2 อาจารย ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ มี ห น า ที่ ใ นการประเมิ น ผล ความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา และรายงานผลการประเมินตอคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการประจําคณะ และสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ

คูมือนักศึกษา 2559

39


คูมือนักศึกษา 2559

40 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 42.3 ใชสัญลักษณ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความกาวหนาในการทํา วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเปนที่พอใจ ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา โดยระบุจํานวนหนวยกิตวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระที่ไดรับการประเมินใหไดสัญลักษณ S ของนักศึกษาแตละคนในแตละภาคการศึกษานั้น แตทั้งนี้ ตองไมเกินจํานวนหนวยกิตที่ลงทะเบียน (หากผลการประเมินพบวาไมมีความกาวหนา จํานวนหนวยกิตที่ไดในภาค การศึกษานั้นๆ ใหมีคาเปน S เทากับ 0 (ศูนย)) ตนฉบับรางวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระที่พรอมนําเสนอคณะกรรมการสอบ และ ตนฉบับผลงานวิทยานิพนธ ที่ตองตีพิมพหรือเผยแพรตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกําหนด ใหถือเปนสวนหนึ่งของ วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ซึ่งตองกําหนดจํานวนหนวยกิต ตามความเหมาะสมแลวแตกรณี 42.4 นั กศึก ษาที่ ลงทะเบียนวิทยานิพ นธ หรือ การศึกษาอิส ระแลว ไดรั บการประเมิ นผล ความกาวหนาเปน S เทากับ 0 (ศูนย) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรพิจารณาหาสาเหตุ ซึ่งอาจใหนักศึกษาผู นั้นไดรับการพิจารณาใหเปลี่ยนหัวขอเรื่องวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระหรือเปลี่ยนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ หรืออื่นๆแลวแตกรณี และประธานหลักสูตรตองรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาตอคณบดี เพื่อหาขอยุติ ขอ 43. ในกรณีที่นักศึกษาไดรับอนุมัติใหเปลี่ยนหัวขอวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ซึ่งมีผลตอการ เปลี่ย นแปลงสาระสํา คัญ ของเนื้อ หาวิ ทยานิ พนธห รือ การศึก ษาอิส ระ ให อาจารย ที่ป รึก ษาประเมิ นจํ านวน หนวยกิตจากหัวขอเดิม ที่สามารถนําไปใชกับหัวขอใหมได แตตองไมเกินจํานวนหนวยกิตที่ผานในหัวขอเดิม ทั้งนี้ให นับจํานวนหนวยกิตดังกลาว เปนจํานวนหนวยกิตที่ผานไดสัญลักษณ S ซึ่งสามารถนํามานับเพื่อสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรได โดยตองไดรับอนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พรอมทั้งให คณะแจงสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน และใหบันทึกการเปลี่ยนแปลงในประวัติการศึกษา ขอ 44. การสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 44.1 การดําเนินการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตองสอบภายในเวลา 45 วัน หลังจาก ที่นักศึกษาผานการประเมินผลความกาวหนาและไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิต รายวิชาวิทยานิพนธหรือ การศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้นๆ ในการรายงานการประเมินผลความกาวหนาครั้งสุดทายซึ่งนักศึกษาผานและไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิตรายวิชาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น อาจารยที่ปรึกษาตองเสนอให คณบดีแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ รวมทั้งใหเสนอวันที่จะทําการสอบไปพรอมกันดวย ในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการสอบไดภายใน 45 วัน ใหถือวา การไดสัญลักษณ S ในการ ประเมินครั้งสุดทายเปนโมฆะ 44.2 การสอบวิทยานิพนธ 44.2.1 ให ค ณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รเป น ผู พิ จ ารณาเสนอให ค ณะแต ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 44.2.2 การสอบวิทยานิพนธ ตองเปนแบบเปด โดยการเปดใหผูสนใจเขารับฟงการ นําเสนอและตอบคําถามของผูเขาสอบได และคณะตองประกาศใหผูสนใจทราบกอนการสอบไมนอยกวา 7 วัน คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธมีอํานาจ ในการอนุญาตหรือไมอนุญาตใหผูเขาฟงถาม หรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ รวมทั้งการจํากัดเวลาการถาม และการควบคุมให ดําเนินการสอบเปนไปโดยเรียบรอย 44.2.3 ในวันสอบ จะตองมีคณะกรรมการสอบจํานวนไมนอยกวาตามที่กําหนด ตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือวาการสอบนั้นมีผลสมบูรณ ถาคณะกรรมการสอบไมครบตามจํานวนดังกลาวขางตน ใหเลื่อนการสอบออกไป ใน กรณีที่จําเปนอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได โดยใหคณะแตงตั้งซอมกรรมการ ทั้งนี้จะตองกําหนดวันสอบครั้งใหมให มีเวลาพอสมควรแกการที่กรรมการที่แตงตั้งซอมขึ้นใหม จะไดใชตรวจอานวิทยานิพนธได 44.2.4 ผู ป ระเมิ น ผลการสอบต อ งเป น กรรมการสอบที่ อยู ร ว มในวั น สอบ การ ประเมินผลโดยใหนับ (คณะ) อาจารยที่ปรึกษาเปน 1 อาจารยประจําหลักสูตรเปน 1 และผูทรงคุณวุฒิภายนอกเปน 1 และใหถือผลการประเมินตามมติกรรมการจํานวนไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด 44.3 การสอบการศึกษาอิสระ 44.3.1 ให ค ณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รเป น ผู พิ จ ารณาเสนอให ค ณะแต ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 44.3.2 การสอบการศึกษาอิสระ ตองเปนแบบเปด โดยการเปดใหผูสนใจเขารับฟง การนําเสนอและตอบคําถามของผูเขาสอบได และคณะตองประกาศใหผูสนใจทราบกอนการสอบไมนอยกวา 7 วัน คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระมีอํานาจ ในการอนุญาตหรือไมอนุญาตใหผูเขาฟง ถามหรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาของการศึกษาอิสระ รวมทั้งการจํากัดเวลาการถาม และการควบคุมให ดําเนินการสอบเปนไปโดยเรียบรอย 44.3.3 ในวันสอบจะตองมีคณะกรรมการสอบจํานวนไมนอยกวาตามที่กําหนดตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือวาการสอบนั้นมีผลสมบูรณ ถาคณะกรรมการสอบไมครบตามจํานวนดังกลาวขางตน ใหเลื่อนการสอบออกไป ใน กรณีที่จําเปนอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได โดยใหคณะแตงตั้งซอมกรรมการ ทั้งนี้จะตองกําหนดวันสอบครั้งใหมให มีเวลาพอสมควรแกการที่กรรมการที่แตงตั้งซอมขึ้นใหม จะไดใชตรวจอานการศึกษาอิสระได 44.3.4 ผูประเมินผลการสอบตองเปนกรรมการสอบทุกคน การประเมินผลโดย อาจารยที่ปรึกษาและอาจารยที่ปรึกษารวมใหนับคะแนนเปน 1 และใหถือผลการประเมินตามมติกรรมการจํานวน ไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด การสอบตามนัยนี้จะสอบไดไมเกิน 2 ครั้ง ขอ 45. การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ โดยใหเปนไปตามประกาศบัณฑิต วิทยาลัย แบงเปน 4 ระดับคือ Excellent หมายความวา ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม Good หมายความวา ผลการประเมินขั้นดี

คูมือนักศึกษา 2559

41


คูมือนักศึกษา 2559

42 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ Pass หมายความวา ผลการประเมินขั้นผาน Fail หมายความวา ผลการประเมินขั้นตก ขอ 46. ใหประธานคณะกรรมการสอบแจงผลการสอบเปนลายลักษณอักษรแกคณบดีและผูเขาสอบ ภายใน 5 วันทําการถัดจากวันสอบ หากไมสามารถดําเนินการแจงผลไดภายในวันที่กําหนด ถือวาการสอบครั้งนั้น เปนโมฆะ 46.1 ในกรณีสอบผานแตตองมีการแกไขใหมีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ตองแกไข พรอมทั้ง มีการอธิบายชี้แจงใหผูเขาสอบรับทราบ ทั้งนี้ผูเขาสอบตองแกไขใหแลวเสร็จ และคณะกรรมการสอบใหความ เห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไมสามารถดําเนินการไดทันตามกําหนดดังกลาวใหถือวาไมผานในการ สอบครั้งนั้น ใหคณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดทายตอคณบดี 46.2 กรณีสอบไมผานคณะกรรมการตองสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไมใหผาน โดยบันทึก เป น ลายลัก ษณ อั ก ษร รายงานตอ คณบดี ภ ายใน 3 วั นทํ า การถั ดจากวั น สอบให ค ณะแจ ง ผลการสอบให สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน ขอ 47. หากนักศึกษาขาดสอบโดยไมมีเหตุสุดวิสัย ใหถือวาสอบไมผานในการสอบครั้งนั้น ขอ 48. ผูสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไมผานตามขอ 46.2 มีสิทธิยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ได ภายใน 15 วันหลังวันสอบ และตองสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ ในกรณีที่ไมผานการสอบตามนัยแหงขอ 46.1 ใหยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วันหลังวันครบกําหนดการ แกไข และตองสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกําหนดการแกไข การขอสอบทั้ง 2 กรณี ตองเสียคาธรรมเนียมหรือคาลงทะเบียนสอบตามที่คณะกําหนด หากไมดําเนินการ ตามกําหนดขางตน ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา การใหโอกาสสอบครั้งที่ 2 นี้ ไมเปนเหตุใหไดรับการยกเวน หรือมิตองปฏิบัติตามระเบียบหรือ หลักเกณฑ ที่กําหนดไวที่อื่นแตอยางใด ขอ 49. รูปแบบการพิมพ การสงเลม และลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระ 49.1 รูปแบบการพิมพวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระใหเปนไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 49.2 นักศึกษาตองสงวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณตามจํานวนลักษณะ และระยะเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 49.3 ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระเปนของมหาวิทยาลัยขอนแกน นักศึกษาและ/หรืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการนําเนื้อหาหรือผลจากการศึกษาไปใชเพื่อประโยชนอื่น ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่มหาวิทยาลัย กําหนด กรณีที่การทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระไดรับทุนวิจัยที่มีขอผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์หรือ สิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ใหดําเนินการตามขอผูกพันนั้นๆ หมวดที่ 9 การสําเร็จการศึกษา


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 50. การสําเร็จการศึกษา ใหคณะกรรมการประจําคณะเปนผูอนุมัติการสําเร็จการศึกษา และใหถือวันที่ไดรับอนุมัตินั้นเปนวันสําเร็จ การศึกษา และนักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติตอไปนี้ 50.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 50.1.1 สอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตร 50.1.2 ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาตามหลักสูตร ไมต่ํากวา 3.00 50.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต 50.2.1 มีความรูภาษาอังกฤษผานเกณฑมาตรฐานตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 50.2.2 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้น สุดทาย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอย ดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มี คุณภาพ 502.3 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร ไดคะแนน เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 พรอมทั้งเสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดย คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงาน หรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ หรือเสนอตอที่ ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ที่ไดมาตรฐาน 50.2.4 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร ไดคะแนนเฉลี่ย สะสมไมต่ํากวา 3.00 พรอมทั้งเสนอรายงานการศึกษาอิสระ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดย คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ และผลงานรายงานการศึกษาอิสระจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอย ดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร หรือเสนอตอที่ประชุมวิชาการที่ที่ มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ที่ไดมาตรฐาน 50.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต 50.3.1 ผ า นเกณฑ ก ารประเมิ น ความรู ค วามสามารถทางภาษาต า งประเทศตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 50.3.2 สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 50.3.3 แบบ 1 เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดย คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรือ อย า งน อ ยได รั บ การยอมรั บ ให ตี พิม พ ใ นวารสารระดั บ นานาชาติ จํา นวน 1 เรื่ อ ง และวารสารระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติที่มีคุณภาพอีก 1 เรื่อง 50.3.4 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตรไดคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา 3.00 พรอมทั้งเสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดยคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ

คูมือนักศึกษา 2559

43


คูมือนักศึกษา 2559

44 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยหรือหลักสูตรอาจกําหนดเกณฑการสําเร็จการศึกษาที่ไมต่ํากวาขอ 50.2 หรือ ขอ 50.3 แลวแตกรณีได ขอ 51. การขออนุมัติปริญญา 51.1 นักศึกษาผูคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ใหยื่นคํารองแสดงความจํานง ขอสําเร็จการศึกษาตอคณะลวงหนาอยางนอย 30 วัน กอนวันสิ้นภาคการศึกษาที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษานั้น 51.2 นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะได รั บ การพิ จ ารณาเสนอชื่ อ จากคณะเพื่ อ ขออนุ มั ติ ป ริ ญ ญาต อ สภา มหาวิทยาลัย ตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 51.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาตามขอ 50 51.2.2 ไมคางชําระคาธรรมเนียมตางๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ 51.2.3 เปนผูไมอยูในระหวางการดําเนินการทางวินัยนักศึกษา 51.2.4 สงวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ที่จัดทําตามรูปแบบและจํานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 51.2.5 การเสนอชื่อผูสําเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติปริญญาตอสภามหาวิทยาลัย ให เปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 52. ในกรณีที่มีเหตุผลที่จําเปนและสมควร มหาวิทยาลัยอาจพิจารณามิใหผูสําเร็จการศึกษาผูหนึ่งผูใด เขารับพระราชทานปริญญาบัตรก็ได ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 53. การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร สภามหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรซึ่งไดอนุมัติแกผูสําเร็จการศึกษา ผูหนึ่งผูใดไปแลวตามกรณีดังตอไปนี้ 53.1 ผูสําเร็จการศึกษาผูนั้น ไมมีคุณสมบัติครบถวนตามนัยของคุณสมบัติผูมีสิทธิเขาศึกษาหรือ ผูสําเร็จการศึกษา ของหลักสูตรที่ตนไดสําเร็จการศึกษา ตามขอ 21 หรือ ขอ 50 แหงระเบียบนี้ การเพิกถอน ปริญญาหรือประกาศนียบัตร มีผลตั้งแตวันที่สภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรใหกับบุคคลนั้น 53.2 วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ หรือผลงานทางวิชาการอื่นที่เปนองคประกอบสําคัญตอ การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ของผูสําเร็จการศึกษาผูนั้น ลอกเลียนงานผูอื่น หรือดัดแปลงขอมูลที่ไมเปน ขอเท็จจริง หรือปลอมแปลงผลงานวิจัย หรือมิไดกระทําดวยตนเอง การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร ใหมี ผลตั้งแตวันที่สภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรใหกับบุคคลนั้น 53.3 ผูสําเร็จการศึกษาผูนั้นไดกระทําการอันเปนที่เสื่อมเสียรายแรงตอมหาวิทยาลัย หรือตอ ศักดิ์ศรีแหงปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่ตนไดรับ การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรในกรณีนี้ ใหมีผล ตั้งแตวันที่สภามหาวิทยาลัยมีมติเพิกถอน หมวดที่ 10 สถานภาพของนักศึกษา ขอ 54. การลาพักการศึกษาและการลาออกของนักศึกษา


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 54.1 นักศึกษาผูประสงคจะลาพักการศึกษา ตองยื่นคํารองตอคณะที่เกี่ยวของ โดยผานการ พิจารณาของอาจารยที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ และประธานหลักสูตร เพื่อเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ 54.2 การลาพักการศึกษามี 2 ลักษณะ ดังนี้ 54.2.1 การลาพักการศึกษาหลังจากไดลงทะเบียนรายวิชาในแตละภาคการศึกษา ตามเวลาที่ปฏิทินการศึกษาในแตละภาคการศึกษากําหนด และชําระคาธรรมเนียมการศึกษาในภาคการศึกษานั้น เรียบรอยแลว แต ภายหลัง มีความประสงคขอลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ตองยื่นคํารองและไดรับอนุมัติ ใหลาพักการศึกษา กอนการสอบประจําภาคตามปฏิทินการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกําหนดไมนอยกวา 2 สัปดาห ยกเวนกรณีที่มีสาเหตุสุดวิสัยหรือเจ็บปวยใหอยูในดุลยพินิจของคณะ การลาพักการศึกษา ในกรณีที่ไดลงทะเบียนรายวิชาแลว จะไดสัญลักษณ W และ นักศึกษาไมตองชําระคาธรรมเนียมการลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น 54.2.2 การลาพั ก การศึ ก ษา กรณี ยั ง ไม ไ ด ล งทะเบี ย นรายวิ ช า ให ยื่ น คํ า ร อ งผ า น กระบวนการ หลังจากที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา และยื่นตามเวลาที่ปฏิทินการศึกษากําหนด นักศึกษาตอง ชําระคาธรรมเนียมการลาพักการศึกษา ในอัตราที่มหาวิทยาลัยกําหนด 54.3 การลาพักการศึกษาใหลาพักไดไมเกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร การนับเวลา การลาพักการศึกษา ใหนับรวมอยูในระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ยกเวนนักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพัก การศึกษา เนื่องจากถูกเกณฑหรือระดมเขารับราชการทหารกองประจําการ 54.4 นักศึกษาใหมที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาศึกษาในภาคการศึกษาแรก ไมมีสิทธิลาพักการศึกษา ยกเวน มีเหตุจําเปนสุดวิสัยหรือเจ็บปวย 54.5 นักศึกษาผูประสงคจะลาออกจากการเปนนักศึกษา ตองยื่นคํารองตอคณะที่เกี่ยวของโดย ผานการพิ จารณาของอาจารย ที่ปรึ กษาทั่วไปหรือ อาจารยที่ ปรึก ษาวิท ยานิ พนธ หรือการศึ กษาอิสระ ประธาน หลักสูตร และคณบดีเพื่อเสนออธิการบดีพิจารณาอนุมัติ ขอ 55. การพนสภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาจะพนสภาพการเปนนักศึกษาตอเมื่ออยูในกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้ 55.1 ตาย 55.2 ลาออกและไดรับอนุมัติแลว 55.3 สําเร็จการศึกษา 55.4 มหาวิทยาลัยสั่งใหออก อันเนื่องมาจากการฝาฝนระเบียบการลงทะเบียนและการชําระ คาธรรมเนียมการศึกษา 55.5 เรียนไดจํานวนหนวยกิตไมเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาคะแนน ในหลักสูตร และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 2.50 55.6 เรียนไดจํานวนหนวยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาคะแนน และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 2.75

คูมือนักศึกษา 2559

45


คูมือนักศึกษา 2559

46 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 55.7 ไมมีความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดตอกัน โดยไดสัญลักษณ S เปน 0 ติดตอกัน 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ หากได S เปน 0 กอนและหลังการลาพักการศึกษา ถือวาเปนการได สัญลักษณ S เปน 0 ติดตอกัน 2 ภาคการศึกษา 55.8 สอบวิทยานิพนธ หรือสอบประมวลความรู หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัด คุณสมบัติครั้งที่สองไมผาน 55.9 หลังการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ครั้งที่ 1 ไมผาน หากไมดําเนินการและ/หรือ สอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระครั้งที่ 2 ตามระยะเวลาที่กําหนด 55.10 ใชเวลาการศึกษาครบตามที่หลักสูตรกําหนดแลว 55.11 นักศึกษาสามัญที่คงสภาพเปนนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กําหนด 55.12 ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตความผิดที่เปนลหุโทษหรือความผิดอันไดกระทํา โดยประมาท 55.13 ถูกลงโทษทางวินัยใหออกจากการเปนนักศึกษา ขอ 56. การขอกลับเขาเปนนักศึกษา นักศึกษาที่พนสภาพการเปนนักศึกษาตามขอ 55.2 55.4 อาจขอสถานภาพการเปนนักศึกษาคืนได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 57. หลักสูตรใหม หรือหลักสูตรปรับปรุงที่ไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยขอนแกน กอนวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ใหใชเกณฑมาตรฐานที่เกี่ยวของกับหลักสูตร ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ทั้งนี้หลักสูตรตองไดรับการปรับปรุงและใชระเบียบนี้ภายใน 5 ป นับจากการปรับปรุงครั้งสุดทาย หรือเปดสอนครั้งแรกของหลักสูตรนั้นๆ แลวแตกรณี หมวดที่ 11 บทเฉพาะกาล ขอ 58. บรรดาประกาศ หรือคําสั่ง หรือหลักเกณฑอันเกี่ยวของกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีอยู กอนระเบียบนี้มีผลบังคับใช ใหยังคงมีผลบังคับใชตอไป จนกวาจะไดมีการปรับปรุงแกไขใหเปนไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 180 วัน หลังวันประกาศใชระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) ณรงคชัย อัครเศรณี (นายณรงคชัย อัครเศรณี) นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแกน


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1365 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อใหการพิจารณาโทษทางวิชาการ สําหรับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาที่กระทําทุจริตทาง วิชาการเปนไปดวยความเรียบรอย และมีบรรทัดฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ.2541 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่ 4กันยายน 2550 และที่ประชุมคณบดีในคราวประชุม ครั้งที่ 16/2550 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2550 จึงออกประกาศกําหนด แนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา ไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1365./2550) เรื่อง แนว ปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา” ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ออกประกาศ เปนตนไป ขอ 3. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแกน “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะ” หมายถึง คณะ บั ณฑิ ตวิท ยาลัย หรือหนว ยงานที่ มีห ลัก สูต ร ระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายถึง คณบดี ข องคณะ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย หรื อ หั ว หน า หนวยงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน “วิทยานิพนธ” หมายถึง รายงานผลการวิจัยที่เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตาม หลั ก สู ต ร ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาที่ กํ า หนดให ทํ า วิทยานิพนธ “การศึกษาอิสระ” หมายถึง รายงานการศึกษาอิสระที่เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข “ผลงานทางวิชาการ” หมายถึง รายงานในรายวิชาหรือรายงานผลการวิจัยในการทํา วิ ท ยานิ พ นธ ห รื อ รายงานผลการศึ ก ษาอิ ส ระของ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 4. การทุจริตทางวิชาการ ประกอบดวย 4.1 การลอกเลียนผลงานทางวิชาการ หมายถึง การลอกเลียนขอความของผูอื่นโดยไมมี การอางอิงหรือปกปดแหลงที่มาหรือการเสนอความคิด หรือนําผลงานทางวิชาการทีม่ ีผูอื่นกระทําไวมาเปนของตนเอง 4.2 การสรางขอมูลเท็จ หมายถึง การตกแตงขอมูลหรือการสรางขอมูลที่ไมตรงกับ ความเปนจริง

คูมือนักศึกษา 2559

47


คูมือนักศึกษา 2559

48 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.3 การไม ทํา ผลงานวิ ชาการด วยตนเอง หมายถึ ง การจ าง หรือ ให ผูอื่ นทํ าผลงาน วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ทั้งนี้ไมรวมถึงการจางพิมพ การแปลบทคัดยอและการวิเคราะหขอมูลบางสวน 4.4 การรับ จา งทําผลงานวิชาการ หมายถึง การรับ จางทํา ผลงานวิทยานิพนธห รือ การศึกษาอิสระใหผูอื่น ทั้งนี้ไมรวมถึงการรับจางพิมพ รับจางการแปลบทคัดยอและการรับจางวิเคราะหขอมูล บางสวน ขอ 5. เมื่อพบวานักศึกษามีพฤติกรรมหรือถูกกลาวหาทุจริตทางวิชาการใหคณะที่นักศึกษา สังกัดแตงตั้งคณะกรรมการสอบหาขอเท็จจริง และใหดําเนินการสอบหาขอเท็จใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแต วันที่ไดรับทราบคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ ขอ 6. ใหคณะกรรมการพิจารณาดําเนินการรวบรวมหลักฐานและสอบสวนขอเท็จจริงตาง ๆ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาไดชี้แจงขอเท็จจริงหรือนําหลักฐานมาชี้แจงแกขอกลาวหา และใหคณะกรรมการจัดทํา รายงานการสอบขอเท็จจริงเสนอคณะกรรมการประจําคณะ เพื่อเสนอตอคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาโทษ ขอ 7. ใหคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาโทษจากทุกองคประกอบทั้งพยาน บุคคล เอกสารและหลักฐาน และพิจารณาปรับโทษตามสมควรแกกรณี ดังนี้ 7.1 ทุจริตทางวิชาการในรายวิชา 7.1.1 ใหไดคะแนน F หรือ U ในรายวิชานั้นพรอมทั้งภาคทัณฑไวตลอดการมีสภาพ เปนนักศึกษา หรือ 7.1.2 ใหพักการศึกษาไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา หรือ 7.1.3 ใหไดคะแนน F หรือ U ทุกรายวิชาที่ไดลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ทั้งนี้ การทุจริตการสอบในรายวิชาที่เปนการจัดสอบใหปฏิบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1073/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทําความผิดอันมี สาเหตุมาจากการสอบ 7.2 รายวิชาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ 7.2.1 ใหปรับผลการประเมิน S เปน 0 (ศูนย) ทั้งหมดและใหนักศึกษาเริ่มขั้นตอน การทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระใหม หรือ 7.2.2 ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา หรือ 7.2.3 กรณีสําเร็จการศึกษาแลวใหเสนอสภามหาวิทยาลัยเพิกถอนปริญญา ตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 ขอ 58.2 ขอ 8. การอุทธรณคําสั่งลงโทษทางวิชาการใหดําเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 946/2550) เรื่องแนวปฏิบัติในการอุทธรณผลการสอบวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระโดยอนุโลม ขอ 9. ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ออกคําสั่งลงโทษนักศึกษา และแจงใหนักศึกษา สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัยทราบ ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ออกคําสั่ง


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 10. ใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการบันทึกผลและประวัติการลงโทษ และแจงผูปกครอง หรือผูบังคับบัญชาหรือผูเกี่ยวของแลวแตกรณีของนักศึกษาผูนั้น ใหทราบเปนลายลักษณอักษร ขอ 11. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้โดยใหมีอํานาจการวินิจฉัย ปญหา การ ปฏิบัติ ตามประกาศนี้ และใหถือคําวินิจฉัยของอธิการบดีเปนที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ( ลงชื่อ) สุมนต สกลไชย (รองศาสตราจารยสุมนต สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน

คูมือนักศึกษา 2559

49


คูมือนักศึกษา 2559

50 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1073 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ -------------------------เพื่อใหการพิจารณาลงโทษนักศึกษาที่ฝาฝนระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนวาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ.2548 หมวดที่ 12 บทกํ า หนดโทษ ข อ 41 และข อ 42 ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ว า ด ว ยการศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 และระเบียบของมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การสอบประจําภาคของนักศึกษา พ.ศ. 2547 เปนไปดวยความเรียบรอยและมีบรรทัดฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความมาตรา 20 และมาตรา 23(1) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2541 ประกอบกับขอ 17 ของระเบียบของมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการสอบประจําภาคของนักศึกษา พ.ศ. 2547 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวิชาการของมหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2550 เมื่อ วันที่ 24 กรกฎาคม 2550 และที่ประชุมคณบดี คราวประชุมครั้งที่ 14/2550 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550 จึง ออกประกาศกําหนดแนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทําความผิดอันมาจากการ สอบไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1073/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและ เกณฑการพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทําความผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ” ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ออกประกาศ เปนตนไป ขอ 3. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแกน “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะ” หมายถึง คณะ วิทยาลัย วิทยาเขต ที่นักศึกษาสังกัดอยู “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน “การลงโทษทางวิชาการ” หมายถึง การที่นักศึกษาถูกพิจารณาโทษทางวิชาการเนื่องจาก ฝาฝนระเบียบของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของกับการสอบ “กรรมการคุมสอบ” หมายถึง ผูที่คณะแตงตั้งใหเปนผูควบคุมหองสอบวิชาใดวิชา หนึ่งของการสอบ “คณะกรรมการสอบ” หมายถึง คณะกรรมการที่คณะแตงตั้งใหรับผิดชอบดําเนินการ เกี่ยวกับการสอบประจําภาคของนักศึกษา ขอ 4. เมื่อพบวามีนักศึกษา มีพฤติกรรมที่อาจฝาผืนระเบียบการสอบ หรือสอเจตนาทุจริต หรือทุจริตให กรรมการคุมสอบ ทํารายงานตามเอกสารแนบทายประกาศนี้ เสนอตอประธานคณะกรรมการสอบ ภายใจวันเกิด เหตุพรอมแนบหลักฐานประกอบ (ถามี) ขอ 5. ใหค ณะกรรมการสอบหรือ คณะทํ า งานที่ไ ดร ับ การแตง ตั ้ง โดยคณะกรรมการสอบ รวบรวม หลักฐาน ขอเท็จจริงตางๆ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาไดชี้แจงขอเท็จจริง และจัดทํารายงานการสอบขอเท็จจริง ซึ่งประกอบดวย คําชี้แจงของกรรมการคุมสอบ คําชี้แจงของนักศึกษา ความเห็นของคณะกรรมการสอบ หรือ


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ คณะทํางาน และหรือเอกสารหลักฐานอื่นๆที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ใหแลวเสร็จภายใน 7 วัน นับจากวันเกิดเหตุ แลว เสนอตอคณะกรรมการประจําคณะเพื่อพิจารณาโทษ ขอ 6. ใหคณะกรรมการประจําคณะพิจารณาโทษจากทุก องคประกอบทั้ง พยานบุคคล เอกสารและ หลักฐาน และพิจารณาปรับโทษตามสมควรแกกรณี ดังนี้ 6.1 ปรับ ตกในรายวิชานั้น ในกรณีที่พ บวา นักศึ กษามีเจตนาฝ าฝน ระเบียบว าดว ยการสอบ ประจําภาคของนักศึกษาขอ 7 และ 10.1ของระเบียบดังกลาว 6.2 ปรับตกในทุกรายวิชาที่เขาสอบแลวสําหรับภาคการศึกษานั้น ในกรณีที่พบวานักศึกษาสอ เจตนาทุจริต เชน นําหรือมีเอกสาร หรืออุปกรณ หรือบันทึกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เอื้อ ประโยชนตอการประเมินผลการศึกษาในรายวิชานั้นเขาหองสอบ เวนแตอาจารยประจําวิชา ไดอนุญาตไวเปนลายลักษณอักษร เปนตน 6.3 ปรับตกในทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนสําหรับภาคการศึกษานั้น ในกรณีที่พบวานักศึกษามี เจตนากระทําการทุจริตอยางชัดเจนอยางชัดเจน เชน นําหรือมีเอกสาร หรืออุปกรณ หรือ บันทึกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เอื้อประโยชนตอการประเมินผลการศึกษาในรายวิชานั้น และไดใชประโยชนจากสิ่งของดังกลาว เวนแตอาจารยประจําวิชาไดอนุญาตไวเปนลาย ลักษณอักษร เปนตน ขอ 7. ใหคณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะออกคําสั่งลงโทษนักศึกษาใหแลวเสร็จ ภายใน 15 วั น หลั ง จากวั น สุ ดท า ยของการส งผลการเรี ย นในแต ล ะภาคการศึ ก ษา ตามปฏิ ทิน การศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัย และแจงใหนักศึกษา และสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ออกคําสั่ง ขอ 8. ใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการบันทึกผลและประวัติการลงโทษและแจงผูปกครองหรือผูที่ เกี่ยวของของนักศึกษาผูนั้น ใหทราบเปนลายลักษณอักษร ขอ 9. การสอบกลางภาค หรือการสอบครั้งสุดทายของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนระบบชุดวิชา หรือ ระบบอื่นๆ ที่ไมใชระบบภาคการศึกษา และการสอบที่อาจารยประจําวิชาดําเนินการจัดสอบเอง ใหใชแนวปฏิบัติ และเกณฑการพิจารณาโทษตามประกาศนี้ ไดโดยอนุโลม ขอ 10. กรณีที่มีเหตุผลความจําเปน ใหสามารถขออนุมัติขยายระยะเวลาดําเนินการในขอ 5 และ ขอ 7 ตามประกาศนี้ ตอคณบดีได ทั้งนี้ขยายไดไมเกิน 30 วัน และแจงใหมหาวิทยาลัย ผานสํานักบริหารและพัฒนา วิชาการทราบ ขอ 11. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ โดยใหมีอํานาจการวินิจฉัยปญหา การปฏิบัติตาม ประกาศนี้ และใหถือคําวินิจฉัยของอธิการบดีเปนที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2550 (ลงชื่อ) กุลธิดา ทวมสุข (รองศาสตราจารยกุลธิดา ทวมสุข) รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน

คูมือนักศึกษา 2559

51


คูมือนักศึกษา 2559

52 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 164/2557) เรื่อง การปองกันการคัดลอกผลงานผูอื่นในวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ -----------------------เพื่อใหวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน มีคุณภาพ มาตรฐาน เปนที่เชื่อถือได และเปนการสงเสริมใหนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน มีจริยธรรมใน การวิจัย ไมคัดลอกผลงานของผูอื่นโดยไมมีการอางอิง หรือไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนของตนเองดวยวิธีการที่ไม ถูกตอง สอดคลองกับประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1365/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑการพิจารณา โทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอํานาจตามความในขอ 10 แหงขอบังคับมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การจัดระบบการบริหารงาน บัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ.2548 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557 จึงกําหนดแนวทางการดําเนินงานดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 164/2557) เรื่อง การปองกันการคัดลอกผลงานผูอื่นในวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ” ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับตั้งแตวันที่ออกประกาศนี้เปนตนไป ขอ 3. บัณฑิตวิทยาลัย รวมกับสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดการอบรมการใชโปรแกรม Turnitin ใหแก อาจารยและนักศึกษา เพื่อใหสามารถใชโปรแกรม Turnitin ในการตรวจสอบการคัดลอก หรือนํา ผลงานของผูอื่นมาใชอยางไมถูกตอง ขอ 4. ในกรณีที่อาจารยผูสอนแตละรายวิชา มอบหมายใหนักศึกษาจัดทํารายงานขอใหชวยกันปลูก จิตสํานึกใหนักศึกษาไมคัดลอก หรือนําผลงานของผูอื่นมาใชอยางไมถูกตอง โดยใหนักศึกษาใชโปรแกรม Turnitin ตรวจสอบรายงาน และสง Turnitin Originality Report พรอมรายงานดวย ขอ 5. อาจารยที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ควบคุมการทําวิจัยของนักศึกษาใหมีคุณภาพ และเปนที่เชื่อถือไดและฝกใหนักศึกษาเปนผูมีจริยธรรมในการวิจัย โดยกําหนดใหนักศึกษาตองแสดงหลักฐานการไม คัดลอกผลงานผูอื่น ดวย Turnitin Originality Report พรอมกับการสงตนฉบับวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ใหแก อาจารยที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ในระหวางการทําวิจัย การขออนุมัติเคาโครง/การขอสอบ วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ และการสงรูปเลมวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ขอ 6. ในขั้นตอนการขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นักศึกษาตองสง Turnitin Originality Report ใหแกอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ พรอมตนฉบับวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ กอนกําหนดวัน สอบอยางนอย 20 วัน โดยแนบมาพรอมกับ แบบ บว.25 ขอ 7. ผลการพิจารณา Turnitin Originality Report จะไมมีผลกระทบตอการตัดสินผลการสอบ วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ขอ 8. อาจารยที่ปรึกษาวิท ยานิพนธ/การศึกษาอิสระ รายงานผลการพิจารณา Turnitin Originality Report ในแบบฟอรม Turnitin Originality Report และใหนักศึกษานําแบบฟอรม Turnitin Originality Report นี้สงพรอมการสงรูปเลมวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณ Turnitin Originality Report ที่นักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ตอง พิจารณาและรายงานผลตามแบบฟอรมนี้ ตองเปน Turnitin Originality Report ฉบับที่ตรวจสอบจากรูปเลม วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ พรอมสง ทั้งนี้ กําหนดใหนักศึกษาสงแบบฟอรม Turnitin Originality Report พรอมการสงรูปเลมวิทยานิพนธ/ การศึกษาอิสระ สําหรับนักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ตั้งแตวันที่ 12 มกราคม 2558 เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน (รองศาสตราจารย ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คูมือนักศึกษา 2559

53


คูมือนักศึกษา 2559

54 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให มี ห ลั ก เกณฑ แ ละแนวปฏิ บั ติ ใ นการแต ง ตั้ ง อาจารย ร ะดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ตามระเบี ย บ มหาวิ ทยาลั ยขอนแกน วาด วยการศึก ษาระดับบั ณฑิตศึ กษา พ.ศ. 2559 และสอดคลองกับประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และ เรื่อง แนวทางการบริหาร เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2558 เปนไปดวยความเรียบรอย และมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ.2558 และโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจํ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ในคราวประชุ ม ครั้ ง ที่ 3/2559 เมื่ อ วั น ที่ 23 มิ ถุ น ายน 2559 กํ า หนด หลักเกณฑและแนวปฏิบัติแนวปฏิบัติไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศฉบับนี้เรียกวา “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ออกประกาศเปนตนไป ขอ 3. ใหยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 67/2548) เรื่อง หลักเกณฑการ ขยายจํานวนนักศึกษาในคําปรึกษาวิทยานิพนธเปนกรณีพิเศษ, ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบั บ ที่ 68/2548) เรื่ อ ง แนวปฏิ บั ติ ก าร แต ง ตั้ ง อาจารย บั ณฑิ ต พิ เ ศษ, ประ กาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 69/2548) เรื่อง การแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิภายนอกเปนอาจารยที่ปรึกษา และใหใช ประกาศนี้แทน ขอ 4. ในประกาศนี้ อาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย 4.1 อาจารยประจํา หมายถึง บุคคลที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่มีหนาที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหนาที่ เต็มเวลา 4.2 อาจารยประจําหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งมีหนาที่สอนและคนควาวิจัยในสาขาวิชาดังกลาว ทั้งนี้ สามารถเปนอาจารยประจํา หลักสูตรหลายหลักสูตรไดในเวลาเดียวกัน แตตองเปนหลักสูตรที่อาจารยผูนั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชา ของหลักสูตร 4.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรที่มีภาระหนาที่ในการ บริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแตการวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรตองอยูประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรเกินกวา 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได ยกเวนพหุวิทยาการหรือ สหวิทยาการ ใหเปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรไดอีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้ํา ไดไมเกิน 2 คน 4.4 อาจารยพิเศษ หมายถึง อาจารยผูสอนที่ไมใชอาจารยประจํา


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.5 อาจารยผูสอน หมายถึง อาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษที่ไดรับมอบหมายหรือแตงตั้งให ทําหนาที่สอนในรายวิชาหรือบางหัวขอในแตละรายวิชา 4.6 อาจารยที่ปรึกษาทั่วไป หมายถึง อาจารยประจําที่คณะแตงตั้งเพื่อทําหนาที่ใหคําปรึกษา ดานการศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา 4.7 อาจารยที่ปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรที่ไดรับแตงตั้งให รับผิดชอบกระบวนการเรียนรูเพื่อวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เชน การพิจารณาเคาโครง การใหคําแนะนําและควบคุมดูแล รวมทั้งการประเมินความกาวหนาและการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของ นักศึกษา 4.8 อาจารยที่ปรึกษารวม (Co-advisor) หมายถึง อาจารยประจํา หรือ อาจารยผูทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแตงตั้ง เพื่อใหทําหนาที่รวมกับอาจารยที่ปรึกษาหลักในการพิจารณาเคาโครง รวมทั้งชวยเหลือให คําแนะนําและควบคุมดูแลการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา 4.9 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตร หรือ อาจารยผูทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแตงตั้ง เพื่อใหทําหนาที่สอบวิทยานิพนธ 4.10 อาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง ผูที่มิไดเปนอาจารยประจําที่ไดรับการแตงตั้งให ทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษารวม หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธโดยผูที่ไดรับแตงตั้งนั้นมีคุณสมบัติตามที่กําหนดใน หนาที่นั้นๆ 4.11 อาจารยผูเชี่ยวชาญ หมายถึง ผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณสมบัติและผลงานทาง วิชาการตามที่กําหนดในหนาที่นั้นๆ แตเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ขอ 5. จํานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา 5.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต 5.1.1 อาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตร ที่เปดสอน (2) มีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโทหรือเทียบเทา (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยประจําหลักสูตรตองมี คุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.1.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตจํานวนอยาง นอย 5 คน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตจํานวนอยางนอย 3 คน ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย

คูมือนักศึกษา 2559

55


คูมือนักศึกษา 2559

56 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ (3) มีผลงานทางวิชาการ ที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน คณะตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารย ผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหมหาวิทยาลัยเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 5.1.3 อาจารยผูสอน ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ (2) มีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชานั้นหรือ สาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน (3) มีประสบการณดานการสอน (4) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ในกรณีของอาจารยพิเศษ เฉพาะหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุโลมคุณวุฒิ ปริญญาตรีหรือเทียบเทาที่มีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาที่สอนไมนอยกวา 6 ป ทั้งนี้อาจารยพิเศษ ตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารยประจําเปนผูรับผิดชอบรายวิชานั้น สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยผูสอนตองมีคุณสมบัติ เปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.1.4 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักและอาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ตองมี คุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหลักสูตร (2) มีคุณ วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการ ตองเปนผลงานวิจัย 5.1.5 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนผูมีคุณสมบัติเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักตามที่ กําหนดในขอ 5.1.4 (2) เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมี ผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรง หรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ไมนอยกวา 10 เรื่อง


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 5.1.6 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธและอาจารยผูสอบการศึกษาอิสระ ตองประกอบดวย อาจารยประจําหลักสูตรและผูทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไมนอยกวา 3 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตองไมเปน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักหรืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมหรืออาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ โดย อาจารยผูสอบวิทยานิพนธและอาจารยผูสอบการศึกษาอิสระ ตองมีคุณสมบัติเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธรวมตามที่กําหนดในขอ 5.1.5 5.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงและปริญญาดุษฎีบัณฑิต 5.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตร ที่เปดสอน (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.2.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวน อยางนอย 5 คน หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวนอยางนอย 3 คน ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวาศาสตราจารย (3) มีผลงานทางวิชาการ ที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจํานวนหรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา 10 คน คณะตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารย ผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหมหาวิทยาลัยเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี 5.2.3 อาจารยผูสอน ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือใน สาขาวิชาของรายวิชาที่สอน

คูมือนักศึกษา 2559

57


คูมือนักศึกษา 2559

58 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ (3) มีประสบการณดานการสอน (4) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง ในกรณีรายวิชาที่สอนไมใชวิชาในสาขาวิชาของหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต อนุโลม ใหอาจารยที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการต่ํากวารองศาสตราจารย ทําหนาที่ อาจารยผูสอนได ในกรณีของอาจารยพิเศษ เฉพาะหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อนุโลม คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาที่สอนมาแลวไมนอยกวา 4 ป ทํา หนาที่อาจารยผูสอนไดทั้งนี้อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารยประจําเปน ผูรับผิดชอบรายวิชานั้น 5.2.4 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนอาจารยประจําหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดารงตําแหนง ทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการ ตองเปนผลงานวิจัย 5.2.5 อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ตองมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เปนผูมีคุณสมบัติเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักตามที่ กําหนดในขอ 5.2.4 (2) เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมี ผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่ง ตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 5 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 5.2.6 อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตรและ ผูทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไมนอยกวา 5 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบตองเปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก โดยอาจารย ผูสอบวิทยานิพนธตองมีคุณสมบัติเชนเดียวกับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมตามที่กําหนดในขอ 5.2.5 ขอ 6. ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ 6.1 อาจารยประจําหลักสูตร 1 คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของนักศึกษา ปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลักเกณฑ ดังนี้


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 6.1.1 อาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทาง วิชาการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมไดไมเกิน 5 คน ตอภาคการศึกษา 6.1.2 อาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และดํารงตําแหนง ระดับผูชวยศาสตราจารยขึ้นไปหรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารยขึ้นไป และมี ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมได ไมเกิน 10 คนตอภาคการศึกษา 6.1.3 อาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และดํารงตําแหนง ศาสตราจารยและมีความจําเปนตองดูแลนักศึกษาเกินกวาจํานวนที่กําหนดใหเสนอตอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา แตทั้งนี้ตองไมเกิน 15 คนตอภาคการศึกษา หากมีความจําเปนตองดูแลนักศึกษามากกวา 15 คน ใหขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนรายกรณี 6.2 อาจารยประจําหลักสูตร 1 คน ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ของนักศึกษา ปริญญาโทไดไมเกิน 15 คน หากเปนอาจารยที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ใหคิดสัดสวนจํานวนนักศึกษาที่ทํา วิทยานิพนธ 1 คน เทียบไดกับจํานวนนักศึกษาที่การศึกษาอิสระ 3 คน แตทั้งนี้รวมแลวตองไมเกิน 15 คนตอภาค การศึกษา 6.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ตองทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ/หรืออาจารย ผูสอบวิทยานิพนธ และ/หรืออาจารยผูสอนในหลักสูตรนั้นดวย ขอ 7. การแตงตั้งอาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดในหนาที่ นั้นๆ เปนอาจารยที่ปรึกษารวม หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธใหดําเนินการดังนี้ 7.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอเหตุผลความจําเปนในการเสนอขอแตงตั้งตอ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบโดยแนบเอกสารที่เกี่ยวของประกอบการ พิจารณา ดังนี้ 7.1.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทํางานโดยยอของอาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก 7.1.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ไดตีพิมพในดานที่มีความเชี่ยวชาญของ อาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2 หากไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ ใหแต งตั้งอาจารย ผูทรงคุณวุฒิภายนอกเปนอาจารยที่ปรึกษารวม หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธใหประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาอนุมัติและแตงตั้งตอคณบดีที่หลักสูตรสังกัด ดังนี้ 7.2.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทํางานโดยยอของอาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ไดตีพิมพในดานที่มีความเชี่ยวชาญของ อาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2.3 หนังสือแสดงความยินดีที่จะทําหนาที่อาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก และยินดีที่จะ ปฏิบัติตามระเบียบและประกาศตางๆ ของมหาวิทยาลัยขอนแกน

คูมือนักศึกษา 2559

59


คูมือนักศึกษา 2559

60 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7.2.4 หนังสือเห็นชอบจากตนสังกัดของอาจารยผูทรงคุณวุฒิภายนอก (ในกรณีที่ ผูทรงคุณวุฒิมีตนสังกัด) 7.2.5 หนังสือแสดงความยินดีของนักศึกษา ในการเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาของ ตนในครั้งนี้ 7.3 สําเนาคําสั่งแตงตั้งแจงบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ ขอ 8. การแตงตั้งอาจารยผูทรงคุณ วุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดใน หนาที่นั้นๆ เปนอาจารยที่ปรึกษารวม หรือ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ จะตองเปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญและ ประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ โดยผานความเห็นชอบ จากสภามหาวิทยาลัย ใหดําเนินการดังนี้ 8.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอเหตุผลความจําเปนในการเสนอขอแตงตั้งตอ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ เพื่อพิจารณากลั่นกรองและเสนอตอคณบดีคณะที่หลักสูตรสังกัด โดยแนบ เอกสารที่เกี่ยวของประกอบการพิจารณา ดังนี้ 8.1.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทํางานโดยยอของอาจารยผูเชี่ยวชาญ 8.1.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ไดตีพิมพในดานที่มีความเชี่ยวชาญ และ/ หรือผลงานที่แสดงถึงความชํานาญหรือความเชี่ยวชาญ ของอาจารยผูเชี่ยวชาญซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอ วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ 8.2 คณบดีคณะที่หลักสูตรสังกัดเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาตอคณะกรรมการประจํา บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจารณากลั่นกรองและเสนอสภามหาวิทยาลัยใหความเห็นชอบ 8.3 ใหบัณฑิตวิทยาลัย สรุปรายงานการแตงตั้งอาจารยผูเชี่ยวชาญตอคณะกรรมการอุดมศึกษา ขอ 9. ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ขอ 10. ในกรณีที่มิไดกําหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไวในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอํานาจวินิจฉัยสั่งการ คําวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเปน ที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน (รองศาสตราจารยสุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ สําหรับผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต -------------------------ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 21.4 ขอ 31.6 ขอ 32 และขอ 50.3.1 ผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะตองมีผลการสอบภาษาอังกฤษไดตามเกณฑที่ บัณฑิตวิทยาลัยกําหนดนั้น เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัติผูเขาศึกษาเปนไปดวยความ เรียบรอย และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559 จึงไดกําหนดเกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศสําหรับผูเขาศึกษา ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ สําหรับผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต” ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ออกประกาศเปนตนไป ขอ 3. ใหยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ดังตอไปนี้ 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 76/2548) เรื่อง เกณฑการประเมิน ความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 3/2551) เรื่อง เกณฑการประเมินความรู ความสามารถทางภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต (แกไขครั้งที่ 1) ขอ 4. การประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎี บัณฑิตตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ใหใชการประเมิน ความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ ขอ 5. เกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษสําหรับผูเขาศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตใหใชเกณฑใดเกณฑหนึ่งดังตอไปนี้ 5.1 ผลการทดสอบจากศูนยทดสอบทางภาษาที่มีผลการสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบจาก สถาบันที่มีการทดสอบดังนี้ TOEFL (Paper Based) ไมต่ํากวา 500 คะแนน หรือ TOEFL (Computer Based) ไมต่ํากวา 173 คะแนน หรือ TOEFL (Internet Based) ไมต่ํากวา 61 คะแนน หรือ TOEFL (Institutional Testing Program) ไมต่ํากวา 500 คะแนน หรือ IELTS (Academic Module) ไมต่ํากวา 5.5 คะแนน หรือ TU-GET (1000 คะแนน) ไมต่ํากวา 550 คะแนน หรือ CU-TEP (120 คะแนน) ไมต่ํากวา 70 คะแนน 5.2 ผลการทดสอบภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ Khon Kaen University Academic English Language Test (KKU – AELT) จัดสอบโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดผลการสอบดังนี้

คูมือนักศึกษา 2559

61


คูมือนักศึกษา 2559

62 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ทักษะการอาน ระดับ 4 ขึ้นไป ทักษะการเขียน ระดับ 4 ขึ้นไป 5.3 หากนักศึกษามีผลการสอบต่ํากวาเกณฑที่กําหนดในขอ ขอ 5.2 จะตองเขารับการอบรมทักษะ ภาษาอังกฤษ จัดอบรมโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ตามระดับผลการสอบ ดังนี้ ทักษะการอาน ระดับ 1 และ 2 ตองเขารับการอบรม Academic Reading for Doctoral Students I ทักษะการอาน ระดับ 3 ตองเขารับการอบรม Academic Reading for Doctoral Students II ทักษะการเขียน ระดับ 1 และ 2 ตองเขารับการอบรม Academic Writing for Doctoral Students I ทักษะการเขียน ระดับ 3 ตองเขารับการอบรม Academic Writing for Doctoral Students II และสอบผานภายใน 2 ป 5.4 ถาผูเขาศึกษาไมเขาอบรมทักษะภาษาอังกฤษ ที่จัดโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ตามขอ 5.3 ผูเขาศึกษา จะตองนําผลการสอบผานตามเกณฑที่กําหนดในขอ 5.1 มายื่นภายใน 2 ป ขอ 6. เกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษตามขอ 5 ใชเปนเกณฑการสําเร็จการศึกษาได ขอ 7. ใหนักศึกษายื่นเอกสารแสดงผลการประเมินความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตาม ขอ 5.1 หรือ ขอ 5.2 ตอสาขาวิชาเพื่อใหบัณฑิตวิทยาลัย จัดทําประกาศและแจงผูเกี่ยวของทราบตอไป ขอ 8. สําหรับนักศึกษาที่ยังไมผานเกณฑภาษาอังกฤษที่เขาศึกษากอนปการศึกษา 2559 ใหดําเนินการ เขาอบรมวิชาการอานและการเขียนภาษาอังกฤษ 1, 2 และ 3 ที่จัดโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมสาสตร ตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 76/2548 ใหแลวเสร็จภายในปการศึกษา 2559 หากพน กําหนด นักศึกษาจะตองดําเนินการยื่นผลการทดสอบตามที่ปรากฏในประกาศฉบับนี้ ขอ 9. ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ขอ 10. ในกรณีที่มิไดกําหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไวในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอํานาจวินิจฉัยสั่งการ คําวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเปน ที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน (รองศาสตราจารยสุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑมาตรฐานความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต -------------------------ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 50.2 นักศึกษา ในหลักสูตรปริญญามหาบัณ ฑิตที่จะสําเร็จการศึกษาได จะตองมีความรูภาษาอังกฤษผานเกณฑมาตรฐาน นั้น เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัติผูสําเร็จการศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอย และโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559 จึง ไดกําหนดเกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑมาตรฐานความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต” ขอ 2. ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ออกประกาศเปนตนไป ขอ 3. ใหยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ดังตอไปนี้ 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 77/2548) เรื่อง เกณฑมาตรฐาน ความรู ภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 7/2550) เรื่อง เกณฑมาตรฐานความรู ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต (แกไขครั้งที่ 1) 3.3 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 4/2551) เรื่อง เกณฑมาตรฐานความรู ภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต (แกไขครั้งที่ 2) ขอ 4. เกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตใหใช เกณฑ ใดเกณฑหนึ่งดังตอไปนี้ 4.1 ผลการทดสอบจากศูนยทดสอบทางภาษาที่มีผลการสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบจาก สถาบันที่มีการทดสอบดังนี้ TOEFL (Paper Based) ไมต่ํากวา 470 คะแนน หรือ TOEFL (Computer Based) ไมต่ํากวา 150 คะแนน หรือ TOEFL (Internet Based) ไมต่ํากวา 52 คะแนน หรือ TOEFL (Institutional Testing Program) ไมต่ํากวา 470 คะแนน หรือ IELTS (Academic Module) ไมต่ํากวา 5.0 คะแนน หรือ TU-GET (1000 คะแนน) ไมต่ํากวา 500 คะแนน หรือ CU-TEP (120 คะแนน) ไมต่ํากวา 60 คะแนน 4.2 ผลการทดสอบภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ Khon Kaen University Academic English Language Test (KKU – AELT) จัดสอบโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดผลการสอบดังนี้ ทักษะการอาน ระดับ 3 ขึ้นไป ทักษะการเขียน ระดับ 3 ขึ้นไป

คูมือนักศึกษา 2559

63


คูมือนักศึกษา 2559

64 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.3 หากนักศึกษาไดผลการสอบต่ํากวาเกณฑที่กําหนด ตามขอ 4.2 จะตองเขารับการอบรมทักษะ ภาษาอังกฤษ จัดอบรมโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ตามระดับผลการสอบ ดังนี้ ทักษะการอาน ระดับ 1 และ 2 ตองเขารับการอบรม Academic Reading for Master’s Students ทักษะการเขียน ระดับ 1 และ 2 ตองเขารับการอบรม Academic Writing for Master’s Students และตองสอบผานกอนการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ขอ 5. ใหนักศึกษายื่นเอกสารแสดงผลการประเมินความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตาม ขอ 4.1 หรือ 4.2 ตอสาขาวิชาเพื่อใหบัณฑิตวิทยาลัย จัดทําประกาศและแจงผูเกี่ยวของทราบตอไป ขอ 6. สําหรับนักศึกษาที่ยังไมผานเกณฑภาษาอังกฤษที่เขาศึกษากอนปการศึกษา 2559 ใหดําเนินการ สอบวัดความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ หรือ ลงทะเบียนรายวิชา 411 711 Reading in English for Graduate Student หรือการอบรมภาษาอังกฤษแบบเขม จัดโดยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 77/2548 ใหแลวเสร็จภายในปการศึกษา 2559 หากพนกําหนด นักศึกษาจะตองดําเนินการ ยื่นผลการทดสอบตามที่ปรากฏในประกาศฉบับนี้ ขอ 7. ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ขอ 8. ในกรณีที่มิไดกําหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไวในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอํานาจวินิจฉัยสั่งการ คําวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเปนที่ สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน (รองศาสตราจารยสุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 308/2557 ) เรื่อง อัตราคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2557 -------------------------------------โดยที่เห็นเปนการสมควรปรับปรุงอัตราคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ เพื่อใหบังเกิดผลดีตอการพัฒนาและเอื้อประโยชนตอการบริหารจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 และมาตรา 23(1) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2541 ประกอบกั บ ข อ 6 แห ง ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ว า ด ว ยค า ธรรมเนี ย มการสมั ค รเข า ศึ ก ษาและ คาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543 โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ในการประชุ ม ครั้ ง ที่ 8/2556 เมื่ อ วั น ที่ 12 ธั น วาคม 2556 และมติ ที่ ป ระชุ ม สภา มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ในการประชุ ม ครั้ ง ที่ 1/2557 เมื่ อ วั น ที่ 8 มกราคม 2557 จึ ง ประกาศกํ า หนดอั ต รา คาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2557 ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 308 /2557 ) เรื่อง อัตราคาธรรมเนียม การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2557” ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ ที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2557 เปนตนไป สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษากอนปการศึกษา 2557 ใหใชระเบียบหรือประกาศเดิมที่เกี่ยวของ จนกวาจะสําเร็จการศึกษา ขอ 3 ในประกาศนี้ “ระบบปกติ” หมายความวา ระบบการจัดการศึกษาที่มีการเรียนการสอนในวัน และเวลาราชการเปนหลักและเปนแบบเต็มเวลา “หลักสูตรปกติ” หมายความวา หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนโดยใชภาษาไทยเปน สื่อในการสอน “หลักสูตรนานาชาติ” หมายความวา หลักสูตรที่มีองคความรูและเนื้อหาสาระเนนความ เปนสากลมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ สงเสริมความเปน นานาชาติ โดยใชภาษาตางประเทศเปนสื่อในการเรียนการสอน “หลักสูตรที่ศึกษาเปนภาษาอังกฤษ” หมายความวา หลักสูตรที่ใชภาษาอังกฤษเปนสื่อหลักในการ จัดการเรียนการสอนทั้งหลักสูตร “นักศึกษา” หมายความวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ ที่ศึกษาในหลักสูตรของกลุมสาขาวิชาทั้ง 6 กลุมของ มหาวิทยาลัยขอนแกน “นักศึกษาตางชาติ” หมายความวา นักศึกษาที่ไมไดมีสัญชาติไทย “คาธรรมเนียมการสมัครเขาศึกษา” หมายความวา คาธรรมเนียมการสมัครเขาศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา “คาธรรมเนียมการศึกษา” หมายความวา คาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา การจัดกลุมสาขาวิชา ตามประกาศนี้ แบงออกเปน 6 กลุม ดังนี้

คูมือนักศึกษา 2559

67 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

68 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม กลุมที่ 1 ประกอบดวย สาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สาขาวิชาศึกษาศาสตร สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร สาขาวิชารวมดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชบําบัด กลุมที่ 2 ประกอบดวย สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สาขาวิชาภาษาตางประเทศ สาขาวิชา บริหารธุรกิจและสาขาวิชาเศรษฐศาสตร กลุมที่ 3 ประกอบดวย สาขาวิชาเกษตรศาสตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคนิคการแพทย สาขาวิชาแพทยศาสตร (ปรีคลินิกและคลินิก) สาขาวิชาพยาบาลศาสตร สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก สาขาวิชาการ คุมครองผูบริโภคและการจัดการดานสุขภาพ สาขาวิชาการจัดการทางเภสัชกรรม สาขาวิชาเภสัชกรรมและระบบ สุขภาพ) สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร และสาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมที่ 4 ประกอบดวย สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชภัณฑ สาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑ ธรรมชาติ สาขาวิชาพิษวิทยา สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) และสาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี กลุมที่ 5 ประกอบดวย สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (ไมมีคลินิก) และประกาศนียบัตรชั้นสูงทุกสาขาวิชา กลุมที่ 6 ประกอบดวย สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (คลินิก) ขอ 4 อัตราคาธรรมเนียมการสมัครเขาศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ ให เปนไปตามบัญชีแนบทายประกาศนี้ ขอ 5 อัตราคาธรรมเนียมการศึกษาของนักศึกษาจากสถาบันอื่นหรือบุคคลที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา โดยไมขอรับปริญญา ใหจายตามสัดสวนของจํานวนหนวยกิตที่ลงทะเบียนเรียนตามระดับการศึกษาและลักษณะการจัด หลักสูตร โดยถือ 9 หนวยกิตเปนฐานและการลงทะเบียนตองไมเกิน 9 หนวยกิต เศษของคาธรรมเนียมการศึกษา ที่ คํานวณไดใหปดขึ้นเปนจํานวนเต็ม สําหรับนักศึกษาตางชาติใหชําระคาธรรมเนียมนักศึกษาตางชาติอีกสวนหนึ่งดวย ขอ 6 การเรียกเก็บคาธรรมเนียมอื่น ๆ ใหเปนไปตามประกาศที่เกี่ยวของ ขอ 7 คาธรรมเนียมการสมัครเขาศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ชําระแลวจะ ขอรับคืนไมได ขอ 8 นักศึกษาที่ชําระคาธรรมเนียมการศึกษาตามบัญชีแนบทายประกาศนี้ มีสิทธิไดรับบริการตาง ๆ ที่มหาวิทยาลัยขอนแกนจัดใหโดยไมตองเสียคาธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก ดังตอไปนี้ 8.1 คาขึ้นทะเบียนแรกเขาและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา 8.2 คาธรรมเนียมหองสมุดหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่ใหบริการหองสมุด 8.3 คาธรรมเนียมศูนยคอมพิวเตอร 8.4 คาบัตรประจําตัวนักศึกษาแรกเขา ขอ 9 นักศึกษาและบุคคลตามขอ 5 มีสิทธิไดรับบริการที่มหาวิทยาลัยขอนแกนจัดใหโดยไมตองเสีย คาธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก ดังตอไปนี้ 9.1 คาธรรมเนียมหองสมุดหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่ใหบริการหองสมุด 9.2 คาธรรมเนียมศูนยคอมพิวเตอร


ขอ 10 ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปญหาการตีความเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ใหอธิการบดีเปนผูวินิจฉัย คําวินิจฉัยของอธิการบดีใหถือเปนที่สุด ประกาศ ณ วันที่

3

กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารยกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน

คูมือนักศึกษา 2559

69 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

70 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม บัญชีแนบทายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 308/2557 ) บัญชีที่ 1 อัตราคาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา 1. อัตราคาธรรมเนียมการศึกษา (Tuition Fee) ตอภาคการศึกษา (บาท) ลักษณะการจัดหลักสูตร หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติและ หลักสูตรที่ศึกษาเปน กลุมสาขาวิชา ภาษาอังกฤษ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/ ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร ชั้นสูง กลุมที่ 1 ประกอบดวย - สาขาวิชามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร (ยกเวน สาขาวิชา ภาษาตางประเทศ) - สาขาวิชาศึกษาศาสตร (ยกเวน 19,000 25,000 40,000 60,000 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา) - สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร - สาขาวิชารวมดานมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชบําบัด กลุมที่ 2 ประกอบดวย - สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา 25,000 30,000 50,000 75,000 - สาขาวิชาภาษาตางประเทศ - สาขาวิชาบริหารธุรกิจและสาขาวิชา เศรษฐศาสตร กลุมที่ 3 ประกอบดวย - สาขาวิชาเกษตรศาสตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตร 25,000 30,000 50,000 65,000 - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและ เทคโนโลยี-สารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยี - สาขาวิชาเทคนิคการแพทย


กลุมสาขาวิชา

- สาขาวิชาแพทยศาสตร (ปรีคลินิก และคลินิก) - สาขาวิชาพยาบาลศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชา เภสัชกรรมคลินิก สาขาวิชาการ คุมครองผูบริโภคและการจัดการ ดานสุขภาพ สาขาวิชาการจัดการ ทางเภสัชกรรม สาขาวิชาเภสัชกรรม และระบบสุขภาพ) - สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตร สุขภาพ กลุมที่ 4 ประกอบดวย - สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร - สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชา เภสัชภัณฑ สาขาวิชาเภสัชเคมีและ ผลิตภัณฑธรรมชาติ สาขาวิชา พิษวิทยา สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี กลุมที่ 5 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (ไมมี คลินิก) และประกาศนียบัตรชั้นสูงทุก สาขาวิชา

ลักษณะการจัดหลักสูตร หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติและ หลักสูตรที่ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/ ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร ชั้นสูง

30,000

37,500

50,000

65,000

30,000

50,000

50,000

80,000

คูมือนักศึกษา 2559

71 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

72 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม

กลุมสาขาวิชา

กลุมที่ 6 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (คลินิก) 2. 3. 4. 5.

5.1 5.2

5.3 5.4 5.5

ลักษณะการจัดหลักสูตร หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติและ หลักสูตรที่ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/ ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร ชั้นสูง 50,000

80,000

60,000

100,000

คาธรรมเนียมการศึกษาภาคฤดูรอน เทากับครึ่งหนึ่งของคาธรรมเนียมภาคปกติ คาธรรมเนียมนักศึกษาตางชาติ ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท คารักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท (สําหรับนักศึกษาตางชาติ ตองชําระคาธรรมเนียมนักศึกษาตางชาติดวย) คาธรรมเนียมการสอบตาง ๆ ตอครั้ง (บาท) ลักษณะการจัดหลักสูตร ภาคปกติ หลักสูตรนานาชาติและ การสอบ/ระดับการศึกษา หลักสูตรที่ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ การสอบประมวลความรู สําหรับหลักสูตรมหาบัณฑิต 300 900 การสอบวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ หรือสารนิพนธ สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตมหาบัณฑิต หรือ 500 1,500 ประกาศนียบัตร-บัณฑิต (ชั้นสูง) การสอบวัดคุณสมบัติ สําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 500 1,500 การสอบภาษาอังกฤษ สําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 1,500 1,500 การสอบวิทยานิพนธ สําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 1,500 3,000


1.

2.

บัญชีที่ 2 อัตราคาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือก ------------------อัตราคาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกสําหรับนักศึกษาสัญชาติไทย 1.1 คาใบสมัครและระเบียบการ ชุดละ 200 บาท 1.2 คาสมัครสอบคัดเลือก สาขาวิชาละ 500 บาท

คูมือนักศึกษา 2559

73 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม

อัตราคาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกสําหรับนักศึกษาตางชาติ 2.1 คาใบสมัครและระเบียบการ (application form and regulation) ชุดละ 300 บาท 2.2 คาสมัครสอบคัดเลือก (application fee per subject area) สาขาวิชาละ 1,000 บาท

บัญชีที่ 3 อัตราคาธรรมเนียมอื่น ๆ (บาท) รายการ 1. คาปรับลงทะเบียนชา วันละ แตไมเกิน 3,000 บาท 2. คายื่นใบสมัครขอโอนยายมาเปนนักศึกษา 3. คาบัตรประจําตัวนักศึกษา บัตรละ 4. คาใบประมวลผลการศึกษา ฉบับละ 5. คาใบรับรองคุณวุฒิ ฉบับละ 6. คาใบรับรองเปนนักศึกษา ฉบับละ 7. คาใบรับรองอื่นๆ ฉบับละ 8. คาใบแปลปริญญาบัตร ฉบับละ 9. คาใบแทนปริญญาบัตร ฉบับละ 10. คาธรรมเนียมสงหลักฐานการศึกษาภายในประเทศทางไปรษณีย ครั้งละ 11. คาธรรมเนียมสงหลักฐานการศึกษาตางประเทศทางไปรษณีย ครั้งละ 12. คาธรรมเนียมการขอเปลี่ยนแปลงแกไขรายการในเอกสารลงทะเบียนเรียน รายการละ 13. คาธรรมเนียมขึ้นทะเบียนเปนบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา

จํานวนเงิน 50 300 100 50 50 50 50 100 400 50 200 30 1,000


คูมือนักศึกษา 2559

74 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม บัญชีที่ 4 คาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ สําหรับหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (กรณีที่จายเปนเงินตราตางประเทศ) ---------------------------------------------อัตราคาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ ตามลักษณะการจัดหลักสูตรตาง ๆ หากเปนการจายโดยการโอนเงินเปนเงินตราตางประเทศ ใหสั่งจายเปนเงิน ดอลลารสหรัฐอเมริกา ตามอัตราที่ปรากฏขางลาง 1. อัตราคาธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกสําหรับนักศึกษาตางชาติ 1.1 คาใบสมัครและระเบียบการ (application form and regulation) ชุดละ 10 USD 1.2 คาสมัครสอบคัดเลือก (application fee per subject area) สาขาวิชาละ 40 USD 2. อัตราคาธรรมเนียมการศึกษา (Tuition fee) ตอภาคการเรียน (USD)

ระดับการศึกษา

ประกาศนียบัตรบัณฑิต /มหาบัณฑิต สําหรับนักศึกษากลุมที่ 1 ประกอบดวย - สาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (ยกเวน สาขาวิชาภาษาตางประเทศ) - สาขาวิชาศึกษาศาสตร (ยกเวน สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา) - สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร - สาขาวิชารวมดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชา เภสัชบําบัด สําหรับนักศึกษากลุมที่ 2 ประกอบดวย - สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา - สาขาวิชาภาษาตางประเทศ - สาขาวิชาบริหารธุรกิจและสาขาวิชาเศรษฐศาสตร

ประเภทหลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรที่ ภาคปกติ ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ

คาธรรมเนียม นักศึกษา ตางชาติ

640

1,340

500

850

1,670

500


ระดับการศึกษา

สําหรับนักศึกษากลุมที่ 3 ประกอบดวย - สาขาวิชาเกษตรศาสตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตร - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยี - สาขาวิชาเทคนิคการแพทย - สาขาวิชาแพทยศาสตร (ปรีคลินิกและคลินิก) - สาขาวิชาพยาบาลศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชกรรม คลินิก สาขาวิชาการคุมครองผูบริโภคและการ จัดการดานสุขภาพ สาขาวิชาการจัดการทาง เภสัชกรรม สาขาวิชาเภสัชกรรมและระบบ สุขภาพ) - สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรสุขภาพ สําหรับนักศึกษากลุมที่ 4 ประกอบดวย - สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร - สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชภัณฑ สาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑธรรมชาติ สาขาวิชาพิษวิทยา สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ประเภทหลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรที่ ภาคปกติ ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ 850 1,670

1,000

1,670

คาธรรมเนียม นักศึกษา ตางชาติ 500

500

คูมือนักศึกษา 2559

75 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

76 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม

ระดับการศึกษา

สําหรับนักศึกษากลุมที่ 5 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (ไมมีคลินิก) และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงทุกสาขาวิชา สําหรับนักศึกษากลุมที่ 6 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (คลินิก) ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ชั้นสูง)/ปริญญาเอก สําหรับนักศึกษากลุมที่ 1 ประกอบดวย - สาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (ยกเวน สาขาวิชาภาษาตางประเทศ) - สาขาวิชาศึกษาศาสตร (ยกเวน สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา) - สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร - สาขาวิชารวมดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สําหรับนักศึกษากลุมที่ 2 ประกอบดวย - สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา - สาขาวิชาภาษาตางประเทศ - สาขาวิชาบริหารธุรกิจและสาขาวิชาเศรษฐศาสตร สําหรับนักศึกษากลุมที่ 3 ประกอบดวย - สาขาวิชาเกษตรศาสตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตร - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยี - สาขาวิชาเทคนิคการแพทย

ประเภทหลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรที่ ภาคปกติ ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ 1,000 1,670

คาธรรมเนียม นักศึกษา ตางชาติ 500

1,670

2,000

500

840

2,000

500

1,000

2,500

500

1,000

2,170

500


ระดับการศึกษา

ประเภทหลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรที่ ภาคปกติ ศึกษาเปน ภาษาอังกฤษ

คาธรรมเนียม นักศึกษา ตางชาติ

- สาขาวิชาแพทยศาสตร (ปรีคลินิกและคลินิก) - สาขาวิชาพยาบาลศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชกรรม คลินิก สาขาวิชาการคุมครองผูบริโภคและการ จัดการดานสุขภาพ สาขาวิชาการจัดการทาง เภสัชกรรม สาขาวิชาเภสัชกรรมและระบบ สุขภาพ) - สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรสุขภาพ สําหรับนักศึกษากลุมที่ 4 ประกอบดวย - สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร - สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร - สาขาวิชาเภสัชศาสตร (สาขาวิชาเภสัชภัณฑ สาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑธรรมชาติ สาขาวิชาพิษวิทยา สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) - สาขาวิชารวมดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักศึกษากลุมที่ 5 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (ไมมีคลินิก) และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงทุกสาขาวิชา สําหรับนักศึกษากลุมที่ 6 ประกอบดวย - สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (คลินิก)

1,250

2,170

500

1,670

2,670

500

2,670

3,340

500

คูมือนักศึกษา 2559

77 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

78 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม 3. คาธรรมเนียมการศึกษาภาคฤดูรอน เทากับครึ่งหนึ่งของคาธรรมเนียมของหลักสูตร 4. คารักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 85 USD (สําหรับนักศึกษาตางชาติตองชําระคาธรรมเนียมนักศึกษาตางชาติดวย) 5. คาธรรมเนียมการสอบตาง ๆ ตอครั้ง (USD) การสอบ/ระดับการศึกษา 6.1 การสอบประมวลความรู สําหรับหลักสูตรมหาบัณฑิต 6.2 การสอบวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ หรือสารนิพนธ สําหรับ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต มหาบัณฑิต หรือ ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ชั้นสูง) 6.3 การสอบวัดคุณสมบัติ สําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 6.4 การสอบภาษาอังกฤษ สําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 6.5 การสอบวิทยานิพนธสําหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต

ลักษณะการจัดหลักสูตร นานาชาติ และ ภาคปกติ ภาษาอังกฤษ 10 30 15

45

15 45 30

45 45 90


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เขาศึกษาและ สถานภาพของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให มี วิ ธี ป ฏิบั ติ ที่ ชัด เจนเกี่ย วกั บ การเก็ บเงิ น ค า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาของภาคแรกที่ เข าศึ กษาและ สถานภาพการเปนนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกนของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 และ 23(2) แห ง พระราชบั ญญั ติ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น พ.ศ. 2541 ประกอบกั บ ข อ 13 แห ง ระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยคาธรรมเนียมการสมัครเขาศึกษาและคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543 และข อ 5 แห ง ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ว า ด ว ย การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงออกประกาศ เรื่อง การเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เขาศึกษาและ สถานภาพของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงิน คาธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เขาศึกษาและสถานภาพของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” ขอ 2 ใหยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 721/2546) เรื่อง การเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียม การศึกษาและสถานภาพของผูมีสิทธเขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 3 ประกาศนี้ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เขาศึกษาใน มหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งแตภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2548 เปนตนไป ข อ 4 ผู มี สิ ท ธิ์ เ ข า ศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น จะต อ งชํ า ระค า ธรรมเนี ย ม การศึกษาของภาคแรกที่เขาศึกษา ตามวัน เวลาและสถานที่ ที่มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 5 ผูมี สิทธิ์เข าศึกษาในระดับบัณ ฑิตศึกษา จะมีสถานภาพเปนนักศึ กษาระดับบัณ ฑิตศึก ษาของ มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อไดชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ตามขอ 4 ครบถวนแลว ขอ 6 ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เปนผูรักษาการใหเปนไปตามประกาศนี้ และใหมีอํานาจในการออก ประกาศหรือกําหนดวิธีปฏิบัติซึ่งไมขัดหรือแยงกับประกาศนี้ ขอ 7 ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือไมสามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เปนผูวินิจฉัยสั่งการใหปฏิบัติตามที่เห็นสมควร การสั่งการของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเปนที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ..ศ. 2548 (ลงชื่อ) สุมนต สกลไชย (รองศาสตราจารยสุมนต สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน

คูมือนักศึกษา 2559

79 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

80 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ -------------------------เพื่ อ ใหก ารเก็ บ ค าธรรมเนี ย มการศึก ษาและค าธรรมเนี ย มอื่ น ๆ สํ า หรับ หลั กสู ต รโครงการพิ เศษของ มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนไปดวยความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ เอื้อตอการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และบังเกิดผลดีตอราชการของมหาวิทยาลัย อาศัยอํานาจตามความในขอ 12 และขอ 14 แหงระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอํานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราว ประชุมครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2548 และที่ประชุมคณบดี คราวประชุมครั้งที่ 12/2552 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 จึงออกประกาศไวดังนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง คาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ” ขอ 2 ใหประกาศนี้มีผลบังคับ ใชสําหรับนักศึกษาที่เ ขาศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งแตภาค การศึกษาปลาย ปการศึกษา 2552 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน(ฉบับที่ 639/2548) ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2548 เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และขอความในประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่เกี่ยวของ กับคาธรรมเนียมการศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ภาคพิเศษ ทุกฉบับสําหรับ นักศึกษาที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งแตภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2548 และใหใชประกาศฉบับ นี้แทน ขอ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแกน “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน “หลักสูตรโครงการพิเศษ” หมายถึง หลักสูตรที่ไดรับอนุมัติใหเปดสอนเปนหลักสูตร โครงการพิเศษ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 “คณะกรรมการอํานวยการ” หมายถึง คณะกรรมการอํานวยการ ตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 ขอ 7 “คณะ” หมายถึง คณะหรือหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการหลักสูตร โครงการพิเศษ “คณบดี” หมายถึง คณบดีหรือผูบริหารหนวยงานที่ รับผิดชอบการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ


“คณะกรรมการประจําคณะ”

หมายถึง

คูมือนักศึกษา 2559

81 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม

คณะกรรมการประจําคณะหรือหนวยงานที่ รับผิดชอบการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ “นักศึกษากลุมที่ 1” หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางดาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร “นักศึกษากลุมที่ 2” หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสาขาวิชา ทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ขอ 5 การกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการศึกษา และคาธรรมเนียมอื่นๆ สําหรับหลักสูตรโครงการ พิเศษแตละหลักสูตร ใหอธิการบดีออกเปนประกาศมหาวิทยาลัยตามคําแนะนําของคณบดี โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจําคณะ และคณะกรรมการอํานวยการ ทั้งนี้ตองไมเกินอัตราหรือวงเงินที่กําหนดไวในบัญชีแนบ ทายประกาศนี้ ขอ 6 คาธรรมเนียมอื่นที่ไมไดกําหนดไวในประกาศนี้และบัญชีแนบทายประกาศนี้ ใหเปนไปตามที่ กํ า หนดไว ใ นระเบี ย บและประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ค า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา ทั้ ง นี้ ย กเว น ค า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาพิ เ ศษ ตามระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ว า ด ว ย ค าธรรมเนี ยมการศึ กษาพิ เศษสํ าหรั บ นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2546 ซึ่งคณะจะเรียกเก็บอีกไมได ขอ 7 เงินคาธรรมเนียมการศึกษาที่ชําระแลวตามอัตราการเรียกเก็บที่กําหนดไวแนบทายประกาศนี้ จะขอรับคืนไมได ขอ 8 ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปญหาในการตีความ หรือปญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ใหอธิการบดีเปนผูวินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552

(ลงชื่อ) กุลธิดา ทวมสุข (รองศาสตราจารยกุลธิดา ทวมสุข) รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน


คูมือนักศึกษา 2559

82 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม บัญชีแนบทายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ 1. คาธรรมเนียมการสมัครและสอบคัดเลือก และคาธรรมเนียมการรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา กําหนดดังนี้ อัตราคาธรรมเนียม (บาท) ระดับ ระดับ รายการคาธรรมเนียม ปริญญาตรี

1.1 คาใบสมัครและระเบียบการ ชุดละ 1.2 คาสมัครและสอบคัดเลือก 1.3 คาธรรมเนียมการรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา

บัณฑิตศึกษา

200 500 2,000

200 500 3,000

2. คาธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา กําหนดดังนี้ กลุมนักศึกษา อัตราคาธรรมเนียม ไมเกิน (บาท) ปริญญาตรี

กลุมที่ 1 กลุมที่ 2

30,000 50,000

ปริญญาโท และ ประกาศนียบัตรบัณฑิต

40,000 60,000

ปริญญาเอก และ ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง

70,000 90,000

3. คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับภาคการศึกษาฤดูรอน ใหจัดเก็บในอัตราครึ่งหนึ่งของอัตราคาธรรมเนียมสําหรับ ภาคการศึกษาปกติ 4. คาธรรมเนียมสําหรับนักศึกษาชาวตางประเทศ 4.1 ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 10,000 บาท 4.2 ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท 5. คาธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา 5.1 ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 1,500 บาท 5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท 6. คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่น หรือบุคคลภายนอกที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา โดยไมขอรับปริญญา ใหเรียกเก็บเปนคาหนวยกิต โดยใหคํานวณอัตราคาธรรมเนียมการลงทะเบียนเรียนหนึ่ง หนวยกิต เทากับคาธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษาตามตารางในขอ 2 หารดวย 9 คาธรรมเนียมการศึกษานี้ ใหครอบคลุมคาใชจายในการใชบริการหองสมุด บริการคอมพิวเตอร และ บริการกีฬาดวย


7. คาธรรมเนียมการสอบตางๆ ตอครั้ง ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

7.1 7.2 7.3 7.4 7.5

รายการคาธรรมเนียม การสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) การสอบการศึกษาอิสระ หรือการสอบสารนิพนธ การสอบวิทยานิพนธ ระดับปริญญาโท การสอบวิทยานิพนธ ระดับปริญญาเอก

อัตราคาธรรมเนียม ไมเกิน (บาท) 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000

คูมือนักศึกษา 2559

83 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

84 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การจั ด การศึ ก ษาในส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การวิ จั ย ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 และ มาตรา 23(2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2541 ประกอบดวย ขอ 8 แหงระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยเงินรายไดของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2540 โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราว ประชุม ครั้งที่ 5 /2549 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บคาธรรมเนียมการวิจัยตาม หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อเปนแนวปฏิบัติในการเก็บคาธรรมเนียมดังกลาวดังตอไปนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่447/2549) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียม การวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา” ขอ 2. ใหยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 316/2544) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก ประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแยงกับประกาศนี้ใหใชประกาศฉบับนี้แทน ขอ 3. ใหใชประกาศนี้ตั้งแตภาคตน ปการศึกษา 2549 เปนตนไป ขอ 4. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะ” หมายถึง คณะวิชาที่เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายถึง คณบดีของคณะที่เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 5. การเรียกเก็บคาธรรมเนียมการวิจัยใหเรียกเก็บไดในอัตราภาคการศึกษาละไมเกิน 80,000 บาท ขอ 6. การกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการวิจัยตามขอ 5 ใหคณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจําคณะเปนผูกําหนดโดยจัดทําเปนประกาศของคณะ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปน คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะอาจพิจารณา ลดหยอนคาธรรมเนียมการวิจัยตามวรรคแรกเปนการเฉพาะรายได ขอ 7. คณะใดที่ไ ดเรียกเก็บคาธรรมเนียมการวิจัยไปกอนประกาศนี้ใชบังคับ ใหถือวาการเรียกเก็บ คาธรรมเนียมการวิจัยนั้นมีผลสมบูรณ ขอ 8. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ใหอธิการบดีเปนผูวินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) สุมนต สกลไชย (รองศาสตราจารย สุมนต สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ การศึกษาและการเทียบโอนหนวยกิต ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อใหการดําเนินการจัดเก็บคาธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับการศึกษา และการเทียบโอนหนวยกิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกนเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 และ 23(2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ.2541 ประกอบดวยขอ 8 แหงระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยเงินรายไดของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2540 โดยความ เห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราวประชุมครั้งที่ 22/2544 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2544 จึงออกประกาศ เกี่ยวกับการเก็บคาธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษาและการ เทียบโอน หนวยกิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไวดังตอไปนี้ ขอ 1. ประกาศนี้เรียกวา“ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บ คาธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษาและการเทียบโอนหนวยกิ ตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” ขอ 2. ใหใชประกาศนี้ตั้งแตภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2544 เปนตนไป ประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแยงกับ ประกาศนี้ใหใชประกาศฉบับนี้แทน ขอ 3. ในประกาศนี้ “คาธรรมเนียมการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา” หมายถึง คาธรรมเนียมที่ตองชําระเมื่อ นักศึกษาไดรับอนุมัติใหคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา “คาธรรมเนียมการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา” หมายถึง คาธรรมเนียมที่ตองชําระเมื่อ นักศึกษาไดรับอนุมัติใหเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษา หรือสาขาวิชา หรือแผนการศึกษาหรือระบบการศึกษา รวมทั้ง การเทียบโอนหนวยกิตรายวิชาอันเกิดจากการขอเปลี่ยนแปลงการศึกษา ดังกลาวขางตน “คาธรรมเนียมการเทียบโอนหนวยกิต” หมายถึง คาธรรมเนียมที่ตองชําระสําหรับนักศึกษาใหมที่ ไดรับอนุมัติใหเทียบโอนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ตามหลักสูตรที่เขาศึกษานั้นๆ ขอ 4. อัตราคาธรรมเนียมตางๆ ในขอ 3 ใหเรียกเก็บ ดังนี้ 4.1 คาธรรมเนียมการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา ครั้งละ 2,500.- บาท 4.2 คาธรรมเนียมการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา ครั้งละ 2,500.- บาท 4.3 คาธรรมเนียมการเทียบโอนหนวยกิต ใหคิดอัตรามีหนวยเปนบาท/หนวยกิตดังนี้

คูมือนักศึกษา 2559

85 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม


คูมือนักศึกษา 2559

86 ระเบียบ ประกาศ คาธรรมเนียม ลักษณะการจัดหลักสูตร ระดับการศึกษา ประกาศนียบัตรบัณฑิตและมหาบัณฑิต สําหรับนักศึกษากลุมที่ 1 สําหรับนักศึกษากลุมที่ 2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และปริญญาเอก สําหรับนักศึกษากลุมที่ 1 สําหรับนักศึกษากลุมที่ 2

ภาคปกติ

ภาคพิเศษ

นานาชาติและ ภาษาอังกฤษ

500 400

1,500 1,250

2,950 2,400

1,500 1,250

3,500 3,000

4,500 3,650

นักศึกษากลุมที่ 1 หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดแก นักศึกษา คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะ สาธารณสุขศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเทคโนโลยี คณะเภสัชศาสตร คณะเทคนิคการแพทย และคณะ อื่นๆ ในสาขาวิชานี้ นักศึกษากลุมที่ 2 หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรไดแก นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ และคณะอื่นๆ ในสาขาวิชานี้ ขอ 5. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปญหาในการตีค วามหรือการ ปฏิบัติ ตามประกาศนี้ใหอธิการบดีเปนผูวินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2544 (ลงชื่อ) สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ (รองศาสตราจารยสุจิตรา เหลืองอมรเลิศ) รองอธิการบดีฝายวิชาการ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ ตอนที่ 4 แนวปฏิบัติตางๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 4.1 การขอทําบัตรประจําตัวนักศึกษา ในวันสงเอกสารรายงานตัวขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา นักศึกษาทุกคนจะตองสงรูปถายจํานวน นักศึกษาใหม 1 รูป ขนาด 1 นิ้ว เพื่อทําบัตรประจําตัวนักศึกษา และสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการจะ ดําเนินการสงใหคณะที่นักศึกษาสังกัด หลังจากวันเปดภาคการศึกษา 1 สัปดาห นักศึกษาเกา 1. กรณีบัตรหมดอายุหรือบัตรชํารุด เขียนใบคํารองทําบัตรใหม พรอมแนบบัตรเดิมและยื่นคํารอง ชําระเงิน 100 บาท ณ กลุมภารกิจบริการ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 2. กรณีบัตรหาย เขียนใบคํารองทําบัตรใหม พรอมทั้งแนบใบแจงความ และยื่น คํารองชําระเงิน 100 บาท ณ กลุมภารกิจบริการ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ แตงกายสุภาพ การแตงกาย ผูชายไมสวมเสื้อยืด ผูหญิงไมสวมเสื้อยืด เสื้อไมมีแขน วันจันทร – วันเสาร เวลา 09.00 น. - 15.30 น. วันเวลา 4.2 ขั้นตอนการลงทะเบียน สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการไดพัฒนาระบบทะเบียนใหม เปนระบบ WEB-BASE ที่ใหบริการนักศึกษา อาจารย เจาหนาที่ไดตลอด 24 ชั่วโมง จากเครือขาย Internet http://reg.kku.ac.th โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เขาสูระบบ : Login กอนที่นักศึกษาจะเขาไปลงทะเบียนได นักศึกษาตองทําการ Login เขาสูระบบกอน โดย คลิกที่เมนู "เขาสูระบบ" จากนั้นใหนักศึกษาใสรหัสประจําตัวนักศึกษาและรหัสผาน ซึ่งรหัสผานเริ่มตนของ นักศึกษาคือรหัสประจําตัวนักศึกษาเอง เชน รหัสประจําตัว 595080034-9 รหัสผานคือ รหัสประจําตัว ประชาชน เมื่อนักศึกษาใสรหัสประจําตัวและรหัสผานแลว คลิกที่ปุม “ตรวจสอบ” ในหนาจอดานลาง (นักศึกษาสามารถเปลี่ยนรหัสผานของตนเองไดในภายหลัง) 2. ลงทะเบียน เมื่อนักศึกษาทําการ Login แลวคลิกที่เมนู "ลงทะเบียน" ดานซายมือเพื่อเขาสูหนาจอลงทะเบียนจากนั้น เลือกรูปแบบการลงทะเบียนซึ่งมี 2 แบบ คือ 2.1 ลงทะเบียนแบบปกติใชในการลงทะเบียนทั่วไป ใหปอนรหัสวิชาและกลุมเรียนที่ตองการลงทะเบียนและ กดปุม "บันทึก"

คู่มือนักศึกษา 2559

89


คู่มือนักศึกษา 2559

90 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ 2.2 ลงทะเบียนแบบพิเศษ เมื่อตองการลงทะเบียนขามระดับการศึกษาเลือกรูปแบบการศึกษาหรือ กําหนดจํานวนหนวยกิตที่จะลงทะเบียนเองได วิธีใชงานเลือกระดับการศึกษา ปอนรหัสวิชา, กลุมเรียน, จํานวนหนวยกิตและเลือกระบบเกรดที่ตองการลงทะเบียน เชน CD AU SU VS จากนั้นกดปุม "บันทึก" เพื่อบันทึกขอมูล หากนักศึกษาตองการยกเลิกรายวิชาที่เลือกไวใหกดปุม "(ลบ)" ดานหลังรายวิชานั้นๆ ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาสามารถแก ไ ขรายการลงทะเบี ย นที่ ทํ า ไว ไ ด จ นมั่ น ใจแล ว จึ ง ทํ า การยื น ยั น การ ลงทะเบียน 3. ยืนยันการลงทะเบียน การลงทะเบียนจะไมเกิดผลใดๆ หากนักศึกษายังไมทําการยืนยันการลงทะเบียน ทําไดโดยคลิกที่ "เมนู" "ยืนยันการลงทะเบียน" จากหนาจอดานซายมือ จากนั้นระบบจะแสดงผลรายการ ลงทะเบียนและตารางสอบของรายวิชาที่นักศึกษาไดเลือกไว ใหนักศึกษากดปุม “ยืนยันการ ลงทะเบียน” เมื่อทานผลรายการจนมั่นใจเมื่อยืนยันการลงทะเบียนแลวจะถือเปนการสิ้นสุด จะ เปลี่ยนแปลงแกไขรายการอีกไมได 4. การลงทะเบียนชา/เพิ่ม/ถอน เมื่อถึงชวงของการลงทะเบียนเรียนชาเมนู "ลงทะเบียนชา" จะปรากฏขึ้นแทนเมนูลงทะเบียน นักศึกษาจะดําเนินการเชนเดียวกับการลงทะเบียนเรียน และเมื่อถึงชวงที่นักศึกษาทําการเพิ่ม/ถอน รายวิชา เมนู "ลงทะเบียนเพิ่มถอน" จะปรากฏขึ้นนักศึกษาบันทึกขอมูลการเพิ่ม/ถอน รายวิชา และ มาชําระเงินที่สํานักทะเบียนและประมวลผล นักศึกษาสามารถพิมพใบแจงยอดการชําระเงินทาง WEB ไดทั่วประเทศ และนําไป ชําระเงินที่ธนาคาร 6 แหง ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือที่ทําการไปรษณียทุกแหงทั่วประเทศ หรือ เคานเตอรเซอรวิส ตามวันที่ระบุไวในใบแจงยอดฯ 4.3 การเทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา ผูมีสิทธิ์ขอโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา ไดแก นักศึกษาที่ผานการคัดเลือกเขาศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแกน นักศึกษาที่ประสงคจะขอเทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา จะตองยื่นคํารองเทียบ โอนรายวิชาภายใน 15 วันนับถัดจากวันเปดภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา และสามารถยื่นคํารองได เพียงครั้งเดียวเทานั้น ใหคณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาการโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา ตามคํารองของนักศึกษาใหแลวเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันสุดทายของระยะเวลาที่กําหนดเปน วัน ยื่ นคํ า ร อง และแจ งผลการอนุ มัติ ไ ปยัง บั ณ ฑิต วิ ท ยาลั ย และสํ านั ก บริห ารและพั ฒนาวิ ชาการ รายวิ ชาที่ป ระสงคจ ะขอโอนเป นรายวิช าที่ สอบผ านมาแล วไมเ กิน 5 ปก ารศึก ษา นั บจากวั น ลงทะเบียนรายวิชานั้นถึงวันที่มหาวิทยาลัยไดรับคํารองขอเทียบโอน การเทียบโอนรายวิชาและคา คะแนนของรายวิชาใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ การขอเทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา มีขั้นตอนดังนี้ • นักศึกษาที่ประสงคจะขอโอนหนวยกิตและคาคะแนนของรายวิชา ยื่นคํารอง (บว. 36) ที่งานบริการ การศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด โดยแนบใบแสดงผลการศึกษา รายละเอียดของรายวิชา และเคาโครง รายวิชาเพื่อประกอบการพิจารณา ยกเวนผูขอเทียบโอนที่เคยศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน ขอเทียบโอน ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ใหแนบเฉพาะใบแสดงผลการศึกษาเทานั้น • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกตอง โดยใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน • งานบริการการศึกษาคณะแจงผลการอนุมัติไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และสํานักบริหารฯ 4.4 การขอแจงการเปลี่ยนชื่อ - ชื่อสกุล กรณีที่ชื่อ-ชื่อสกุลของนักศึกษาไมถูกตอง หรือมีการเปลี่ยนชื่อ-ชื่อสกุล หรือเปลี่ยนคํานําหนาชื่อ/ยศ หากนักศึกษาประสงคจะขอใหเปลี่ยนแปลงขอมูลดังกลาว ใหติดตอฝายทะเบียนประวัติสํานักบริหารและพัฒนา วิชาการ อาคารศูนยวิชาการ โดย กรอกขอความในคํารองยื่นตอ ผูอํานวยการสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ พรอมทั้งแนบสําเนาเอกสาร ที่ใชเปนหลักฐาน อยางละ 3 ชุด คือ 1. ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล และทะเบียนสมรส หรือคําสั่งเลื่อนยศ 2. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน 3. สําเนาทะเบียนบาน กรณีการขอแกไขตัวสะกดภาษาอังกฤษ กรอกคํารองยื่นที่ชองการเงินเพื่อชําระคาธรรมเนียม 50 บาท และนําคํารองที่ชําระคาธรรมเนียมแลว ยื่นที่งานทะเบียนประวัติ เพื่อตรวจสอบและแกไขใหตามคํารอง 4.5 การลาพักการศึกษา การลาพักการศึกษา สําหรับนักศึกษาใหม คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย มีมติใหนักศึกษาใหมลา พักการศึกษาได ในกรณีจําเปนเทานั้น เชน ปวยหรืออุบัติเหตุ นอกจากนั้นไมอนุญาตใหลาพักการศึกษาได การลาพักการศึกษาใหลาพักไดไมเกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร การลาพักการศึกษามี 2 ลักษณะดังนี้ 4.5.1 ลาพักการศึกษาโดยที่ยังไมไดลงทะเบียนวิชาเรียน นักศึกษายื่นขอลาพักการศึกษาในชวงของวัน ตอทะเบียนและลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่กําหนดในปฏิทินของมหาวิทยาลัย ซึ่งตองชําระคาธรรมเนียมสําหรับการ ลาพักการศึกษาสําหรับการรักษาสถานภาพเปนนักศึกษา 4.5.2.1 ลาพักการศึกษาภายหลังจากที่ไดลงทะเบียนวิชาเรียนและชําระคาธรรมเนียมการศึกษา เรียบรอยแลวไมตองชําระคาธรรมเนียมการลาพัก สําหรับรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ทั้งนี้ตองยื่นคํารอง และไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษากอนการสอบประจําภาคตามปฏิทินการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกําหนดไมนอยกวา 2 สัปดาห ยกเวนกรณีที่ประสบอุบัติเหตุหรือมีเหตุสุดวิสัยอื่นๆ ซึ่งสามารถขอลาพักเปนกรณีพิเศษในชวงหลังวัน ดังกลาวได ลักษณะการลาพักในขอ 6.5.2 นี้ มหาวิทยาลัยจะไมคืนคาธรรมเนียมการศึกษาที่ไดชําระไปแลว นักศึกษาที่ประสงคจะขอลาพักการศึกษา ใหปฏิบัติดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2559

91


คู่มือนักศึกษา 2559

92 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • ขอ คํารองลาพักการศึกษา (บว.14) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวนโหลดได ที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารอง พรอมทั้งแนบเอกสารเพื่อประกอบการขอลาพัก (เชน ใบรับรองแพทย คําสั่งจากตน สังกัดฯลฯ) โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารยที่ปรึกษาหลัก และประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร • งานบริการการศึกษาคณะ ตรวจสอบ เพื่อเสนอคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาอนุมัติ • คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดอนุมัติแลว งานบริการการศึกษาสงคํารองไปที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพื่อตรวจสอบ กอนใหนักศึกษาชําระคาธรรมเนียมสําหรับการลาพักการศึกษา • ชําระเงินคาธรรมเนียมสําหรับการลาพักการศึกษา 4.6 การขอขยายเวลาศึกษาตอ นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติจากหนวยราชการหรือหนวยงานใหเขาศึกษา แตระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติใหลา ศึกษาสิ้นสุดลงกอนสําเร็จการศึกษา มีความประสงคจะขอขยายเวลาศึกษาตอจากตนสังกัดตองนําหนังสือที่ลงนาม โดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขออนุมัติขยายเวลาศึกษาตอถึงหัวหนาหนวยงาน ขั้นตอนการขอหนังสือขยายเวลา ศึกษาตอมีดังนี้ • ขอ คํารองขอหนังสือขยายเวลาศึกษาตอถึงตนสังกัด (บว.17) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวนโหลดไดที่เว็บไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารองและแนบสําเนาคําสั่ง หรือสําเนาหนังสือจากตนสังกัดอนุญาตใหลาศึกษาตอ ที่ระบุชวงเวลา การลาศึกษาตอ เสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อใหความเห็นชอบ • ยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด ซึ่งงานบริการการศึกษาคณะจะตรวจสอบ แลวเสนอคณบดีอนุมัติ • งานบริการการศึกษาคณะจะสงคํารองขอขยายเวลาใหบัณฑิตวิทยาลัย จัดทําหนังสือขออนุมัติขยาย เวลาศึกษาตอถึงตนสังกัด • นักศึกษาขอรับหนังสือที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามแลวไดที่ จุด One Stop Service บัณฑิต วิทยาลัย ภายใน 3 วัน หลังจากยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด 4.7 การขอรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการ นักศึกษาที่เปนขาราชการที่ประสงคจะรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการ หากไดลงทะเบียนเรียน รายวิชาครบตามหลักสูตรแลว และไดทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ อยูในขั้นที่คณะกรรมการที่ปรึกษาเห็นสมควร กลับเขารับราชการได นักศึกษาสามารถขอหนังสือรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการได โดยมีขั้นตอนดังนี้ • ขอคํารองขอรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการ (บว.17) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • กรอกคํารอง เสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อให ความเห็นชอบ • ยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด ซึ่งงานบริการการศึกษาคณะจะตรวจสอบ และนําเสนอคณบดีอนุมัติ • งานบริการการศึกษาคณะ จะสงคํารองขอรายงานตัวเพื่อเขาปฏิบัติราชการมาที่บัณฑิตวิทยาลัย • บัณฑิตวิทยาลัย จัดพิมพหนังสือเสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาลงนาม • นักศึกษาขอรับหนังสือที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามแลวไดที่ จุด One Stop Service บัณฑิต วิทยาลัย ภายใน 3 วันหลังจากยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด 4.8 การรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแลว และอยูในระหวางการขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นักศึกษาตองตอทะเบียนเพื่อรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ในชวงวันตอทะเบียนและลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่ กําหนดในปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสําหรับภาคการศึกษานั้นๆ มิฉะนั้นจะตองถูกมหาวิทยาลัยสั่งใหพน สภาพการเปนนักศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 6 ขอ 26.6 และหมวดที่ 10 ขอ 55.4 การขอรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษามีขั้นตอนดังนี้ • ขอ แบบรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา (บว.13) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน โหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารอง เสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก และประธานคณะกรรมการหลักสูตรเพื่อให ความเห็นชอบโดยยื่นคํารองใหงานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบและนําเสนอคณบดี อนุมัติ • ยื่นคํารองที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ พรอมกับเอกสารตอทะเบียน ในวันตอทะเบียนและ ลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่กําหนดในปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสําหรับภาคการศึกษานั้นๆ • ชําระเงินคาธรรมเนียมสําหรับรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ตามอัตราที่กําหนดในระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแกน 4.9 การรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน เรื่อง การรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ โดยนักศึกษาในหลักสูตรที่กําหนดใหการตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ เปนสวนหนึ่งของเงื่อนไขในการสําเร็จการศึกษาที่เรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแลว สอบและสงวิทยานิพนธฉบับ สมบูรณใหบัณฑิตวิทยาลัยและไดดําเนินการจนผานเงื่อนไขการสําเร็จการศึกษาอื่นๆ ครบถวนแลว แตอยูในระหวาง รอการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการที่หลักสูตรกําหนด และใชเวลาในการศึกษายังไมครบตาม ระยะเวลาสูงสุดที่กําหนดไวในหลักสูตรหรือระยะเวลาสูงสุดที่กําหนดตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน ให ดําเนินการการขอรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ ดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2559

93


คู่มือนักศึกษา 2559

94 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • ขอ แบบรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา (บว.13-1) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • นักศึกษายื่นคํารองตอคณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัด โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ ปรึกษา และตองแนบเอกสารดังนี้ - สําเนาเอกสารที่แสดงถึงการผานเกณฑการศึกษาครบถวนตามหลักสูตร เชน หนังสือ รับรองผลการเรียน(Transcripts) ผลการสอบภาษาอังกฤษ ผลการสอบวิทยานิพนธ หลักฐาน การสงวิทยานิพนธ ฉบับสมบูรณ เปนตน - สําเนาบทความที่สงไปขอตีพิมพพรอมหนังสือนําสงและรายละเอียดของวารสารที่สงไป ตีพิมพ ไดแก ชื่อวารสาร • ใหคณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัดพิจารณาอนุมัติ และใหคณะสําเนาคําอนุมัติแจงให บัณฑิตวิทยาลัยและสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันไดรับอนุมัติ • นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพ ผลงานวิทยานิพนธ ไมตองชําระคาธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา และรักษาสถานภาพ ครั้งละ 1 ภาคการศึกษา 4.10 การขอลาออก นักศึกษาที่ประสงคจะขอลาออกจากการเปนนักศึกษา ใหปฏิบัติดังนี้ • ขอ คํารองขอลาออก (บว.15) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน โหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารอง และตรวจสอบหนี้สินเสร็จเรียบรอยเสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ/ประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อใหความเห็นชอบ • ยื่นคํารองที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เจาหนาที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ตรวจสอบเสนอ ผอ.สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพื่อใหความเห็นชอบ • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ นําเสนอคํารองของนักศึกษาตอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อ พิจารณาอนุมัติ • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ แจงผลการพิจารณาของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยถึงคณะที่ เกี่ยวของ 4.11 การพนสภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาจะพนสภาพการเปนนักศึกษาตอเมื่ออยูในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังตอไปนี้ • ตาย • ลาออกและไดรับอนุมัติแลว • สําเร็จการศึกษา


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • มหาวิทยาลัยสั่งใหออก อันเนื่องมาจากการฝาฝนระเบียบการลงทะเบียนและการชําระ คาธรรมเนียมการศึกษา • เรียนไดจํานวนหนวยกิตไมเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาคะแนนใน หลักสูตร และไดคะแนนเฉลี่ยสะสม ต่ํากวา 2.50 • เรียนไดจํานวนหนวยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาคะแนนและ ได คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 2.75 • ไมมีความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดตอกันโดย ไดสัญลักษณ S เปน 0 ติดตอกัน 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ หากได S เปน 0 กอนและหลังการ ลาพักการศึกษา ถือวา เปนการได สัญลักษณ S เปน 0 ติดตอกัน 2 ภาคการศึกษา • สอบวิทยานิพนธ หรือสอบประมวลความรู หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัดคุณสมบัติ ครั้งที่สองไมผาน • หลังการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ครั้งที่ 1 ไมผาน หากไมดําเนินการและ/หรือสอบ วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระครั้งที่ 2 ตามระยะเวลาที่กําหนด • ใชเวลาการศึกษาครบตามที่หลักสูตรกําหนดแลว • นักศึกษาสามัญที่คงสภาพเปนนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กําหนด • ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตความผิดที่เปนลหุโทษหรือความผิดอันไดกระทําโดย ประมาท • ถูกลงโทษทางวินัยใหออกจากการเปนนักศึกษา 4.12 การขอกลับเขาเปนนักศึกษา นักศึกษาที่พนสภาพการเปนนักศึกษาตามขอ 55.2 55.4 ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 อาจขอสถานภาพการเปนนักศึกษาคืนได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามประกาศของ บัณฑิตวิทยาลัย ขั้นตอนการกลับเขาเปนนักศึกษามีดังนี้ • ขอ คํารองขอกลับเขาเปนนักศึกษา (บว.18) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชา สังกัด หรือหรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารองและยื่นคํารอง เสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด เพื่อใหความเห็นชอบ กอนเปดภาค การศึกษาที่ตองการกลับเขาเปนนักศึกษาไมนอยกวา 3 สัปดาห • คณะสงคํารองตอสํานักบริหาร ฯ เจาหนาที่สํานักบริหารฯ ตรวจสอบ เสนอตอ ผอ.สํานักบริหาร ฯ ใหความเห็นชอบ • สํานักบริหาร ฯ นําเสนอคํารองของนักศึกษาตอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ

คู่มือนักศึกษา 2559

95


คู่มือนักศึกษา 2559

96 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • สํานักบริหารฯ แจงผลการพิจารณาของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยถึงคณะที่เกี่ยวของและ นักศึกษาเปนรายบุคคลเพื่อใหมาตอทะเบียน/ลงทะเบียนวิชาเรียน และชําระคาธรรมเนียมการศึกษา และค าธรรมเนี ย มการคื น สถานภาพการเป น นั ก ศึก ษา ตามกํ าหนดในปฏิ ทิ น การศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา 4.13 การขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา นักศึกษาอาจสามารถขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา (เชน จากหลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 เปนแผน ข ) ทั้งนี้โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่นักศึกษาเขา ศึกษากอนเปดภาคการศึกษาอยางนอย 3 สัปดาห ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษามีดังนี้ • ขอคํารองขอเปลี่ยนแผนการศึกษา (บว.33) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน โหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารองและยื่นคํารองเสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร • งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบ เสนอตอคณบดีเพื่ออนุมัติ • งานบริการการศึกษาคณะ แจงผลการอนุมัติใหสํานักบริหารฯ บัณฑิตวิทยาลัย และภาควิชาที่เกี่ยวของ • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียม การเปลี่ยนแผนการศึกษา • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดําเนินการแกไขขอมูลนักศึกษา 4.14 การขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา นักศึกษาอาจสามารถขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา (เชน จากภาคปกติ เปนโครงการพิเศษ ฯลฯ) ทั้งนี้โดยผาน ความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลง ระบบการเรียนมีดังนี้ • ขอคํารองขอเปลี่ยนระบบการศึกษา (บว.33) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน โหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารองและยื่นคํารองเสนอตออาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร • งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบ เสนอตอคณบดีเพื่ออนุมัติ • งานบริการการศึกษาคณะ แจงผลการอนุมัติใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย และ ภาควิชาที่เกี่ยวของ • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียม การเปลี่ยนระบบการศึกษา • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดําเนินการแกไขขอมูลนักศึกษา 4.15 การขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา นั ก ศึ ก ษาสามารถขอเปลี่ ย นแผนการศึ ก ษาได โดยนั ก ศึ ก ษาต อ งผ า นการคั ด เลื อ กเข า ศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัยขอนแกน และมีคุณสมบัติของผูเขาศึกษาในหลักสูตรของแผน/แบบการศึกษาที่ตองการเปลี่ยนใหม ซึ่ง การขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ทําไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น และตองดําเนินการภายใน 1 ปการศึกษา ในกรณีที่ขอ เปลี่ยนแผนการศึกษาเกินกวา 1 ป ตองมีความจําเปนอยางยิ่ง และใหนําเสนอคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ ใหความเห็นชอบ ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยขั้นตอนการขอเปลี่ยนแผนการศึกษา มีดังนี้ • นักศึกษาที่ประสงคจะขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ใหยื่นคํารองขอเปลี่ยนแผนการศึกษา (บว.33-1) ตอ คณะ ที่สาขาวิชาสังกัด โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไมนอยกวา 3 สัปดาหกอนเปดภาคการศึกษา

• ใหคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัดเปนผูอนุมัติโดยพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันยื่นคํา รอง และแจงผลการอนุมัติไปยัง บัณฑิตวิทยาลัย และสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียม การเปลี่ยนสาขาวิชา • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงขอมูลนักศึกษา 4.16 การขอเปลี่ยนสาขาวิชา นักศึกษาสามารถขอเปลี่ยนสาขาวิชาได เมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแลวไมนอยกวา 8 หนวยกิต มี รายวิชาที่สามารถโอนเขาสาขาวิชาใหมไดไมนอยกวา 6 หนวยกิต และทุกวิชาที่จะโอนตองไดระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แลวแตกรณี และไดศึกษามาแลวไมเกิน 3 ป และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 ทั้งนี้ตองไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม โดยไดรับอนุมัติจากคณะที่สาขาวิชาใหมสังกัด ตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงสาขาวิชา มีดังนี้ • นักศึกษายื่นคํารองขอเปลี่ยนสาขาวิชา (บว.34) ตอคณะที่หลักสูตรสาขาวิชาเดิมสังกัด โดยความ เห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเดิมไมนอยกวา 6 สัปดาห กอนเปด ภาคการศึกษา • คณบดีคณะที่หลักสูตรสาขาวิชาใหมสังกัด เปนผูอนุมัติโดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจําคณะ และแจงผลการพิจารณาใหคณะ/สาขาวิชาเดิม เพื่อแจงนักศึกษาทราบตอไป • คณะที่สาขาวิชาใหมสังกัด แจงผลการอนุมัติเปลี่ยนสาขาวิชาไปยังสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัย กอนเปดภาคการศึกษา • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียม การเปลี่ยนสาขาวิชา • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงขอมูลนักศึกษา 4.17 การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาที่มีความประสงค ขอเปลี่ยนระดับการศึกษา จะตองมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในหลักสูตร สาขาวิชาใหม และการขอเปลี่ยนระดับการศึกษาสําหรับนักศึกษาคนหนึ่ง ๆ สามารถกระทําไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น กรณีขอเปลี่ยนระดับการศึกษาจากหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เปนหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองเปน นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก2 ที่ไดลงทะเบียนรายวิชาที่ประเมินผลเปน A B+ B C+ C D+ D F มาแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมในภาคการศึกษาสุดทายกอนการสอบวัด คุณสมบัติไมต่ํากวา 3.50 หรือ นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัยเพื่อทํา วิทยานิพนธอันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนวิทยานิพนธในระดับดุษฎีบัณฑิตได และสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ ที่

คู่มือนักศึกษา 2559

97


คู่มือนักศึกษา 2559

98 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ จัดขึ้นสําหรับนักศึกษาในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตในหลักสูตรสาขาวิชานั้นๆ และใหเปนไปตามประกาศบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ขั้นตอนการเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ • นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอเปลี่ยนระดับการศึกษา โดยผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาฯ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเดิม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหม และคณะกรรมการประจํา คณะ เพื่อเสนอขออนุมัติตอคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ไมนอยกวา 6 สัปดาห กอนเปด ภาคการศึกษา • คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูอนุมัติการเปลี่ยนระดับการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจําบัณฑิตวิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัยแจงผลการพิจารณาใหคณะที่สาขาวิชาสังกัดและสํานัก บริหารฯ เพื่อแจงนักศึกษาทราบและชําระคาธรรมเนียมการเปลี่ยนระดับ • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดําเนินการแจงหนวยงานที่เกี่ยวของ 4.18 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ํากวาหลักสูตรที่เขาศึกษา ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มีรายละเอียดดังนี้ • นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนรายวิชา ที่อยูในหลักสูตรระดับที่ต่ํากวาหลักสูตรที่ตนเขาศึกษาได ตอง ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และสาขาวิชา การลงทะเบียนรายวิชาที่มีเงื่อนไขของ รายวิชา อาจไดรับยกเวนไมตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาทีเปนเงื่อนไขที่ตองเรียนมากอน ทั้งนี้ตอง ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและสาขาวิชาที่เกี่ยวของ • คาธรรมเนียมการลงทะเบียนวิชาเรียนใหเรียกเก็บตามอัตราที่กําหนดในระเบียบและ/หรือประกาศ มหาวิท ยาลัยขอนแก น วา ดว ย ค าธรรมเนี ยมการศึก ษาตามระดับ ของหลั กสู ตรของรายวิ ชาที่ ลงทะเบียนนั้น ในกรณีที่ไมมีระเบียบ หรือประกาศรองรับ ใหเรียกเก็บตามอัตราที่กําหนดสําหรับ หลักสูตรที่นักศึกษานั้น ๆ เขาศึกษา • การนับจํานวนหนวยกิตและการคิดคาคะแนน ใหเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรที่นักศึกษาเขา ศึกษา รายวิชาใดที่ไมไดระบุในหลักสูตรหรือไมอยูในขอกําหนดของหลักสูตร จะตองลงทะเบียนโดยไม นับหนวยกิต (Audit) 4.19 การขอหนังสือรับรองการเปนนักศึกษา นักศึกษาที่ประสงคจะขอหนังสือรับรองใหปฏิบัติดังนี้ • ขอ คํารองขอหนังสือรับรอง ที่กลุมภารกิจบริการ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ หรือดาวนโหลด ไดที่เวบไซตสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ http://reg.kku.ac.th • กรอกคํ าร องและยื่ นคํ าร องที่ ก ลุ ม ภารกิ จ บริ ก าร สํ านั กบริ หารและพั ฒนาวิ ชาการ พร อมชํ าระเงิ น คาธรรมเนียม และติดตอขอรับหนังสือรับรองไดที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ 4.20 การขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) • นักศึกษาที่ประสงคจะขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) ฉบับสภาอนุมัติปริญญาหรือฉบับแสดง คะแนนเฉลี่ยสะสมใหปฏิบัติดังนี้ • ขอ คํารองขอใบแสดงผลการศึกษา ที่กลุมภารกิจบริการ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการหรือ ดาวนโหลดไดที่เวบไซตสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ http://reg.kku.ac.th • กรอกคํารองและยื่นคํารองที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการพรอมชําระเงินคาธรรมเนียม และติดตอขอรับ ใบแสดงผลการศึกษา ไดที่สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 4.21 การทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.1 การลงทะเบียนวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นักศึกษาจะลงทะเบียนเพื่อทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ไดตอเมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบ ตามที่แตละหลักสูตรกําหนด โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ทั้งนี้ หลักเกณฑอื่น ๆ ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย สําหรับจํานวนหนวยกิตที่จะลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตาม คําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระและอาจารยที่ปรึกษารวมหรือเปนไปตามขอกําหนด เฉพาะของแตละสาขาวิชา แตทั้งนี้ตองไมขัดกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย 4.21.2 การเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวม การเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวมมีขั้นตอนดังนี้ • ขอคํารองขอเสนอชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวม (บว.21) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด หรือหรือดาวนโหลดไดที่เวบไซต บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกรายละเอี ย ดในคํ า ร องตามคํ า แนะนํ า ของอาจารย ที่ ป รึ ก ษาหลั ก และประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรลงนามใหความเห็นชอบ โดยใหอาจารยที่ปรึกษาหลักหรือที่ ปรึกษารวม ลงลายมือชื่อในคํารองฯ • ยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบคุณสมบัติของอาจารยและเสนอใหคณบดีเห็นชอบใหแตงตั้งพรอมทั้ง ลงนามในคําสั่ง • งานบริการการศึกษาคณะแจงผูเกี่ยวของและบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ 4.21.3 การขอเปลี่ยนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวม ถ า หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอาจารย ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ /การศึ ก ษาอิ ส ระ นั ก ศึ ก ษาต อ ง ดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2559

99


คู่มือนักศึกษา 2559

100 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • ขอคํารองขอเปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ (บว. 21) ที่งาน บริ ก ารการศึ ก ษาคณะที่ นั ก ศึ ก ษาสั ง กั ด หรื อ ดาวน โ หลดได ที่ เ วบไซต บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย http://gs.kku.ac.th • กรอกรายละเอียดในคํารอง โดยระบุชื่ออาจารยที่ปรึกษาคนเดิมพรอมใหลงลายมือชื่อ และ ระบุชื่ออาจารยที่ปรึกษาหลัก/รวมคนใหม พรอมใหลงลายมือชื่อ และใหลงนามเฉพาะบุคคล ที่มีการเปลี่ยนแปลงเทานั้น • เสนอแบบคํ า ร อ งผ า นอาจารย ที่ ป รึ ก ษาหลั ก และประธานคณะกรรมการบริ ห าร หลักสูตร ใหความเห็นชอบ • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบ และเสนอใหคณบดีอนุมัติ พรอมทั้งลงนามในคําสั่ง เปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ • งานบริการการศึกษาคณะ แจงผูที่เกี่ยวของและบัณฑิตวิทยาลัย 4.21.4 การเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นัก ศึ กษาที่ล งทะเบีย นวิท ยานิ พ นธ /การศึ กษาอิส ระแล ว จํ า เป น ตอ งเสนอเค าโครง วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ และอาจารยที่ ปรึกษารวมตอคณบดีที่นักศึกษาสังกัดเพื่อพิจารณาอนุมัติ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 40 โดยระดับปริญญาโทตองไดรับอนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธภายใน 1 ป หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ และระดับปริญญาเอกตองไดรับอนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธภายใน 2 ป หลังจาก ลงทะเบี ย นวิ ท ยานิ พ นธ ทั้ ง นี้ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกจะต อ งสอบผ า นการสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ ก อ นจึ ง จะ ดําเนินการเสนอขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธได ขั้นตอนการเสนอเคาโครงมีดังนี้ • ขอ แบบเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ (บว.23) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • สําหรับสาขาวิชาที่กําหนดใหมีการสอบเคาโครง ใหนักศึกษาดําเนินการขอสอบที่คณะ ที่นักศึกษาสังกัดโดยการกําหนดคณะกรรมการสอบเคาโครง พรอมทั้งวัน เวลา สถานที่สอบ ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษา อิสระ และไดรับอนุมัติจากคณบดีคณะนั้น ๆ • อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ อาจจะเชิญผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชา จากภายนอกหรือผูเชี่ยวชาญสาขาวิชาอื่น เชน ดานสถิติ ฯลฯ เปนกรรมการสอบ เคาโครงได • คณะ อาจจะประกาศแจงวัน เวลา และสถานที่สอบเคาโครง ใหนักศึกษา และอาจารยที่สนใจเขารับฟงและซักถามขอสงสัยได • เมื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ เห็นชอบเคาโครงแลว นักศึกษา กรอก รายละเอียดในแบบ บว.23 แลวใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ และอาจารยที่ปรึกษารวมทุกคนลงนามและประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ลง นามใหความเห็นชอบ • ยื่นแบบ บว.23 พรอมทั้งเคาโครงที่มีหัวขอครบถวนตามที่ระบุในแบบ บว.23(ดานหลัง) จํานวน 6 ชุด ที่คณะที่นักศึกษาสังกัด • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบรูปแบบเคาโครง และเสนอคณบดีอนุมัติเคาโครง • งานบริ ก ารการศึ ก ษาคณะส ง เค า โครงที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ แ ล ว ให อ าจารย ที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธ นักศึกษา และสงสําเนาแบบ บว. 25 ที่อนุมัติแลวพรอมแผนบันทึก ขอมูลไฟลอิเล็กทรอนิกส จํานวน 1 แผน สงใหบัณฑิตวิทยาลัย 4.21.5 แนวปฏิบัติในการแตงตั้งอาจารยผูเชี่ยวชาญ แนวปฏิบัติการแตงตั้งอาจารยผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหสภามหาวิทยาลัยขอนแกนเห็นชอบ มีขั้นตอนดังนี้ • การขออนุมัติแตงตั้งอาจารยผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี ใหประธานหลักสูตรโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนั้นๆจัดทําเอกสารเพื่อประกอบการเสนอ พิจารณาแตงตั้ง เสนอขอแตงตั้งตาม แบบ บว.42 • คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะพิจารณา และสงเรื่องใหงานบริการการศึกษา ตรวจสอบเอกสารตาง ๆ และเสนอคณบดีคณะที่รับผิดชอบหลักสูตร • คณบดีคณะที่รับผิดชอบหลักสูตรสงเรื่องใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณา และให คณะกรรมการประจํ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย พิ จ ารณากลั่ น กรอง และเสนอสภา มหาวิทยาลัยขอนแกนเห็นชอบ 4.21.6 การขอความอนุเคราะหจากหนวยงานตาง ๆ เพื่อขอความรวมมือในการเก็บขอมูล ทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นักศึกษาที่ประสงคจะขอความรวมมือในการเก็บขอมูลทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระจาก หนวยงานตางๆ จําเปนตองมีหนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อขอความอนุเคราะหจาก หนวยงานนั้น ๆ ขั้นตอนของการขอหนังสือจากคณะที่นักศึกษาสังกัดมีดังนี้ • จัดพิมพหนังสือ 2 ฉบับคือ - ฉบับที่ 1 บันทึกขอความจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธถึงคณบดีคณะนั้น ๆ เพื่อ แจงความประสงคและขอความรวมมือในการเก็บขอมูลโดยผานความ เห็นชอบของหัวหนา ภาควิชาหรือประธานหลักสูตร - ฉบับที่ 2 หนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดถึงหนวยงานที่ตองการขอความ อนุเคราะหโดยแตละหนวยงานใหพิมพตนฉบับ 1 ชุดและสําเนา 2 ชุด (ดูตัวอยาง ภาคผนวก) • ยื่นหนังสือฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ที่งานบริการการศึกษาคณะ • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกตอง และเสนอใหคณบดีลงนาม

คู่มือนักศึกษา 2559

101


คู่มือนักศึกษา 2559

102 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • นักศึกษาขอรับหนังสือจากงานบริการการศึกษาคณะไปดําเนินการจัดสงใหหนวยงาน ตางๆ ดวยตนเอง 4.21.7 การขอความอนุเคราะหใหเปนผูเชี่ยวชาญหรือผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือในการ วิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ นักศึกษาที่ประสงคจะขอความอนุเคราะหจากหนวยงานตาง ๆ ในการใหบุคลากรของหนวยงานนั้น เปนผูเชี่ยวชาญหรือผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือในการทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระจําเปนตองมีหนังสือ ราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อขอความอนุเคราะหจากหนวยงานนั้น ๆ ขั้นตอนของการขอหนังสือจากคณะที่ นักศึกษาสังกัดมีดังนี้ จัดพิมพหนังสือ 2 ฉบับคือ - ฉบับที่ 1 บันทึกขอความจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ฯลฯ ถึงคณบดีที่นักศึกษา สังกัดโดยผานความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร - ฉบับที่ 2 หนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัด ถึงหัวหนาหนวยงานของบุคคลที่ ตองการขอความอนุเคราะหโดยแตละหนวยงานใหพิมพตนฉบับ 1 ชุด และสําเนา 2 ชุด (ดูตัวอยางภาคผนวก) • ยื่นหนังสือฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ที่งานบริการการศึกษาคณะ • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกตอง และเสนอใหคณบดีลงนาม • นักศึกษาขอรับหนังสือจากงานบริการการศึกษาคณะไปดําเนินการจัดสงใหหนวยงาน ตางๆ ดวยตนเอง 4.21.8 การขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 4.21.8.1 การสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 44 4.21.8.2 การขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ มีขั้นตอนดังนี้ • ขอ คํารองขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ (บว.25) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.25 เสนออาจารยที่ปรึกษาหลัก และประธาน หลักสูตร ใหความเห็นชอบ พรอมแบบฟอรม Turnitin Originality Report (ตาม ประกาศ บว. ฉบับที่ 164/2557) และสงวิทยานิพนธ/รายงานการศึกษาอิสระที่ยังไม เขาปกใหงานบริการการศึกษาเทากับจํานวนกรรมการสอบ กอนวันกําหนดสอบอยาง นอย 20 วัน • งานบริ ก ารการศึ ก ษาพิ ม พ ใบแสดงผลการศึ กษาของนั กศึ กษาที่ ขอสอบจากระบบ On-line ของสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ตรวจสอบคุณสมบัติของนักศึกษาที่ขอ สอบ และผลสอบภาษาอังกฤษ


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียมสอบ ที่งานการเงินคณะที่นักศึกษาสังกัด • งานบริการการศึกษาคณะเสนอคํารองขอสอบใหคณบดีอนุมัติและสงวิทยานิพนธหรือ การศึกษาอิสระ ใหคณะกรรมการสอบอานกอนสอบ • งานบริการการศึกษาคณะสําเนาคํารองขอสอบแจงบัณฑิตวิทยาลัย 4.21.8.3 การเสนอแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ มีขั้นตอนดังนี้ ประธานหลักสูตร เสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระพรอม คุณวุฒิและผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพร ตอคณบดีเพื่อพิจารณาแตงตั้ง งานบริการการศึกษาคณะ ตร ว จ ส อบ คุ ณ ส มบั ติ อา จา ร ย ผู สอบ วิ ทยา นิ พน ธ /ก า ร ศึ กษา อิ ส ระ ต า ม ปร ะ ก า ศบั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา และ เสนอใหคณบดีพิจารณาแตงตั้งและลงนามในคําสั่ง งานบริการการศึกษา สงสําเนาคําสั่งแตงตั้งใหบัณฑิตวิทยาลัย และภาควิชาเพื่อแจงผูที่เกี่ยวของทราบ 4.21.8.4 การดําเนินการเกี่ยวกับการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ การสอบวิทยานิพนธ ดําเนินการสอบตามระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ขอ 44.2 การสอบการศึกษาอิสระ ดําเนินการสอบตามระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ขอ 44.3 4.21.8.5 การแจงผลการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ดําเนินการตาม ระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ขอ 46 4.21.9 การขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ หากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ลงความเห็นใหมีการปรับหรือเปลี่ยนชื่อ เรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระใหนักศึกษาดําเนินการขออนุมัติเปลี่ยนตามขั้นตอนดังนี้ • ขอคํารองขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ (บว.24) ที่งานบริการการศึกษาคณะ ที่นักศึกษาสังกัดหรือ หรือดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • กรอกคํารอง เสนอตออาจารยที่ปรึกษาหลัก และประธานหลักสูตร เพื่อใหความเห็นชอบ • ยื่นคํารองที่งานบริการการศึกษาคณะ งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบและเสนอตอคณบดีเพื่อ ลงนามอนุมัติ • งานบริการการศึกษาคณะ แจงบัณฑิตวิทยาลัยและสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 4.21.10 การสงวิทยานิพนธ/การสงรายงานศึกษาอิสระ การสงวิทยานิพนธ นักศึกษาที่สอบผานวิทยานิพนธ เรียบรอยแลว ใหรีบดําเนินการตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย การสงรายงานการศึกษาอิสระ นักศึกษาที่สอบผานการศึกษาอิสระ เรียบรอยแลว ใหรีบ ดําเนินการตามที่คณะกําหนด และตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2559

103


คู่มือนักศึกษา 2559

104 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ 4.22 การสอบประมวลความรู นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตที่ศึกษาในหลักสูตรแผน ข ตองสอบประมวลความรู(Comprehensive Examination) ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ขั้นตอนการสอบประมวลความรูมีขั้นตอนดังนี้ • ขอ คํารองขอสอบประมวลความรู (บว.30) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดหรือ ดาวนโหลดไดที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.30 แลวใหอาจารยที่ปรึกษาทั่วไปฯกําหนดวัน เวลา และ สถานที่สอบพรอมทั้งลงนาม และประธานหลักสูตร ลงนามใหความเห็นชอบ • ยื่นแบบ บว.30 ที่งานบริการการศึกษาคณะ กอนการสอบอยางนอย 15 วัน • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกตอง และเสนอใหคณบดีอนุมัติการสอบ • นักศึกษาชําระคาธรรมเนียมการสอบประมวลความรู • คณะกรรมการสอบประมวลความรู ดําเนินการสอบตามกําหนดวันเวลาที่ระบุสําหรับแตละสาขาวิชา โดยเปนผู ดําเนินการจัดสอบประมวลความรูภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่ จําเปนอาจ จัดการสอบในภาคการศึกษาพิเศษ ได การสอบประมวลความรูเปนการสอบขอเขียน หรือการ สอบปากเปลา หรือการสอบทั้งสอบแบบ • ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบตอคณะ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และ บัณฑิตวิทยาลัย ผานประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ แจงผลการสอบโดยใช ใบแจงผลการสอบประมวลความรู (บว.32) • งานบริการการศึกษาคณะ สําเนาผลการสอบประมวลความรูแจงใหบัณฑิตวิทยาลัยและสํานัก บริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบ 4.23 การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบวัดคุณสมบัติมีขั้นตอน ดังนี้ • ขอคํารองสอบวัดคุณสมบัติ (บว.30) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวนโหลดได ที่เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th • นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.30 แลวใหอาจารยที่ปรึกษาทั่วไป กําหนดวันเวลาและ สถานที่สอบพรอมทั้งลงนาม และประธานหลักสูตร ลงนามใหความเห็นชอบ • ยื่นแบบ บว.30 ที่งานบริการการศึกษาคณะกอนการสอบอยางนอย 15 วัน • งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกตอง และเสนอใหคณบดีอนุมัติการสอบ • นักศึกษาชําระคาสอบวัดคุณสมบัติ • คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ จัดสอบวัดคุณสมบัติ และใหประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบตอ คณะ สํา นักบริหารและพัฒนาวิ ชาการ และบัณฑิตวิท ยาลัย ผา น


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ แจงผลการสอบโดยใชใบแจงผลการสอบ ประมวลความรู/วัดคุณสมบัติ (บว.32) • งานบริการการศึกษาคณะ สําเนาผลการสอบวัดคุณสมบัติ แจงใหบัณฑิตวิทยาลัยและสํานัก บริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบ 4.24 การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาใน ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ขอ 50 ใหคณะกรรมการประจําคณะเปนผูอนุมัติการสําเร็จการศึกษา และใหถือวันที่ไดรับอนุมัตินั้นเปนวันสําเร็จการศึกษา 425 การขออนุมัติปริญญา นักศึกษาผูคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ใหยื่นคํารองแสดงความจํานงขอ สําเร็จการศึกษาตอคณะลวงหนาอยางนอย 30 วัน กอนวันสิ้นภาคการศึกษาที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษานั้น นักศึกษาที่จะไดรับการพิจารณาเสนอชื่อจากคณะเพื่อขออนุมัติปริญญาตอสภามหาวิทยาลัย ตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 4.25.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาตามระเบียบฯ 2559 ขอ 50 4.25.2 ไมคางชําระคาธรรมเนียมตาง ๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ 4.25.3 เปนผูไมอยูในระหวางการดําเนินการทางวินัยนักศึกษา 4.25.4 สงวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ที่จัดทําตามรูปแบบและ จํานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด การเสนอชื่อผูสําเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติปริญญาตอสภามหาวิทยาลัย ใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัย กําหนด นอกจากนี้ นักศึกษาจะตองดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบหนี้สิน ใบแจงความจํานงสําเร็จการศึกษา และการตรวจสอบหนี้สิ้น (บว.20) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัดและใหหนวยงานตางๆ ไดแก สํานัก วิทยบริการ สาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัด และลงนามรับรองในแบบ บว.20 วานักศึกษาไมมีหนี้สินคางชําระใดๆ แลว ยื่นแบบ บว.20 ที่งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบ และเสนอใหคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดรับทราบ เพื่อนําไป ประกอบการพิจารณาเสนอชื่อผูสําเร็จการศึกษาตอสภามหาวิทยาลัย 4.26 การขอรับปริญญา 4.26.1 การขอรับปริญญาบัตร นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาใหติดตอสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการเพื่อขอแบบฟอรมขอรับปริญญาบัตร พรอมทั้งกรอกรายละเอียดในแบบฟอรมยื่นตอสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ซึ่งสํานักบริหารฯจะใชขอมูลใน แบบฟอรมดังกลาวสําหรับการติดตอกับนักศึกษาเกี่ยวกับงานพระราชทานปริญญาบัตรรายละเอียดเครื่องแตงกาย รับปริญญาสามารถดูไดที่เว็บไซต http://reg.kku.ac.th

คู่มือนักศึกษา 2559

105


คู่มือนักศึกษา 2559

106 แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ 4.27 เงื่อนไขของหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 4.27.1 เงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการขอความรวมมือเกี่ยวกับการเก็บขอมูลจากโรงเรียนในสังกัด สามัญศึกษา ตามหนังสือที่ ศธ 0808/1983 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ 2528 กรมสามัญศึกษาไดกําหนดเงื่อนไขและแนว ปฏิบัติในการขอความรวมมือเกี่ยวกับการเก็บขอมูลจากโรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษาดังนี้ การติดตอขอความรวมมือ (1) กรมสามัญศึกษาสนับสนุนใหมีการติดตอขอความรวมมืออยางเปนทางการโรงเรียนใน สังกัดกรมสามัญศึกษาทุกแหงยอมมีสิทธิที่จะปฏิเสธที่จะไมใหความรวมมือแกนักศึกษาที่เขาไปติดตอโดยไมมี หนังสืออนุญาตอยางเปนทางการ หรือแมจะมีหนังสืออนุญาตอยางเปนทางการ โรงเรียนก็ยังคงสงวนสิทธิที่จะไมให ขอมูลบางอยางที่เห็นวาไมสมควรได (2) ในการติดตอขอความรวมมืออยางเปนทางการนั้น ในกรณีที่ตองการรวบรวมขอมูลจาก โรงเรียนในสวนกลางหรือจากโรงเรียนในทองที่เกินกวาหนึ่งเขตการศึกษา คณะจะตองทําหนังสือราชการเพื่อขอ ความรวมมือไปยังอธิบดีกรมสามัญศึกษาโดยแนบเอกสารตอไปนี้เพื่อประกอบการพิจารณาคือ (2.1) โครงราง (Proposal) วิทยานิพนธ (2.2) แผนการและวิธีการรวบรวมขอมูล (2.3) รายชื่อโรงเรียนกลุมตัวอยาง (3) ในกรณีที่นักศึกษาตองการรวบรวมขอมูลจากโรงเรียนเฉพาะในทองที่เขตการศึกษาใดเขต การศึกษาหนึ่งเทานั้น คณะจะตองทําหนังสือราชการขอความรวมมือไปยังศึกษาธิการเขตของเขตการศึกษานั้นๆ โดยจะตองแนบเอกสารดังขอ (2.1),(2.2) และ (2.3) เพื่อประกอบการพิจารณาดวยเชนกัน (4) ในการติดตอขอความรวมมือในขอ (2) และ (3) นั้น คณะควรติดตอกรมสามัญศึกษาหรือ ศึกษาธิการเขตกอนวันดําเนินการรวบรวมขอมูลจากโรงเรียนอยางนอย 14 วัน เมื่อกรมสามัญศึกษาหรือศึกษาธิการ เขตพิจารณาเห็นชอบดวยกับวิธีการรวบรวมขอมูลที่ระบุไวแลวนั้น กรมสามัญศึกษาหรือเขตการศึกษาจะออก หนังสือถึงโรงเรียนให เพื่อใหผูทําวิทยานิพนธนําไปติดตอกับโรงเรียนกลุมตัวอยางในการดําเนินการเก็บรวบรวม ขอมูลตอไป การรวบรวมขอมูล เทาที่ผานมา ผูทําวิทยานิพนธมักจะใชวิธีการรวบรวมขอมูลที่สรางภาระเปนอยางมากแก โรงเรียน ผูใหขอมูล กลาวคือ มักสงแบบสอบถามที่มีความยาวมาก ๆ ใหกรอก และผูใหขอมูลตองหารายละเอียด ตาง ๆ เพื่อกรอกแบบสอบถามให ผลที่เกิดขึ้นก็คือแบบสอบถามนั้น ๆ ไดรับกลับคืนมานอยและขอมูลที่ไดมักไม สมบูรณ กรมสามัญศึกษาใครขอเสนอแนะใหพยายามหลีกเลี่ยงวิธีการดังกลาว และขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (1) รวบรวมขอมูลจากโรงเรียนเฉพาะที่จําเปนเทานั้น ขอมูลเกี่ยวกับสถิติตางๆ ของโรงเรียนควร คนควาจากแบบ รศ.2 และ ร.ค. ซึ่งเก็บไวที่กองแผนงาน กรมสามัญศึกษา ไมจําเปนตองสอบถามโรงเรียนโดยตรง (2) ใช วิ ธี ก ารรวบรวมข อ มู ล ที่ ส ร า งภาระน อ ยแก ผู ใ ห ข อ มู ล กล า วคื อ หลี ก เลี่ ย งวิ ธี ก ารส ง แบบสอบถามทางไปรษณียไปใหกรอก แตผูทําวิทยานิพนธควรหาขอมูลดวยวิธีการไปเยี่ยมเยือนโดยตรง สัมภาษณ แลวกรอกขอมูลลงแบบสอบถามดวยตนเอง ซึ่งจะไดประโยชนจากการสังเกตสภาพตาง ๆ เปนหลักฐานเพิ่มเติม


แนวปฏิบตั ิต่างๆที่ควรทราบ และถือปฏิบตั ิ (3) มีการวางแผนการรวบรวมขอมูลรวมกับโรงเรียนผูใหขอมูล เพื่อเปดโอกาสใหโรงเรียนมีความ สะดวกที่จะรวมมืออยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ผูทําวิทยานิพนธจะขอทดสอบนักเรียน ควรไดมีการ วางแผนรวมกับบุคลากรในโรงเรียนนัน้ ๆ เปนการลวงหนา (4) มีการสุมโรงเรียนตัวอยางกระจายกันออกไปเพื่อใหโรงเรียนทุกโรงไดรับภาระการใหขอมูล ทัดเทียมกัน มิใชสุมตัวอยางแบบจงใจใหไดแตโรงเรียนที่เดินทางติดตอไดสะดวกเทานั้น (5) มีการสุมตัวอยางเผื่อเพื่อใหมีโรงเรียนสํารองสําหรับใหขอมูลทดแทนในกรณีที่โรงเรียนที่ถูก เลือกเปนตัวจริงไมสามารถใหขอมูลไดอยางสมบูรณเมื่อนักศึกษาทําวิทยานิพนธเรื่องนั้นๆ เสร็จสมบูรณแลวขอให บัณฑิตวิทยาลัยสงใหกรมสามัญศึกษาหรือเขตการศึกษานั้นๆ แลวแตกรณี จํานวน 1 เลม ทั้งนี้เพื่อกรมสามัญศึกษาหรือ เขตการศึกษาจะไดนําผลการคนพบที่ไดจากวิทยานิพนธเรื่องนั้นไปพิจารณาประกอบการปรับปรุงโรงเรียนในสังกัดตอไป 4.27.2 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแจกแบบสอบถามเพื่อทําการวิจัยหรือวิทยานิพนธในสถานศึกษาของ กรมอาชีวศึกษา ดว ยกรมอาชีว ศึ กษาพิ จารณาเห็ นว า เพื่อ ประโยชน ทางวิ ชาการ และเพื่อ ให การแจก แบบสอบถามของนิสิตนักศึกษาหรือบุคคลภายนอกในสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษาเปนไปโดยเรียบรอย จึง กําหนดแนวปฏิบัติในเรื่องนี้ไวดังตอไปนี้ (1) ผู ป ระสงค จ ะแจกแบบสอบถามในสถานศึ ก ษาสั ง กั ด กรมอาชี ว ศึ ก ษาเพื่ อ ทํ า วิ จั ย หรื อ วิทยานิพนธ จะตองยื่นเรื่องราวขออนุญาตจากกรมอาชีวศึกษากอน (2) การยื่นเรื่องราวขออนุญาต จะตองยื่นเปนหนังสือขออนุญาตจากอธิการบดี คณบดี หรือ หัวหนาสวนราชการที่ผูประสงคจะแจกแบบสอบถามศึกษาหรือปฏิบัติราชการอยู (3) การยื่นเรื่องราวขออนุญาต จะตองแนบแบบสอบถามไปประกอบการพิจารณาดวย (4) กรมอาชี ว ศึ ก ษาจะพิ จ ารณาความประสงค แ ละแบบสอบถามดั ง กล า ว หากเห็ น ว า แบบสอบถามนั้นไมเหมาะสม กรมอาชีวศึกษาจะแจงใหสถาบันหรือหนวยงานเจาของเรื่องปรับปรุงแบบสอบถาม ใหม หากเห็นวาแบบสอบถามนั้นเหมาะสมแลวก็จะปฏิบัติดังนี้ (4.1) แจ ง การอนุ ญ าตการแจกแบบสอบถามให ส ถานศึ ก ษาของกรมอาชี ว ศึ ก ษาที่ เกี่ยวของทราบโดยหนังสือแจงสถานศึกษาดังกลาว กรมอาชีวศึกษาจะเปนผูจัดสง สวนแบบ สอบถามนั้นเปนหนาที่ ของผูวิจัยที่จะจัดสง (4.2) แบบสอบถามที่กรมอาชีวศึกษาอนุญาตใหแจกในสถานศึกษาไดนั้นจะมีตราประทับ คําวา “ไดรับความเห็นชอบจากกรมอาชีวศึกษา” (ตราวงกลม)ไวที่มุมบนดานขวาของแบบสอบถามแตละแผน โดยมี การลงลายมือชื่อผูไดรับมอบหมาย กํากับตราดังกลาวดวย (5) การแจกแบบสอบถามหลังจากกรมอาชีวศึกษาอนุญาตแลวใหผูวิจัยหรือผูแจกแบบสอบถามมอบ แบบสอบถามทั้งหมดใหกับหัวหนาสถานศึกษาแตละแหงเพื่อตรวจสอบกอนที่จะแจกในสถานศึกษา (6) ในกรณีผูวิจัยไดจัดทําแบบสอบถามไวเปนจํานวนมากและสงฉบับตัวอยางไปขออนุญาตตอ กรมอาชีวศึกษา กรณีเชนนี้หากกรมอาชีวศึกษาอนุญาตใหแจกแบบสอบถามได กรมอาชีวศึกษาจะดําเนินการ ประทับตราลงลายมือชื่อกํากับตราตามขอ (4.2) ในแบบสอบถามเพียงฉบับตัวอยางเทานั้น (7) เมื่อจะมีการแจกแบบสอบถามตามขอ (6) ในสถานศึกษา หัวหนาสถานศึกษาจะเรียก แบบสอบถามฉบับตัวอยางและแบบสอบถามที่จะใชแจกในสถานศึกษาตรวจสอบ หากเห็นวาขอความถูกตองตรงกัน แลวก็จะใหแจกในสถานศึกษาได

คู่มือนักศึกษา 2559

107


บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน ตอนที่ 5 บริการตาง ๆ ของบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขอนแกน 5.1 ทุนการศึกษา ทุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่ดําเนินการโดยบัณฑิตวิทยาลัย มีดังนี้ 5.1.1 ทุนสนับสนุนผูชวยสอน ผูชวยสอนตองมีภาระชวยสอนสัปดาหละไมต่ํากวา 10 ชั่วโมงและไมเกิน 12 ชั่วโมงตอสัปดาห และเปน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา โดยจัดสรรทุนละ 40,000.- บาท ระยะเวลา 8 เดือน ๆ ละ 5,000.- บาท โดยปฏิบัติงานดังนี้ ภาคการศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงาน เดือน ตน สิงหาคม – พฤศจิกายน 4 ปลาย มกราคม – เมษายน 4 การรับสมัคร 1. คณะยื่นโครงการเพื่อขอรับทุนประมาณเดือนมิถุนายน 2. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สนใจติดตอคณะตนสังกัดประมาณเดือนกรกฎาคม 3

5.1.2 ทุนสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธ คุณสมบัติ 1. ผูขอรับทุนมีสถานภาพการเปนนักศึกษา ในขณะที่ยื่นสมัครขอรับทุน 2. วิทยานิพนธตองไดรับอนุมัติเคาโครงเรียบรอยแลว 3. มีหลักฐานการสมัครหรือหลักฐานตอบรับเขารวมการประชุมวิชาการ ระบุรูปแบบ การนําเสนอ ทั้งนี้หากไดรับการอนุมัติ ตองสํารองเงินคาใชจายกอนและสงเอกสารหลักฐานการเบิกจาย ภายใน 1 สัปดาห หลังจากการนําเสนอผลงานและตองดําเนินการตามขั้นตอนการเบิกจายเงินทุนที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด ตารางคาใชจายในการเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ ระดับการประชุม ระดับนานาชาติ ประเภทการนําเสนอ ระดับชาติ จัดประชุม จัดประชุม ในประเทศไทย ตางประเทศ 1) Oral Presentation 5,000.- บาท 15,000.- บาท 30,000.- บาท 2) Poster presentation 3,000.- บาท 10,000.- บาท 20,000.- บาท การรับสมัคร แบงออกเปน 3 ชวง โดยพิจารณาจากชวงระยะเวลาในการนําเสนอผลงาน

คูมือนักศึกษา 2559

111


คูมือนักศึกษา 2559

112 บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน 5.1.3 ทุนอุดหนุนและสงเสริมการทําวิทยานิพนธ คุณสมบัติ 1. เปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่ศึกษาในหลักสูตรที่ทําวิทยานิพนธ 2. เปนวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติเคาโครงเรียบรอยแลว จํานวนเงินทุน 1. วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ในวงเงิน 100,000.- บาท ตอเรื่อง 2. วิทยานิพนธระดับปริญญาโท ในวงเงิน 50,000.- บาท ตอเรื่อง รับสมัครปละ 2 ครั้ง ประมาณเดือนสิงหาคมและมกราคม ของทุกป 5.1.4. ทุนอุดหนุนการคนควาและวิจัยในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ จํานวนเงินทุน จํานวน 150 ทุน ภาคการศึกษาละ 75 ทุนฯ ละ 5,000.- บาท คุณสมบัติ 1. มีสถานภาพการเปนนักศึกษา ในขณะที่ยื่นสมัครขอรับทุน 2. เปนผูที่ไมอยูในระหวางการรับหรือเคยไดรับทุนการศึกษาวิจัย ในขณะที่ศึกษาอยู ในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งที่เปนทุนภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย 3. เปนวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ที่ไดรับอนุมัติเคาโครงเรียบรอยแลว รับสมัครปละ 2 ครั้ง ประมาณเดือนกันยายนและกุมภาพันธ ของทุกป 5.1.5. ทุนสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อศึกษาวิจัย ณ ตางประเทศ คุณสมบัติ 1. เปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่กําลังศึกษาอยูในหลักสูตรที่ทําวิทยานิพนธ 2. เปนวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติเคาโครงเรียบรอยแลว บัณฑิตวิทยาลัยสนับสนุนคาใชจายแยกตามกลุมประเทศที่สถาบันการศึกษานั้นตั้งอยูเพื่อเปน คาใชจายสําหรับ คาตั๋วเครื่องบิน และ/หรือ คาพาหนะ คาที่พัก คาเบี้ยเลี้ยง และอื่นๆโดยจายในลักษณะเหมาจายใน อัตรา (บาท) ดังตอไปนี้ ที่ กลุมประเทศ วงเงิน 1 ทวีปเอเซีย นอกจาก 2 และ 3 30,000 2 อินเดีย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย 35,000 3 จีน เกาหลี ฮองกง ไตหวัน เอเชียตะวันตก 50,000 4 ญี่ปุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ยุโรปตะวันออก 60,000 5 ยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา แคนาดา 70,000 6 ประเทศอื่นๆ วงเงินอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณา การรับสมัคร แบงออกเปน 3 ชวง โดยพิจารณาจากชวงระยะเวลาในการศึกษาวิจัย ณ ตางประเทศ


บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน 5.1.6 ทุนวิจัย สําหรับคณาจารยบัณฑิตศึกษา เพื่อใหสามารถรับนักศึกษาที่มีความสามารถและ ศักยภาพสูงเขาศึกษาในหลักสูตรและทําวิจัยในสาขาที่อาจารยมีความเชี่ยวชาญ เปนทุนวิจัยที่ใหผานอาจารยบัณฑิตศึกษา เปนผูเสนอโครงการเพื่อขอรับทุน เพื่อรับนักศึกษาที่มี ความสามารถและศักยภาพสูง คุณสมบัติ (รายละเอียดในประกาศรับสมัคร) 1. คุณสมบัติของอาจารยบัณฑิตศึกษาที่มีสิทธิ์ขอรับทุน 2. คุณสมบัติของนักศึกษาที่ไดรับทุน - กรณีของการเขาศึกษาในระดับปริญญาโท - กรณีของการเขาศึกษาในระดับปริญญาเอก จํานวนเงินทุน ทุนที่ใหผานอาจารยบัณฑิตศึกษา แบงเปน 2 ประเภท 1. ทุนระดับปริญญาโท ทุนละไมเกิน 300,000 บาท (ตลอดหลักสูตรไมเกิน 2 ปการศึกษา) 2. ทุนระดับปริญญาเอก ทุนละไมเกิน 600,000 บาท (ตลอดหลักสูตรไมเกิน 3 ปการศึกษา) ในกรณีเปนนักศึกษาที่ศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก ใหสมัครทุนในระดับปริญญาโทกอน กําหนดการรับสมัคร

ประมาณเดือนธันวาคมของทุกป

5.1.7 ทุนราชกรีฑาสโมสร คุณสมบัติ เปนนักศึกษาระดับปริญญาโท ชั้นปที่ 1 เปนผูมีความประพฤติดี แตขาดแคลนทุนทรัพย ตอง ลงทะเบียนเรียนภาคการศึกษาละไมนอยกวา 9 หนวยกิต และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 จํานวน 3 ทุน ๆ ละ 30,000.- บาท ระยะเวลาใหทุน 2 ปติดตอกัน โดยแบงเปน 2 งวด ๆ ละ 15,000 บาท 3

3

สามารถสอบถามรายละเอียด เงื่อนไขการรับสมัครทุนตาง ๆ ไดที่บัณฑิตวิทยาลัย สามารถดูขอมูลเพิ่มเติมและ ดาวนโหลดประกาศ ใบสมัครไดที่เว็บไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th 5.2 สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแกน มีสํานักหอสมุด ซึ่งเปนศูนยกลางการใหบริการการศึกษามีหนังสือ สิ่งพิมพ และ โสตทัศนวัสดุทุกสาขาวิชา รวมทั้งวิทยานิพนธและหนังสืออางอิงตางๆที่จําเปนสําหรับการศึกษาคนควาของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ในบางคณะและบางภาควิชา ยังมีหองสมุดเฉพาะตางหาก ซึ่งจะมีหนังสือและสิ่งพิมพ เฉพาะสาขาวิชาไวใหบริการ 5.3 สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแกน มีสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเปนศูนยกลางการใหบริการสําหรับอาจารย ขาราชการ และนักศึกษา ในการเขาใชคอมพิวเตอรเพื่อปฏิบัติงานตาง ๆ เชน พิมพรายงาน ตรวจเช็คคอมพิวเตอร ซอมคอมพิวเตอร ดาวนโหลดโปรแกรม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีบริการเขาใชอินเทอรเน็ต ซึ่งนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาสามารถขอเปนผูใชได

คูมือนักศึกษา 2559

113


คูมือนักศึกษา 2559

114 บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน 5.4 หลักสูตรฝกอบรมภายใตโครงการการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของคณาจารยและนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ไดจัดกิจกรรมในลักษณะของการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เพื่อใหคณาจารย และนักศึกษา สามารถนําความรูไปประยุ กตใชในการศึ กษาวิจัย ได อยางมีประสิท ธิภาพมากยิ่ง ขึ้น โดยไดจัด หลักสูตรอบรม ออกเปน 4 กลุมหลัก คือ 1) กลุมหลักสูตรดานการวางแผนและการดําเนินการวิจัย 2) กลุมหลักสูตรดานการ วิเคราะหขอมูลเพื่อการวิจัย 3) กลุมหลักสูตรดานการนําเสนอและเผยแพรงานวิจัย และ 4) กลุมหลักสูตรดานมโน ทัศนและคุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อการวิจัย โดยในทุกภาคการศึกษาจะมีการจัดอบรมประมาณ 35 หลักสูตร หลักสูตรละ 1 ครั้ง อาทิ การออกแบบวางแผนและการเขียนเคาโครงการวิจัย การเลือกใชสถิติเพื่อการวิจัย การ วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม R การเขียนบทความวิจัยและการขอรับการตีพิมพในวารสารวิจัย การบริหารความคิด ดวย Mind Mapping วิธีการจัดการความเครียด เปนตน การจัดอบรมแตละครั้ง บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให นักศึกษาทราบโดยทั่วกัน และสามารถดูรายละเอียดไดที่ เวบไซตบัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th/ 5.5 โภชนาการ มหาวิทยาลัยขอนแกนจัดใหมีบริการจําหนายอาหารและเครื่องดื่มในราคาที่เหมาะสม โดยใหเอกชนเชา ดําเนินการภายใตการควบคุมของคณะกรรมการโภชนาการ ณ ศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งอยู บริเวณหนาอาคาร สํา นักหอสมุด นอกจากนี้ ยังมีโรงอาหารของคณะตาง ๆ ซึ่งสวนใหญจะเปดจําหนายในวั น ราชการ 5.6 รถขนสงมวลชน มหาวิทยาลัยขอนแกน และรถประจําทาง มหาวิทยาลัยขอนแกนจัดใหมีบริการรถ shuttle bus ใหม สามารถติดตามรายละเอียดการเดินทาง ทั้งเสนทางและตารางเวลาการใหบริการไดที่เวบไซต http://kst.kku.ac.th/ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยขอนแกนมอบใหเอกชนจัดวิ่งรถบริการรับ-สงผูโดยสารภายในมหาวิทยาลัย ระหวางมหาวิทยาลัยกับในเมืองขอนแกน ระหวางเวลา 06.00-22.00 น. โดยมีรถโดยสารวิ่งผานไดแก สาย 8 สีฟา สายเกา วิ่งจากการเคหะแหงชาติ ถึงโรงพยาบาลศรีนครินทร สายใหม วิ่งจากการเคหะแหงชาติ ถึงหอ 9 หลัง มหาวิทยาลัยขอนแกน สาย 16 สีแดง สายใหม วิ่งจากหมูบานกันยารัตน (โนนทัน) ถึงหอ 9 หลัง มหาวิทยาลัยขอนแกน รถตูโดยสาร วิ่งระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกน ถึงเซ็นทรัล และ ถึงสถานีรถปรับอากาศ 5.7 บริการไปรษณีย ภายในมหาวิทยาลัยขอนแกน มีที่ทําการไปรษณียโทรเลข โดยความรวมมือของการสื่อสารแหงประเทศไทย บริเวณลานจอดรถ ศูนยคอมเพล็กซ รหัสไปรษณียของมหาวิทยาลัยขอนแกน คือ 40002


บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน 5.8 บริการธนาคาร มหาวิทยาลัยขอนแกน มีที่ทําการธนาคารพาณิชยสําหรับใหบริการ 6 ธนาคาร คือ • ธนาคารไทยพาณิชย สาขามหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งอยูบริเวณดานหนาโรงพยาบาล ศรีนครินทร ถนนมิตรภาพ และสาขายอย 2 แหง ดังนี้ 1. ตั้งอยูศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน 2. ตั้งอยูบริเวณ ชั้น 1 อาคารสิริคุณากร มหาวิทยาลัยขอนแกน • ธนาคารกรุงเทพ ตั้งอยูบริเวณจุดรับสงผูปวย โรงพยาบาลศรีนครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน • ธนาคารกรุงไทย ตั้งอยูบริเวณ ชั้น 1 ศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยูบริเวณ ชั้น 1 ศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน • ธนาคารกสิกรไทย สาขามหาวิทยาลัยขอนแกน ตั้งอยูบริเวณ ชั้น 1 ศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน • ธนาคารออมสิน ตั้งอยูบริเวณ ชั้น 2 ศูนยคอมเพล็กซ มหาวิทยาลัยขอนแกน 5.9 ศูนยอาหารและบริการ (คอมเพล็กซ) มหาวิทยาลัยขอนแกน มีศูนยอาหารและบริการ (คอมเพล็กซ) เปนศูนยอาหาร และศูนยรวมรานคาตาง ๆ เชน ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยขอนแกน สหกรณรานคา การใหบริการธนาคาร รานบริการ Internet รานถาย เอกสาร รานจําหนายตั๋วเครื่องบิน ตั๋วรถปรับอากาศ ตั้งอยูบริเวณหนาอาคารสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแกน 5.10 ศูนยสุขภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน มีศูนยสุขภาพนักศึกษา ซึ่งเปนหนวยงานในสังกัดโรงพยาบาลศรีนครินทร คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ใหบริการสุขภาพนักศึกษา บุคลากรในมหาวิทยาลัยขอนแกนและประชาชน ทั่วไป ตั้งอยูที่ หลังศูนยอาหารและบริการ 1 (หลังคอมเพล็กซ) เวลาใหบริการ ทุกวันราชการ ตลอดชวงเวลา 08.00 – 20.00 น. ใหบริการโดยแพทยออกตรวจ 1 คน ชวงเชา เวลา 09.00-11.00 น. ชวงบาย เวลา 12.0016.00 น. และช ว งเย็ น เวลา 16.00-20.00 น. สํ า หรั บ การบริ ก ารโดยพยาบาลจะมี ต ลอดช ว งเวลาทํ า การ ** นอกเวลา ใชบริการที่โรงพยาบาลศรีนครินทร ** 5.11 การประกันอุบัติเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดจัดใหมีการประกันอุบัติเหตุ สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกนทุกคน

คูมือนักศึกษา 2559

115


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ตอนที่ 6 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 6.1 คณาจารยบัณฑิตศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 4 อาจารย ระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 16-24 ไดใหความหมายและกําหนดคุณสมบัติของอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งรายชื่อ คณาจารยในคูมือบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2559 นี้ เปนรายชื่อที่บัณฑิตวิทยาลัยไดทําการสํารวจสถานภาพ ปจจุบันของคณาจารยจากภาควิชา/สาขาวิชาตางๆ ที่เปดสอนหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษาเทานั้น โดยไดมีการ สํารวจสถานภาพปจจุบันของอาจารยระดับบัณฑิตศึกษาเปนประจําทุกป เพื่อใหไดขอมูลที่เปนปจจุบันมากที่สุด รายชื่อคณาจารยดังกลาวจําแนกตามคณะตาง ๆ ซึ่งปจจุบันบางคณะไดมีการยุบรวมภาควิชา และ/หรือเปลี่ยนจาก ภาควิชาเปนสาขาวิชา กลุมสาขาวิชา กลุมวิชา หรือสํานักวิชาการ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

คูมือนักศึกษา 2559

119


คูมือนักศึกษา 2559

120 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาคณิตศาสตร ชื่อ-สกุล รศ.ดร. กิตติกร นาคประสิทธิ์ รศ.ดร. ธวัช ชางผัส รศ.ดร. วิจารณ สดศิริ รศ.ดร. สมจิต โชติชัยสถิตย รศ.ดร. สาธิต แซจึง รศ.ดร. สุพจน ไวทยางกูร ผศ.ดร. เกียรติ แสงอรุณ ผศ.ดร.เกียรติสุดา นาคประสิทธิ์ ผศ.ดร.คณิต มุกดาใส ผศ.ดร. คําสิงห นนเลาพล ผศ.ดร.ธงชัย บทมาตย ผศ.ดร. นรากร คณาศรี ผศ.ดร. บัญชา อานนทกิจพานิช ผศ.ดร. บัณฑิต ภิบาลจอมมี ผศ.ดร. ประกิต จําปาชนม ผศ.ดร. พิกุล ภูผาสุข ผศ.ดร. วัชรินทร คลองดี ผศ.ดร. เสวียน ใจดี ผศ.ดร. อังคณา บุญยืด ผศ. ธีรนันท พฤกษกันทรากร ผศ. ประภัทร วิเศษมงคลชัย ผศ. สุณี อัษฎายุธ อ.ดร. กนกวรรณ วงษจันทร อ.ดร.จีระยุทธ เวทยวีระพงศ อ.ดร.ชิณณวรรธน ตั้งกาญจนวงศ อ.ดร.ทศพร ทองจันทึก อ.ดร.ทศพร แถลงธรรม อ.ดร.พงศกร ยศแกว อ.ดร.มงคล ตุนทัพไทย อ.ดร.รพีพรรณ ไกรแกว

คุณวุฒิ Ph.D.(Mathematics) Dr.rer.nat.(Mathematics) Ph.D.(Mathematics) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) วท.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) Dr.rer.nat.(Computer Sciences) Dr.rer.nat.(Mathematics) Dr.rer.nat.(Mathematics) วท.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) วท.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) Ph.D.(Mathematics) วท.ด.(คณิตศาสตร) วท.ม.(ชีวสถิติ) วท.ม.(คณิตศาสตร) พบ.ม.(สถิติประยุกต) วท.ม.(คณิตศาสตร) ปร.ด.(คณิตศาสตร) ปร.ด.(คณิตศาสตร) Ph.D.(Mathematics) วท.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) ปร.ด.(คณิตศาสตร) วท.ด.(คณิตศาสตร) ปร.ด.(คณิตศาสตร)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาคณิตศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.ดร. รจนา เชี่ยวชาญ อ.ดร.วริษา นาคพิมพ อ.ดร.วีระชัย สาระคร อ.ดร. สมนึก วรวิเศษ อ.นวรัตน เอกกานตรง อ.ปยทัสน ฉัตรวรวิทย ภาควิชาเคมี ศ.ดร. สุจิตรา ยังมี ศ.ดร. สมเดช กนกเมธากุล รศ.ดร. ขวัญใจ กนกเมธากุล รศ.ดร. ฉวี เย็นใจ รศ.ดร. เฉลิม เรืองวิริยะชัย รศ.ดร. ไฉนพร ดานวิรุทัย รศ.ดร. นิธิมา เคารพาพงศ รศ.ดร. วิวัฒน หาญวจนวงศ รศ.ดร. วิทยา เงินแท รศ.ดร. ศักดิ์สิทธิ์ จันทรไทย รศ.ดร. ศุภลักษณ ศรีจารนัย รศ.ดร. สิทธิพงษ อํานวยพานิชย รศ.ดร. อัญชุลี ฉวีราช รศ. สุธา ภูสิทธิศักดิ์ ผศ.ดร. คัชรินทร ศิริวงศ ผศ.ดร. จินดา เข็มประสิทธิ์ ผศ.ดร. ชนกพร เผาศิริ ผศ.ดร. ชูศักดิ์ พูนสวัสดิ์ ผศ.ดร. ปวีณา ฆารไสว ผศ.ดร. พนาวัลย หมูโสภณ ผศ.ดร. พิทยากรณ นอยทรงค ผศ.ดร. พัฒนา ธีรพรชัยสิทธิ์ ผศ.ดร. รจนา บุระคํา ผศ.ดร. ศิริรัตน แมคคลอสกี

คุณวุฒิ Ph.D.(Mathematics) ปร.ดร.(คณิตศาสตรประยุกต) ปร.ด.(คณิตศาสตร) Dr.rer.nat.(Mathematics) วท.ม.(คณิตศาสตร) M.Sc.(Computer Sciences) Ph.D.(Inorganic Chemistry) Ph.D.(Organic Chemistry) Ph.D.(Organic Chemistry) ปร.ด.(เคมีอินทรีย) Ph.D.(Analytical Chemistry) Dr.rer.nat.(Physical Chemistry) D.Eng.(Inorganic Materials) Ph.D.(Organic Chemistry) วท.ด.(เคมี) Ph.D.(Bio-Chemistry) Ph.D.(Analytical Chemistry) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Inorganic Chemistry) วท.ม.(เคมีวิเคราะห) Dr.rer.nat.(Physical Chemistry) Ph.D.(Ceramics) Ph.D.(Medicinal Chemistry) Ph.D.(Chemistry) Ph.D.(Organic Polymer Chemistry) วท.ด.(เคมีอินทรีย) วท.ด.(เคมี) Ph.D.(Chemistry) ปร.ด.(เคมีวิเคราะห) Ph.D.(Biomolecular Chemistry)

คูมือนักศึกษา 2559

121


คูมือนักศึกษา 2559

122 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาเคมี (ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. สุจิตรา กลิ่นศรีสุข ผศ.ดร.สุรางคนา มาตยวิเศษ ผศ.ดร. สุวัตร นานันท ผศ.ดร. สมเกียรติ ศรีจารนัย ผศ.ดร. สมหญิง ลีลาทรัพยเจริญ ผศ.ดร. อัจฉรา ศิริมังคะลา ผศ. อารยัน จันศรี อ.ดร.กิ่งแกว ฉายากุล ชนาภัทรภณ อ.ดร. จิตติมา เลาหพงศไพศาล อ.ดร.เจาทรัพย บุญมาก อ.ดร. โฉมศรี ศิริวงศ อ.ดร.นนทิภา สุพรรณไชยมาตย อ.ดร. พูนสุข ภูสิมมา อ.ดร.มงคล บัวใหญรักษา อ.ดร. รัศมี เหล็กพรม อ.ดร.ศิรินุช ลอยหา อ.ดร.ศิรินันท กุลชาติ อ.ดร.สุธาสินี บุญเชียงมา อ. วิจิตรา เจนวิริยะกุล ภาควิชาจุลชีววิทยา รศ.ดร. โสภณ บุญลือ รศ. งามนิจ นนทโส ผศ.ดร จุฑาพร แสวงแกว ผศ.ดร. ธีรศักดิ์ สมดี ผศ.ดร. รัตนภรณ ลีสิงห ผศ.ดร. วิยะดา มงคลธนารักษ ผศ.ดร. วิไลลักษณ ศิริพรอดุลศิลป ผศ.ดร. วรรณดี บัญญัติรัชต ผศ.ดร. สุรศักดิ์ ศิริพรอดุลศิลป ผศ.ดร. สุวรรณา เนียมสนิท ผศ.ดร. เสาวนิต ทองพิมพ

คุณวุฒิ Ph.D.(Inorganic Chemistry) Ph.D.(Polymer Science and Engineering) Ph.D.(Chemistry) Ph.D.(Physical Chemistry) Ph.D.(Chemistry and Biochemistry) Dr.rer.nat.(Physical Chemistry) วท.ม.(เคมีอินทรีย) วท.ด.(เคมี) วท.ด.(เคมี) วท.ด.(เคมี) Ph.D.(Materials Science and Engineering) Ph.D.(Chemistry) Ph.D.(Ceramics and Glasses) วท.ด.(เคมีอินทรีย) วท.ด.(เคมีอินทรีย) วท.ด.(เคมี) Ph.D.(Chemistry) ปร.ด.(เคมี) M.Sc.(Polymer Science) Ph.D. (Applied Biosciences) วท.ม.(จุลชีววิทยา),M.Sc.rer.nat.(Renewable Energy Use) ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) Ph.D.(Microbiology) Doctoral(Sciences des Aliments) Ph.D.(Molecular Biology and Biotechnology) Ph.D.(Microbiology) ปร.ด.(โรคพืชวิทยา) Ph.D.(Biophysics) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D.(Microbiology)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาจุลชีววิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. อัชฌา อรอินทร อ.ดร.จินดารัตน เอกประเสริฐ อ.ดร.ชีวาพัฒน แซจึง อ.ดร. นันทวัน ฤทธิ์เดช อ.ดร. พลสัณห มหาขันธ ภาควิชาชีวเคมี รศ.ดร. ธนเศรษฐ เสนาวงศ รศ.ดร. ยานี ตรองพาณิชย รศ.ดร. สมปอง คลายหนองสรวง ผศ.ดร. คมศร ลมไธสง ผศ.ดร. นิภา มิลินทวิสมัย ผศ.ดร. ประสาร สวัสดิ์ซิตัง ผศ.ดร. ปวีณา พงษดนตรี ผศ.ดร. รินา ภัทรมานนท ผศ.ดร. สุพร นุชดํารงค อ.ดร.กุลศิริ เสนาวงศ อ.ดร.ชไมพร จําปาศรี อ.ดร.เมศยา ธิติศักดิ์สกุล อ.ดร. สมพร เกษแกว ภาควิชาชีววิทยา ศ.ดร. ประนอม จันทรโณทัย ศ.ดร. ละออศรี เสนาะเมือง ศ.ดร. อรุณรัตน ฉวีราช รศ.ดร. นฤมล แสงประดับ รศ.ดร. ปยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์ รศ.ดร. พินิจ หวังสมนึก รศ.ดร. มานิตย โฆษิตตระกูล รศ.ดร. วัฒนา พัฒนากูล รศ.ดร. สุมนทิพย บุนนาค รศ.ดร. อลงกลด แทนออมทอง ผศ.ดร.จันทรทิพย ชวยเงิน

คุณวุฒิ Dr.rer.nat.(Molecular biology) Ph.D.(Environmental Science) ปร.ด.(ชีววิทยา) Dr.rer.nat.(Microbiology) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) Ph.D.(Molecular and Cellular Biology) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Biochemistry & Physiology) วท.ด.(ปฐพีวิทยา) Ph.D.(Nutritional Biochemistry) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Biological Chemistry) วท.ด.(วิทยาศาสตรชีวภาพ) ปร.ด.(อณูพันธุศาสตร-พันธุวิศวกรรมศาสตร) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D(Plant Biology) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Plant Taxonomy) Ph.D.(Zoology) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D.(Zoology) Ph.D.(Plant Molecular Biology) ปร.ด.(ชีววิทยา) Ph.D.(Horticulture) Ph.D.(Plant Biology) Ph.D.(Plant Transformation and Plant Tissue Culture) ปร.ด.(ชีววิทยา) Ph.D.(Zoology)

คูมือนักศึกษา 2559

123


คูมือนักศึกษา 2559

124 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาชีววิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.ณัฐปภัสร ตันติสุวิชวงษ ผศ.ดร. นิศารัตน ตั้งไพโรจนวงศ ผศ.ดร.ประวีณา มณีรัตนรุงโรจน ผศ.ดร. ปรียา หวังสมนึก ผศ.ดร. พิมพวดี พรพงศรุงเรือง ผศ.ดร. พรพิมล เจียระนัยปรีเปรม ผศ.ดร.ละเอียด นาคกระแสร ผศ.ดร.วิภู กุตะนันท ผศ.ดร. ศุจีภรณ อธิบาย ผศ.ดร. สมพงษ สิทธิพรหม ผศ.ดร. อมรรัตน ประจักษสูตร ผศ. ปรียะวุฒิ วัชรานนท อ.ดร. กัลยา กองเงิน อ.ดร.กัลยา ศรีประทีป อ.ดร. มณฑิรา มณฑาทอง อ.ดร.ยอดชาย ชวยเงิน อ.ดร.วัฒนชัย ลนทม อ.ดร. สัมภาษณ คุณสุข อ.จิรภัทร จันทะพงษ ภาควิชาฟสิกส รศ.ดร. วิทยา อมรกิจบํารุง รศ.ดร. วิวัธน ยังดี รศ.ดร.สุธรรม ศรีหลมสัก รศ.ดร. เอกพรรณ สวัสดิ์ซิตัง ผศ.ดร. ชัยพจน มุทาพร ผศ.ดร. ธนูสิทธิ์ บุรินทรประโคน ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ คําวรรณะ ผศ.ดร.นาท เสาวดี ผศ.ดร.นงลักษณ มีทอง ผศ.ดร.ปนัสดา อวิคุณประเสริฐ ผศ.ดร.ประสิทธิ์ ทองใบ

คุณวุฒิ Ph.D.(Molecular Biology) Ph.D.(Ecology and Evolutionary Biology) ปร.ด.(ชีววิทยา) Ph.D.(Plant Molecular Biology) Ph.D.(Plant Systematics) Ph.D.(Zoology) Ph.D.(Biology) วท.ด.(ชีววิทยา) ปร.ด.(ชีววิทยา) Ph.D.(Trop.Med) Ph.D.(Plant Taxonomy) วท.ม.(สัตววิทยา) ปร.ด.(ชีววิทยา) วท.ด.(วิทยาศาสตรชีวภาพ) Ph.D.(Genetics) Ph.D.(Zoology) ปร.ด.(ชีววิทยา) Ph.D.(Molecular Biology) M.Sc.(Anatomy & Cell Biology) วท.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Bio-Medical Physics) Ph.D.(Ceramics) Dr.rer.nat.(Physics) ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Mat.Eng.& Mat Dsgn.) ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Physics Information Science) Ph.D.(Structural and Environmental Materials) Ph.D.(Medical Physics) ปร.ด.(ฟสิกส)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาฟสิกส (ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.พาวินี กลางทาไค ผศ.ดร. พัฒนา ภูวนิชย ผศ.ดร. ไพโรจน มูลตระกูล ผศ.ดร. พรจักร ศรีพัชราวุธ ผศ.ดร.วิยะดา หาญชนะ ผศ.ดร. สมัคร พิมานแพง ผศ.ดร. สุปรีดิ์ พินิจสุนทร ผศ.ดร. ศรีประจักร ครองสุข ผศ.ดร. อภิโชค ตั้งตระการ ผศ.ดร. อรรุจี เหมือนวงศ ผศ. ธีรยุทธ ชาญนุวงศ ผศ. อนุสรณ ศรีธีระวิโรจน อ.ดร.กิติยานี อาษานอก อ.ดร. ไชยพงษ เรืองสุวรรณ อ.ดร.ธีระพงษ พวงมะลิ อ.ดร. ประเสริฐ แขงขัน อ.ดร.พิมปุณยวัจน ทุมเมืองปก อ.ดร.รัฐการ เย็นเสนาะ อ.ดร.วิรัตน เจริญบุญ อ.fi. ศิริธร บุรานุรักษ อ.ดร. สมพร ขันเงิน อ.ดร.สุจิตตรา แดงสกุล ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร รศ.ดร. งามนิจ อาจอินทร รศ.ดร. ชรัตน มงคลสวัสดิ์ รศ.ดร. สมจิตร อาจอินทร รศ.ดร. ศาสตรา วงศธนวสุ ผศ.ดร.จักรชัย โสอินทร ผศ.ดร.ชัยพล กีรติกสิกร ผศ.ดร. ปญญาพล หอระตะ ผศ.ดร.พิพัธน เรืองแสง

คุณวุฒิ ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Bio-Medical Physics) Ph.D.(Physics) Ph.D.(Physics) Ph.D.(Environmental and Material Engineering) Ph.D.(Physics) Ph.D.(Materials) วท.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Materials Science and Engineering) Ph.D.(Astronomy) วท.ม.(ฟสิกสประยุกต) วท.ม.(ฟสิกส) ปร.ด.(ฟสิกส) ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Nanotechnology) Ph.D.(Solid State Physics) Ph.D.(Physics) Ph.D.(Physics) ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Physics) Ph.D.(Physics) ปร.ด.(ฟสิกส) Ph.D.(Computer Science) Docteur-Ingenieur(Remote Sensing) D.Tech.Sci.(Computer Science) D.Tech.Sci.(Computer Science) Ph.D. (Computer Engineering) Ph.D. (Survey Engineering) ปร.ด.(วิทยาการคอมพิวเตอร) Ph.D.(Agricultural Engineering)

คูมือนักศึกษา 2559

125


คูมือนักศึกษา 2559

126 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร (ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. พุธษดี ศิริแสงตระกูล ผศ.ดร. รัศมี สุวรรณวีระกําธร ผศ.ดร.วรารัตน สงฆแปน ผศ.ดร. สิรภัทร เชี่ยวชาญวัฒนา ผศ. บุญทรัพย ไวคํา ผศ. สันติ ทินตะนัย ผศ. อุรฉัตร โคแกว ผศ. อุราวรรณ จันทรเกษ อ.ดร.คํารณ สุนัติ อ.ดร.ชิตสุธา สุมเล็ก อ.ดร.ธีระยุทธ ทองเครือ อ.ดร.นันทนภัส เบญจมาศ อ.ดร. ปวีณา วันชัย อ.ดร.มัลลิกา วัฒนะ อ.ดร. วชิราวุธ ธรรมวิเศษ อ.ดร.สิลดา อินทรโสธรฉันท อ.ดร. สุมณฑา เกษมวิลาศ อ. ณกร วัฒนกิจ อ. รภัสสิทธิ์ ชินภัทรจีรัสถ อ. อภิศักดิ์ พัฒนจักร ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม

คุณวุฒิ Ph.D.(Interdisciplinary Intelligent Systems Engineering) วท.ด.(ปฐพีศาสตร) Ph.D. (Computer Engineering) Ph.D.(Computer Science) M.Sc.(Computer Science) พบ.ม.(สถิติประยุกต) M.Sc.(Computer Science) วท.ม.(การรับรูจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร) Ph.D.(Computer Science) Ph.D.(Electronic System Engineering) Ph.D.(Information Technology) Ph.D. (Computer Engineering) Ph.D. (Information Systems) Ph.D.(Computer Science) Ph.D.(Computer Science) D.Eng.(Electrical Engineering ) Ph.D. (Information Systems and Technology) วท.ม.(การรับรูจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร) พบ.ม.(สถิติประยุกต) พบ.ม.(สถิติประยุกต)

ผศ.ดร. พิสิฎฐ เจริญสุดใจ

Ph.D.(Environmental Biology)

ผศ.ดร. เพ็ญประภา เพชระบูรณิน ผศ.ดร. ลําใย ณีรัตนพันธ ผศ.ดร. ศรัณย เกียรติมาลีสถิตย ผศ.ดร. อัจฉราภรณ ภักดี ผศ. เตือนใจ ดุลยจินดาชบาพร อ.ดร.ทศพล ไชยอนันตพร อ.ดร.พรไสว ไพรพิภัช อ.ดร.วังวร สังฆเมธาวี อ. วิรงรอง มงคลธรรม

วท.ด.(ปฐพีศาสตร) วท.ด.(วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม) วท.ด.(วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม) Ph.D.(Forest Science) M.Eng.(Environmental Technology and Management) Dr.rer.nat.(Biology) Ph.D.(Environment Science) Ph.D.(Conservation Ecology) วท.ม.(พลังงานทดแทน)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาสถิติ ชื่อ-สกุล รศ.ดร. สุพรรณี อึ้งปญสัตวงศ รศ.ดร. อโนทัย ตรีวานิช รศ. วิชุดา ไชยศิวามงคล ผศ.ดร. กุลยา พัฒนากูล ผศ.ดร.ธิดาเดียว มยุรีสวรรค ผศ.ดร.วุฒิชัย ศรีโสดาพล ผศ. ปราโมทย ครองยุทธ ผศ. สุกัญญา เรืองสุวรรณ อ.ดร.อุทุมพร โดมทอง อ.เปรม จันทรสวาง อ. ยุภาพร ตงประสิทธิ์ สํานักงานคณบดี ผศ.ดร.เขมิกา ลมไธสง ผศ.ดร.รัชดาภรณ เบญจวัฒนานนท อ.ดร.นิศาชล แจงพรมมา อ.ดร.วรรณา ศิริแสงตระกูล ภาควิชาประมง รศ.ดร. เพ็ญพรรณ ศรีสกุลเตียว รศ.ดร. สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร ผศ.ดร. นิลุบล กิจอันเจริญ ผศ.ดร.บัณฑิต ยวงสรอย ผศ.ดร. รักพงษ เพชรคํา ผศ.ดร. ศิริภาวี เจริญวัฒนศักดิ์ ผศ.ดร. สมสมร แกวบริสุทธิ์ ผศ.ดร.สุธี วงศมณีประทีป ผศ.ดร. อรุณีพงศ ศรีสถาพร ผศ. พรเทพ เนียมพิทักษ อ.ดร.ปทมา วิริยพัฒนทรัพย ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร ศ.ดร. ปทมา วิตยากร แรมโบ

คุณวุฒิ ปร.ด.(การประเมินการศึกษา) Ph.D.(Statistics) สต.ม.(สถิติ) ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) วศ.ด.(วิศวกรรมอุตสาหการ) ปร.ด.(คณิตศาสตร) พบ.ม.(สถิติประยุกต) พบ.ม.(สถิติประยุกต) Ph.D.(Biostatistics) วท.ม.(วิทยาการคณนา) พบ.ม.(สถิติประยุกต) Ph.D.(Plant Molecular Biology) วท.ด.(ชีววิทยาสิ่งแวดลอม) ปร.ด.(ชีวเคมี) ปร.ด.(วิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) คณะเกษตรศาสตร Ph.D.(Fishery Resources Management) Ph.D.(Fisheries and Aquaculture) Ph.D.(Veterinary Medicine) ปร.ด.(เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา) Ph.D.(Biomedical Science) ปร.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร) Ph.D.(Food Science and Technology) ปร.ด.(วิทยาศาสตรการประมง) ปร.ด.(สัตวศาสตร) วท.ม.(เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา) ปร.ด.(วิทยาศาสตรการประมง) Ph.D.(Soil Science)

คูมือนักศึกษา 2559

127


คูมือนักศึกษา 2559

128 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ศ.ดร. นิวัฒ เสนาะเมือง Ph.D.(Microbiology) ศ.ดร. สนัน่ จอกลอย Ph.D.(Plant Science) ศ.ดร. อนันต พลธานี Ph.D.(Agronomy) รศ.ดร.ธรรมเรศ เชื้อสาวถี Ph.D.(Environmental Remediation, Public Health) รศ.ดร. นุชรีย ศิริ Dr.Sc.Agr.(Entomology) รศ.ดร. บุญมี ศิริ Dr.Sc.Agr.(Crops Physiology) รศ.ดร. พัชรี แสนจันทร D.Agr.(Soil Science) รศ.ดร. เพชรรัตน ธรรมเบญจพล Ph.D.(Biotechnology) รศ.ดร. ยุพา หาญบุญทรง Ph.D.(Entomology) รศ.ดร. วิทยา ตรีโลเกศ Ph.D.(Environmental Symbiotic Studies) รศ.ดร. วิโรจน ขลิบสุวรรณ Ph.D.(Microbial Control) รศ.ดร. วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน Dr.-Ing.(Plant Pathology and Plant Protection) รศ.ดร. สังคม เตชะวงคเสถียร Ph.D.(Posthavest Biotechnology) รศ.ดร. สุชีลา เตชะวงคเสถียร D.Agr. (Plant Breeding) ผศ.ดร. กิริยา สังขทองวิเศษ Ph.D.(Biologie integrative des plantes) ผศ.ดร. จิรวัฒน สนิทชน ปร.ด.(พืชไร-นา) ผศ.ดร. ชุลีมาศ บุญไทย อิวาย Ph.D.(Ecotoxicology) ผศ.ดร. ดรุณี โชติษฐยางกูร Ph.D.(Horticulture) ผศ.ดร. ดวงรัตน ธงภักดิ์ Ph.D.(Entomology) ผศ.ดร. นิสิต คําหลา ปร.ด.(พืชไร) ผศ.ดร. ปรเมศ บรรเทิง ปร.ด.(พืชไร) ผศ.ดร. ประกายจันทร นิ่มกิ่งรัตน Dr.Agr.(Agriculture) ผศ.ดร. พลัง สุริหาร ปร.ด.(พืชไร) ผศ.ดร. พัชริน สงศรี ปร.ด.(การปรับปรุงพันธุพืช) ผศ.ดร.วรรณวิภา แกวประดิษฐ พลพินิจ ปร.ด.(พืชไร) ผศ.ดร.สุภัทร อิศรางกูร ณ อยุธยา ปร.ด.(พืชไร), Ph.D.(Plant Pathology) ผศ.ดร. สุมนา นีระ Ph.D.(Biotechnology) ผศ.ดร.สันติไมตรี กอนคําดี ปร.ด.(พืชไร) ผศ.ดร. อนันต วงเจริญ Ph.D.(Ecosystem diversity) ผศ.ดร. อโนมา ดงแสนสุข Ph.D.(Biology) ผศ.ดร. อุบล ตังควานิช ปร.ด.(ชีววิทยา)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผศ. เกรียงศักดิ์ จันโททัย วท.ม.(ปฐพีศาสตร) อ.ดร.ดนุพล เกษไธสง ปร.ด.(พืชสวน) อ.ดร.นันทวุฒิ จงรั้งกลาง ปร.ด.(พืชไร) อ.ดร.พฤกษา หลาวงษา วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) อ.ดร. ภาณุพล หงษภักดี วท.ด.(พืชสวน) อ.ดร.รําไพ นามพิลา Ph.D.(Horticulture) อ.ดร.วิถี เหมือนวอน วท.ด.(กีฎวิทยา) อ.ดร.สุวิตา แสไพศาล ปร.ด.(โรคพืช) อ.ดร.สมพงษ จันทรแกว ปร.ด.(การปรับปรุงพันธุพืช) อ.ดร.อนงนาฏ ศรีประโชติ Doctor of Agricultural Science(Plant Nutrition) อ.ดร.อรุณี พรมคําบุตร ปร.ด.(พืชไร) อ. ชานนท ลาภจิตร Ph.D.(Horticulture) อ. มัลลิกา ศรีสุธรรม วท.ม.(วนศาสตร) อ. รณรงค อยูเกตุ วท.ม.(พืชสวน) ภาควิชาเศรษฐศาสตรการเกษตร รศ. เพียรศักดิ์ ภักดี วท.ม.(เศรษฐศาสตรเกษตร) ผศ.ดร. ธีระ เกียรติมานะโรจน ปร.ด.(เศรษฐศาสตรเกษตร) ผศ.ดร. พัชรี สุริยะ Doctor of Philosophy(Agricultural Economics) ผศ.ดร. เยาวรัตน ศรีวรานันท Doctor of Philosophy(Agricultural Economics) ผศ.ดร. สาธิต อดิตโต Doctor of Philosophy(Agricultural Economics) ผศ.ดร. สุภาภรณ พวงชมภู Ph.D.(Agricultural Economics) อ.ดร.ปริชาติ แสงคําเฉลียง Ph.D.(Agribusiness Management) อ.ภคพล สายหยุด วท.ม.(เศรษฐศาสตรเกษตร) อ.หยาดรุง มะวงศไว วท.ม.(เศรษฐศาสตรเกษตร) ภาควิชาสงเสริมการเกษตร รศ.ดร. ชัยชาญ วงศสามัญ Ph.D.(Agricultural Education) รศ. ประภัสสร เกียรติสุรนนท วท.ม.(สงเสริมการเกษตร) ผศ.ดร.ยศ บริสุทธิ์ ปร.ด.(เกษตรเชิงระบบ) ผศ. ไกรเลิศ ทวีกุล M.App.Sc.(International Rural Development) ผศ.ฝากจิต ปาลินทร ลาภจิตร วท.ม.(สงเสริมการเกษตร) อ. พัชราภรณ ภูมิจันทึก วท.ม.(สงเสริมการเกษตร)

คูมือนักศึกษา 2559

129


คูมือนักศึกษา 2559

130 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาสัตวศาสตร ชื่อ-สกุล ศ.ดร. เมธา วรรณพัฒน รศ.ดร. กฤตพล สมมาตย รศ.ดร. ฉลอง วชิราภากร รศ.ดร. ไชยณรงค นาวานุเคราะห รศ.ดร. เทวินทร วงษพระลับ รศ.ดร. มนตชัย ดวงจินดา รศ.ดร. วิโรจน ภัทรจินดา รศ.ดร. สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค รศ. เทอดศักดิ์ คําเหม็ง ผศ.ดร.ธีรชัย หายทุกข ผศ.ดร. ภาวดี ภักดี ผศ.ดร. ยุพิน ผาสุข ผศ.ดร. วินัย ใจขาน ผศ.ดร.วิบัณฑิตา จันทรกิติสกุล ผศ.ดร. วุฒิไกร บุญคุม ผศ.ดร.สจี กัณหาเรียง ผศ.ดร. สุภร กตเวทิน ผศ.ดร. อนุสรณ เชิดทอง ผศ. พิชญรัตน แสนไชยสุริยา อ.ดร.สาวิตรี วงศตั้งถิ่นฐาน อ.พีระพงษ แพงไพรี สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร รศ.ดร. สุนันทา กิ่งไพบูลย รศ.ดร. สมชาย ชวนอุดม ผศ.ดร.ขวัญตรี แสงประชาธนารักษ ผศ.ดร.ชัยยันต จันทรศิริ ผศ.ดร. วิเชียร ปลื้มกมล ผศ.ดร.ศุภสิทธิ์ คนใหญ ผศ.ดร. เสรี วงสพิเชษฐ

คุณวุฒิ Ph.D.Post Doc.(Ruminant Nutrition) Ph.D.(Ruminant Nutrition) Ph.D.(Ruminant Nutrition) Ph.D.(Animal & Range Science) Dr.Sc.Agr.(Animal Science) Ph.D.(Animal and Dairy Science) Ph.D.(Animal and Dairy Science) Ph.D.(Meat Science and Ruminant Nutrition) วท.ม.(การผลิตสัตว) Dr.Agr.(Tropical Animal Husbandry) Ph.D.(Animal Science) Ph.D.(Animal Science) Ph.D.(Biosciences) วท.ด.(วิทยาการสืบพันธุสัตว) ปร.ด.(สัตวศาสตร) Ph.D.(Molecular Genetics) Ph.D.(Animal Physiology) ปร.ด.(สัตวศาสตร) วท.ม.(การผลิตสัตว) Ph.D.(Biochemistry and Applied Bioscience) วท.ม.(การผลิตสัตว) คณะวิศวกรรมศาสตร Ph.D.(Mechanics, Mechanical Engineering, Civil Engineering) ปร.ด.(เครื่องจักรกลเกษตร) Ph.D.(Agricultural Engineering) ปร.ด.(เครื่องจักรกลเกษตร) Ph.D.(Soil and Water Engineering) ปร.ด.(ทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดลอม) D.Eng.(Agricultural Machinery and Management)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. สมโภชน สุดาจันทร อ.ดร.กิตติพงษ ลาลุน อ.ดร. คํานึง วาทโยธา อ.ดร.โพยม สราภิรมย สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร รศ.ดร. กานดา สายแกว รศ.ดร. วนิดา แกนอากาศ รศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล รศ. วิโรจน ทวีปวรเดช ผศ.ดร. ชัชชัย คุณบัว ผศ.ดร. ดารณี หอมดี ผศ.ดร.ธัชพงศ กตัญญกุล ผศ.ดร. ภัทรวิทย พลพินิจ ผศ.ดร.วิชชา เฟองจันทร ผศ. บุญฤทธิ์ กูเกียรติกูล ผศ. รุจชัย อึ้งอารุณยะวี ผศ. อนัตต เจาสกุล อ.ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ.ดร.กรชวัล ชายผา อ.ดร.จิระเดช พลสวัสดิ์ อ.ดร. นวภัค เอื้ออนันต อ.ดร. วสุ เชาวพานนท อ.ดร. วาธิส ลีลาภัทร อ.ชวิศ ศรีจันทร อ. ภาณุพงษ วันจันทึก สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี รศ.ดร. กันยรัตน โหละสุต รศ.ดร. สมใจ ขจรชีพพันธุงาม ผศ.ดร.กิติโรจน หวันตาหลา ผศ.ดร.ขนิษฐา คําวิลัยศักดิ์ ผศ.ดร.ชัยภัทร เครือหงส

คุณวุฒิ D.Eng.(Agricultural Machinery and Management) ปร.ด.(เครื่องจักรกลเกษตร) D.Eng.(Agricultural Engineering) ปร.ด.(วิศวกรรมสิ่งแวดลอม) Ph.D.(Computer Science and Engineering) Ph.D.(Computer Engineering) M.Eng.(Telecommunication Engineering) M.Sc.(Computer Science) Ph.D.(Information Technology) Ph.D.(Computer Science) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Computer Science) Ph.D.(Electronic Systems Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟา) M.Sc.(Biomedical Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟา) D.Eng.(Computer Science) Ph.D.(Electrical and Computer Engineering) วศ.ด.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Information Science) D.Eng.(Computer Science) M.Sc.(Microelectronics and Microsystems) M.Phil.(Computer Science) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Chemical Engineering) ปร.ด.(วิศวกรรมเคมี) Ph.D.(Chemical and Process Engineering) D.Eng.(Metallurgy and Ceramics Science)

คูมือนักศึกษา 2559

131


คูมือนักศึกษา 2559

132 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. พนมกร ขวาของ ผศ.ดร.พรนภา เกษมศิริ ผศ.ดร. ยุวรัตน เงินเย็น ผศ.ดร.วรินรําไพ เศรษฐธณบุตร ผศ.ดร. อภิชาติ อาจนาเสียว ผศ.ดร. อาทิตย เนรมิตตกพงศ ผศ.ดร. สุธาสินี เนรมิตตกพงศ อ.ดร.แกวตา เจตศรีสุภาพ อ.ดร.ดวงกนก ธนังธีรพงษ อ.ดร. ทินกร คําแสน อ.ดร. อธิป เหลืองไพโรจน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ศ.ดร. สุจินต บุรีรัตน รศ.ดร. กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย รศ.ดร. ธนากร วงศวัฒนาเสถียร รศ.ดร. รัชพล สันติวรากร รศ.ดร. สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์ รศ.ดร. สุรสิทธิ์ ปยะศิลป รศ.ดร. อนุสรณ ชินสุวรรณ รศ. อินทรชิต หอวิจิตร ผศ.ดร. เกียรติฟา ตั้งใจจิต ผศ.ดร.เขมจิต เสนา ผศ.ดร. จุฬาภรณ เบญจปยะพร ผศ.ดร. ฉัตรชัย เบญจปยะพร ผศ.ดร.ชนกนันท สุขกําเนิด ผศ.ดร. เดนพงษ สุดภักดี ผศ.ดร.นําพล มหายศนันท ผศ.ดร. ปโยรส จิระวัฒนา ผศ.ดร. สุภัทรา ปลื้มกมล ผศ.ดร.อัครพล จันทรออน อ.ดร.จารุพล สุริยวนากุล

คุณวุฒิ ปร.ด.(วิศวกรรมเคมี) วศ.ด.(วิศวกรรมเคมี) วศ.ด.(วิศวกรรมเคมี) ปร.ด.(วิศวกรรมเคมี) ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล) D.Eng.(Environmental Chemistry and Engineering) D.Eng.(Environmental Chemistry and Engineering) Ph.D(Chemistry and Applied Bioscience) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Machine Design) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) วศ.ด.(วิศวกรรมพลังงาน) M.Eng.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Bioresources utilization and exploration) Ph.D.(Mechanical Engineering) Ph.D.(Mechanical Engineering) D.Eng.(Manufacturing System Engineering) วศ.ด.(วิศวกรรมระบบการผลิต) Ph.D.(Mechanical Engineering) ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.ดร.ณัญธวัฒน พลดี อ.ดร.อัญชลี แสงซาย อ. คมสัน วิชชวุต อ. จิตติน ตรีพุทธรัตน อ.ทรงศักดิ์ สุวรรณศรี สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ศ.ดร. อภิรัฐ ศิริธราธิวัตร รศ.ดร.กฤษ เฉยไสย รศ.ดร. จีรนุช เสงี่ยมศักดิ์ รศ.ดร. วิระสิทธิ์ อิ่มถวิล รศ. กิตติพงษ ตันมิตร รศ. มงคล ลี้ประกอบบุญ รศ. อํานาจ สุขศรี ผศ.ดร.กิตติพิชญ มีสวาสดิ์ ผศ.ดร. นภัสต ไตรโรจน ผศ.ดร.นรารัตน เรืองชัยจตุพร ผศ.ดร. บุญยิ่ง เจริญ ผศ.ดร. ประมินทร อาจฤทธิ์ ผศ.ดร.ปานหทัย บัวศรี ผศ.ดร.อนุชา แสงรุง ผศ.ดร. อาคม แกวระวัง ผศ.ดร. อานุภาพ มีสมบูรณ อ.ดร.สถาพร พรพรหมลิขิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ศ.ดร. ปริญญา จินดาประเสริฐ รศ.ดร. เฉลิมชัย พาวัฒนา รศ.ดร. ณรงค เหลืองบุตรนาค รศ.ดร. พนกฤษณ คลังบุญครอง รศ.ดร. พงศกร พรรณรัตนศิลป รศ.ดร. วัชรินทร กาสลัก รศ.ดร.วันชัย สะตะ

คุณวุฒิ ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล) Ph.D.(Material Science) M.Eng.(Mechanical Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล) วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Energy and Environment Science Program) Ph.D.(Electrical and Electronics Engineering) Ph.D.(Electrical Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมพลังงาน) วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟา) M.Sc.(High Voltage Engineering) Ph.D.(Acoustics) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Informatics) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Advanced Robotics) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Electrical and Electronic Engineering) Ph.D.(Mathematics) Ph.D.(Electrical Engineering) Ph.D.(Civil Engineering) D.Eng.(Remote Sensing and Geogaphic Information System) Ph.D.(Construction Engineering and Management) Ph.D.(Transportation Systems Engineering) Ph.D.(Foundation Engineering) Ph.D.(Soil and Water Engineering) ปร.ด.(วิศกรรมโยธา)

คูมือนักศึกษา 2559

133


คูมือนักศึกษา 2559

134 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ.ชินะวัฒน มุกตพันธุ รศ.วินัย ศรีอําพร รศ.วีระ หอสกุลไท ผศ.ดร.กิตติเวช ขันติยวิชัย ผศ.ดร.กอปร ศรีนาวิน ผศ.ดร.จารึก ถีระวงษ ผศ.ดร.ชาติชาย ไวยสุระสิงห ผศ.ดร.ดลฤดี หอมดี ผศ.ดร.ณัฐพงษ อารีมิตร ผศ.ดร.ธเนศ เสถียรนาม ผศ.ดร.ธันยดา พรรณเชษฐ ผศ.ดร.รัตมณี นันทสาร ผศ.ดร.ลัดดา ตันวาณิชกุล ผศ.ดร.วิชุดา เสถียรนาม ผศ.เมธี บุญพิเชฐวงศ อ.ดร.ปยะวัชร ฝอยทอง อ.ดร.พัศพันธน ชาญวสุนันท อ.สุรเชษฐ มั่งมีศรี อ.สุรัตน ประมวลศักดิกุล สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม รศ.ดร.ภิญญฑิตา มุงการดี ผศ.ดร.กัลยกร ขวัญมา ผศ.ดร.เนตรนภิส ตันเต็มทรัพย ผศ.ดร.ไปรยา เฉยไสย ผศ.ดร.สุมนา ราษฎรภักดี ผศ.พนมชัย วีระยุทธศิลป ผศ.อาวุธ ยิ้มแต อ.ดร.ชัชวาล อัยยาธิติ อ.ดร.ธัญลักษณ ราษฎรภักดี อ.ดร.วิษณุ แทนบุญชวย อ.ดร.สุรพล ผดุงทน

คุณวุฒิ M.S.C.E.(Soil Mechanics) M.Eng.(Water Resources Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมโครงสราง) Ph.D.(Water Resources Engineering) Ph.D.(Construction Engineering and Management) วศ.ด.(วิศกรรมโยธา) Ph.D.(GIS/Remote Sensing) D.Eng.(Geotechnical Engineering) Ph.D.(Structural Engineering) D.Eng.(Transportation Engineering and Sociotechonlogy) Ph.D.(Compotational Mechanics) Ph.D.(Civil Engineering) Ph.D.(Transportation Systems Engineering) D.Eng.(Transportation Engineering) M.Eng.(Structural Engineering) วศ.ด.(วิศวกรรมโครงสราง) วศ.ด.(วิศวกรรมกอสรางและการบริหาร) วศ.ม.(วิศวกรรมโครงสราง) MSIS (Spacial Information Science (Godesy)) Ph.D.(Environmental Engineering) วท.ด.(การจัดการสิ่งแวดลอม) Ph.D.(Environmental Engineering) Dr.Eng.(Energy and Environmental and Engineering) วท.ด.(การจัดการสิ่งแวดลอม) วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดลอม) วศ.ม.(วิศวกรรมสิ่งแวดลอม) Dr.-Ing.(Environmental Engineering) Ph.D.(Civil Engineering) วศ.ด.(เคมี) Ph.D.(Environmental Engineering)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ชื่อ-สกุล ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รศ.ดร.กาญจนา เศรษฐนันท รศ.ดร.ชาญณรงค สายแกว รศ.ดร.ดนัยพงศ เชษฐโชติศักดิ์ รศ.ดร.พรเทพ ขอขจายเกียรติ รศ.ดร.ศีขรินทร สุขโต ผศ.ดร.คมกฤช ปติฤกษ ผศ.ดร.ธนา ราษฏรภักดี ผศ.ดร.ธีรวัฒน เหลานภากุล ผศ.ดร.ปณิธาน พีรพัฒนา ผศ.ดร.ปาพจน เจริญอภิบาล ผศ.ดร.รักนอย อัครรุงเรืองกุล ผศ.ดร.วีรพัฒน เศรษฐสมบูรณ ผศ.ดร.สุขอังคณา แถลงภัณฑ อ.ดร.ฐนวรรณน นิยะโมสถ อ.ดร.ปนิทัศน สุรียธนาภาส อ.ดร.สมศักดิ์ หอมดี อ.ดร.อภิชาติ บุญมา อ.ทวี นาครัชตะอมร อ.พีระพงศ ทาวเพชร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ชื่อ-สกุล ศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง รศ.ดร.ผกาวดี แกวกันเนตร รศ.ดร.พรเทพ ถนนแกว รศ.ดร.พัฒนา เหลาไพบูลย รศ.ดร.ลักขณา เหลาไพบูลย รศ.ดร.สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ รศ.ดร.สิรินดา ยุนฉลาด ผศ.ดร.ขนิษฐา เฟยลา

คุณวุฒิ Ph.D.(Industrial Engineering) Ph.D.(Industrial Engineering) Ph.D.(Industrail Engineering) Ph.D.(Industrail Engineering) D.Eng.(Industrial Engineering) วศ.ด.(วิศวกรรมอุตสาหการ) Ph.D.(Industrial and Systems Engineering) ปร.ด.(วิศวกรรมเครื่องกล) D.Eng.(Materials Science) D.Eng.(Industrial Engineering) Ph.D.(Material Sciences and Engineering) Ph.D.(Advanced Manufacturing Engineering) D.Eng.(Management System and Industrail Engineering) Ph.D.(Engineering Material ) D.Sc.(Operational Research and Cybernetics) Ph.D.(Decision Sciences) Ph.D.(Metallurgical Engineering) Ph.D.(Industrial Engineering) M.S.(Industrial Engineering) วศ.ม.(วิศวกรรมโลหการ) คณะเทคโนโลยี คุณวุฒิ Ph.D.(Water Resources) Ph.D.(Chemical Engineering) Ph.D.(Molecular Biology) Ph.D.(Fermentation Technology) Ph.D.(Biotechnology) Ph.D.(Agricultural Sciences) Ph.D.(Biotechnology) Dr.-Ing.(Chemical and Bioengineering)

คูมือนักศึกษา 2559

135


คูมือนักศึกษา 2559

136 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.คณิต วิชิตพันธุ ผศ.ดร.จิรวรรณ อภิรักษากร ผศ.ดร.ปรียกมล กลั่นฤทธิ์ ผศ.ดร.มัลลิกา บุญมี ผศ.ดร.วิชัย ลีลาวัชรมาศ ผศ.ดร.วีระ ปยธีรวงศ ผศ.สามารถ มูลอามาตย ผศ.สุกานดา วิชิตพันธุ อ.ดร.กรกช ฮามสุโพธิ์ อ.ดร.เพ็ญศรี ปลั่งกลาง อ.ดร.อภิลักษณ สลักคํา ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี รศ.ดร.เพียงตา สาตรักษ รศ.ดร.รุงเรือง เลิศศิริวรกุล รศ.ดร.ศรัญญา พรหมโคตร รศ.ลัดดา วรรณขาว ผศ.เกียรติศักดิ์ ศรภิรมย ผศ.พัชรสุ วรรณขาว ผศ.วินิจ ยังมี ผศ.สุรชัย สมผดุง ผศ.หลา อาจวิชัย อ.ดร.ณัฐวิโรจน ศิลารัตน อ.ดร.รุงโรจน อาจเวทย อ.กฤติกา ตระกูลงาม อ.นุศรา สุระโคตร ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร รศ.ดร.บวรศักดิ์ ลีนานนท รศ.ดร.สิงหนาท พวงจันทนแดง รศ.วรนุช ศรีเจษฎารักข ผศ.ดร.จันทนี อุริยะพงศสรรค ผศ.ดร.ธนกร โรจนกร

คุณวุฒิ Ph.D.(Biochemistry) วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) Ph.D.(Plant Biology) Ph.D.(Biotechnology) Ph.D.(Chemical Engineering) Doctor of Agr. Sci.(Biological Mechanisms and Functions) วศ.ม.(วิศวกรรมเคมี) วท.ม.(ชีวเคมี) วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) วท.ด.(การจัดการสิ่งแวดลอม(สหสาขา)) Ph.D.(Chemical Engineering and Analytical Science) Ph.D.(Geosciences) Ph.D.(Groundwater Management) Ph.D.(Metallurgical and Materials Engineering) M.S.(Geological Engineering) วท.ม.(ธรณีวิทยา) วท.ม.(ธรณีวิทยา) M.Sc.(Engineering Geology) วท.ม.(ธรณีวิทยา) M.Sc.(Engineering Geology) วท.ด.(ธรณีวิทยา) Ph.D.(Geophysics) M.Sc.(Geo Enviromental Engineering) M.Sc.(Petroleum Geoscience) Ph.D.(Food Science and Technology) Ph.D.(Agricultural Engineering) วท.ม.(เทคโนโลยีทางอาหาร) Ph.D.(Food Science) Ph.D.(Agricultural Engineering)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.รัชฎา ตั้งวงคไชย ผศ.ดร.ศุภวรรณ ถาวรชินสมบัติ ผศ.ดร.อารยา เชาวเรืองฤทธิ์ ผศ.ดร.อัมพร แซเอียว อ.ดร.จินตนา ศรีผุย อ.ดร.ปฏิมากร พะสุวรรณ สํานักงานคณบดี โครงการจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีการผลิต ผศ.พลฤทธิ์ จุลมนต อ.ดร.มานิดา สวางเนตร อ.ดร.อนาลยา หนานสายออ อ.ดร.อาทิตย อภิโชติธนกุล อ.ธัญญา จันทรประสพชัย ภาควิชากายวิภาคศาสตร รศ.ดร.ชูชาติ กมลเลิศ รศ.ดร.ถาวร มิ่งสกุล รศ.ดร.ประสาน ตังควัฒนา ผศ.ดร.พีระพล สุขอวน ผศ.ดร.สุวิทย อุปสัย ผศ.สายใจ กองเพชร ภาควิชาพยาธิชีววิทยา รศ.ดร.สมบูรณ แสงมณีเดช รศ.สุทธิศักดิ์ นพวิญูวงศ รศ.อารินี ชัชวาลชลธีระ ผศ.ดร.จารุวรรณ คําพา ผศ.ดร.วีรพล ทวีนันท ผศ.ดร.สิริขจร ตังควัฒนา ผศ.ธนาคาร นะศรี ผศ.วราภรณ ศุกลพงศ ผศ.สุรสิทธิ์ อวนพรมมา

คุณวุฒิ Ph.D.(Food Science and Technology) Ph.D.(Food Science and Technology) Ph.D.(Food Process Engineering) ปร.ด.(พัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร) วท.ด.(เทคโนโลยีทางอาหาร) ปร.ด.(เทคโนโลยอาหาร)

M.Sc.(Macromolecular Science and Engineering) Ph.D. (Industrial Engineering) ปร.ด.(เกษตรเชิงระบบ) ปร.ด.(วิศวกรรมอุตสาหการ) M.Eng.(Mechanical) คณะสัตวแพทยศาสตร ปร.ด.(สหวิทยาการสัตวแพทย) ปร.ด.(กายวิภาคศาสตร) Ph.D.(Veterinary Anatomy) Ph.D.(Veterinary Anatomy) ปร.ด.(หลักสูตรและการเรียนการสอน) ศศ.บ.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) Ph.D.(Parasitology) วท.ม.(พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย) สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) Ph.D.(Veterinary Microbiology) Ph.D.(Veterinary Parasitology) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) M.S.(Animal Pathology) วท.ม.(อายุรศาสตรเขตรอน) วท.ม.(พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย)

คูมือนักศึกษา 2559

137


คูมือนักศึกษา 2559

138 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาพยาธิชีววิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.เอกชัย ภัทรพันธวิเชียร อ.ดร.พัชรา เผือกเทศ อ.ดร.สุภัทรตรา จิติมณี ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา ผศ.ดร.กรวุธ พันธอารีวัฒนา ผศ.ดร.จรีรัตน เอี่ยมสะอาด ผศ.ดร.ราณี ซิงห ภาควิชาศัลยศาสตรและวิทยาการสืบพันธุ รศ.ดร.สุณีรัตน เอี่ยมละมัย รศ.ปรีณัน จิตะสมบัติ รศ.มงคล โปรงเจริญ ผศ.ดร.นฤพนธ คําพา ผศ.ดร.สุชาติ วัฒนชัย ผศ.ดร.สุปราณี จิตรเพียร ผศ.ชัยวัฒน จรัสแสง ผศ.ดวงเดือน แกนคางพลู ผศ.ณภัทร ทองสรอย ผศ.พงษธร สุวรรณธาดา ผศ.สราวุธ ศรีงาม อ.ดร.ศักดิ์ศิริ ศิริเสถียร ภาควิชาสรีรวิทยา ผศ.ดร.ขวัญเกศ กนิษฐานนท ผศ.ดร.ประภาพร ตั้งธนธานิช ผศ.ดร.พิสิทธิ์ สุวรรณโชติ ผศ.พัชนี ศรีงาม ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข รศ.ดร.คมกริช พิมพภักดี รศ.ดร.นริศร นางาม รศ.ดร.บงกช นพผล รศ.ดร.ประพันธศักดิ์ ฉวีราช ผศ.ดร.ปยวัฒน สายพันธุ

คุณวุฒิ สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) Ph.D Ph.D.(พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย) Ph.D.(Veterinary Pharmacology) ปร.ด.(วิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) Ph.D.(Chemical and Biological Sciences) DVM.(Obstetrics and Gynacology) วท.ม.(ศัลยศาสตรทางสัตวแพทย) สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) Ph.D.(Veterinay Radioliogy) ปร.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา) Ph.D.(Surgery) วท.ม.(วิทยาการสืบพันธุสัตว) วท.ม.(ศัลยศาสตรทางสัตวแพทย) สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) บธ.ม.(บริหารธุรกิจ) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) Ph.D.(Reproductive Physiology) Ph.D.(Epidemiology) Ph.D.(สรีรวิทยาทางสัตวแพทย) Ph.D.(Physiology) วท.ม.(สรีรวิทยา) Ph.D.(Toxicology) Ph.D.(อายุรศาสตรเขตรอน) Ph.D.(Veterinary Medicine) Ph.D.(Veterinary Public Health) Ph.D.(Veterinary Public Health)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.ไพรัตน ศรแผลง ผศ.ดร.สรรเพชญ อังกิติตระกูล อ.ดร.ชุลีพร จักดิ์สงาวงษ ภาควิชาอายุรศาสตร รศ.ดร.บัณฑิตย เต็งเจริญกุล รศ.ดร.ฟานาน สุขสวัสดิ์ รศ.กัลยา เจือจันทร ผศ.ดร.กชกร ดิเรกศิลป ผศ.ดร.คณิต ชูคันหอม ผศ.ดร.เจษฎา จิวากานนท ผศ.ดร.ไชยพัศร ธํารงยศวิทยากุล ผศ.ดร.ประวิทย บุตรอุดม ผศ.ดร.สมโภชน วีระกุล ผศ.ดร.สาธร พรตระกูลพิพัฒน ผศ.ดร.อรัญ จันทรลุน ผศ.พิมชนก สุวรรณธาดา ผศ.อารยาพร มคธเพศ อ.ดร.ทรรศิดา พลอยงาม อ.ดร.ธวัชชัย โพธิ์เฮือง อ.ดร.ศริญญา ฤกษอยูสุข สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล รศ.ดร.มาริสา ไกรฤกษ รศ.ดร.วรรณชนก จันทชุม รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศธนวสุ ผศ.ดร.ขนิษฐา วรธงชัย ผศ.ดร.จิตภินันท ศรีจักรโคตร ผศ.ดร.พีรพงษ บุญสวัสดิ์กุลชัย ผศ.ดร.อภิญญา จําปามูล ผศ.รัชตวรรณ ศรีตระกูล

คุณวุฒิ Ph.D.(Animal Science) Ph.D.(Public Health) Ph.D.(Food Science and Technology) Ph.D.(Veterinary Embryology) Ph.D.(Veterinary Medicine) วท.ม.(อายุรศาสตรสัตวปก) Ph.D.(Veterinary Medicine) Ph.D.(Veterinary Medicine) Ph.D.(Immunology of Reproduction) Ph.D.(Veterinary Clinical Studies Bovine) Ph.D.(Large Animal Clinical Sciences (Eqiune Exercise)) Ph.D.(Microbacterium Infectious Diseases in Animal/Fish Diseases) Dr.med.vet. Ph.D.(Ruminant Medicine) สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร) Ph.D.(Molecular Veterinary Biosciences) Ph.D.(Veterinary Medicine) Ph.D. คณะพยาบาลศาสตร Ph.D.(Nursing) วท.ด.(การวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) Ph.D.(Nursing) ปร.ด.(การพยาบาล) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) พย.ม.(บริหารการพยาบาล)

คูมือนักศึกษา 2559

139


คูมือนักศึกษา 2559

140 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการผดุงครรภขั้นสูง ชื่อ-สกุล รศ.ดร.สรอย อนุสรณธีรกุล รศ.มณีรัตน ภัทรจินดา รศ.สมพร วัฒนนุกูลเกียรติ ผศ.ดร.นิลุบล รุจิรประเสริฐ ผศ.ดร.ปราณี ธีรโสภณ ผศ.ดร.พักตรวิไล ศรีแสง ผศ.ดร.โสมภัทร ศรไชย ผศ.วัลภา บินสมประสงค ผศ.อุสาห ศุภรพันธ อ.ดร. สมจิตร เมืองพิล อ.กรรณิการ โกฏิมนัสวนิชย อ.ชลรดา พันธุชิน สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว รศ.ดร.ดารุณี จงอุดมการณ รศ.ดร.เสาวคนธ วีระศิริ ผศ.ดร.พัชราภรณ เจนใจวิทย สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน รศ.ดร.เกษราวัลณ นิลวรางกูร รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร รศ.ดร.สมจิต แดนสีแกว ผศ.ดร.เกศินี สราญฤทธิชัย ผศ.ดร.ลัฆวี ปยะบัณฑิตกุล ผศ.ดร.วิลาวัณย ชมนิรัตน ผศ.ดร.อรสา กงตาล ผศ.วิจิตรา เสนา อ.จารุณี สรกฤช อ.เปรื่องจิตร ฆารรัศมี สาขาวิชาการพยาบาลผูสูงอายุ รศ.ดร.ประสบสุข ศรีแสนปาง รศ.ผองพรรณ อรุณแสง ผศ.ดร.เพ็ญจันทร เลิศรัตน

คุณวุฒิ ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) วท.ม.(อนามัยครอบครัว) วท.ม.(การเจริญพันธุและวางแผนประชากร) Ph.D.(Nursing) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) Ph.D.(Nursing) วท.ม.(สาธารณสุขศาสตร) วท.ม.(การเจริญพันธุและวางแผนประชากร) Ph.D.(Nursing) วท.ม.(สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร) พย.ม.(การพยาบาลครอบครัว) Ph.D.(Nursing) พย.ด.(นานาชาติ) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) Ph.D.(Nursing) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) Ph.D.(Nursing) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) พย.ม.(การพยาบาลศึกษา) พย.ม.(การพยาบาลชุมชน) วท.ม.(สาธารณสุขศาสตร) ปร.ด.(การพยาบาล) วท.ม.(สรีรวิทยา) ปร.ด.(การพยาบาล)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการพยาบาลผูสูงอายุ(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.มยุรี ลี่ทองอิน ผศ.ดร.สิริมาศ ปยะวัฒนพงศ อ.ดร.ลดาวัลย พันธุพาณิชย สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ รศ.ดร.บําเพ็ญจิต แสงชาติ รศ.ดร.วิพร เสนารักษ รศ.ดร.สุวรรณา บุญยะลีพรรณ รศ.ดร.อัมพรพรรณ ธีรานุตร รศ.ดร.เอื้อมพร ทองกระจาย ผศ.ดร.กลาเผชิญ โชคบํารุง ผศ.ดร.ชัจคเณค แพรขาว ผศ.ดร.นงลักษณ เมธากาญจนศักดิ์ ผศ.ดร.บุษบา สมใจวงษ ผศ.ดร.ปทมา สุริต ผศ.ดร.วาสนา รวยสูงเนิน ผศ.ดลวิวัฒน แสนโสม ผศ.พิเชษฐ เรืองสุขสุด ผศ.พรทิพย บุญพวง ผศ.สุจารี อมรกิจบํารุง อ.ดร.ณิชาภัตร พุฒิคามิน อ.ดร.วราลักษณ กิตติวัฒนไพศาล สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต รศ.ดร.กฤตยา แสวงเจริญ รศ.ดร.สมพร รุงเรืองกลกิจ อ.ดร.ชนกฤทัย ชื่นอารมณ อ.เนตรชนก แกวจันทา อ.ศรินรัตน จันทพิมพ อ.อิงคฎา โคตนารา สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก รศ.ดร.จิราวรรณ แทนวัฒนกุล ผศ.ดร.ชลิดา ธนัฐธีรกุล

คุณวุฒิ พย.ด.(นานาชาติ) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) พย.ด. ปร.ด.(การพยาบาล) ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) ปร.ด.(การพยาบาล) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) ปร.ด.(การพยาบาล) ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) พย.ด.(นานาชาติ) D.N.Sc. Ph.D.(Nursing) Master of Science in Nursing พย.ม.(การพยาบาลผูใหญ) วท.ม.(พยาบาลศาสตร) วท.ม.(สรีรวิทยา) Ph.D.(Nursing) D.N.Sc.(Nursing) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) Ph.D.(Nursing) Ph.D.(Nursing) พย.ม.(การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช) พย.ม.(สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช) พย.ม.(สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) Ph.D.(Nursing)

คูมือนักศึกษา 2559

141


คูมือนักศึกษา 2559

142 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.นิลาวรรณ ฉันทะปรีดา ผศ.ดร.พูลสุข ศิริพูล ผศ.ดร.วิไล เกิดผล ผศ.ดร.เสาวมาศ คุณลาน เถื่อนนาดี ผศ.แกวกาญจน เสือรัมย ผศ.นิภา อังศุภากร อ.ดร.จุฬาภรณ ตั้งภักดี อ.ดร.สุพัฒนา ศักดิษฐานนท อ.นันทนริน ทีฆวิวรรธน อ.อัจฉริยา วงษอินทรจันทร คลังเลือดกลาง รศ.ดร. อมรรัตน รมพฤกษ ภาควิชากายวิภาคศาสตร รศ.ดร. มะลิวัลย นามกิ่ง รศ.ดร. วรรณี ชัยจรูญคณารักษ รศ. กิมาพร ขมะณะรงค รศ. โกวิท ไชยศิวามงคล รศ. พิพัฒนพงษ แคนลา รศ. วรวุฒิ วรพุทธพร ผศ.ดร.จริยา อําคา เวลบาท ผศ.ดร.ธาริณี สวัสดิ์พาณิชย ผศ.ดร.นงนุช เอื้อบัณฑิต ผศ.ดร.นวพร เตชาทวีวรรณ ผศ.ดร. ปาริฉัตร ประจะเนย ผศ.ดร. วนัสนันท แปนนางรอง ผศ.ดร.วิภาวี หีบแกว ผศ.ดร.สิทธิชัย เอี่ยมสะอาด ผศ. ธนรัฐ จันทอุปฬี ผศ. ปญญา ทวมสุข ผศ. วิไลวรรณ หมอทอง

คุณวุฒิ ปร.ด.(การพยาบาล) Ph.D.(Nursing) Ph.D.(Nursing) ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) พย.ม.(การพยาบาลครอบครัว) วท.ม.(เภสัชศาสตร) Ph.D.(Nursing) ปร.ด.(การพยาบาล) พย.ม.(การพยาบาลเด็ก) พย.ม.(การพยาบาลเด็ก) คณะแพทยศาสตร Ph.D.(Medicine) ปร.ด.(กายวิภาคศาสตร) Ph.D.(Anatomical Sciences) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) Ph.D.(Biomedical Sciences) ปร.ด.(ชีวภาพทางการแพทย) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Anatomy) Ph.D.(Histopathology) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Medical Science) Ph.D.(Anatomy) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชากายวิภาคศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ธัณยสิตา อนันตธีระกุล ผศ. ปทมา อมาตยคง ผศ. มาลินี เกิดกุญชร ผศ. ยรรยง ทุมแสน ผศ. สมศิริ รัตนสุวรรณ ผศ. อํานาจ ไชยชุน อ.ดร.นิชาภา พันชะโก อ.ดร.วราภรณ สาแกว อ.ดร.สมสุดา โสมอินทร ภาควิชากุมารเวชศาสตร ศ. จามรี ธีรตกุลพิศาล ศ.ผกากรอง ลุมพิกานนท ศ.มนัส ปะนะมณฑา ศ.สุมิตร สุตรา ศ. อรุณี เจตศรีสุภาพ ศ.อวยพร ปะนะมณฑา รศ. กุสุมา ชูศิลป รศ. ชาญชัย พานทองวิริยะกุล รศ. ณรงค เอื้อวิชญาแพทย รศ. ผกาพรรณ เกียรติชูสกุล รศ. เพ็ญศรี โควสุวรรณ

คุณวุฒิ วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) ปร.ด.(กายวิภาคศาสตรและชีววิทยาโครงสราง) ปร.ด.(กายวิภาคศาสตรและชีววิทยาโครงสราง) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรระบบ ทางเดินหายใจ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัตรบัตร(กุมารเวชศาสตรโรคติด เชื้อ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัตรบัตร(กุมารเวชศาสตร โรคหัวใจ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโรค ทางเดินอาหารและโรคตับ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัตรบัตร(กุมารเวชศาสตรโลหิต วิทยาและมะเร็งในเด็ก) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัตรบัตร(กุมารเวชศาสตรตอมไรทอ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตร โภชนาการ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตร โภชนาการ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรประสาท วิทยา) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรทารก แรกเกิดและปริกําเนิด) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโรค ทางเดินอาหารและโรคตับ)

คูมือนักศึกษา 2559

143


คูมือนักศึกษา 2559

144 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชากุมารเวชศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ. ภพ โกศลารักษ รศ. วิบูลย วีระอาชากุล รศ. สมพนธ ทัศนิยม รศ. สุรพล เวียงนนท รศ. สุวรรณี วิษณุโยธิน รศ. อภิชาติ จิระวุฒิพงศ รศ. อรรฆิศา ไชกิจภิญโญ ผศ. จรูญ เจตศรีสุภาพ ผศ. จรรยา จิระประดิษฐา ผศ. ชาญยุทธ ศุภคุณภิญโญ ผศ. พัชรี คําวิลัยศักดิ์ ผศ. ยุทธพงศ วงศสวัสดิวัฒน ผศ. รสวันต อารีมิตร ผศ. รัฐพล อุปลา อ. กุณฑล วิชาจารย อ. ดารา ไมเรียง อ.ภัทร วิรมยรัตน อ.ลีลาวดี เตชาเสถียร อ.สุชาอร แสงนิพันธุกูล อ.สุนีย พนมบัวเลิศ ภาควิชาจักษุวิทยา ศ. ยศอนันต ยศไพบูลย รศ. กิตติศักดิ์ กิจทวีสิน

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโรคติดเชื้อ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรประสาท วิทยา) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโลหิต วิทยาและมะเร็งในเด็ก) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโรคไต) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโรคหัวใจ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรตจวิทยา) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรทารก แรกเกิดและปริกําเนิด) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตร พัฒนาการและพฤติกรรม) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร),อนุมัติบัตร(กุมารเวชศาสตรโลหิต วิทยาและมะเร็งในเด็ก) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโรคหัวใจ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโรคระบบหายใจ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโรคภูมิแพและ ภูมิคุมกัน) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรตอมไรทอและเมตาบอลิซึ่ม) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโรคผิวหนัง) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโภชนาการ) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, กุมารเวชศาสตรโรคไต) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาจักษุวิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ. นิพนธ สายวัฒน รศ. สมเกียรติ อัศวภูรีกรณ รศ. โอฬาร สุวรรณอภิชน ผศ. ธนภัทร รัตนภากร ผศ.ธรรศ สงวนศักดิ์ ผศ. พัฒนารี ลวนรัตนากร ผศ. สุธาสินี สีนะวัฒน ผศ. อรสิริ ธนธานี อ. ชวกิจ ภูมิบุญชู อ. พรรณทิพา วองไว อ. ไพฑูรย ประฏิภาณวัตร อ.พัฐสุดา ธาริยะ อ. ภาวสุทธิ์ สุภาสัย อ.วรัชญา พันธพฤกษ อ.วิภาดา เหลาวิโรจนกุล อ. สิรินยา สุวรรณราช อ. อรพิน อนุตรพงษพันธ ภาควิชาจิตเวชศาสตร ศ. สุชาติ พหลภาคย รศ. นวนันท ปยะวัฒนกูล รศ. นิรมล พัจนสุนทร รศ. พูนศรี รังษีขจี รศ. สุรพล วีระศิริ รศ. สุวรรณา อรุณพงคไพศาล อ.กุศลาภรณ ชัยอุดมสม อ. พงศธร พหลภาคย อ.ภาพันธ วัฒนวิกยกิจ อ. ภัทรี พหลภาคย ภาควิชาจุลชีววิทยา รศ.ดร. จริยา ชมวารินทร

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) อนุมัติบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จักษุวิทยา) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(จิตเวชเด็กและวัยรุน, เวช ศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร, จิตเวชศาสตรเด็กและวัยรุน) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) วุฒิบัตร(จิตเวชศาสตร) Ph.D.(Medical Microbiology)

คูมือนักศึกษา 2559

145


คูมือนักศึกษา 2559

146 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาจุลชีววิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ.ดร. แจมใส เพียรทอง รศ.ดร. วีระพงศ ลุลิตานนท รศ.ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน รศ. จุฬาพรรณ อิ้งจะนิล รศ. ทิพยา เอกลักษณานันท รศ. วัลลภ แกวเกษ ผศ.ดร. กัญญลักษณ ชัยคําภา ผศ.ดร. กิตติพันธุ เสมอพิทักษ ผศ.ดร. เกียรติไชย ฟกศรี ผศ.ดร. จริยา หาญวจนวงศ ผศ.ดร. ฐิติมา นุตราวงศ ผศ.ดร. วิเศษ นามวาท ผศ.ดร. สกาวรัตน กันทะวงศ ผศ.ดร. โสรัจสิริ เจริญสุดใจ ผศ.ดร. อัญชลี ตัตตะวะศาสตร ผศ. ดรุณ โกฎิมนัสวนิชย ผศ. สุวิน วองวัจนะ อ.ดร.สุปราณี พันธุธนวิบูลย อ.ดร.อุมาพร ยอดประทุม ภาควิชาชีวเคมี ศ.ดร. พวงรัตน ยงวณิชย ศ.ดร. โสพิศ วงศคํา รศ.ดร. ชัยศิริ วงศคํา รศ.ดร. นิษณา นามวาท รศ.ดร. พัชรี บุญศิริ รศ.ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน รศ. วิทูรย ประสงควัฒนา รศ.ดร. วัชรินทร ลอยลม ผศ.ดร. กัลยาณี สวรรยาวิสุทธิ์ ผศ.ดร.กุลธิดา เวทีวุฒาจารย ผศ.ดร. อุบล ชาออน

คุณวุฒิ Dr.Sc.Hum.(Virology) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) วุฒิบัตร(กุมารเวชศาสตร, พยาธิวิทยาคลินิก) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) Dr.Med.(Bacteriology) Ph.D.(Medical Mycology) Ph.D.(Medical Microbiology) Ph.D.(Microbiology) Dr.P.H. Ph.D.(Engineering Biotechnology) ปร.ด.(จุลชีววิทยาทางการแพทย) Ph.D.(Microbiology) Ph.D.(Microbiology) วท.ม.(อายุรศาสตรเขตรอน) วท.ม.(จุลชีววิทยา) Ph.D.(Medical Science) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) Dr.sc.agr.(Nutrition) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D.(Medical Sciences) Ph.D.(Molecular Biology) ปร.ด.(ชีวเคมี) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) วท.ม.(ชีวเคมี) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D.(Biochemistry)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาชีวเคมี(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ. เตือนจิต คําพิทักษ อ.ดร.เรณู ทานันท อ.ดร. อาทิตย ศิลปศิริวานิชย ภาควิชาปรสิตวิทยา ศ.ดร. ไพบูลย สิทธิถาวร ศ.ดร. วันชัย มาลีวงษ ศ. ผิวพรรณ มาลีวงษ รศ.ดร. เทวราช หลาหา รศ.ดร. ธิดารัตน บุญมาศ รศ.ดร. ศศิธร แกวเกษ รศ.ดร. สมาน เทศนา รศ.ดร. สมชาย ปนละออ ผศ.ดร.พรทิพย เหลื่อมหมื่นไวย ผศ.ดร. วิภาภรณ เรืองจิระชูพร อ.ดร.อภิพร ถิ่นคํารพ ภาควิชาพยาธิวิทยา ศ.ดร. บรรจบ ศรีภา รศ. ชวลิต ไพโรจนกุล รศ. สุพินดา คูณมี รศ. อรอนงค กฤชเพชรรัตน ผศ.ดร. ชาตรี เศรษฐเสถียร ผศ.ดร. ณัฐชา ภัทรผดุงกิจ ผศ.ดร. เยาวลักษณ ฉ่ํากระมล ผศ. จุไรรัตน กุหลาบแกว ผศ. นันทยา คุณาธิปพงษ อ.นิพนธ ไชยสุริยา อ.ปติ อึ้งอารียวิทยา อ.ปยภารมย อินทรวิเชียร อ. สุรชาติ ชัยวิริยกุล อ.สักการ สังฆมานนท

คุณวุฒิ ว.ว.(กุมารเวชศาสตร) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) Ph.D.(Parasitology) วท.ด.(อายุรศาสตรเขตรอน) อว.(พยาธิวิทยาคลินิก) Ph.D.(Tropical Health) Ph.D.(Parasitology) Ph.D.(Tropical Health) Ph.D.(Parasitology) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) ปร.ด.(ปรสิตวิทยา) Ph.D.(Immunology) ปร.ด.(ปรสิตวิทยา) Ph.D.(Tropical Health) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) วท.บ.(ชีววิทยา) Ph.D.(Molecular Genetics) ปร.ด.(ชีวเคมี) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) อนุมัติบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว), วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) อนุมัติบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค), American Board of Anatomic Pathology(Pathology) วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค)

คูมือนักศึกษา 2559

147


คูมือนักศึกษา 2559

148 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาพยาธิวิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.ศักดา วราอัศวปติ อ.เอมอร ปาสาทัง ภาควิชาเภสัชวิทยา ศ.ดร.วิจิตรา ทัศนียกุล ศ.ดร. รพล คูคงวิริยพันธุ รศ.ดร.จินตนา สัตยาศัย รศ.ดร.บุญเกิด คงยิ่งยศ รศ.ดร.พัชรีวัลย ปนเหนงเพ็ชร รศ.สุดา วรรณประสาท ผศ.ดร.คัชรินทร ภูนิคม ผศ.ดร.ธารินี อัครวิเชียร ผศ.ดร.ปณต ตั้งสุจริต ผศ.ดร.ลัดดาวัลย เส็งกันไพร ผศ.ดร.ศิริมาศ กาญจนวาศ ผศ.ดร.เอื้อมเดือน ประวาฬ ผศ.ศิริพร เทียมเกา อ.ดร.นิตยสุภา วัฒนชัย อ.ดร.ศริญญา คงเพชร ภาควิชารังสีวิทยา ศ. วัลลภ เหลาไพบูลย รศ.ดร. เพชรากร หาญพานิชย รศ. จตุรัตน กันตพิทยา รศ. จรูญศักดิ์ สมบูรณพร รศ. จิราภรณ ศรีนัครินทร รศ. ชลิดา อภินิเวศ รศ. นิตยา ฉมาดล รศ. ปรารถนา เชาวนชื่น รศ. มณเฑียร เปสี ผศ.ดร. บรรจง เขื่อนแกว ผศ. จุรีรัตน ธรรมโรจน ผศ.นฤมล เชาวสุวรรณกิจ

คุณวุฒิ วุฒิบัตร (พยาธิวิทยากายวิภาค) กศ.ม.(วิทยาศาสตรศึกษา) Ph.D.(Clinical Pharmacology) Ph.D.(Toxicology) Ph.D.(Neuroscience) Dr.rer.nat.(Pharmacology) Ph.D.(Pharmacologly) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) Ph.D.(Pharmacology) Ph.D.(Pharmacology) Ph.D.(Clinical Pharmacology) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(เวชศาสตรนิวเคลียร) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาทั่วไป) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีรักษาและเวชศาสตรนิวเคลียร) ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชารังสีวิทยา(ตฮ) ชื่อ-สกุล ผศ. วรินทร พุทธรักษ ผศ. ศรีชัย ครุสันธิ์ อ.กิตติภพ สมบูรณนิธิผล อ.กุลญาดา สมทรัพย อ.คมสันต ธํารงคอนันตสกุล อ.จิตราภรณ วงศวิวัฒนไชย อ.จุฬาลักษณ พรหมศร อ.จันทรศรี ศุภอดิเรก อ.ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์ อ. นฤดม ศุภะกะลิน อ.นันทพร วงศสุรวัฒน อ. ปาณยา ทุมสทาน อ.ปยกานต พัฒนเศรษฐพงษ อ.พรรณทิพย ธรรมโรจน อ.วรานนท มั่นคง อ.วิเวียน คลังบุญครอง อ.วิทวัฒน ทะกอง อ.สุภจิตต นวพันธุ อ. อนุชา อาฮูยา ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ศ. สมบูรณ เทียนทอง รศ. เทพกร สาธิตการมณี รศ. พนารัตน รัตนสุวรรณ รศ. พลพันธ บุญมาก รศ. วราภรณ เชื้ออินทร รศ. วิมลรัตน ศรีราช รศ. สุหัทยา บุญมาก รศ. สรรชัย ธีรพงศภักดี รศ. อัครวัฒน สินเกื้อกูล ผศ. มาลินี วงศสวัสดิวัฒน

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีรักษาและเวชศาสตรนิวเคลียร) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(เวชศาสตรนิวเคลียร) วุฒิบัตร(รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(เวชศาสตรนิวเคลียร) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาทั่วไป) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาทั่วไป) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(รังสีวิทยาวินิจฉัย) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา)

คูมือนักศึกษา 2559

149


คูมือนักศึกษา 2559

150 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาวิสัญญีวิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ. สิริรัตน ตรีพุทธรัตน อ.เกรียงศักดิ์ งามแสงสิริทรัพย อ. คัทลียา ทองรอง อ.จักรทิพย สุทธินรากร อ.ดรุณี ตั้งวันเจริญ อ.ธนพร ศรีเมือง อ.นรินทร พลายละหาร อ.นนทิดา โรจนพิทยา อ. ปยะพร บุญแสงเจริญ อ.ปรารถนา เฉิดบํารุง อ.ปตย ปนเหนงเพชร อ.ฟางาม เจริญผล อ. ศรินญา จันทะวงศ อ.ศุภฤทธิ์ ศิลารัตน อ.ศรณ ธาตุทอง อ. สุกัญญา ภักดีสงคราม อ.อภิญญา อัญชุลี อ. อธิพงศ พัฒนเศรษฐพงษ อ. อุมจิต วิทยาไพโรจน ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน ศ. อมร เปรมกมล รศ.ดร. เนสินี ไชยเอีย รศ.ดร. มานพ คณะโต รศ.ดร. สมพงษ ศรีแสนปาง รศ.ดร. อมรรัตน รัตนสิริ รศ.สมเดช พินิจสุนทร

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(วิสัญญีวิทยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจหลอดเลือดใหญและทรวงอก) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(วิสัญญีวิทยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจหลอดเลือดใหญและทรวงอก) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(วิสัญญีวิทยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจหลอดเลือดใหญและทรวงอก) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(วิสัญญีวิทยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจหลอดเลือดใหญและทรวงอก) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา), อนุมัติบัตร(วิสัญญีวิทยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจหลอดเลือดใหญและทรวงอก) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(วิสัญญีวิทยา) วุฒิบัตร(เวชศาสตรปองกัน),อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) Ph.D.(Occupational Health), อนุมัติบัตร(อาชีวเวชศาสตร) Ph.D.(Antropology) Ph.D.(Tropical Medicine),อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) Ph.D.(Medical and Health Social Science) ส.ม.(สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. ปตพงษ เกษสมบูรณ ผศ.ดร. ปยธิดา คูหิรัญญรัตน ผศ.ดร. สุชาดา ภัยหลีกลี้ ผศ. ฐานพัฒน ดิฐสถาพรเจริญ ผศ. พรหมพิศิษฐ โจทยกิ่ง ผศ. วริสรา ลุวีระ อ.ดร.ศิรินทิพย บุญจรัสภิญโญ อ.ดร. เสาวนันท บําเรอราช ภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู รศ.ดร.ณัฐเศรษฐ มนิมนากร ผศ. ปรีดา อารยาวิชานนท ผศ. รัตนา วิเชียรศิริ ผศ. เสมอเดือน คามวัลย ผศ. ณิชานันทน ปญญาเอก ผศ. นันทยา อุดมพาณิชย อ.ดร.จิตติมา แสงสุวรรณ อ.พัทธปยา สีระสาพร อ.วรรณกานต เพชรรุงรัตน อ.อาคม บุญเลิศ ภาควิชาเวชศาสตรฉุกเฉิน รศ. วัชรพงศ พุทธิสวัสดิ์ ผศ. ดนุ เกษรศิริ ผศ.อรรจนี มหรรฆานุเคราะห อ.กมลวรรณ เอี้ยงฮง อ.กรกฏ อภิรัตนวรากุล อ.ฐปนวงศ มิตรสูงเนิน อ.ปริวัฒน ภูเงิน อ.แพรว โคตรรุฉิน อ.มธุรส บูรณศักดา อ.วัชระ รัตนสีหา

คุณวุฒิ Ph.D.(Epidemiology),อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) Ph.D. (Health System Development) Ph.D.(Public Health ) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) Ph.D.(Parasitology) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว), ปร.ด.(วิทยาศาสตรคลินิก) Ph.D.(Exercise Science) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฟนฟู) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฟนฟู) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฟนฟู) ศศ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา) วท.ม.(กายวิภาคศาสตร) Ph.D.(Rehabilitation Science) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฟนฟู) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฟนฟู) วุฒิบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมตั ิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) อนุมัติบัตร(อายุรศาสตรโรคขอและรูมาติซั่ม),วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน, โรคหัวใจและหลอดเลือด), วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน) วุฒิบัตร(เวชศาสตรฉุกเฉิน)

คูมือนักศึกษา 2559

151


คูมือนักศึกษา 2559

152 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาศัลยศาสตร ชื่อ-สกุล ศ. บวรศิลป เชาวนชื่น ศ. พจนชวิทย อภินิเวศ รศ. กมลวรรณ เจนวิถีสุข รศ. เกรียงศักดิ์ เจนวิถีสุข รศ. ไชยยุทธ ธนไพศาล รศ. ณรงค ขันตีแกว รศ. สมภพ พระธานี รศ. สุชาติ อารีมิตร รศ. อนัน ศรีพนัสกุล รศ. โอวตือ แซเซียว ผศ. กฤษฎา เปานาเรียง ผศ. ขจิตร พาชีรัตน ผศ. ชูศักดิ์ คุปตานนท ผศ. ไชยวิทย ธนไพศาล ผศ. ณรงชัย วองกลกิจศิลป ผศ. ดําเนิน วชิโรดม ผศ. ธเนศ รังษีขจี ผศ. พลากร สุรกุลประภา ผศ. พิชเยนทร ดวงทองพล ผศ. วินัย ตันติยาสวัสดิกุล ผศ. ศิริ เชื้ออินทร ผศ. อํานาจ กิจควรดี ผศ. เอก ปกเข็ม อ.กฤษกร จริงจิตร อ.เกงกาจ วินัยโกศล อ.จักรพันธ วิทยาไพโรจน อ.เฉลิม เอื้อบุณยะนันท อ. ชนัญญา กรุณาสุเมตตา อ.ชลัช มิตรประชาปราณี

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป,ศัลยศาสตรตกแตง) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป),อ.ว.เวชศาสตรครอบครัว วุฒิบัตร(,ศัลยศาสตรตกแตง),อนุมัตรบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป),อ.ว.เวชศาสตรครอบครัว วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, อ.ว.ศัลยศาสตรอุบัติเหตุ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป,ศัลยศาสตรทรวงอก) วุฒิบัตร(กุมารศัลยศาสตร, ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรลําไสใหญและทวารหนัก วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรทรวงอก,เวชศาสตร ครอบครัว) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ประสาทศัลยศาสตร วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป,ศัลยศาสตรหลอดเลือด),อ.ว. ศัลยศาสตรอุบัติเหตุ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรตกแตง) วุฒิบัตร(ประสาทศัลยศาสตร) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.กุมารศัลยศาสตร วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ประสาทศัลยศาสตร) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ประสาทศัลยศาสตร) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรทรวงอก) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทรวงอก)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาศัลยศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล อ. ชวลิต วงศพุทธะ อ.ฐิติ จันทรเมฆา อ. ธราธิป ศรีสุข อ.ปทมา ปญญาวงศ อ.พัชรีภรณ ตันมิ่ง อ. วร ลุวีระ อ.วิเชียร ศิริธนะพล อ.ศุภณัฏฐ ลุมพิกานนท อ. สุภัชชา ประเสริฐเจริญสุข อ. สุริยะ พันธชัย อ.สมชาย เรืองวรรณศักดิ์ อ. อนงคพร นิ่มบริบูรณพร อ.อุกฤษฏ รมไทรทอง อ.เอกพงษ สาธิตการมณี อ. องอาจ โสมอินทร อ.อรรถพล ติตะปญ ภาควิชาสรีรวิทยา รศ.ดร. จินตนาภรณ วัฒนธร รศ.ดร. นฤมล ลีลายุวัฒน รศ.ดร. พวงรัตน ภักดีโชติ รศ.ดร. ยุพา คูคงวิริยพันธุ รศ.ดร. วรรณภา อิชิดะ รศ.ดร. วิไลวรรณ กฤษณะพันธ รศ.ดร. สัญญา รอยสมมุติ รศ. เทอดไทย ทองอุน รศ. ภารดี เอื้อวิชญาแพทย รศ. สุพัชญ สีนะวัฒน ผศ.ดร. ธัญดา สุทธิธรรม ผศ.ดร. สุภาพร มัชฌิมะปุระ

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรทรวงอก) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทรวงอก) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรตกแตง) วุฒิบัตร(กุมารศัลยศาสตร) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), อ.ว.ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป), ว.ว.ศัลยศาสตรหลอดเลือด วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป),อ.ว.เวชศาสตรฉุกเฉิน,เวชศาสตร ครอบครัว,ศัลยศาสตรอุบัติเหตุ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป, ศัลยศาสตรมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Physiology) Ph.D.(Biomedical Sciences) Ph.D.(Physiology) วท.ด.(วิทยาศาสตรชีวภาพ) Ph.D.(Physiology) ปร.ด.(สรีรวิทยา) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรทั่วไป)/อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา),อนุมัติบัตร(เวชศาสตร ครอบครัว,เวชศาสตรการเจริญพันธุ) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Physiology)

คูมือนักศึกษา 2559

153


คูมือนักศึกษา 2559

154 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาสรีรวิทยา(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.อภิวันท มนิมนากร ผศ. ปณคพร วรรณานนท ผศ. อรพิน ผาสุริยวงษ ผศ. อรทัย ตันกําเนิดไทย อ.ดร.วิภาวี ทูคํามี อ.ดร. วิยะดา ปญจรัก อ.ดร.วีระพล แสงอาทิตย ภาควิชาสูติศาสตรและนรีเวชศาสตร ศ. เจศฏา ถิ่นคํารพ ศ. ภิเศก ลุมพิกานนท รศ. กนก สีจร รศ. โกวิท คําพิทักษ รศ. โฉมพิลาศ จงสมชัย รศ. ชํานาญ เกียรติพีรกุล รศ. ถวัลยวงค รัตนสิริ รศ. บัณฑิต ชุมวรฐายี รศ. ประนอม บุพศิริ รศ. ยุทธพงศ วีระวัฒนตระกูล รศ. วรลักษณ สมบูรณพร รศ. วิทูรย ประเสริฐเจริญสุข รศ. สุกรี สุนทราภา ผศ. ปยะมาศ ศักดิ์ศิริวุฒโฒ ผศ. พิไลวรรณ กลีบแกว ผศ. รัตนา คําวิลัยศักดิ์ ผศ. ศรีนารี แกวฤดี อ.กีรติ วัฒนากมลชัย อ.เกียรติศักดิ์ คงวัฒนกุล อ.เจน โสธรวิทย อ.ธีระยุทธ เต็มธนะกิจไพศาล อ.ศิริฤทัย อํานาจบุดดี อ. สงวนโชค ลวนรัตนากร

คุณวุฒิ Ph.D.(Exercise Science) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรครอบครัว) อนุมัติบัตร(เวชศาสตรปองกัน) วท.ม.(สรีรวิทยาทางการแพทย) ปร.ด.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Child Health) ปร.ด.(สรีรวิทยาทางการแพทย) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาสูติศาสตรและนรีเวชศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ อ.อมรรัตน เต็มธนะกิจไพศาล วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) อ.หลิงหลิง สาลัง วุฒิบัตร(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา) ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา รศ.ดร. เบญจมาศ พระธานี ปร.ด.(สาธารณสุข) รศ. ขวัญชนก ยิ้มแต วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. ธีรพร รัตนาเอนกชัย วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. พัชรีพร แซเซียว วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. วิสูตร รีชัยพิชิตกุล วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. สงวนศักดิ์ ธนาวิรัตนานิจ วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. สมชาย ศรีรมโพธิ์ทอง วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) รศ. สุภาภรณ ศรีรมโพธิ์ทอง วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) ผศ. ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) ผศ. สุรพล ซื่อตรง วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) ผศ. เสกสันต ชัยนันทสมิตย วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) ผศ. พนิดา ธนาวิรัตนานิจ ศศ.ม.(โสตสัมผัสวิทยา) อ.พรเทพ เกษมศิริ วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) อ.ภาธร ภิรมยไชย วุฒิบัตร (โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) อ.ภัทรมน วิจักขณาลัญฉ วุฒิบัตร (โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) อ.วัชรีพร ตีระมาศวณิช วุฒิบัตร (โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) อ. สุภวรรณ เลาหศิริวงศ วุฒิบัตร(โสต ศอ นาสิก และลาริงซวิทยา) ภาควิชาออรโธปดิกส ศ.ดร. กิตติ จิระรัตนโพธิ์ชัย วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) ศ. วีระชัย โควสุวรรณ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) ศ. สุกิจ แสงนิพันธกูล วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) รศ. ทวีโชค วิษณุโยธิน วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) รศ. วินัย ศิริชาติวาป วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโทปดิกส) รศ. ศักดา ไชกิจภิญโญ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) รศ. ศุภศิลป สุนทราภา วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) รศ.ดร. สุรชัย แซจึง วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) ผศ. กิติวรรณ วิปุลากร วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) ผศ. เกรียงไกร วิทยาไพโรจน วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส)

คูมือนักศึกษา 2559

155


คูมือนักศึกษา 2559

156 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาออรโธปดิกส(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ. ธรา ธรรมโรจน ผศ. ปยวรรณ จตุปาริสุทธิ์ ผศ. สุรัตน เจียรณมงคล ผศ. เสริมศักดิ์ สุมานนท อ.กมลศักดิ์ สุคนธมาน อ. ชัช สุมนานนท อ. ชัชวาล ศานติพิพัฒน อ.นัธทมน วงศบา อ.เพิ่มศักดิ์ พหลภาคย อ.ภัทร เหลาภัทรเกษม อ.มนูศักดิ์ บุญอาจ อ.ฤทธิ์ อภิญญาณกุล อ.เศรษฐพล วัฒนากมลชัย อ. สุวิชชา ศรีผดุงกุล อ.อาทิตย บุญรอด ภาควิชาอายุรศาสตร ศ. ฉัตรเลิศ พงษไชยกุล ศ. ทรงขวัญ ศิลารักษ ศ. เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์ ศ. รัตนวดี ณ นคร ศ. วิภา รีชัยพิชิตกุล ศ. วีรจิตต โชติมงคล ศ. อรทัย พาชีรัตน รศ. กิตติ จันทรเลิศฤทธิ์ รศ. กิตติศักดิ์ สวรรยาวิสุทธิ์ รศ. เจริญ ชุณหกาญจน รศ. ชิงชิง ฟูเจริญ รศ.ชลธิป พงศสกุล รศ. ทรงศักดิ์ เกียรติชูสกุล รศ. ธงชัย ประฏิภาณวัตร รศ. บุญสง พัจนสุนทร

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโทปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรออรโธปดิกส) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อว.(อายุรศาสตรโรคขอและรูมาติสซั่ม) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร),อว.(อายุรศาสตรโรคไต) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคหัวใจ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรตอมไรทอและเมตาบอลิซึ่ม) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาอายุรศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ. ปณิตา ลิมปวัฒนะ รศ. ประณิธิ หงสประภาส รศ. ภิรุญ มุตสิกพันธุ รศ. วัชรา บุญสวัสดิ์ รศ. วัฒนา สุขีไพศาลเจริญ รศ. ศิรภพ สุวรรณโรจน รศ. ศิริรัตน อนุตระกูลชัย รศ. ศิริลักษณ อนันตณัฐศิริ รศ. สมศักดิ์ เทียมเกา รศ. อนัฆพงษ พันธุมณี ผศ.ดร. วีระเดช พิศประเสริฐ ผศ. กาญจนา จันทรสูง ผศ. จิตติมา ศิริจีระชัย ผศ. ไชยสิทธิ์ วงศวิภาพร ผศ. ณัฐติยา เตียวตระกูล ผศ.บูรพา ปุสธรรม ผศ.ภัทรพงษ มกรเวช ผศ. เอื้อมแข สุขประเสริฐ อ.กรรณิการ คงบุญเกียรติ อ.โกสินทร วิระษร อ.ไกรสร อนุตรพงษพันธ อ.คูขวัญ สวัสดิ์พานิชย อ. จาริญญ จินดาประเสริฐ อ. จิตรานนท จันทรออน อ. ชินดล วานิชพงษพันธุ อ.ดนณ แกวเกษ อ.ดุจดาว สหัสทัศน อ. พรรณธิพา ตันสวรรค อ.ไพลิน รัตนวัฒนกุล อ.วิชัย เสนทอง

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรผูสูงอายุ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคติดเชื้อ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรโรคระบบหายใจ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรโรคระบบทางเดินอาหาร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรโรคขอและเมตาบอลิซึ่ม) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), อว.(อายุรศาสตรโรคระบบหายใจและภาวะวิกฤต ระบบการหายใจ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร), Ph.D.(Nutrition Sciences) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, โลหิตวิทยา) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, โลหิตวิทยา) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคหัวใจ) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคเลือด) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคมะเร็ง) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, ประสาทวิทยา) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรมะเร็งวิทยา) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคเลือด) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคไต) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อนุสาขาเวชบําบัดวิกฤต) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร, อายุรศาสตรโรคหัวใจ)

คูมือนักศึกษา 2559

157


คูมือนักศึกษา 2559

158 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชาอายุรศาสตร (ตอ) ชื่อ-สกุล อ.วันทิน ศรีเบญจลักษณ อ.วรพจน เดี่ยวตระกูลชัย อ.สิทธิชัย คําใสย อ.สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ อ.สุธีรพร เชาววัฒนาพานิช อ.สุรณัฐ เจริญศรี อ.สรวิเชษฐ รัตนชัยวงศ อ.อธิบดี มีสิงห อ. อนุพล พาณิชยโชติ อ.อภิชาต โซเงิน ภาควิชานิติเวชศาสตร รศ. อัมพร แจมสุวรรณ ผศ. ธิติชัย เวียงสิมมา ผศ. มณีวรรณ แทนรัตนวิจิตร ผศ.วิรุจน คุณกิตติ ผศ. สมบัติ เตรียมแจงอรุณ อ.ดร.เลียงชัย จัตุรัส อ.ดร.วันชนะ สืบไวย สาขาวิชากายภาพบําบัด รศ.ดร. ชุลี โจนส รศ.ดร.ทวีศักดิ์ จรรยาเจริญ รศ.ดร. นอมจิตต นวลเนตร รศ.ดร. รุงทิพย พันธุเมธากุล รศ.ดร. วิชัย อึงพินิจพงศ รศ.ดร. วัณทนา ศิริธราธิวัตร รศ.ดร. สุกัลยา อมตฉายา รศ.ดร. สมชาย รัตนทองคํา รศ.ดร. อรวรรณ บุราณรักษ ผศ.ดร. ทกมล กมลรัตน ผศ.ดร. พรรณี ปงสุวรรณ

คุณวุฒิ วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) วุฒิบัตร(อายุรศาสตร) อนุมัติบัตร(นิติเวชศาสตร), วุฒิบัตร(พยาธิวิทยากายวิภาค) วุฒิบัตร(นิติเวชศาสตร) อนุมัติบัตร(นิติเวชศาสตร) วุฒิบัตร(นิติเวชศาสตร) วุฒิบัตร(นิติเวชศาสตร) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) คณะเทคนิคการแพทย Ph.D.(Sport and Exercise Sciences) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) Ph.D.(Physiotherapy) Ph.D.(Physiotherapy) Ph.D.(Physiotherapy) Ph.D.(Physiotherapy) Ph.D.(Sport and Exercise Sciences) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) ปร.ด. (สาธารณสุขศาสตร) Ph.D.(Medical Sciences) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชากายภาพบําบัด(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. ยอดชาย บุญประกอบ ผศ.ดร. รวยริน ชนาวิรัตน ผศ.ดร. ลักขณา มาทอ ผศ.ดร. สาวิตรี วันเพ็ญ ผศ.ดร.สุรัสวดี เบนเน็ตต ผศ.ดร. อุไรวรรณ ชัชวาลย ผศ. สุภาภรณ ผดุงกิจ ผศ. พิศมัย มะลิลา อ.ดร.คุรุศาสตร คนหาญ อ.ดร.วนิดา ดรปญหา อ.ดร.ทิวาพร ทวีวรรณกิจ อ.ดร.พลลพัฏฐ ยงฤทธิปกรณ อ.ดร.เสาวนีย นาคมะเริง อ. ดร.อัครานี ทิมินกุล อ. วรวรรณ คําฤาชา สาขาวิชาเทคนิคการแพทย ศ.ดร. เต็มดวง ลิ้มไพบูลย รศ.ดร. กนกวรรณ แสนไชยสุริยา รศ.ดร. เกรียงไกร กิจเจริญ รศ.ดร. จุฬารัตน ปริยชาติกุล รศ.ดร. จุรีรัตน ดาดวง รศ.ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน รศ.ดร. โชติชนะ วิไลลักขณา รศ.ดร. ณัฐยา แซอึ้ง รศ.ดร. นงนุช เศรษฐเสถียร รศ.ดร. นันทรัตน โฆมานะสิน รศ.ดร. พัชรี เจียรนัยกูร รศ.ดร. เยาวลักษณ ธีระเจตกูล รศ.ดร. สุพรรณ ฟูเจริญ รศ.ดร. อรุณวดี ชนะวงศ รศ.ดร. อรุณลักษณ ลุลิตานนท

คุณวุฒิ ปร.ด.(เภสัชวิทยา) ปร.ด.(สรีรวิทยาทางการแพทย) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) Ph.D.(Neurosciences) Ph.D.(Health Professions and Rehabilitation Sciencs) ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) วท.ม.(สรีรวิทยาของการออกกําลังกาย) วท.ม.(สรีรวิทยาทางการแพทย) Ph.D.(Physical Activity and Health) ปร.ด.(สรีรวิทยาทางการแพทย) ปร.ด.(วิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวของมนุษย) ปร.ด.(พยาธิชีววิทยา) ปร.ด.(สรีรวิทยาทางการแพทย) Ph.D.(Health and Sport Sciences) วท.ม.(ประสาทวิทยาศาสตร) Ph.D.(Biochemistry) ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) ปร.ด.(เทคนิคการแพทย) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Molecular Immunology) ปร.ด.(จุลชีววิทยาการแพทย) ปร.ด.(เทคนิคการแพทย) Ph.D.(Biochemistry) Ph.D.(Molecular Biology in Haemostasis) ปร.ด.(ชีวเคมี) Ph.D.(Medical Science) D.Sc.(Molecular Biology) Ph.D.(Microbiology) Ph.D.(Bacteriology)

คูมือนักศึกษา 2559

159


คูมือนักศึกษา 2559

160 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาเทคนิคการแพทย (ตอ) ชื่อ-สกุล รศ.ดร. อําพร ไตรภัทร รศ. กุลนภา ฟูเจริญ รศ. ภาณุทรรศน กฤชเพชรรัตน รศ. ศรีวิไล วโรภาสตระกูล รศ. อรุณรัฐ รมพฤกษ ผศ.ดร. กาญจนา เลิศมีมงคลชัย ผศ.ดร.นิชา เจริญศรี ผศ.ดร. ปรีชา หอมจําปา ผศ.ดร. ไพเกษม แสนยานุสิน ผศ.ดร. พรทิพย ปนละออ ผศ.ดร. ไมตรี ปะการะสังข ผศ.ดร. ราตรี ทวิชากรตระกูล ผศ.ดร. ธนกร ปรุงวิทยา ผศ.ดร. ยุพิน อนิวรรตอังกูร ผศ.ดร. ศิริพร ปรุงวิทยา ผศ.ดร. สุทธิพรรณ กิจเจริญ ผศ.ดร. อรุณนี สังกา ผศ. จินดารัตน ตระกูลทอง ผศ. นพมาศ เข็มทองหลาง ผศ. มณเฑียร พันธุเมธากุล ผศ. ลิ่มทอง พรหมดี ผศ. วิญู วงศประทุม ผศ. วิสุทธิ์ กังวานตระกูล อ.ดร. กรรณิการ กัวหา อ.ดร.พัชราภรณ ทิพยวัฒน อ.ดร. วรวรรณ ชุมเปย อ.ดร.สุภาวดี แยมศรี อ.ดร.อมรรัตน จําเนียรทรง อ.ดร.อัฐวุฒิ ไชยบุญเรือง อ.ดร.อัญชลี เตชะเสน

คุณวุฒิ Ph.D.(Nutrition) วท.ม.(ชีวเคมี) วท.ม.(พยาธิวิทยาคลินิก) วท.ม.(อายุรศาสตรเขตรอน) วท.ม.(พยาธิวิทยาคลินิก) Ph.D.(Cellular Immunology) Ph.D.(Microbiology & Immunology) Ph.D.(Microbiology) Ph.D.(Biochemistry) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) ปร.ด.(จุลชีววิทยาการแพทย) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) Ph.D.(Immunology) Ph.D.(Parasitology) Ph.D.(Medical Science) ปร.ด.(ชีวเคมี) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) วท.ม.(ชีวเคมี) วท.ม.(พยาธิวิทยาคลินิก) วท.ม.(พยาธิวิทยาคลินิก) วท.ม.(ชีวเคมีทางการแพทย) วท.ม.(จุลชีววิทยา) วท.ม.(ชีวเคมี) Ph.D.(Medical Engineering) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) ปร.ด.(เทคนิคการแพทย) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) ปร.ด.(เทคนิคการแพทย) ปร.ด.(ชีวเวชศาสตร) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะสาธารณสุขศาสตร สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข การสงเสริมสุขภาพ โภชนการ รศ.ดร. จุฬาภรณ โสตะ ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) รศ.ดร.ชนะพล ศรีฤาชา สค.ด.(สังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข) รศ.ดร.ชัญญา อภิปาลกุล ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) รศ.ดร. ประจักร บัวผัน ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) รศ.ดร. พรรณี บัญชรหัตถกิจ Dr.P.H.(Health Education and Behavior Science) รศ.ดร. วงศา เลาหศิริวงศ Doctor of Philosophy(Public Sector Management) รศ.ดร. สุวิทย อุดมพาณิชย สธ.ด.(บริหารสาธารณสุข) รศ. เบญจา มุกตพันธุ วท.ม.(โภชนศาสตร) รศ. ปาริชา นิพพานนท วท.ม.(สุขศึกษา) รศ. พิษณุ อุตตมะเวทิน วท.ม.(โภชนศาสตร) ผศ.ดร. ณิตชาธร ภาโนมัย Ph.D.(Public Health) ผศ.ดร. นิรมล เมืองโสม สค.ด.(สังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข) ผศ.ดร. ภัทระ แสนไชยสุริยา Doctor Rerum Medicarum(Health Sciences) ผศ.ดร. รุจิรา ดวงสงค ส.ด.(สุขศึกษา) ผศ.ดร. สุวลี โลวิรกรณ ส.ด.(โภชนาการสาธารณสุข) ผศ. ประเสริฐ ถาวรดุลยสถิตย M.P.H.(Public Health) อ.ดร.รัฐพล ไกรกลาง ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) อ.พรพิมล ชูพานิช วท.ม.(โภชนศาสตร) สาขาวิชาวิทยาการระบาดและชีวสถิติ ศ.ดร. มาลินี เหลาไพบูลย Doctor Rerum Medicarum ศ.ดร. สุพรรณี พรหมเทศ Ph.D.(Epidemiology) รศ.ดร. เลิศชัย เจริญธัญรักษ Dr.rer.Nat.(Environmental Health Science) รศ.ดร. บัณฑิต ถิ่นคํารพ Ph.D.(Statistics) รศ. ยุพา ถาวรพิทักษ พบ.ม.(สถิติประยุกต) ผศ.ดร. จิราพร เขียวอยู พบ.ด.(ประชากรและการพัฒนา) ผศ.ดร. พรนภา ศุกรเวทยศิริ Ph.D.(Epidemiology) ผศ.ดร.พอใจ พัทธนิตยธรรม ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) ผศ.ดร.ศิริพร คําสะอาด สด.(สาธารณสุขศาสตร) ผศ. เชษฐา งามจรัส วท.ม.(สถิติประยุกต) ผศ. นิคม ถนอมเสียง วท.ม.(ชีวสถิติ) ผศ. พงษเดช สารการ วท.ม.(สถิติประยุกต)

คูมือนักศึกษา 2559

161


คูมือนักศึกษา 2559

162 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิทยาการระบาดและชีวสถิติ(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ อ.ดร.ชนัญญา จิระพรกุล Ph.D.(Public Health) อ. เจตตนภิศ ระยับกุล วท.ม.(สถิติประยุกต) อ. เนาวรัตน ตั้งศรีทอง วท.ม.(ปรสิตวิทยา) สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัย รศ.ดร. ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม Ph.D.(Public Health) รศ.ดร.วรางคณา สังสิทธิสวัสดิ์ ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) รศ.ดร. สุนิสา ชายเกลี้ยง Doktor der Humanbiologie(Human Biology) รศ.ดร. อุไรวรรณ อินทรมวง Ph.D.(Public Health) รศ. กาญจนา นาถะพินธุ วท.ม.(วิทยาการระบาด) ผศ.ดร. กาญนิถา ครองธรรมชาติ Ph.D.(Civil and Environmental Engineering) ผศ.ดร. พรพรรณ สกุลคู Ph.D.(Public Health) ผศ.ดร. สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน Doktor der Technichen Wissenshaften(umwelt technik) ผศ. ชัชวาล กีรติวรสกุล วท.ม.(วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม) ผศ. ภาณี ฤทธิ์มาก วท.ม.(สุขศาสตรอุตสาหกรรมและความปลอดภัย) ผศ. วิภารัตน โพธิ์ขี วศ.ม.(วิศวกรรมความปลอดภัย) อ.ดร. ชัชชาย แจมใส วท.ด.(ปฐพีศาสตร) อ.ดร.พฤกษ ตัญตรัยรัตน ปร.ด.(วิศววกรรมสิ่งแวดลอม) อ.ดร.อนุชนรา ตาลกุล Ph.D.(Biomedical Engineering) อ.ดร.ฤทธิรงค จังโกฏิ วท.ด.(การจัดการสิ่งแวดลอม) อ.พจน ภาคภูมิ วท.ม.(สุขศาสตรอุตสาหกรรมและความปลอดภัย) คณะทันตแพทยศาสตร สาขาวิชาปริทันตวิทยา รศ.ดร. นวรัตน วราอัศวปติ เจริญ Cert. in Periodontology, D.M.SC.(Oral Biology), อ.ท.(ปริทันต วิทยา), Diplomate, American Board of Periodontology รศ. แสงโสม ประจะเนย อ.ท.(ปริทันตวิทยา),วท.ม.(ปริทันตวิทยา) รศ. อรุณ ทีรฆพงศ อ.ท.(ปริทันตวิทยา),M.Sc. (Periodontology) ผศ.ดร. ดุษฎี หอมดี Ph.D.(Periodontology) ผศ. วราภรณ สุวรรณรงค อ.ท.(ปริทันตวิทยา),วท.ม.(ปริทันตวิทยา) อ.ดร. อเนก ชยสดมภ ปร.ด.(ชีววิทยาชองปาก) อ.จุติพร พนมบัวเลิศ วท.ม.(ทันตกรรมทั่วไป) อ. อังคณา แสงปญญา วท.ม.(ทันตกรรมทั่วไป)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน ชื่อ-สกุล รศ.ดร. วรานุช ปติพัฒน รศ.ดร. สุภาภรณ ฉัตรชัยวิวัฒนา รศ. วิลาวัลย วีระอาชากุล ผศ.ดร. ปยะฉัตร พัชรานุฉัตร ผศ. นุสรา ภูมาศ ผศ. สุบิน พัวศิริ ผศ. วราวัชร ขจรรัตนวณิชย อ.ดร. วิไลพร สุตนั ไชยนนท อ. รัชฎา นอยสมบัติ อ.อารยา ภิเศก สาขาวิชาทันตกรรมบูรณะ รศ.ดร. ปทมา ชัยเลิศวณิชกุล ผศ.ดร. อังสนา ใจแนน ผศ. กรกมล สุขจิตร ผศ. อาภาภรณ ภาษาสุข อ.ดร. สุชาติ วงศขันตี อ.ดร. อุทัยวรรณ อารยะตระกูลลิขิต อ.กุลวรา ธาริยะ อ. เถลิงศักดิ์ สมัครสมาน อ.พีรพงศ กุประดิษฐ สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟน รศ.ดร. ทัศนีย วังศรีมงคล รศ. มนเทียร มโนสุดประสิทธิ์ ผศ. ชุติมาพร เขียนประสิทธิ์ ผศ.พูนศักดิ์ ภิเศก สาขาวิชาชีววิทยาชองปาก รศ.ดร. จรินทร ปภังกรกิจ รศ.ดร อาริยา รัตนทองคํา ผศ.ดร. ฑีฆายุ พลางกูร จอรนส ผศ.ดร. สมเกียรติ เหลืองไพรินทร อ.สวิตา คิ้มศรีสุข

คุณวุฒิ อ.ท.(ทันตสาธารณสุข),Sc.D. Epidemiology Dr.PH.(Oral Epidemiology) อ.ท.(ทันตสาธารณสุข),ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร) Ph.D.(Public Health Nutrition & Health Education) อ.ท.(ทันตสาธารณสุข),วท.ม(ทันตสาธารณสุข) อ.ท.(ทันตสาธารณสุข),ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร) รป.ม.(การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) ค.ด.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) อ.ท.(ทันตสาธารณสุข),วท.ม.(ทันตสาธารณสุข) อ.ท.(ทันตสาธารณสุข) Ph.D.(Endodontology), อ.ท. (วิทยาเอนโดดอนต) Ph.D(Dental Sc.) American Board, M.S.D.(Operative Dentistry) วท.ม.(ทันตกรรมหัตถการ) วท.ด.(ชีววิทยาชองปาก) วท.ด.(ชีววิทยาชองปาก) วท.ม.(ทันตกรรมบูรณะ) วท.ม.(วิทยาเอนโดดอนต) วท.ม.(ทันตกรรมหัตถการ) ปร.ด.(เภสัชวิทยา) อ.ท.(ทันตกรรมจัดฟน),M.D.Sc.(Orthodontics) อ.ท.(ทันตกรรมจัดฟน) อ.ท.(ทันตกรรมจัดฟน) Ph.D.(Oral Biology) ปร.ด.(การวิจัยและพัฒนาทางเภสัชภัณฑ) Ph.D.(Orofacial Pain) Ph.D.(Microbiology and Immunology) วท.ม.(ประสาทวิทยาศาสตร)

คูมือนักศึกษา 2559

163


คูมือนักศึกษา 2559

164 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ ชื่อ-สกุล รศ.ดร. นิวัตร จันทรเทวี ผศ.ดร. ดาราพร แซลี้ ผศ. ดนัย ยอดสุวรรณ ผศ.ดร. สุคนธทิพย อาวัชนาการ ผศ.ดร. สุวดี เอื้ออรัญโชติ ผศ. พิศเพลิน ชนาเทพาพร ผศ. วิสิทธิ์ สาครตานันท อ.ดร. ไชยวุฒิ พฤกษงามพันธ อ.ดร. ธิดารัตน อังวราวงค อ.ดร.สุพรรณิการ เรืองศรี อ.ตุลารัตน สุขโท อ.วัชรินทร หอวิจิตร สาขาวิชาทันตกรรมสําหรับเด็ก รศ.ดร. อาภา จันทรเทวี รศ. เข็มพร กิจสหวงศ รศ. อรอุมา อังวราวงศ ผศ. จินดา เลิศศิริวรกุล ผศ. อโนมา รัตนะเจริญธรรม อ.ดร. ปฏิมาพร พึ่งชาญชัยกุล อ.พรทิพย ผจงวิริยาพร สาขาวิชาวินิจฉัยโรคชองปาก ศ.ดร.สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ รศ.ดร. ธีระศักดิ์ ดํารงรุงเรือง รศ.ดร.พลธรรม ไชยฤทธิ์ รศ.ดร. สุวดี โฆษิตบวรชัย รศ. เพ็ญศรี โพธิภักดี รศ. มุขดา ศิริเทพทวี ผศ.ดร. ปรมาภรณ กลั่นฤทธิ์ ผศ.ดร. ภิภพ สุทธิประภาภรณ ผศ.ดร.อชิรวุธ สุพรรณเภสัช อ.วิไลรัตน สฤษฎีชัยกุล

คุณวุฒิ Sc.D. (Biomaterials), อ.ท.(ทันตกรรมประดิษฐ) Ph.D.(Occlusion) อ.ท.(ทันตกรรมประดิษฐ) Ph.D.(Prosthodontic) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน),วท.ม.(ทันตกรรมประดิษฐ) วท.ม.(ทันตกรรมประดิษฐ) M.Sc.(Stomatognathic Physiology) Ph.D.(Maxillofacial Prosthetics) วท.ด.(ชีววิทยาชองปาก) Ph.D.(Oral Biology) M.Sc.(Maxillofacial Prosthetics) M.Sc.(Maxillofacial Prosthetics) ปร.ด.(ชีวเคมีทางการแพทย) วท.ม.(ทันตกรรมสําหรับเด็ก) อ.ท.(ทันตกรรมสําหรับเด็ก) อ.ท.(ทันตกรรมสําหรับเด็ก), M.D.Sc.(Paediatric Dentistm) อท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก) Ph.D.(Developmental Biology) ว.ว.(ทันตกรรมสําหรับเด็ก) ปร.ด.(พยาธิชีววิทยา) Ph.D.(Phamacology) Ph.D.(Dental Science) Dr.med dent (Dentistry),อ.ท.(วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก) วท.ม.(เวชศาสตรชองปาก) M.Sc.(Oral Medicine) Ph.D(Molecular Oncology),วท.ม.(เวชศาสตรชองปาก) Ph.D.(Oral and Maxillofacial Radiology) อ.ท.(วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก), M.D.Sc.(Oral Pathology and Oral Medicine) วท.ม.(เวชศาสตรชองปาก)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาศัลยกรรมชองปากและกระดูกขากรรไกร ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ รศ.ดร. ศจี สัตยุตม Ph.D.(Oral and Maxillofacial Surgery) ผศ. ภัทรมน รัตนาพันธุ อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) ผศ. วรัญู คงกันกง อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) ผศ. ศิริพงศ สิทธิสมวงศ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) ผศ. สุภาพร คงสมบูรณ วุฒิบัตร(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) ผศ. เสาวลักษณ ลิ้มมณฑล อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) ผศ. อังคณา คลังทอง อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) อ.ดร. สุทิน จินาพรธรรม Dr.Med. อ.สุปรียา ตันพลีรัตน ว.ว.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล) คณะเภสัชศาสตร สํานักงานวิชาการ ศ.ดร. ธเนศ พงศจรรยากุล ปร.ด.(เภสัชการ) ศ.ดร. บังอร ศรีพานิชกุลชัย Ph.D.(Cell Biololgy) รศ.ดร. กนกวรรณ จารุกําจร Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) รศ.ดร. กรรนิการ ฉัตรสันติประภา Ph.D.(Toxicology) รศ.ดร. จอมใจ พีรพัฒนา Ph.D.(Pharmaceutics) รศ.ดร. จุฬาภรณ ลิมวัฒนานนท Ph.D.(Social and Administrative Pharmacy) รศ.ดร. เจนจิรา เรืองชยจตุพร ปร.ด.(เภสัชการ) รศ.ดร. ฉันทนา อารมยดี Ph.D.(Pharmaceutical Chemistry) รศ.ดร. เดชพล ปรีชากุล Ph.D.(Pharmacy) รศ.ดร. ตรีเพชร กาญจนภูมิ Ph.D.(Pharmaceutical Science) รศ.ดร. ธีระ ฤทธิรอด Ph.D.(Pharmaceutical Science) รศ.ดร. นฤมล เจริญศิริพรกุล Ph.D.(Clinical Pharmacy ) รศ.ดร. นุจรี ประทีปวณิช จอหนส Ph.D.(Clinical Pharmacy ) รศ.ดร. นาถธิดา วีระปรียากูร Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) รศ.ดร. นุศราพร เกษสมบูรณ Ph.D.(Pharmacoeconomic) รศ.ดร. ไพบูลย ดาวสดใส Ph.D.(Epidemiology) รศ.ดร. ยุพาพร ปรีชากุล Ph.D.(Clinical Pharmacokinetics) รศ.ดร. วราภรณ ภูตะลุน Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) รศ.ดร. วัชรี คุณกิตติ Ph.D.(Pharmaceutics) รศ.ดร. วิรัช เรืองศรีตระกูล วท.ด.(เคมี)

คูมือนักศึกษา 2559

165


คูมือนักศึกษา 2559

166 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สํานักงานวิชาการ(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ.ดร. วิวรรธน อัครวิเชียร รศ.ดร. วงศวิวัฒน ทัศนียกุล รศ.ดร. ศักดา ดาดวง รศ.ดร. สุภาวดี ดาวดี รศ.ดร. สุพล ลิมวัฒนานนท รศ.ดร. สุพัตรา ชาติบัญชาชัย รศ.ดร. สุมนต สกลไชย รศ.ดร. อรุณศรี ปรีเปรม รศ. ศุภชัย ติยวรนันท รศ. อาภรณี ไชยาคํา รศ. สุณี เลิศสินอุดม ผศ.ดร. กรแกว จันทภาษา ผศ.ดร. แคทรียา สุทธานุช ผศ.ดร. จุลรัตน คนศิลป ผศ.ดร. จันทนา บุญยะรัตน ผศ.ดร. เชิดชัย สุนทรภาส ผศ.ดร. ดวงกมล ศักดิ์เลิศกุล ผศ.ดร. ทิพาพร กาญจนราช ผศ.ดร. ทวีศักดิ์ ธิติเมธาโรจน ผศ.ดร. ธนิสร ปทุมานนท ผศ.ดร. นาฎศจี นวลแกว ผศ.ดร. ประธาน ฦาชา ผศ.ดร. ปยะดา สงเสริมสกุล ผศ.ดร. ปราโมทย มหคุณากร ผศ.ดร. ผดุงขวัญ จิตโรภาส ผศ.ดร. มณีรัตน รัตนามหัทธนะ ผศ.ดร. มานิตา หาญพานิชเจริญ ผศ.ดร. เยาวเรศ ชูลิขิต ผศ.ดร. วริมา วงศพาณิชย ผศ.ดร. วีรวรรณ อุชายภิชาติ ผศ.ดร. วิบูลย วัฒนนามกุล

คุณวุฒิ Ph.D.(Pharmacology) Ph.D.(Clinical Pharmacology) Ph.D.(Applied Biological Chemistry) ปร.ด.(วิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) Ph.D.(Social and Administrative Pharmacy) Ph.D.(Pharmacy) Ph.D.(Medicinal Chemistry) Ph.D.(Biopharmaceutics) ภ.ม.(เภสัชเวท) อภ.(เภสัชบําบัด) อภ.(เภสัชบําบัด) Ph.D.(Social and Administrative Pharmacy) ปร.ด.(วิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ) Ph.D.(Pharmacy) ปร.ด.(เภสัชเคมีและพฤกษเคมี) ปร.ด.(เภสัชศาสตรชีวภาพ) Ph.D.(Pharmacy) Ph.D.(Public Health and Community Medicine) ปร.ด.(ชีววิทยา) ปร.ด.(เภสัชเคมีและพฤกษเคมี) วท.ด.(เภสัชเคมีและผลิตภัณฑธรรมชาติ) Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) Ph.D.(Chemistry) Ph.D.(Pharmaceutical Science) ปร.ด.(เภสัชการ) ปร.ด.(สาธารณสุขศาสตร) Ph.D.(Pharmaceutics) Ph.D.(Pharmacuetical Sciences) Ph.D.(Pharmacognosy) Ph.D.(Clinical Pharmacology) ปร.ด.(สังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สํานักงานวิชาการ (ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. ศรีสมพร ปรีเปรม ผศ.ดร. สุธาสินี ทัพพสารพงศ ผศ.ดร. สุพัตรา ปรศุพัฒนา ผศ.ดร. สุภัสร สุบงกช ผศ.ดร. อัจฉราวรรณ โตภาคงาม ผศ.ดร. อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา ผศ. รักษวร ใจสะอาด อ.ดร. เกียรติภูมิ พลตรี อ.ดร. เดนพงศ พัฒนเศรษฐานนท อ.ดร. ดวงกมล เลียวกิตติกุล อ.ดร. นรินทร จันทรศรี อ.ดร. นภภัค ใจภักดี อ.ดร. เพลินทิพย ภูทองกิ่ง อ.ดร. วรรณี ชัยเฉลิมพงษ อ. ดร.ศิริลักษณ ใจซื่อ อ.ดร. สมชาย สุริยะไกร อ.ดร. หนึ่งฤทัย สุกใส อ.ดร. อรวรรณ มนทกานติรัตน อ.ดร. เอกพล ลิ้มพงษา อ.ปฐมทรรศน ศรีสุข สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รศ.ดร. กนกอร สมปราชญ รศ.ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข รศ.ดร. วัลลภา อารีรัตน ผศ.ดร. เสาวนี สิริสุขศิลป อ.ดร.ดาวรุวรรณ ถวิลการ อ.ดร. ประยุทธ ชูสอน สาขาวิชาสังคมศึกษา รศ.ดร. มงคล ดอนขวา

คุณวุฒิ Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) Ph.D.(Applied Molecular Life Science) Ph.D.(Pharmacology) Pharm. D.(Clinical Pharmacy) Ph.D.(Molecular Pharmacology) ปร.ด.(เภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร) วท.ม.(บริหารกฏหมายการแพทยและสาธารณสุข) ปริญญาเอก Ph.D.(Pharmacuetical Sciences) Ph.D.(Pharmaceutics) Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) ปร.ด.(เภสัชการ) วท.ด.(เภสัชเคมีและผลิตภัณฑธรรมชาติ) ค.ด.(อุดมศึกษา) Ph.D.(Pharmacy) ค.ด.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) ปร.ด.(การบริบาลทางเภสัชกรรม) วท.ด.(เภสัชเคมีและผลิตภัณฑธรรมชาติ) ภ.ด.(เภสัชกรรม) วศ.ม.(วิศวกรรมชีวเวช) คณะศึกษาศาสตร Ed.D.(Educational Administrattion) ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา) Ph.D. (Educational Administrattion and Supervision) ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา) ปร.ด.(การบริหารการศึกษา) ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา) วท.ด.(เศรษฐศาสตรเกษตร)

คูมือนักศึกษา 2559

167


คูมือนักศึกษา 2559

168 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาสังคมศึกษา(ตอ) ชื่อ-สกุล รศ. นิลมณี พิทักษ ผศ.ดร. มณฑา ชุมสุคนธ ผศ.ดร. อังคณา ตุงคสมิต อ.เพ็ญผกา หนองนา สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา รศ. วิมล สําราญวานิช ผศ.ดร. โชคชัย ยืนยง ผศ.ดร.นิวัฒน ศรีสวัสดิ์ ผศ.ดร.รมเกลา อาจเดช อ.ดร.จิรดาวรรณ หันตุลา อ.ดร.ปาริชาติ แสนนา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รศ.ดร. สิทธิพล อาจอินทร รศ.ดร. สันติ วิจักขณาลัญฉ รศ.ดร. อัญชลี สารรัตนะ ผศ.ดร. ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์ ผศ.ดร.ปยะวรรณ ศรีสุรักษ ผศ.ดร. ไพโรจน เติมเตชาติพงศ ผศ.ดร. ศรินทิพย รักษาสัตย ผศ.ดร. สุมนชาติ เจริญครบุรี ผศ.ดร. บัญชา เกียรติจรุงพันธ อ.ดร. นฤมล อินทรประสิทธิ์ อ. สกาวเดือน ซาธรรม อ.สุคนธรัตน สรอยทองดี สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา รศ.เอื้อจิตร พัฒนจักร ผศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์ ผศ. อรุณศรี อึ้งประเสริฐ อ.ดร.นฤมล ชางศรี อ.ดร.วิภาพร สุทธิอัมพร อ.ดร.สัมพันธ ถิ่นเวียงทอง

คุณวุฒิ สค.ม.(มานุษยวิทยาและสังคมวิทยา) ศศ.ด.(อาชีวศึกษา) กศ.ด.(การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน) กศ.ม.(การสอนวิทยาศาสตร) ปร.ด.(วิทยาศาสตรการศึกษา) ปร.ด. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา) ปร.ด. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา) ปร.ด.(วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา) ปร.ด. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) ค.ด.(หลักสูตรและการสอน) กศ.ด.(การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) Ph.D.(Special and Inclusive Education) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) Ed.D.(Curriculum Development and Supervision) Ph.D. (Education, Home Economics) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) อ.ม.(ภาษาไทย) อ.ม.(ภาษาไทย) M.A.T.(Mathematics) Ph.D.(Mathematics Education) ค.ม.(การศึกษาคณิตศาสตร) ปร.ด.(คณิตศาสตรศึกษา) ปร.ด.(คณิตศาสตรศึกษา) ปร.ด.(คณิตศาสตรศึกษา)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ อ.ดร.สมควร สีชมภู ปร.ด.(คณิตศาสตรศึกษา) อ.ดร. หลา ภวภูตานนท Ph.D.(Mathematics Education) อ. ดวงมณี ยะอัมพันธ ศษ.ม.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา ผศ.ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส ค.ด.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) ผศ.ดร. พัชรี จันทรเพ็ง ค.ด.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) อ.ดร.ประกฤติยา ทักษิโณ ค.ด.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) อ.ดร. สมพงษ พันธุรัตน ปร.ด.(การวัดและประเมินผลการศึกษา) สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา รศ.ดร.สุวรี ฤกษจารี ปร.ด. (จิตวิทยาใหคําปรึกษา) ผศ. นพดล มีไชยโย ศษ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา) ผศ. ปนัดดา ญวนกระโทก ศษ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา) สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา รศ.ดร. สุมาลี ชัยเจริญ Ph.D.(School Education:Educational Technology) ผศ.ดร.ทวี สระน้ําคํา ค.ด. (เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา) ผศ.ดร. อิศรา กานจักร ปร.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา) ผศ. ณัฐพัชญ อนันตธีระกุล กศ.ม.(เทคโนโลยีทางการศึกษา) อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร ปร.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา) สาขาวิชาพลศึกษา ผศ. จีราวิชช เผือกพันธ ค.ม.(พลศึกษา) ผศ. ธชา รุญเจริญ ค.ม.(พลศึกษา) ผศ. ลิขิต อมาตยคง ค.ม.(พลศึกษา) อ.ดร.โรจพล บูรณรักษ Ph.D.(Sport Science) อ.ดร.วายุ กาญจนศร ปร.ด.(วิทยาศาสตรการออกกําลังกายและการกีฬา) อ. ธนากร ศรีชาพันธุ ค.ม.(พลศึกษา) สาขาวิชาศิลปศึกษา รศ. อรอนงค ฤทธิ์ฤาชัย ค.ม.(ศิลปศึกษา) ผศ.ดร.ปริณ ทนันชัยบุตร ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) ผศ.ดร. ศิริพงษ เพียศิริ ค.ด.(อุดมศึกษา) ผศ. ปทมพร ทนันชัยบุตร ศศ.ม.(ไทยคดีศึกษา) ผศ. ปยะศักดิ์ ปกโคทานัง ศศ.ม.(ไทยคดีศึกษา)

คูมือนักศึกษา 2559

169


คูมือนักศึกษา 2559

170 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาศิลปศึกษา(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.ดร. อริยพร คุโรดะ อ.เขม เคนโคก สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา ผศ.ดร. จารุณี ซามาตย อ.ดร.นฏกร ประมายันต อ.ดร.พรสวรรค วงคตาธรรม อ.ดร. พงศธนัช แซจู สาขาวิชาการสอนภาษาตางประเทศ ผศ. องอาจ นามวงศ อ.ดร.นุชวนา เหลืองอังกูร อ.ดร.วัชรา สุยะรา อ.นารีนารถ กลิ่นหอม อ.ปยดา สุดาทิพย อ.พัชรา พันธรักษพงษ สาขาวิชาสารสนเทศและการสื่อสาร รศ.ดร. กุลธิดา ทวมสุข รศ.ดร. มาลี กาบมาลา รศ.ดร. ลําปาง แมนมาตย รศ. ภรณี ศิริโชติ ผศ.ดร. กันยารัตน เควียเซน ผศ.ดร. ชลภัสส วงษประเสริฐ ผศ.ดร.วิศปตย ชัยชวย ผศ. ขนิษฐา จิตแสง ผศ. ชมนาด บุญอารีย ผศ. ปุณณิศา วิเศษสินธุ ผศ. เพ็ญพันธ เพชรศร อ.ดร. ศักดา จันทรประเสริฐ อ. สมเพชร จุลลาบุดดี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ผศ.ดร.กรวิภา พูลผล

คุณวุฒิ ค.ด.(อุดมศึกษา) ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน) ปร.ด.(เทคโนโลยีทางการศึกษา) ปร.ด.(คอมพิวเตอรศึกษา) ปร.ด.(คอมพิวเตอรศึกษา) ปร.ด.(คอมพิวเตอรศึกษา) กศ.ม.(การสอนภาษาอังกฤษ) Ed.D.(Language Education and Assessment) Ph.D.(Comparative Culture and Area Studies) MTC.(Speaders of Other Languages) M.Ed.(TEFL) ศศ.ม.(ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร D.A.(Library & information Science) ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) Ph.D.(Communication-Information Studies) M.A.(Library and Information Management) ค.ด.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) กศ.ด.(พัฒนศึกษาศาสตร) ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) นศ.ม.(นิเทศศาสตรการพัฒนาการ) อ.ม.(บรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร) ว.ม.(สื่อสารมวลชน) อ.ม.(บรรณารักษศาสตร) ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) Ph.D.(Applied Linguistics)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาภาษาอังกฤษ(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.จงรักษ เลี้ยงพานิชย ผศ.ดร.ดารารัตน คําภูแสน ผศ.ดร. นันทวัน เสนจันทรฒิชัย ผศ.ดร.ภรณี ดีราษฎรวิเศษ ผศ.ดร สุธิดา โงนคํา ผศ.ดร. อุทัยวรรณ ดานวิวัฒน ผศ.ดร.อังคณา ทองพูน พัฒนศร ผศ. พิภาวิน ศุภวัฒน ศรีใคร ผศ. ศศิกานต โฆษิตตระกูล ผศ. ศรีสอางค นิติวรคุณาพันธุ อ.ดร.จอมรัฐ พัฒนศร อ.ดร. บุษบามินตรา ฉลวยแสง อ.ดร. ประดิษฐ แสงสุกวาว อ.ดร.ปรีดาพร ศรีสาคร อ.ดร. ภารดี ตั้งแตง อ.ดร.สุขุม วสุนธราโศภิต อ.ดร. สุบรรณ แกวกันยา อ. กนกพรรณ ทองปอง อ. เกวลิน ปวบุญสิริวงศ อ. นวลจันทร ประดุจชนม อ. บัญชาการ สมีเพ็ชร อ. ปยะพร ปุณณกะศิริกุล อ. พีรวิธณ สัทธรรมนุวงศ อ. ศิรายุ โพธิ์วันนา อ. อนงคนาฏ นุศาสตรเลิศ สาขาวิชาภาษาไทย รศ.ดร.จักรกฤษณ ดวงพัตรา ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย ผศ.ดร.รัตนา จันทรเทาว ผศ.ดร.วาลี ปรีชาปญญากุล ผศ.ดร.วิรัช วงศภินันทวัฒนา

คุณวุฒิ ศศ.ด.(ภาษาอังกฤษศึกษา) Ph.D. (Education) ปร.ด.(ภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ) Ph.D. (Education and Social Work) Ph.D.(Teaching English to Speakers of Other Languages) Ph.D.(Applied Linguistics) Ph.D. (Applied Linguistics) M.A.(Applied Linguistics) กศ.ม.(ภาษาอังกฤษ) กศ.ม.(ภาษาอังกฤษ) Ph.D.(Applied Linguistics) Ph.D.(Linguistics and English Language) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน) ปร.ด.(ภาษาศาสตร) Ph.D. (Translation Studies) Ph.D.(English Language Studies) Ph.D.(Curriculum and Instruction) ศศ.ม.(ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ) ศศ.ม.(ภาษาอังกฤษ) ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) ศศ.ม.(ภาษาศาสตรประยุกตดานการสอนภาษาอังกฤษ) อ.ม.(ภาษาอังกฤษ) ศศ.ม.(ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ) กศ.ม.(ภาษาอังกฤษ) อ.ม.(ภาษาศาสตร) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) อ.ด.(ภาษาไทย) ปร.ด.(ภาษาศาสตร) ปร.ด.(สื่อสารมวลชน) ศษ.ด.(หลักสูตรและการสอน)

คูมือนักศึกษา 2559

171


คูมือนักศึกษา 2559

172 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาภาษาไทย(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร.อรทัย เพียยุระ ผศ.สาริสา อุนทานนท อ.ดร.แกวตา จันทรานุสรณ อ.ดร. ทินวัฒน สรอยกุดเรือ อ.ดร. ศุภกิต บัวขาว อ.ดร.อุมารินทร ตุลารักษ อ. อิศเรศ ดลเพ็ญ สาขาวิชาอาณาบริเวณศึกษา รศ.ดร. ดารารัตน เมตตาริกานนท ผศ.ดร. ธนนันท บุนวรรณา ผศ. ชลิต ชัยครรชิต อ.ดร.เบญจวรรณ นาราสัจจ อ.ดร.เวียงคํา ชวนอุดม สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ศ.ดร. ประยงค แสนบุราณ รศ. เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน ผศ.ดร. คําแหง วิสุทธางกูร ผศ.ดร.พุทธรักษ ปราบนอก ผศ.ดร. หอมหวล บัวระภา ผศ. อัครยา สังขจันทร อ.ดร. กรรณิกา คําดี อ.ดร. วิเชียร แสนมี สาขาวิชาพัฒนาสังคม รศ.ดร. บัวพันธ พรหมพักพิง ผศ.ดร.ฟารุง มีอุดร ผศ.ดร. วิภาวี กฤษณะภูติ อ.ดร. ธนพฤกษ ชามะรัตน อ.ดร.ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล อ.ดร.สมพันธ เตชะอธิก อ.มานะ นาคํา

คุณวุฒิ Ph.D.(Gender Studies and Thai Literature) ศศ.ม.(ภาษาศาสตรและภาษาเอเชียอาคเนย) ปร.ด.(ไทศึกษา) ปร.ด.(ภาษาไทย) ปร.ด.(ภาษาศาสตร) ปร.ด.(ไทศึกษา) อ.ม.(ภาษาไทย) อ.ด.(ประวัติศาสตร) Ph.D.(History of Vietnam) ศศ.ม.(มานุษยวิทยา) ปร.ด.(สหวิทยาการ) Ph.D.(Archaeology) Ph.D.(Philosophy) อ.ม.(ปรัชญา) Ph.D.(Philosophy) ศศ.ด.(ภาษาสันสกฤต) Ph.D.(Philosophy) อ.ม.(ปรัชญา) Ph.D.(Philosophy) Ph.D.(Philosophy) Ph.D.(Development Studies) Ph.D.(Economics and Internatinal Development) Ph.D.(Environmental Design and Planning) ปร.ด.(สังคมวิทยา) Ph.D.(Ethnology) ศศ.ด.(พัฒนาสังคม) ศศ.ม.(สังคมวิทยาการพัฒนา)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ รศ.ดร. ประสิทธิ์ คุณุรัตน ปร.ด.(ไทศึกษา) รศ.ดร. เศกสรรค ยงวณิชย Dr.rer.nat.(Physical Geography) รศ.ดร. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม Ph.D.(Geography) รศ.ดร. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข Ph.D.(Sociology) รศ. พิธันดร นิตยสุทธิ์ M.Phil.(Development Administration) ผศ.ดร. วิยุทธ จํารัสพันธุ Ph.D.(Rural Sociology) ผศ.ดร.สถาพร เริงธรรม ปร.ด.(สหวิทยาการ) ผศ.ดร. สุขุมวิทย ไสยโสภณ ปร.ด.(การบริหารการพัฒนา) อ.ดร. รุงอรุณ บุญสายันต ปร.ด.(รัฐประศาสนศาสตร) อ.ดร.วีระกุล ชายผา Ph.D.(Social Sciences) อ. จักรกฤษ กมุทมาศ ศศ.บ.(รัฐประศาสนศาสตร) อ. ชนะวิทย อนุสุเรนทร ศศ.ม.(สังคมวิทยาการพัฒนา) อ.พรสรรค ปยนันทิศักดิ์ M.S.(Global Studies and International Affairs) อ. อิมรอน โสะสัน M.A.(Conflict Analysis and Management) สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รศ.ดร. พรอัมรินทร พรหมเกิด ปร.ด.(รัฐประศาสนศาสตร) ผศ.ดร. กีรติพร จูตะวิริยะ Ph.D.(Comparative Culture and Area Studies) ผศ.ดร. ดุษฎี อายุวัฒน ปช.ด.(ประชากรศาสตร) ผศ. ปนปนัทธ เผือกพันธ สค.ม.(อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) อ.ดร. จักรพันธ ขัดชุมแสง Ph.D.(Anthropology) อ.ดร. พัชรินทร ลาภานันท Ph.D.(Anthropology) อ.ดร. รักชนก ชํานาญมาก ปร.ด.(สังคมวิทยา) อ. สมใจ ศรีหลา มน.ม.(มานุษยวิทยา) คณะสถาปตยกรรมศาสตร สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร รศ.ดร. ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล Ph.D.(Architecture) รศ.ดร. รวี หาญเผชิญ ผ.ม. ผศ.ดร.ชูพงษ ทองคําสมุทร ปร.ด.(สถาปตยกรรมศาสตร) ผศ.ดร. ชํานาญ บุญญาพุทธิพงศ Ph.D.(Architecture) ผศ.ดร. ทรงยศ วีระทวีมาศ Ph.D.(Architecture) ผศ.ดร. นพดล ตั้งสกุล Ph.D.(Architecture)

คูมือนักศึกษา 2559

173


คูมือนักศึกษา 2559

174 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ.ดร. พรณรงค ชาญนุวงศ ผศ.ดร.มนสิชา เพชรานนท ผศ.ดร. วารุณี หวัง ผศ.ดร. สุรกานต รวยสูงเนิน ผศ.ดร. สักการ ราษีสุทธิ์ ผศ. กุลศรี ตั้งสกุล ผศ. กฤตภัทร ถาปาลบุตร ผศ. เขมโชต ภูประเสริฐ ผศ. ธนสิทธิ์ จันทะรี ผศ. เบญจวรรณ ทัศนลีลพร ผศ. ประพันธพงศ จงปติยัตต ผศ.พรสวัสดิ์ พิริยะศรัทธา ผศ. วาริน บุญญาพุทธิพงศ ผศ. สิทธา กองสาสนะ ผศ.รท. อรรถ ชมาฤกษ ผศ. อธิป อุทัยวัฒนานนท อ.ดร.ขาม จาตุรงคกุล อ.ดร. จันทนีย จิรัณธนัฐ อ.ดร.ชนัษฎา จุลลัษเฐียร อ.ดร.ณัฏฐพงศ พรหมพงศธร อ.ดร. พีรนิธิ อักษร อ.ดร. วรัฐ ลาชโรจน อ.ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศสุวรรณ อ.ดร. สุภาพร อรรถโกมล อ.ดร.สัญชัย สันติเวส อ.กิตติวรรณ ไตรรัตนศิริชัย อ.เกศินี ศรีสองเมือง อ.ดารารัตน คําเชียงตา อ.ฐานันดร ศรีธงชัย อ. ธันฐกรณ พงศพิมล

คุณวุฒิ Ph.D.(Social Economy) Ph.D.(Land Use Planning, Management and Design) Doctor of Engineering(Architectural Design) ปร.ด.(การออกแบบผลิตภัณฑ) Doctor of Philosophy(Architecture) สถ.ม.(เทคโนโลยีอาคาร) สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) สถ.ม.(การออกแบบชุมชนเมือง) ศ.ม.(เครื่องเคลือบดินเผา) ศศ.ม.(ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม) สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) สถ.ม.(เทคโนโลยีอาคาร) M.Arts.(Textile Design) สถ.ม.(การออกแบบชุมชนเมือง) สถ.ม.(สถาปตยกรรมเขตรอน) สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) Dortoral Degree (Environmental Science, Division of Environmental Planning) ปร.ด.(การออกแบบผลิตภัณฑ) ปร.ด.(การออกแบบผลิตภัณฑ) Dortor of Engineering(Construction and Infrastructure Management) Ph.D.(Architecture) ผด.(การวางแผนภาคและเมือง) ปร.ด.(การออกแบบผลิตภัณฑ) Ph.D.(Desing Arts) Master of Fine Arts(Communication Design) Master of Fine Arts(Design/Textile) M.Sc.(Urban Environmental Management) M.Sc.(Renewable Energy and Architecture) สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ อ. ธรรมวัฒน อินทจักร Certificat d' Etudes Approfondies en Architceture(Villes Orientales Metropoles D'Ase Pacifique) อ. ธีรศักดิ์ สิงหปรีชา สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) อ. นรากร พุทธโฆษ สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) อ.นิชา ตันติเวสส สถ.ม.(การออกแบบชุมชนเมือง) อ. นิธิวดี ทองปอง ภ.สถ.ม.(ภูมิสถาปตยกรรม) อ. นิสรา อารุณี สถ.ม.(สถาปตยกรรมศาสตร) อ. รุงจิต จารุพงษทวิช M.Arch.(Architecture) อ. สุกัญญา พรหมนารท Master of Urban Planning(Urban Planning) อ. สมหญิง พงศพิมล ค.อ.ม.(เทคโนโลยีผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) อ. อานัติ วัฒเนสก M.Arch.(Architecture) คณะะบริหารธุรกิจและการบัญชี กลุมวิชาการตลาด รศ.ดร. นิติพล ภูตะโชติ Ph.D.(Management) รศ.ดร. เพ็ญศรี เจริญวานิช Ph.D.(Marketing) ผศ.ดร. กอพงษ พลโยราช Ph.D.(International Management) ผศ.ดร.บัณฑิต สวรรยาวิสุทธิ์ ปร.ด.(บริหารธุรกิจ) ผศ.ปรเมศวร จรัสเมธากุล บธ.ม. (การตลาด) อ.ดร.อานนท คําวรณ Ph.D.(Marketing) อ.นริสรา พาลุสุข M.Sc.(Marketing Management) อ.ปรวรรณ เสนาไชย ศศ.ม.(นิเทศศาสตร) อ.อันธิกา เอมแยม Master of Communication (Digital Media) กลุมวิชาการทองเที่ยว ผศ.ดร. ฐิรชญา มณีเนตร Ph.D.(Architectural Heritage Management and Tourism) ผศ.ดร.วุธพงศ ลาภเจริญ D.M.(Communication Management) อ.ดร.จินณพัษ ปทุมพร Ph.D.(การจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกับการทองเที่ยว) อ.ดร. ดลฤทัย โกวรรธนะกุล Ph.D.(Architectural Heritage Management and Tourism) กลุมสาขาการโรงแรมและอีเวนท รศ.ดร. นพมาศ สุวชาติ D.B.A.(Business Administration) ผศ.ดร.สุวีรณัสญ ปรัชญคุปต Ph.D.(Hospitality Management) อ.ดร.ทองรวี ศิลานอย Ph.D.(Hospitality Management)

คูมือนักศึกษา 2559

175


คูมือนักศึกษา 2559

176 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย กลุมสาขาการโรงแรมและอีเวนท(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.ดร.พัชราภรณ มหาสุวีระชัย อ.ณัฏฐกานต ณ ไพรี กลุมวิชาการบัญชี ผศ.ดร.ชื่นจิตร อังวราวงศ ผศ.ดร. นภาพร ลิขิตวงศขจร ผศ.ดร.ศิริลักษณ ศุทธชัย ผศ. อนุรักษ ทองสุโขวงศ อ.ดร.ปวีนา กองจันทร อ.ธนิดา อุทยาพงษ อ.ปนประภา แสงจันทร อ.เยาวนุช รักสงฆ อ.วิชชุลดา เวชกูล กลุมวิชาการจัดการ รศ.ดร.กฤตพา แสนชัยธร ผศ.ดร.ขวัญฤดี ตันตระบัณฑิตย ผศ.ดร.นวลฉวี แสงชัย ผศ.ดร.อารีย นัยพินิจ ผศ.วรุณ ตันตระบัณฑิตย ผศ.สุกานดา นาคะปกษิณ อ.ดร.ภัทรขวัญ พิลางาม อ.ดร.ภัทรวดี เพิ่มวณิชกุล อ.เทียนทิพย บัณฑุพาณิชย รศ.ดร. กัลปพฤกษ ผิวทองงาม รศ.ดร. ฐิติวรรณ ศรีเจริญ รศ. มันทนา สามารถ รศ. สุเมธ แกนมณี รศ. อนงคนุช เทียนทอง ผศ.ดร.จักรพันธ สุขสวัสดิ์ ผศ.ดร. จงรักษ หงษงาม ผศ.ดร.ภูมิสิทธิ์ มหาสุวีระชัย

คุณวุฒิ Ph.D.(Hospitality Administration) M.B.A.(Hospitality and Tourism Management) ปร.ด.(บริหารธุรกิจ) บธ.ด.(บริหารธุรกิจ) Ph.D.(Accountancy) บธ.ม.(การบัญชีการเงิน) Ph.D.(Accounting) บธ.ม. บธ.ม. วท.ม.( เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ) บธ.ม.(การบัญชีการเงิน) ปร.ด.(บริหารธุรกิจ) ปร.ด.(การจัดการ) D.M.S.(Management Science) Ph.D.(Public Administration) พบ.ม. (สถิติประยุกต) บธ.ม. (Management) Ph.D(Management) บธ.ด.(บริหารธุรกิจ) Master of Science Logistics and Innovation คณะเศรษฐศาสตร Ph.D.(Agricultural Economics) Ph.D.(Agricultural Economics) M.A.(Economics) พบ.ม.(พัฒนาการเศรษฐกิจ) พบ.ม.(พัฒนาการเศรษฐกิจ) Ph.D.(Ecology) Ph.D.(Economics) Ph.D.(Agricultural Economics)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล ผศ. จินตนา สมสวัสดิ์ อ.ดร.ชัยพร วิเทศสนธิ อ.ดร.ธัญมัชฌ สรุงบุญมี อ.ดร.วรวรรณ ชาญดวยวิทย อ.ดร.ศิวาพร ฟองทอง อ.ดร.สุทิน เวียนวิวัฒน อ.ดร.อรอนงค พัวรัตนอรุณกร ชื่อ-สกุล รศ.ดร.เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี รศ.ดร.เดชา ศิริภาษณ รศ.ดร.นิยม วงศพงษคํา ผศ.ดร.คเณศ ศีลสัตย ผศ.ดร.จตุพร สีมวง ผศ.ดร.ดวงจันทร นาชัยสินธุ ผศ.ดร.ทรงวิทย พิมพะกรรณ ผศ.ดร.บุรินทร เปลงดีสกุล ผศ.จรัญ กาญจนประดิษฐ ผศ.เจนวิทย พิทักษ ผศ.ภาณุ อุดมเพทายกุล ผศ.ธวัชชัย ชางเกวียน ผศ.รณภพ เตชะวงศ ผศ.ศุภกิจ จารุจรณ ผศ.สมิต ตะกรุดแกว ผศ.อานนท สังวรดี อ.ดร.กิตติสันต ศรีรักษา อ.ดร.พงษพิทยา สัพโส อ.ดร.พรพรรณ แกนอําพรพันธ อ.ดร.ปรีชาวุฒิ อภิระติง อ.ดร.สุเนตร โพธิสาร อ.ดร.สุรพล เนสุสินธุ อ.กษม อมันตกุล

คุณวุฒิ ศ.ม.(เศรษฐศาสตร) Doctor of Business Administration Ph.D.(Economics) Ph.D.(Economics) Ph.D.(Economics) Ph.D.(Economics) Ph.D.(Economics) คณะศิลปกรรมศาสตร คุณวุฒิ Ph.D.(Musicology) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรฒ) ปร.ด.(วัฒนธรรมศาสตร) Ph.D. (Ancient Indian and Asian Studies) ปร.ด.(ดนตรี) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรฒ) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรฒ) ศป.ม.(มานุษยดุริยางคศิลป) ค.บ.(ดนตรี) ศ.ม.(ประติมากรรม) ศ.ม.(ประติมากรรม) ศ.ม.(จิตรกรรม) ศศ.ม.(วัฒนธรรมศึกษา) ศบ.(เครื่องเคลือบดินเผา) ศม.(ภาพพิมพ) ปร.ด.(วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) ปร.ด.(ดนตรีศึกษา) Ph.D.(Music) ปร.ด.(ไทยศึกษา) Ph.D.(History) ปร.ด.(ดนตรีวิทยา) คอ.ม.(เทคโนโลยีผลิตภัณฑอุตสาหกรรม)

คูมือนักศึกษา 2559

177


คูมือนักศึกษา 2559

178 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล อ.เจด็จ ทองเฟอง อ.ทรงวุฒิ แกววิศิษฏ อ.นงนุช ภูมาลี อ.บัญชา ควรสมาคม อ.ประจักษ สุปนตี อ.วิจิตร วินทะไชย อ.พยุงศิลป เปศรี

คุณวุฒิ ศม.(ประติมากรรม) ศ.ม.(จิตรกรรม) ศศ.ม.(ประวัติศาสตรศิลปะ) ศ.ม.(ประติมากรรม) ศ.ม.(ประติมากรรม) ศศ.ม.(ปรัชญา) ศศ.ม.(การบริหารการพัฒนา) วิทยาเขตหนองคาย

คณะบริหารธุรกิจ ผศ.ดร. กริช แรงสูงเนิน D.B.A.(Financial Accounting) ผศ.ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร บธ.ด. (การบัญชี) ผศ.ดร.วรางคณา ถาวรวิริยะตระกูล Ph.D.(Geography) ผศ.ดร.ศุภลักษณ อัครางกูร Ph.D.(Tourism Manangement) อ.ดร.จตุราพร สีหาบุตร Ph.D.(Economie Sociale) อ.ดร.ธนชาติ เราประเสริฐ Ph.D.(Management) อ.ดร.ธีระวัฒน เจริญราษฏร Ph.D.(Economics) อ.ดร.นารา กิตติเมธีกุล บธ.ด.(ธุรกิจการกีฬาและการบันเทิง) อ. ชีวานันท วุฒิพันธุ บธ.ม.(การจัดการการโรงแรมและภัตตาคาร) อ.นุชจรินทร โลหะปาน บธ.ม.(การเงินและบัญชี) อ.ประภัสสร ซื่อตรง บธ.ม.(การจัดการการบิน) อ. ผไทรัฐ พงษประเทศ บช.ม.(การบัญชี) อ. ภาชินี สีบุญเรือง บธ.ม.(การจัดการการบริการและการทองเที่ยวนานาชาติ) อ. รัฐการ บัวศรี M.B.(Marketing) อ.วราภรณ ดานศิริ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ) อ. วัลภา ถมยา บช.ม.(การบัญชี) อ. สิริวงษ เอียสกุล บธ.ม.(การจัดการทั่วไป) อ. สุพัตรา สรอยเพ็ชร บธ.ม. อ.ศุภวัตร มีพรอม บธ.ม.(บริหารธุรกิจ) อ. ศักดิ์สุริยา ไตรยราช ศ.ม.(เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ) อ. อังควรา ณ สุนทร ศศ.ม.(การจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว) คณะสังคมศาสตรบูรณาการ รศ.ดร.พรรณรายรัตน ศรีไชยรัตน Doctor of Juridical Science(Employment Discrimination)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะสังคมศาสตรบูรณาการ(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ รศ.ดร.อภิรัตน เพ็ชรศิริ Doctor of Juridical Science ผศ.ดร.ณัฏฐธนิน เอื้อศิลป Ph.D.(Applied Economics) ผศ.ดร.ธเนศ วัฒนกูล Ph.D.(เศรษฐศาสตร) ผศ.ดร.บดี ปุษยายนันท ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) ผศ.ดร.วุฒิพงษ อาจริยอาจอง Doktor der Agrarwissenschaften(Agricultural Economics) ผศ.ดร. อนุชา นิลประพันธ ศศ.ด.(พัฒนศาสตร) ผศ. มานิตย ผิวขาว ศ.ม.(เศรษฐศาสตรธุรกิจ) อ.ดร. ศักรินทร นนทพจน Ph.D.(Economic Developmnet) อ.ดร. สุนทรี บูชิตชน Doctor of Juridical Science(Economics and Law) อ.กลวยไม พรหมดี ร.ม.(ความสัมพันธระหวางประเทศ) อ.คมกฤช ฟองยอย น.ม.(กฏหมายเอกชนและกฎหมายธุรกิจ) อ.ธนิตย มุงคุณแสน น.ม.(นิติศาสตร) อ.ปรมาภรณ วีระพันธ น.ม.(กฎหมายธุรกิจ) อ.ปณฑารีย อินยา M.A(Environment, Development and Policy) อ.ภีชญา จงอุดมการณ Magister Legum(International Contract Law) อ. มัลลิกา สมพลกรัง ศ.ม.(เศรษฐศาสตรธุรกิจ) อ.สมศักดิ์ ทองเอี่ยม น.ม. อ. อภิรดี วงศศิริ ศศ.ม.(รัฐประศาสนศาสตร) อ. อุมาพร กาฬแสน น.ม.(นิติศาสตร) อ.อัจฉราพร สีหวัฒนะ น.ม.(นิติศาสตร) คณะวิทยาศาสตรประยุกตและวิศวกรรมศาสตร รศ.ดร. วิรัช จิ๋วแหยม Ph.D.(เทคโนโลยีการเกษตร) ผศ.ดร. กฤษดา คาเจริญ ปร.ด.(เทคโนโลยีอาหาร) ผศ.ดร. กิติยาพร พงษประเทศ วท.ด.(เคมี) ผศ.ดร. ฉัตรชัย ปรีชา ปร.ด.(วิทยาศาสตรการประมง) ผศ.ดร. ณัฎฐา นิธิกุลวรวงศ Sc.D.(Agriculture and Aguatic Resources Mangagement) ผศ.ดร. ณัฐจรีย จิรัคคกุล D.Eng.(Food Engineering and Bioprocess Technology) ผศ.ดร. เทวัญ เริ่มสูงเนิน Dr.rer.nat.(Computational Chemistry) ผศ.ดร. นงราม เหมือนฤทธิ์ ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) ผศ.ดร. บังอร เหมัง วท.ด.(เทคโนโลยีอาหาร) ผศ.ดร. มานพ ศรีอุทธา ปร.ด.(เคมี)

คูมือนักศึกษา 2559

179


คูมือนักศึกษา 2559

180 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตรประยุกตและวิศวกรรมศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผศ.ดร.วิไลลักษณ เครือเนตร ปร.ด.(สัตววิทยา) ผศ.ดร. สิริวิชญ เตชะเจษฎารังษี Ph.D.(Mechanical Engineering) ผศ.ดร.อนันต เครือทรัพยถาวร ปร.ด.(วิศวกรรมไฟฟา) ผศ. ภาสกร แสนจันแดง วท.ม.(วิทยาศาสตรการประมง) ผศ. รัชนีกรณ มาพะเนาว วท.ม.(การประมง) อ.ดร. กานดา ศรอินทร ปร.ด.(สารสนเทศศึกษา) อ.ดร.จุมาพร โสหนองบัว ปริญญาเอก อ.ดร.ชญาดา สุระวนิชกุล ปร.ด.(วิศวกรรมไฟฟา) อ.ดร. ชลธิชา มะสุใส Ph.D.(Organic Chemistry) อ.ดร.ณัฐพล ไตรเพิ่ม Ph.D.(Doktoratsstudium Sportwissenschaften) อ.ดร. ธนัญชัย ดาศรี วท.ด.(ฟสิกส) อ.ดร. นฤมล ผิวเผื่อน Ph.D.(Plant Biology) อ.ดร. นิภาพร เส็งคําปาน Ph.D.(Chemical, physical and biological features of Okra pectin) อ.ดร. นุชนาฏ ผลเกิด ปร.ด.(เคมีอินทรีย) อ.ดร.ประภาพิมนต ปริวัติ ปร.ด.(สรีรวิทยา) อ.ดร.ปยรัตน อัฐรัตน Dr.rer.nat.(พฤษศาสตร) อ.ดร. ปโยรส หงษาชาติ วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) อ.ดร. พรรณรัตน กวยเจริญพานิชก ปร.ด.(สถิติประยุกต) อ.ดร.ภัทรียา ลาสุนนท ปร.ด.(คณิตศาสตร) อ.ดร. มัลลิกา จันทรังษี วท.ด.(ชีวเคมี) อ.ดร.รัชตะ โปชยวณิช ปร.ด.(วิทยาศาสตรชีวภาพ) อ.ดร. วิชัย เสริมผล Ph.D.(Agriculture Science) อ.ดร.วีระยุทธ สุภิวงศ Ph.D.(Biology) อ.ดร.วัลลภา วงศศีลธรรม ปร.ด.(คณิตศาสตรประยุกต) อ.ดร.ศุภชัย สมเพ็ชร วท.ด.(วัสดุศาสตร) อ.ดร.อชิระ หิรัญตระกูล ปริญญาเอก อ.ดร.อริยะ นามวงศ ปร.ด.(วิทยาศาสตรเชิงคํานวน) อ. เจษฎา โสตถิปณฑะ วท.ม.(เคมีเชิงฟสิกส) อ. ณชยุต จันทโชติกุล วท.ม.(เทคโนโลยีการอาหาร) อ. นพคุณ บุญสิม วท.ม.(วิทยาการคอมพิวเตอร) อ. ปโยธร อุราธรรมกุล วศ.ม.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร)


คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตรประยุกตและวิศวกรรมศาสตร(ตอ) ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ อ. รัตนสุดา ไชยเชษฐ วท.ม.(การประมง) อ. ศรัญญา กัลยจาฤก วท.ม.(วิทยาการคอมพิวเตอร) อ. สาธิต กระเวนกิจ วท.ม.(วิทยาการคอมพิวเตอร) อ. สุกัลญา ศิริมาตร วท.ม.(สถิติประยุกต) อ. สุทธิลักษณ ขวัญไตรรัตน วท.ม.(เภสัชศาสตรชีวภาพ) อ. อาภากร สกุลสถาพร วท.ม.(พันธุศาสตร) อ. อายุวัฒ ธนาเศรษฐอังกูล วท.ม.(Environmental Management)

คูมือนักศึกษา 2559

181


คูมือนักศึกษา 2559

182 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 6.2 รายนามบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 1. นางสุจิตรา 2. นางแววตา 3. นายประสงค 4. นางรัตติยากร 5. นางหอมหวล 6. นางดิลกรัตน 7. นายจิรพัฒน 8. นางสาววัชรินทร 9. นายสุพัฒน 10. นางหนูแดง 11. นายธีรพล 12. นายไพศาล 13. นายเฉลย 14. นางสาวศิตธีรา 15. นางสาวนันทิยา 16. นางพัชลี 17. นางสาวพรนภา 18. นางพาณิภัค 19. นางเยาวลักษณ 20. นางสาวนวพร 21. นางสาวปทมา 22. นายภาสพงษ 23. นางสาวพนัชกร 24. นางสาวศิริพร 25. นายอนุสรณ 26. นายอภิเชษฐ 27. นายรัฐพล 28. นางศิรินธร 29. นางสาววิไลพร 30. นางสาววรินภธร 31. นางรุงนิภา

ทัศนจินดา วรรณคํา ตอโชติ วิมลศิริ นาถ้ําเพชร โคตรสุมาตย จันทะไพร แพงศรี พิบูลย ตาบานดู มะลิดา แสงสุวรรณ บุตรปาละ สโมสร ศิลาชัย พวงคต โยธาฤทธิ์ พระชัย แหลงหลา หนูเส็ง สมพงษ ฉัตรดอน โชคลา เบญจมาศ มั่นคง บุญจวง สมบูรณ สุวรรณทอง นามหงษา นันตะเวชกูล คนล้ํา

หัวหนาสํานักงานคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ชํานาญการ นักวิชาการศึกษา ชํานาญการ นักวิชาการศึกษา ชํานาญการ นักวิชาการศึกษา ชํานาญการ นักวิชาการศึกษา ชํานาญการ นักวิเคราะหนโยบายและแผน ปฏิบัติการ นักวิเคราะหนโยบายและแผน พนักงานธุรการ ส 3 พนักงานพิมพ ส 3 พนักงานสถานที่ บ 2 พนักงานทั่วไป บ 2 พนักงานขับรถยนต ส 1 นักวิเทศสัมพันธ นักวิเทศสัมพันธ นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักสารสนเทศ นักวิชาการคอมพิวเตอร นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการพัสดุ คนงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.