คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2561

Page 1


คูมือนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2561 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน


ที่ปรึกษา ศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ศ.ดร.วราภรณ ภูตะลุน รศ.ดร.พงศกร พรรณรัตนศิลป ผศ.ดร.ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์ ผศ.ดร.กรชวัล ชายผา ดร.ประสงค ตอโชติ

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย รองคณบดีฝายวิชาการ รองคณบดีฝายบริหาร วางแผนและพัฒนา คุณภาพ รองคณบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา วิเทศสัมพันธ และวิจัย ผูชวยคณบดีฝายสารสนเทศ ผูอํานวยการกองบริหารงานบัณฑิตวิทยาลัย

คณะผูจัดทํา รวบรวมเรียบเรียงตนฉบับ พัชลี พวงคต รัตติยากร วิมลศิริ พาณิภัค พระชัย

ตรวจสอบ ดิลกรัตน โคตรสุมาตย

ออกแบบปก ศิตธีรา สโมสร

จัดทําตนฉบับ CD อภิเชษฐ บุญจวง นรมน แจมอน

เจาของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน พิมพจํานวน 1,700 เลม


คํานํา คูมือนั กศึกษาระดับบั ณฑิตศึกษาเลมนี้ ไดรวบรวมระเบี ยบ ขอบั งคับ ประกาศและแนวปฏิบั ติตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อใหนักศึกษาที่จะเขาศึกษา ในปการศึกษา 2561 ไดเตรียมความพรอม สามารถประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัย และคณะไดอยางถูกตองครบถวน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับ เรื่องนี้ จึงไดจัดทําหนังสือคูมือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยขอนแกนขึ้น นอกจากนี้ยังใชเปน คูมือของอาจารยที่ปรึกษา และเจาหนาที่ที่ปฏิบัตงิ านดานบัณฑิตศึกษา ในการใหคําแนะนํานักศึกษา ตลอดจน เป น ประโยชน ในการศึ กษาอ างอิ งของผู เกี่ ยวข องหรื อผู สนใจทั่ วไป โดยได แ บ ง เนื้ อ หาออกเป น 8 ส ว น ประกอบดวย 1 บทนํา 2 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3 ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับคาธรรมเนียมตาง ๆ 4 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5 แนวปฏิบัติตาง ๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 6 บริการตาง ๆ ของ บัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแกน 7 คณาจารยบัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 8 ภาคผนวก แบบฟอรมที่นักศึกษาควรทราบและหนังสือราชการสําหรับติดตอตาง ๆ นอกจากนี้ ระเบียบ ประกาศ คําสั่งตางๆ ที่คณะและบัณฑิตวิทยาลัยไดจัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวปฏิบัติ สําหรับ การจั ดการศึ ก ษาในระดับ บั ณ ฑิ ต ศึกษาของคณะ ในป การศึ กษา 2561 บั ณ ฑิ ต วิท ยาลั ย ได ป รั บ รูป แบบรู ป เล ม โดยเอกสารเหล า นั้ น ได นํ า บรรจุ ไว ในรู ปแบบไฟล อิเล็ กทรอนิ กส ในแผ น ซี ดี ซึ่ งสามารถ ดูรายละเอียดประกาศตางๆ ไดจากสารบัญของแผนซีดี สําหรับในสวนของขอมูลหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ทางผูจัดทําไดจัดทําขอมูลหลักสูตรไวเบื้องตน ในทายเลม และขอมูลสมบูรณจะอยูในรูปแบบไฟลอิเล็กทรอนิกสในแผนซีดีแนบทายปกหลัง และคูมือนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาเลมนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความรวมมือของคณะทํางานจัดทําคูมือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และคณะกรรมการเครือขายสายสนับสนุนบัณฑิตศึกษาทุกทาน ที่ไดรวบรวมประกาศตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ คณะและแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา จึงขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ดวย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน กรกฎาคม 2561


สารบัญ หนา ตอนที่ 1 บทนํา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัยขอนแกน ปฏิทินการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2561

3 4 6 6 7 9

ตอนที่ 2 ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ 17 บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 2.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 28 2.3 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1365 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ 47 การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําทุจริตทางวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา 2.4 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1073 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ 50 การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทําผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ 2.5 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1257 /2560) เรื่อง หลักเกณฑการรับนักศึกษา 52 การรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน เขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา 2.6 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1259 /2560) เรื่อง การตีพิมพบทความวิจัยของ 56 วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.7 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1260 /2560) เรื่อง การรักษาสถานภาพการ 60 เปนนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ 2.8 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 92/2560) เรื่อง เกณฑ 62 วารสารวิชาการที่มีคุณภาพที่สามารถใชเปนสวนหนึ่งในการสําเร็จการศึกษา 2.9 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ 64 และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา 2.10 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 20/2560) เรื่อง หลักเกณฑ 71 การรับบุคคลเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา 2.11 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑ 74 ประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศสําหรับผูเขาศึกษาในหลักสูตร ปริญญาดุษฎีบัณฑิต


สารบัญ (ตอ) หนา 2.12

2.13 2.14 2.15 2.16 2.17 2.18 2.19 2.20 2.21 2.22 2.23 2.24

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑ มาตรฐานความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับ ปริญญามหาบัณฑิต ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 21/2560) เรื่อง การลงทะเบียน วิชาเรียนนอยหรือมากกวาที่กําหนด ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 22/2560) เรื่อง การขอเพิ่มและ การถอนวิชาเรียนง ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การเทียบโอน รายวิชาและคาคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 24/2560) เรื่อง การเปลี่ยนสาขาวิชา ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 25/2560) เรื่อง การเปลี่ยนแผน การศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 26/2560) เรื่อง การลงทะเบียน เรียนรายวิชาในระดับที่ต่ํากวาหลักสูตรที่เขาศึกษา ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 27/2560) เรื่อง การเปลี่ยน ระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 28/2560) เรื่อง การสอบ ประมวลความรู และการสอบวัดคุณสมบัติ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 29/2560) เรื่อง การปองกัน การคัดลอกผลงานผูอื่นในวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 32/2560) เรื่อง เงื่อนไขและ แนวปฏิบัติในการขอคืนสถานภาพเปนนักศึกษา ประกาศคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 074 /2559 เรื่อง รายวิชา ปรับพื้นฐานทางการศึกษา สําหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนฉบับที่ 054/2560 เรื่อง รายวิชา ปรับพื้นฐานทางการศึกษา สําหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

76

78 79 80 83 85 88 89 92 95 97 98 99


สารบัญ (ตอ) หนา 2.25 2.26

2.27 2.28

2.29

2.30 2..31

2.32 2.33 2.34

ประกาศคณะศึกษาศาสตร ฉบับที่ 009/2551 เรื่อง แนวปฏิบัตใิ น 100 การแกเกรด I ของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 53/2557) 101 เรื่อง ยกเลิกประกาศแนวปฏิบัติในการแกเกรด I และการแกเกรด I ของวิชา ในระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศคณะมนุษยศาสตรฯ(ฉบับที่ 6/2550) เรื่อง การสอบประมวล 102 ความรูสําหรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ แผน ข ประกาศคณะเทคนิคการแพทย(ฉบับที่ 36/2549) เรื่อง การสอบประมวล 104 ความรูสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารพยาธิวิทยาคลินิก(โครงการพิเศษ) ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 73/2552) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติ 105 ในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการออกกําลังกายและการกีฬา สาขาวิชารวม บัณฑิตวิทยาลัย ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 51/2554) เรื่อง การจัดการเรียนการสอนหลักสูตร 117 การจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 98/2556) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการ 123 สอน หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยสินทางปญญาและนวัตกรรม สาขาวิชารวม บัณฑิตวิทยาลัย ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน(ฉบับที่ 21/2554) 131 เรื่อง การตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ เพื่อการสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 133 ประกาศวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 10 /2555) เรื่อง เงื่อนไข การสําเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น ประกาศวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 010/2556) เรื่อง การ 135 กําหนดรายวิชาสําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น


สารบัญ (ตอ) หนา ตอนที่ 3 3.1

ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับคาธรรมเนียมตางๆ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย คาธรรมเนียมการสมัครเขา 139 ศึกษาและคาธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2543 3.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย คาธรรมเนียมการศึกษาพิเศษสําหรับนักศึกษา 142 มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2546 3.3 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 891/2561) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา 144 ระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2561 3.4 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียม 152 การศึกษาของภาคแรกที่เขาศึกษาและสถานภาพของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3.5 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง คาธรรมเนียม 153 การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ 3.6 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียม 157 การวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา 3.7 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียม 158 ในการคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา และการเทียบโอนหนวยกิต ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3.8 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 834/2549) เรื่อง คาธรรมเนียม 160 การศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร ฯ 3.9 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 964/2548) เรื่อง คาธรรมเนียม 161 การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร และสาขาวิชาการรับรูจากระยะไกลและระบบสารสนเทศฯ 3.10 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 215/2550) เรื่อง คาธรรมเนียม 163 การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาสําหรับครู” 165 3.11 ประกาศคณะวิทยาศาสตร (ฉบับที่ 27/2553) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมวิจัย ตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร 3.12 ประกาศคณะวิทยาศาสตร( ฉบับที่ 9/2549) เรื่อง อัตราคาธรรมเนียม 166 การทําวิทยานิพนธ หรือวิจัยรวมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตางสถาบัน ที่ไมไดลงทะเบียนเรียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยขอนแกน


สารบัญ (ตอ) หนา 3.13 3.14 3.15

3.16

3.17

3.18 3.19 3.20

3.21

3.22

3.23 3.24

ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 12/2549) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน( ฉบับที่ 1143/2554) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับ หลักสูตรโครงการพิเศษ คณะเกษตรศาสตร“หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสงเสริมและพัฒนาการเกษตร” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 252/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร “หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1890/2553) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร “หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 587/2551) เรื่อง คาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน” ประกาศคณะวิศวกรรมศาสตร (ฉบับที่ 58/2549) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียม การวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตรฯ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 224/2549) เรื่อง คาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 223/2549) เรื่อง คาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 641/2549) เรื่อง คาธรรมเนียมการ ศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ประกาศคณะศึกษาศาสตร (ฉบับที่ 006/2552) เรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตรสําหรับนักศึกษาที่ไดรับ ทุนการศึกษา/วิจัย ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 22/2549) เรื่อง คาธรรมเนียมการ ศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตรฯ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 578/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะพยาบาลศาสตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล

168 169 171

172

174

175 177 179

181

182

184 185


สารบัญ (ตอ) หนา 3.25 3.26 3.27

3.28

3.29

3.30 3.31

3.32

3.33

3.34

ประกาศคณะแพทยศาสตร (ฉบับที่ 116/2548) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและ 186 วิธีการใชจายเงินคาธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก คณะแพทยศาสตร ประกาศคณะแพทยศาสตร (ฉบับที่ 18/2549) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและวิธีการ 188 ใชจายเงินคาธรรมเนียมการวิจัยของหลักสูตรระดับปริญญาโท คณะแพทยศาสตร ประกาศคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (ฉบับที่ 62 /2558) เรื่อง การเก็บ 190 คาธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน สําหรับนักศึกษาที่ไดรับทุนการศึกษาหรือทุนสนับสนุนคาธรรมการวิจัย ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1373/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา 192 สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2013/2552) เรื่อง คาใชจายในการจัดการ 193 ศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะเทคนิคการแพทย หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ ประกาศคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 46/2552) เรื่อง หลักเกณฑ 196 คาใชจายในการดําเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย ประกาศคณะเทคนิคการแพทย (ฉบับที่ 26/2549) เรื่อง หลักเกณฑการเก็บ 199 คาธรรมเนียมการวิจัยสําหรับนักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย และสาขาวิชากายภาพบําบัด คณะเทคนิคการแพทย ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2161/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา 200 สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาขาวิชารวม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการออกกําลังกายและการกีฬา” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2162 / 2552) เรื่อง คาใชจายในการจัดการ 202 หลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาขาวิชารวม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกน “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการออกกําลังกายและการกีฬา ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 105/2554) เรื่อง การเก็บ 203 คาธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร การออกกําลังกายและการกีฬา


สารบัญ (ตอ) หนา 3.35

3.36 3.37 3.38

3.39

3.40

3.41

3.42

3.43 3.44

3.45

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 727 /2558) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1064/2555) เรื่อง คาใชจายในการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับแกไข) ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1172/2549) เรือ่ ง คาใชจายในการ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตทุกสาขาฯ ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร (ฉบับที่ 3/2554) เรื่อง หลักเกณฑคาใชจายใน การจัดการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2978/2556) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 966/2548) เรื่อง คาธรรมเนียม การศึกษาสําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปตยกรรมศาสตร “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 1057/2548) เรื่อง คาใชจาย ในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปตยกรรมศาสตร “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 695/2549) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาโท คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 322/2553) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2164/2552) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตร ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2165/ 2552) เรื่อง คาใชจายในการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม

204

206 209 212

214

216

217

220

221 223

225


สารบัญ (ตอ) หนา 3.46

3.47

3.48

3.49

ตอนที่ 4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2561/2556) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา 228 สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 92/2559) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษา 230 สําหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร “หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2683/2560) เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับ 231 หลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสัตวแพทยศาสตร “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการสัตวแพทย” ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 2798/ 2560) เรื่อง คาใชจายในการจัดการหลักสูตร 232 โครงการพิเศษ วิทยาเขตหนองคาย “หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเปน ผูประกอบการและนวัตกรรม” ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 946/2550) เรื่อง แนวปฏิบตั ิ 237 ในการอุทธรณผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 30/2560) เรื่อง หลักเกณฑ 239 และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน(ฉบับที่ 31/2560) เรื่อง แนวทางการ 245 ประเมินผลการสอบวิทยานิพนธและการสอบการศึกษาอิสระ ประกาศคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 030/2560 248 เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ประกาศคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 89/2560 260 เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 012/2561) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติ 266-1 ในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 014/2561) เรื่อง แนวปฏิบัติในการสอบประมวล 266-3 ความรู และการสอบวัดคุณสมบัติ สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 015/2561) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติ 266-5 ในการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ


สารบัญ (ตอ) หนา ตอนที่ 5 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 5.11 5.12 5.13 5.14 5.15 5.16 5.17 5.18 5.19 5.20 5.21

แนวปฏิบัติตางๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ การขอทําบัตรประจําตัวนักศึกษา ขั้นตอนการลงทะเบียน การเทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา การขอแจงการเปลี่ยนชื่อ-ชื่อสกุล การลาพักการศึกษา การขยายเวลาศึกษาตอ การขอรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการ การรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา การรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ การขอลาออก การพนสภาพการเปนนักศึกษา การขอกลับเขาเปนนักศึกษา การขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา การขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา การขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา การขอเปลี่ยนสาขาวิชา การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ํากวาหลักสูตรที่เขาศึกษา การขอหนังสือรับรองการเปนนักศึกษา การขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) การทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.1 การลงทะเบียนวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.2 การเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวม 5.21.3 การขอเปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ/อาจารยที่ปรึกษารวม 5.21.4 การเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.5 แนวปฏิบัติในการแตงตั้งอาจารยผูเชี่ยวชาญ 5.21.6 การขอความอนุเคราะหจากหนวยงานตางๆ เพื่อขอความรวมมือ ในการเก็บขอมูลทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.7 การขอความอนุเคราะหใหเปนผูเชี่ยวชาญหรือผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบ เครื่องมือในการทําวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ

269 269 270 271 271 272 272 273 273 274 274 275 276 276 276 277 277 278 278 279 279 279 279 280 280 281 281 282


สารบัญ (ตอ) หนา

5.22 5.23 5.24 5.25 5.26 5.27

5.21.8 การขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.9 การขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ 5.21.10 การสงวิทยานิพนธ/การสงรายงานการศึกษาอิสระ การสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ การสําเร็จการศึกษา การขออนุมัติปริญญา การขอรับปริญญา เงื่อนไขของหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการขอความรวมมือ ในการเก็บรวบรวมขอมูล

ตอนที่ 6 6.1 6.2 6.3 6.4

บริการตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขอนแกน ทุนการศึกษา สํานักหอสมุด สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรฝกอบรมภายใตโครงการการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของคณาจารย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 6.5 โภชนาการ 6.6 รถขนสงมวลชน มหาวิทยาลัยขอนแกน และรถประจําทาง 6.7 บริการไปรษณีย 6.8 บริการธนาคาร 6.9 ศูนยอาหารและบริการ (คอมเพล็กซ) 6.10 ศูนยสุขภาพนักศึกษา 6.11 การประกันอุบัติเหตุ

ตอนที่ 7 คณาจารยบัณฑิตศึกษาและบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 7.1 คณาจารยบณ ั ฑิตศึกษา 7.2 บุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย

282 283 284 284 285 285 285 286 286

291 295 295 295 295 295 296 296 296 296 296

299 300


สารบัญ (ตอ) หนา ภาคผนวก หนังสือราชการสําหรับติดตอหนวยงานตางๆและแบบฟอรมที่นักศึกษาควรทราบ ตัวอยางหนังสือขออนุมัติขยายเวลาศึกษาตอ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน ตัวอยางหนังสือขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูลในการทําวิทยานิพนธ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน ตัวอยางหนังสือขออนุญาตแตงตั้งผูเชี่ยวชาญ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน ตัวอยางหนังสือสงตัวขาราชการคืนตนสังกัด หนังสือภายนอก หนังสือภายใน

304 305 306 307 308 309 310 311

แบบฟอรมของบัณฑิตวิทยาลัย บว.9 คํารองขอลงทะเบียนนอยกวา/มากกวาจํานวนหนวยกิตที่กําหนด บว.13 คํารองขอรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา บว.13-1 คํารองขอรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา (กรณีรอการยอมรับใหตีพิมพผลงานวิทยานิพนธ บว.14 คํารองขอลาพักการศึกษา บว.15 คํารองขอลาออก บว.16 แบบสงและรับวิทยานิพนธ บว.17 คํารองขอหนังสือขยายเวลาศึกษาตอ/ขอรายงานตัวเพื่อกลับเขาปฏิบัติราชการ บว.18 คํารองขอกลับเขาเปนนักศึกษา บว.20 ใบแจงความจํานงสําเร็จการศึกษาและการตรวจสอบหนี้สิน บว.21 คํารองขอเสนอชื่ออาจารยที่ปรึกษา/เปลี่ยนแปลงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ บว.23 แบบเสนอเคาโครงวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ บว.24 คํารองขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ บว.25 คํารองขอสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ บว.26 แบบเสนอแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ /การศึกษาอิสระ


สารบัญ (ตอ)

บว.27 บว.28 บว.29 บว.30 บว.31 บว.32 บว.33 บว.33-1 บว.34 บว.35 บว.36 บว.37 บว.38 บว.42

ใบแจงผลการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ใบรับรองการแกไขวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ แบบฟอรมตรวจสอบวิทยานิพนธ คํารองขอสอบประมวลความรู/สอบวัดคุณสมบัติ แบบเสนอแตงตั้งคณะกรรมการสอบประมวลความรูฯ ใบแจงผลการสอบประมวลความรู/สอบวัดคุณสมบัติ คํารองขอเปลี่ยนระบบการศึกษา คํารองขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา คํารองขอเปลี่ยนสาขาวิชา คํารองขอเปลี่ยนระดับการศึกษา คํารองขอเทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชา แบบฟอรมการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธ ระดับบัณฑิตศึกษา หนังสือยินยอมมอบทรัพยสินทางปญญา แบบขอเสนอแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเฉพาะสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน แบบฟอรม Turnitin Originality Report


บทนำ 1.1 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ในกำรบริหำรงำนของมหำวิทยำลัยขอนแก่น จะมีคณะกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัย ซึ่งเป็นสภำสูงสุด มี อำนำจหน้ำที่ในกำรกำหนดนโยบำย ควบคุม กำกับและติดตำม กำรดำเนินงำนของมหำวิทยำลัยให้ เป็นไปตำม นโยบำยและวัตถุประสงค์ คณะกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยขอนแก่น ประกอบด้วย 1. ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี นำยกสภำมหำวิทยำลัย 2. ดร.เตช บุนนำค อุปนำยกสภำมหำวิทยำลัย 3. นำยเฉลิมชัย วงษ์นำคเพ็ชร์ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 4. นำยสุนทร อรุณำนนท์ชัย กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 5. นำยคุรุจิต นำครทรรพ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 6. หม่อมรำชวงศ์ปรีดิยำธร เทวกุล กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 7. นำยปรำโมทย์ วิทยำสุข กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 8. นำยทวีศักดิ์ กออนันตกูล กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 9. นำยวนัส แต้ไพสิฐพงษ์ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 10. ดร.วิชัย ธัญญพำณิชย์ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 11. ศ.เกียรติคุณ ดร.วิชัย บุญแสง กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 12. รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 13. ศ.เกียรติคุณ นพ.ศำสตรี เสำวคนธ์ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 14. ศ.ดร.สมชำติ โสภณรณฤทธิ์ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 15. นำยสุรพล เพชรวรำ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผู้ทรงคุณวุฒิ 16. ดร.สมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดขอนแก่น 17. รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิกำรบดี 18. นำยอำนำจ พรหมสูตร ประธำนกรรมกำรส่งเสริมกิจกำร มข. 19. ผศ.ดร.สุทิน เวียนวิวัฒน์ ประธำนสภำพนักงำนมหำวิทยำลัย 20. นำยสมศักดิ์ แต้เจริญวิริยะกุล นำยกสมำคมศิษย์เก่ำมหำวิทยำลัยขอนแก่น 21. รศ.ดร.สมหมำย ปรีเปรม กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยประเภทผู้แทนรองอธิกำรบดี 22. รศ.นพ.ชำญชัย พำนทองวิริยะกุล กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยประเภทผู้แทนคณบดี 23. รศ.ดร.กุลธิดำ ท้วมสุข กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยประเภทผู้แทนคณบดี 24. รศ.ดร.วนิดำ แก่นอำกำศ กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยประเภทผู้แทนผู้อำนวยกำร 25. รศ.ดร.รัชพล สันติวรำกร กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยจำกคณำจำรย์ประจำ 26. ศ.นพ.บวรศิลป์ เชำวน์ชื่น กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยจำกคณำจำรย์ประจำ 27. รศ.ดร.เจนจิรำ เรืองชยจตุพร กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยจำกคณำจำรย์ประจำ 28. นำยบุญญฤทธิ์ สมบัติหลำย กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยจำกกำรเลือกตั้งจำก ผู้ปฏิบัติงำนในมหำวิทยำลัยที่ไม่ใช่คณำจำรย์ประจำ 29. ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี เลขำนุกำรสภำมหำวิทยำลัย 30. นำงสุภำรัตน์ มูลศรี ผู้ช่วยเลขำนุกำรสภำมหำวิทยำลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

3


คู่มือนักศึกษา 2561

4 บทนำ 1.2 ผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในระดับมหำวิทยำลัย จะมีอธิกำรบดีเป็นผู้บังคับบัญชำสูงสุด โดยมีรองอธิกำรบดีหรือผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยต่ำงๆ ช่วยปฏิบัติงำนตำมภำรกิจที่อธิกำรบดีมอบหมำย ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ อธิการบดี รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย รองอธิการบดี รศ.ดร.สมหมำย ปรีเปรม ฝ่ำยกำรคลังและทรัพย์สิน รศ.ทพญ.ดร.นวรัตน์ วรำอัศวปติ เจริญ ฝ่ำยกำรต่ำงประเทศ ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี ฝ่ำยวิชำกำรและสื่อสำรองค์กร รศ.ดร.ลำปำง แม่นมำตย์ ฝ่ำยวำงแผนยุทธศำสตร์ ผศ.ลิขิต อมำตยคง ฝ่ำยทรัพยำกรบุคคล ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนำกุล ฝ่ำยวิจัยและกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยี รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ ฝ่ำยศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ผศ.พนมชัย วีระยุทธศิลป์ ฝ่ำยโครงสร้ำงพื้นฐำน รศ.เพียรศักดิ์ ภักดี ฝ่ำยพัฒนำนักศึกษำและศิษย์เก่ำสัมพันธ์ ผศ.วิชัย ณีรัตนพันธุ์ ที่ปรึกษำฝ่ำยรักษำควำมปลอดภัย ผศ.ดร.เกียรติ แสงอรุณ ฝ่ำยวิทยำเขตหนองคำย ผู้ช่วยอธิการบดี อำจำรย์ปำริชำต บุตรวงค์ อ.ดร.ศิรประภำ บำรุงกิจ อ.ดร.ภญ.อัจฉรำวรรณ โตภำคงำม รศ.ดร.นันทรัตน์ โฆมำนะสิน อ.ดร.ศิริพงษ์ เพียศิริ รศ.นพ.ดร.พจน์ชวิทย์ อภินิเวศ ผศ.ดร.จงรักษ์ หงษ์งำม ศ.ดร.สพญ.ธิดำรัตน์ บุญมำศ ผศ.ดร.รัชฎำ ตั้งวงค์ไชย นำยบัญชำ พระพล ผศ.กฤตภัทร ถำปำลบุตร อ.ดร.ปิยะวัชร ฝอยทอง ผศ.ดร.นรินทร์ จันทร์ศรี ผศ.จรูญศักดิ์ พันธวิศิษฎ์ ผศ.ดร.สมพงษ์ สิทธิพรหม อำจำรย์ชำติภร เมืองโคตร มุงคุณแสน

ฝ่ำยกำรคลัง ฝ่ำยทรัพย์สิน ฝ่ำยควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ ฝ่ำยวิชำกำร ฝ่ำยสื่อสำรองค์กร ฝ่ำยวำงแผนยุทธศำสตร์ ฝ่ำยทรัพยำกรบุคคล ฝ่ำยวิจัย ฝ่ำยกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยี ฝ่ำยศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ฝ่ำยโครงสร้ำงพื้นฐำน ฝ่ำยบริหำรจัดกำรงำนก่อสร้ำงและบำรุงรักษำ ฝ่ำยพัฒนำนักศึกษำและศิษย์เก่ำสัมพันธ์ ฝ่ำยกีฬำ ฝ่ำยรักษำควำมปลอดภัย ฝ่ำยวิทยำเขตหนองคำย


บทนำ ในระดับคณะ สถำบัน สำนัก ศูนย์ และวิทยำลัย จะมีคณบดี ผู้อำนวยกำรสถำบัน สำนัก ศูนย์ และ วิทยำลัย เป็นผู้บังคับบัญชำและรับผิดชอบงำน ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ คณบดี ศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน บัณฑิตวิทยำลัย รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดำ คณะเกษตรศำสตร์ ศ.ดร.อภิรัฐ ศิริธรำธิวัตร คณะวิศวกรรมศำสตร์ ผศ.ดร.สมเกียรติ ศรีจำรนัย คณะวิทยำศำสตร์ ผศ.ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ คณะศึกษำศำสตร์ ผศ.ดร.เสำวมำศ คุณล้ำน เถื่อนนำดี คณะพยำบำลศำสตร์ รศ.นพ.ชำญชัย พำนทองวิริยะกุล คณะแพทยศำสตร์ รศ.ดร.กุลธิดำ ท้วมสุข คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ รศ.ดร.พัชรี เจียรนัยกูร คณะเทคนิคกำรแพทย์ ผศ.ดร.สมศักดิ์ พิทักษำนุรัตน์ คณะสำธำรณสุขศำสตร์ รศ.ทพญ.ดร.วรำนุช ปิติพัฒน์ คณะทันตแพทยศำสตร์ รศ.ดร.ไพบูลย์ ดำวสดใส คณะเภสัชศำสตร์ รศ.ดร.พรเทพ ถนนแก้ว คณะเทคโนโลยี รศ.น.สพ.ชูชำติ กมลเลิศ คณะสัตวแพทยศำสตร์ รศ.ดร.ชูพงษ์ ทองคำสมุทร คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ รศ.ดร.เพ็ญศรี เจริญวำนิช คณะบริหำรธุรกิจและกำรบัญชี รศ. กัลปพฤกษ์ ผิวทองงำม คณะเศรษฐศำสตร์ รศ.ดร.นิยม วงศ์พงษ์คำ คณะศิลปกรรมศำสตร์ ผศ.กิตติบดี ใยพูล คณะนิติศำสตร์ รศ.ดร.วินิต ชินสุวรรณ วิทยำลัยบัณฑิตศึกษำกำรจัดกำร รศ.ดร.ศุภวัฒนำกร วงศ์ธนวสุ วิทยำลัยกำรปกครองท้องถิ่น ศ.ดร.ละออศรี เสนำะเมือง วิทยำลัยนำนำชำติ รศ.ดร.วิรัช จิ๋วแหยม คณะวิทยำศำสตร์ประยุกต์และ วิศวกรรมศำสตร์ วิทยำเขตหนองคำย รศ.ดร.อภิรัตน์ เพ็ชรศิริ คณบดีคณะสังคมศำสตร์บูรณำกำร วิทยำเขตหนองคำย ผศ.ดร.กริช แรงสูงเนิน คณบดีคณะบริหำรธุรกิจ วิทยำเขตหนองคำย ผศ.ดร.รักชนก แสงภักดีจิต คณบดีคณะศิลปศำสตร์ วิทยำเขตหนองคำย

คู่มือนักศึกษา 2561

5


คู่มือนักศึกษา 2561

6 บทนำ ผู้อานวยการศูนย์ สานัก สถาบัน อ.ดร.กิตติ์ เธียรธโนปจัย ผศ.ดร.รักพงษ์ เพชรคำ รศ.ดร.วนิดำ แก่นอำกำศ รศ.ดร.ประพันธ์ศักดิ์ ฉวีรำช นำง เพียงเพ็ญ ภำคอุทัย ผศ.ดร.ภำวดี ภักดี ผศ.ดร. อิศรำ ก้ำนจักร

สำนักเทคโนโลยีสำรสนเทศ สำนักบริกำรวิชำกำร สำนักหอสมุด สำนักบริหำรและพัฒนำวิชำกำร สำนักงำนอธิกำรบดี สถำบันกำรสอนวิชำกำรศึกษำทั่วไป ศูนย์นวัตกรรมกำรเรียนกำรสอน

1.3 คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยำลัย มีกำรบริหำรและรับผิดชอบดำเนินกำรโดยคณบดี ภำยใต้กำรกำหนดนโยบำยและแผน กำรกำกับควบคุมดูแล และกำรให้คำปรึกษำและชี้แนะของคณะกรรมกำรประจำบัณฑิตวิทยำลัย คณะกรรมกำร ประจำบัณฑิตวิทยำลัย ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ 1. คณบดีบัณฑิตวิทยำลัย ประธำนกรรมกำร 2. รองคณบดีฝ่ำยบริหำร วำงแผนและพัฒนำคุณภำพ กรรมกำร 3. รองคณบดีฝ่ำยพัฒนำศักยภำพนักศึกษำ วิเทศสัมพันธ์ และวิจัย กรรมกำร 4. รองคณบดีฝ่ำยวิชำกำร กรรมกำร 5. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ำยสำรสนเทศ กรรมกำร 6. รศ.ดร.ชำญวิทย์ ลีลำยุวัฒน์ กรรมกำร 7. ศ.ดร.สุจินต์ บุรีรัตน์ กรรมกำร 8. รศ.ดร.สุวรี ฤกษ์จำรี กรรมกำร 9. ผู้อำนวยกำรกองบริหำรงำนบัณฑิตวิทยำลัย กรรมกำรและเลขำนุกำร

1.4 การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหำวิทยำลัยขอนแก่น เป็นมหำวิทยำลัยแห่งแรกในภำคตะวันออกเฉียงเหนือที่ก่อตั้งเพื่อเป็นศูนย์กลำงใน กำรพั ฒ นำภำคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และเป็ น ศู น ย์ ก ลำงทำงด้ ำ นวิ ช ำกำรของภูมิภำคนี้ โดยได้มีพระบรม รำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ ให้ตรำพระรำชบัญญัติมหำวิทยำลัยขอนแก่น และประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ 25 มกรำคม พ.ศ. 2509 กำรดำเนินกำรรับนักศึกษำระดับปริญญำตรี เริ่มรับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 เป็นต้นมำ โดยเป็น กำรผลิตบัณฑิตในเฉพำะสำขำวิชำชีพที่เป็นควำมต้องกำรของประเทศ ต่อมำเมื่อมหำวิทยำลัยพิจำรณำถึงควำม พร้อมและศักยภำพของบุคลำกรในสำขำวิชำต่ำง ๆ และเพื่อนำแหล่งทรัพยำกรทำงกำรศึก ษำที่มีอยู่มำใช้ให้เป็น ประโยชน์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น จึงได้ขยำยกำรศึกษำขั้นสูงกว่ำปริญญำตรีขึ้น โดยเริ่มรับนักศึกษำในระดับ บัณฑิตศึกษำ สำขำวิชำต่ำง ๆ ตั้งแต่ปีกำรศึกษำ 2523 มำจนถึงปัจจุบัน


บทนำ ปัจจุบันมหำวิทยำลัยขอนแก่นมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษำที่เปิดสอนจำนวนทั้ งสิ้น 242 หลักสูตร แบ่งเป็นหลักสูตร ระดับประกำศนียบัตรบัณฑิต จำนวน 1 หลักสูตร ระดับปริญญำมหำบัณฑิต จำนวน 137 หลักสูตร ระดับประกำศนียบัตรบัณฑิต ชั้นสูง จำนวน 17 หลักสูตร ระดับปริญญำดุษฎีบัณฑิต จำนวน 87 หลักสูตร ในกำรศึกษำหลักสูตรเหล่ำนี้ นักศึกษำจะศึกษำในคณะต่ำงๆ ของมหำวิทยำลัย โดยมีบัณฑิตวิทยำลัย ทำหน้ำที่ในกำรประสำนงำนและสนับสนุนกำรดำเนินกำรจัดกำรศึกษำ จำนวนนักศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำที่กำลังศึกษำในหลักสูตรต่ำงๆ ในภำคปลำย ปีกำรศึกษำ 2560 มี จำนวนทั้งสิ้นประมำณ 5,390 คน แบ่งออกเป็นนักศึกษำในกลุ่มต่ำงๆ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มมนุษยศำสตร์และ สังคมศำสตร์ จำนวน 2,062 คน กลุ่มวิทยำศำสตร์สุขภำพ จำนวน 1,718 คน กลุ่มวิทยำศำสตร์เทคโนโลยี จำนวน 1,610 คน และในจำนวนนักศึกษำเหล่ำนี้เป็นนักศึกษำระดับประกำศนียบัตรบัณฑิต จำนวน 4 คน ระดับปริญญำ โท 3,520 คน ระดับ ประกำศนียบัต รบัณฑิต ชั้นสูง จำนวน 275 คน และระดั บปริญญำเอก 1,591 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 13 มีนำคม 2561)

1.5 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้มหำวิทยำลัยมีกรอบคุณลักษณะบัณฑิตและนโยบำยหลักด้ำนกำรผลิตบั ณฑิต เพื่อที่จะให้บัณฑิต ของมหำวิทยำลัยมีคุณลักษณะโดดเด่น มีเอกลักษณ์เฉพำะและสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำดงำน ผู้ใช้ บัณฑิต และสังคม ทั้งในระดับประเทศและระดับสำกล ดังนั้นจำกกำรประชุมสภำมหำวิทยำลัยครั้งที่ 4/2551 เมื่อ วันที่ 2 เมษำยน 2551 สภำมหำวิทยำลัยจึงได้เห็นชอบให้กำหนดกรอบคุณลักษณะบัณฑิตและนโยบำยหลักด้ำน กำรผลิตบัณฑิต มหำวิทยำลัยขอนแก่น ดังนี้ กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น กรอบคุณลักษณะของบัณฑิต มหำวิทยำลัยขอนแก่น ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้ 1. คุณลักษณะเด่น หมำยถึง คุณลักษณะที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของบัณฑิต มหำวิทยำลัยขอนแก่น สะท้อน ค่ำนิยมหลักที่ต้องกำรสร้ำงสรรค์และสื่อสำรทั้งภำยในองค์กร และต่อสังคมและผู้ใช้บัณฑิต คุณลักษณะเด่นของบัณฑิต มหำวิทยำลัยขอนแก่น คือ “พร้อมทำงำน (Ready to work)” โดยมีองค์ประกอบคุณลักษณะย่อย 3 ด้ำน ดังนี้ - มีประสบกำรณ์พร้อมปฏิบัติงำนในวิชำชีพ - พร้อมต่อกำรเปลี่ยนแปลง - เรียนรู้ตลอดชีวิต 2. คุณลักษณะทั่วไป หมำยถึง คุณลักษณะของบัณฑิตในแต่ละระดับกำรศึกษำ ที่เป็นภำพรวมของ มหำวิทยำลัย ซึ่งต้องดำเนินกำรให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงทั่วถึงในทุกหลักสูตร กระบวนกำรเรียนกำรสอน และกิจกรรมกำรส่งเสริมและพัฒนำนักศึกษำของมหำวิทยำลัย 3. คุณลักษณะเฉพำะ หมำยถึง คุณลักษณะของบัณฑิตที่เป็นจุดเน้นของสำขำวิชำกำรหรือสำขำวิชำชีพนั้นๆ ซึ่งต้องดำเนินกำรให้เกิดกำรพัฒนำในแต่ละหลักสูตรและกระบวนกำรเรียนกำรสอนของหลักสูตรนั้น

คู่มือนักศึกษา 2561

7


คู่มือนักศึกษา 2561

8 บทนำ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกเหนือจำกคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหำวิทยำลัยขอนแก่นแล้ว ผู้สำเร็จกำรศึกษำระดับ บัณฑิตควรมีคุณลักษณะดังนี้ 1. มีควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง สำมำรถแสวงหำควำมรู้ใหม่อย่ำงอิสระและมีควำมสนใจใฝ่ รู้อย่ำงต่อเนื่อง 2. มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงสรรค์ควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำรได้อย่ำงต่อเนื่อง 3. มีควำมสำมำรถในกำรสื่อควำมหมำย ได้แก่ - กำรแสดงควำมคิดเห็น - กำรเขียนบทควำม - กำรเสนอเรื่องทำงวิชำกำรต่อที่ประชุม - กำรใช้โสตทัศนอุปกรณ์ - กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 4. มีควำมสำมำรถเชิงวิจำรณ์บนพื้นฐำนวิชำกำรและเหตุผล 5. มีควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับที่สื่อสำรได้ เอกลักษณ์ของบัณฑิตวิทยาลัย “กำรทำงำนแบบควำมร่วมมือและเชื่อมโยง ” อัตลักษณ์ของบัณฑิตวิทยาลัย “บัณฑิตพร้อมทำงำนบนพื้นฐำนกำรวิจัย”


บทนำ 1.6 ปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2561 ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 281/2561) เรื่อง ปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2561 ----------------------เพื่ อ ให้ ก ำรด ำเนิ น งำนด้ ำ นกำรเรี ย นกำรสอนระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษำ ประจ ำปี ก ำรศึ ก ษำ 2561 ของ มหำวิทยำลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อยและมีประสิทธิภำพ อำศั ยอ ำนำจตำมมำตรำ 37(1) แห่ งพระรำชบัญ ญัติ มหำวิ ทยำลัย ขอนแก่น พ.ศ.2558 ประกอบกั บ มติที่ประชุมสภำมหำวิทยำลัยขอนแก่น ในกำรประชุม ครั้งที่ 9/2558 เมื่อวันที่ 5 กันยำยน 2558 เรื่อง มอบอำนำจ ให้อธิกำรบดี และมติที่ประชุมคณะกรรมกำรบริหำรมหำวิทยำลัยขอนแก่น ในกำรประชุมครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 22 มกรำคม 2561 จึงออกประกำศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกำศนี้เรียกว่ำ “ประกำศมหำวิทยำลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 281/2561) เรื่อง ปฏิทินกำรศึกษำ ระดับบัณฑิตศึกษำ มหำวิทยำลัยขอนแก่น ประจำปีกำรศึกษำ 2561” ข้อ 2 ประกำศนี้ให้มีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันที่ออกประกำศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้กำหนดปฏิทินกำรศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ ประจำปีกำรศึกษำ 2561 ดังนี้ ลาดับ

รายการ

1

นักศึกษำรหัสขึ้นต้นด้วย 61 รำยงำนตัวขึ้นทะเบียน เป็นนักศึกษำ ผ่ำนเว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th และชำระเงินค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ ตำมใบแจ้งยอด กำรชำระเงิน และชำระเงินที่ธนำคำร ที่ทำกำร ไปรษณีย์ หรือเคำน์เตอร์เซอร์วิส -สำหรับนักศึกษำที่เข้ำศึกษำในภำคกำรศึกษำต้น - สำหรับนักศึกษำที่เข้ำศึกษำในภำคกำรศึกษำต้น - ในรอบกำรรับเข้ำศึกษำโดยระบบโควต้ำ มหำวิทยำลัยขอนแก่น - รอบที่ 1

- รอบที่ 2

- สำหรับนักศึกษำที่เข้ำศึกษำในภำคกำรศึกษำปลำย

ภาคต้น

ภาคการศึกษา ภาคปลาย

ภาคพิเศษ

วันพุธที่ 23 พ.ค. วันศุกร์ที่ 25 พ.ค. 2561 วันจันทร์ที่ 18 มิ.ย. วันศุกร์ที่ 22 มิ.ย. 2561 วันจันทร์ที่ 23 ก.ค. วันพุธที่ 25 ก.ค. 2561

-

-

-

-

-

-

-

วันพุธที่ 28 พ.ย.วันศุกร์ที่ 30 พ.ย. 2561

-

คู่มือนักศึกษา 2561

9


คู่มือนักศึกษา 2561

10 บทนำ ลาดับ

รายการ

2

นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 61 ตรวจสอบข้อมูลกำร ชำระเงินค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ กำรรำยงำนตัวขึ้น ทะเบียนเป็นนักศึกษำผ่ำนเว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 60 หรือนักศึกษำที่เข้ำ ศึกษำก่อนปีกำรศึกษำ 2560 บันทึกข้อมูลกำร ลงทะเบียนวิชำเรียนผ่ำน เว็บไซต์ หรือพิมพ์ใบแจ้ง ยอดกำรชำระเงิน หรือชำระเงินที่ธนำคำร ที่ทำกำร ไปรษณีย์ หรือเคำน์เตอร์เซอร์วิส นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 60 หรือนักศึกษำที่เข้ำ ศึกษำก่อนปีกำรศึกษำ 2560 รักษำสถำนภำพกำรเป็น นักศึกษำ หรือลำพักกำรศึกษำ ที่สำนักบริหำรและพัฒนำ วิชำกำร หรือพิมพ์ใบแจ้งยอดกำรชำระเงิน ชำระเงินที่ ธนำคำร ที่ทำกำรไปรษณีย์ หรือเคำน์เตอร์เซอร์วิส

3

4

5

6 7

8 9

นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 60 หรือนักศึกษำที่เข้ำ ศึกษำก่อนปีกำรศึกษำ 2560 ตรวจสอบข้อมูลกำร ชำระเงินค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ กำรรักษำสถำนภำพ กำรเป็นนักศึกษำ หรือลำพักกำรศึกษำ หรือกำร ลงทะเบียนวิชำเรียน ผ่ำนเว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 61 รับกำรปฐมนิเทศ หรือพบอำจำรย์ที่ปรึกษำ นักศึกษำที่มีรหัสขึ้นต้นด้วย 61 ลงทะเบียนวิชำเรียนผ่ำน เว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th วันประกำศรำยชื่อนักศึกษำพ้นสภำพกำรเป็น นักศึกษำเนื่องจำก มีผลกำรเรียนต่ำกว่ำเกณฑ์ นักศึกษำรหัสขึ้นต้นด้วย 61 ลงทะเบียนวิชำเรียนและ ชำระเงินค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำตำมใบแจ้งยอดกำร ชำระเงินที่ธนำคำร หรือที่ทำกำรไปรษณีย์ หรือ เคำน์เตอร์เซอร์วิส - สำหรับนักศึกษำที่เข้ำศึกษำในภำคกำรศึกษำต้น

ภาคต้น วันพฤหัสบดีที่ 24 พ.ค. -วันศุกร์ที่ 31 ส.ค.2561

ภาคการศึกษา ภาคปลาย

ภาคพิเศษ

วันจันทร์ 23 ก.ค. 2561 - วันพุธที่ 1 ส.ค. 2561

วันพฤหัสบดีที่ 29 พ.ย. 2561 วันพฤหัสบดีที่ 31 ม.ค. 2562 วันอังคำรที่ 25 ธ.ค. 2561 -วันพฤหัสบดี ที่ 3 ม.ค.2562

วันจันทร์ 23 ก.ค. 2561 - วันพุธที่ 1 ส.ค. 2561

วันอังคำรที่ 25 ธ.ค. 2561 -วันพฤหัสบดี ที่ 3 ม.ค.2562

วันศุกร์ที่ 31 พ.ค. – วันพุธที่ 5 มิ.ย. 2562

วันอังคำรที่ 24 ก.ค. - วันศุกร์ที่ 31 ส.ค. 2561

วันพุธที่ 26 ธ.ค. 2561– วันพฤหัสบดีที่ 31 ม.ค. 2562

วันจันทร์ที่ 3 มิ.ย.วันศุกร์ที่ 28 มิ.ย. 2562

วันอังคำรที่ 31 ก.ค. 2561 วันอังคำรที่ 31 ก.ค.– วันศุกร์ที่ 3 ส.ค. 2561 วันศุกร์ที่ 15 มิ.ย. 2561

วันศุกร์ที่ 4 ม.ค. 2562

-

วันศุกร์ที่ 4 ม.ค. – วันอำทิตย์ที่ 6 ม.ค. 2562 วันศุกร์ที่ 11 ม.ค.2562

วันศุกร์ที่ 31 พ.ค. – วันพุธที่ 5 มิ.ย. 2562 -

วันศุกร์ที่ 4 ม.ค. วันอำทิตย์ที่ 6 ม.ค. 2562 -

วันศุกร์ที่ 31 พ.ค. วันพุธที่ 5 มิ.ย.2562

-

- สำหรับนักศึกษำที่เข้ำศึกษำในภำคกำรศึกษำปลำย -

-

วันศุกร์ที่ 31 พ.ค. – วันพุธที่ 5 มิ.ย.2562

วันศุกร์ที่ 31 พ.ค. วันพุธที่ 5 มิ.ย.2562


บทนำ ลาดับ

รายการ

10

วันเปิดภำคกำรศึกษำ

11

วันรักษำสถำนภำพกำรเป็นนักศึกษำล่ำช้ำ วันลำพัก กำรศึกษำล่ำช้ำ หรือวันลงทะเบียนวิชำเรียนล่ำช้ำด้วย ตนเองผ่ำนเว็บไซต์ หรือเพิ่มวิชำเรียนด้วยตนเองผ่ำน เว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th หรือพิมพ์ใบแจ้งยอดกำร ชำระเงินและชำระเงินที่ธนำคำร หรือที่ทำกำรไปรษณีย์ หรือเคำน์เตอร์เซอร์วิส นักศึกษำตรวจสอบข้อมูลกำรชำระเงินค่ำธรรมเนียม กำรศึกษำ กำรรักษำสถำนภำพกำรเป็นนักศึกษำ หรือลำพักกำรศึกษำ หรือลงทะเบียนวิชำเรียน หรือ เพิ่มวิชำเรียนผ่ำนเว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th วันถอนรำยวิชำเรียนด้วยตนเองผ่ำนเว็บไซต์ โดย รำยวิชำนั้นไม่ปรำกฏในทรำนสคริปต์

12

13

14

วันที่นักศึกษำยื่นคำร้องขอเทียบโอนรำยวิชำ

15

วันสุดท้ำยของกำรขอเปิดรำยวิชำและวันสุดท้ำยที่ คณะส่งกำรขอเปลี่ยนแปลง มข.30 วันคล้ำยวันสถำปนำมหำวิทยำลัย วันไหว้ครู

16 17 18

21

วันสุดท้ำยที่คณะส่งรำยวิชำที่ปิดให้สำนักบริหำรและพัฒนำ วิชำกำร ขออนุมัติมหำวิทยำลัยประกำศปิดรำยวิชำ วันประกำศรำยชื่อนักศึกษำที่พ้นสภำพกำรเป็น นักศึกษำเนื่องจำกฝ่ำฝืนระเบียบกำรลงทะเบียนและ กำรชำระค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ วันถอนวิชำเรียนโดยที่รำยวิชำนั้นได้สัญลักษณ์ W โดย รำยวิชำนั้นปรำกฎในทรำนสคริปต์ ที่สำนักบริหำรและพัฒนำ วิชำกำร วันลอยกระทง ประจำปี พ.ศ.2561

22

วันสุดท้ำยของกำรเรียน

23

วันสอบปลำยภำค

19

20

ภาคต้น วันจันทร์ที่ 6 ส.ค. 2561 วันจันทร์ที่ 6 ส.ค. วันศุกร์ที่ 17 ส.ค. 2561

วันอังคำรที่ 7 ส.ค.วันศุกร์ที่ 31 ส.ค. 2561

ภาคการศึกษา ภาคปลาย วันจันทร์ที่ 7 ม.ค.2562 วันจันทร์ที่ 7 ม.ค. – วันศุกร์ที่ 18 ม.ค. 2562

ภาคพิเศษ วันจันทร์ที่ 10 มิ.ย. 2562 วันจันทร์ที่ 10 มิ.ย.วันพุธที่ 12 มิ.ย. 2562

วันอังคำรที่ 8 ม.ค. - วันพฤหัสบดีที่ 31 ม.ค.2562

วันอังคำรที่ 11 มิ.ย.- วันศุกร์ที่ 28 มิ.ย. 2562

วันจันทร์ที่ 6 ส.ค. วันจันทร์ที่ 7 ม.ค. – วันศุกร์ที่ 31 ส.ค. วันศุกร์ที่ 1 ก.พ. 2562 2561 วันจันทร์ที่ 6 ส.ค.วันจันทร์ที่ 7 ม.ค. วันจันทร์ที่ 20 ส.ค. วันจันทร์ที่ 21 ม.ค. 2561 2562 วันศุกร์ที่ 17 ส.ค. วันศุกร์ที่ 18 ม.ค. 2561 2562 วันศุกร์ที่ 25 ม.ค.2562 วันพฤหัสบดีที่ 6 ก.ย. 2561 วันศุกร์ที่ 31 ส.ค.2561 วันศุกร์ที่ 1 ก.พ.2562 วันศุกร์ที่ 7 ก.ย. 2561

วันศุกร์ที่ 1 ก.พ.2562

วันจันทร์ที่ 3 ก.ย.– วันศุกร์ที่ 28 ก.ย. 2561 วันพฤหัสบดีที่ 22 พ.ย. 2561 วันอำทิตย์ที่ 25 พ.ย.2561 วันจันทร์ที่ 26 พ.ย.วันจันทร์ที่ 17 ธ.ค. 2561

วันจันทร์ที่ 4 ก.พ. วันศุกร์ที่ 1 มี.ค. 2562 วันอำทิตย์ที่ 5 พ.ค.2562 วันจันทร์ที่ 6 พ.ค. – วันจันทร์ที่ 27 พ.ค. 2562

วันจันทร์ที่ 10 มิ.ย.วันอังคำรที่ 18 มิ.ย. 2562 -

วันพุธที่ 12 มิ.ย. 2562 วันพุธที่ 19 มิ.ย. 2562 -

วันพุธที่ 19 มิ.ย. – วันศุกร์ที่ 28 มิ.ย. 2562 วันอำทิตย์ที่ 21 ก.ค. 2562 วันจันทร์ที่ 22 ก.ค. - วันพุธที่ 24 ก.ค. 2562

คู่มือนักศึกษา 2561

11


คู่มือนักศึกษา 2561

12 บทนำ ลาดับ

รายการ

24

วันปิดภำคกำรศึกษำ

25

วันสุดท้ำยของกำรส่งผลกำรแก้ไขระดับคะแนนที่ยังไม่ สมบูรณ์ (ระดับคะแนน I) ของภำคกำรศึกษำปลำยและภำค กำรศึกษำพิเศษ ปีกำรศึกษำ 2560 วันสุดท้ำยของกำรส่งผลกำรแก้ไขระดับคะแนนที่ยังไม่ สมบูรณ์ (ระดับคะแนน I) ของภำคกำรศึกษำต้น ปี กำรศึกษำ 2561 วันสุดท้ำยที่คณะส่งผลกำรเรียน ที่ผ่ำนควำมเห็นชอบจำก คณะกรรมกำรประจำคณะ ให้สำนักบริหำรและพัฒนำวิชำกำร วันสุดท้ำยของกำรสอบรำยงำนกำรศึกษำอิสระหรือ วิทยำนิพนธ์สำหรับนักศึกษำที่ครบระยะเวลำกำรศึกษำตำม หลักสูตร วันสุดท้ำยของกำรส่งรำยงำนกำรศึกษำอิสระ ฉบับสมบูรณ์ เข้ำปกเรียบร้อยให้กับคณะที่สังกัด หรือวิทยำนิพนธ์ ฉบับ สมบูรณ์เข้ำปกเรียบร้อย ให้บัณฑิตวิทยำลัย สำหรับนักศึกษำ ที่ครบระยะเวลำกำรศึกษำตำมหลักสูตร วันสุดท้ำยของกำรส่งรำยงำนกำรศึกษำอิสระ ฉบับสมบูรณ์ที่ เข้ำปกเรียบร้อยให้กับคณะที่สังกัด หรือวิทยำนิพนธ์ฉบับ สมบูรณ์ที่เข้ำปกเรียบร้อยให้บัณฑิตวิทยำลัย สำหรับผู้ที่จะ สำเร็จกำรศึกษำในภำคกำรศึกษำนั้น โดยไม่ต้องรักษำ สถำนภำพในภำคกำรศึกษำถัดไป วันสุดท้ำยของกำรส่งรำยงำนกำรศึกษำอิสระ ฉบับสมบูรณ์ที่ เข้ำปกเรียบร้อยให้กับคณะที่สังกัด หรือวิทยำนิพนธ์ฉบับ สมบูรณ์ที่เข้ำปกเรียบร้อยให้บัณฑิตวิทยำลัย สำหรับ นักศึกษำที่สำเร็จกำรศึกษำและมีสิทธิ์เข้ำรับพระรำชทำน ปริญญำบัตร ประจำปีพ.ศ. 2561 วันสุดท้ำยที่คณะกรรมกำรประจำคณะให้ควำม เห็นชอบให้นักศึกษำสำเร็จกำรศึกษำและมีสิทธิ์เข้ำรับ พระรำชทำนปริญญำบัตร ประจำปี พ.ศ. 2561 พิธีพระรำชทำนปริญญำบัตร ประจำปี พ.ศ. 2561 วันสุดท้ำยของกำรจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินกำร ของรำยวิชำตำมแบบ มคอ.5 และรำยงำนผลกำร ดำเนินกำรของประสบกำรณ์ภำคสนำมตำมแบบ มคอ.6 โดยบันทึกผ่ำนเว็บไซต์ http://tqf.kku.ac.th วันสุดท้ำยของกำรจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินกำร ของหลักสูตรตำมแบบ มคอ.7 โดยบันทึกผ่ำนเว็บไซต์ http://tqf.kku.ac.th

26

27 28

29

30

31

32

33 34

35

ภาคต้น วันอังคำรที่ 18 ธ.ค. 2561 วันพุธที่ 26 ธ.ค. 2561

ภาคการศึกษา ภาคปลาย วันอังคำรที่ 28 พ.ค. 2562 -

ภาคพิเศษ วันพฤหัสบดีที่ 25 ก.ค. 2562 -

-

วันจันทร์ที่ 3 มิ.ย. 2562

-

วันพุธที่ 26 ธ.ค. 2561 วันพฤหัสบดีที่ 13 ก.ย.2561

วันจันทร์ที่ 3 มิ.ย. 2562 วันจันทร์ที่ 29 เม.ย. 2562

วันศุกร์ที่ 2 ส.ค. 2562 -

วันศุกร์ที่ 5 ต.ค. 2561

วันพุธที่ 15 พ.ค.2562

-

วันศุกร์ที่ 18 ม.ค. 2562

วันสุดท้ำยของกำร ลงทะเบียนล่ำช้ำของ ภำคกำรศึกษำต้นปี กำรศึกษำ 2562

วันสุดท้ำยของกำร ลงทะเบียนล่ำช้ำของ ภำคกำรศึกษำต้นปี กำรศึกษำ 2562

วันศุกร์ที่ 28 ก.ย. 2561

-

-

วันพุธที่ 31 ต.ค. 2561

-

-

ประมำณเดือนธันวำคม 2561 วันพฤหัสบดีที่ 17 วันพฤหัสบดีที่ 27 มิ.ย. วันเสำร์ที่ 24 ส.ค. ม.ค.2562 2562 2562

วันจันทร์ที่ 23 ก.ย.2562


บทนำ ข้อ 4

กำหนดให้งดกำรเรียนกำรสอน ดังนี้ (1) วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยำยน 2561 วันไหว้ครู (2) วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกำยน 2561 วันลอยกระทง ประจำปี พ.ศ. 2560 (3) ประมำณเดือนธันวำคม 2561 พิธีพระรำชทำนปริญญำบัตร ประจำปี พ.ศ. 2560 (4) วันศุกร์ที่ 25 มกรำคม 2562 วันคล้ำยวันสถำปนำมหำวิทยำลัย ประกำศ ณ วันที่ 6 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2561 (ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิกำรบดีฝ่ำยวิชำกำรและสื่อสำรองค์กร ปฏิบัติกำรแทนอธิกำรบดีมหำวิทยำลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

13


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 โดยที่เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ได้ประกาศใช้มาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จึง มีความจาเป็นต้องมีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวสาหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาที่เหมาะสมกับ พลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีเจตนารมณ์ให้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 รองรับการบริหารจัดการหลักสูตรให้ได้คุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึ กษาแห่งชาติ และ ตามจุดเน้นของแต่ละสาขาวิชา ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” ดังต่อไปนี้ 1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้เรียกว่า “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” 2. ให้ใช้ประกาศกระทรวงนี้สาหรับหลักสูตรระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต (การศึกษาหลังปริญญาตรี ) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (การศึกษาหลังประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโท) ระดับปริญญาโท และ ระดั บ ปริ ญ ญาเอกทุ ก สาขาวิ ช า ส าหรั บ หลั ก สู ต รที่ จ ะเปิ ด ใหม่ แ ละหลั ก สู ต รเก่ า ที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ใหม่ ข อง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน และให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3. ให้ยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548” ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 4. ในประกาศกระทรวงนี้ “อาจารย์ประจา” หมายถึง บุคคลที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา สาหรับอาจารย์ประจาที่สถาบันอุดมศึกษารับเข้าใหม่ตั้งแต่เกณฑ์มาตรฐานนี้เริ่มบังคั บใช้ ต้องมี คะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง มาตรฐานความสามารถภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจา “อาจารย์ประจาหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของ หลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร หลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของ หลักสูตร “อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการบริหาร และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการ พัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหุวิทยาการหรือสหวิทยาการ ให้เป็น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้าได้ไม่เกิน 2 คน

คู่มือนักศึกษา 2561

17


คู่มือนักศึกษา 2561

18 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ “อาจารย์พิเศษ” หมายถึง ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา 5. ปรัชญา และวัตถุประสงค์ 5.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มุ่งให้มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบัน อุดมศึกษา และมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพให้มีความชานาญใน สาขาวิชาเฉพาะ เพื่อให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น โดยเป็นหลักสูตรการศึกษาที่มี ลักษณะเบ็ดเสร็จในตัวเอง 5.2 หลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐาน วิชาการและวิชาชีพที่เป็นสากล เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ที่มีความรู้ความสามารถระดับสูงใน สาขาวิชาต่าง ๆ โดยกระบวนการวิจัยเพื่อให้สามารถบุกเบิกแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างมีอิสระ รวมทั้งมี ความสามารถในการสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญกับ ศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่อง มีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ทั้งนี้ในระดับปริญญาโท มุ่งให้มี ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนางานและสังคม ในขณะที่ระดับ ปริญญาเอก มุ่งให้มีความสามารถในการค้นคว้าวิจัยเพื่อสรรค์สร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนางาน สังคม และประเทศ 6. ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้กาหนด ระยะเวลาและจานวนหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาค ให้ถือแนวทาง ดังนี้ ระบบไตรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ โดย 1 หน่วยกิตระบบไตรภาค เทียบได้กับ 12/15 หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ 4 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 5 หน่วยกิตระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี ระยะเวลาศึกษา ไม่น้อยกว่า 10 สัปดาห์ โดย 1 หน่วยกิตระบบจตุรภาค เทียบได้กับ 10/15 หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ 2 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 3 หน่วยกิตระบบจตุรภาค สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้งรายละเอียดการเทียบเคียงหน่วยกิตกับระบบทวิภาคไว้ในหลักสูตรให้ชัดเจนด้วย 7. การคิดหน่วยกิต 7.1 รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 7.2 รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้ มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7.3 การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีคา่ เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.4 การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทาโครงงาน หรือกิจกรรมนั้นไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.5 การค้นคว้าอิสระ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มี ค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.6 วิทยานิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 8. โครงสร้างหลักสูตร 8.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอด หลักสูตรไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต 8.2 ปริญญาโท ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยแบ่ง การศึกษาเป็น 2 แผน คือ แผน ก เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ ดังนี้ แบบ ก 1 ทาเฉพาะวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจ กาหนด ให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้โดยไม่นับหน่วยกิต แต่จะต้องมี ผลสัมฤทธิ์ตามที่สถาบันอุดมศึกษากาหนด แบบ ก 2 ทาวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทาวิทยานิพนธ์ แต่ต้องมีการ ค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และไม่เกิน 6 หน่วยกิต 8.3 ปริญญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น 2 แบบ โดยเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและนัก วิชาชีพชั้นสูง คือ แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ สถาบันอุดมศึกษาอาจกาหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้โดยไม่ นับหน่วยกิต แต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่สถาบันอุดมศึกษากาหนด ดังนี้ แบบ 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาตรี จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต ทั้งนี้ วิทยานิพนธ์ตาม แบบ 1.1 และแบบ 1.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิด ความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้ แบบ 2.1 ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และ ศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แบบ 2.2 ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาตรี จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และ ศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต ทั้งนี้ วิทยานิพนธ์ตามแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน

คู่มือนักศึกษา 2561

19


คู่มือนักศึกษา 2561

20 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 9. การรับและเทียบโอนหน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา หรือ วิทยานิพนธ์จากหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถ ที่สามารถวัดมาตรฐานได้ ทั้งนี้ นักศึกษาต้องศึกษาให้ครบตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดไว้ในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบ และ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเทียบโอนของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อนึ่ง ผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หากเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสาขาวิชา เดียวกันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน ให้เทียบโอนหน่วยกิตได้ไม่เกินร้อยละ 40 ของหลักสูตร ที่จะเข้าศึกษา 10. จานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์ 10.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดใน การพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจานวนและ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.1.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงาน ทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการ อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโท แต่ทั้งนี้ต้องมี คุณวุฒิขั้นต่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี ทั้งนี้อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจาเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 10.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง ให้บุคคล ดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วน หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการ พิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวนหรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิ ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.2.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่าหรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่ สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาเอก แต่ทั้งนี้ต้องมี คุณวุฒิขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ทั้งนี้อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจาเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติเป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.3 ปริญญาโท 10.3.1 อาจารย์ประจาหลักสู ตร มีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 10.3.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย 3 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรั บปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน การพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย

คู่มือนักศึกษา 2561

21


คู่มือนักศึกษา 2561

22 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจานวนและ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.3.3 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็นอาจารย์ประจา หลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และ มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 2) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและคุณสมบัติ ดังนี้ อาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลัก สาหรับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นผู้ ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับ หัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น และแจ้ง คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 10.3.4 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และ ผลงานทางวิชาการดังนี้ 1) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล ดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 2) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และ มีผลงาน ทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความ เห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 10.3.5 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้นต่า


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงาน ทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการ อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ ประจาเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น 10.4 ปริญญาเอก 10.4.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึ กษาเพื่อ รับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง ให้บุคคล ดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 10.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูต ร จานวนอย่างน้อย 3 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วน หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการ พิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจานวนและ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.4.3 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ต้องเป็นอาจารย์ประจาหลักสู ตร มีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงาน ทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 2) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและคุณสมบัติดังนี้ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิและผลงานทาง วิชาการเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก สาหรับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่ เป็นทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงมากเป็นที่ยอม รับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น และแจ้งคณะกรรมการ การอุดมศึกษารับทราบ

คู่มือนักศึกษา 2561

23


คู่มือนักศึกษา 2561

24 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 10.4.4 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก โดย อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการดังนี้ 1) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อ รับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล ดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 2) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงาน ทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรง หรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงมากเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่ง นั้น และแจ้งคณะกรรมการ การอุดมศึกษารับทราบ 10.4.5 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่ สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการ ที่ ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่ กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีรายวิชาที่สอนไม่ใช่วิชาในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมให้อาจารย์ที่มีคุณวุฒิ ระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการต่ากว่ารองศาสตราจารย์ ทาหน้าที่อาจารย์ผู้สอนได้ ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ ประจาเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น 11. ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ 11.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนักศึกษา ปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมได้ไม่เกิน 5 คน ต่อภาคการศึกษา กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดารงตาแหน่งระดับผู้ช่วย ศาสตราจารย์ขึ้นไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทาง วิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมได้ไม่เกิน 10 คน ต่อภาคการศึกษา กรณี อ าจารย์ ป ระจ าหลั ก สู ต รมี คุ ณ วุ ฒิ ป ริ ญ ญาเอกหรื อ เที ย บเท่ า และด ารงต าแหน่ ง ศาสตราจารย์และมีความจาเป็นต้องดูแลนักศึกษาเกินกว่าจานวนที่กาหนดให้เสนอต่อสภาสถาบันพิจารณา แต่ทั้งนี้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา หากมีความจาเป็นต้องดูแลนักศึกษามากกว่า 15 คน ให้ขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นรายกรณี 11.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ของนักศึกษา ปริญญาโทได้ไม่เกิน 15 คน หากเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้คิดสัดส่วนจานวน นักศึกษาที่ทาวิทยานิพนธ์ 1 คน เทียบได้กับจานวนนักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน แต่ทั้งนี้รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา 11.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ/หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และ/หรืออาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรนั้นด้วย 12. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 12.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต จะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 12.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโท หรือเทียบเท่า 12.3 ปริญญาโท จะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 12.4 ปริญญาเอก จะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียน ดีมาก หรือปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา กาหนด 13. การลงทะเบียนเรียนและระยะเวลาการศึกษา ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 15 หน่วยกิตในแต่ละภาค การศึกษาปกติ และให้ใช้เวลาศึกษาในแต่ละหลักสูตร ดังนี้ 13.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 3 ปี การศึกษา 13.2 ปริญญาโท ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 5 ปีการศึกษา 13.3 ปริญญาเอก ผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษา ไม่เกิน 8 ปีการศึกษา ส่วนผู้ที่สาเร็จปริญญาโทแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 6 ปีการศึกษา การลงทะเบียนเรียนสาหรับผู้เข้าศึกษาแบบไม่เต็มเวลา ให้สถาบันอุดมศึกษากาหนดจานวน หน่วยกิตที่ให้ลงทะเบียนเรียนได้ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ โดยเทียบเคียงกับจานวนหน่วยกิต ที่กาหนดข้างต้น ในสัดส่วนที่เหมาะสม หากสถาบันอุดมศึกษาใดมีเหตุผลและความจาเป็นพิเศษ การลงทะเบียนเรียนที่มีจานวน หน่วยกิต แตกต่างไปจากเกณฑ์ข้างต้นก็อาจทาได้ แต่ทั้งนี้ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐานและคุณภาพ การศึกษา 14. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษา นักศึกษาจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ 14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ต้องเรียนครบตามจานวนหน่วยกิต ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า 14.2 ปริญญาโท 14.2.1 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้น สุดท้าย โดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึ กษานั้นแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สาหรับ

คู่มือนักศึกษา 2561

25


คู่มือนักศึกษา 2561

26 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ใน วารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การ พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 14.2.2 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้อง ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบ ผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิด ให้ ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนาเสนอ ต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว 14.2.3 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับ คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือปากเปล่าในสาขาวิช านั้น พร้อมทั้งเสนอรายงานการ ค้นคว้าอิสระและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง โดยเป็น ระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ และรายงานการค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับ การเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้ 14.3 ปริญญาเอก 14.3.1 แบบ 1 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็น ผู้มีสิทธิขอทาวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการ ที่ สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบ เปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สาหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับ การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงาน ทางวิชาการ อย่างน้อย 2 เรื่อง 14.3.2 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับ คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทาวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดย คณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สาหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือ อย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 15. ชื่อประกาศนียบัตรและชื่อปริญญา 15.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ให้ใช้ชื่อว่า “ประกาศนียบัตรบัณฑิต (Graduate Diploma)” อักษรย่อ “ป.บัณฑิต (Grad. Dip.)” แล้วตามด้วยชื่อสาขาวิชาต่อท้าย 15.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้ใช้ชื่อว่า “ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (Higher Graduate Diploma)” อักษรย่อ “ป.บัณฑิตชั้นสูง (Higher Grad. Dip.)” แล้วตามด้วยชื่อสาขาวิชาต่อท้าย 15.3 ปริญญาโทและปริญญาเอก สถาบันอุดมศึกษาที่มีการตราพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย ปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาไว้แล้ว ให้ใช้ชื่อปริญญาตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกานั้น ใน กรณี ที่ ป ริ ญ ญาใดยั ง มิ ไ ด้ ก าหนดชื่ อ ไว้ ใ นพระราชกฤษฎี ก า หรื อ กรณี ที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใดไม่ มี ก ารตรา พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสาหรับ สาขาวิชาให้ใช้ชื่อปริญญาตามหลักเกณฑ์การ กาหนดชื่อปริญญา ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 16. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดย มีองค์ประกอบในการประกันคุณภาพอย่างน้อย 6 ด้าน คือ (1) การกากับมาตรฐาน (2) บัณฑิต (3) นักศึกษา (4) คณาจารย์ (5) หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน (6) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 17. การพัฒนาหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย โดยมีการประเมินและรายงานผลการ ดาเนินการของหลักสูตรทุกปีการศึกษาเพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆ อย่างน้อย ตามรอบ ระยะเวลาของหลักสูตร หรือทุกรอบ 5 ปี 18. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้ หรือมีความจาเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่จะพิจารณา และให้ถือคาวินิจฉัยของ คณะกรรมการการอุดมศึกษานั้นเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2558 (ลงชื่อ) พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือนักศึกษา 2561

27


คู่มือนักศึกษา 2561

28 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 -------------------------เพื่อให้การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นไปอย่างถูกต้องตามมาตรฐานวิชาการ มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ และ สอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนว ทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 23(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 ประกอบกับ มติสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการประชุม ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2559 จึงวางระเบียบไว้ ดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559” ข้อ 2. ระเบียบนี้ให้ใช้สาหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกหลักสูตรตั้งแต่ ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิก 3.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 3.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือประกาศอื่นใดของมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ ระเบียบนี้แทน ข้อ 4. ในระเบียบนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น “อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายความว่า คณบดีของคณะ วิทยาลัย หรือหัวหน้า ส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร”

หมายความว่า

“ประธานหลักสูตร” “สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ”

หมายความว่า หมายความว่า

คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจากคณบดี เพื่อรับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ “บัณฑิตวิทยาลัย” “คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย”

หมายความว่า หมายความว่า

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 5. ให้อธิการบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจออกหลักเกณฑ์ ประกาศ คาสั่ง หรือระเบียบ ปฏิบัติซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการและการปฏิบัติไว้ในระเบียบนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตาม ระเบียบนี้ ให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาและเสนอความเห็นต่ออธิการบดี และให้อธิการบดีมีอานาจ วินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของอธิการบดีให้ถือเป็นที่สิ้นสุด ทั้งนี้การวินิจฉัยหรือตีความให้ยึดประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 หมวดที่ 2 ระบบการจัดการศึกษา ข้อ 6. การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ให้ดาเนินการดังนี้ 6.1 บัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษามาตรฐานของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย 6.2 บัณฑิตวิทยาลัยมีหน้าที่ประสานงานและสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ส่วนคณะและสาขาวิชามีหน้าที่จัดการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 6.3 บัณฑิตวิทยาลัยจัดให้มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาร่วม เพื่อบริหารและจัด การศึก ษาในหลัก สูตรที่มี กระบวนวิ ชาเกี่ย วข้ องกับหลายคณะโดยมีองค์ป ระกอบและหน้าที่ ตามประกาศของ มหาวิทยาลัย ข้อ 7. ระบบการศึกษาเป็นแบบสะสมหน่วยกิตใช้ระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็นสองภาค การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติให้มีระยะเวลาศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ส่วนภาคการศึกษาพิเศษอาจ จัดได้ตามความจาเป็นของแต่ละหลักสูตร โดยให้กาหนดระยะเวลาและจานวนหน่วยกิตมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้ กับการศึกษาภาคปกติ หลักสูตรอาจจัดการศึกษาระบบอื่น เช่น ระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค หรืออื่นๆ ก็ได้ โดยให้ถือแนวทาง ดังนี้ ระบบไตรภาค หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ระบบจตุรภาค หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 10 สัปดาห์

คู่มือนักศึกษา 2561

29


คู่มือนักศึกษา 2561

30 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 8. การคิดหน่วยกิต 8.1 ระบบทวิภาค รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหา ไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต รายวิชาการฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต รายวิชาการศึกษาอิสระ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 8.2 ระบบไตรภาค 1 หน่วยกิต ระบบไตรภาค เทียบได้กับ 12/15 หน่วยกิต ระบบทวิภาค หรือ 4 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 5 หน่วยกิต ระบบไตรภาค 8.3 ระบบจตุรภาค 1 หน่วยกิต ระบบจตุรภาค เทียบได้กับ 10/15 หน่วยกิต ระบบทวิภาค หรือ 2 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 3 หน่วยกิต ระบบจตุรภาค ข้อ 9. การจัดแผนการศึกษา แบ่งเป็น ๓ ประเภทคือ 9.1 การจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดย กาหนดจานวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ สาหรับระบบทวิภาค 9.2 การจัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเวลา (Part-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตร โดยกาหนดจานวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร น้อยกว่า 9 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ สาหรับระบบทวิภาค 9.3 การจัดการศึกษาแบบพิเศษ ให้พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละหลักสูตร โดยความ เห็นชอบของคณะ ข้อ 10. หลักสูตรหนึ่งๆ อาจจัดระบบการศึกษา และหรือจัดแผนการศึกษาแบบใดแบบหนึ่ง หรือหลายแบบได้ ทั้งนี้ ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบการจัดแผนการศึกษาตามวรรคหนึ่งให้เป็นไป ตามประกาศของมหาวิทยาลัย หมวดที่ 3 หลักสูตร ข้อ 11. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ 11.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สร้างเสริมความเชี่ยวชาญ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญา บัณฑิตหรือเทียบเท่ามาแล้ว 11.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ และหรือการวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ในระดับสูงกว่าขั้นปริญญาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิต 11.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สร้างเสริมความเชี่ยวชาญ หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเท่ามาแล้ว 11.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ การวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ในระดับสูงกว่าปริญญามหาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ข้อ 12. โครงสร้างของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 13. ประเภทของหลักสูตร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 13.1 หลักสูตรปกติ (Regular Program) หมายถึง หลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่งที่ใช้ภาษาไทย เป็นสื่อหลักในการเรียนการสอน และ/หรืออาจมีบางรายวิชาที่ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นสื่อในการเรียนการสอนด้วยก็ได้ 13.2 หลักสูตรนานาชาติ (International Program) หมายถึง หลักสูตรที่มีองค์ความรู้ และ เนื้อหาสาระที่มีความเป็นสากล และมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นนานาชาติ เพื่อมุ่งผลิตบัณฑิตให้มี คุณภาพและมาตรฐานสากล โดยใช้ภาษาต่างประเทศเป็นสื่อในการเรียนการสอน คณะหรือสาขาวิชาอาจดาเนินการจัดทาหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่นในลักษณะร่วมแบบหลาย ปริญญา เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับหลักสูตร ทั้งนี้การดาเนินการดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย กาหนด ข้อ 14. ระยะเวลาการศึกษาของแต่ละหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา เป็นดังนี้ 14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ไม่เกิน 3 ปีการศึกษา 14.2 ปริญญามหาบัณฑิต ไม่เกิน 5 ปีการศึกษา 14.3 ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผู้ที่สาเร็จปริญญาบัณฑิตไม่เกิน 8 ปีการศึกษา ส่วนผู้ที่สาเร็จ ปริญญามหาบัณฑิต ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาสาหรับหลักสูตรแบบไม่เต็มเวลาหรือที่จัดการศึกษาแบบอื่น ให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 15. การประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้เป็นไปตาม ระบบการประกันคุณภาพหลักสูตรของมหาวิทยาลัย หมวดที่ 4 อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 16. อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย

คู่มือนักศึกษา 2561

31


คู่มือนักศึกษา 2561

32 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 16.1 อาจารย์ป ระจา หมายถึง บุคคลที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในมหาวิทยาลัย ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติ หน้าที่เต็มเวลา สาหรับอาจารย์ประจาที่มหาวิทยาลัยรับเข้าใหม่ตั้งแต่ระเบียบนี้เริ่มบังคับใช้ ต้องมีคะแนน ทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด 16.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว 16.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการ บริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา 16.4 อาจารย์พิเศษ หมายถึง อาจารย์ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา 16.5 อาจารย์ผู้สอน หมายถึง อาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้งให้ ทาหน้าที่สอนในรายวิชาหรือบางหัวข้อในแต่ละรายวิชา 16.6 อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หมายถึง อาจารย์ประจาที่คณะแต่งตั้งเพื่อทาหน้าที่ให้คาปรึกษา ด้านการศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา 16.7 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่ได้รับแต่งตั้ง ให้รับผิดชอบกระบวนการเรียนรู้เพื่อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เช่น การพิจารณา เค้าโครง การให้คาแนะนาและควบคุมดูแล รวมทั้งการประเมินความก้าวหน้าและการสอบวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระของนักศึกษา 16.8 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (Co-advisor) หมายถึง อาจารย์ประจา หรือ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแต่งตั้ง เพื่อให้ทาหน้าที่ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาหลักในการพิจารณาเค้าโครง รวมทั้งช่วยเหลือให้ คาแนะนาและควบคุมดูแลการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา 16.9 อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง ผู้ที่มิได้เป็นอาจารย์ประจาที่ได้รับการแต่งตั้งให้ ทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์โดยผู้ที่ได้รั บแต่งตั้งนั้นมีคุณสมบัติตามที่กาหนดใน หน้าที่นั้นๆ 16.10 อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณสมบัติและผลงานทาง วิชาการตามที่กาหนดในหน้าที่นั้นๆ แต่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ข้อ 17. คุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบ วิทยานิพนธ์ และอาจารย์พิเศษ ของหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิต ชั้นสูง และปริญญาดุษฎีบัณฑิต ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 18. ภาระงานของอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 19. การบริหารจัดการศึกษาหลักสูตร ให้ดาเนินการ ดังนี้ 19.1 หลักสูตรหนึ่งๆ ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งคณบดี ที่หลักสูตรสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ มีวาระการดารงตาแหน่ง 2 ปี 19.2 องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ทั้งนี้ อาจมีอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็นกรรมการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม 19.3 หน้าที่ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 19.3.1 วางนโยบายและแผนการบริหารจัดการและการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร 19.3.2 ควบคุมมาตรฐานหลักสูตรสาขาวิชาที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) 19.3.3 ดาเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร 19.3.4 ติดตามรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) และจัดทารายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรรวมทั้งให้คาแนะนาเพื่อการพัฒนา ข้อ 20. ให้มีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ เพื่อทาหน้าที่กากับดูแลคุณภาพและการบริหาร จัดการหลักสู ตรระดับบัณ ฑิตศึกษาทุกหลักสูต รในองค์รวมของคณะนั้น ๆ องค์ประกอบและอานาจหน้ าที่ของ คณะกรรมการดังกล่าว ให้เป็นไปตามที่คณะกาหนด หมวดที่ 5 การรับเข้าศึกษา ข้อ 21. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 21.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า ตามที่หลักสูตรกาหนด และมี คุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 21.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบั ณฑิตหรือเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตตามที่ หลักสูตรกาหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 21.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ผู้เข้า ศึกษาต้องเป็นผู้ สาเร็ จการศึกษาประกาศนี ยบัต รบัณฑิ ตหรือ ปริญ ญามหาบัณฑิ ตหรื อ เทียบเท่าตามที่หลักสูตรกาหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิต วิทยาลัยกาหนด 21.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า ที่มีผลการเรียนดีมาก หรือปริญญา มหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด และมีพื้นความรู้

คู่มือนักศึกษา 2561

33


คู่มือนักศึกษา 2561

34 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ความสามารถและศักยภาพเพียงพอที่จะทาวิทยานิพนธ์ได้ หรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ บริหาร หลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ข้อ 22. การรับสมัคร ใบสมัคร ระยะเวลาสมัคร หลักฐานประกอบและเงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 23. การรับเข้าศึกษา การรับบุคคลใดเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ให้ออกเป็นประกาศบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 23.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะเป็นผู้ กาหนดเงื่อนไข วิธีการและจานวนนักศึกษาที่จะรับในแต่ละสาขาวิชา และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัย 23.2 คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยอาจให้ความเห็นชอบในการรับบุคคลเข้าศึกษาเป็น กรณีพิเศษได้ ทั้งนี้ต้องผ่านการพิจารณารับเข้าจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวข้อง 23.3 คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยอาจให้ความเห็นชอบในการรับผู้มีพื้นความรู้ไม่ต่า กว่าปริญญาบัณฑิต และมีคุณสมบัติตามข้อ 21 เข้าศึกษาหรือวิจัยโดยไม่ขอรับปริญญาเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายได้ ทั้งนี้ต้องผ่านการพิจารณารับเข้าจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวข้อง 23.4 ในกรณีที่ผู้สมัครกาลังรอผลการศึกษาขั้นปริญญาบัณฑิต หรือปริญญามหาบัณฑิตแล้วแต่ กรณี การรับเข้าศึกษาจะมีผลสมบูรณ์เมื่อผู้สมัครส่งหลักฐานการสาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งตามที่ หลักสูตรที่เข้าศึกษานั้นกาหนด ภายในเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 23.5 การรับนักศึกษาต่างชาติ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น 23.6 การรับนักศึกษาจากหลักสูตรความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาอื่นให้เป็นไปตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย กรณีไม่เป็นไปตาม ข้อ 23.1 – 23.6 ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมประจาบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 24. การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 25. ประเภทของนักศึกษา แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 25.1 นักศึกษาสามัญ คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าเป็นนักศึกษาโดยสมบู รณ์ในแต่ละ สาขาวิชา หรือรับเข้าเป็นนักศึกษาทดลองศึกษาตามเงื่อนไขของแต่ละสาขาวิชา ซึ่งเมื่อผ่านการประเมินผลหรือครบ เงื่อนไขของแต่ละสาขาวิชา จึงจะได้รับเข้าเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรในสาขาวิชาต่างๆ เพื่อรับปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร 25.2 นักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกร่วมเรียน คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าเป็น นักศึกษาโดยไม่ขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร การดาเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกร่วม เรียนให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หมวดที่ 6 การลงทะเบียนวิชาเรียน ข้อ 26. การลงทะเบียนและการเพิ่มหรือถอนวิชาเรียน 26.1 การลงทะเบียนวิชาเรียนแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 26.1.1 การลงทะเบียนโดยนับหน่วยกิตและคิดค่าคะแนน (Credit) 26.1.2 การลงทะเบียนโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit) 26.2 การลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลาต้องลงทะเบียนวิ ชาเรียนไม่น้อยกว่ า 9 หน่วยกิต และไม่มากกว่า 15 หน่วยกิต นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเวลาต้องลงทะเบียนวิชาเรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และไม่มากกว่า 8 หน่วยกิต นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่เข้าศึกษาในภาคเรียนที่หนึ่งและ นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ยังสอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) อาจ ได้รับการยกเว้นไม่ต้องลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้นๆ โดยการอนุมัติของคณบดี ตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้ต้องต่อทะเบียนนักศึกษาและชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาเต็มตามอัตราที่ กาหนด 26.3 ในภาคการศึกษาพิเศษนักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนได้ไม่เกิน 6 หน่วยกิต 26.4 การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยกว่าหรือมากกว่าที่กาหนดในข้อ 26.2 และ 26.3 จะกระทา ได้ในกรณีที่จานวนหน่วยกิตที่เหลือตามหลักสูตรมีจานวนน้อยกว่า หรือมากกว่าที่กาหนดไว้ข้างต้น และจาเป็นต้อง สาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวข้อง ตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 26.5 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนซ้าเพื่อคิดค่าคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียน และได้ผล การเรียนตั้งแต่ระดับคะแนน B ขึ้นไปแล้วมิได้ ในกรณีที่นักศึกษาเรียนครบรายวิชาตามหลักสูตรแล้ว แต่ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 3.00 จะ สามารถลงทะเบียนวิชาเรียนซ้าเพื่อคิดค่าคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียนและได้ผลการเรียนต่ากว่าระดับคะแนน A ได้ 26.6 นักศึกษาที่เรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแล้วแต่ยังไม่สาเร็จการศึกษา และนักศึกษาที่ลา พักการศึกษาจะต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด 26.7 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิชาที่บรรจุอยู่ในแผนการเรียนตามหลักสูตรหรือรายวิชาที่ เทียบเท่าในสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพื่อนับเป็นวิชาตามแผนการเรียนตามหลักสูตรได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและได้รับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวข้อง ข้อ 27. เกณฑ์การขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 28. การโอนหน่วยกิตและค่าคะแนนของรายวิชาที่ได้ศึกษามาแล้วทั้งจากสถาบันการศึกษาอื่นและ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 29. การเปลี่ยนสาขาวิชา

คู่มือนักศึกษา 2561

35


คู่มือนักศึกษา 2561

36 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้เมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต มี รายวิชาที่สามารถโอนเข้าสาขาวิชาใหม่ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และทุกวิชาที่จะขอโอนต้องได้ระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แล้วแต่กรณี และได้ศึกษามาแล้วไม่เกิน 3 ปี สาหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้หลังจากที่ได้ลงทะเบียนเรียนแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และได้ศึกษา มาแล้วไม่เกิน 3 ปี โดยมีศักยภาพในการทาวิทยานิพนธ์ในสาขาวิชาใหม่ได้ การดาเนินการเปลี่ยนสาขาวิชาให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 30. การเปลี่ยนระดับการศึกษา นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่ต่ากว่า อาจได้รับการพิจารณาให้โอนเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกว่า หรือในทางกลับกัน นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกว่า อาจได้รับการพิจารณาให้โอนเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับที่ ต่ากว่าได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในหลักสูตรนั้นๆ และ/หรือประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย หมวดที่ 7 การวัดและประเมินผลการศึกษา ข้อ 31. การวัดและประเมินผลการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ 31.1 การสอบรายวิชา นักศึกษาจะต้องสอบรายวิชาทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน เว้นแต่ รายวิชาที่ได้ถอนโดยถูกต้องตามระเบียบ ให้อาจารย์ประจาวิชาส่งผลการประเมินผลรายวิชาตามแบบฟอร์มของ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ผ่านความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่ เกี่ยวข้อง แล้วแจ้งให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 31.2 การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) เป็นการสอบข้อเขียนหรือ การสอบปากเปล่า หรือการสอบทั้งสองแบบข้างต้น สาหรับนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข การสอบ ประกอบด้วยวิ ชาในสาขาวิ ชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ซึ่ ง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอคณบดีเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้ง 31.3 การสอบวิทยานิพนธ์ เป็นการสอบเพื่อประเมินผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาใน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ประกอบด้วยการตรวจอ่านและ ประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีการสอบปากเปล่า และการประชุมพิจารณาผลงานของ กรรมการ โดยให้มีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์เป็นผู้สอบ 31.4 การสอบการศึกษาอิสระ เป็นการสอบเพื่อประเมินผลงานการศึกษาอิสระของนักศึกษาใน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข โดยคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ประกอบด้วย การตรวจอ่านและ ประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีการสอบปากเปล่า และการประชุมตัดสินผลงานของ กรรมการ 31.5 การสอบวัดคุณสมบัติ เป็นการสอบวัดความรู้ความสามารถของนักศึกษาในสาขาวิชาเอก


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินว่านักศึกษามีความสามารถที่จะดาเนินการวิจัยโดยอิสระ และเป็นผู้มีสิทธิ์เสนอขอ อนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้ ซึ่งกาหนดให้นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสู ตรปริญญา ดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 และ แบบ 2 ต้องสอบผ่าน โดยมีหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติดังนี้ 31.5.1 การสอบวัดคุณสมบัติเป็นการสอบข้อเขียนหรือการสอบปากเปล่า หรือทั้งสอง แบบในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 31.5.2 ให้คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติเป็นผู้ดาเนินการจัดสอบวัดคุณสมบัติภาค การศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่จาเป็นอาจจัดการสอบในภาคการศึกษาพิเศษได้ คณะกรรมการสอบวัด คุณสมบัติประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน โดยอาจจะมีกรรมการซึ่งเป็นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยร่วมด้วย ไม่เกิน 2 คน ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อให้คณบดีที่หลักสูตรสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง 31.5.3 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ คือ (1) นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรก เป็นต้นไป (2) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่มีความประสงค์จะขอเปลี่ยน ระดับการศึกษา แผน ก แบบ ก 2 ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ได้ลงทะเบียนเรียน รายวิชาที่ประเมินผลเป็น A B+ B C+ C D+ D F มาแล้วไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในภาค สุดท้ายก่อนการสอบวัดคุณสมบัติไม่ต่า 3.5 หรือนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัย เพื่อทาวิทยานิพนธ์อันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดุษฎีบัณฑิตได้ ทั้งนี้โดยได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร/สาขาวิชา และคณะที่หลักสูตรสังกัด 31.5.4 การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติ ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน ให้ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบต่อคณะ สานักบริหารและพัฒนา วิชาการและบัณฑิตวิทยาลัย ผ่าน หัวหน้าสาขาวิชา/ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 31.5.5 นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติผ่านแล้ว จะเรียกว่านักศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต มีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้ 31.5.6 นักศึกษา ตามข้อ 31.5.3 (1) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งแรกไม่ผ่า นสามารถขอ สอบได้อีก 1 ครั้ง และต้องสอบวัดคุณสมบัติให้ได้ภายใน 2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ลงทะเบียน รายวิชาวิทยานิพนธ์ นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแล้วไม่ผ่าน จะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 ข้อ 55.8 เว้นแต่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนระดับการศึกษา ให้เป็นไป ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย 31.5.7 นักศึกษาตามข้อ 31.5.3 (2) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแล้วไม่ผ่าน จะยังคง มีสภาพเป็นนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตต่อไป 31.6 การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาในหลักสูตร ปริญญาดุษฎีบัณฑิตให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 2 ปี โดยเป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

37


คู่มือนักศึกษา 2561

38 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 32. การสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ และการประเมินความรู้ความสามารถทาง ภาษาต่างประเทศ ตามข้อ 31.2, 31.5, 31.6 ให้บัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิต วิทยาลัยเป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ข้อ 33. การลงโทษนักศึกษาที่ทาการทุจริตทางวิชาการให้ดาเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยวินัย นักศึกษา พ.ศ. 2551 และประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 1365/2550 เรื่อง แนวปฏิ บัติและเกณฑ์การ พิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา หรือข้อบังคับและประกาศที่ ปรับปรุงใหม่ ข้อ 34. การประเมินผลการศึกษา ให้กระทาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาค ยกเว้นรายวิชาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ให้มีการประเมินผลได้ก่อนสิ้นภาคการศึกษา ข้อ 35. การประเมินผลรายวิชา ให้กาหนดระดับคะแนนหรือสัญลักษณ์ ซึ่งมีความหมาย และค่าคะแนนดังนี้ ระดับคะแนน ความหมาย ค่าคะแนนต่อหน่วยกิต A ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม (Excellent) 4.0 B+ ผลการประเมินขั้นดีมาก (Very Good) 3.5 B ผลการประเมินขั้นดี (Good) 3.0 C+ ผลการประเมินขั้นค่อนข้างดี (Fairly Good) 2.5 C ผลการประเมินขั้นพอใช้ (Fair) 2.0 D+ ผลการประเมินขั้นอ่อน (Poor) 1.5 D ผลการประเมินขั้นอ่อนมาก (Very Poor) 1.0 F ผลการประเมินขั้นตก (Failed) 0 สัญลักษณ์ ความหมาย I การวัดผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) ใช้สาหรับรายวิชาที่มีค่าคะแนน ในกรณีนักศึกษาไม่สามารถเข้าสอบได้โดยเหตุสุดวิสัย โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิ ชาจะต้องระบุสาเหตุของการให้สัญลักษณ์ I และแจ้งให้นักศึกษาทราบภายใน 1 เดือน นับจากวันที่ประกาศผลการประเมิน และการแก้สัญลักษณ์ I ให้ดาเนินการภายในภาคการศึกษาถัดไป มิฉะนั้น จะเปลี่ยนสัญลักษณ์ เป็น F เว้นแต่ในกรณีที่จาเป็นโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจาคณะที่รายวิชานั้นสังกัด และให้คณบดีที่รายวิชานั้นสังกัด มีอานาจอนุมัติให้ขยายเวลาได้ โดยต้องแจ้งให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบล่วงหน้า S ผลการศึกษาเป็นที่พอใจ (Satisfactory) ใช้สาหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน โดยไม่นับหน่วยกิต (Audit) U ผลการศึกษายังไม่เป็นที่พอใจ (Unsatisfactory) ใช้สาหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน โดยไม่นับหน่วยกิต


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ W ถอนวิชาเรียนแล้ว (Withdrawn) ใช้สาหรับรายวิชาที่ได้รับอนุมัติให้ถอน หรือใช้ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หรือใช้ในกรณีที่นักศึกษาถูกสั่งพักการศึกษาในภาค การศึกษานั้น ข้อ 36. การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบภาษาต่างประเทศ ให้เป็นดังนี้ S (Satisfactory) หมายความว่า สอบผ่าน U (Unsatisfactory) หมายความว่า สอบไม่ผ่าน การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติจะสอบได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ในแต่ละหลักสูตร สาหรับการสอบภาษาต่างประเทศ ไม่จากัดจานวนครั้งที่สอบ ข้อ 37. นักศึกษาที่ได้ระดับคะแนนต่ากว่า C หรือได้ U แล้วแต่กรณี ในหมวดวิชาบังคับถือว่าต่ากว่า มาตรฐาน ให้ลงทะเบียนเรียนซ้า ข้อ 38. การนับจานวนหน่วยกิตและคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม 38.1 ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งมากกว่า 1 ครั้ง ให้นับจานวนหน่วยกิต ตาม หลักสูตรในวิชานั้นเพียงครั้งเดียว 38.2 ในการคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average) ให้คานวณจาก ทุกรายวิชาที่มีค่าคะแนน ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิ ชาใดมากกว่า 1 ครั้ง ให้นาจานวนหน่วยกิตและค่า คะแนนที่ได้ทุกครั้งไปใช้ในการคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม การคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสมให้ตั้งหารถึงทศนิยม 4 ตาแหน่ง และให้ปัดเศษเฉพาะทศนิยมที่มีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ตั้งแต่ตาแหน่งที่ 4 เพื่อให้เหลือทศนิยม 2 ตาแหน่ง หมวดที่ 8 การทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 39. การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระกระทาได้เมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบตามที่ แต่ ละหลัก สูตรกาหนด โดยได้ รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึ กษาวิท ยานิพนธ์หรือ การศึก ษาอิสระ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์อื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 40. การเสนออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 40.1 ปริญญาโทต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ 40.2 ปริญญาเอกต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 2 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ข้อ 41. การควบคุมวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจมีอาจารย์ ที่ปรึกษาร่วมได้อีกตามความเหมาะสมแต่ละกรณี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศหรือข้อกาหนดของแต่ละคณะ (ถ้ามี) ข้อ 42. การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 42.1 การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต้องกระทาในทุก ภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่เกี่ยวข้อง 42.2 อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ มี ห น้ า ที่ ใ นการประเมิ น ผล ความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพ นธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา และรายงานผลการประเมินต่อคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการประจาคณะ และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ

คู่มือนักศึกษา 2561

39


คู่มือนักศึกษา 2561

40 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 42.3 ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทา วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเป็นที่พอใจ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา โดยระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระที่ได้รับการประเมินให้ได้สัญลักษณ์ S ของนักศึกษาแต่ละคนในแต่ละภาคการศึกษานั้น แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน (หากผลการประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้า จานวนหน่วยกิตที่ได้ในภาค การศึกษานั้นๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์)) ต้นฉบับร่างวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบ และ ต้นฉบับผลงานวิทยานิพนธ์ ที่ต้องตีพิมพ์หรือเผยแพร่ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของ วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ซึ่งต้องกาหนดจานวนหน่วยกิต ตามความเหมาะสมแล้วแต่กรณี 42.4 นั กศึก ษาที่ ลงทะเบียนวิทยานิพ นธ์ หรือ การศึกษาอิส ระแล้ว ได้รั บการประเมิ นผล ความก้าวหน้าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรพิจารณาหาสาเหตุ ซึ่งอาจให้นักศึกษาผู้ นั้นได้รับการพิจารณาให้เปลี่ยนหัวข้อเรื่องวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระหรือเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ หรืออื่นๆแล้วแต่กรณี และประธานหลักสูตรต้องรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาต่อคณบดี เพื่อหาข้อยุติ ข้อ 43. ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ซึ่งมีผลต่อการ เปลี่ย นแปลงสาระสาคัญ ของเนื้อ หาวิ ทยานิ พนธ์ห รือ การศึก ษาอิส ระ ให้ อาจารย์ ที่ป รึก ษาประเมิ นจ านวน หน่วยกิตจากหัวข้อเดิม ทีส่ ามารถนาไปใช้กับหัวข้อใหม่ได้ แต่ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ผ่านในหัวข้อเดิม ทั้งนี้ให้ นับจานวนหน่วยกิตดังกล่าว เป็นจานวนหน่วยกิตที่ผ่านได้สัญลักษณ์ S ซึ่งสามารถนามานับเพื่อสาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรได้ โดยต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พร้อมทั้งให้ คณะแจ้งสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน และให้บันทึกการเปลี่ยนแปลงในประวัติการศึกษา ข้อ 44. การสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 44.1 การดาเนินการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต้องสอบภายในเวลา 45 วัน หลังจาก ที่นักศึกษาผ่านการประเมินผลความก้าวหน้าและได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้นๆ ในการรายงานการประเมินผลความก้าวหน้าครั้งสุดท้ายซึ่งนักศึกษาผ่านและได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของหลั กสูตรนั้น อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเสนอให้ คณบดีแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ รวมทั้งให้เสนอวันที่จะทาการสอบไปพร้อมกันด้วย ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน ให้ถือว่า การได้สัญลักษณ์ S ในการ ประเมินครั้งสุดท้ายเป็นโมฆะ 44.2 การสอบวิทยานิพนธ์ 44.2.1 ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รเป็ น ผู้ พิ จ ารณาเสนอให้ ค ณะแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 44.2.2 การสอบวิทยานิพนธ์ ต้องเป็นแบบเปิด โดยการเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังการ นาเสนอและตอบคาถามของผู้เข้าสอบได้ และคณะต้องประกาศให้ผู้สนใจทราบก่อนการสอบไม่น้อยกว่า 7 วัน คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์มีอานาจ ในการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ผู้เข้าฟังถาม หรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการจากัดเวลาการถาม และการควบคุมให้ ดาเนินการสอบเป็นไปโดยเรียบร้อย 44.2.3 ในวันสอบ จะต้องมีคณะกรรมการสอบจานวนไม่น้อยกว่าตามที่กาหนด ตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบตามจานวนดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ใน กรณีที่จาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้ มีเวลาพอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ใช้ตรวจอ่านวิทยานิพนธ์ได้ 44.2.4 ผู้ ป ระเมิ น ผลการสอบต้ อ งเป็ น กรรมการสอบที่ อยู่ ร่ ว มในวั น สอบ การ ประเมินผลโดยให้นับ (คณะ) อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น 1 อาจารย์ประจาหลักสูตรเป็น 1 และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็น 1 และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด 44.3 การสอบการศึกษาอิสระ 44.3.1 ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รเป็ น ผู้ พิ จ ารณาเสนอให้ ค ณะแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 44.3.2 การสอบการศึกษาอิสระ ต้องเป็นแบบเปิด โดยการเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟัง การนาเสนอและตอบคาถามของผู้เข้าสอบได้ และคณะต้องประกาศให้ผู้สนใจทราบก่อนการสอบไม่น้อยกว่า 7 วัน คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระมีอานาจ ในการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ผู้เข้าฟัง ถามหรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของการศึกษาอิสระ รวมทั้งการจากัดเวลาการถาม และการควบคุมให้ ดาเนินการสอบเป็นไปโดยเรียบร้อย 44.3.3 ในวันสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบจานวนไม่น้อยกว่าตามที่กาหนดตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบตามจานวนดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ใน กรณีที่จาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้ มีเวลาพอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ใช้ตรวจอ่านการศึกษาอิสระได้ 44.3.4 ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบทุกคน การประเมินผลโดย อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมให้นั บคะแนนเป็น 1 และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการจานวน ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด การสอบตามนัยนี้จะสอบได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ข้อ 45. การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิต วิทยาลัย แบ่งเป็น 4 ระดับคือ Excellent หมายความว่า ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม Good หมายความว่า ผลการประเมินขั้นดี

คู่มือนักศึกษา 2561

41


คู่มือนักศึกษา 2561

42 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ Pass หมายความว่า ผลการประเมินขั้นผ่าน Fail หมายความว่า ผลการประเมินขั้นตก ข้อ 46. ให้ประธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรแก่คณบดีและผู้เข้าสอบ ภายใน 5 วันทาการถัดจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการแจ้งผลได้ภายในวันที่กาหนด ถือว่าการสอบครั้งนั้น เป็นโมฆะ 46.1 ในกรณีสอบผ่านแต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องแก้ไข พร้อมทั้ง มีการอธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และคณะกรรมการสอบให้ความ เห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนดดังกล่าวให้ถือว่าไม่ผ่านในการ สอบครั้งนั้น ให้คณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี 46.2 กรณีสอบไม่ผ่านคณะกรรมการต้องสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไม่ให้ผ่าน โดยบันทึก เป็ น ลายลัก ษณ์ อั ก ษร รายงานต่อ คณบดี ภ ายใน 3 วั นท าการถั ดจากวั น สอบให้ ค ณะแจ้ งผลการสอบให้ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน ข้อ 47. หากนักศึกษาขาดสอบโดยไม่มีเหตุสุดวิสัย ให้ถือว่าสอบไม่ผ่านในการสอบครั้งนั้น ข้อ 48. ผู้สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่านตามข้อ 46.2 มีสิทธิยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ได้ ภายใน 15 วันหลังวันสอบ และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ ในกรณีที่ไม่ผ่านการสอบตามนัยแห่งข้อ 46.1 ให้ยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วันหลังวันครบกาหนดการ แก้ไข และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข การขอสอบทั้ง 2 กรณี ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือค่าลงทะเบียนสอบตามที่คณะกาหนด หากไม่ดาเนินการ ตามกาหนดข้างต้น ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา การให้โอกาสสอบครั้งที่ 2 นี้ ไม่เป็นเหตุให้ได้รับการยกเว้น หรือมิต้องปฏิบัติตามระเบียบหรือ หลักเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ที่อื่นแต่อย่างใด ข้อ 49. รูปแบบการพิมพ์ การส่งเล่ม และลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 49.1 รูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระให้เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 49.2 นักศึกษาต้องส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ตามจานวนลักษณะ และระยะเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 49.3 ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระเป็นของมหาวิทยาลัยขอนแก่น นักศึกษาและ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ สามารถนาไปเผยแพร่ในเชิงวิชาการได้ แต่การนาเนื้อหาหรือผลจากการศึกษาไปใช้เพื่อประโยชน์อื่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัย กาหนด กรณีที่การทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระได้รับทุนวิจัยที่มีข้อผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์หรือ สิทธิบัตรโดยได้รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ให้ดาเนินการตามข้อผูกพันนั้นๆ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หมวดที่ 9 การสาเร็จการศึกษา ข้อ 50. การสาเร็จการศึกษา ให้คณะกรรมการประจาคณะเป็นผู้อนุมัติการสาเร็จการศึกษา และให้ถือวันที่ได้รับอนุมัตินั้นเป็นวันสาเร็จ การศึกษา และนักศึกษาจะสาเร็จการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้ 50.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 50.1.1 สอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร 50.1.2 ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาตามหลักสูตร ไม่ต่ากว่า 3.00 50.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต 50.2.1 มีความรู้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 50.2.2 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้น สุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มี คุณภาพ 502.3 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร ได้คะแนน เฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดย คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงาน หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ หรือเสนอต่อที่ ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน 50.2.4 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร ได้คะแนนเฉลี่ย สะสมไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอรายงานการศึกษาอิสระ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดย คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ และผลงานรายงานการศึกษาอิสระจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่ที่ มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน 50.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต 50.3.1 ผ่ า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ความรู้ ค วามสามารถทางภาษาต่ า งประเทศตาม ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 50.3.2 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 50.3.3 แบบ 1 เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดย คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือ อย่ า งน้ อ ยได้ รั บ การยอมรั บ ให้ ตี พิม พ์ ใ นวารสารระดั บ นานาชาติ จานวน 1 เรื่ อ ง และวารสารระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติที่มีคุณภาพอีก 1 เรื่อง 50.3.4 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตรได้คะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบ

คู่มือนักศึกษา 2561

43


คู่มือนักศึกษา 2561

44 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ วิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยหรือหลักสูตรอาจกาหนดเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาที่ไม่ต่ากว่าข้อ 50.2 หรือ ข้อ 50.3 แล้วแต่กรณีได้ ข้อ 51. การขออนุมัติปริญญา 51.1 นักศึกษาผู้คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา ให้ยื่นคาร้องแสดงความจานง ขอสาเร็จการศึกษาต่อคณะล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษานั้น 51.2 นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะได้ รั บ การพิ จ ารณาเสนอชื่ อ จากคณะเพื่ อ ขออนุ มั ติ ป ริ ญ ญาต่ อ สภา มหาวิทยาลัย ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 51.2.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาตามข้อ 50 51.2.2 ไม่ค้างชาระค่าธรรมเนียมต่างๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ 51.2.3 เป็นผู้ไม่อยู่ในระหว่างการดาเนินการทางวินัยนักศึกษา 51.2.4 ส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จัดทาตามรูปแบบและจานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 51.2.5 การเสนอชื่อผู้สาเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัย ให้ เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 52. ในกรณีที่มีเหตุผลที่จาเป็นและสมควร มหาวิทยาลัยอาจพิจารณามิให้ผู้สาเร็จการศึกษาผู้หนึ่งผู้ใด เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรก็ได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 53. การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร สภามหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรซึ่งได้อนุมัติแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ผู้หนึ่งผู้ใดไปแล้วตามกรณีดังต่อไปนี้ 53.1 ผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้น ไม่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามนัยของคุณสมบัติผู้มีสิทธิเข้าศึกษาหรือ ผู้สาเร็จการศึกษา ของหลักสูตรที่ตนได้สาเร็จการศึกษา ตามข้อ 21 หรือ ข้อ 50 แห่งระเบียบนี้ การเพิกถอน ปริญญาหรือประกาศนียบัตร มีผลตั้งแต่วันที่สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรให้กับบุคคลนั้น 53.2 วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ หรือผลงานทางวิชาการอื่นที่เป็นองค์ประกอบสาคัญต่อ การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ของผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้น ลอกเลียนงานผู้อื่น หรือดัดแปลงข้อมูลที่ไม่เป็น ข้อเท็จจริง หรือปลอมแปลงผลงานวิจัย หรือมิได้กระทาด้วยตนเอง การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร ให้มี ผลตั้งแต่วันที่สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรให้กับบุคคลนั้น 53.3 ผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้นได้กระทาการอันเป็นที่เสื่อมเสียร้ายแรงต่อมหาวิทยาลัย หรือต่อ ศักดิ์ศรีแห่งปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่ตนได้รับ การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรในกรณีนี้ ให้มีผล ตั้งแต่วันที่สภามหาวิทยาลัยมีมติเพิกถอน


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หมวดที่ 10 สถานภาพของนักศึกษา ข้อ 54. การลาพักการศึกษาและการลาออกของนักศึกษา 54.1 นักศึกษาผู้ประสงค์จะลาพักการศึกษา ต้องยื่นคาร้องต่อคณะที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านการ พิจารณาของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และประธานหลักสูตร เพื่อเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ 54.2 การลาพักการศึกษามี 2 ลักษณะ ดังนี้ 54.2.1 การลาพักการศึกษาหลังจากได้ลงทะเบียนรายวิชาในแต่ละภาคการศึกษา ตามเวลาที่ปฏิทินการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษากาหนด และชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาในภาคการศึกษานั้น เรียบร้อยแล้ว แต่ ภายหลัง มีความประสงค์ขอลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ต้องยื่นคาร้องและได้รับอนุมัติ ให้ลาพักการศึกษา ก่อนการสอบประจาภาคตามปฏิทินการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกาหนดไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์ ยกเว้นกรณีที่มีสาเหตุสุดวิสัยหรือเจ็บป่วยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะ การลาพักการศึกษา ในกรณีที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาแล้ว จะได้สัญลักษณ์ W และ นักศึกษาไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมการลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น 54.2.2 การลาพั ก การศึ ก ษา กรณี ยั งไม่ ไ ด้ ล งทะเบี ย นรายวิ ชา ให้ ยื่ น ค าร้ อ งผ่ า น กระบวนการ หลังจากที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา และยื่นตามเวลาที่ปฏิทินการศึกษากาหนด นักศึกษาต้อง ชาระค่าธรรมเนียมการลาพักการศึกษา ในอัตราที่มหาวิทยาลัยกาหนด 54.3 การลาพักการศึกษาให้ลาพักได้ไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร การนับเวลา การลาพักการศึกษา ให้นับรวมอยู่ในระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ยกเว้นนักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพัก การศึกษา เนื่องจากถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ 54.4 นักศึกษาใหม่ที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าศึกษาในภาคการศึกษาแรก ไม่มีสิทธิลาพักการศึกษา ยกเว้น มีเหตุจาเป็นสุดวิสัยหรือเจ็บป่วย 54.5 นักศึกษาผู้ประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา ต้องยื่นคาร้องต่อคณะที่เกี่ยวข้องโดย ผ่านการพิ จารณาของอาจารย์ ที่ปรึ กษาทั่วไปหรือ อาจารย์ที่ ปรึก ษาวิท ยานิ พนธ์ หรือการศึ กษาอิสระ ประธาน หลักสูตร และคณบดีเพื่อเสนออธิการบดีพิจารณาอนุมัติ ข้อ 55. การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาต่อเมื่ออยู่ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ 55.1 ตาย 55.2 ลาออกและได้รับอนุมัติแล้ว 55.3 สาเร็จการศึกษา 55.4 มหาวิทยาลัยสั่งให้ออก อันเนื่องมาจากการฝ่าฝืนระเบียบการลงทะเบียนและการชาระ ค่าธรรมเนียมการศึกษา 55.5 เรียนได้จานวนหน่วยกิตไม่เกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่าคะแนน ในหลักสูตร และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.50

คู่มือนักศึกษา 2561

45


คู่มือนักศึกษา 2561

46 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 55.6 เรียนได้จานวนหน่วยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่าคะแนน และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.75 55.7 ไม่มีความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดต่อกัน โดยได้สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ หากได้ S เป็น 0 ก่อนและหลังการลาพักการศึกษา ถือว่าเป็นการได้ สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา 55.8 สอบวิทยานิพนธ์ หรือสอบประมวลความรู้ หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัด คุณสมบัติครั้งที่สองไม่ผ่าน 55.9 หลังการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน หากไม่ดาเนินการและ/หรือ สอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระครั้งที่ 2 ตามระยะเวลาที่กาหนด 55.10 ใช้เวลาการศึกษาครบตามที่หลักสูตรกาหนดแล้ว 55.11 นักศึกษาสามัญที่คงสภาพเป็นนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กาหนด 55.12 ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดอันได้กระทา โดยประมาท 55.13 ถูกลงโทษทางวินัยให้ออกจากการเป็นนักศึกษา ข้อ 56. การขอกลับเข้าเป็นนักศึกษา นักศึกษาที่พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามข้อ 55.2 55.4 อาจขอสถานภาพการเป็นนักศึกษาคืนได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 57. หลักสูตรใหม่ หรือหลักสูตรปรับปรุงที่ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อนวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ให้ใช้เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ทั้งนี้หลักสูตรต้องได้รับการปรับปรุงและใช้ระเบียบนี้ภายใน 5 ปี นับจากการปรับปรุงครั้งสุดท้าย หรือเปิดสอนครั้งแรกของหลักสูตรนั้นๆ แล้วแต่กรณี หมวดที่ 11 บทเฉพาะกาล ข้อ 58. บรรดาประกาศ หรือคาสั่ง หรือหลักเกณฑ์อันเกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีอยู่ ก่อนระเบียบนี้มีผลบังคับใช้ ให้ยังคงมีผลบังคับใช้ต่อไป จนกว่าจะได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน หลังวันประกาศใช้ระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) ณรงค์ชัย อัครเศรณี (นายณรงค์ชัย อัครเศรณี) นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1365 /2550) เรือ่ ง แนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อให้การพิจารณาโทษทางวิชาการ สาหรับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาที่กระทาทุจริตทาง วิชาการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีบรรทัดฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2541 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่ 4กันยายน 2550 และที่ประชุมคณบดีในคราวประชุม ครั้งที่ 16/2550 เมื่อ วันที่ 14 กันยายน 2550 จึงออกประกาศกาหนด แนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1365./2550) เรื่อง แนว ปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ออกประกาศ เป็นต้นไป ข้อ 3. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะ บั ณฑิ ตวิท ยาลัย หรือหน่ว ยงานที่ มีห ลัก สูต ร ระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายถึง คณบดี ข องคณะ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย หรื อ หั ว หน้ า หน่วยงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “วิทยานิพนธ์” หมายถึง รายงานผลการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลั ก สู ต ร ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาที่ ก าหนดให้ ท า วิทยานิพนธ์ “การศึกษาอิสระ” หมายถึง รายงานการศึกษาอิสระที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข “ผลงานทางวิชาการ” หมายถึง รายงานในรายวิชาหรือรายงานผลการวิจั ยในการทา วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ รายงานผลการศึ ก ษาอิ ส ระของ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 4. การทุจริตทางวิชาการ ประกอบด้วย 4.1 การลอกเลียนผลงานทางวิชาการ หมายถึง การลอกเลียนข้อความของผู้อื่นโดยไม่มี การอ้างอิงหรือปกปิดแหล่งที่มาหรือการเสนอความคิด หรือนาผลงานทางวิชาการที่มีผู้อื่นกระทาไว้มาเป็นของตนเอง 4.2 การสร้างข้อมูลเท็จ หมายถึง การตกแต่งข้อมูลหรือการสร้างข้อมูลที่ไม่ตรงกับ ความเป็นจริง

คู่มือนักศึกษา 2561

47


คู่มือนักศึกษา 2561

48 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.3 การไม่ ทาผลงานวิ ชาการด้ วยตนเอง หมายถึ ง การจ้ าง หรือ ให้ ผู้อื่ นท าผลงาน วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ทั้งนี้ไม่รวมถึงการจ้างพิมพ์ การแปลบทคัดย่อและการวิเคราะห์ข้อมูลบางส่วน 4.4 การรับ จ้า งทาผลงานวิชาการ หมายถึง การรับ จ้างทาผลงานวิทยานิพนธ์ห รือ การศึกษาอิสระให้ผู้อื่น ทั้งนี้ไม่รวมถึงการรับจ้างพิมพ์ รับจ้างการแปลบทคัดย่อและการรับจ้างวิเคราะห์ข้อมูล บางส่วน ข้อ 5. เมื่อพบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมหรือถูกกล่าวหาทุจริตทางวิชาการให้คณะที่นักศึกษา สังกัดแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง และให้ดาเนินการสอบหาข้อเท็จให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วันที่ได้รับทราบคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ข้อ 6. ให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนินการรวบรวมหลั กฐานและสอบสวนข้อเท็จจริงต่าง ๆ โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือนาหลักฐานมาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา และให้คณะกรรมการจัดทา รายงานการสอบข้อเท็จจริงเสนอคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาโทษ ข้อ 7. ให้คณะกรรมการประจาบั ณฑิตวิทยาลัย พิจารณาโทษจากทุกองค์ประกอบทั้งพยาน บุคคล เอกสารและหลักฐาน และพิจารณาปรับโทษตามสมควรแก่กรณี ดังนี้ 7.1 ทุจริตทางวิชาการในรายวิชา 7.1.1 ให้ได้คะแนน F หรือ U ในรายวิชานั้นพร้อมทั้งภาคทัณฑ์ไว้ตลอดการมีสภาพ เป็นนักศึกษา หรือ 7.1.2 ให้พักการศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 7.1.3 ให้ได้คะแนน F หรือ U ทุกรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ทั้งนี้ การทุจริตการสอบในรายวิชาที่เป็นการจัดสอบให้ปฏิบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1073/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิ ชาการนักศึกษาที่กระทาความผิดอันมี สาเหตุมาจากการสอบ 7.2 รายวิชาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 7.2.1 ให้ปรับผลการประเมิน S เป็น 0 (ศูนย์) ทั้งหมดและให้นักศึกษาเริ่มขั้นตอน การทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระใหม่ หรือ 7.2.2 ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา หรือ 7.2.3 กรณีสาเร็จการศึกษาแล้วให้เสนอสภามหาวิทยาลัยเพิกถอนปริญญา ตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 ข้อ 58.2 ข้อ 8. การอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวิชาการให้ดาเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946/2550) เรื่องแนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระโดยอนุโลม ข้อ 9. ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ออกคาสั่งลงโทษนักศึกษา และแจ้งให้นักศึกษา สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัยทราบ ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ออกคาสั่ง


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 10. ให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการบันทึกผลและประวัติการลงโทษ และแจ้งผู้ปกครอง หรือผู้บังคับบัญชาหรือผู้เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณีของนักศึกษาผู้นั้น ให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ข้อ 11. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้โดยให้มีอานาจการวินิจฉัย ปัญหา การ ปฏิบัติ ตามประกาศนี้ และให้ถือคาวินิจฉัยของอธิการบดีเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ( ลงชื่อ) สุมนต์ สกลไชย (รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

49


คู่มือนักศึกษา 2561

50 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1073 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทาผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ -------------------------เพื่อให้การพิจารณาลงโทษนักศึกษาที่ฝ่าฝืนระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ.2548 หมวดที่ 12 บทก าหนดโทษ ข้ อ 41 และข้ อ 42 ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 และระเบียบของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การสอบประจาภาคของนักศึกษา พ.ศ. 2547 เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีบรรทัดฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความมาตรา 20 และมาตรา 23(1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 ประกอบกับข้อ 17 ของระเบียบของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการสอบประจาภาคของนักศึกษา พ.ศ. 2547 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวิชาการของมหาวิทยาลั ย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2550 เมื่อ วันที่ 24 กรกฎาคม 2550 และที่ประชุมคณบดี คราวประชุมครั้งที่ 14/2550 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550 จึง ออกประกาศกาหนดแนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทาความผิดอันมาจากการ สอบไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1073/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและ เกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการนักศึกษาที่กระทาความผิดอันมีสาเหตุมาจากการสอบ” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ออกประกาศ เป็นต้นไป ข้อ 3. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะ วิทยาลัย วิทยาเขต ที่นักศึกษาสังกัดอยู่ “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น “การลงโทษทางวิชาการ” หมายถึง การที่นักศึกษาถูกพิจารณาโทษทางวิชาการเนื่องจาก ฝ่าฝืนระเบียบของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการสอบ “กรรมการคุมสอบ” หมายถึง ผู้ที่คณะแต่งตั้งให้เป็นผู้ควบคุมห้องสอบวิชาใดวิชา หนึ่งของการสอบ “คณะกรรมการสอบ” หมายถึง คณะกรรมการที่คณะแต่งตั้งให้รับผิดชอบดาเนินการ เกี่ยวกับการสอบประจาภาคของนักศึกษา ข้อ 4. เมื่อพบว่ามีนักศึกษา มีพฤติกรรมที่อาจฝ่าผืนระเบียบการสอบ หรือส่อเจตนาทุจริต หรือทุจริตให้ กรรมการคุมสอบ ทารายงานตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เสนอต่อประธานคณะกรรมการสอบ ภายใจวันเกิด เหตุพร้อมแนบหลักฐานประกอบ (ถ้ามี) ข้อ 5. ให้ค ณะกรรมการสอบหรือ คณะท างานที่ไ ด้ร ับ การแต่งตั ้งโดยคณะกรรมการสอบ รวบรวม หลักฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ชี้แจงข้อเท็จจริง และจัดทารายงานการสอบข้อเท็จจริง ซึ่งประกอบด้วย คาชี้แจงของกรรมการคุมสอบ คาชี้แจงของนักศึกษา ความเห็นของคณะกรรมการ สอบ หรือ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คณะทางาน และหรือเอกสารหลักฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้แล้วเสร็จภายใน 7 วัน นับจากวันเกิดเหตุ แล้ว เสนอต่อคณะกรรมการประจาคณะเพื่อพิจารณาโทษ ข้อ 6. ให้คณะกรรมการประจาคณะพิจารณาโทษจากทุก องค์ประกอบทั้งพยานบุคคล เอกสารและ หลักฐาน และพิจารณาปรับโทษตามสมควรแก่กรณี ดังนี้ 6.1 ปรับ ตกในรายวิชานั้น ในกรณีที่พ บว่า นักศึ กษามีเจตนาฝ่ าฝืน ระเบียบว่ าด้ว ยการสอบ ประจาภาคของนักศึกษาข้อ 7 และ 10.1ของระเบียบดังกล่าว 6.2 ปรับตกในทุกรายวิชาที่เข้าสอบแล้วสาหรับภาคการศึกษานั้น ในกรณีที่พบว่านักศึกษาส่อ เจตนาทุจริต เช่น นาหรือมีเอกสาร หรืออุปกรณ์ หรือบันทึกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เอื้อ ประโยชน์ต่อการประเมินผลการศึกษาในรายวิชานั้นเข้าห้องสอบ เว้นแต่อาจารย์ประจาวิชา ได้อนุญาตไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นต้น 6.3 ปรับตกในทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนสาหรับภาคการศึกษานั้น ในกรณีที่พบว่านักศึกษามี เจตนากระทาการทุจริตอย่างชัดเจนอย่างชัดเจน เช่น นาหรือมีเอกสาร หรืออุปกรณ์ หรือ บันทึกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เอื้อประโยชน์ต่อการประเมินผลการศึกษาในรายวิชานั้น และได้ใช้ประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว เว้นแต่อาจารย์ประจาวิชาได้อนุญาตไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร เป็นต้น ข้อ 7. ให้คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะออกคาสั่งลงโทษนักศึกษาให้แล้วเสร็จ ภายใน 15 วั น หลั งจากวั น สุ ดท้ า ยของการส่ งผลการเรี ย นในแต่ ล ะภาคการศึ ก ษา ตามปฏิ ทิน การศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัย และแจ้งให้นักศึกษา และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ออกคาสั่ง ข้อ 8. ให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการบันทึกผลและประวัติการลงโทษและแจ้งผู้ปกครองหรือผู้ที่ เกี่ยวข้องของนักศึกษาผู้นั้น ให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ข้อ 9. การสอบกลางภาค หรือการสอบครั้งสุดท้ายของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนระบบชุดวิชา หรื อ ระบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ระบบภาคการศึกษา และการสอบที่อาจารย์ประจาวิชาดาเนินการจัดสอบเอง ให้ใช้แนวปฏิบัติ และเกณฑ์การพิจารณาโทษตามประกาศนี้ ได้โดยอนุโลม ข้อ 10. กรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น ให้สามารถขออนุมัติขยายระยะเวลาดาเนินการในข้อ 5 และ ข้อ 7 ตามประกาศนี้ ต่อคณบดีได้ ทั้งนี้ขยายได้ไม่เกิน 30 วัน และแจ้งให้มหาวิทยาลัย ผ่านสานักบริหารและพัฒนา วิชาการทราบ ข้อ 11. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ โดยให้มีอานาจการวินิจฉัยปัญหา การปฏิบัติตาม ประกาศนี้ และให้ถือคาวินิจฉัยของอธิการบดีเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2550 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

51


คู่มือนักศึกษา 2561

52 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1257/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา --------------------------------เพื่อให้นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่เรียนดี เก่ง และมีศักยภาพสูง มีโอกาสได้สมัครเข้าเป็นนักศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษาก่อนการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระบบปกติ เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ส่งเสริม ผลงานวิจัยให้ได้รับการนาเสนอหรือตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติและนานาชาติ และรองรับการพัฒนาคุณภาพ งานวิจัยไปสู่ระดับของการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยหรืองานวิจัยที่มีผลกระทบ (impact) สูงต่อการแก้ปัญหาของสังคม และการสร้างนวัตกรรม และงานวิจัยที่ก่อให้เกิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งการเชื่อมโยงบูรณาการงานวิจัย ระหว่าง กลุ่มสาขาวิชา เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม จึงเห็นควรให้มีการดาเนินการรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษากรณีที่รับเฉพาะนั กศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาเอก และหลักสูตร ปริญญาโท แผน ก ทุกหลักสูตร ซึ่งมีหลักเกณฑ์ปฏิบัติเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 37 (1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และข้อ 5 ของตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 และมติที่ ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 จึงกาหนด หลักเกณฑ์การรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1257/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับ นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2762/2556) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายความว่า คณะ วิ ท ยาลั ย หรื อ ส่ ว นงานที่ มี หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายความว่า คณบดี ข องคณะ วิ ท ยาลั ย หรื อ หัวหน้าส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา “สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการที่ ค ณะมอบหมาย ให้ ท าหน้ า ที่ ก ากั บ ดู แ ลคุ ณ ภาพ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และการบริ ห ารจั ด การหลั ก สู ต ร ระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักสูตรใน องค์รวมของคณะนั้น ๆ “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความว่า คณะกรรมการที่ ได้ รั บแต่ งตั้ งจาก คณบดี เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต ร ระดับบัณฑิตศึกษา “คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย” หมายความว่า คณะกรรมการประจ าบั ณฑิ ต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 5 ผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา กรณีนักศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแก่นต้องมีคุณสมบัติ ตามคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ซึ่งกาหนดไว้ในระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 21 และมีคุณสมบัติเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ 5.1 การเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท กรณีที่เป็นนักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น 1) เป็ น ผู้ ที่ ก าลั งศึ ก ษาอยู่ ใ นภาคการศึ ก ษาสุ ด ท้ า ยของหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ าก หลักสูตร 4 ปี หรือ 5 ปี หรือ 6 ปี 2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 7 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 4 ปี) 9 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 5 ปี) 11 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 6 ปี) ไม่ต่ากว่า 2.50 จากระบบคะแนนสูงสุด 4.00 หรือ หากมีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัย หรือ โครงงานวิจัย 3) มีหนั งสือ ตอบรับเป็น อาจารย์ ที่ปรึ กษาวิท ยานิ พนธ์ จากอาจารย์ป ระจ าหลั กสูต รใน สาขาวิชาที่ผู้สมัครประสงค์จะเข้าศึกษา 4) มีความประพฤติเรียบร้อย ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน สุขภาพแข็งแรง กรณีของผู้ที่สาเร็จการศึกษาแล้วจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น 1) เป็นผู้ที่สาเร็จการศึกษามาแล้วไม่เกิน 5 ปี ของหลักสูตรระดับปริญญาตรีจากหลักสูตร 4 ปี หรือ 5 ปี หรือ 6 ปี 2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ากว่า 2.50 จากระบบคะแนนสูงสุด 4.00 หรือ หากมีคะแนน เฉลี่ยสะสมต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัย หรือโครงงานวิจัย 3) มีหนั งสือ ตอบรับเป็น อาจารย์ ที่ปรึ กษาวิท ยานิ พนธ์ จากอาจารย์ป ระจ าหลั กสูต รใน สาขาวิชาที่ผู้สมัครประสงค์จะเข้าศึกษา 4) มีความประพฤติเรียบร้อย ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน สุขภาพแข็งแรง 5.2 การเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก

คู่มือนักศึกษา 2561

53


คู่มือนักศึกษา 2561

54 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 1) สาหรับผู้สมัครที่ใช้คุณวุฒิระดับปริญญาโท เป็นผู้สาเร็จการศึกษาหรือกาลังรอสอบ วิท ยานิพ นธ์ และมี คะแนนเฉลี่ ย เมื่ อ ส าเร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว ไม่ ต่ ากว่ า 3.50 หรื อ ถ้ า มี คะแนนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทางานด้านการวิจัยและพัฒนา วิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 3 ปี ในกรณีที่สาเร็จการศึกษาแล้วต้องสาเร็จการศึกษามาแล้วไม่เกิน 5 ปี 2) สาหรับผู้สมัครที่ใช้คุณวุฒิระดับปริญญาตรี เป็นผู้สาเร็จการศึกษาหรือกาลัง ศึกษาอยู่ใน หลักสูตรระดับปริญญาตรี ที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 7 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 4 ปี) 9 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 5 ปี) 11 ภาคการศึกษา (หลักสูตร 6 ปี) ไม่ต่ากว่า 3.00 จาก ระบบคะแนนสูงสุด 4.00 ในกรณีที่สาเร็จการศึกษาแล้วต้องสาเร็จการศึกษามาแล้วไม่เกิน 5 ปี และมีคะแนน เฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 หากมีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัย หรือโครงงานวิจัย 3) มีหนังสือตอบรับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จากอาจารย์ในสาขาวิชาที่ผู้สมัคร ประสงค์จะเข้าศึกษา 4) มีความประพฤติเรียบร้อย ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน สุขภาพแข็งแรง 5.3 มีผลการทดสอบวัดความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 5.4 คุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่หลักสูตรกาหนด ข้อ 6 วิธีดาเนินการ 6.1 กาหนดการรับสมัคร ทุกปีการศึกษา ในระหว่างเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ ของทุก ๆ ปี 6.2 ยื่นใบสมัครเข้าเป็นนักศึกษาโดยกรอกข้อมูลในระบบรับสมัครออนไลน์ 6.3 บัณฑิตวิทยาลัย สรุปจานวนผู้สมัครพร้อมแจ้งให้คณะ/สาขาวิชา ที่มีผู้สมัครทราบ ข้อ 7 การคัดเลือกเข้าศึกษา 7.1 ให้คณะแต่งตั้งกรรมการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 7.2 การพิจารณาคัดเลือก ให้ใช้วิธีการสัมภาษณ์ พิจารณาร่วมกับประวัติและผลงานของผู้สมัคร 7.3 จานวนรับเข้า ให้เป็นไปตามความต้องการและศักยภาพของหลักสูตร ทั้งนี้ นักศึกษาทุกคน ทีผ่ ่านการคัดเลือกจะต้องมีรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร แนบมาด้วย 7.4 รายชื่อผู้สมัครที่ได้รับการคัดเลือกต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะ ข้อ 8 ให้ คณะส่งรายชื่ อผู้ ผ่ านการคัด เลือ ก พร้ อมรายชื่อ อาจารย์ ที่ ปรึ ก ษาวิท ยานิ พ นธ์ ที่ ผ่า นความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรให้บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อประกาศผลผู้มีสิทธิเข้าศึกษาต่อไป


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 9 ให้คณบดีบั ณฑิต วิทยาลัย เป็น ผู้พิจ ารณาอนุ มัติก ารรั บเข้ าและนาเสนอคณะกรรมการประจ า บัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ ข้อ 10 กรณีที่มีเหตุผลความจาเป็นไม่อาจปฏิบัติ ตามข้อ 5 ได้ คณะอาจเสนอคณะกรรมการประจาบัณฑิต วิทยาลัยเพื่อพิจารณาเป็นกรณีๆไป ข้อ 11 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของอธิการบดี ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

55


คู่มือนักศึกษา 2561

56 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1259/2560) เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา -------------------เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณภาพงานวิ จั ย ระดั บ บั ณ ฑิ ตศึ ก ษา ให้ ไ ด้ มาตรฐานและคุ ณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน หลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 และระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และเพื่อเป็นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพงานวิจัยบัณฑิตศึกษาให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพทั้ง ระดับประเทศและระดับสากล เพื่อผลักดันมหาวิทยาลัยไปสู่มหาวิทยาลัยวิจัยในระดับโลก อาศัยอานาจตามความในมาตรา 37 (1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และข้อ 5 ของระเบีย บมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้ วย การศึก ษาระดับบัณ ฑิตศึก ษา พ.ศ. 2559 โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 และมติที่ประชุม คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 จึงกาหนดแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรี ยกว่า “ประกาศมหาวิท ยาลั ยขอนแก่น (ฉบับที่ 1259/2560) เรื่ อง การตีพิม พ์ บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้สาหรับหลักสูตรระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอกทุกหลักสูตร ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยขอนแก่น “บทความ” หมายความว่า บทความวิจัยที่ได้จากผลการศึกษาของวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระและต้องเป็นบทความฉบับเต็ม (Full Paper) ไม่ใช่บทคัดย่อหรือบทคัดย่อขนาดยาว “การตีพิมพ์” หมายความว่า การตี พิ ม พ์ บ ทความจากวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษา อิสระ ในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติ หรือ นานาชาติ รวมถึงบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ที่ตีพิมพ์ ในรายงานสื บเนื่อง (Proceedings) จากการ ประชุมวิชาการระดับชาติหรื อนานาชาติตามเงื่อนไขที่ กาหนดของหลักสูตรหรือของทุน “ผู้ประเมินอิสระ (Peer Review)” หมายความว่า ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เป็น ผู้ตรวจสอบอ่านบทความและประเมินคุณภาพของ บทความในแต่ละสาขาวิชาเพื่อให้ได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารนั้น ๆ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ “วารสารวิชาการ” หมายความว่า

วารสารทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) ทางวิชาการที่มีกาหนดออกแน่นอนและมี การตีพิ ม พ์ เป็ น ระยะอย่า งสม่าเสมอเป็ นที่ ย อมรั บ ใน สาขาวิชา และบทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารต้อง ผ่ านการกลั่ นกรองคุ ณภาพจากผู้ ประเมิ นอิ สระ (Peer Review) โดยที่วารสารวิชาการระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติ ต้องมีรายชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ ในระดั บ ชาติ แ ละระดั บ นานาชา ติ ตามประกาศ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ ก าร พิ จ ารณาวารสารทางวิ ช าการส าหรั บ การเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ ข้อ 4 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของอธิการบดี ถือเป็นสิ้นสุด ข้อ 5 การตีพิมพ์บทความเพื่อสาเร็จการศึกษา 5.1 นักศึกษาระดับปริญญาเอก แบบ 1.1 และ 1.2 ทุกหลักสูตร ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่ง ของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตี พิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จานวน 1 เรื่อง และวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพอีก 1 เรื่อง จึงจะสาเร็จการศึกษาได้ ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นวารสาร Open Access ที่ผลิตโดยสานักพิมพ์ที่ไม่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่บัณฑิต วิทยาลัยกาหนด 5.2 นักศึกษาระดับปริญญาเอก แบบ 2.1 และ 2.2 ทุกหลักสูตร ผลงานวิทยานิพนธ์หรือ ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรหรือทุนที่ได้รับ จึงจะสาเร็จ การศึกษาได้ ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นวารสาร Open Access ที่ผลิตโดยสานักพิมพ์ที่ไม่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 5.3 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 1 ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรือ อย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรหรือทุนที่ได้รับ จึงจะสาเร็จการศึกษาได้ กรณีของวารสารวิชาการที่เป็น Open Access ขอให้หลีกเลี่ยงวารสารที่ผลิตโดย สานักพิมพ์ที่ไม่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 5.4 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 ผลงานวิ ทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรือ อย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ

คู่มือนักศึกษา 2561

57


คู่มือนักศึกษา 2561

58 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรหรือทุนที่ได้รับ หรือเสนอต่อที่ประชุม วิชาการที่ นาเสนอบทความวิ จัยฉบับเต็ม (Full Paper) ได้รับ การตีพิม พ์ในรายงานสื บเนื่ องจากการประชุ ม (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน โดยมีกองบรรณาธิการจัดทารายงานการประชุม หรือคณะกรรมการจัดประชุ ม ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ ในสาขา นั้น ๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพ อย่างน้อยร้อยละ 25 โดยต้องมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นด้วย และมีบทความที่มาจากหน่วยงานภายนอกสถาบันอย่างน้อย 3 หน่วยงาน และรวมกันแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 จึง จะสาเร็จการศึกษาได้ กรณีของวารสารวิชาการที่เป็น Open Access ขอให้หลีกเลี่ยงวารสารที่ผลิตโดยสานักพิมพ์ที่ไม่มี คุณภาพตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 5.5 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข ผลงานรายงานการศึกษาอิสระต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่เป็นที่ยอมรับใน สาขาวิชาหรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่นาเสนอบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงาน สืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน จึงจะสาเร็จการศึกษาได้ กรณีของวารสารวิชาการที่เป็น Open Access ขอให้หลีกเลี่ยงวารสารที่ผลิตโดยสานักพิมพ์ที่ไม่มี คุณภาพตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด หากหลักสูตรใดได้กาหนดเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ถือตามข้ อ กาหนดการสาเร็จการศึกษาของหลักสูตรนั้น ๆ ข้อ 6 การด าเนิ น การส่ ง เอกสารตี พิ ม พ์ เ พื่ อ ส าเร็ จ การศึ ก ษาส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ ท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ให้ดาเนินการส่งหลักฐานการตีพิมพ์ให้บัณฑิตวิทยาลัยตามกรณีดังนี้ 6.1 กรณีที่บทความได้รับการตีพิมพ์แล้วนักศึกษาต้องดาเนินการส่งเอกสารการตีพิมพ์พร้อม สาเนาหน้าปกและปกในวารสารหรือรายงานสืบเนื่อง (Proceedings) พร้อมหน้าสารบัญที่ระบุชื่อบทความพร้อม บทความฉบับเต็ม พร้อมตัวเล่มวิทยานิพนธ์ 6.1 ในกรณีที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์แต่มีการตอบรับให้ตีพิมพ์ ให้ส่งหนังสือหรือเอกสารที่ตอบรับการ ตีพิมพ์ ต้องระบุ เดือน ปี ของวารสารที่จะตีพิมพ์ พร้อมบทความฉบับเต็มที่ส่งไปตีพิมพ์ และสาเนาหน้าปกและปก ในวารสารฉบับล่า สุดของวารสารที่ รับตีพิ มพ์บทความ แนบมาพร้ อมกับ ตัวเล่ มวิทยานิพนธ์ฉบับ สมบูร ณ์ ทั้งนี้ ระยะเวลาที่รอตีพิมพ์วารสารในระดับชาติไม่เกิน 1 ปี และวารสารในระดับนานาชาติ ไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่ นักศึกษาใช้หนังสือตอบรับการสาเร็จการศึกษา ข้อ 7 การดาเนินการส่งเอกสารตีพิมพ์เพื่อสาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่ทาการศึกษาอิสระให้ ดาเนินการส่งหลักฐานการตีพิมพ์ให้คณะที่นักศึกษาสังกัด และบัณฑิตวิทยาลัย ตามกรณีดังนี้ 7.1 กรณีที่บทความได้รับการตีพิมพ์แล้วนักศึกษาต้องดาเนินการส่งเอกสารการตีพิมพ์พร้อม สาเนาหน้าปกและปกในวารสาร หรือรายงานสืบเนื่อง (Proceedings) พร้อมหน้าสารบัญที่ระบุชื่อบทความพร้อม บทความฉบับเต็ม


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7.2 ในกรณีที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์แต่มีการตอบรับให้ตีพิมพ์ ให้ ส่งหนังสือหรือเอกสารที่ตอบรับ การ ตีพิมพ์ ต้องระบุ เดือน ปี ของวารสารที่จะตีพิมพ์ พร้อมบทความฉบับเต็มที่ส่งไปตีพิมพ์ และสาเนาหน้าปกและปก ในวารสารฉบับล่าสุดของวารสารที่รับตีพิมพ์บทความ ข้อ 8 แนวปฏิบัติในการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระที่เผยแพร่ 8.1 บทความที่ใช้เพื่อประกอบการสาเร็จการศึกษาต้องเป็นบทความที่มีชื่อนักศึกษาผู้ทาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ เป็นชื่อแรก โดยต้องระบุชื่อคณะที่นักศึกษาสังกัด และมหาวิทยาลัยขอนแก่น 8.2 บทความที่ตีพิมพ์ หรือนาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการเพื่อใช้ประกอบการขอสาเร็จ การศึกษา ต้องเป็นผลการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ หรือผลการศึกษาทั้งหมด แต่ ไม่ใช่บทความที่เขียนจากการวิเคราะห์ สรุปการทบทวนผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Review Article) 8.3 รู ป แบบบทความที่ ตี พิ ม พ์ ต้ อ งประกอบไปด้ ว ย บทน า (ที่ ม า ความส า คั ญ ของปั ญ หา) วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย และเอกสารอ้างอิง หรือเป็นไปตาม ข้อกาหนดของวารสารที่ตีพิมพ์ 8.4 บทความที่ใช้เพื่อประกอบการสาเร็จการศึกษา จะต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับ ให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิม พ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการพิมพ์ ส่วนบทความที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้น สามารถนามานับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น บทเฉพาะกาล ข้อ 9 สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาก่อนภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559 การดาเนินการตีพิมพ์เผยแพร่ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษา ให้ดาเนินการดังนี้ 9.1 นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษา ก่ อ นปี ก า รศึ ก ษา 255 5 ให้ ใ ช้ ป ร ะกาศ บั ณ ฑิ ตวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 66/2550) เรื่อง การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์เพื่อการสาเร็จการศึกษา 9.2 นักศึกษาที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 ถึงปีการศึกษา 2558 ให้ใช้ประกาศบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2143/2554) เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่ อ การส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา และประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 1623/2558) เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2)

ประกาศ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

59


คู่มือนักศึกษา 2561

60 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1260/2560) เรื่อง การรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ -----------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษากรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงาน วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ อาศัย อานาจตามความในมาตรา 37 (1) แห่งพระราชบั ญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และข้อ 5 ของระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา บัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 จึงกาหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษา สถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ไว้ดังนี้ ข้ อ 1 ประกาศนี้ เ รี ย กว่ า “ประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 1260/2560) เรื่ อ ง การรั ก ษา สถานภาพการเป็นนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษา อิสระ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ภาคต้น ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1125/2551) เรื่อง การรักษาสถานภาพการเป็น นักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษากรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ ข้อ 4 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 4.1 เป็นนักศึกษาในหลักสูตรที่กาหนดให้การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเป็น ส่วนหนึ่งของเงื่อนไขในการสาเร็จการศึกษา 4.2 เรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว สอบและส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ให้บัณฑิตวิทยาลัย หรือสอบและส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ให้คณะ และได้ดาเนินการจนผ่านเงื่อนไขการสาเร็จการศึกษาอื่น ๆ ครบถ้วนแล้ว 4.3 อยู่ในระหว่างรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่หลักสูตรกาหนด 4.4 ใช้เวลาในการศึกษายังไม่ครบตามระยะเวลาสูงสุดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรหรือระยะเวลา สูงสุดที่กาหนดตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 5 การขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระให้ดาเนินการ ดังนี้ 5.1 นักศึกษายื่นคาร้องต่อคณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัด โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ ที่ปรึกษา และต้องแนบเอกสารดังนี้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 5.1.1 สาเนาเอกสารที่แสดงถึงการผ่านเกณฑ์การศึกษาครบถ้วนตามหลักสูตร เช่น หนังสือรับรองผลการเรียน (Transcripts) ผลการสอบภาษาอังกฤษ ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการสอบการศึกษา อิสระ หลักฐานการส่งวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ เป็นต้น 5.1.2 ส าเนาบทความที่ ส่ งไปขอตี พิ ม พ์ พ ร้ อ มหนั ง สื อ น าส่ งและรายละเอี ย ดของ วารสารที่ส่งไปตีพิมพ์ ได้แก่ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ 5.2 ให้คณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัดพิจารณาอนุมัติ ข้อ 6 ให้คณะสาเนาคาอนุมัติแจ้งให้บัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันได้รับอนุมัติ ข้อ 7 นักศึกษาที่ได้รับอนุ มัติให้รักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงาน วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ตามประกาศนี้ไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ข้อ 8 ให้รักษาสถานภาพ ครั้งละ 1 ภาคการศึกษา ข้อ 9 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของอธิการบดี ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่

4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

61


คู่มือนักศึกษา 2561

62 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 92/2560) เรื่อง เกณฑ์วารสารวิชาการที่มีคุณภาพที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งในการสาเร็จการศึกษา -------------------------เพื่ อ ให้ ก ารตี พิ ม พ์ บ ทความวิ จั ย ของวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระเพื่ อ การส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การสาเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 และประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1259/2560) ลงวั นที่ 4 กรกฎาคม 2560 เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5 การตีพิมพ์บทความเพื่อสาเร็จการศึกษา และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ใน คราวประชุมครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2560 จึงกาหนดเกณฑ์วารสารวิชาการที่มีคุณภาพที่สามารถใช้ เป็นส่วนหนึ่งในการสาเร็จการศึกษา ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 92/2560)เรื่อง เกณฑ์วารสารวิชาการที่มีคุณภาพที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งในการสาเร็จการศึกษา ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศ เป็นต้นไป ข้อ 3 เกณฑ์วารสารวิชาการที่มีคุณภาพที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งในการสาเร็จการศึกษา เป็น ดังนี้ 3.1 เป็นวารสารระดับชาติที่มีชื่อปรากฏในฐานข้อมูล Thai Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 3.2 เป็นวารสารระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏในฐานข้อมูล Scopus, Web of Knowledge, Medline หรือวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศของคณะกรรกมารข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) 3.3 ในกรณีที่วารสารในข้อ 3.2 นั้น เป็นวารสาร Open Access ต้องเป็นวารสารที่ได้รับการ ยอมรับในฐานใดฐานหนึ่งต่อไปนี้ 3.3.1 วารสารที่ อ ยู่ใ น Directory of Open Access Journals (DOAJ) (http://doaj.org) 3.3.2 วารสารที่มีสานักพิมพ์ที่เป็นสมาชิกใน Open Access Scholarly Publishers Association (OASPA) (http://oaspa.org) 3.3.3 วารสารที่มีสานักพิมพ์ที่เป็นสมาชิกใน Committee on Publication Ethics (COPE) (http://publicationethics.org) 3.3.4 วารสารที่มีสานั กพิมพ์ที่เป็น สมาชิกใน International Association of Scientific, Technical & Medical Publishers (STM) (http://www.stm-assoc.org) 3.4 ในกรณีที่วารสารนั้นไม่ปรากฏในฐานตามข้อ 3.1-3.3 และสงสัยว่าเป็นวารสารที่มีคุณภาพ หรือไม่ ให้เสนอบั ณฑิตวิทยาลัยพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนส่งบทความวิจัยไปตีพิมพ์ พร้อมแนบข้อมูลของ วารสารฉบับล่าสุดที่แสดงหลักฐานระบุว่า มีระบบประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ข้อ 4 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 5 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็น ที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

63


คู่มือนักศึกษา 2561

64 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให้ มี ห ลั ก เกณฑ์ แ ละแนวปฏิ บั ติ ใ นการแต่ ง ตั้ ง อาจารย์ ร ะดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ตามระเบี ย บ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา พ.ศ.2559 และสอดคล้ อ งกั บ ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และ เรื่อง แนวทางการบริหาร เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2558 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจ ตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 และโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจ าบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ในคราวประชุ ม ครั้ งที่ 3/2559 เมื่ อ วั น ที่ 23 มิ ถุ น ายน 2559 ก าหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติแนวปฏิบัติไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 67/2548) เรื่อง หลักเกณฑ์การ ขยายจานวนนักศึกษาในคาปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นกรณีพิเศษ, ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบั บ ที่ 68/2548) เรื่ อ ง แนวปฏิ บั ติ ก าร แ ต่ ง ตั้ ง อาจารย์ บั ณฑิ ต พิ เ ศษ, ประ กาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 69/2548) เรื่อง การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และให้ใช้ ประกาศนี้แทน ข้อ 4. ในประกาศนี้ อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย 4.1 อาจารย์ประจา หมายถึง บุคคลที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหน้าที่ เต็มเวลา 4.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจา หลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตร 4.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการ บริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสู ตรเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหุวิทยาการหรือ สหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้า ได้ไม่เกิน 2 คน 4.4 อาจารย์พิเศษ หมายถึง อาจารย์ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.5 อาจารย์ผู้สอน หมายถึง อาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้งให้ ทาหน้าที่สอนในรายวิชาหรือบางหัวข้อในแต่ละรายวิชา 4.6 อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หมายถึง อาจารย์ประจาที่คณะแต่งตั้งเพื่อทาหน้าที่ให้คาปรึกษา ด้านการศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา 4.7 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่ได้รับแต่งตั้งให้ รับผิดชอบกระบวนการเรียนรู้เพื่อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เช่น การพิจารณาเค้าโครง การให้คาแนะนาและควบคุมดูแล รวมทั้งการประเมินความก้าวหน้าและการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของ นักศึกษา 4.8 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (Co-advisor) หมายถึง อาจารย์ประจา หรือ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแต่งตั้ง เพื่อให้ทาหน้าที่ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาหลักในการพิจารณาเค้าโครง รวมทั้งช่วยเหลือให้ คาแนะนาและควบคุมดูแลการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา 4.9 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตร หรือ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่คณะแต่งตั้ง เพื่อให้ทาหน้าที่สอบวิทยานิพนธ์ 4.10 อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง ผู้ที่มิได้เป็นอาจารย์ประจาที่ได้รับการแต่งตั้งให้ ทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งนั้นมีคุณสมบัติตามที่กาหนดใน หน้าที่นั้นๆ 4.11 อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณสมบัติและผลงานทาง วิชาการตามที่กาหนดในหน้าที่นั้นๆ แต่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือ สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ข้อ 5. จานวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา 5.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต 5.1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร ที่เปิดสอน (2) มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตจานวนอย่าง น้อย 5 คน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตจานวนอย่างน้อย 3 คน ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์

คู่มือนักศึกษา 2561

65


คู่มือนักศึกษา 2561

66 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ (3) มีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน คณะต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้มหาวิทยาลัยเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 5.1.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ (2) มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือ สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน (3) มีประสบการณ์ด้านการสอน (4) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีของอาจารย์พิเศษ เฉพาะหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุโลมคุณวุฒิ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนไม่น้อยกว่า 6 ปี ทั้งนี้อาจารย์พิเศษ ต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจาเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติ เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.1.4 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ต้องมี คุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการ ต้องเป็นผลงานวิจัย 5.1.5 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นผู้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักตามที่ กาหนดในข้อ 5.1.4 (2) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรง หรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 5.1.6 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบการศึกษาอิสระ ต้องประกอบด้วย อาจารย์ประจาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็น อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมหรืออาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ โดย อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบการศึกษาอิสระ ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ร่วมตามที่กาหนดในข้อ 5.1.5 5.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงและปริญญาดุษฎีบัณฑิต 5.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร ที่เปิดสอน (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 5.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จานวน อย่างน้อย 5 คน หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จานวนอย่างน้อย 3 คน ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่าศาสตราจารย์ (3) มีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจานวนหรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน คณะต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้มหาวิทยาลัยเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 5.2.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือใน สาขาวิชาของรายวิชาที่สอน

คู่มือนักศึกษา 2561

67


คู่มือนักศึกษา 2561

68 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ (3) มีประสบการณ์ด้านการสอน (4) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีรายวิชาที่สอนไม่ใช่วิชาในสาขาวิชาของหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิ ต อนุโลม ให้อาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการต่ากว่ารองศาสตราจารย์ ทาหน้าที่ อาจารย์ผู้สอนได้ ในกรณีของอาจารย์พิเศษ เฉพาะหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อนุโลม คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ทา หน้าที่อาจารย์ผู้สอนได้ทั้งนี้อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจาเป็น ผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น 5.2.4 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร (2) มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือ เทียบเท่าที่มีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ (3) มีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการ ต้องเป็นผลงานวิจัย 5.2.5 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็นผู้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักตามที่ กาหนดในข้อ 5.2.4 (2) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่ง ตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดข้างต้น จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 5.2.6 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก โดยอาจารย์ ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมตามที่กาหนดในข้อ 5.2.5 ข้อ 6. ภาระงานของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 6.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนักศึกษา ปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลักเกณฑ์ ดังนี้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 6.1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง วิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมได้ไม่เกิน 5 คน ต่อภาคการศึกษา 6.1.2 อาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดารงตาแหน่ง ระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไปหรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมี ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอกรวมได้ ไม่เกิน 10 คนต่อภาคการศึกษา 6.1.3 อาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดารงตาแหน่ง ศาสตราจารย์และมีความจาเป็นต้ องดูแลนักศึกษาเกินกว่าจานวนที่กาหนดให้เสนอต่อสภามหาวิทยาลัยพิจารณา แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา หากมีความจาเป็นต้องดูแลนักศึกษามากกว่า 15 คน ให้ขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นรายกรณี 6.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร 1 คน ให้เป็นอาจารย์ทปี่ รึกษาการศึกษาอิสระ ของนักศึกษา ปริญญาโทได้ไม่เกิน 15 คน หากเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ให้คิดสัดส่วนจานวนนักศึกษาที่ทา วิทยานิพนธ์ 1 คน เทียบได้กับจานวนนักศึกษาที่การศึกษาอิสระ 3 คน แต่ทั้งนี้รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาค การศึกษา 6.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ/หรืออาจารย์ ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และ/หรืออาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรนั้นด้วย ข้อ 7. การแต่งตั้งอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดในหน้าที่ นั้นๆ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ให้ดาเนินการดังนี้ 7.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอเหตุผลความจาเป็นในการเสนอขอแต่งตั้งต่อ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบโดยแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบการ พิจารณา ดังนี้ 7.1.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทางานโดยย่อของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 7.1.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์ในด้านที่มีความเชี่ยวชาญของ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2 หากได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ ให้แต่งตั้งอาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ให้ประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาอนุมัติและแต่งตั้งต่อคณบดีที่หลักสูตรสังกัด ดังนี้ 7.2.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทางานโดยย่อของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์ในด้านที่มีความเชี่ยวชาญของ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 7.2.3 หนังสือแสดงความยินดีที่จะทาหน้าที่อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และยินดีที่จะ ปฏิบัติตามระเบียบและประกาศต่างๆ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

69


คู่มือนักศึกษา 2561

70 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7.2.4 หนังสือเห็นชอบจากต้นสังกัดของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (ในกรณีที่ ผู้ทรงคุณวุฒิมีต้นสังกัด) 7.2.5 หนังสือแสดงความยินดีของนักศึกษา ในการเสนอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาของ ตนในครั้งนี้ 7.3 สาเนาคาสั่งแต่งตั้งแจ้งบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ ข้อ 8. การแต่งตั้งอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการตามที่กาหนดใน หน้าที่นั้นๆ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบ จากสภามหาวิทยาลัย ให้ดาเนินการดังนี้ 8.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอเหตุผลความจาเป็นในการเสนอขอแต่งตั้งต่อ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ เพื่อพิจารณากลั่นกรองและเสนอต่อคณบดีคณะที่หลักสูตรสังกัด โดยแนบ เอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบการพิจารณา ดังนี้ 8.1.1 ประวัติการศึกษาและประวัติการทางานโดยย่อของอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ 8.1.2 ผลงานทางวิชาการหรือผลงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์ในด้านที่มีความเชี่ยวชาญ และ/ หรือผลงานที่แสดงถึงความชานาญหรือความเชี่ยวชาญ ของอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อ วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ 8.2 คณบดีคณะที่หลักสูตรสังกัดเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาต่อคณะกรรมการประจา บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจารณากลั่นกรองและเสนอสภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ 8.3 ให้บัณฑิตวิทยาลัย สรุปรายงานการแต่งตั้งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญต่อคณะกรรมการอุดมศึกษา ข้อ 9. ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 10. ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็น ที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 20/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การรั บ บุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มี ห ลั ก เกณฑ์ ป ฏิ บั ติ แ ละให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 23 อาศัย อานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือ ส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 20/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 100/2548) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับ บุคคลเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นกรณีพิเศษ 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 74/2550) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับ สมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาตลอดปี ข้อ 4 ในประกาศนี้ มหาวิทยาลัย หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะ หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณบดี หมายความว่า คณบดีของคณะ วิทยาลัย หรือหัวหน้าส่วน งานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา หมายความว่า สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษา หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะกรรมการบริหารหลักสูตร หมายความว่า คณะกรรมการที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง จากคณบดี เพื่อรับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ หมายความว่า คณะกรรมการที่คณะมอบหมายให้ทา หน้ า ที่ ก ากั บ ดู แ ลคุ ณ ภาพและการบริ ห าร จั ด การหลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาทุ ก หลักสูตรในองค์รวมของคณะนั้น ๆ ข้อ 5 การรับเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มี 3 ลักษณะ ดังนี้ 5.1 การรับเข้าศึกษาในระบบปกติ หมายความว่า การรับบุคคลเข้าศึกษาในภาคต้น และภาคปลาย ตามประกาศการรับสมัครสอบคัดเลือก ประจาปีการศึกษานั้น ๆ

คู่มือนักศึกษา 2561

71


คู่มือนักศึกษา 2561

72 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 5.2 การรับเข้าศึกษากรณีพิเศษ หมายความว่า การรับบุคคลเข้าศึกษา ซึ่งมิได้ดาเนินการตาม ประกาศการรับสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในภาคการศึกษาหรือปีการศึกษานั้น ๆ 5.3 การรับเข้าศึกษาตลอดปี หมายความว่า การรับบุคคลเข้าศึกษา ซึ่งมิได้ดาเนินการตามประกาศ การรับสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในภาคการศึกษาหรือปีการศึกษานั้น ๆ เป็นการรับสมัคร นักศึกษาเพิ่มเติมจากการรับในระบบปกติ ข้ อ 6 คุ ณ สมบั ติ ผู้ เ ข้ า ศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก าหนดไว้ ใ นระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 21 ข้อ 7 การรับเข้าศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ เป็นผู้กาหนดเงื่อนไข วิธีการและจานวนนักศึกษาที่จะรับในแต่ละสาขาวิชา และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัย 7.1 การรับเข้าศึกษาในระบบปกติ ให้ออกเป็นประกาศบัณฑิตวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษา 7.2 การรับเข้าศึกษากรณีพิเศษ รับในกรณีต่อไปนี้ 7.2.1 เป็นนักศึกษาชาวต่างประเทศ หรือ 7.2.2 เป็นผู้ที่ได้รับทุนการศึกษาจากหน่วยงานหรือองค์กรหรือโครงการความร่วมมือ ที่มีจานวนเงินทุนเพียงพอสาหรับการศึกษาและทาวิจัยตลอดหลักสูตร 7.3 การรับเข้าศึกษาตลอดปี รับในกรณีต่อไปนี้ 7.3.1 ในกรณีที่ผู้สมัครไม่สามารถสมัครในระบบปกติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจ พิจารณารับบุคคลเข้าศึกษาได้ โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) กรณีของการเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท มีผลการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ากว่าที่ สาขาวิชาที่เข้าศึกษากาหนดไว้ 2) กรณีของการเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก มีผลการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.50 จากระบบคะแนนสูงสุด 4.00 หรือเทียบเท่า 3) หากคุณสมบัติไม่เป็นไปตามข้อ 1) และ 2) ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร 7.3.2 ในกรณีเป็นผู้สมัครจากหน่วยงานที่มีโครงการความร่วมมือ (MOU) กับมหาวิทยาลัย คณะ หรือหน่วยงานของมหาวิทยาลัย คุณสมบัติให้เป็นไปตามที่สาขาวิชากาหนด ข้อ 8 การกาหนดจานวนรับนักศึกษาที่เป็นการรับเข้าปกติ รับเข้ากรณีพิเศษ และรับเข้าตลอดปี รวมแล้ว จานวนรับนักศึกษาต้องไม่เกินศักยภาพของสาขาวิชาที่มีอยู่ ข้อ 9 มีผลการทดสอบวัดความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ข้อ 10 การยื่นสมัคร 10.1 การรับ เข้ าศึ กษาในระบบปกติ ยื่ นใบสมั ครตามรอบประกาศรับ สมั ครของแต่ล ะภาค การศึกษา


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 10.2 การรับเข้าศึกษากรณีพิเศษ ยื่นใบสมัครที่หลักสูตรนั้น ๆ หลักสูตรพิจารณาการรับเข้า โดย ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริห ารหลักสูตร กรรมการประจาคณะ และแจ้งผลการพิจารณาให้บัณฑิต วิทยาลัย เพื่อพิจารณาอนุมัติและประสานงานการรับเข้าต่อไป 10.3 การรับเข้าศึกษาตลอดปี ผู้สมัครสามารถดาเนินการ 3 ช่องทาง ดังนี้ 10.3.1 กรณียื่นใบสมัครที่บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย ส่งใบสมัครให้หลักสูตรนั้น ๆ เป็นผู้พิจารณารับเข้า โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร กรรมการประจาคณะ และแจ้งผล การพิจารณาให้บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจารณาอนุมัติ และประสานงานการรับเข้าต่อไป 10.3.2 สมัครผ่านเว็บไซด์ ผู้สนใจสมัครสามารถกรอกข้อมูลใบสมัครผ่านเว็บไซด์ ที่ http://gs.kku.ac.th บั ณ ฑิต วิ ท ยาลั ยจะเป็ น ผู้ ดาเนิน การส่ งใบสมัค รดังกล่า ว ให้ กั บหลั กสู ต รนั้น ๆ หลัก สู ต ร พิจารณาการรับเข้า โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร กรรมการประจาคณะ และแจ้งผล การพิจารณาให้บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจารณาอนุมัติ และประสานงานการรับเข้าต่อไป 10.3.3 กรณียื่นใบสมัครที่หลักสูตรนั้น ๆ หลักสูตรพิจารณาการรับเข้า โดยผ่านความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร กรรมการประจาคณะ และแจ้งผลการพิจารณาให้บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อ พิจารณาอนุมัติ และประสานงานการรับเข้าต่อไป ทั้งนี้ ผู้สมัครต้องมีหนังสือตอบรับของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ที่เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรที่ผู้สมัครประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ข้ อ 11 การรั บ บุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาทุ ก กรณี ต้ อ งได้ รั บความเห็ น ชอบจากคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและกรรมการประจาคณะที่เกี่ยวข้อง ข้อ 12 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 13 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิ ตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

73


คู่มือนักศึกษา 2561

74 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ สาหรับผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต -------------------------ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 21.4 ข้อ 31.6 ข้อ 32 และข้อ 50.3.1 ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่ บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดนั้น เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เข้าศึกษาเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559 จึงได้กาหนดเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศสาหรับผู้เข้าศึกษา ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 66/2559) เรื่อง เกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ สาหรับผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 76/2548) เรื่อง เกณฑ์การประเมิน ความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 3/2551) เรื่อง เกณฑ์การประเมินความรู้ ความสามารถทางภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต (แก้ไขครั้งที่ 1) ข้อ 4. การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาดุษฎี บัณฑิตตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ให้ใช้การประเมิน ความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ข้อ 5. เกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษสาหรับผู้เข้าศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตให้ใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งดังต่อไปนี้ 5.1 ผลการทดสอบจากศูนย์ทดสอบทางภาษาที่มีผลการสอบมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับตั้งแต่วันสอบจาก สถาบันที่มีการทดสอบดังนี้ TOEFL (Paper Based) ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ TOEFL (Computer Based) ไม่ต่ากว่า 173 คะแนน หรือ TOEFL (Internet Based) ไม่ต่ากว่า 61 คะแนน หรือ TOEFL (Institutional Testing Program) ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ IELTS (Academic Module) ไม่ต่ากว่า 5.5 คะแนน หรือ TU-GET (1000 คะแนน) ไม่ต่ากว่า 550 คะแนน หรือ CU-TEP (120 คะแนน) ไม่ต่ากว่า 70 คะแนน 5.2 ผลการทดสอบภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ Khon Kaen University Academic English Language


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ Test (KKU – AELT) จัดสอบโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ผลการสอบดังนี้ ทักษะการอ่าน ระดับ 4 ขึ้นไป ทักษะการเขียน ระดับ 4 ขึ้นไป 5.3 หากนักศึกษามีผลการสอบต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดในข้อ ข้อ 5.2 จะต้องเข้ารับการอบรมทักษะ ภาษาอังกฤษ จัดอบรมโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามระดับผลการสอบ ดังนี้ ทักษะการอ่าน ระดับ 1 และ 2 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Reading for Doctoral Students I ทักษะการอ่าน ระดับ 3 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Reading for Doctoral Students II ทักษะการเขียน ระดับ 1 และ 2 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Writing for Doctoral Students I ทักษะการเขียน ระดับ 3 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Writing for Doctoral Students II และสอบผ่านภายใน 2 ปี 5.4 ถ้าผู้เข้าศึกษาไม่เข้าอบรมทักษะภาษาอังกฤษ ที่จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามข้อ 5.3 ผู้เข้าศึกษา จะต้องนาผลการสอบผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดในข้อ 5.1 มายื่นภายใน 2 ปี ข้อ 6. เกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษตามข้อ 5 ใช้เป็นเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาได้ ข้อ 7. ให้นักศึกษายื่นเอกสารแสดงผลการประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตาม ข้อ 5.1 หรือ ข้อ 5.2 ต่อสาขาวิชาเพื่อให้บัณฑิตวิทยาลัย จัดทาประกาศและแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบต่อไป ข้อ 8. สาหรับนักศึกษาที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา 2559 ให้ดาเนินการ เข้าอบรมวิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 1, 2 และ 3 ที่จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมสาสตร์ ตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 76/2548 ให้แล้วเสร็จภายในปีการศึกษา 2559 หากพ้น กาหนด นักศึกษาจะต้องดาเนินการยื่นผลการทดสอบตามที่ปรากฏในประกาศฉบับนี้ ข้อ 9. ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 10. ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็น ที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

75


คู่มือนักศึกษา 2561

76 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต -------------------------ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 50.2 นักศึกษา ในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตที่จะสาเร็จการศึกษาได้ จะต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์มาตรฐานนั้น เพื่อให้ การดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัติผู้สาเร็จการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559 จึงได้กาหนด เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 67/2559) เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 77/2548) เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน ความรู้ ภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 7/2550) เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต (แก้ไขครั้งที่ 1) 3.3 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 4/2551) เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ ภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต (แก้ไขครั้งที่ 2) ข้อ 4. เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดั บปริญญามหาบัณฑิตให้ใช้ เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งดังต่อไปนี้ 4.1 ผลการทดสอบจากศูนย์ทดสอบทางภาษาที่มีผลการสอบมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับตั้งแต่วันสอบจาก สถาบันที่มีการทดสอบดังนี้ TOEFL (Paper Based) ไม่ต่ากว่า 470 คะแนน หรือ TOEFL (Computer Based) ไม่ต่ากว่า 150 คะแนน หรือ TOEFL (Internet Based) ไม่ต่ากว่า 52 คะแนน หรือ TOEFL (Institutional Testing Program) ไม่ต่ากว่า 470 คะแนน หรือ IELTS (Academic Module) ไม่ต่ากว่า 5.0 คะแนน หรือ TU-GET (1000 คะแนน) ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือ CU-TEP (120 คะแนน) ไม่ต่ากว่า 60 คะแนน 4.2 ผลการทดสอบภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ Khon Kaen University Academic English Language Test (KKU – AELT) จัดสอบโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ผลการสอบดังนี้ ทักษะการอ่าน ระดับ 3 ขึ้นไป ทักษะการเขียน ระดับ 3 ขึ้นไป


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.3 หากนักศึกษาได้ผลการสอบต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ตามข้อ 4.2 จะต้องเข้ารับการอบรมทักษะ ภาษาอังกฤษ จัดอบรมโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามระดับผลการสอบ ดังนี้ ทักษะการอ่าน ระดับ 1 และ 2 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Reading for Master’s Students ทักษะการเขียน ระดับ 1 และ 2 ต้องเข้ารับการอบรม Academic Writing for Master’s Students และต้องสอบผ่านก่อนการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ข้อ 5. ให้นักศึกษายื่นเอกสารแสดงผลการประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ ตาม ข้อ 4.1 หรือ 4.2 ต่อสาขาวิชาเพื่อให้บัณฑิตวิทยาลัย จัดทาประกาศและแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบต่อไป ข้อ 6. สาหรับนักศึกษาที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา 2559 ให้ดาเนินการ สอบวัดความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ หรือ ลงทะเบียนรายวิชา 411 711 Reading in English for Graduate Student หรือการอบรมภาษาอังกฤษแบบเข้ม จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 77/2548 ให้แล้วเสร็จภายในปีการศึกษา 2559 หากพ้นกาหนด นักศึกษาจะต้องดาเนินการ ยื่นผลการทดสอบตามที่ปรากฏในประกาศฉบับนี้ ข้อ 7. ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 8. ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นที่ สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

77


คู่มือนักศึกษา 2561

78 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 21/2560) เรื่อง การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนด -------------------------เพื่อให้การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนดของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการ ประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึง ออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 21/2560) เรื่อง การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนด” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้ อ 3 ให้ ย กเลิ ก ประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 78/2550) เรื่ อ ง การ ลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนด ข้อ 4 การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนดสามารถทาได้ในกรณีต่อไปนี้ 4.1 จานวนหน่วยกิตที่เหลือตามหลักสูตร มีจานวนน้อยกว่าหรือมากกว่าที่กาหนดและ จาเป็นต้องสาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ๆ ทั้งนี้ ในกรณีการลงทะเบียนมากกว่าที่กาหนด ต้องไม่มากกว่า 20 หน่วยกิต 4.2 ได้รับการเทียบโอนรายวิชาแล้ว เหลือจานวนหน่วยกิตน้อยกว่าหรือมากกว่าที่กาหนด 4.3 ได้รับอนุมัติให้ปรับเปลี่ยนแผนการเรียน 4.4 กรณีอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ ข้อ 5 การขอลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนด ให้นักศึกษายื่นคาร้องโดยความเห็นชอบ ของอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ข้อ 6 การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนดตามข้อ 4.1และ 4.2 ให้คณบดีของคณะที่ หลักสูตรสังกัดเป็นผู้อนุมัติ ข้อ 7 การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยหรือมากกว่าที่กาหนดตามข้อ 4.3 และ 4.4 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้อนุมัติ ข้อ 8 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 9 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2560) เรื่อง การขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน ---------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 27 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัย อานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือ ส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออกประกาศเพื่อกาหน ด หลักเกณฑ์การขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2560) เรื่อง การ ขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 78/2548) เรื่อง การขอเพิ่มและ การถอนวิชาเรียน ข้อ 4 การขอเพิ่มรายวิชาจะกระทาได้ภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติหรือภายใน 3 วันแรก ของภาคการศึกษาพิเศษหรือภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด และต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษาทั่วไป หรือประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ข้อ 5 การถอนรายวิชามีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 5.1 ถ้าถอนรายวิชาภายในหนึ่งในสี่ของระยะเวลาการศึกษาวิชานั้นในภาคการศึกษานั้น นับจากวันเริ่มเรียน ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยหรือที่หลักสูตรกาหนด รายวิชาที่ถอนนั้น จะไม่ปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) การถอนตามนัยนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หรือประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 5.2 ถ้าถอนรายวิชา หลังจากเวลาที่กาหนดไว้ในข้อ 5.1 แต่ไม่เกินหนึ่งในสองของระยะเวลาการศึกษา ของรายวิชาดังกล่าวในภาคการศึกษานั้น นับจากวันเริ่มเรียนตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย หรือที่หลักสูตร กาหนด รายวิชาที่ถอนนั้น จะได้สัญลักษณ์ W และจะปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา การถอนตามนัยนี้ ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณบดีคณะที่สังกัด ข้อ 6 การขอเพิ่มหรือถอนรายวิชานั้น เมื่อขอเพิ่มหรือถอนรายวิชาแล้ว จานวนหน่วยกิตที่เรียนจะต้องไม่ขัดหรือ แย้งกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 26.2 และ 26.3 ข้อ 7 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 8 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศ นี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

79


คู่มือนักศึกษา 2561

80 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ -------------------------เพื่อให้การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นการให้โอกาส ทางการศึกษาแก่นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยขอนแก่น อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา พ.ศ. 2559 ข้ อ 28 อาศั ย อ านาจตามความในข้ อ 6(3) แห่ ง ข้ อ บั ง คั บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราว ประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออกประกาศเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์การเทียบโอนรายวิชาและ ค่าคะแนนของรายวิชา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การ เทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2550) เรื่อง การเทียบโอน รายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “รายวิชา” หมายความว่า กระบวนวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับ บัณฑิตศึกษา ข้อ 5 ผู้มีสิทธิ์ขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ได้แก่ นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 6 กาหนดเวลาการขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา 6.1 นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาจะต้องยื่นคาร้อง ขอเทียบโอนรายวิชาภายใน 15 วัน นับถัดจากวันเปิดภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา และสามารถยื่นคาร้องได้เพียง ครั้งเดียวเท่านั้น ที่งานบริการการศึกษาของคณะที่สาขาวิชาสังกัด โดยแนบใบแสดงผลการศึกษา รายละเอียดของ รายวิชา และเค้าโครงรายวิชาเพื่อประกอบการพิจารณา ยกเว้นผู้ขอเทียบโอนที่เคยศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอเทียบโอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้แนบเฉพาะใบแสดงผลการเรียนเท่านั้น


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 6.2 ให้คณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาการเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาตามคา ร้องของนักศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันสุดท้ายของระยะเวลาที่กาหนด เป็นวันยื่นคาร้อง และ แจ้งผลการอนุมัติไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ข้อ 7 เกณฑ์การพิจารณาเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา และขั้นตอนการตรวจสอบรายวิชาที่ขอ เทียบโอน 7.1 เกณฑ์การพิจารณาการขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา 7.1.1 เป็นรายวิชาที่สอบผ่านมาแล้วไม่เกิน 5 ปีการศึกษา นับจากวันลงทะเบียนรายวิชานั้น ถึง วันที่มหาวิทยาลัยได้รับคาร้องขอเทียบโอน 7.1.2 เป็นรายวิชาหรื อกลุ่มรายวิชาในหลักสู ตรระดั บบัณฑิตศึกษาหรื อเทียบเท่าที่ส านักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หรือหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจตามกฎหมายรับรอง 7.1.3 เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชา ที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุม ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของ รายวิชา หรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบ 7.1.4 เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่สอบไล่ได้ไม่ต่ากว่าระดับคะแนน ตัวอักษร B หรือแต้ม ระดับคะแนน 3.00 หรือเทียบเท่า หรือระดับคะแนนตัวอักษร S ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรของ รายวิชานั้นกาหนด 7.1.5 รายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่เทียบโอนจากต่างสถาบันอุดมศึกษา จะไม่นามาคานวณ แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม 7.1.6 การเทียบโอนหน่วยกิตในรายวิชาวิทยานิพนธ์ให้เทียบโอนได้เฉพาะหลักสูตรที่เป็น วิทยานิพนธ์อย่างเดียว ทั้งนี้ การกาหนดสัดส่วนภาระงาน จานวนหน่วยกิตของรายวิชาวิทยานิพนธ์ที่เทียบโอนได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา บัณฑิตวิทยาลัย 7.1.7 การเทียบรายวิชาเรียนและโอนหน่วยกิต สามารถเทียบโอนได้ไม่เกินหนึ่งในสาม ของจานวนหน่วยกิตรวมของหลักสูตรที่รับโอน 7.1.8 นักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษา และ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาหรือวิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรที่เข้าศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต 7.1.9 ในกรณีที่มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรใหม่จะเทียบโอนนักศึกษาเข้าศึกษาได้ไม่เกินกว่า ชั้นปี และภาคการศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้มีนักศึกษาเรียนอยู่ตามหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว 7.2 ขั้นตอนการตรวจสอบรายวิชาที่เทียบโอน 7.2.1 คณะที่นักศึกษาสังกัดเป็นผู้ส่งรายวิชาไปยังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สาขาวิชาที่เข้าศึกษา เพื่อพิจารณาว่ารายวิชาใดที่สามารถเทียบโอนได้ 7.2.2 คณะกรรมการประจาคณะที่นักศึกษาสังกัด พิจารณาผล ตามข้อ 7.2.1 เพื่อพิจารณา รับการเทียบโอนทั้งนี้ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ข้อ 7.1 หากเห็นชอบให้นาเสนอขออนุมัติต่อคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด ข้อ 8 ค่าใช้จ่ายในการเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ข้อ 9 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

81


คู่มือนักศึกษา 2561

82 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 10 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 24/2560) เรื่อง การเปลี่ยนสาขาวิชา -------------------------เพื่อให้การเปลี่ยนสาขาวิชา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 29 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดแนวปฏิบัติในการเปลี่ยนสาขาวิชา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 24/2560) เรื่อง การเปลี่ยนสาขาวิชา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 75/2548) เรื่อง การเปลี่ยน สาขาวิชา ข้อ 4 การเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาเดิมและ สาขาวิชาใหม่ โดยได้รับอนุมัติจากคณะที่สาขาวิชาใหม่สังกัด ข้อ 5 นักศึกษาผู้ขอเปลี่ยนสาขาวิชาต้อง 5.1 ศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต 5.2 มีรายวิชาที่สามารถโอนเข้าสาขาวิชาใหม่ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และทุกวิชาที่จะโอนต้อง ได้ระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แล้วแต่กรณีและได้ศึกษามาแล้วไม่เกิน 3 ปี 5.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 สาหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้หลังจากที่ได้ลงทะเบียนเรียนแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และได้ศึกษา มาแล้วไม่เกิน 3 ปี โดยมีศักยภาพในการทาวิทยานิพนธ์ในสาขาวิชาใหม่ได้ ข้อ 6 รายวิชาวิทยานิพนธ์ ไม่สามารถเทียบโอนได้ ข้อ 7 ระยะเวลาการศึกษา นักศึกษาที่ขอเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องเรียนตามระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร สาขาวิชาใหม่ โดยนับรวมเวลาตั้งแต่ลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรสาขาวิชาเดิม ข้อ 8 การปรับรหัสประจาตัวนักศึกษา ให้ปรับรหัสประจาตัวนักศึกษาใหม่ โดยให้ใช้รหัสตามปีการ ศึกษาที่ ลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรสาขาวิชาเดิมและปรับรหัสตามหลักสูตรสาขาวิชาใหม่ ข้อ 9 การดาเนินการ ให้นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนสาขาวิชา ยื่นคาร้องต่อคณะที่หลักสูตรสาขา วิชาใหม่ สังกัด โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเดิมไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ก่อน เปิดภาคการศึกษา ข้อ 10 การพิจารณาให้เปลี่ยนสาขาวิชา ให้คณบดีคณะที่หลักสูตรสาขาวิชาใหม่สังกัดเป็น ผู้อนุมัติ โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาใหม่ และคณะกรรมการประจาคณะ ข้อ 11 ค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนสาขาวิชาให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

83


คู่มือนักศึกษา 2561

84 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 12 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 13 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 25/2560) เรื่อง การเปลี่ยนแผนการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อให้การเปลี่ยนแผนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นการให้ โอกาส ทางการศึกษาแก่นักศึกษา อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น อาศัยอานาจตาม ความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา บัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออกประกาศเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ การเปลี่ยนแผนการศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 25/2560) เรื่อง การ เปลี่ยนแผนการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 67/2552) เรื่อง การเปลี่ยน แผนการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “รายวิชา” หมายความว่า กระบวนวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับ บัณฑิตศึกษา “แผนการศึกษา” หมายความว่า แผนการศึกษาที่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเลื อกเข้า ศึกษา หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต มี 2 แผน คือ แผน ก เป็ น แผนการศึ ก ษาที่ เ น้ น การวิ จั ย โดยมี ก ารท า วิทยานิพนธ์ ดังนี้ แผน ก แบบ ก 1 ทาเฉพาะวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และหลักสูตร อาจกาหนดให้ศึกษารายวิชาเพิ่มเติมหรือทากิจกรรมทาง วิชาการอื่ นเพิ่ มขึ้นก็ ได้ โดยไม่ นับหน่วยกิ ตแต่ จ ะต้ อ งมี ผลสัมฤทธิ์ตามที่หลักสูตรกาหนด แผน ก แบบ ก 2 ทา วิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และ ศึ ก ษารายวิ ชาไม่ น้ อ ยกว่ า 12 หน่ ว ยกิ ต แผน ข เป็ น แผนการศึกษาที่เน้นการศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้อง ทาวิทยานิพนธ์ แต่ต้ องมีการศึกษาอิสระไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และไม่เกิน 6 หน่วยกิต หลักสูตรปริญญาดุษฎี

คู่มือนักศึกษา 2561

85


คู่มือนักศึกษา 2561

86 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ บัณฑิต มี 2 แบบ คือ แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการ วิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ หลักสูตรอาจกาหนดให้มีการศึกษารายวิชาเพิ่มเติมหรือ ทากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นได้โดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องมีผลสั มฤทธิ์ต ามที่ห ลักสูต รกาหนด ดังนี้ แบบ 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญามหาบัณฑิต จะต้องทา วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 ผู้เข้ า ศึกษาที่สาเร็จปริญญาบัณฑิต จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่ น้อยกว่า 72 หน่วยกิต แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้น การวิจั ย โดยมี การท าวิ ท ยานิ พ นธ์ที่ มี คุ ณภาพสูงและ ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และมี การศึ ก ษางานรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ดั งนี้ แบบ 2.1 ผู้ เ ข้ า ศึ กษา ที่ ส า เ ร็ จ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต จ ะ ต้ องท า วิท ยานิ พ นธ์ ไ ม่น้ อ ยกว่ า 36 หน่ วยกิ ต และศึ ก ษางาน รายวิ ชาอีก ไม่ น้ อ ยกว่ า 12 หน่ ว ยกิ ต แบบ 2.2 ผู้ เ ข้ า ศึกษาที่สาเร็จปริญญาบัณฑิต จะต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่ น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต ข้อ 5 การเปลี่ยนแผนการศึกษา หมายความว่า การเปลี่ยนแผนการศึกษาในหลักสูตรระดับเดียวกันและ สาขาวิชาเดียวกัน ข้ อ 6 ผู้ มี สิ ท ธิ์ ข อเปลี่ ย นแผนการศึ ก ษา ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กเข้ า ศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมีคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรของแผนการศึกษาที่ต้องการเปลี่ยนใหม่ ข้อ 7 หลักเกณฑ์และการดาเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแผนการศึกษา 7.1 การขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ทาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น และต้องดาเนินการภายใน 1 ปี การศึกษา ในกรณีที่ขอเปลี่ยนแผนการศึกษาเกินกว่า 1 ปี ต้องมีความจาเป็นอย่างยิ่ง และให้นาเสนอคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ 7.2 การโอนหน่วยกิตและค่าคะแนนของรายวิชา 7.2.1 รายวิชาที่ลงทะเบียนไปแล้ว ในแผนการศึกษาเดิมที่เป็นรายวิชาเดียวกับรายวิชาใน แผนการศึกษาใหม่ ให้โอนหน่วยกิตได้ทุกรายวิชาที่มีระดับคะแนนไม่ต่ากว่าค่าคะแนน ตัวอักษร B หรือระดับ คะแนนตัวอักษร S และนาค่าคะแนนมาคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยสะสม ในกรณีที่มิได้เป็นรายวิชาในแผนการศึกษาใหม่ ไม่ สามารถโอนหน่วยกิตได้ 7.2.2 รายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ตามแผนการศึกษาใหม่ต้องลงทะเบียนใหม่ สาหรับจานวนหน่วยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ที่ลงทะเบียนและประเมินผ่านแล้ว หากมีเนื้อหา


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ สาระเกี่ยวข้องกัน ให้เทียบโอนหน่วยกิตได้ โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษา อิสระ และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เป็นผู้พิจารณา 7.3 นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ให้ยื่นคาร้องต่อคณะที่สาขาวิชาสังกัดโดยความ เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 สัปดาห์ก่อนเปิดภาคการศึกษา 7.4 ให้คณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัดเป็นผู้อนุมัติโดยพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 20 วันนับถัดจากวัน ยื่นคาร้อง และแจ้งผลการอนุมัติไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ข้อ 8 ค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนแผนการศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ข้อ 9 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 10 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่ งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

87


คู่มือนักศึกษา 2561

88 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 26/2560) เรื่อง การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่เข้าศึกษา -------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการลงทะเบียนวิชาเรียนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเป็นไปด้วยความ เรี ยบร้ อย มี ประสิ ทธิ ภาพ และบั งเกิ ดผลดี แก่ นั กศึ กษา อาศั ยอ านาจตามความในข้ อ 6 (3) แห่ งข้ อบั งคั บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้ง ที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ากว่า หลักสูตรที่เข้าศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 26/2560) เรื่อง การ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่เข้าศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 79/2548) เรื่อง การลงทะเบียน เรียนวิชาในระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่เข้าศึกษา ข้อ 4 นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่อยู่ในหลักสูตรระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่ตนเข้าศึกษาได้ ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และสาขาวิชา ข้ อ 5 การลงทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช าที่ มี เ งื่ อ นไขของรายวิ ช า ( Prerequisite) อาจได้ รั บ ยกเว้ น ไม่ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่เป็นเงื่อนไขที่ต้องเรียนมาก่อน ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ ที่ปรึกษา และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ข้อ 6 ค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนวิชาเรียน ให้เรียกเก็บตามอัตราที่กาหนดในระเบียบและ/หรือประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาตามระดับของหลักสูตรของรายวิชาที่ลงทะเบียนนั้น ในกรณีที่ไม่มี ระเบียบ หรือประกาศรองรับ ให้เรียกเก็บตามอัตราที่กาหนดสาหรับหลักสูตรที่นักศึกษานั้น ๆ เข้าศึกษา ข้อ 7 การนับจานวนหน่วยกิต และการคิดค่าคะแนน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสู ตรที่นักศึกษา เข้าศึกษา รายวิชาใดที่ไม่ได้ระบุไว้ในหลักสูตร หรือไม่อยู่ในข้อกาหนดของหลักสูตรจะต้องลงทะเบียนโดยไม่นับ หน่วยกิต (Audit) ข้อ 8 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 9 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 27/2560) เรื่อง การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อให้การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 30 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ มีฐานะ เทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราว ประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 27/2560) เรื่อง การ เปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 74/2548) เรื่อง การเปลี่ย น ระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “รายวิชา” หมายความว่า กระบวนวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับ บัณฑิตศึกษา “หลักสูตรเดิม” หมายความว่า หลักสูตรที่นักศึกษากาลังศึกษา “หลักสูตรใหม่” หมายความว่า หลักสูตรที่นักศึกษาต้องการเปลี่ยนระดับการศึกษา “การเปลี่ยนระดับการศึกษา” หมายความว่า การเปลี่ยนสถานภาพการเป็นนักศึกษาในหลักสูตร ที่กาลังศึกษาให้เป็นนักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชา เดียวกันในระดับที่ต่ากว่าหรือสูงกว่าหลักสูตรที่กาลัง ศึกษานั้น ข้อ 5 ผู้มีสิทธิ์ขอเปลี่ยนระดับการศึกษา 5.1 นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตขอเปลี่ยนระดับการศึกษาเป็นหลักสูตรปริญญาดุษฎี บัณฑิตในสาขาวิชาเดียวกัน หรือ นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตขอเปลี่ยนระดับการศึกษาเป็น หลักสูตร ปริญญามหาบัณฑิตในสาขาวิชาเดียวกัน ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสาขาวิชานั้น 5.2 กรณีขอเปลี่ยนระดับการศึกษาจากหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เป็นหลักสูตรปริญญาดุษฎี บัณฑิต ผู้มีสิทธิ์ขอเปลี่ยนระดับการศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

89


คู่มือนักศึกษา 2561

90 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 5.2.1 เป็นนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2 ที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาที่ ประเมินผลเป็น A B+ B C+ C D+ D F มาแล้วไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในภาค การศึกษาสุดท้ายก่อนการสอบวัดคุณสมบัติไม่ต่ากว่า 3.50 หรือ นักศึกษา แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัยเพื่อทา วิทยานิพนธ์อันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดุษฎีบัณฑิตได้ 5.2.2 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ที่จัดขึ้นสาหรับนักศึกษาใน ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตในหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ 5.2.3 มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด 5.3 นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตอาจขอเปลี่ยนระดับการศึกษาเป็นหลักสูตรปริญญา มหาบัณฑิตในสาขาวิชาเดียวกัน ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสาขาวิชานั้น ในกรณีต่อไปนี้ 5.3.1 สอบวัดคุณสมบัติ ไม่ผ่าน 5.3.2 สอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ไม่ผ่าน 5.3.3 สอบวิทยานิพนธ์ ไม่ผ่าน 5.3.4 คุณสมบัติไม่เป็นไปตามเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาของการศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ข้อ 6 หลักเกณฑ์และการดาเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนระดับการศึกษา 6.1 การขอเปลี่ยนระดับการศึกษาสาหรับนักศึกษาคนหนึ่ง ๆ สามารถกระทาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น 6.2 การโอนหน่วยกิต และค่าคะแนนของรายวิชา 6.2.1 รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนไปแล้วในหลักสูตรเดิมที่เป็นรายวิชาเดียวกับรายวิชาในหลักสูตร ใหม่ ให้โอนหน่วยกิตได้ทุกรายวิชา ที่มีค่าคะแนน B หรือ S และนาค่าคะแนนมาคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยสะสม 6.2.2 รายวิชาที่ได้ลงทะเบียนไปแล้วในหลักสูตรเดิม ที่มิได้เป็นรายวิชาเดียวกับรายวิชา ในหลักสูตรใหม่ แต่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องใกล้เคียงกับบางรายวิชาในหลักสูตรใหม่ ให้พิจ ารณาเทียบโอนได้ โดย คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้พิจารณา 6.2.3 การโอนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ใหม่ ทั้งนี้ กรณีขอเปลี่ยนระดับการศึกษาสูงกว่าหลักสูตรที่กาลังศึกษาต้องขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ใหม่ให้แล้ว เสร็จภายในภาคการศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนระดับการศึกษา 6.3 การนับระยะเวลาการศึกษา 6.3.1 การเปลี่ยนระดับการศึกษาจากหลักสูตรระดับต่ากว่าไปหลักสูตรระดับสูงกว่า ให้นับ ระยะเวลาการศึกษาตามเกณฑ์ของหลักสูตรใหม่โดยนับรวมระยะเวลาตั้งแต่ลงทะเบียนครั้งแรกในหลักสูตรเดิม 6.3.2 การเปลี่ย นระดับการศึกษาจากหลักสู ตรระดับ สูงกว่าไปหลักสูตรระดับต่ากว่าให้นั บ ระยะเวลาการศึกษาตามเกณฑ์ของหลักสูตรเดิม ทั้งนี้ ระยะเวลาที่เหลือภายหลังการเปลี่ยนระดับการศึกษาต้องไม่ มากกว่าระยะเวลาตามเกณฑ์ของหลักสูตรใหม่ 6.4 การเปลี่ยนรหัสประจาตัวนักศึกษาให้เ ปลี่ยนรหัสประจาตัวนักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยน ระดั บการศึ กษา โดยใช้ รหัส ตามปีก ารศึกษาที่ ลงทะเบีย นครั้ งแรกในหลัก สูตรเดิ ม และเปลี่ยนรหั สตามระดั บ การศึกษา และสาขาวิชาของหลักสูตรใหม่


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 6.5 การเปลี่ยนระดับการศึกษา ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จก่อนเปิดภาคการศึกษาของหลักสูตรใหม่ และแจ้งผลการอนุมัติไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ข้อ 7 ให้นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนระดับการศึกษา ยื่นคาร้องขอเปลี่ยนระดับการศึกษา โดยความ เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเดิม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหม่ และคณะกรรมการ ประจาคณะ เพื่อเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ก่อนเปิดภาค การศึกษา ข้ อ 8 ให้ ค ณบดี บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย เป็ น ผู้ อ นุ มั ติ ก ารเปลี่ ย นระดั บ การศึ ก ษา โดยความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 9 ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนระดับการศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ข้อ 10 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 11 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวิ นิจฉัยหรือสั่งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

91


คู่มือนักศึกษา 2561

92 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 28/2560) เรื่อง การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ -------------------------เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การสอบประมวลความรู้ แ ละการสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ ตามระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึ กษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 31.2 ข้อ 31.5 และ ข้อ 32 เป็นไปอย่าง ถูกต้อง และบังเกิดผลดีต่อการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอานาจตามความในข้อ 6(3) แห่งข้อบังคับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสอบประมวลความรู้ และการสอบวัด คุณสมบัติ ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 28/2560) เรื่อง การ สอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก 3.1 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 70/2548) เรื่อง การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ 3.2 ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 35/2549) เรื่อง การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ (แก้ไขครั้งที่ 1) ข้อ 4 การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive examination) หมายถึง การสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของนักศึกษาในสาขาวิชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งกาหนดให้นักศึกษาในหลักสูตร ปริญญามหาบัณฑิต แผน ข ต้องสอบผ่านเพื่อการสาเร็จการศึกษา โดยมีหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติดังนี้ 4.1 การสอบประมวลความรู้เป็นการสอบข้อเขียน หรือการสอบปากเปล่า หรือการสอบทั้งสองแบบ 4.2 ให้คณะกรรมการสอบประมวลความรู้เป็นผู้ดาเนินการจัดสอบประมวลความรู้ ภาคการ ศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่จาเป็นอาจจัดการสอบในภาคการศึกษาเดียวกันได้อีก 1 ครั้ง และสามารถจัดสอบในภาคการศึกษา พิเศษได้ คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน ที่คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรเสนอรายชื่อให้คณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง 4.3 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบประมวลความรู้ได้ ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตาม หลักสูตรแล้ว และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 4.4 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน ให้ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบต่อคณะ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิต วิทยาลัย ผ่านหัวหน้าสาขาวิชา/ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.5 นักศึกษาตามข้อ 4.3 ทีส่ อบประมวลความรู้ครั้งแรกไม่ผ่าน สามารถขอสอบได้อีก 1 ครั้ง นักศึกษาที่ สอบประมวลความรู้ครั้งที่สองแล้วไม่ผ่านจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 55.8 ข้อ 5 การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) หมายถึง การสอบวัดความรู้ความสามารถของ นักศึกษาในสาขาวิชาเอก และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินว่านักศึกษามี ความสามารถที่จะดาเนินการวิจัยโดย อิสระ และเป็นผู้มีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้ ซึ่งกาหนดให้นักศึกษาที่ เข้า ศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 และ แบบ 2 ต้องสอบผ่าน โดยมีหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติดังนี้ 5.1 การสอบวัดคุณสมบัติเป็นการสอบข้อเขียนหรือการสอบปากเปล่า หรือทั้งสองแบบใน สาขาวิชาเอกและสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 5.2 ให้คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติเป็นผู้ดาเนินการจัดสอบวัดคุณสมบัติ ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่จาเป็นอาจจัดการสอบในภาคการศึกษาพิเศษได้ คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน โดยอาจจะมีกรรมการซึ่ง เป็นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยร่วมด้วยไม่เกิน 2 คน ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อให้คณบดีคณะที่ หลักสูตรสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง 5.3 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ คือ 5.3.1 นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรก เป็นต้นไป 5.3.2 นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่มีความประสงค์จะขอเปลี่ยนระดับการศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่ประเมินผลเป็น A B+ B C+ C D+ D F มาแล้วไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในภาคสุดท้ายก่อนการสอบวัด คุณสมบัติไม่ต่ากว่า 3.50 หรือนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัยเพื่อทาวิทยานิพนธ์ อันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดุษฎีบัณฑิตได้ ทั้งนี้ โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร/สาขาวิชา และคณะที่หลักสูตรสังกัด 5.4 การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติ ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน ให้ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบต่อคณะ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการและ บัณฑิตวิทยาลัย ผ่านหัวหน้าสาขาวิชา/ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 5.5 นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติผ่านแล้ว จะเรียกว่า นักศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิตมีสิทธิ์เสนอ ขออนุมัติ เค้าโครงวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้ 5.6 นักศึกษา ตามข้อ 5.3.1 ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งแรกไม่ผ่าน สามารถขอสอบได้อีก 1 ครั้ง และ ต้องสอบวัดคุณสมบัติให้ได้ภายใน 2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ลงทะเบียน รายวิชาวิ ทยานิพนธ์ นักศึกษาที่สอบวัด คุณสมบัติครั้งที่สองแล้วไม่ผ่าน จะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 55.8 เว้นแต่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนระดับการศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 27/2560 เรื่อง การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา 5.7 นักศึกษาตามข้อ 5.3.2 ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแล้วไม่ผ่าน จะยังคงมีสภาพเป็นนักศึกษาใน หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตต่อไป ข้อ 6 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

93


คู่มือนักศึกษา 2561

94 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 7 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 29/2560) เรื่อง การป้องกันการคัดลอกผลงานผู้อื่นในวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ -----------------------เพื่อให้วิท ยานิ พนธ์ และการศึ กษาอิสระ ของนั กศึกษาระดับบั ณฑิต ศึกษา มหาวิท ยาลั ยขอนแก่ น มี คุณภาพ มาตรฐาน เป็นที่เชื่อถือได้ และเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่ น มี จริยธรรมในการวิจัย ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง หรือไม่นาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเองด้วย วิธีการที่ไม่ถูกต้อง สอดคล้องกับประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1365/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ์ การพิจ ารณาโทษทางวิ ชาการ นั กศึ กษาที่ก ระทาทุจ ริ ตทางวิชาการ ระดับ บัณ ฑิตศึ กษา หรื อประกาศที่มี การ เปลี่ยนแปลงใหม่ อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจา คณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดแนวทางการดาเนินงานดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 29/2560) เรื่อง การ ป้องกันการคัดลอกผลงานผู้อื่นในวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ออกประกาศนี้เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 164/2557) เรื่อง การป้องกันการ คัดลอกผลงานผู้อื่นในวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้ อ 4 บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ร่ ว มกั บ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น จั ด การอบรมการใช้ โ ปรแกรม Turnitin ให้แก่ อาจารย์และนักศึกษา เพื่อให้สามารถใช้โปรแกรม Turnitin ในการตรวจสอบการคัดลอก หรือนา ผลงานของผู้อื่นมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง ข้อ 5 ในกรณีที่ อาจารย์ ผู้สอนแต่ ละรายวิ ชา มอบหมายให้ นักศึ กษาจัดท ารายงานขอให้ช่วยกั นปลู ก จิตสานึกให้นักศึกษาไม่คัดลอก หรือนาผลงานของผู้อื่นมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง โดยให้นักศึกษาใช้โปรแกรม Turnitin ตรวจสอบรายงาน และส่ง Turnitin Originality Report พร้อมรายงานด้วย ข้อ 6 อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ควบคุมการทาวิจัยของนักศึกษาให้มีคุณภาพ และเป็นที่เชื่อถือได้และฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีจริยธรรมในการวิจัย โดยกาหนดให้นักศึกษาต้องแสดงหลักฐานการไม่ คัดลอกผลงานผู้อื่น ด้วย Turnitin Originality Report พร้อมกับการส่งต้นฉบับวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษา อิสระ ให้แก่อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ในระหว่างการทาวิจัย การขออนุมัติเค้าโครง การขอ สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และการส่งรูปเล่มวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ ข้ อ 7 ในขั้ นตอนการเสนอขออนุ มั ติ เค้ าโครงวิ ทยานิ พนธ์ ห รื อ การศึ กษาอิ สระ นั กศึ กษาต้ องส่ ง Turnitin Originality Report ให้แก่ อาจารย์ที่ป รึกษาวิทยาหลัก นิพนธ์ หรือการศึก ษาอิ สระ พร้อมต้นฉบั บเค้า โครง วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ โดยแนบมาพร้อมกับ แบบ บว.23

คู่มือนักศึกษา 2561

95


คู่มือนักศึกษา 2561

96 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ข้อ 8 ในขั้นตอนการขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ นักศึกษาต้องส่ง Turnitin Originality Report ให้แก่อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ พร้อมต้นฉบับวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ ก่อนกาหนดวันสอบอย่างน้อย 20 วัน โดยแนบมาพร้อมกับ แบบ บว.25 ข้อ 9 ผลการพิจารณา Turnitin Originality Report จะไม่มีผลกระทบต่อการตัดสินผลการสอบ วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ข้อ 10 อาจารย์ ที่ ปรึ กษาหลั กวิ ทยานิพนธ์ หรื อการศึ กษาอิ สระ รายงานผลการพิ จารณาความคิ ดเห็ นต่ อ Similarity Index ในแบบ Turnitin Originality Report และให้นักศึกษานาแบบ Turnitin Originality Report ส่งพร้อมการส่งรูปเล่มวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณ์ Turnitin Originality Report ที่นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ พิจารณา และรายงานผล ต้องเป็น Turnitin Originality Report ฉบับที่ตรวจสอบจากรูปเล่มวิทยานิพนธ์หรือรายงาน การศึกษาอิสระ ภายหลังการสอบ พร้อมส่ง ข้อ 11 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 12 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 32/2560) เรื่อง เงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา -------------------------เพื่อให้การดาเนินการขอคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 56 การขอกลับเข้าเป็นนักศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตาม ความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา บัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดเงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการ ขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เ รียกว่า “ประกาศบัณ ฑิตวิ ทยาลัย มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น (ฉบั บที่ 32/2560) เรื่อง เงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 81/2548) เรื่อง เงื่อนไขและแนว ปฏิบัติในการขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา ข้อ 4 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์ขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา ต้องเป็นผู้ที่ 4.1 ได้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ตามระเบียบข้างต้น ข้อ 55.2 และ 55.4 4.2 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 ก่อนการพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 4.3 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่สาขาวิชาสังกัด ข้อ 5 การขอคืนสถานภาพเป็ นนักศึกษาสามารถกระทาได้เพียงครั้งเดียวเท่ านั้น บุคคลที่ ประสงค์ จะขอคื น สถานภาพเป็นนักศึกษา ต้องยื่นคาร้องต่อคณะที่สาขาวิชาสังกัดไม่น้อยกว่า 3 สัปดาห์ ก่อนเปิดภาคการศึกษา ข้อ 6 การนับระยะเวลาการศึกษา ให้นับระยะเวลาทั้งหมดคือ ก่อนพ้นสภาพ ช่วงที่ถูกให้พ้น สภาพและ หลังการคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา รวมแล้วไม่เกินระยะเวลาที่กาหนดตามระเบียบข้างต้น ข้อ 14 ข้อ 7 การนับหน่วยกิต ให้นับหน่วยกิตของรายวิชาที่มีการประเมินผลแล้วทั้งหมด ส่วนรายวิชาที่ยังไม่มี การประเมินผล จะต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ ข้อ 8 ค่าธรรมเนียมการขอคืนสถานภาพ ผู้ที่ได้รับอนุมัติให้คืนสถานภาพเป็นนักศึกษาต้องชาระค่าธรรมเนียม การขอคืนสถานภาพเป็นนักศึกษา และค่าธรรมเนียมที่เก็บเป็นรายภาคการศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 9 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 10 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

97


คู่มือนักศึกษา 2561

98 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 074 /2559 เรื่อง รายวิชาปรับพื้นฐานทางการศึกษา สาหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------เพื่อให้การศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดาเนินไปด้วย ความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการกากับคุณภาพการศึกษาด้านพื้นฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาการคณะศึกษาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 และ คณะกรรมการประจาคณะศึกษาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 อาศั ยอ านาจตามความในมาตรา 40 ในส่ วนงานตามมาตรา 9 และมาตรา 85 แห่ งพระราชบั ญญั ติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และคาสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 5161/2558 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง มอบ อานาจการให้ปฏิบัติการแทน จึงเห็นสมควรออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 074/2559) เรื่อง รายวิชาปรับพื้นฐานทางการศึกษา สาหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับสาหรับนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ที่เข้าศึกษาในหลักสูตร ใหม่ หรือ หลักสูตรปรับปรุง ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 68/2537 เรื่อง การลงทะเบียนวิชา 211 711 EDUCATIONAL PHILOSOPHY วิชา 211 712 EDUCATIONAL SOCIOLOGY และ วิชา 213 711 FOUNDATIONS OF PSYCHOLOGY ข้อ 4 ประกาศนี้ ใช้กับนักศึกษาที่เข้าศึกษาระดับปริญญาโท (หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต) ที่ไม่ได้ สาเร็จการศึกษา ด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ หรือผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางการศึกษา 4.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่นที่มิใช่ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ หรือผู้ ที่มิได้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู ต้องลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต ใน รายวิชาปรับพื้นฐานการศึกษาต่อไปนี้ จานวน 6 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่เข้า ศึกษา มิฉะนั้นจะถือว่าไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต 224 777 ปรัชญาการศึกษา 3(3-0-6) EDUCATIONAL PHILOSOPHY 225 883 จิตวิทยาสาหรับนักการศึกษา 3(3–0–6) PSYCHOLOGY FOR EDUCATOR 4.2 สาหรับหลักสูตรที่ได้รับการยกเว้นตามประกาศฉบับนี้ หลักสูตรจะต้องกาหนดรายวิชาปรับพื้นฐานทางการศึกษาเฉพาะด้านของหลักสูตร โดยมีเนื้อหา รายวิชาไม่น้อยไปกว่ารายวิชาปรับพื้นฐานตามประกาศฉบับนี้ ข้อ 5 ให้คณบดีคณะศึกษาศาสตร์เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 6 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้คณบดีคณะศึกษาศาสตร์มีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ)์ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 054/2560 เรื่อง รายวิชาปรับพื้นฐานทางการศึกษา สาหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------เพื่อให้การศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดาเนินไป ด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการกากับคุณภาพการศึกษาด้านพื้นฐานการศึกษา โดย ความ เห็นชอบคณะกรรมการมาตรฐานวิชาการคณะศึกษาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่15 มิถุนายน 2560 และคณะกรรมการประจาคณะศึกษาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2560 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 ในส่วนงานตามมาตรา 9 และมาตรา 85 แห่ งพระราชบัญญั ติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และคาสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 5161/2558 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง มอบอานาจการให้ปฏิบัติการแทน จึงเห็นสมควรออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 54/2560) เรื่ อ ง รายวิ ชาปรับ พื ้น ฐานทางการศึก ษา ส าหรับ หลัก สูต รศึก ษาศาสตรมหาบัณ ฑิต คณะศึก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยขอนแก่น ” ข้อ 2 ประกาศนี้ ใ ห้มี ผ ลบังคั บ สาหรั บ นัก ศึ ก ษาหลั กสู ต รศึก ษาศาสตรมหาบั ณฑิ ต ที่เ ข้ า ศึก ษาใน หลักสูตรใหม่ หรือ หลักสูตรปรับปรุง ตั้งแต่ พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ข้อ 3 ประกาศนี้ ใช้กับนักศึกษาที่เข้าศึกษาระดับปริญญาโท (หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ) ที่ไม่ได้สาเร็จการศึกษา ด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ หรือผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางการศึกษา 3.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่นที่มิใช่ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ หรือผู้ ที่มิได้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู ต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชาปรับพื้นฐาน การศึกษาต่อไปนี้ จานวน 6 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่เข้าศึกษา มิฉะนั้นจะ ถือว่าไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ED430777 ปรัชญาการศึกษา 3(3-0-6) EDUCATIONAL PHILOSOPHY ED377777 จิตวิทยาสาหรับนักการศึกษา 3(3–0–6) PSYCHOLOGY FOR EDUCATOR 3.2 สาหรับหลักสูตรที่ได้รับการยกเว้นตามประกาศฉบับนี้ หลักสูตรจะต้องกาหนดรายวิ ช าปรั บ พื้ น ฐานทางการศึ ก ษาเฉพาะด้ า นของหลักสูตร โดยมีเนื้อหารายวิชาไม่น้อยไปกว่ารายวิชาปรับพื้นฐานตามประกาศฉบับนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาคณะศึกษาศาสตร์ ข้อ 4 ให้คณบดีคณะศึกษาศาสตร์เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 5 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับ การปฏิบัติต ามประกาศนี ้ ให้ค ณบดีค ณะศึก ษาศาสตร์มีอานาจวินิจ ฉัย สั ่ง การ คาวินิจ ฉัย ของคณบดีค ณะ ศึกษาศาสตร์ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์) คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

99


คู่มือนักศึกษา 2561

100 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ ฉบับที่ 009/2551 เรื่อง แนวปฏิบัติในการแก้เกรด I ของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อให้การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นดาเนินไปด้วยความ เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการกากับคุณภาพการศึกษาของคณะฯ ที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะ ศึกษาศาสตร์ครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2551 จึงเห็นสมควรกาหนดแนวปฏิบัติในการแก้เกรด I ของ วิชาในระดับบัณฑิตศึกษาดังนี้ 1. ระยะเวลาการแก้เกรด I นักศึกษาที่ได้เกรด I จะต้องดาเนินการติดต่ออาจารย์ประจาวิชา เพื่อขอสอบชดเชย และ/หรือปฏิบัติงานให้ครบ ตามที่อาจารย์ประจาวิชากาหนด ภายในภาคการศึกษาถัดไปมิฉะนั้นจะได้รับการเปลี่ยนเกรด I เป็น F 2. การขอขยายเวลาการแก้เกรด I กรณีที่นักศึกษาไม่สามารถดาเนินการแก้เกรด I ภายในกาหนดได้ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดๆ นักศึกษาจะต้อง ดาเนินการขออนุมัติขยายเวลาการแก้เกรด I จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาประจาคณะศึกษาศาสตร์ อย่างช้า 7 วัน ก่อนวันสุดท้ายของการเรียนในภาคการศึกษาที่นักศึกษาจะต้องดาเนินการแก้เกรด I ทั้งนี้ นักศึกษาจะขออนุมัติขยายเวลาการแก้เกรด I ได้ไม่เกิน 1 ภาคการศึกษาหากพ้นกาหนดการอนุมัติให้ ขยายเวลาการแก้เกรด I แล้ว แต่นักศึกษายังไม่สามารถดาเนินการแก้เกรด I ให้แล้วเสร็จนักศึกษาจะได้รับการเปลี่ยน เกรด I เป็นเกรด F ทันที ยกเว้นเฉพาะกรณีที่อาจารย์ประจาวิชาไม่สามารถดาเนินแก้เกรด I ให้แก่นักศึกษาได้ เท่านั้น 3. ผลการแก้เกรด I สาหรับในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนแบบ CREDIT อาจารย์ประจาวิชาจะเปลี่ยนผลการเรียนจากเกรด I ได้ไม่เกินเกรด B+ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพและมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ คณะฯ 4. ประกาศฉบับนี้ให้มีผลบังคับใช้กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ทุกสาขาวิชา ประกาศ ณ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2551 (ลงชื่อ) ไพศาล สุวรรณน้อย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพศาล สุวรรณน้อย) คณบดีคณะศึกษาศาสตร์


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 53/2557) เรื่อง ยกเลิกประกาศแนวปฏิบัติในการแก้เกรด I และการแก้เกรด I ของวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------ตามประกาศคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 25/2548) เรื่อง แนวปฏิบัติ ในการให้เกรด I และแก้เกรด I ของวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงขอยกเลิกประกาศดังกล่าว ประกาศ ณ วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2557 (ลงชื่อ) เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์) รักษาราชการแทนคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

101


คู่มือนักศึกษา 2561

102 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(ฉบับที่ 6/2550) เรื่อง การสอบประมวลความรู้สาหรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ แผน ข -------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการสอบประมวลความรู้ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ แผน ข เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบังเกิดผลดีต่อนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ จึงกาหนดหลักเกณฑ์สาหรับการสอบประมวลความรู้ไว้ดังนี้ 1. การสอบประมวลความรู้เป็นการสอบข้อเขียนเพื่อประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษาใน สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 2. เนื้อหาวิชาที่สอบแบ่งเป็น 5 หมวดวิชา ได้แก่ หมวดวิชาการบริหาร (Management) หมวดวิชาการ วิจัย (Research) หมวดวิชาการจัดการสารสนเทศและความรู้ (Information and Knowledge Management) หมวดวิชาการพัฒนาและจัดระบบสารสนเทศ (Information Organization and Development) และหมวด วิชาการบริการสารสนเทศ (Information Services) นักศึกษาทุกคนจะต้องเลือกสอบ 3 หมวดวิชา จาก 5 หมวด วิชาข้างต้น 3. รายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละหมวดวิชา หมวดวิชาการบริหาร ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับ หลักและทฤษฎีการบริหาร การ วางแผนและการ จัดทาโครงการ การบริหารงานบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการ ประยุกต์ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่ ในการจัดการองค์การ ฯลฯ หมวดวิชาการวิจัย ครอบคุลมเนื้อหาเกี่ยวกับ แนวคิด วิธีการวิจัย และระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ การเก็บ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอผลการวิจัย หมวดวิชาการจัดการสารสนเทศและความรู้ ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการ ความรู้ในบริบท ขององค์การ และสังคม เทคโนโลยีที่ใช้ในสังคมความรู้และห้องสมุดดิจิทัล ฯลฯ หมวดวิ ช าการพั ฒนาและจั ด ระบบสารสนเทศ ครอบคลุ ม เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นา และจั ด การ ทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์เนื้อหาสารสนเทศ การจัดหมวดหมู่และทารายการทรัพยากรสารสนเทศ การ จัดระบบสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล การจัดทาดรรชนี และสาระสังเขป ธีซอรัสและหัวเรื่อง แนวคิดและกล ยุทธ์การค้นคืนสารสนเทศ หมวดวิชาการบริการสารสนเทศ ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับ หลักและทฤษฎีการ บริการ การวางแผน และการบริหารงานบริการ เทคโนโลยีที่ใช้ในงานบริการสารสนเทศ แนวโน้มใหม่ในการบริการ และการประเมิน คุณภาพของการบริการ ฯลฯ 4. กาหนดการจัดสอบ จะดาเนินการจัดสอบภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ประมาณช่วงสัปดาห์สุดท้ายของ การเรียนของแต่ละภาคการศึกษา ทั้งนี้กาหนดวันและเวลาที่จัดสอบแต่ละครั้งจะประกาศให้ทราบเป็นคราว ๆ ไป 5. การขอสอบ นักศึกษาที่ประสงค์จะขอสอบประมวลความรู้จะต้องยื่นแบบฟอร์มขอสอบประมวล ความรู้ (บว.30) พร้อมชาระเงินที่งานบริการการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และยื่นแบบขอสอบเพื่อ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ระบุหมวดวิชาที่ต้องการเลือกสอบที่สาขาวิชา อย่างน้อย 15 วัน ก่อนกาหนดวันสอบ นักศึกษาที่ยื่นขอสอบช้ากว่า กาหนดเวลาที่ระบุข้างต้น จะไม่ได้รับการพิจารณาให้สอบในภาคการศึกษานั้น ๆ 6. การประเมินผลการสอบ นักศึกษาต้องสอบผ่านทุกหมวดวิชาที่เลือกสอบโดยได้คะแนนรวมทุกหมวด วิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 และได้คะแนนในแต่ละหมวดวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 จึงจะถือว่า สอบผ่าน กรณีที่สอบ ผ่านจะได้สัญลักษณ์ S กรณีที่สอบไม่ผ่านจะได้สัญลักษณ์ U โดย สาขาวิชาจะประกาศผลการสอบภายใน 15 วัน หลังจากวันสอบ 7. นักศึกษาสามารถสอบประมวลความรู้ได้ 2 ครั้ง นักศึกษาที่สอบประมวลความรู้ครั้งที่ สองแล้วไม่ผ่าน จะต้องพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ข้อกาหนดอื่นใดที่มิได้ระบุไว้ในประกาศฉบับนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ.2548 หรือ ระเบียบอื่นใดที่มีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง ประกาศ ณ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2550

(ลงชื่อ) อุทัยวรรณ ด่านวิวัฒน์ (นางสาวอุทัยวรรณ ด่านวิวัฒน์) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ปฏิบัติราชการแทน คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

103


คู่มือนักศึกษา 2561

104 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ (ฉบับที่ 36/2549) เรื่อง การสอบประมวลความรู้ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารพยาธิวิทยาคลินิก (โครงการพิเศษ) -------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการสอบประมวลความรู้ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 70/2548) เรื่อง การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ และมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ ในคราวประชุมครั้งที่ 5/2549 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2549 เป็นไปอย่าง ครบถ้วนและสมบูรณ์ จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสอบประมวลความรู้ ไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ (ฉบับที่ 36/2549) เรื่อง การสอบประมวล ความรู้ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารพยาธิวิทยาคลินิก (โครงการพิเศษ)” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3. การสอบประมวลความรู้เป็นการสอบข้อเขียน ซึ่งดาเนินการสอบโดยคณะกรรมการสอบประมวล ความรู้ ข้อ 4. คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบ คือ นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตาม หลักสูตรแล้ว (ยกเว้นการศึกษาอิสระ และวิชาภาษาอังกฤษ) และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 (แบบ บว.30) ข้อ 5. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เป็นผู้เสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ไม่น้อยกว่า 4 คน ให้คณบดีเป็นผู้แต่งตั้ง (ตามแบบ บว.31) ข้อ 6. การสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วยวิชาในสาขาวิชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ข้อ 7. เกณฑ์การประเมินการสอบประมวลความรู้ ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่า 30 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน) ข้อ 8. การประเมินการสอบประมวลความรู้ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน ข้อ 9. นักศึกษาตามข้อ 2 ที่สอบประมวลความรู้ครั้งแรกไม่ผ่าน สามารถขอสอบได้อีก 1 ครั้ง ในภาค การศึกษาถัดไป นักศึกษาที่สอบประมวลความรู้ครั้งที่สองแล้วไม่ผ่านให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ข้อ 10. ให้ประธานกรรมการสอบประมวลความรู้ รายงานผลการสอบต่อประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรระดับบัณฑิต และให้คณะส่งผลให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับ จากวันสอบ (แบบ บว.32) ข้อ 11. ให้คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 12. ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์มีอานาจวินิจฉัยสั่งการคาวินิจฉัยของคณบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) ชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์ (รองศาสตราจารย์ชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์ คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 73/2552) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย -----------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การสอบประมวลความรู้และการสอบวัด คุณสมบัติ การสอบวิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ ฉะนั้น อาศัย อานาจตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การ ออกกาลังกายและการกีฬา เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 จึงประกาศแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน ตาม รายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2552

(ลงชื่อ) ลาปาง แม่นมาตย์ (รองศาสตราจารย์ลาปาง แม่นมาตย์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

105


คู่มือนักศึกษา 2561

106 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ รายละเอียดแนบท้ายประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 73/2552) --------------หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลั กสู ตรวิ ทยาศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาวิ ทยาศาสตร์ การออกก าลั งกายและการกี ฬา สาขาวิ ชาร่ วม บัณฑิตวิทยาลัย 1

การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ 1) การสอบประมวลความรู้ 1.1 การสอบประมวลความรู้ เป็นการสอบข้อเขียนและการสอบปากเปล่า ซึ่งดาเนินการโดย คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ 1.2 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบ คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแล้ว และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1.3 คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน ดังต่อไปนี้ 1.3.1 อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 1 คน 1.3.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 1 คน 1.3.3 กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1 คน 1.3.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 คน หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย การเสนอแต่งตั้งกรรมการข้อ 1.3.1 และ 1.3.2 ต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการในข้อ 1.3.3 และ/หรือ 1.3.4 1.4 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 70/2548) เรื่อง การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ 1.5 เกณฑ์การประเมินการสอบประมวลความรู้ 1.5.1 การสอบข้อเขียน ได้คะแนนไม่น้อยกว่า B 1.5.2 การสอบปากเปล่า คณะกรรมการสอบประมวลความรู้สามารถประเมินได้ว่านักศึกษามี ความรู้ และความพร้อมที่จะดาเนินการทาการศึกษาอิสระให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 2) การสอบวัดคุณสมบัติ 1.1 การสอบวัดคุณสมบัติเป็นการสอบข้อเขียนและการสอบปากเปล่า ซึ่งดาเนินการโดยคณะกรรมการ สอบวัดคุณสมบัติ 1.2 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบ คือ นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสูตรฯ ตั้งแต่ภาคการศึกษา แรกเป็นต้นไป โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1.3 คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน ดังต่อไปนี้ 1.3.1 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1 คน


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 1.3.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 1 คน 1.3.3 กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1 คน 1.3.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 คน หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย การเสนอแต่งตั้งกรรมการข้อ 1.3.1 และ 1.3.2 ต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการในข้อ 1.3.3 และ/หรือ 1.3.4 1.4 การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 35/2549) เรื่อง การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ (แก้ไขครั้งที่ 1) และประกาศบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 70/2548) เรื่อง การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ 1.5 เกณฑ์การประเมินการสอบวัดคุณสมบัติ 1.5.1 การสอบข้อเขียน ได้คะแนนไม่น้อยกว่า B 1.5.2 การสอบปากเปล่า คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติสามารถประเมินได้ว่านักศึกษามี ความรู้ และความพร้อมที่จะดาเนินงานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 2

การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การขอสอบและขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ การศึกษาอิสระ 1) นักศึกษาจะลงทะเบียนในรายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระได้ ต้องมีการเสนอ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระก่อน และจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ให้เป็นไปตาม คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา 2) นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระแล้ว ต้องขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ และเสนอขออนุมัติเค้าโครง ตามแบบฟอร์ม บว.23 สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ก และแผน ข ภายใน 1 ปีการศึกษา และนักศึกษาที่เข้าศึกษา แผน ข. จะเสนอขออนุมัติเค้าโครงได้ หลังจากสอบผ่าน การสอบประมวลความรู้แล้ว สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ต้องขอเสนออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ภายใน 2 ปีการศึกษา หลังจากสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติแล้ว โดยนักศึกษาจะต้องส่งเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษา อิสระ ให้คณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ก่อนการนาเสนอ 1 สัปดาห์ 3) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เป็นผู้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบเค้าโครงและ ประเมินผลความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ประกอบด้วย 3.1.1 อาจารย์ที่ปรึกษา 3.1.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 3.1.3 กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1 คน 3.1.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 1 คน การเสนอแต่งตั้งกรรมการ ข้อ 3.1.1 และ 3.1.2 จะต้องไม่เป็นบุคคลคนเดียวกับกรรมการในข้อ 3.1.3 และ/หรือ 3.1.4 และในกรณีที่กรรมการ ข้อ 3.1.3 ได้พ้นสภาพการเป็นกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ให้ กรรมการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในการสอบเค้าโครงและประเมินผลความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ในเรื่อง นั้น ๆ จนแล้วเสร็จ

คู่มือนักศึกษา 2561

107


คู่มือนักศึกษา 2561

108 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4) เค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ จะต้องได้รับความเห็นชอบอย่างน้อย 2 ใน 3 ของ คณะกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เพื่อนาเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ และ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ เมื่อนักศึกษาสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้ส่งเค้าโครง วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบ จานวนเท่ากับกรรมการสอบเค้าโครง รวม อีก 1 ชุด เพื่อส่งให้กับบัณฑิตวิทยาลัย ที่สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อเสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติ ภายใน 30 วัน หลังสอบ หากพ้นกาหนดระยะเวลาในการส่งให้ถือว่าผลการสอบในครั้งนั้นเป็นโมฆะ ให้นักศึกษา ดาเนินการทาเรื่องขอสอบใหม่ 3 การรายงานความก้าวหน้าการศึกษารายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 1) นักศึกษารายงานผลความก้าวหน้าในการศึกษารายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ทุก ภาคการศึกษา 2) การเสนอความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ จะต้องมีการเสนอทางวาจา และเป็นลายลักษณ์ อักษร เป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ตามแบบฟอร์มที่หลักสูตรกาหนด นักศึกษารายงานความก้าวหน้าฯ ครั้ง สุดท้าย ก่อนการสอบวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระ อย่างน้อย 1 เดือน 3) เกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ คณะกรรมการพิจารณาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ จะต้องประเมินปริมาณงาน ของนักศึกษาเพื่อระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระที่ได้สัญลักษณ์ S เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ตาม เกณฑ์การประเมินดังต่อไปนี้ ระดับปริญญาโท วิทยานิพนธ์ 1. ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ 1 หน่วยกิต 2. เรียบเรียงเค้าโครงเสนอคณะกรรมการพิจารณา 1 หน่วยกิต 3. สอบเค้าโครงผ่านและส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 2 หน่วยกิต 4. เขียนวิทยานิพนธ์ บทที่ 1, 2, 3, เสร็จสมบูรณ์ 1 หน่วยกิต 5. สร้างเครื่องมือวิจัย 2 หน่วยกิต 6. เก็บรวบรวมข้อมูล 1 หน่วยกิต 7. วิเคราะห์ข้อมูล 2 หน่วยกิต 8. เขียนวิทยานิพนธ์ สมบูรณ์ทั้งฉบับ 2 หน่วยกิต รวม 12 หน่วยกิต


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ การศึกษาอิสระ 1. ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อการศึกษาอิสระได้ และเรียบเรียงเค้าโครงเสนอ คณะกรรมการพิจารณา 1 หน่วยกิต 2. สอบเค้าโครงผ่านและส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 1 หน่วยกิต 3. เขียนการศึกษาอิสระ บทที่ 1, 2, 3 เสร็จสมบูรณ์ 1 หน่วยกิต 4. สร้างเครื่องมือวิจัย และหรือเก็บรวบรวมข้อมูล 2 หน่วยกิต 5. วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนการศึกษาอิสระเสร็จสมบูรณ์ทั้งฉบับ 1 หน่วยกิต รวม 6 หน่วยกิต ระดับปริญญาเอก เกณฑ์การกาหนดจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ที่ได้รับการประเมินให้ได้สัญลักษณ์ S ให้เป็นไปตาม ปริมาณงานที่ได้ปฏิบัติจริงของนักศึกษา ตั้งแต่ 1 หน่วยกิตขึ้นไปดังนี้ 1. การนาเสนอโครงร่าง ถือเป็น 10% ของปริมาณงานทั้งหมด 2. การทาการทดลองและวิเคราะห์ผล ถือเป็น 50% ของปริมาณงานทั้งหมด 3 การเขียนวิทยานิพนธ์ ถือเป็น 25% ของปริมาณงานทั้งหมด 4 การนาเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ ถือเป็น 5% ของปริมาณงานทั้งหมด 5. การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ถือเป็น 10% ของปริมาณงานทั้งหมด การพิจารณาปริมาณงานไม่จาเป็นต้องเป็นไปตามลาดับและสามารถพิจารณาเป็นภาพรวมของงานที่ได้ปฏิบัติจริง ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ การกาหนดค่า S ให้พิจารณาเป็นสัดส่วนกับจานวนหน่วยกิตรวมของแต่ละแผนการศึกษา เมื่อนักศึกษาได้ ผ่านการประเมินผลความก้าวหน้าของรายวิชาดุษฎีนิพนธ์และได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตของ หลักสูตรแต่ละแผนการศึกษา จะต้องดาเนินการสอบวิทยานิพนธ์ให้เสร็จสิ้นภายใน 45 วัน ซึ่งเป็นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 4

การสอบ การประเมินผล การรายงานผล การส่งเล่ม และมาตรฐาน วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 1) การสอบวิทยานิพนธ์ 1.1 กาหนดให้เขียนวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ โดยมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ และส่งให้คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์พิจารณาอย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนวันสอบ 1.2 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย 1.2.1 อาจารย์ที่ปรึกษา 1.2.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 1.2.3 กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1 คน 1.2.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 1 คน 1.2.5 ผู้ทรงคุณวุฒินอกมหาวิทยาลัย 1 คน การเสนอแต่งตั้งกรรมการข้อ 1.2.1 และ 1.2.2 ต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการในข้อ 1.2.3 และ1.2.4

คู่มือนักศึกษา 2561

109


คู่มือนักศึกษา 2561

110 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่จาเป็นอาจ เปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้ จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลาพอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้ง ซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ตรวจอ่านวิทยานิพนธ์ได้ 2) การสอบการศึกษาอิสระ 1.1 กาหนดให้เขียนการศึกษาอิสระเป็นภาษาไทย โดยมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และส่งให้คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระพิจารณาอย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนวันสอบ 1.2 คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ต้องไม่น้อยกว่า 2 คน จึงจะถือว่าการสอบครั้งนี้มี ผลสมบูรณ์ ประกอบด้วย 1.2.1 อาจารย์ประจาหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อย่างน้อย 1 คน 1.2.2 อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่จาเป็นอาจ เปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้ จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลาพอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้ง ซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ตรวจอ่านรายงานการศึกษาอิสระได้ 3) ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบที่อยู่ร่วมในวันสอบ การประเมินผล โดยอาจารย์ที่ ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมให้นับคะแนนเป็น 1 เสียง และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการ จานวนไม่ น้อยกว่า 2 ใน 3 เสียงของจานวนกรรมการทั้งหมด 4) การรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 1.1 ให้ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบผ่านประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรไป ยัง หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 1.2 คณะให้ความเห็นชอบการประเมินผลรายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ที่สาขาวิชาเสนอ และแจ้งผลการประเมินให้บัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการต่อไป 5) นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระไม่ผ่าน มีสิทธิ์ขอสอบครั้งที่ 2 ได้ภายใน 15 วัน หลังวัน สอบและต้องสอบภายใน 60 วัน หลังวันครบกาหนดการแก้ไข การสอบครั้งที่ 2 จะต้องดาเนินการขอสอบและ ชาระค่าธรรมเนียมการสอบใหม่ 6) เมื่อสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระผ่านแล้ว นักศึกษาไม่สามารถส่งวิทยานิพนธ์/รายงานการศึกษา อิสระให้บัณฑิตวิทยาลัยได้ภายใน 45 วัน หลังการสอบไม่ว่ากรณีใด (ยกเว้นต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 สัปดาห์ขึ้นไป) จะถือว่านักศึกษาสอบไม่ผ่าน และนักศึกษาจะต้องยื่นเรื่องขอสอบใหม่ 7) การส่งเล่มวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ 1.1 การส่งเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ฉบับที่ 72/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 9 1.2 การส่งเล่มการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 1.2.1 ให้ส่งที่หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย 1.2.2 นักศึกษาส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 2 เล่ม (เข้าปก 1 เล่ม และที่ยัง ไม่เข้าปก 1 เล่ม) พร้อมแผ่นซีดีบันทึกข้อมูลการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 2 แผ่น ซึ่งคณะกรรมการสอบให้ ความเห็นชอบแล้ว 8) มาตรฐานวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณ์ 1.1 วิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 72/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 10 1.2 การศึกษาอิสระ 1.2.1 รูปแบบการจัดพิมพ์การศึกษาอิสระให้เป็นไปตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษา อิสระของบัณฑิตวิทยาลัย 1.2.2 ปกนอกของการศึกษาอิสระ ต้องเป็นปกแข็งหุ้มผ้าแร็กซีน 1.2.3 ปกใช้สีกรมท่า(สีน้าเงินเข้ม) 1.2.4 การเข้าเล่มการศึกษาอิสระ ต้องเป็นการเข้าเล่มแบบเจาะเย็บติดผ้าคิ้วหุ้มสันและติดใบ รองปกสีขาว 1.2.5 สัญลักษณ์และข้อความของปกหน้า ปกใน และสันปกให้เป็นไปตามคู่มือการทา วิทยานิพนธ์ ของบัณฑิตวิทยาลัย ยกเว้นปกในใบรับรองการศึกษาอิสระ จะมีอาจารย์ที่ปรึกษา ประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้ลงนาม 5. เกณฑ์การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เป็นดังนี้ เกณฑ์การประเมินผลสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา (คณะศึกษาศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย) การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คุณภาพของวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การนาเสนอและสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ลาดับที่ 1.

หัวข้อประเมิน ความสาคัญของปัญหาในการวิจัย 1.1 ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลที่ต้องการวิจัย เพื่อตอบปัญหาของการวิจัยนั้น ๆ 1.2 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน 1.3 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา

70 คะแนน 30 คะแนน คะแนนเต็ม 8

คะแนนที่ได้

คู่มือนักศึกษา 2561

111


คู่มือนักศึกษา 2561

112 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ลาดับที่ 2

3

4

5

6

7

หัวข้อประเมิน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงค์การวิจัย 2.2 ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย 2.3 ความเป็นไปได้ในการทาวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3.1 การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 3.3 การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนและงานวิจัยสู่ การกาหนดกรอบแนวคิดการวิจัยที่เหมาะสม วิธีการดาเนินการวิจัย 4.1 ความเหมาะสมของวิธีการวิจัยที่ใช้ 4.2 ความเหมาะสมของขั้นตอนการวิจัย การควบคุม ตัวแปรและการวางแผนการทดสอบ 4.3 ความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัยเทคนิควิจัย การ เลือกประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 4.4 ความถูกต้องของการอ้างอิงถึงวิธีการที่ใช้ในการวิจัย 4.5 ความเกี่ยวเนื่องของวิธีการดาเนินการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 4.6 ความมีเหตุผลและความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล ผลงานวิจัย 5.1 การสรุปผลถูกต้องและเชื่อถือได้ 5.2 ความสอดคล้องและครอบคลุมของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 5.3 ความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย 5.4 ประโยชน์ของผลที่ได้จากการวิจัย การอภิปรายผลการวิจัย 6.1 ความสามารถในการบูรณาการความรู้จากงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย 6.2 ความสามารถในการสะท้อนผลถึงข้อดีและข้อจากัดในการวิจัย 6.3 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนาผลงานวิจัยไป ประยุกต์ใช้และงานวิจัยที่ควรทาต่อไป คุณภาพของการเขียนวิทยานิพนธ์หรือรายงาน การศึกษาอิสระ 7.1 ความเหมาะสมถูกต้องของการจัดโครงสร้างของเนื้อหา

คะแนนเต็ม 6

6

20

10

10

10

คะแนนที่ได้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ลาดับที่

หัวข้อประเมิน 7.2 จรรยาบรรณและความถูกต้องของการอ้างอิง 7.3 ความถูกต้องของภาษาและไวยากรณ์ที่ใช้ในการเขียน 7.4 ความถูกต้องของข้อมูลและการรายงานผล รวมคะแนนทั้งสิ้น

2) การนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดยวิธีการสอบปากเปล่า ลาดับที่ หัวข้อประเมิน 1. การนาเสนอผลงาน 1.1 ความเหมาะสมของวิธีการนาเสนอ 1.2 ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอ 1.3 การนาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสม 1.4 การเสนอแนวความคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง 1.5 บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผู้นาเสนอ 1.6 ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นาเสนอกับที่เขียนใน วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 1.7 ความสามารถในการสรุปผล 2 การตอบคาถาม 2.1 ความสามารถในการให้เหตุผลและอ้างหลักฐานสนับสนุน 2.2 ความสามารถในการตอบคาถามที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ ปรากฏในงานวิจัย 2.3 ความเข้าใจในการงานวิจัยที่ทาและเข้าใจถึงความสัมพันธ์ ของผลจากการวิจัยต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชานั้น ๆ รวมคะแนนทั้งสิ้น

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

70

คะแนนเต็ม 20

คะแนนที่ได้

10

30

หลักเกณฑ์การให้ระดับการประเมิน Excellent 80-100 % Good 70-79 % Pass 60-69 % Fail  60 % (ขอให้กรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ส่งคะแนนปกปิด มาที่สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 3 วัน หลังจากสอบเสร็จ)

คู่มือนักศึกษา 2561

113


คู่มือนักศึกษา 2561

114 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ เกณฑ์การประเมินผลสอบวิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา (คณะศึกษาศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย) การประเมินแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คุณภาพของวิทยานิพนธ์ 60% (300 คะแนน) การนาเสนอและสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ 30% (150 คะแนน) การเผยแพร่ผลงาน 10% ( 50 คะแนน) รวม 100% (500 คะแนน) ลาดับที่ หัวข้อประเมิน คะแนนเต็ม 1. คุณภาพของวิทยานิพนธ์ 60% 1.1 คุณภาพของบทคัดย่อ 1.1.1 ภาษาไทย 10 1.1.2 ภาษาอังกฤษ 10 (ความสมบูรณ์ของรูปแบบ ความครอบคลุมเนื้อหาสาระที่สาคัญ ทั้งหมดและสื่อความหมายได้ถูกต้อง 1.2 ความสาคัญของปัญหาในการวิจัย 30 1.2.1 ความชัดเจน 1.2.2 การใช้เหตุผล 1.2.3 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน 1.2.4 นามาซึ่งข้อมูลใหม่ หรือตอบคาถามวิจัยได้ 1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 30 1.3.1 ความชัดเจน 1.3.2 ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย 1.3.3 ประโยชน์ในการนาไปใช้ 1.4 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 30 1.4.1 ความครอบคลุม 1.4.2 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลจากการทบทวน วรรณกรรม 1.4.3 การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการวิจัย 1.5 วิธีดาเนินการวิจัย 25 1.5.1 ความชัดเจนและความถูกต้อง 1.5.2 ครอบคลุมรายละเอียดที่จาเป็น

คะแนนที่ได้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ลาดับที่

หัวข้อประเมิน 1.6 ผลการวิจัย 1.6.1 ลาดับขั้นตอนการนาเสนอ 1.6.2 ความชัดเจน และถูกต้องของผลการวิจัย 1.6.3 รูปแบบและวิธีการนาเสนอข้อมูล 1.6.4 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 1.7 การวิเคราะห์และการวิจารณ์ผลการวิจัย 1.7.1 ความเหมาะสมและแนวคิดในการวิเคราะห์ 1.7.2 การเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 1.7.3 ความสามารถในการบูรณาการความรู้ ต่าง ๆ จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและผลการวิจัยมาใช้ในการ ตอบปัญหาทางการวิจัย 1.7.4 ความสามารถในการสังเคราะห์ความรู้ใหม่จาก หลักฐานการวิจัย 1.8 การสรุปและข้อเสนอแนะ 1.8.1 ความสามารถในการสรุปผลการวิจัยให้สัมพันธ์กับ วัตถุประสงค์ 1.8.2 ความสมเหตุสมผลของการเสนอแนะการนา ผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ 1.8.3 ความสมเหตุสมผลของการเสนอแนะงานวิจัยที่ควร ศึกษาต่อไป 1.9 การอ้างอิง 1.9.1 ความถูกต้องของการอ้างอิง 1.9.2 ความถูกต้องของรูปแบบการอ้างอิง 1.10 การใช้ภาษาในการเขียนและจัดโครงสร้างในการนาเสนอ

2.

รวม การนาเสนอและป้องกันวิทยานิพนธ์ 30% 2.1 ความเหมาะสมของวิธีการนาเสนอ 2.2 ความเหมาะสมของสื่อ 2.3 ลาดับขั้นตอนการนาเสนอ 2.4 บุคลิกภาพ การแสดงออก และความเชื่อมั่น 2.5 ความรู้พื้นฐาน และความสามารถในการบูรณาการเพื่อ อธิบายเหตุผล

คะแนนเต็ม 30

75

20

15

25 300 10 10 10 20 30

คะแนนที่ได้

คู่มือนักศึกษา 2561

115


คู่มือนักศึกษา 2561

116 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ลาดับที่

3.

หัวข้อประเมิน 2.6 ตอบตรงคาถาม 2.7 ตอบคาถามสอดคล้องกับข้อมูลที่นาเสนอและสามารถให้ เหตุผลและอ้างอิงหลักฐานสนับสนุน 2.8 ความเข้าใจในงานวิจัย และความสัมพันธ์ของผลจากการวิจัย ต่อองค์ความรู้ในสาขา รวม การเผยแพร่ 10% 3.1 มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ - ระดับท้องถิ่น - ระดับชาติ - นานาชาติ 3.2 นาเสนอผลงานในการประชุมระดับนานาชาติ 3.3 นาเสนอผลงานในการประชุมระดับชาติ - ทางวาจา - ทางลายลักษณ์อักษร 3.4 นาเสนอผลงานในการประชุมระดับท้องถิ่น - ทางวาจา - ทางลายลักษณ์อักษร หมายเหตุ คะแนนรวมในการเผยแพร่สูงสุดไม่เกิน 50 คะแนน ในกรณีที่มีการเผยแพร่มากกว่า 1 รายการ หรือในแต่ละ รายการ (เนื้อหาแตกต่างกัน) มากกว่า 1 ครั้ง จะได้คะแนนเต็ม 50 คะแนน รวมคะแนนทั้งสิ้น

คะแนนเต็ม 15 30

คะแนนที่ได้

25 150 50 30 40 50 50 40 30 30 25

500

หลักเกณฑ์การให้ระดับการประเมิน Excellent 80-100 % Good 70-79 % Pass 60-69 % Fail  60 % (ขอให้กรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ส่งคะแนนปกปิด มาที่สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 3 วัน หลังจากสอบเสร็จ)


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 51 /2554) เรื่อง การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะ ศึกษาศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และบัณฑิ ตวิทยาลัย) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และบั ง เกิ ด ผลดี ต่ อ ทางราชการ ฉะนั้ น อาศั ย อ านาจตามความในข้ อ 6.3 แห่ ง ระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 และประกาศมหาวิทยาลัย ขอนแก่น ฉบับที่ 809/2545 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2545 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรการจัดการการพัฒนา ชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 จึงประกาศแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรการจัดการการพัฒนา ชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ (คณะมนุษยศาสตร์และ สั งคมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะศึ ก ษาศาสตร์ คณะสาธารณสุ ข ศาสตร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ และ บัณฑิตวิทยาลัย) ไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 51 /2554) เรื่อง การจัดการ เรียนการสอน หลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตร นานาชาติ (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย) ข้อ 2 . ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3. การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ แยกแสดงรายละเอียด แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 4. หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายสาหรับการบริหารหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบท มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ แยกแสดงรายละเอียด แนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

(ลงชื่อ) ลาปาง แม่นมาตย์ (รองศาสตราจารย์ลาปาง แม่นมาตย์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

117


คู่มือนักศึกษา 2561

118 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ รายละเอียดแนบท้ายประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 51 /2554) -------------------------------------หลักการรายละเอียดการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบท มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาชนบท หลักสูตรนานาชาติ 1. การลงทะเบียนเรียน 1.1 การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบท มหาบัณฑิต ลงทะเบียนเรียน 3 ภาคการศึกษา รวม 36 หน่วยกิต 1.2 หลักสูตรสาขาวิชา เป็นผู้รับผิดชอบการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา โดย ทาบันทึกถึงสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 1.3 นักศึกษาต้องลงทะเบียนรายวิชาการศึกษาอิสระครั้งแรก ในภาคการศึกษาที่ 2 และต้องเสนอ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) ตามแบบ บว. 21 2. การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 2.1 นักศึกษาเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 2.2 นักศึกษายื่นแบบ บว. 21 เพื่อขออนุมัติแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ โดยได้รับความ เห็นชอบจากประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 2.3 หลักสูตรสาขาวิชา ตรวจสอบคุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ตามระเบียบ ฯ และ จัดทาคาสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 3. การเสนออนุมัติเค้าโครงการศึกษาอิสระ 3.1 นักศึกษาเสนอเค้าโครงการศึกษาอิสระเป็นภาษาอังกฤษ ตามแบบฟอร์ม บว.23 ให้เสร็จสิ้นภายใน ภาคการศึกษาที่ 3 โดยนักศึกษาจะต้องเสนอเค้าโครงการศึกษาอิสระให้อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระเพื่อให้ คาแนะนาและพิจารณาให้ความเห็นชอบ 3.2 นักศึกษาเสนอแบบเสนอเค้าโครงการศึกษาอิสระ บว.23 ต่อบัณฑิตวิทยาลัย โดยผ่านความเห็นชอบ จากอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระและประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พร้อมเล่มเค้าโครงการศึกษา อิสระ เป็นจานวน 2 เล่ม และแผ่น CD จานวน 2 แผ่น 3.3 เจ้าหน้าที่หลักสูตรสาขาวิชาร่วมตรวจสอบและเสนอเล่มเค้าโครงการศึกษาอิสระพร้อมแบบฟอร์ม บว.23 ต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. การรายงานความก้าวหน้ารายวิชาการศึกษาอิสระ 4.1 นักศึกษารายงานผลความก้าวหน้าการทาการศึกษาอิสระทุกภาคการศึกษา ก่อนลงทะเบียนรายวิชา การศึกษาอิสระในภาคการศึกษาต่อไป 4.2 นักศึกษารายงานความก้าวหน้าการศึกษาอิสระครั้งสุดท้าย ก่อนสอบการศึกษาอิสระ 4.3 เกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าในการทาการศึกษาอิสระ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระประเมินความก้าวหน้าการทาการศึกษาอิสระของนักศึกษา เพื่อระบุ หน่วยกิตรายวิชาการศึกษาอิสระที่ได้สัญลักษณ์ S เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา โดยหลักสูตรการจัดการการพัฒนา ชนบทได้กาหนดแผนการศึกษาให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการศึกษาอิสระทั้งสิ้น 6 หน่วยกิต ในภาคการศึกษาที่ 2 จานวน 2 หน่วยกิต และในภาคการศึกษาที่ 3จานวน 4 หน่วยกิต การพิจารณาความก้าวหน้าของการทาการศึกษาอิสระ ให้พิจารณาการนาเสนอเค้าโครงและภาพรวม ของการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 5. การสอบประมวลความรู้ 5.1 การสอบประมวลความรู้ เป็นการสอบข้อเขียนและการสอบปากเปล่า ซึ่งดาเนินการโดย คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ 5.2 คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน ที่คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรเสนอชื่อ ประกอบด้วย อาจารย์ประจาวิชาสาขาที่เกี่ยวข้อง 5.3 หัวข้อรายวิชาที่เกี่ยวข้องในการสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ ทฤษฎีการจัดการ การพัฒนาชนบท ระเบียบวิธีวิจัย กลยุทธ์การจัดการกับปัญหาและหน่วยงานท้องถิ่น และการวิเคราะห์ปัญหา ด้านกระบวนการจัดการพัฒนาชนบท 5.4 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ยื่นคาร้องขอสอบประมวลความรู้ได้ ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามที่หลักสูตรกาหนด และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 5.5 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน 5.6 เกณฑ์การประเมินการสอบประมวลความรู้ ให้สัดส่วนการประเมินผลการสอบข้อเขียนเป็นร้อยละ 70 และการสอบปากเปล่าเป็นร้อยละ 30 โดยนักศึกษาจะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของผลการสอบทั้ง ข้อเขียนและปากเปล่า กรณีนักศึกษาสอบไม่ผ่าน ให้นักศึกษายื่นคาร้องขอสอบอีกครั้งในภาคการศึกษาถัดไป หากสอบครั้งที่สองไม่ผ่านจะพ้น สภาพการเป็นนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ข้อ 60.8 6. การสอบการศึกษาอิสระ 6.1 อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ เป็นผู้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ประกอบด้วย 1) อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 2) อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 3) อาจารย์ประจาหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 6.2 นักศึกษาส่งรายงานการศึกษาอิสระให้คณะกรรมการสอบพิจารณา อย่างน้อย 20 วัน ก่อนวันสอบ 6.3 คุณสมบัตินักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ฉบับที่ 72/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 6.4 การพิจารณาผลการสอบและการรายงานผลการสอบ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดที่ 8 ข้อ 49 และข้อ 50เรื่องการทาวิทยานิพนธ์และ การศึกษาอิสระ โดยใช้เกณฑ์การประเมินผลสอบตามเอกสารแนบท้าย เรื่อง เกณฑ์การประเมินผลสอบการศึกษาอิสระ

คู่มือนักศึกษา 2561

119


คู่มือนักศึกษา 2561

120 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ เกณฑ์การประเมินผลการสอบการศึกษาอิสระ หลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต (นานาชาติ) การประเมินแบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. เนื้อหาของรายงานการศึกษาอิสระ 2. การนาเสนอผลงาน 3. การสอบปากเปล่า รวม

50 % 20 % 30 % 100 %

ส่วนที่ 1 เนื้อหาของรายงานการศึกษาอิสระ รายการประเมิน 1. เนื้อหาของรายงานการศึกษาอิสระ 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา - สรุปสาระสาคัญของงานวิจัย/องค์ความรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน - ระบุประเด็นปัญหาชัดเจน 1.2 วัตถุประสงค์ - ครอบคลุมปัญหาการวิจัย - ชี้ชัดถึงเป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่จะได้จากการวิจัย 1.3 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง - ครอบคลุมแนวคิด/ทฤษฎีที่นามาใช้ในการวิจัย - แสดงสภาพงานวิจัยที่ผ่านมาในเรื่องเดียวกันนั้นอย่างครอบคลุม - การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยนาไปสู่การกาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ที่เหมาะสม 1.4 ระเบียบวิธีการวิจัย - ระเบียบวิธีวิจัยเหมาะสมกับปัญหา / วัตถุประสงค์การวิจัย - การกาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างเหมาะสม - เครื่องมือวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล 1.5 ผลที่ได้จากการวิจัย - เชื่อถือได้ - ให้ความรู้ใหม่ - ประโยชน์ในทางวิชาการ / การนาไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงาน / สังคมที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ 2 การนาเสนอผลงาน รายการประเมิน 2. การนาเสนอผลงาน

คะแนนเต็ม 50 10

10

10

10

10

คะแนนเต็ม 20


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 2.1 ภาษาที่ใช้ในการเขียน 2.2 ความถูกต้องของข้อมูล / รายงาน

5 5

2.3 ลาดับขั้นตอนการนาเสนอข้อมูล

5

2.4 รูปแบบของการจัดพิมพ์

5

ส่วนที่ 3 การสอบปากเปล่า รายการประเมิน 3. การสอบปากเปล่า

คะแนนเต็ม 30

3.1 การนาเสนอผลงานวิจัยต่อกรรมการ

5

3.2 ความรู้ความเข้าใจในงานวิจัยของตน

10

3.3 การแสดงออก ความเชื่อมั่นในการนาเสนอ / สอบ

5

3.4 การตอบคาถาม

10

เกณฑ์การประเมิน Excellent 90-100 % Good 75-89% Pass 60-74% Fail < 60% *กรรมการสอบการศึกษาอิสระ ต้องส่งคะแนนปกปิดมาที่งานสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 3 วันหลังจาก วันสอบ

คู่มือนักศึกษา 2561

121


คู่มือนักศึกษา 2561

122 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายสาหรับการบริหารหลักสูตรการจัดการการพัฒนาชนบทมหาบัณฑิต ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนการสอนภาคทฤษฎีต่อหน่วยกิต ค่าตอบแทนการสอนภาคปฏิบัติต่อหน่วยกิต คณะกรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระต่อเรื่อง คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระต่อครั้ง คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ต่อครั้ง

ลักษณะการจัดหลักสูตร ระบบปกติ (นานาชาติ) 12,000 12,000 10,000 5,000 6,000

แนวปฏิบตั ิการเบิกจ่าย 1. การจ่ายค่าตอบแทนการสอน เป็นการจ่ายแบบเหมาจ่ายที่รวมถึงการสอนของอาจารย์พิเศษ และ หรือวิทยากร การคุมสอบ การออก การตรวจข้อสอบ และประเมินผลรายวิชา 2. การจ่ายค่าตอบแทนการสอนในกรณีมีนักศึกษาลงทะเบียนน้อยกว่า 3 คน ให้จ่ายดังนี้ 2.1 นักศึกษา 2 คน จ่ายหนึ่งในสอง ของค่าตอบแทนตามอัตราข้างต้น 2.2 นักศึกษา 1 คน จ่ายหนึ่งในสี่ ของค่าตอบแทนตามอัตราข้างต้น 3. การจ่ายค่าตอบแทนคณะที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามอัตราข้างต้นโดยจ่ายอัตราส่วน 2 : 1 กรณีมีที่ ปรึกษาร่วม 4. การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ให้จ่ายดังนี้ 4.1 ถ้ามีกรรมการ 2 คน ให้จ่ายประธานต่อกรรมการ ในอัตรา 6 : 4 4.2 ถ้ากรรมการมากกว่า 2 คน ให้จ่ายในอัตรา 4 : 3 : 3 5. การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ให้เป็นไปตามอัตราข้างต้นโดยโดยจ่ายประธานกรรมการ 1,800 บาท และกรรมการคนละ 1,400 บาทเท่ากัน


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 98/2556) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย -----------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การสอบประมวลความรู้และ การสอบวิทยานิพนธ์ ของหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและและ นวัตกรรม สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี ประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ ฉะนั้น อาศัยอานาจตามระเบียบมหาวิทยาลัย ขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม ในการเวียน ครบรอบการเวียนเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2556 จึงประกาศแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2556

(ลงชื่อ) ลาปาง แม่นมาตย์ (รองศาสตราจารย์ลาปาง แม่นมาตย์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

123


คู่มือนักศึกษา 2561

124 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ รายละเอียดแนบท้ายประกาศบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 98/2556) --------------หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย 1. การสอบประมวลความรู้ 1) การสอบประมวลความรู้ 1.1 การสอบประมวลความรู้ เป็นการสอบข้อเขียนและหรือการสอบปากเปล่า ซึ่งดาเนินการ โดยคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ 1.2 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบ คือ นักศึกษาแผน ข ที่ลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแล้ว และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรฯ 1.5 คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน โดยให้คณะ กรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้แต่งตั้ง 1.6 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 70/2548) เรื่อง การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติ 1.5 เกณฑ์การสอบผ่านการประเมินการสอบประมวลความรู้ 1.5.1 การสอบข้อเขียน ได้คะแนนไม่น้อยกว่า B 1.5.2 การสอบปากเปล่า คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ สามารถประเมินได้ว่านักศึกษามี ความรู้ และความพร้อมที่จะดาเนินการทาการศึกษาอิสระให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 2. การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การขอสอบและขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 1) นักศึกษาจะลงทะเบียนในรายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระได้ ต้องมีการเสนอ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระก่อน และจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ให้เป็นไปตาม คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา 2) นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์แล้ว ต้องขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์และเสนอขออนุมัติเค้า โครง ตามแบบฟอร์ม บว.23 สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ก ภายใน 1 ปี การศึกษา นับจากที่ นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์ โดยนักศึกษาจะต้องส่งเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ให้คณะกรรมการสอบเค้า โครงวิทยานิพนธ์ก่อนการนาเสนอไม่น้อยกว่า 1 สัปดาห์ และสาหรับนักศึกษา แผน ข ต้องเสนอขออนุมัติเค้า โครงการศึกษาอิสระ ภายใน 1 ปีการศึกษา นับจากที่นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาการศึกษาอิสระ ตามแบบฟอร์ม บว.23


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 3) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เป็นผู้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย 3.1.1 อาจารย์ที่ปรึกษา 3.1.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 3.1.3 กรรมการบริหารหลักสูตรฯ 1 คน 3.1.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 1 คน กรรมการ ข้อ 3.1.1 และ 3.1.2 จะต้องไม่เป็นบุคคลคนเดียวกับกรรมการในข้อ 3.1.3 และ/ หรือ 3.1.4 และในกรณีที่กรรมการ ข้อ 3.1.3 และ/หรือ 3.1.4 ได้พ้นสภาพการเป็นกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ให้ กรรมการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ในเรื่องนั้น ๆ จนแล้วเสร็จ 4) เค้าโครงวิทยานิพนธ์ จะต้องได้รับความเห็นชอบอย่างน้อย 2 ใน 3 ของคณะกรรมการพิจารณาเค้า โครงวิทยานิพนธ์ โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมนับเป็นเสียงเดียว เพื่อนาเสนอคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรฯ และคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ เมื่อนักศึกษาสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้ส่งเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสอบ จานวนเท่ากับจานวนกรรมการสอบเค้าโครงและบวกเพิ่มอีก 1 ชุด เพื่อส่งให้กับ บัณฑิตวิทยาลัย ที่สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อเสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติ ภายใน 30 วันหลังสอบ หากพ้นกาหนดระยะเวลาในการส่งให้ถือว่าผลการสอบในครั้งนั้นเป็นโมฆะ ให้นักศึกษาดาเนินการทาเรื่องขอสอบ ใหม่ 3. การรายงานความก้าวหน้าการศึกษารายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 1) นักศึกษารายงานผลความก้าวหน้าในการศึกษารายวิชาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ทุก ภาคการศึกษา 2) การเสนอความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ จะต้องมีการเสนอทางวาจา และหรือเป็นลาย ลักษณ์อักษร เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ตามแบบฟอร์มที่หลักสูตรกาหนด ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/ การศึกษาอิสระ 3) เกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ จะต้องประเมินปริมาณงานของนักศึกษาเพื่อ ระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระที่ ได้สัญลักษณ์ S เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ตามเกณฑ์การ ประเมินเมื่อผ่านหัวข้อต่าง ๆ ตามลาดับดังต่อไปนี้ ระดับปริญญาโท วิทยานิพนธ์ 1. ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ 1 หน่วยกิต 2. เรียบเรียงเค้าโครงเสนอคณะกรรมการพิจารณา 1 หน่วยกิต 3. สอบเค้าโครงผ่านและส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 2 หน่วยกิต 4. เขียนวิทยานิพนธ์ บทที่ 1, 2, 3, เสร็จ 1 หน่วยกิต 5. สร้างเครื่องมือวิจัย 1 หน่วยกิต 6. เก็บรวบรวมข้อมูล 2 หน่วยกิต

คู่มือนักศึกษา 2561

125


คู่มือนักศึกษา 2561

126 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. เขียนวิทยานิพนธ์ สมบูรณ์ทั้งฉบับ รวม

2 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต

การศึกษาอิสระ 1. ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อการศึกษาอิสระได้และเรียบเรียงเค้าโครงเสนอ คณะกรรมการพิจารณา 1 หน่วยกิต 2. สอบเค้าโครงผ่านและส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 1 หน่วยกิต 3. เขียนการศึกษาอิสระ บทที่ 1, 2, 3 เสร็จ 1 หน่วยกิต 4. สร้างเครื่องมือวิจัย และหรือเก็บรวบรวมข้อมูล 2 หน่วยกิต 5. วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนการศึกษาอิสระเสร็จสมบูรณ์ทั้งฉบับ 1 หน่วยกิต รวม 6 หน่วยกิต 4. การสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 1) การสอบวิทยานิพนธ์ 1.1 กาหนดให้เขียนวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ ภาษาเดียวทั้งเล่ม โดยมีบทคัดย่อ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และส่งให้คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์พิจารณาอย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนวันสอบ 1.2 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย 1.2.1 อาจารย์ที่ปรึกษา 1.2.2 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 1.2.3 อาจารย์ประจา ไม่น้อยกว่า 1 คน 1.2.4 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 1 คน ให้กรรมการคนใดคนหนึ่งซึ่งไม่ใช่อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นประธานกรรมการสอบ ในวันสอบ จะต้องมีคณะกรรมการสอบไม่น้อยกว่า 3 คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจา ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม และอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่จาเป็น อาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้ จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลา พอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะสามารถตรวจอ่านวิทยานิพนธ์ได้ทัน 1.3 ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบที่อยู่ร่วมในวันสอบการประเมินผล โดยให้นับ(คณะ) อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น 1 เสียง (คณะ)อาจารย์ประจาเป็น 1 เสียง และ(คณะ)ผู้ทรงคุณวุฒิเป็น 1 เสียง และให้ถือผล การประเมินตามมติกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 เสียงของจานวนกรรมการทั้งหมด 1.4 การรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์ 1.4.1 ให้ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบผ่านประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรไปยัง หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 1.4.2 แจ้งผลการประเมินให้บัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการต่อไป 2) การสอบการศึกษาอิสระ 1.1 กาหนดให้เขียนการศึกษาอิสระเป็นภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษ ภาษาเดียวทั้งเล่ม โดยมี บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และส่งให้คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระพิจารณาอย่างน้อย 3 สัปดาห์ ก่อนวันสอบ 1.2 คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ต้องไม่น้อยกว่า 2 คน จึงจะถือว่าการสอบครั้งนี้มี ผลสมบูรณ์ ประกอบด้วย 1.2.1 อาจารย์ประจาหรือผู้ทรงคุณวุฒิในมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อย่างน้อย 1 คน 1.2.2 อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) ในวันสอบ จะต้องมีคณะกรรมการสอบไม่น้อยกว่า 2 คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม และอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ จึงจะถือว่าการสอบนั้นมี ผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่จาเป็น อาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้ จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลา พอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะสามารถตรวจอ่านการศึกษาอิสระ ได้ทัน 1.3 ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบทุกคน การประเมินผล โดยอาจารย์ที่ปรึกษาและ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมให้นับคะแนนเป็น 1 เสียง และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการ จานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 เสียงของจานวนกรรมการทั้งหมด 1.4 การรายงานผลการสอบการศึกษาอิสระ 1.4.1 ให้ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบผ่านประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรไปยัง หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ 1.4.1 แจ้งผลการประเมินให้บัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการต่อไป

คู่มือนักศึกษา 2561

127


คู่มือนักศึกษา 2561

128 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 5. เกณฑ์การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เป็นดังนี้ เกณฑ์การประเมินผลสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม (คณะวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น) การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คุณภาพของวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การนาเสนอและสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ลาดับที่ 1.

2

3

4

หัวข้อประเมิน ความสาคัญของปัญหาในการวิจัย 1.1 ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลที่ต้องการวิจัย เพื่อตอบปัญหาของการวิจัยนั้น ๆ 1.2 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน 1.3 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงค์การวิจัย 2.2 ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย 2.3 ความเป็นไปได้ในการทาวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3.1 การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 3.3 การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนและงานวิจัยสู่การกาหนด กรอบแนวคิดการวิจัยที่เหมาะสม วิธีการดาเนินการวิจัย 4.1 ความเหมาะสมของวิธีการวิจัยที่ใช้ 4.2 ความเหมาะสมของขั้นตอนการวิจัย การควบคุม ตัวแปรและการวางแผนการทดสอบ 4.3 ความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัยเทคนิควิจัย การ เลือกประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 4.4 ความถูกต้องของการอ้างอิงถึงวิธีการที่ใช้ในการวิจัย 4.5 ความเกี่ยวเนื่องของวิธีการดาเนินการวิจัยกับ วัตถุประสงค์ 4.6 ความมีเหตุผลและความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล

70 คะแนน 30 คะแนน คะแนนเต็ม 8

6

6

20

คะแนนที่ได้


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ลาดับที่ 5

6

7

หัวข้อประเมิน ผลงานวิจัย 5.1 การสรุปผลถูกต้องและเชื่อถือได้ 5.2 ความสอดคล้องและครอบคลุมของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 5.3 ความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย 5.4 ประโยชน์ของผลที่ได้จากการวิจัย การอภิปรายผลการวิจัย 6.1 ความสามารถในการบูรณาการความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย 6.2 ความสามารถในการสะท้อนผลถึงข้อดีและข้อจากัดในการวิจัย 6.3 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนาผลงานวิจัยไป ประยุกต์ใช้และงานวิจัยที่ควรทาต่อไป คุณภาพของการเขียนวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 7.1 ความเหมาะสมถูกต้องของการจัดโครงสร้างของเนื้อหา 7.2 จรรยาบรรณและความถูกต้องของการอ้างอิง 7.3 ความถูกต้องของภาษาและไวยากรณ์ที่ใช้ในการเขียน 7.4 ความถูกต้องของข้อมูลและการรายงานผล รวมคะแนนทั้งสิ้น

2) การนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดยวิธีการสอบปากเปล่า ลาดับที่ หัวข้อประเมิน 1. การนาเสนอผลงาน 1.1 ความเหมาะสมของวิธีการนาเสนอ 1.2 ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอ 1.3 การนาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสม 1.4 การเสนอแนวความคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง 1.5 บุคลิกภาพการแสดงออกความเชื่อมั่นของผู้นาเสนอ 1.6 ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นาเสนอกับที่เขียนใน วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 1.7 ความสามารถในการสรุปผล 2 การตอบคาถาม 2.1 ความสามารถในการให้เหตุผลและอ้างหลักฐานสนับสนุน 2.2 ความสามารถในการตอบคาถามที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ปรากฏในงานวิจัย 2.3 ความเข้าใจในการงานวิจัยที่ทาและเข้าใจถึง ความสัมพันธ์ของผลจากการวิจัยต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชานั้น ๆ รวมคะแนนทั้งสิ้น

คะแนนเต็ม 10

คะแนนที่ได้

10

10

70 คะแนนเต็ม 20

10

30

คะแนนที่ได้

คู่มือนักศึกษา 2561

129


คู่มือนักศึกษา 2561

130 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์การให้ระดับการประเมิน Excellent 80-100 % Good 70-79 % Pass 60-69 % Fail  60 % (ขอให้กรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ส่งคะแนนปกปิด มาที่สาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 3 วัน หลังจากสอบเสร็จ) 3) นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระไม่ผ่าน มีสิทธิ์ขอสอบครั้งที่ 2 ได้ภายใน 15 วัน หลังวัน สอบและต้องสอบภายใน 60 วัน หลังวันครบกาหนดการแก้ไข การสอบครั้งที่ 2 จะต้องดาเนินการขอสอบและ ชาระค่าธรรมเนียมการสอบใหม่ หากไม่ดาเนินการตามกาหนดข้างต้น ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 4) เมื่อสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระผ่านแล้ว นักศึกษาไม่สามารถส่งวิทยานิพนธ์/รายงานการศึกษา อิสระให้บัณฑิตวิทยาลัยได้ภายใน 45 วัน หลังการสอบไม่ว่ากรณีใด (ยกเว้นต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 สัปดาห์ขึ้นไป) จะถือว่านักศึกษาสอบไม่ผ่าน และนักศึกษาจะต้องยื่นเรื่องขอสอบใหม่ 6. การส่งเล่ม และมาตรฐานวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ 1) การส่งเล่มวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ 1.1 การส่งเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ฉบับที่ 88/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 9 1.2 การส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ 1.2.1 ให้ส่งที่หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย 1.2.2 นักศึกษาส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 1 เล่ม พร้อมแผ่นซีดีบันทึก ข้อมูลการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 1 แผ่น ซึ่งคณะกรรมการสอบให้ความเห็นชอบแล้วพร้อมการตีพิมพ์ หรือนาเสนอผลงานวิจัยที่ใช้ประกอบการสาเร็จการศึกษาต่อคณะภายใน 3 วันทาการ 1.2.3 ให้คณะส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ ไม่เย็บเล่ม จานวน 1 เล่ม และ แผ่นซีดีบันทึกข้อมูลฉบับเต็ม ต่อสานักวิทยบริการ 2) มาตรฐานวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ฉบับสมบูรณ์ 1.1 วิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 88/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 10 1.2 การศึกษาอิสระ 1.2.1 รูปแบบการจัดพิมพ์การศึกษาอิสระให้เป็นไปตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษา อิสระของบัณฑิตวิทยาลัย 1.2.2 ปกนอกของรายงานการศึกษาอิสระ ต้องเป็นปกแข็งหุ้มผ้าแร็กซีน 1.2.3 ปกใช้สีกรมท่า(สีน้าเงินเข้ม) 1.2.4 การเข้าเล่มรายงานการศึกษาอิสระ ต้องเป็นการเข้าเล่มแบบเจาะเย็บติดผ้าคิ้วหุ้มสัน และติดใบรองปกสีขาว 1.2.5 สัญลักษณ์และข้อความของปกหน้า ปกใน และสันปกให้เป็นไปตามคู่มือการทา วิทยานิพนธ์ ของบัณฑิตวิทยาลัย ยกเว้นปกในใบรับรองรายงานการศึกษาอิสระ จะมีอาจารย์ที่ปรึกษา และคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้ลงนาม


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 21/2554) เรื่อง “การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อการสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” เพื่อให้การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อสาเร็จการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ที่ใช้กับนักศึกษาที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไป มีแนว ปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน อาศัยอานาจตามความในข้อ 10 แห่งข้อบังคับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การ จัดการระบบการบริหารงานบัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. 2548 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ สาธารณสุขศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 11/2554 เมื่อวันที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 และสอดคล้องกับ ความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2550 จึงกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์เพื่อการสาเร็จการศึกษา ได้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 21/2554) เรื่อง การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อการสาเร็จการศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2. ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับนักศึกษาที่เข้าศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป ข้อ 3. ในประกาศนี้ บทความ หมายถึง วิจัยทีไ่ ด้จากผลการศึกษาของวิทยานิพนธ์ต้องเป็นบทความเต็มรูปแบบ ไม่ใช่บทคัดย่อหรือบทคัดย่อขนาดยาว นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในแผนการศึกษาที่มีการทาวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 4. แนวปฏิบัติในการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ 4.1 ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 66/2550 เรื่อง การ ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อการสาเร็จการศึกษา 4.2 บทความที่ ใ ช้ เ พื่ อ ประกอบการส าเร็ จ การศึ กษาต้ อ งเป็ น บทความที่ มี ชื่อนั ก ศึ ก ษาผู้ ท า วิทยานิพนธ์เป็นชื่อแรก 4.3 บทความที่ตีพิมพ์ หรือนาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่มีบทความ ตีพิมพ์ฉบับสมบูรณ์(Proceeding Full Paper) เพื่อใช้ประกอบการขอสาเร็จการศึกษา ต้องเป็นผลการวิจัยที่เป็น ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ หรือผลการศึกษาทั้งหมด แต่ไม่ใช่บทความที่เขียนจากการวิ เคราะห์ สรุปการทบทวน ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(Review Article) 4.4 รู ป แบบบทความที่ ตี พิ ม พ์ ต้ อ งประกอบไปด้ ว ย บทน า (ที่ ม า ความส าคั ญ ของปั ญ หา) วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย และเอกสารอ้างอิง หรือเป็นไปตาม ข้อกาหนดของวารสารที่ตีพิมพ์ 4.5 บทความที่ตีพิมพ์ เพื่อใช้ประกอบการขอสาเร็จการศึกษา จะต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับ การตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรองก่อนการ ตีพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นอย่างน้อย 1 เรื่อง โดย 4.5.1 ระดั บ ปริ ญ ญาโท วารสารวิ ชาการนั้ น จะต้ อ งอยู่ ใ นฐาน TCI หรื อ วารสาร นานาชาติที่มี Peer Review หรือ SCOPUS หรือ ISI

คู่มือนักศึกษา 2561

131


คู่มือนักศึกษา 2561

132 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.5.2 ระดับปริญญาเอก วารสารวิชาการนั้นจะต้องอยู่ในฐาน SCOPUS หรือ ISI ข้อ 5. แนวปฏิบัติในการส่งเอกสารการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์เพื่อขอสาเร็จการศึกษา 5.1 บทความจากผลงานวิทยานิพนธ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารแล้ว ให้ถ่ายเอกสารหน้าปกและปกใน วารสารมาพร้อมกับบทความ หรือเอกสารเพิ่มเติมตามประกาศของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ถ้ามี) 5.2 กรณีมีหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ต้องระบุว่า จะตีพิมพ์ฉบับใด ระยะเวลาที่วารสารตอบรับว่า จะตีพิมพ์ได้ สาหรับวารสารระดับชาติ ต้องไม่เกิน 1 ปี และวารสารระดับนานาชาติต้องไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่ นักศึกษาใช้หนังสือตอบรับขอสาเร็จการศึกษา และให้ถ่ายเอกสารหน้าปก และปกในวารสารฉบับล่าสุดมาพร้อมกับ บทความที่ตีพิมพ์ หรือเอกสารเพิ่มเติมตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ถ้ามี) และส่งให้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ จานวน 1 ชุด ข้อ 6. ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาต้องตีความเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศ นี้ ให้คณบดี เป็นผู้วินิจฉัย และการวินิจฉัยของคณบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 29 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 (ลงชื่อ) สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์) คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 10 /2555) เรื่อง เงื่อนไขการสาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น -----------------------------------------------เพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานและ คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 รวมทั้งเป็นการยกระดับคุณภาพงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพทั้งระดับประเทศและระดับสากล และรวมทั้งเป็นการผลักดัน วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นไปสู่การเป็นสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐานในระดับโลก จึงออกประกาศ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น เรื่อง เงื่อนไขการสาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยการ ปกครองท้องถิ่น ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น (ฉบับที่ 10/2555) เรื่อง เงื่อนไขการ สาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาโททุกหลักสูตรที่มีรหัสประจาตัว นักศึกษาขึ้นต้นด้วยรหัส 53 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับปริญญาโท วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น “บทความ” หมายถึง บทความวิจัยที่ได้จากผลการศึกษาของวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ และ ต้องเป็นบทความฉบับเต็ม (Full Paper) ไม่ใช่บทคัดย่อหรือบทคัดย่อขนาดยาว “การตีพิมพ์” หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติ หรือนานาชาติ รวมถึงบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) จากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กาหนดของหลักสูตรหรือของทุน “วารสารวิชาการ” หมายถึง วารสารทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์และอิเลคทรอนิกส์ (E-Journal) ทาง วิชาการที่มีกาหนดออกแน่นอนและมีการตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสม่าเสมอเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา และบทความที่ จะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารต้องผ่านการกลั่นกรองคุณภาพจากผู้ประเมินอิสระ (Peer Review) โดยที่ วารสารวิชาการในระดับนานาชาติ ต้องมีรายชื่อปรากฏในฐานของ SCOPUS หรือ ISI วารสารวิชาการในระดับชาติ อย่างน้อยต้องมีรายชื่อปรากฏในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) “ผู้ประเมินอิสระ (Peer Review)” หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เป็นผู้ตรวจสอบอ่าน บทความและประเมินคุณภาพของบทความในแต่ละสาขาวิชาเพื่อให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนั้น ๆ ข้อ 4 การตีพิมพ์บทความเพื่อสาเร็จการศึกษา มีดังนี้ 4.1 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก1 และ ก2 ทุกหลักสูตร จะต้องมีผลงาน วิทยานิพนธ์หรือผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เป็น ทีย่ อมรับในสาขาวิชา หรือเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรหรือทุนที่ได้รับ หรือนาเสนอในการประชุมวิชาการที่ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) ที่มีการประเมินจากผู้ ประเมินอิสระ (Peer Review) จึงจะสาเร็จการศึกษาได้

คู่มือนักศึกษา 2561

133


คู่มือนักศึกษา 2561

134 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ 4.2 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข ทุกหลักสูตร จะต้องมีผลงานตีพิมพ์บทความการศึกษาอิสระหรือ บทความที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาอิสระในวารสารวิชาการ (Journal) ที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชาหรือนาเสนอ ในการประชุมวิชาการที่บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) ข้อ 5 การดาเนินการส่งเอกสารตีพิมพ์เพื่อสาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่ทาวิทยานิพนธ์ให้ดาเนินการ ส่งหลักฐานการตีพิมพ์ให้บัณฑิตวิทยาลัย ตามกรณีดังนี้ 5.1 กรณีบทความได้รับการตีพิมพ์แล้วนักศึกษาต้องดาเนินการส่งเอกสารการตีพิมพ์ พร้อม สาเนาหน้าปกและปกในวารสารหรือรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) พร้อมหน้าสารบัญที่ระบุชื่อบทความพร้อม บทความฉบับเต็ม พร้อมตัวเล่มวิทยานิพนธ์ 5.2 ในกรณีที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ แต่มีการตอบรับให้ตีพิมพ์ให้ส่งหนังสือหรือเอกสารที่ตอบรับการ ตีพิมพ์ต้องระบุ เดือน ปี ของวารสารที่จะตีพิมพ์พร้อมบทความฉบับเต็มที่ส่งไปตีพิมพ์ และสาเนาหน้าปกและปกใน วารสารฉบับล่าสุดของวารสารที่รับตีพิมพ์บทความ แนบมาพร้อมกับตัวเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ทั้งนี้ระยะเวลา ที่รอตีพิมพ์วารสารในระดับชาติไม่เกิน 1 ปี และวารสารในระดับนานาชาติไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่นักศึกษาใช้ หนังสือตอบรับการสาเร็จการศึกษา ข้อ 6 การดาเนินการส่งเอกสารตีพิมพ์เพื่อสาเร็จการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่ทาการศึกษาอิสระให้ ดาเนินการส่งหลักฐานการตีพิมพ์ให้คณะที่นักศึกษาสังกัด ตามกรณีดังนี้ 6.1 กรณีบทความได้รับการตีพิมพ์แล้วนักศึกษาต้องดาเนินการส่งเอกสารการตีพิมพ์ พร้อม สาเนาหน้าปกและปกในวารสารหรือรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) พร้อมหน้าสารบัญที่ระบุชื่อบทความพร้อม บทความฉบับเต็ม พร้อมตัวเล่มการศึกษาอิสระ 6.2 ในกรณีที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ แต่มีการตอบรับให้ตีพิมพ์ให้ส่งหนังสือหรือเอกสารที่ตอบรับ การตีพิมพ์ ต้องระบุ เดือน ปี ของวารสารที่จะตีพิมพ์พร้อมบทความฉบับเต็มที่ส่งไปตีพิมพ์ และสาเนาหน้าปกและ ปกในวารสารฉบับล่าสุดของวารสารที่รับตีพิมพ์บทความ แนบมาพร้อมกับตัวเล่มการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ ทั้งนี้ ระยะเวลาที่รอตีพิมพ์วารสารในระดับชาติไม่เกิน 1 ปี และวารสารในระดับนานาชาติไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่ นักศึกษาใช้หนังสือตอบรับการสาเร็จการศึกษา ข้อ 7 แนวปฏิบัติในการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ / การศึกษาอิสระที่เผยแพร่ 7.1 บทความที่ใช้เพื่อประกอบการสาเร็จการศึกษาต้องเป็นบทความที่มีชื่อนักศึกษา ผู้ทา วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เป็นชื่อแรก 7.2 บทความที่ตีพิมพ์ หรือนาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการเพื่อใช้ประกอบการขอสาเร็จ การศึกษาต้องเป็นผลการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ หรือผลการศึกษาทั้งหมด 7.3 รูปแบบบทความที่ตีพิมพ์ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของวารสารที่ตีพิมพ์ 7.4 บทความที่ใช้เพื่อประกอบการสาเร็จการศึกษา จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขในข้อ 4 ของประกาศนี้ ข้อ 8 ให้คณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการ หรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้ให้คณบดีวิทยาลัยการ ปกครองท้องถิ่นมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ คาวินิจฉัยของคณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ลงชื่อ) พีรสิทธิ์ คานวณศิลป์ (รองศาสตราจารย์ ดร.พีรสิทธิ์ คานวณศิลป์) คณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น


ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ประกาศวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 010/2556) เรื่อง การกาหนดรายวิชาสาหรับนักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น ............................................................ ด้วยสภามหาวิทยาลัยได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) ในคราวประชุม ครั้งที่ 7/2555 เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 แล้วนั้น เพื่อให้การดาเนินการหลักสูตร ดังกล่าว ลาหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก1 เป็นไปด้ วยความเรียบร้อย และเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรที่ ได้รับอนุมัติแล้ว ประกอบกับมติคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น ในการประชุม ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 จึงเห็นควรให้นักศึกษาแผน ก แบบ ก1 เรียนรายวิชา โดยไม่นับหน่วยกิต ดังนี้ รหัส 007 701 002 711 007 891

ชื่อวิชา การอ่านภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Reading in English for Graduate Student ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ Research Methodology in Public Administration สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์ Seminar in Public Administration

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

ทั้งนี้ เฉพาะนักศึกษาแผน ก แบบ ก1 ในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ที่มีรหัสประจาตัว นักศึกษาขึ้นต้นด้วย 55 ขึ้นไป และนักศึกษาอาจต้องเรียนรายวิชาอื่นๆ ในหลักสูตรเพิ่มเติมอีกได้ โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยไม่นับหน่วยกิต ประกาศ ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 (ลงชื่อ) ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ (รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ) คณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น

คู่มือนักศึกษา 2561

135


ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543 -------------------------อาศัยอานาจตามความในมาตรา 11 (1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 จึงวาง ระเบี ย บเกี่ ย วกั บ ค่ า ธรรมเนี ย มการสมั ค รเข้ า ศึ ก ษาและค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นไว้ดังนี้ ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543" ข้อ 2. ระเบียบนี้ให้ใช้บงั คับสาหรับนักศึกษาที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและ ผู้ลงทะเบียนโดยไม่ขอรับปริญญา ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2543 เป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิก 3.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและ ค่าธรรมเนียมการศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. 2530 3.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตบัณฑิตอาสาสมัครพัฒนาชนบท พ.ศ. 2530 3.3 ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ว่ า ด้ ว ย ค่ า ธรรมเนี ย มการสมั ค รสอบคั ด เลื อ กและ ค่าธรรมเนียมการศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 3.4 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก พ.ศ. 2533 3.5 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและ ค่าธรรมเนียมการศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2534 3.6 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต บัณฑิตอาสาสมัครพัฒนาชนบท (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 3.7 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยค่าธรรมเนียมการรับสมัครสอบคัดเลือกและ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ขั้นปริญญาโท ภาคพิเศษ พ.ศ. 2538 3.8 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาขั้นปริญญาเอกภาคพิเศษ พ.ศ.2540 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ มติของสภามหาวิทยาลัย คาสั่งและประกาศอื่นส่วนใดที่พ้องหรือขัดแย้งกับ ส่วนที่กาหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4. ในระเบียบนี้ สภามหาวิทยาลัย หมายถึง สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น อธิการบดี หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

139 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

140 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา (Application fee) ค่าธรรมเนียมการศึกษา (Tuition fee)

หมายถึง ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ต่ า ง ๆ ที่ เ รี ย ก เ ก็ บ ใ น ก า ร ส มั ค ร การสอบหรือการคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาประกอบด้วย ค่าบารุง มหาวิทยาลัย และค่าหน่วยกิตรวมเป็น เหมาจ่ายที่นักศึกษาจะต้องชาระเป็นราย ภาคการศึกษา ค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติ หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากนักศึกษาระดับ (Overseas fee) บัณฑิตศึกษาที่มีสัญชาติอื่นที่มิใช่ สัญชาติไทย เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายที่นอกเหนือ จากที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทย และเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานที่เกี่ยว ข้องกับนักศึกษาต่างชาติ ค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจาก (Status holding fee) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อรักษา สถานภาพการเป็นนักศึกษาในกรณีที่ ลงทะเบียนครบตามหลักสูตรแล้วและกรณี ที่ลาพักศึกษา ค่าธรรมเนียมอื่นๆ หมายถึง ค่าธรรมเนียมอื่นที่เรียกเก็บจากนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ตามประกาศมหาวิทยาลัย ขอนแก่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ 5. ค่าธรรมเนียมระดับบัณฑิตศึกษาประกอบด้วย 5.1 ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา 5.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษา 5.3 ค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติ 5.4 ค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา 5.5 ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ข้อ 6. ให้อธิการบดีโดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี เสนอหลักการในการกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมใน ข้อ 5 ต่อสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วจึงกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมดังกล่าวตามหลักการที่ได้รับ ความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยแล้ว สรุปให้สภามหาวิทยาลัยทราบและทาเป็นประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ 7. นักศึกษาตามโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างสถาบันการศึกษาหรือนักศึกษาตามความร่วมมือจาก องค์กรอื่นๆ ที่มีข้อตกลงกับมหาวิทยาลัยขอนแก่นให้มีการลดหย่อนหรือยกเว้นค่าธรรมเนียม ให้ได้รับการลดหย่อน หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมตามข้อตกลงที่กาหนดไว้ ข้อ 8. นักศึกษาที่ลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว และเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียน อีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้เสียค่าใช้จ่ายครึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาของหลักสูตร


ข้อ 9. อัตราค่าธรรมเนียมของผู้ที่ลงทะเบียนรายวิชาโดยไม่ขอรับปริญญา ให้อธิการบดีหรือที่ประชุม คณบดีเป็นผู้กาหนด ข้อ 10. อัตราค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดในข้อ 6 ให้มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เพื่อความ เหมาะสม อย่างน้อย 2 ปีต่อครั้ง หากมีการเปลี่ยนแปลงให้ดาเนินการตามข้อ 6 ข้อ 11. สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา 2543 ให้ใช้ระเบียบเดิมที่เกี่ยวข้องไปจนกว่าจะ สาเร็จการศึกษา ในกรณีที่นักศึกษาดังกล่าวถูกสั่งให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา และเมื่อกลับเข้าศึกษาด้วยกรณีใดก็ ตาม ตั้งแต่ปีการศึกษา 2543 ให้บังคับใช้ตามระเบียบนี้ ข้อ 12. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ให้เสนอสภามหาวิทยาลัยเป็นผู้วินิจฉัย และ ให้ถือเป็นที่สุด ข้อ 13. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มีอานาจออกประกาศ กาหนดวิธี ปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2543 (ลงชื่อ) พลตารวจเอกเภา สารสิน (เภา สารสิน) นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

141 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

142 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษสาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546 -------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2537 เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพและความจาเป็นในการนาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรแต่ละประเภท ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 16(2) และ 16(11) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 และโดยมติสภามหาวิทยาลัยในคราวประชุมครั้งที่ 11/2546 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 สภามหาวิทยาลัยจึงวางระเบียบไว้ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษสาหรับ นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546” ข้อ 2 ให้ระเบียบนี้มีผลบังคับใช้กับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2547 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษสาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2537 และระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการ ศึกษาพิเศษ สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ให้นักศึกษาที่เข้าศึกษาในคณะและสาขาวิชาตามที่กาหนดในข้อ 5 ชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาขั้นปริญญาตรี ประกาศนียบัตร บัณฑิต หรือบัณฑิตศึกษาแล้วแต่กรณี ชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษในอัตราดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ภาคการศึกษาละไม่เกิน 5,000 บาท 4.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ หลักสูตรระดับปริญญาตรี โครงการพิเศษ หรือศึกษาเป็น ภาษาอังกฤษ หรือนานาชาติ ภาคการศึกษาละไม่เกิน 15,000 บาท 4.3 ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ภาคปกติ ภาคการศึกษาละไม่เกิน 10,000 บาท 4.4 ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ภาคพิเศษ หรือโครงการพิเศษ หรือศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ หรือนานาชาติ ภาคการศึกษาละไม่เกิน 20,000 บาท ข้อ 5 การกาหนดคณะ สาขาวิชาและค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ ที่มีความจาเป็นตามระเบียบนี้ให้ทา เป็นประกาศมหาวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 6 การยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษตามระเบียบนี้ 6.1 ให้ยกเว้นได้สาหรับนักศึกษาที่ได้ รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาได้เฉพาะในภาคการศึกษานั้นๆ โดยต้องได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาก่อนการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้นๆ ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาภายหลังจากที่ได้ลงทะเบียนเรียน ไปแล้ว มีสิทธิ์ขอรับค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษที่จ่ายไปแล้วคืนได้ เฉพาะกรณีที่เป็นการลา พักเนื่องจากเจ็บป่วย ทั้งนี้ต้องดาเนินการก่อนวันสุดท้ายของวันถอนรายวิชาเรียนด้วยตนเองที่ กาหนดในปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย


6.2 การยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษ ในกรณีที่มีข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง สถาบันหรือหน่วยงาน ให้เป็นอานาจของคณะกรรมการประจาคณะเจ้าของหลักสูตรนั้น ๆ เป็น ผู้พิจารณาอนุมัติ ข้อ 7 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจออกประกาศ คาสั่ง หรือ ระเบียบปฏิบัติ ซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาการตีความตามระเบียบนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้มีอานาจวินิจฉัย และคาวินิจฉัยของ อธิการบดีให้ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2546

(ลงชื่อ) พลตารวจเอก เภา สารสิน (เภา สารสิน) นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

143 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

144 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 891/2561 ) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2561 -------------------------------------ด้วยมหาวิทยาลัยขอนแก่นกาหนดยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ให้สร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศในบริบทที่เปลี่ยนแปลง เป็นที่ ยอมรับในระดับโลก จึงได้ปรับปรุงค่าธรรมเนียม การศึกษาให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาให้บรรลุยุทธศาสตร์ดังกล่าว อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 37 (1) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น พ.ศ. 2558 ประกอบกับข้อ 6 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยค่า ธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษาและค่าธรรมเนียม การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน การประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2561 และมติสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 จึงประกาศกาหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2561 ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 891/2561) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2561” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ ที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา พ.ศ.2561 เป็นต้นไป บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศอื่นใดในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในประกาศนี้ หรือซึ่งขัดแย้งกับ ประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศนี้แทน ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศ (1) ประกาศมหาวิ ทยาลั ยขอนแก่น (ฉบั บที่ 130/2551) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึ กษาในระดั บ บัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2551 (2) ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 308/2557) เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2557 ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น “อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น “ระบบปกติ” หมายความว่า ระบบการจัดการศึกษาที่มีการเรียน การสอนในวันและเวลาราชการเป็น หลักและเป็นแบบเต็มเวลา “หลักสูตรปกติ” หมายความว่า หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนโดย ใช้ภาษาไทยเป็นสื่อในการสอน “หลักสูตรนานาชาติ” หมายความว่า หลักสูตรที่มีองค์ความรู้และเนื้อหา สาระเน้นความเป็นสากล มีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม ความเป็นนานาชาติ


โดยใช้ภาษาต่างประเทศเป็น สื่อในการเรียนการสอน “หลักสูตรที่ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ” หมายความว่า หลักสูตรที่ใช้ภาษาอังกฤษ เป็นสื่อหลักในการจัดการเรียน การสอนทั้งหลักสูตร “ภาคการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ภาคการศึกษาฤดูร้อนในหลักสูตรเดิม และภาคการศึกษาที่ไม่ได้เป็น ภาคการศึกษาปกติ “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในระบบปกติ ที่ศึกษาในหลักสูตร ของกลุ่มสาขาวิชาทั้ง 15 กลุ่ม ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น “นักศึกษาต่างชาติ” หมายความว่า นักศึกษาที่ไม่ได้มีสัญชาติไทย “ค่าธรรมเนียมการศึกษา” หมายความว่า ค่าธรรมเนียมการศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษา “ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา” หมายความว่า ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5 การจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามประกาศนี้ แบ่งออกเป็น 15 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะศิลปกรรมศาสตร์ (สาขาวิชาวัฒนธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ สาขาวิชาทัศนศิลป์) สาขาวิชาการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและ นวัตกรรม สาขาวิชาการจั ดการการพัฒนาชนบท สาขาวิชาของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ยกเว้ น สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ) สาขาวิชาของคณะศึกษาศาสตร์ (ยกเว้น สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สาขาวิชา การศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) สาขาวิชาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (วิทยาลัยนานาชาติ) สาขาวิชา ของคณะเภสัชศาสตร์ (หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาเภสัชบาบัด) กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ (วิทยา เขตหนองคาย) (สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทรัพยากร ชีวภาพประยุกต์) กลุ่มที่ 3 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์ (ยกเว้นสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)) สาขาวิชาของคณะแพทยศาสตร์ (ปรีคลินิกและ คลินิก) สาขาวิชาของคณะเทคนิคการแพทย์ (นักศึกษาไทย) สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์(นักศึกษาไทย) สาขาวิชาของ คณะเภสั ช ศาสตร์ (สาขาวิ ชาเภสั ชกรรมคลิ นิ ก สาขาวิ ช าการคุ้ ม ครองผู้ บริ โ ภคและการจั ด การด้ า นสุ ข ภาพ สาขาวิชาเภสัชกรรมและระบบสุขภาพ) สาขาวิชาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลัง กายและการกีฬา

คู่มือนักศึกษา 2561

145 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

146 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม กลุ่มที่ 4 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะเกษตรศาสตร์ กลุ่มที่ 5 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะเทคโนโลยี (สาขาวิชาเทคโนโลยีชี วภาพ สาขาวิชา เทคโนโลยีธรณี สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม สาขาวิชาความปลอดภัย และการจัดการคุณภาพของอาหาร (นักศึกษาไทย)) กลุ่มที่ 6 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะเทคโนโลยี (สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชา เทคโนโลยีธรณี สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม สาขาวิชาความปลอดภัย และการจัดการคุณภาพของอาหาร (นักศึกษาต่างชาติ) กลุ่มที่ 7 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์ (สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (เฉพาะหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)) กลุ่มที่ 8 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์ (วิทยาลัยนานาชาติ) กลุ่มที่ 9 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี สาขาวิชาของคณะ เศรษฐศาสตร์ สาขาวิ ชาของคณะบริ ห ารธุ ร กิ จ (วิ ท ยาเขตหนองคาย) สาขาวิ ชาของคณะมนุ ษ ยศาส ตร์ แ ละ สังคมศาสตร์ (สาขาวิ ชาภาษาต่างประเทศ) สาขาวิชาของคณะศึ กษาศาสตร์ (สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) สาขาวิชาของคณะศิลปศาสตร์ (วิทยาเขตหนองคาย) กลุ่มที่ 10 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาของคณะเภสัชศาสตร์ (สาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สาขาวิชาพิษวิทยา สาขาวิชาเภสัชภัณฑ์ สาขาวิชาวิจัยและพัฒนา เภสัชภัณฑ์ สาขาวิชาเภสัชกรรมแผนไทย) กลุ่มที่ 11 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการวางแผนภาคและเมือง สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม) กลุ่มที่ 12 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะทันตแพทยศาสตร์ (ไม่มีคลินิก) และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงทุกสาขาวิชา กลุ่มที่ 14 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะเทคนิคการแพทย์ (นักศึกษาต่างชาติ) สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ (นักศึกษาต่างชาติ) กลุ่มที่ 15 ประกอบด้วย สาขาวิชาของคณะทันตแพทยศาสตร์ (คลินิก) ข้อ 6 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ รายละเอียดตามบัญชีที่ 1 และ บัญชีที่ 4 ตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 7 อัตราค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ รายละเอียดตามบัญชีที่ 2 และ บัญชีที่ 3 ตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 8 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาของนักศึกษาจากสถาบันอื่นหรือบุคคลที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา โดยไม่ขอรับปริญญา ให้จ่ายตามสัดส่วนของจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียนเรียนตามระดับการศึกษาและลักษณะการ จัดหลักสูตร โดยถือ 9 หน่วยกิตเป็นฐานและการลงทะเบียนต้องไม่เกิน 9 หน่วยกิต เศษของค่าธรรมเนียมการศึกษา ที่ คานวณได้ให้ปัดขึ้นเป็นจานวนเต็ม


ข้อ 9 สาหรับนักศึกษาต่างชาติให้ชาระค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติอีกส่ วนหนึ่งด้วย ซึ่งนักศึกษา สามารถขอลดหย่อนได้ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของอธิการบดี ข้อ 10 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ให้เป็นไปตามประกาศที่เกี่ยวข้อง ข้อ 11 ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษา และค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ชาระแล้ว จะขอรับคืนไม่ได้ ข้อ 12 นักศึกษาที่ชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ มีสิทธิได้รับบริการต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นจัดให้โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก ดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นบริการที่มีลักษณะ เฉพาะที่ได้มีการกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมไว้ต่างหาก 12.1 ค่าขึน้ ทะเบียนแรกเข้าและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา 12.2 ค่าธรรมเนียมหอสมุดหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ให้บริการห้องสมุด 12.3 ค่าธรรมเนียมสานักเทคโนโลยีสารสนเทศ 12.4 ค่าบัตรประจาตัวนักศึกษาแรกเข้า ข้อ 13 นักศึกษาและบุคคลตามข้อ 5 มีสิทธิได้รับบริการที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นจัดให้โดยไม่ต้องเสีย ค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก ดังต่อไปนี้ 13.1 ค่าธรรมเนียมหอสมุดหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ให้บริการห้องสมุด 13.2 ค่าธรรมเนียมสานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อ 14 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาการตีความเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย คาวินิจฉัยของอธิการบดีให้ถือเป็นที่สุด บทเฉพาะกาล ข้อ 15 สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาก่อนภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา พ.ศ. 2561 ให้จ่ายค่าธรรมเนียม การศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ตามอัตราที่เรียกเก็บขณะที่นักศึกษาผู้นั้นเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยต่อไป จนกว่าจะ สาเร็จการศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2561 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

147 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

148 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชีแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 891/2561) บัญชีที่ 1 ค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติ พ.ศ. 2561 1. ค่าธรรมเนียมการศึกษา (Tuition Fee) ต่อภาคการศึกษา (บาท)

กลุ่มสาขาวิชา

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 9 กลุ่มที่ 10 กลุ่มที่ 11 กลุ่มที่ 12 กลุ่มที่ 13 กลุ่มที่ 14 กลุ่มที่ 15 2. 3. 4.

ลักษณะการจัดหลักสูตร หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรที่ ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/ ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง 19,000 25,000 40,000 60,000 21,000 30,000 21,000 30,000 25,000 30,000 25,000 30,000 25,000 30,000 30,000 40,000 25,000 30,000 35,000 45,000 25,000 30,000 45,000 55,000 30,000 55,000 25,000 30,000 50,000 65,000 25,000 30,000 50,000 75,000 30,000 37,500 30,000 37,500 30,000 37,500 50,000 65,000 30,000 50,000 50,000 65,000 30,000 50,000 50,000 80,000 35,000 45,000 35,000 45,000 50,000 80,000 60,000 100,000

ค่าธรรมเนียมการศึกษาภาคการศึกษาพิเศษ เท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมภาคปกติ ค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติ ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท ค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท (สาหรับนักศึกษาต่างชาติ ต้องชาระค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติด้วย)


5. ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง (บาท) การสอบ/ระดับการศึกษา

ประเภทของนักศึกษา นักศึกษาชาวไทย นักศึกษาต่างชาติ 300 900

5.1 การสอบประมวลความรู้ สาหรับหลักสูตรมหาบัณฑิต 5.2 การสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ หรือสารนิพนธ์ สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต มหาบัณฑิต หรือ 500 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 5.3 การสอบวัดคุณสมบัติ สาหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 500 5.4 การสอบวิทยานิพนธ์ สาหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 1,500 บัญชีที่ 2 ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือก 1. ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกสาหรับนักศึกษาชาวไทย 1.1 ค่าสมัครสอบคัดเลือก สาขาวิชาละ 700 บาท 2. ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกสาหรับนักศึกษาต่างชาติ 2.1 ค่าสมัครสอบคัดเลือก (application fee per subject area) สาขาวิชาละ 1,200

คู่มือนักศึกษา 2561

149 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

1,500 1,500 3,000

บาท

บัญชีที่ 3 ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ (บาท) รายการ 1. ค่าปรับลงทะเบียนช้า วันละ แต่ไม่เกิน 3,000 บาท 2. ค่าบัตรประจาตัวนักศึกษา บัตรละ 3. ค่าใบประมวลผลการศึกษา ฉบับละ 4. ค่าใบรับรองคุณวุฒิ ฉบับละ 5. ค่าใบรับรองเป็นนักศึกษา ฉบับละ 6. ค่าใบรับรองอื่นๆ ฉบับละ 7. ค่าใบแปลปริญญาบัตร ฉบับละ 8. ค่าใบแทนปริญญาบัตร ฉบับละ 9. ค่าธรรมเนียมส่งหลักฐานการศึกษาภายในประเทศทางไปรษณีย์ ครั้งละ 10. ค่าธรรมเนียมส่งหลักฐานการศึกษาต่างประเทศทางไปรษณีย์ ครั้งละ 11. ค่าธรรมเนียมการขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในเอกสารลงทะเบียนเรียน รายการละ 12. ค่าธรรมเนียมขึ้นทะเบียนเป็นบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับผู้ที่ประสงค์เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร 13. ค่าธรรมเนียมขึ้นทะเบียนเป็นบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับผู้ที่ไม่ประสงค์เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร

จานวนเงิน 50 100 50 50 50 50 100 400 50 200 30 2,000 1,000


คู่มือนักศึกษา 2561

150 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชีที่ 4 ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในระบบปกติ สาหรับหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (กรณีนักศึกษาต่างชาติที่จ่ายเป็นเงินตราต่างประเทศ) -------------------------------------ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือกและค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในระบบปกติตาม ลักษณะการจัดหลักสูตรต่าง ๆ หากเป็นการจ่ายโดยการโอนเงินเป็นเงินตราต่างประเทศ ให้สั่งจ่ายเป็นเงิน ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ตามอัตราที่ปรากฏข้างล่าง 1. ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบคัดเลือก 1.1 ค่าสมัครสอบคัดเลือก (application fee per subject area) สาขาวิชาละ 40 USD 2. ค่าธรรมเนียมการศึกษา (Tuition fee) ต่อภาคการเรียน (USD) ลักษณะการจัดหลักสูตร หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติและหลักสูตร กลุ่มสาขาวิชา ที่ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/ ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง กลุ่มที่ 1 640 840 1,340 2,000 กลุ่มที่ 2 700 1,000 700 1,000 กลุ่มที่ 3 840 1,000 840 1,000 กลุ่มที่ 4 840 1,000 1,000 1,340 กลุ่มที่ 5 840 1,000 1,170 1,500 กลุ่มที่ 6 840 1,000 1,500 1,840 กลุ่มที่ 7 1,000 1,840 กลุ่มที่ 8 840 1,000 1,670 2,170 กลุ่มที่ 9 840 1,000 1,670 2,500 กลุ่มที่ 10 1,000 1,250 1,000 1,250 กลุ่มที่ 11 1,000 1,250 1,670 2,170 กลุ่มที่ 12 1,000 1,670 1,670 2,170 กลุ่มที่ 13 1,000 1,670 1,670 2,670 กลุ่มที่ 14 1,170 1,500 1,170 1,500 กลุ่มที่ 15 1,670 2,670 2,000 3,340 3. ค่าธรรมเนียมการศึกษาภาคการศึกษาพิเศษ เท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมของหลักสูตร 4. ค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติ

ภาคการศึกษาละ 500 USD


5. ค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 85 USD (สาหรับนักศึกษาต่างชาติต้องชาระค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติด้วย) 6. ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง (USD)

การสอบ/ระดับการศึกษา 5.1 การสอบประมวลความรู้ สาหรับหลักสูตรมหาบัณฑิต 5.2 การสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ หรือสารนิพนธ์ สาหรับ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต มหาบัณฑิต หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต ชั้นสูง 5.3 การสอบวัดคุณสมบัติ สาหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 5.4 การสอบวิทยานิพนธ์สาหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต

ลักษณะการจัดหลักสูตร นานาชาติ และ ภาคปกติ ภาษาอังกฤษ 10 30 15

45

15 30

45 90

คู่มือนักศึกษา 2561

151 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

152 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เข้าศึกษาและ สถานภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให้ มี วิ ธี ป ฏิบั ติ ที่ ชัด เจนเกี่ย วกั บ การเก็ บเงิ น ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาของภาคแรกที่ เข้ าศึ กษาและ สถานภาพการเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 และ 23(2) แห่ งพระราชบั ญญั ติ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น พ.ศ. 2541 ประกอบกั บ ข้ อ 13 แห่ ง ระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าศึกษาและค่าธรรมเนียมการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543 และข้ อ 5 แห่ ง ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ว่ า ด้ ว ย การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงออกประกาศ เรื่อง การเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เข้าศึกษาและ สถานภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 755/2548) เรื่อง การเรียกเก็บเงิน ค่าธรรมเนียมการศึกษาของภาคแรกที่เข้าศึกษาและสถานภาพของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลั ยขอนแก่น (ฉบับที่ 721/2546) เรื่อง การเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียม การศึกษาและสถานภาพของผู้มีสิทธ์เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 3 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เข้าศึกษาใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไป ข้ อ 4 ผู้ มี สิ ท ธิ์ เ ข้ า ศึ ก ษาในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น จะต้ อ งชาระค่ า ธรรมเนี ย ม การศึกษาของภาคแรกที่เข้าศึกษา ตามวัน เวลาและสถานที่ ที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 5 ผู้มี สิทธิ์เข้ าศึกษาในระดับบัณ ฑิตศึกษา จะมีสถานภาพเป็นนักศึ กษาระดับบัณ ฑิตศึก ษาของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อได้ชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา ตามข้อ 4 ครบถ้วนแล้ว ข้อ 6 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามประกาศนี้ และให้มีอานาจในการออก ประกาศหรือกาหนดวิธีปฏิบัติซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ข้อ 7 ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้วินิจฉัยสั่งการให้ปฏิบัติตามที่เห็นสมควร การสั่งการของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ..ศ. 2548 (ลงชื่อ) สุมนต์ สกลไชย (รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ --------------------------

คู่มือนักศึกษา 2561

153 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

เพื่ อ ให้ก ารเก็ บ ค่ าธรรมเนี ย มการศึก ษาและค่ าธรรมเนี ย มอื่ น ๆ ส าหรับ หลั กสู ต รโครงการพิ เศษของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และบังเกิดผลดีต่อราชการของมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราว ประชุ มครั้งที่ 1/2548 เมื่ อวั นที่ 28 กรกฎาคม 2548 และที่ป ระชุม คณบดี คราวประชุม ครั้ งที่ 12/2552 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับ ใช้สาหรับนักศึกษาที่เ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 639/2548) ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2548 เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และข้อความในประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่เกี่ยวข้อง กับค่าธรรมเนียมการศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ภาคพิเศษ ทุกฉบับสาหรับ นักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2548 และให้ใช้ประกาศฉบับ นีแ้ ทน ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรโครงการพิเศษ” หมายถึง หลักสูตรที่ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนเป็นหลักสูตร โครงการพิเศษ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 “คณะกรรมการอานวยการ” หมายถึง คณะกรรมการอานวยการ ตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 ข้อ 7 “คณะ” หมายถึง คณะหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการหลักสูตร โครงการพิเศษ “คณบดี” หมายถึง คณบดีหรือผู้บริหารหน่วยงานที่ รับผิดชอบการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ


คู่มือนักศึกษา 2561

154 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม “คณะกรรมการประจาคณะ”

หมายถึง

คณะกรรมการประจาคณะหรือหน่วยงานที่ รับผิดชอบการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ “นักศึกษากลุ่มที่ 1” หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ “นักศึกษากลุ่มที่ 2” หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาขาวิชา ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ข้อ 5 การกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตร โครงการพิเศษแต่ละหลักสูตร ให้อธิการบดีออกเป็นประกาศมหาวิทยาลัยตามคาแนะนาของคณบดี โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ และคณะกรรมการอานวยการ ทั้งนี้ต้องไม่เกินอัตราหรือวงเงินที่กาหนดไว้ ในบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 6 ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้และบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นระเบี ย บและประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา ทั้ งนี้ ย กเว้ น ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาพิ เ ศษ ตามระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ว่ า ด้ ว ย ค่ าธรรมเนี ยมการศึ กษาพิ เศษส าหรั บ นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546 ซึ่งคณะจะเรียกเก็บอีกไม่ได้ ข้อ 7 เงินค่าธรรมเนียมการศึกษาที่ชาระแล้วตามอัตราการเรียกเก็บที่กาหนดไว้แนบท้ายประกาศนี้ จะขอรับคืนไม่ได้ ข้อ 8 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


บัญชีแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ 1. ค่าธรรมเนียมการสมัครและสอบคัดเลือก และค่าธรรมเนียมการรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา กาหนดดังนี้ อัตราค่าธรรมเนียม (บาท) ระดับ ระดับ รายการค่าธรรมเนียม ปริญญาตรี

1.1 ค่าใบสมัครและระเบียบการ ชุดละ 1.2 ค่าสมัครและสอบคัดเลือก 1.3 ค่าธรรมเนียมการรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา

บัณฑิตศึกษา

200 500 2,000

200 500 3,000

2. ค่าธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา กาหนดดังนี้ กลุ่มนักศึกษา อัตราค่าธรรมเนียม ไม่เกิน (บาท) ปริญญาตรี

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2

30,000 50,000

ปริญญาโท และ ประกาศนียบัตรบัณฑิต

40,000 60,000

ปริญญาเอก และ ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง

70,000 90,000

3. ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้จัดเก็บในอัตราครึ่งหนึ่งของอัตราค่าธรรมเนียมสาหรับ ภาคการศึกษาปกติ 4. ค่าธรรมเนียมสาหรับนักศึกษาชาวต่างประเทศ 4.1 ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 10,000 บาท 4.2 ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท 5. ค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา 5.1 ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 1,500 บาท 5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท 6. ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่น หรือบุคคลภายนอกที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา โดยไม่ขอรับปริญญา ให้เรียกเก็บเป็นค่าหน่วยกิต โดยให้คานวณอัตราค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนเรียนหนึ่ง หน่วยกิต เท่ากับค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษาตามตารางในข้อ 2 หารด้วย 9 ค่าธรรมเนียมการศึกษานี้ ให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการใช้บริการห้องสมุด บริการคอมพิวเตอร์ และ บริการกีฬาด้วย

คู่มือนักศึกษา 2561

155 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

156 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม 7. ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

7.1 7.2 7.3 7.4 7.5

รายการค่าธรรมเนียม การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) การสอบการศึกษาอิสระ หรือการสอบสารนิพนธ์ การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก

อัตราค่าธรรมเนียม ไม่เกิน (บาท) 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การจั ด การศึ ก ษาในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การวิ จั ย ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 และ มาตรา 23(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 ประกอบด้วย ข้อ 8 แห่งระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2540 โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราว ประชุม ครั้งที่ 5 /2549 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตาม หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่447/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียม การวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2. ให้ยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 316/2544) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก ประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ให้ใช้ประกาศฉบับนี้แทน ข้อ 3. ให้ใช้ประกาศนี้ตั้งแต่ภาคต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 4. ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะวิชาที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายถึง คณบดีของคณะที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5. การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยให้เรียกเก็บได้ในอัตราภาคการศึกษาละไม่เกิน 80,000 บาท ข้อ 6. การกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการวิจัยตามข้อ 5 ให้คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาคณะเป็นผู้กาหนดโดยจัดทาเป็นประกาศของคณะ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะอาจพิจารณา ลดหย่อนค่าธรรมเนียมการวิจัยตามวรรคแรกเป็นการเฉพาะรายได้ ข้อ 7. คณะใดที่ได้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยไปก่อนประกาศนี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมการวิจัยนั้นมีผลสมบูรณ์ ข้อ 8. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) สุมนต์ สกลไชย (รองศาสตราจารย์ สุมนต์ สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

157 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

158 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ การศึกษาและการเทียบโอนหน่วยกิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา -------------------------เพื่อให้การดาเนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ การศึกษา และการเทียบโอนหน่วยกิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 และ 23(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2541 ประกอบด้วยข้อ 8 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2540 โดยความ เห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราวประชุมครั้งที่ 22/2544 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2544 จึงออกประกาศ เกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษาและการ เทียบโอน หน่วยกิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า“ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 646/2544) เรื่อง การเก็บ ค่าธรรมเนียมในการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษาและการเทียบโอนหน่วยกิ ตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” ข้อ 2. ให้ใช้ประกาศนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2544 เป็นต้นไป ประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับ ประกาศนี้ให้ใช้ประกาศฉบับนี้แทน ข้อ 3. ในประกาศนี้ “ค่าธรรมเนียมการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา” หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่ต้องชาระเมื่อ นักศึกษาได้รับอนุมัติให้คืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา “ค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา” หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่ต้องชาระเมื่อ นักศึกษาได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงระดับการศึกษา หรือสาขาวิชา หรือแผนการศึกษาหรือระบบการศึกษา รวมทั้ง การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาอันเกิดจากการขอเปลี่ยนแปลงการศึกษา ดังกล่าวข้างต้น “ค่าธรรมเนียมการเทียบโอนหน่วยกิต” หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่ต้องชาระสาหรับนักศึกษาใหม่ที่ ได้รับอนุมัติให้เทียบโอนหน่วยกิตในรายวิชาต่างๆ ตามหลักสูตรที่เข้าศึกษานั้นๆ ข้อ 4. อัตราค่าธรรมเนียมต่างๆ ในข้อ 3 ให้เรียกเก็บ ดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการคืนสถานภาพการเป็นนักศึกษา ครั้งละ 2,500.- บาท 4.2 ค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการศึกษา ครั้งละ 2,500.- บาท 4.3 ค่าธรรมเนียมการเทียบโอนหน่วยกิต ให้คิดอัตรามีหน่วยเป็นบาท/หน่วยกิตดังนี้


ลักษณะการจัดหลักสูตร ระดับการศึกษา ประกาศนียบัตรบัณฑิตและมหาบัณฑิต สาหรับนักศึกษากลุ่มที่ 1 สาหรับนักศึกษากลุ่มที่ 2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และปริญญาเอก สาหรับนักศึกษากลุ่มที่ 1 สาหรับนักศึกษากลุ่มที่ 2

ภาคปกติ

ภาคพิเศษ

นานาชาติและ ภาษาอังกฤษ

500 400

1,500 1,250

2,950 2,400

1,500 1,250

3,500 3,000

4,500 3,650

คู่มือนักศึกษา 2561

159 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

นักศึกษากลุ่มที่ 1 หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ นักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะ สาธารณสุขศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเทคโนโลยี คณะเภสัชศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ และคณะ อื่นๆ ในสาขาวิชานี้ นักศึกษากลุ่มที่ 2 หมายถึง นักศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้แก่ นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ และคณะอื่นๆ ในสาขาวิชานี้ ข้อ 5. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาในการตีค วามหรือการ ปฏิบัติ ตามประกาศนี้ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2544

(ลงชื่อ) สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ (รองศาสตราจารย์สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


คู่มือนักศึกษา 2561

160 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 834/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีสาหรับครู” -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีสาหรับครู” เป็นไปด้วยความ เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการและบังเกิดผลดีต่อทางราชการ อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาคณะวิทยาศาสตร์ โดยวิธีเวียน เมื่อวันที 25 พฤษภาคม 2549 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ อานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 4/2549 โดยวิธีเวียนเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2549 จึงออก ประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรียกว่า ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 834/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี สาหรับครู” ปีการศึกษา 2549 ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีสาหรับครู ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ 40,000 บาท 3.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษาอื่น ๆ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาพิเศษสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในระเบียบ หรือประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดี เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่

6 กรกฎาคม พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 964/ 2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาการรับรู้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ของคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาการรับรู้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ” เป็นไป ด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาส าหรั บ หลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการอ านวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2548 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2548 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 964/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึ กษาสาหรั บ หลั กสู ตรโครงการพิ เศษ คณะวิ ท ยาศาสตร์ หลั ก สูต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิต สาขาวิ ชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาการรับรู้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์” ข้อ 2 ให้ ป ระกาศนี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ตั้ งแต่ ภ าค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาการรับรู้ จากระยะไกลและระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 38,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 19,000 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียนภาค การศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาภาคปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท 4.3 การสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท ข้อ 5 ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา

คู่มือนักศึกษา 2561

161 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

162 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 215/2550) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาสาหรับครู” -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนี ยมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาสาหรับครู ” เป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อ มหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่ งระเบีย บมหาวิท ยาลัยขอนแก่น ว่ าด้วยการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาส าหรั บ หลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการประจ าคณะ วิทยาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ อานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ ในคราวประชุม ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 215/2550) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึก ษาสาหรับหลั กสูตรโครงการพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่น “หลักสูต รวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาสาหรับครู” ข้อ 2 ให้ ป ระกาศนี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ตั้ งแต่ ปี การศึกษา 2550 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาสาหรับครู ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา ชุดวิชาละ 35,000 บาท และสาหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ครบ 3 ชุดวิชา แต่ยังไม่สาเร็จการศึกษาต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาในอัตรา ครึ่งหนึ่ง 3.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษาอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ดังนี้ รายการค่าธรรมเนียม อัตราค่าธรรมเนียม (บาท) 1. ค่าใบสมัครและระเบียบการสอบคัดเลือก ชุดละ 200 2. ค่าสมัครและสอบคัดเลือก 500 3. ค่าธรรมเนียมการรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา 3,000 4. ค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้ ไม่เกิน 2,000 5. ค่าธรรมเนียมการสอบวัดคุณสมบัติ ไม่เกิน 3,000 6. ค่าธรรมเนียมการสอบการศึกษาอิสระ ไม่เกิน 4,000 7. ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ ไม่เกิน 5,000

คู่มือนักศึกษา 2561

163 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

164 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ข้อ 4 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศคณะวิทยาศาสตร์ (ฉบับที่ 27/2553) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ -------------------------เพื่อให้การดาเนินงานจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 27 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น พ.ศ.2541 ประกอบด้วย ข้อ 6 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) ลงวันที่ 21 เมษายน 2549 และมติที่ ประชุมของคณะกรรมการประจาคณะวิทยาศาสตร์ ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2553 เมื่ อวันที่ 16 มิถุนายน 2553 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็น แนวปฏิบัติแก่ผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป 2. ยกเลิกประกาศคณะวิทยาศาสตร์(ฉบับที่ 11/2550) ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 ให้ใช้ประกาศ ฉบับนี้แทน 3. การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัย ให้เรียกเก็บดังนี้ 2.1 ขั้นปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 80,000 บาท 2.2 ขั้นปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 50,000 บาท 4. ในกรณี ที่ มี เ หตุ ผ ลและความจ าเป็ น คณบดี โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการประจ าคณะฯ อาจพิจารณายกเว้นหรือลดหย่อนค่าธรรมเนียมการวิจัยตามข้อ 3 ให้แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลได้ 5. กรณี ที่ ค ณะเรี ย กเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มการวิ จั ย ไปก่ อ นประกาศนี้ ใ ช้ บั ง คั บ ให้ ถื อ ว่ า การเรี ย กเก็ บ ค่าธรรมเนียมการวิจัยนั้นมีผลสมบูรณ์ 6. กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัย และให้คาวินิจฉัย ของคณบดีถือเป็นที่สิ้นสุด จึงประกาศให้ทราบทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2553 (ลงชื่อ) เกียรติ แสงอรุณ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกียรติ แสงอรุณ) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

165 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

166 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะวิทยาศาสตร์ ฉบับที่ 9/2549 เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมการทาวิทยานิพนธ์ หรือวิจัยร่วม ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ต่างสถาบัน ที่ไม่ได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------ด้วยเห็นสมควรให้กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการทาวิทยานิพนธ์ หรือวิจัยร่วม สาหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาต่างสถาบัน ที่ไม่ได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาในหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเรียกเก็บจากนักศึกษาต่างสถาบัน เพื่อเป็นการสนับสนุนการทาวิทยานิพนธ์ หรือวิจัยร่วม ของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษมีความเหมาะสม ฉะนั้นอาศัยอานาจตามความในมาตราข้อ 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541.จึงออก ประกาศดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้มีผลบังคับใช้กับ นักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ของนักศึกษาต่างสถาบันที่เข้า ศึกษาตั้งแต่ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้นักศึกษาต่างสถาบันที่มาทาวิทยานิพนธ์ หรือวิจัยร่วม ในคณะวิทยาศาสตร์ โดยไม่ได้ ลงทะเบียน เรียนรายวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ชาระค่าธรรมเนียมตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 3 ค่าธรรมเนียมฯ ในภาคการศึกษาที่นักศึกษาต่างสถาบัน ครบระยะเวลาการศึกษาตามแผนการ ศึกษาในหลักสูตรแล้ว และเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนไม่เกิน 3 หน่วยกิต ณ สถาบันที่นักศึกษาสังกัด ให้ชาระ ค่าธรรมเนียมการทาวิทยานิ พนธ์ หรือวิจัยร่วม เพียงครึ่งหนึ่งของอัตราค่าธรรมเนียม ที่นักศึกษาต้องชาระ ตามปกติ ข้อ 4 นอกเหนือจาก ข้อ 3 ให้เป็นไปตามประกาศใน ข้อ 2 ทุกประการ ข้อ 5 ให้คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ โดยการวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีคณะ วิทยาศาสตร์ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ

วันที่

1

กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2549 (ลงชื่อ) ละออศรี เสนาะเมือง (ศาสตราจารย์ละออศรี เสนาะเมือง) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์


รายละเอียดแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 9/2549) ประเภท กลุ่มปฏิบัติการ

กลุ่มบรรยาย

สาขาวิชา ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ สถิติ

ระดับการศึกษา

ภาคการศึกษาละ (บาท)

ปริญญาโท

10,000

ปริญญาเอก

15,000

ปริญญาโท

5000

ปริญญาเอก

10,000

คู่มือนักศึกษา 2561

167 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

168 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะเกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ 12/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------เพื่อให้การดาเนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียม การวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะเกษตรศาสตร์ ใน การประชุม ครั้งที่ 7/2549 เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ให้ยกเลิกประกาศคณะเกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ 2/2545) ลงวันที่ 24 มกราคม 2545 เรื่อง การเก็บ ค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับปริญญาเอก และประกาศคณะเกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ 15/2548) ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2548 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียมการศึกษาการวิจัยหลักสูตรระดับปริญญาเอก ข้อ 2. ให้ใช้ประกาศนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ใช้ประกาศนี้กับนักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ที่ได้รับทุนการศึกษา ข้อ 4. การเรีย กเก็บ ค่า ธรรมเนี ยมการวิ จัย ให้เ รีย กเก็บ เท่ าค่ าใช้จ่ ายจริ งในการทาวิจั ย โดยให้ค ณะ กรรมการบริหารหลักสูตรประจาสาขาวิชาเป็นผู้พิจารณากาหนดจานวนเงินค่าธรรมเนียมการวิจัยในอัตราภาค การศึกษาละไม่เกิน 80,000 บาท (แปดหมื่นบาทถ้วน) โดยให้เรียกเก็บในภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนเรียน วิทยานิพนธ์ ในกรณีที่ มีเ หตุผ ลและความจาเป็น คณบดี โดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการประจาคณะฯ อาจ พิจารณาลดหย่อนหรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการวิจัยเป็นการเฉพาะรายได้ ข้อ 5. ให้คณบดีรักษาการตามประกาศนี้ และในกรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตามประกาศ นี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) อัศนี ปาจีนบูรวรรณ์ (รองศาสตราจารย์อัศนี ปาจีนบูรวรรณ์) คณบดีคณะเกษตรศาสตร์


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1143/2554) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะเกษตรศาสตร์ “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร” ……………………………………………….. เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของภาควิชา ส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และในข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และ ข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัย(ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะเกษตรศาสตร์ คราว ประชุ มครั้ งที่ 2/2554 เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพัน ธ์ 2554 และโดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการอ านวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ โดยวิธีเวียน คราวประชุ ม ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2554 จึงออก ประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1143/2554) เรื่อง ค่ าธรรมเนีย ม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ” “วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ปลาย ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ข้ อ 3 ให้ ย กเลิ ก ประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 195/2539) เรื่ อ ง ค่ า ตอบแทนคณาจารย์ คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นปริญญาโท ภาคพิเศษ ของบัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 4 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชา ส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์” “วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร” ที่จัดการในหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนด ดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 4.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 35,000 บาท 4.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 17,500 บาท 4.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่ง หนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ 4.3 ค่าธรรมเนียมต่างๆ ต่อครั้ง รายการค่าธรรมเนียม อัตราค่าธรรมเนียม (บาท) 4.3.1 การสอบประมวลความรู้ 1,000.4.3.2 การสอบการศึกษาอิสระ 2,000.4.3.3 การสอบการวิทยานิพนธ์ 3,000.-

คู่มือนักศึกษา 2561

169 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

170 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 23 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2554 (ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 252/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” ……………………………………………….. เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และในข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และ ข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัย(ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะวิศวกรรมศาสตร์ คราว ประชุมครั้งที่ 36-23/2551 เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุม ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2552 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรี ย กว่า “ประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 252/2552) เรื่อ ง ค่า ธรรมเนี ย ม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ” “หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชา วิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล้ อ ม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ “หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดล้อม” ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนด ดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 40,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 20,000 บาท 3.2 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ 3.2.1 ค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 3.2.2 ค่าธรรมเนียมการสอบการศึกษาอิสระ 3,000 บาท 3.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบี ยน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 8 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่ง หนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้ อ 4 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

171 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

172 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1890/2553) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์”

---------------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ” เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่ าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ คราวประชุมครั้งที่ 77-18 /2553 เมื่อวัน ที่ 14 ตุลาคม 2553 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ อานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยวิธีเวียน คราวประชุม ครั้งที่ 7/2553 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1890/2553) เรื่อง ค่าธรรมเนี ยม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์” ข้อ 2 ให้ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 586/2551) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์” ข้อ 3 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป ข้อ 4 อัตราค่าธรรมเนี ยมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลัก สูตรโครงการพิเศษ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ” ที่จัดการเป็นหลักสูตร โครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา 4.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 40,000 บาท 4.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 20,000 บาท 4.2 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ 4.2.1 ค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2.2 ค่าธรรมเนียมการสอบการศึกษาอิสระ 3,000 บาท 4.2.3 ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ 4,000 บาท 4.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียนใน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ


ข้ อ 5. ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6. ให้อธิการบดี เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

173 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

174 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 587/2551) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน” -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนีย มการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และในข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ คราว ประชุมครั้งที่ 13-24/2550 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2550 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 6 / 2550 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2550 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 587/2551) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ภาควิชา วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ “หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน” ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา ภาคปกติ ภาคเรียนละ 40,000 บาท 3.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษา ภาคฤดูร้อน ภาคเรียนละ 20,000 บาท 3.3 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ 3.3.1 ค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท/ครั้ง 3.3.2 ค่าธรรมเนียมการสอบการศึกษาอิสระ 3,000 บาท/ครั้ง 3.3.3 ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท/ครั้ง ข้ อ 4 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2551 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ฉบับที่ 58/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษา/วิจัย -------------------------เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานจั ด การศึ ก ษาในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การวิ จั ย ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด อาศัยอานาจตามความ ในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 ประกอบกับ ข้อ 6 แห่งประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) ลงวันที่ 21 เมษายน 2549 เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตาม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา โดยความเห็นชอบของที่ประชุมกรรมการคณะ ครั้งที่ 54-14/2549 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2549 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับที่ 58/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษา/วิจัย” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศอื่นใดของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ และให้ใช้ ประกาศฉบับนี้แทน ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์ “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ข้อ 5 หลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม 5.1 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 60,000 บาท 5.2 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 80,000 บาท 5.3 ในกรณี มี เ หตุ ผ ลและความจ าเป็ น คณบดี โ ดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ ประจาคณะ อาจพิจารณาลดหย่อนค่าธรรมเนียมการวิจัยเป็นการเฉพาะรายได้ ข้อ 6 การใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมที่คณะจัดสรรให้ภาควิชาเจ้าของหลักสูตรหลังหักตามระเบียบ เงินได้รายแล้ว ให้เป็นค่าใช้จ่ายสาหรับการศึกษาวิจัยและการทาวิทยานิพนธ์ ของนักศึกษา ผู้ที่จ่ายเงินนั้นๆ โดยสามารถสะสมเป็นค่าใช้จ่ายจนกว่าจะสาเร็จการศึกษา ตามความ จาเป็นดังต่อไปนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

175 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

176 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

ข้อ 7

6.1 เป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมข้อเสนอวิทยานิพนธ์ การทาวิทยานิพนธ์และการจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือจาเป็นบางส่วนประกอบการศึกษาวิจัย 6.2 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาเกี่ยวกับ 6.2.1 การเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งใน และต่างประเทศ 6.2.2 การจัดหาข้อมูลทางวิชาการประกอบการศึกษาวิจัย ทั้งจากในและต่างประเทศ 6.2.3 การนาเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ 6.2.4 ค่าใช้จ่ายในกรณีที่นักศึกษาต้องเดินทางไปทาการศึกษาวิจัยบางส่วนใน ต่างประเทศ 6.2.5 การประสานงานทางวิชาการระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา โครงการวิจัยฝ่ายไทย และฝ่ายต่างประเทศ 6.3 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่คณบดีอนุมัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ ให้คณบดีเป็นผู้รักษาตามประกาศนี้ ในกรณีมีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัยและให้ถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2549 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 224/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับ บัณฑิตศึกษา ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอนการศึกษาพิเศษ” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสู ตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้ อ 5 ของประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 639/2548) เรื่อ ง ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาส าหรั บ หลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการประจ าคณะ ศึกษาศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 13/2548 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2548 และคณะกรรมการอานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรีย กว่า “ประกาศมหาวิ ทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 224/2549) เรื่อ ง ค่ าธรรมเนีย ม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ทุกสาขาวิชา ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 3.1.1.1 ระดับปริญญาโท 25,000 บาท 3.1.1.2 ระดับปริญญาเอก 50,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 3.1.2.1 ระดับปริญญาโท 12,500 บาท 3.1.2.2 ระดับปริญญาเอก 25,000 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสู ตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2 การสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 4.3 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท 4.4 การสอบวิทยานิพนธ์ 4.4.1 ระดับปริญญาโท 5,000 บาท

คู่มือนักศึกษา 2561

177 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

178 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม 4.4.2 ระดับปริญญาเอก 6,000 บาท ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกา ศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับโครงการพิเศษและระเบียบหรือ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติ ตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 223/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับ บัณฑิตศึกษา ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอนการศึกษาพิเศษ” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสู ตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้ อ 5 ของประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 639/2548) เรื่อ ง ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาส าหรั บ หลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการประจ าคณะ ศึกษาศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 13/2548 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2548 และคณะกรรมการอานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรี ย กว่ า “ประกาศมหาวิ ท ยาลั ยขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ /2549) เรื่ อง ค่า ธรรมเนี ย ม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคการศึกษา ปลาย ปีการศึกษา 2548 เท่านั้น ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 25,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 12,500 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้วหรือเป็นการลงทะเบียนภาค การศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีก ไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่ง หนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2 การสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 4.3 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท 4.4 การสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท

คู่มือนักศึกษา 2561

179 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

180 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 641/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสู ตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้ อ 5 ของประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 639/2548) เรื่อ ง ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาส าหรั บ หลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการประจ าคณะ ศึกษาศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 5/2549 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2549 และคณะกรรมการอานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2549 โดยวิธีเวียนเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2549 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 641/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา หลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู” 2. ประกาศนี้ให้ใช้บังคับสาหรับนักศึกษาโครงการพิเศษ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพ ครู คณะศึก ษาศาสตร์ ที่เ ข้า ศึก ษาในมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น ตั้งแต่ภ าคการศึก ษาต้น ปี การศึกษา 2549 เป็น ต้นไป 3. อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา 3.1 จัดเก็บภาคการศึกษาละ 12,000 บาท 3.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อนจัดเก็บในอัตราครึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมภาคปกติ 4. ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา 5. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2549

(ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

181 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

182 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ (ฉบับที่ 006 /2552) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษา/วิจัย ......................................... เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานจั ด การศึ ก ษาในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การวิ จั ย ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดอาศัยอานาจตามความใน มาตรา 27 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น พ.ศ. 2541 ประกอบกั บ ข้ อ 6 แห่ ง ประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) ลงวันที่ 21 เมษายน 2549 เรื่อง การเก็บ ค่าธรรมเนียมการวิจัยตาม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะศึกษาศาสตร์ครั้งที่ 16/2551 เมื่อ วันที่ 24 ธันวาคม 2551 จึงออกประกาศเกี่ยวกับ การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาคณะ ศึกษาศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( ฉบับที่ 006 /2552) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุน ที่มีการจ่ายค่าธรรมเนียมการวิจัย ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศอื่นใดของคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้และให้ใช้ประกาศ ฉบับนี้แทน ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะศึกษาศาสตร์ “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ที่ได้รับทุนที่มี การจ่ายค่าธรรมเนียมการวิจัย ข้อ 5 หลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม 5.1 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 60,000 บาท 5.2 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 80,000 บาท 5.3 ในกรณีมีเหตุผลและความจาเป็น ให้คณะกรรมการประจาคณะ พิจารณาลดหย่อนหรือ ยกเว้นเงินค่าธรรมเนียมตามวรรคแรกได้เป็นการเฉพาะราย ข้อ 6 การใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ให้ใช้จ่ายเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ โดยความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 6.1 เป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมข้อเสนอวิทยานิพนธ์ การทาวิทยานิพนธ์และการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือจาเป็นบางส่วนประกอบการศึกษาวิจัย 6.2 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาเกี่ยวกับ


6.2.1 การเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งในและ ต่างประเทศ 6.2.2 การจัดหาข้อมูลทางวิชาการประกอบการศึกษาวิจัย ทั้งจากในและต่างประเทศ 6.2.3 การนาเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ 6.2.4 ค่าใช้จ่ายในกรณีที่นักศึกษาต้องเดินทางไปทาการศึกษาวิจัยบางส่วนในต่างประเทศ 6.2.5 การประสานงานทางวิชาการระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ฝ่ายไทย และฝ่ายต่างประเทศ 6.3 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่คณบดีอนุมัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ ข้อ 7 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาตามประกาศนี้ ในกรณีมีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัยและให้ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่

3

มีนาคม พ.ศ. 2552

( ลงชื่อ)ไพศาล สุวรรณน้อย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย) คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

183 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

184 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับ บัณฑิตศึกษา ของคณะพยาบาลศาสตร์ “หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา” เป็นไปด้วยความ เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสู ตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้ อ 5 ของประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 639/2548) เรื่อ ง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะพยาบาล ศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 11/2548 เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2548 และคณะกรรมการอานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภ าคการศึก ษา ต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ยกเว้น นักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช โครงการพิเศษ ที่เป็นพันธสัญญาตกลงให้ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งคณะพยาบาลศาสตร์ กั บ กรมสุ ข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุ ข ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 775/2545) ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2545 ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรพยาบาลศาสตมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 28,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 14,000 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 1,000 บาท 4.2 การสอบการศึกษาอิสระ หรือการสอบสารนิพนธ์ 2,500 บาท 4.3 การสอบวิทยานิพนธ์ 3,500 บาท ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกา ศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและระเบียบ หรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 578/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล -------------------------เพื่อให้การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การพยาบาลหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการหลักสูตร และบังเกิดผลดี อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสู ตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้ อ 5 ของประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 639/2548 ) เรื่อ ง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะพยาบาล ศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 25451 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ อานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2551 เมื่อวัน ที่ 3 ธันวาคม 2551 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรีย กว่า “ประกาศมหาวิ ทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 578/2552) เรื่อ ง ค่ าธรรมเนีย ม การศึ กษาส าหรั บหลัก สูตรโครงการพิเศษ คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสู ตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการ พยาบาล” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้ มีผลบั งคับใช้สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล หลักสูตรโครงการพิเศษ ที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ข้ อ 3 อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา และค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ๆ ส าหรั บ หลั ก สู ต รปรั ชญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิชาการพยาบาล ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 60,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 30,000 บาท 3.1.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการ ลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา และเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 8 หน่วยกิต ให้ จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ 3.2 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง 3.2.1 ค่าธรรมเนียมการสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 3.2.2 ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ 6,000 บาท ข้ อ 4 ค่ า ธรรมเนี ย มที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2552 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

185 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

186 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะแพทยศาสตร์ (ฉบับที่ 116/2548) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก คณะแพทยศาสตร์ -------------------------โดยที่เป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่ าธรรมเนีย มวิจัย ตามหลักสูตรระดั บ ปริญ ญาเอก คณะแพทยศาสตร์ เพื่ อให้ การด าเนิ นการจัดเก็บ และการใช้จ่า ยเงิน ค่าธรรมเนี ยมการวิจั ยระดั บ บัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด ฉะนั้ น อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 27 แห่ งพระราชบั ญ ญั ติ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น พ.ศ.2 541 ประกอบด้วย ข้อ 6 ของประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 316/2544) ลงวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 และโดยความเห็นชอบของมติที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะแพทยศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 23/2548 เมื่อ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 คณะแพทยศาสตร์ จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก คณะแพทยศาสตร์ ไว้ดังนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะแพทยศาสตร์ (ฉบับที่ 116 /2548) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมวิจัย ตามหลักสูตรระดับปริญญาเอก คณะแพทยศาสตร์” ข้อ 2. ให้ประกาศนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไป ข้อ 3. ในประกาศนี้ “คณะแพทยศาสตร์” หมายถึง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาด้านปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์ “เงินค่าธรรมเนียม” หมายถึง เงินที่เรียกเก็บเป็นค่าธรรมเนียมการวิจัย ตาม หลักสูตร ระดับปริญญาเอก คณะแพทยศาสตร์ ข้อ 4. การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ให้เรียกเก็บเฉพาะนักศึกษาตามหลักสูตร หรือสาขาวิชาระดับปริญญา เอก ของคณะแพทยศาสตร์ ที่ได้รับทุนอุดหนุนค่าธรรมเนียมการวิจัยจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนเท่านั้น ข้อ 5. การเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียม ให้เรียกเก็บตามอัตราและข้อกาหนดของแหล่งทุนแต่ไม่เกินภาค การศึกษาละ 60,000.- บาท (หกหมื่นบาทถ้วน) โดยให้นาเข้าเป็นเงินรับฝากเพื่อเบิก -จ่ายสาหรับเป็นค่ าใช้จ่าย ให้กับหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดในข้อ 7 ของประกาศนี้ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น ให้คณะกรรมการโดยความเห็นชอบของคณบดีพิจารณาลดหย่อนหรือ ยกเว้นเงินค่าธรรมเนียมตามวรรคแรกได้เป็นการเฉพาะราย ข้อ 6. หลักเกณฑ์การชาระเงิน 6.1 การชาระเงินค่าธรรมเนียม ให้ชาระที่หน่วยเงินรายได้ งานคลัง สานักงานคณบดีคณะ แพทยศาสตร์ ภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันเปิดภาคการศึกษา 6.2 นักศึกษาที่ค้างชาระเงินค่าธรรมเนียม หรือชาระแต่ไม่ครบ เป็นเวลา 2 ภาคการศึกษา ติดต่ อกั น จะไม่ได้ รับ การพิจ ารณาให้ล งทะเบี ยนในภาคการศึกษาถั ดไป จนกว่ าจะชาระเงิ นค่า ธรรมเนีย มจน ครบถ้วน


ข้อ 7. การใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียม ให้ใช้จ่ายเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 7.1 เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหลักสูตรของสาขาวิชา ร้อยละ 10 7.2 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาในการเตรียมข้อเสนอวิทยานิพนธ์ การทาวิทยานิพนธ์และการ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์หรือเครื่องมือจาเป็นบางส่วนเพื่อใช้ในการศึกษาวิจัย 7.3 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาเกี่ยวกับ การติดต่อสื่อสารทางวิชาการในการศึกษาวิจัย การ จัดหาข้อมูลทางวิชาการประกอบการศึกษาวิจัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 7.4 เป็นค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 7.5 เป็นค่าใช้จ่ายในการไปนาเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ 7.6 เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทาการศึกษาวิจัยบางส่วนในต่างประเทศและ/หรือการ ประสานงานทางวิชาการระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยฝ่ายไทยและฝ่ายต่างประเทศ (หากมี) 7.7 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับการทาวิจัยตามประกาศนี้ การเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามระเบียบเงินรายได้มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 8. ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีหากมีปัญหาในการปฏิ บัติให้เป็นไปตามประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัย คาวินิจฉัยให้ถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2548 (ลงชื่อ) สัญญา ร้อยสมมุติ (รองศาสตราจารย์สัญญา ร้อยสมมุติ) รองคณบดีฝ่ายบริหาร ปฏิบัติราชการแทนคณบดีคณะแพทยศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

187 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

188 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะแพทยศาสตร์ (ฉบับที่ 18/2549) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ของหลักสูตรระดับปริญญาโท คณะแพทยศาสตร์ -------------------------โดยที่เป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ของหลักสูตรระดับ ปริ ญญาโท คณะแพทยศาสตร์ เพื่ อให้ก ารดาเนิน การจั ด เก็ บและการใช้ จ่า ยเงิ นค่ าธรรมเนี ยมการวิจั ย ระดั บ บัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2541 และ โดยความเห็นชอบของมติที่ประชุมของคณะกรรมการประจาคณะแพทยศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 4/2549 เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 คณะแพทยศาสตร์ จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ของ หลักสูตรระดับปริญญาโท คณะแพทยศาสตร์ ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะแพทยศาสตร์ (ฉบับที่ 18 /2549) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ของหลักสูตรระดับปริญญาโท คณะแพทยศาสตร์” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ “คณะแพทยศาสตร์” หมายถึง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาด้านปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์ “เงินค่า ธรรมเนียม” หมายถึง เงินที่เรียกเก็บเป็นค่าธรรมเนียมการวิจัย ของหลักสูตรระดับ ปริญญาโท คณะแพทยศาสตร์ ข้อ 4 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ให้เรียกเก็บเฉพาะนักศึกษาตามหลักสูตรหรือสาขาวิชาระดับปริญญาโท ของคณะแพทยศาสตร์ ที่ได้รับทุนอุดหนุนค่าธรรมเนียมการวิจัยจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนเท่านั้น ข้อ 5 การเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียม ให้เรียกเก็บตามอัตราและข้อกาหนดของแหล่งทุน แต่ไม่เกินภาค การศึกษาละ 60,000.- บาท (หกหมื่นบาทถ้วน) โดยให้นาเข้าเป็นเงินรับฝากเพื่อเบิก -จ่ายสาหรับเป็นค่าใช่จ่าย ให้กับหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดในข้อ 7 ของประกาศนี้ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น ให้คณะกรรมการ โดยความเห็นชอบของคณบดีพิจารณาลดหย่อน หรือยกเว้นเงินค่าธรรมเนียมตามวรรคแรกได้เป็นการเฉพาะราย ข้อ 6 หลักเกณฑ์การชาระเงิน 6.1 การชาระเงินค่าธรรมเนียม ให้ชาระที่หน่วยการเงินและบัญชี งานคลัง สานักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ ภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันเปิดภาคการศึกษา 6.2 นัก ศึกษาที่ค้ างชาระเงินค่าธรรมเนีย มหรือชาระแต่ไม่ ครบ เป็ นเวลา 2 ภาคการศึกษา ติดต่ อกั น จะไม่ได้ รับ การพิจ ารณาให้ล งทะเบี ยนในภาคการศึกษาถั ดไป จนกว่าจะชาระเงิ นค่า ธรรมเนีย มจน ครบถ้วน ข้อ 7 การใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียม ให้ใช้จ่ายเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้


7.1 เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหลักสูตรของสาขาวิชา ร้อยละ 10 7.2 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาในการเตรียมข้อเสนอวิทยานิพนธ์ การทาวิทยานิพนธ์และการ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์หรือเครื่องมือจาเป็นบางส่วนเพื่อใช้ในการศึกษาวิจัย 7.3 เป็นค่าใช้จ่ายของนักศึกษาเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารทางวิชาการในการศึกษาวิจัย การ จัดหาข้อมูลทางวิชาการประกอบการศึกษาวิจัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 7.4 เป็นค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 7.5 เป็นค่าใช้จ่ายในการไปนาเสนอผลงานวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ 7.6 เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทาการศึกษาวิจัยบางส่วนในต่างประเทศและ/หรือการ ประสานงานทางวิชาการระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา โครงการวิจัยฝ่ายไทยและฝ่ายต่างประเทศ (หากมี) 7.7 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับการทาวิจัย การเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามระเบียบเงินรายได้มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 8 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีหากมีปัญหาในการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัย คาวินิจฉัยให้ถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549

(ลงชื่อ) วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม (ศาสตราจารย์วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม) คณบดีคณะแพทยศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

189 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

190 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับที่ 62 /2558) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาหรือทุนสนับสนุนค่าธรรมธรรมเนียมการวิจัย ............................. เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การจั ด การศึ ก ษาในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การวิ จั ย ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดอาศัย อานาจตามความในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 ประกอบกับข้อ 6 แห่ง ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) ลงวันที่ 21 เมษายน 2549 เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัย ตามหลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา โดยความเห็ น ชอบของที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาประจ าคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2558 และโดยความเห็นชอบของที่ประชุม คณะกรรมการประจาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10/2558 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558 จึงออก ประกาศเกี่ ย วกั บ การเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มการวิ จั ย ตามหลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 62/2558) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ สาหรับนักศึกษาที่ได้รับทุนที่มีการจ่ายค่าธรรมเนียมการวิจัย ข้อ 2 ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศอื่นใดของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศนี้และ ให้ใช้ประกาศฉบับนี้แทน ข้อ 4 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแก่น “คณะ” หมายถึง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ที่ได้รับทุนที่มีการจ่ายค่าธรรมเนียมการวิจัย กรรมการประจาคณะ หมายถึง กรรมการประจาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ข้อ 5 หลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม 5.1 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 20,000 บาท 5.2 อัตราค่าธรรมเนียมเรียกเก็บสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 40,000 บาท 5.3 ในกรณีมีเหตุผลและความจาเป็น ให้คณะกรรมการประจาคณะ พิจารณาลดหย่อนหรือ ยกเว้นค่าธรรมเนียมตามวรรคแรกได้เป็นการเฉพาะราย ข้อ 6 การใช้จ่ายเงินค่าธรรมเนียมการวิจัย ให้ใช้จ่ายเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ โดยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาที่เกี่ยวข้อง


6.1 เป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงร่างวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ การทาวิทยานิพนธ์/ดุษฎี นิพนธ์ และการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือจาเป็นบางส่วนประกอบการศึกษาวิจัย 6.2 เป็นค่าใช้จ่ายของหลักสูตร 6.2.1 การเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ 6.2.2 การนาเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6.2.3 การจัดหาข้อมูลทางวิชาการประกอบการศึกษาวิจัย ทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ 6.2.4 ค่าใช้จ่ายในกรณีที่นักศึกษาต้องเดินทางไปทาการศึกษาวิจัยบางส่วนในต่างประเทศ 6.2.5 การประสานงานทางวิชาการระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาในโครงการวิจัย ฝ่ายไทยและฝ่ายต่างประเทศ 6.3 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่คณบดีอนุมัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ ข้อ 7 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาตามประกาศนี้ ในกรณีมีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีเป็นผู้วินิจฉัยและให้ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ กันยายน พ.ศ. 2558 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

191 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

192 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1373/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ของคณะเทคนิค การแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการและบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัด หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้อ 5 ของประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะเทคนิคการแพทย์ โดยการเวียน ขอความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2552 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยวิธีเวียน คราวประชุมครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1373/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนีย มการศึกษาสาหรับหลัก สูต รโครงการพิเ ศษ คณะเทคนิคการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ” ข้อ 2 ให้ ป ระกาศนี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ สาหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ตั้ ง แต่ ภ าคการศึ ก ษาต้ น ปี ก ารศึ ก ษา 2552 เป็ น ต้ น ไป ข้อ 3 อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา และค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ๆ หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,000 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 15,000 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือ เป็นการ ลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้ จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท 4.3 การสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท ข้อ 5 ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือ ปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2013/2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะเทคนิคการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ -------------------------โดยที่ เห็ นเป็ นการสมควรก าหนดค่ าใช้ จ่ ายในการจั ดการหลั กสู ตรโครงการพิ เศษของคณะเทคนิ คการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิ กและการจัดการ” เพื่อให้ บังเกิดผลดีต่อการพัฒนาองค์กร การพัฒนาด้านวิชาการและวิจัย และการพัฒนานักศึกษาและอาจารย์ เอื้อประโยชน์ ต่อการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัย อานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบีย บมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการจัดการ หลักสูต รโครงการพิเ ศษ พ.ศ.2548 และข้อ 6 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด การหลั กสู ต รโครงการพิ เ ศษ โดย ความเห็ น ชอบของคณะกร รมการประจ า คณะเทคนิคการแพทย์ ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2552 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 และคณะกรรมการอานวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2552 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2013/2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตร โครงการพิเศษ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยา คลินิกและการจัดการ” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ข้อ 3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการ จัดการ ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษนี้ ให้จ่ายได้ตามที่กาหนดในบัญชีแนบท้าย ข้ อ 4 ค่ า ใช้ จ่ า ยใด ๆ ที่ มิ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไ ว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และระเบียบหรือ ประกาศของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่เกี่ยวข้องกับการนั้น ๆ กรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยที่สามารถใช้ได้โดยอนุโลม ให้อธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 5 ให้คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือ ปัญหาการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์ กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

193 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

194 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชีแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2013/2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ รายการค่าใช้จ่าย 1. ค่าตอบแทนการดาเนินการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา 1.1 กรรมการดาเนินการสอบคัดเลือก คนละ 1.2 กรรมการสอบสัมภาษณ์ คนละ 1.3 วิชาภาษาอังกฤษ กรรมการออกข้อสอบและตรวจข้อสอบ

1.4 วิชาประสบการณ์วิชาชีพ จานวน 5 รายวิชา

1.5 กรรมการคุมสอบ 2. ค่าตอบแทนการสอน 2.1 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัยให้จ่ายได้ในอัตราที่เหมาะสมตาม คุณวุฒิ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของบุคคลนั้น ๆ โดย ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร อาจารย์ภายนอกคณะ 2.2 อาจารย์ประจาภายในคณะ ให้จ่ายได้ตามที่กาหนดไว้ในอัตราดังนี้ - การสอนภาคบรรยายหรือภาคทฤษฎี - การสอนภาคปฏิบัติการ อาจารย์เจ้าของปฏิบัติการ อาจารย์ช่วยคุมฝึกปฏิบัติการ ผู้ช่วยเตรียมปฏิบัติการ

อัตราเบิกจ่ายไม่เกิน (บาท) 100 บาท/ต่อการสอบหนึ่งครั้ง (กรรมการไม่เกิน 10 คน) 20 บาท/ผู้เข้าสอบ 1 คน (กรรมการไม่เกิน 10 คน) 2000 บาท/วิชา ส่วนที่เกินจานวน 10 คน คิด ค่าตอบแทนคนละ 100 บาท/ผู้เข้า สอบ 1 คน ทั้งนี้รวมแล้วไม่เกิน 12,000 บาท กรรมการออกข้อสอบ 400 บาท/ วิชา กรรมการตรวจข้อสอบ 50 บาท/ต่อ ผู้เข้าสอบ 1 คน/วิชา ทั้งนี้รวมแล้ว ไม่เกิน 12,000 บาท 250 บาท/คน/คาบ

700-1000 บาท/ชั่วโมง

500 บาท/ชั่วโมง 200 บาท/ครั้ง 120 บาท/ครั้ง 100 บาท/ครั้ง


รายการค่าใช้จ่าย เจ้าหน้าที่ทาความสะอาดอุปกรณ์ 2.3 อาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา 2.4 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่จัดทาเอกสารของหลักสูตร 3. ค่าตอบแทนการสอนวิชาการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ 3.1 คณะกรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ 3.2 คณะกรรมการ สอบเค้าโครงการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ 3.3 คณะกรรมการ สอบการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ 3.4 ค่าใช้จ่ายผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในการสอบวิทยานิพนธ์ 3.5 ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เป็นกรรมการ สอบการศึกษา อิสระ/วิทยานิพนธ์ 4. ค่าตอบแทนการสอบประมวลความรู้ 5. ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร/ปีการศึกษา 5.1 ค่าจ้างเหมาหรือค่าตอบแทนหน่วยตรวจสอบภายในหรือผู้สอบบัญชี รับอนุญาต 5.2 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

อัตราเบิกจ่ายไม่เกิน (บาท) 80 บาท/ครั้ง 500 บาท/รายวิชา 100 บาท/รายวิชา/ภาคการศึกษา 2,000 บาท/เรื่อง 1,000 บาท/เรื่อง 1,000 บาท/เรื่อง เฉพาะค่าเดินทาง ที่พัก ตามที่จ่าย จริง ไม่เกิน 10,000 บาท/คน/ครั้ง 1,000 บาท/คน/ครั้ง 3,000 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 10,000 บาท (ตามที่จ่าย จริง) ไม่เกิน 50,000 บาท (ตามที่จ่าย จริง)

หมายเหตุ: 1. การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ ให้จ่ายดังนี้ 1.1 ถ้ามีกรรมการ 2 คน(อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม)ให้จ่ายประธานต่อ กรรมการในอัตรา 2 :1 1.2 ถ้ามีกรรมการมากกว่า 2 คน ให้จ่ายประธาน 50% (ส่วนที่เหลือให้จ่ายกรรมการใน อัตราส่วนเท่าๆ กัน) 2.การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบเค้าโครงการศึกษาอิสระ/วิทยานิพนธ์ และกรรมการสอบ การศึกษาอิสระและวิทยานิพนธ์ ให้จ่ายในอัตราส่วนเท่าๆ กัน ทั้งนี้ไม่รวมกรรมการที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 3. อัตราการจ่าย ข้อ 1 และข้อ 2 ใช้กับรายวิชาที่ดาเนินการสอนโดยคณะเทคนิคการแพทย์ 4. รายวิ ช าที่ สั ง กั ด ต่ า งคณะให้ ค ณะต้ น สั ง กั ด พิ จ ารณาใช้ อั ต ราของมหาวิ ท ยาลั ย (ตามประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 640/2548 เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ) ตามความเหมาะสม

คู่มือนักศึกษา 2561

195 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

196 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 46/2552) เรื่อง หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ -------------------------เพื่อให้การบริหารและการดาเนินงานเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยานิพนธ์ และดุษฎี นิพนธ์ ของคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ และ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะเทคนิคการแพทย์ ในคราวประชุมครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2552 จึงประกาศหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิค การแพทย์ ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป และให้ยกเลิกประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 17/2546) ลงวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2546 ประกาศคณะเทคนิคการแพทย์(ฉบับที่ 38/2550) ลงวันที่ 13 กันยายน 2550 และประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ (ฉบับที่ 4/2551) ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2552

(ลงชื่อ) เกรียงไกร กิจเจริญ) (รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์


รายละเอียดแนบท้ายประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 46/2552) ลงวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2552 หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนการสอนรายวิชาวิทยานิพนธ์ ค่าตอบแทน ระดับปริญญาโท 1. คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ต่อเรื่อง 2. คณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ต่อเรื่อง 3. คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ต่อครั้ง (จ่ายไม่เกิน 2 ครั้ง) 4.กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์(ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกคณะ หรือ มหาวิทยาลัยฯ) 5.กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์(ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยฯ) 6. ค่าใช้จ่ายผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ใน 6.1 การสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 6.2 การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ (เฉพาะค่าเดินทาง และค่าที่พักตามที่จ่ายจริง)

ลักษณะหลักสูตร ภาคปกติ 2,000 บาท 1,000 บาท 1,000 บาท 1,000 บาทต่อครั้งต่อคน 1,000 บาทต่อครั้งต่อคน ไม่เกิน 10,000 บาทต่อครั้งต่อคน

หมายเหตุ การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้จ่ายดังนี้ 1. ถ้ามีกรรมการ 2 คน (อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม) ให้จ่ายประธานต่อกรรมการ ใน อัตรา 2 : 1 2. ถ้ามีกรรมการมากกว่า 2 คน ให้จ่ายประธาน 50% ส่วนที่เหลือให้จ่ายกรรมการในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการในคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และคณะกรรมการสอบป้องกัน วิทยานิพนธ์ ให้จ่ายในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน โดยไม่รวมค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกคณะหรือ มหาวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

197 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

198 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม การเรียนการสอนรายวิชาดุษฎีนิพนธ์ ค่าตอบแทน ระดับปริญญาเอก 1. คณะกรรมการที่ปรึกษาดุษฎีบัณฑิตต่อเรื่อง 2.คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ต่อครั้ง (จ่ายไม่เกิน 2 ครั้ง) 3. คณะกรรมการสอบเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ต่อเรื่อง 4. คณะกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ต่อครั้ง (จ่ายไม่เกิน 2 ครั้ง) 5.กรรมการสอบเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์(ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกคณะ หรือ มหาวิทยาลัยฯ) 6.กรรมการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์(ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยฯ) 7. ค่าใช้จ่ายผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ใน 7.1 การสอบเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ 7.2 การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ (เฉพาะค่าเดินทาง และค่าที่พักตามที่จ่ายจริง)

ลักษณะหลักสูตร ภาคปกติ 10,000 บาท 2,000 บาท 2,000 บาท 2,000 บาท 1,500 บาทต่อครั้งต่อคน 1,500 บาทต่อครั้งต่อคน ไม่เกิน 10,000 บาทต่อครั้งต่อคน

หมายเหตุ การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้จ่ายดังนี้ 1. ถ้ามีกรรมการ 2 คน (อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม) ให้จ่ายประธานต่อกรรมการ ใน อัตรา 2 : 1 2. ถ้ามีกรรมการมากกว่า 2 คน ให้จ่ายประธาน 50% ส่วนที่เหลือให้จ่ายกรรมการในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการในคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และคณะกรรมการสอบป้องกัน วิทยานิพนธ์ ให้จ่ายในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน โดยไม่รวมค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกคณะหรือ มหาวิทยาลัย


ประกาศคณะเทคนิคการแพทย์ (ฉบับที่ 26/2549) เรื่อง หลักเกณฑ์การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยสาหรับนักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาขาวิชากายภาพบาบัด คณะเทคนิคการแพทย์ -------------------------เพื่อให้การดาเนินการจัดการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะ เทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ อาศัย อานาจตามความใน มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2541 โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณะกรรมการ ประจาคณะเทคนิคการแพทย์ ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2549 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2549 จึงกาหนดหลักเกณฑ์ การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัย สาหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาขาวิชากายภาพบาบัด คณะเทคนิคการแพทย์ ดังต่อไปนี้ 1. นักศึกษาที่ได้รับเงินทุนที่สามารถให้เรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการวิจัยได้ ให้เก็บในอัตรา สูงสุดที่ทุนสามารถให้ได้ แต่ไม่เกิน คนละ 80,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. นักศึกษาได้รับทุนที่ไม่ครอบคลุมถึงค่าธรรมเนียมการวิจัย หรือไม่ได้รับเงินทุน ไม่ต้องชาระ เงินค่าธรรมเนียมการวิจัย 3. ประกาศนีใ้ ห้ใช้บังคับตั้งแต่ ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2549

(ลงชื่อ) ชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์ (รองศาสตราจารย์ชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์) คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์

คู่มือนักศึกษา 2561

199 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

200 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2161/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ------------------------------เพื่ อ ให้ก ารเก็ บ ค่ าธรรมเนี ย มการศึก ษาและค่ าธรรมเนี ย มอื่ น ๆ ส าหรับ หลั กสู ต รโครงการพิ เศษของ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น คราวประชุมครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 และโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2161/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับ ใช้สาหรับนักศึกษาที่เ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรหลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ระดับปริญญาเอก 3.1.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 50,000 บาท 3.1.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 25,000 บาท 3.1.2 ระดับปริญญาโท 3.1.2.1 ภาคการศึกษาปกติ 40,000 บาท 3.1.2.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 20,000 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็น การลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของ ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ


ข้อ 4

ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.2 การสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 4.3 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท 4.4 การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท 5,000 บาท 4.5 การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก 6,000 บาท ข้อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

(ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

201 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

202 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2162/ 2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ------------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” เพื่อให้บังเกิดผลดีต่อการพัฒนาองค์กร การพัฒนาด้าน วิชาการและวิจัย และการพัฒนานักศึกษาและอาจารย์ เอื้อประโยชน์ต่อการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษอย่างมี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยขอนแก่น อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลัก สูต รโครงการพิ เศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 6 แห่ งประกาศมหาวิ ทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 640/2548) เรื่อ ง ค่าใช้ จ่ายในการจั ดการหลั กสูต รโครงการพิเ ศษ โดยความเห็ นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิ ตวิท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น คราวประชุมครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 และโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 จึง ออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2162/2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป ข้ อ 3 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด การหลั ก สู ต ร “หลั ก สู ต รปรั ชญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต และหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษนี้ ให้จ่าย ได้ตามที่กาหนดในบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้ อ 4 ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ ที่ มิ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และระเบียบหรือ ประกาศของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการนั้นๆ กรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยที่สามารถใช้ได้โดยอนุโลม ให้อธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 5 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 105/2554) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา ------------------เพื่อให้การดาเนินการเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความ เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความใน ข้อ 6 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 447/2549) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิต วิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 5/2554 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2554 จึงออกประกาศเกี่ยวกับการเก็บค่าธรรมเนียม การวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 105/2554) เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออก กาลังกายและการกีฬา” ข้อ 2. ให้ใช้ประกาศนี้กับนักศึกษาที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ข้อ 3. ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการวิจัยตามหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา เป็นจานวน 80,000.- บาท ต่อภาคการศึกษา โดยให้เรียกเก็บในภาค การศึกษาถัดไป หลังจากที่นักศึกษาสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติแล้ว ข้อ 4. ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย อาจพิจารณาลดหย่อนหรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการวิจัย หรือผ่อนชาระตาม ข้อ 3 เป็นการเฉพาะราย ได้ ข้อ 5. ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้วินิจฉัยและให้ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (ลงชื่อ) อัญชลี ตัตตะวะศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัญชลี ตัตตะวะศาสตร์) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รักษาราชการแทนคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

203 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

204 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 727 /2558) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

----------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับ บัณฑิตศึกษาของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุก สาขาวิชา” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อ มหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 7 ข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ประกอบกับมติที่ ประชุมคณะกรรมการประจาคณะสาธารณสุขศาสตร์ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2557 มติที่ประชุม คณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2557 และมติที่ประชุม คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 12/2557 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2557 จึงออกประกาศไว้ดังนี้.ข้อ 1. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่727/2558) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ หลักสูตรสาธารณสุข- ศาสต รมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2. ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่นตั้งแต่ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 220/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ข้อ 4. อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา ที่จัดการศึกษาเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 4.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 33,000 บาท 4.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 16,500 บาท 4.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการ ลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้อง ลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับภาคศึกษาปกติ


4.3 ค่าธรรมเนียมการสอบต่าง ๆ ต่อครั้ง 4.3.1 การสอบประมวลความรู้ 4.3.2 การสอบการศึกษาอิสระ 4.3.3 การสอบวิทยานิพนธ์

1,500 บาท 2,500 บาท 3,000 บาท

ข้อ 5. ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียม การศึกษา ข้อ 6. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้อธิการบดี เป็นผู้วินิจฉัย และคาวินิจฉัยนั้นให้ถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

(ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

205 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

206 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1064/2555) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับแก้ไข) -------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการดาเนินการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตร สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้อ 6 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการ พิเศษ คราวประชุม ครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2555 และที่ประชุมคณบดี คราวประชุมครั้งที่ 8/2555 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2555 จึงขอแก้ไขค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ ตามข้อ 3.2 ข้อ 3.3 ข้อ 3.4 ข้อ 4.3 และข้อ 4.4 ในบัญชีแนบท้ายตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1172/2549) เรื่อง ค่าใช้จ่าย ในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดังรายละเอียดบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2555

(ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


บัญชีแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1064/2555) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับแก้ไข) รายการค่าใช้จ่าย (ตามประกาศ มข.ฉบับที่ 1172/2549)

อัตราจ่าย

รายการค่าใช้จ่าย (ตามประกาศ มข.ฉบับที่ 1064/2555) 3.ค่าตอบแทนกรรมการต่างๆ 3.2 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้า โครง วิทยานิพนธ์ โดยให้แบ่งจ่าย กรรมการคนละเท่าๆกัน

อัตราจ่าย

3. ค่าตอบแทนการสอบต่าง ๆ 3.2 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้า โครงวิทยานิพนธ์ โดยให้แบ่งจ่าย กรรมการคนละเท่า ๆ กัน กรณี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้จ่าย ในสัดส่วนสองเท่าของกรรมการ ภายใน 3.3 ค่าตอบแทนกรรมการสอบ การศึกษาอิสระ โดยให้แบ่งจ่าย กรรมการคนละเท่า ๆ กัน กรณี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้จ่าย ในสัดส่วนสองเท่าของกรรมการ ภายใน 3.4 ค่าตอบแทนกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ ให้จ่ายเมื่อได้ตัดสินผล แล้ว โดยให้แบ่งจ่ายกรรมการคนละ เท่า ๆ กัน กรณีกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้จ่ายใน สัดส่วนสองเท่าของกรรมการภายใน 4. ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร 4.3 ค่าตอบแทนกรรมการจัด การศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน ในวันหยุดราชการเต็มวัน โดยมีเวลา ปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง ให้จ่ายในอัตราต่อไปนี้ - กรรมการจัดการศึกษาและ เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป

2,400 บาท ต่อครั้ง

2,500 บาทต่อ ครั้ง

3.3 ค่าตอบแทนกรรมการสอบ การศึกษาอิสระโดยให้แบ่งจ่าย กรรมการ คนละเท่าๆกัน

3,000 บาทต่อ ครั้ง

3,000 บาทต่อ ครั้ง

3.4 ค่าตอบแทนกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ ให้จ่ายเมื่อได้ตัดสิน ผลแล้ว โดยให้แบ่งจ่ายกรรมการ คนละเท่า ๆ กัน

4,000 บาทต่อ ครั้ง

300 บาท ต่อวัน 200 บาท ต่อวัน

4.3 ค่าตอบแทนกรรมการจัด การศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่ ปฏิบัติงานในวันหยุดราชการหรือ นอกเวลาราชการ ให้เบิกจ่ายตาม ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ

คู่มือนักศึกษา 2561

207 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

3,000 บาทต่อครั้ง


คู่มือนักศึกษา 2561

208 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม รายการค่าใช้จ่าย (ตามประกาศ มข.ฉบับที่ 1172/2549) - เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 ลงมา รวมทั้งลูกจ้างประจาและลูกจ้าง ชั่วคราว 4.4 ค่าตอบแทนกรรมการจัด การศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน นอกเวลาราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงครึ่ง ให้จ่ายค่าตอบแทนดังนี้ - กรรมการจัดการศึกษาและ เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป - เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 ลงมา รวมทั้งลูกจ้างประจาและลูกจ้าง ชั่วคราว(กรณีการปฏิบัติงานไม่ครบ ตามกาหนดไว้ข้างต้นให้คิดเฉลี่ย เป็นชั่วโมงเศษของชั่วโมงให้ตัดทิ้ง และในหนึ่งวันให้มีสิทธิ์ได้รับ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอก เวลาราชการได้ครั้งเดียว

อัตราจ่าย

300 บาท ต่อวัน 200 บาท ต่อวัน

รายการค่าใช้จ่าย (ตามประกาศ มข.ฉบับที่ 1064/2555)

อัตราจ่าย


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1172/2549) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสต รมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้บังเกิดผลดีต่อทางราชการ เอื้อประโยชน์ต่อ การจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูต รโครงการพิเ ศษ พ.ศ.2548 และข้อ 6 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อ ง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะสาธารณสุขศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 7/2549 เมื่ อวันที่ 13 กรกฎาคม 2549 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการ หลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 5/2549 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549 และที่ประชุมคณบดี คราวประชุม ครั้งที่ 14/2548 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2548 จึงขอออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่ า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1172/2549) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้ อ 3 ให้ ย กเลิ ก ประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (ฉบั บ ที่ 1/2547) เรื่ อ ง ค่ า ตอบแทนคณาจารย์ คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ลงวันที 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 ข้อ 4 ในประกาศนี้ “คณะ” หมายถึง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “โครงการ” หมายถึง โครงการพิเศษเพื่อผลิตบัณฑิตสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ข้อ 5 อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ เพื่อผลิตบัณฑิตหลักสูตรสาธารณสุข ศาสต รมหาบัณฑิต ให้คณะฯ จ่ายตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ อัตราค่ าใช้จ่ ายใดที่มิ ได้ กาหนดไว้ในบัญ ชีแ นบท้า ย ให้ ใช้ อัต ราค่า ใช้จ่ ายตามที่ กาหนดไว้ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษและระเบียบหรือ ประกาศของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการนั้น ๆ กรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยที่สามารถใช้ได้ โดยอนุโลมให้อธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 6 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) พิศาล ศิริธร (รองศาสตราจารย์พิศาล ศิริธร) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

209 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

210 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชีแนบท้ายตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1172/2549) เรื่อง อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ทุกสาขาวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รายการค่าใช้จ่าย 1. ค่าตอบแทนการดาเนินการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา 1.1 กรรมการดาเนินการสอบคัดเลือก คนละ 1.2 กรรการออกข้อสอบ เหมาจ่าย 1.3 กรรมการตรวจข้อสอบปรนัย ชุดละ 1.4 กรรมการตรวจข้อสอบอัตนัย ชุดละ 1.5 กรรมการสอบสัมภาษณ์ 1.6 กรรมการคุมสอบคนละ 1.7 กรรมการหรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเฉพาะกิจ 2. ค่าตอบแทนการสอน 2.1 ค่าตอบแทนการสอนวิชาบรรยาย - หมวดวิชาบังคับ ให้จ่ายค่าตอบแทนเหมาจ่ายซึ่งรวมถึงการออก ข้อสอบ ตรวจข้อสอบ ตรวจรายงานและคุมสอบในอัตรา (ในกรณี เชิญอาจารย์พิเศษให้จ่ายค่าตอบแทนในอัตราชั่วโมงละ 600 บาท อัตรานี้รวมอยู่ในอัตราเหมาจ่าย) - หมวดวิชาเลือก ให้จ่ายค่าตอบแทนตามจานวนนักศึกษาที่ ลงทะเบียนในอัตราคนละ 2.2 ค่าตอบแทนการสอนวิชาปฏิบัติการ ให้จ่ายค่าตอบแทนเหมาจ่ายในอัตรา 2.3 ค่าตอบแทนกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และควบคุมวิทยานิพนธ์

3. ค่าตอบแทนการสอบต่าง ๆ 3.1 ค่าตอบแทนกรรมการสอบประมวลความรู้

3.2 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ โดยให้แบ่งจ่าย กรรมการคนละเท่า ๆ กัน กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้จ่ายใน สัดส่วนสองเท่าของกรรมการภายใน

อัตราจ่าย 300 บาทต่อวัน 800 บาทต่อวิชา 30 บาทต่อชุด 100 บาทต่อชุด 50 บาท/ผู้เข้าสอบ 1 คน 100 บาทต่อชั่วโมง 100 บาทต่อชั่วโมง 10,000 บาทต่อหน่วยกิต 1,000 บาทต่อหน่วยกิต (แต่รวมทั้งกลุ่มแล้วไม่เกิน 10,000 บาทต่อหน่วยกิต)

1,500 บาทต่อหน่วยกิต 9,000 บาทต่อเรื่อง (กรณีกรรมการ 2 คน ให้จ่าย ประธาน 5,000 บาท กรรมการ 4,000 บาท) 3,500 บาทต่อครั้ง (กรณี นักศึกษาเกิน 5 คน ให้จ่ายเพิ่ม คนละ 500 บาท แต่รวมแล้วไม่ เกิน 5,000 บาทต่อครั้ง) 2,400 บาทต่อครั้ง


รายการค่าใช้จ่าย 3.3 ค่าตอบแทนกรรมการสอบการศึกษาอิสระ โดยให้แบ่งจ่ายกรรมการ คนละเท่า ๆ กัน กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้จ่ายในสัดส่วนสอง เท่าของกรรมการภายใน 3.4 ค่าตอบแทนกรรมการวิทยานิพนธ์ ให้จ่ายเมื่อได้ตัดสินผลแล้ว โดยให้ แบ่งจ่ายกรรมการคนละเท่า ๆ กัน กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ให้จ่ายในสัดส่วนสองเท่าของกรรมการภายใน 4. ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร 4.1 ค่าจ้างเหมาหรือค่าตอบแทนหน่วยตรวจสอบภายในหรือผู้สอบบัญชี รับอนุญาตไม่เกินปีละ 4.2 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไม่เกินเดือนละ 1 ครั้ง คนละ 4.3 ค่าตอบแทนกรรมการจัดการศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน วันหยุดราชการเต็มวัน โดยมีเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง ให้ จ่ายในอัตราต่อไปนี้ - กรรมการจัดการศึกษาและเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป - เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 ลงมา รวมทั้งลูกจ้างประจาและลูกจ้างชั่วคราว 4.4 ค่าตอบแทนกรรมการจัดการศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานนอก เวลาราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงครึ่ง ให้จ่ายค่าตอบแทนดังนี้ - กรรมการจัดการศึกษาและเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป - เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 ลงมา รวมทั้งลูกจ้างประจาและลูกจ้างชั่วคราว (กรณีการปฏิบัติงานไม่ครบตามกาหนดไว้ข้างต้นให้คิดเฉลี่ยเป็นชั่วโมง เศษของชั่วโมงให้ตัดทิ้ง และในหนึ่งวันให้มีสิทธิ์ได้รับค่าตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ครั้งเดียว หมายเหตุ การคิดภาระงานให้คิดตามชั่วโมงที่สอนจริง

อัตราจ่าย 2,500 บาทต่อครั้ง

3,000 บาทต่อครั้ง

5,000 บาทต่อหลักสูตร 300 บาทต่อครั้ง

300 บาทต่อวัน 200 บาทต่อวัน

300 บาทต่อวัน 200 บาทต่อวัน

คู่มือนักศึกษา 2561

211 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

212 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์ (ฉบับที่ 3/2554) เรื่อง หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น -------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษา อิสระ คณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ และคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 และ ข้อ 9 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 805/2553) เรื่อง หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่า ยในการดาเนินการ เกี่ยวกับหลักสูตรระดับบั ณฑิตศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบปกติ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 และคณะกรรมการประจา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2554 จึงออกประกาศเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสู ตรสาธารณสุ ขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์ (ฉบับที่ 3/2554) เรื่อง หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายใน การจัดการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2 ให้ใช้ประกาศนี้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์ (ฉบับที่ 12/2549) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตร สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 4 ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาและกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 4.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 5,000 บาทต่อเรื่อง โดยแบ่งจ่ายตามเกณฑ์ดังนี้ - กรรมการ 2 คน ให้จ่ายประธานกรรมการ 3,000 บาท กรรมการ2,000 บาท - กรรมการ 3 คน ให้จ่ายประธานกรรมการ2,000 บาท กรรมการคนละ 1,500 บาท 4.2 ค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 3,000 บาทต่อครั้ง โดยให้แบ่งจ่าย คนละเท่า ๆ กัน 4.3 ค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 4,000 บาทต่อครั้ง โดยให้แบ่งจ่ายคนละ เท่าๆ กัน ข้อ 5 ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาและกรรมการการสอบการศึกษาอิสระ 5.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 3,500 บาทต่อเรื่อง โดยแบ่งจ่ายตาม เกณฑ์ดังนี้ - กรรมการ 2 คน ให้จ่ายประธานกรรมการ 2,000 บาท กรรมการ 1,500 บาท - กรรมการ 3 คน ให้จ่ายประธานกรรมการ 1,500 บาท กรรมการคนละ 1,000 บาท


5.2 ค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาทต่อครั้ง โดยให้มีนักศึกษาสอบ ไม่น้อยกว่า 5 คน ในการสอบ 1 ครั้ง โดยให้แบ่งจ่ายคนละเท่าๆ กัน(ในกรณีที่มีนักศึกษาเข้าสอบน้อยกว่า 5 คน ให้ จ่ายค่าตอบแทนในอัตรา 800 บาท ต่อนักศึกษา 1 คน แต่รวมแล้วไม่เกิน 4,000 บาทต่อการสอบ 1 ครั้ง) 5.3 ค่าตอบแทนกรรมการสอบประมวลความรู้ให้จ่ายเป็นการเหมาจ่าย ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อ ครั้ง ซึ่งรวมถึงการออกข้อสอบ การคุมสอบ การตรวจข้อสอบ และการสอบปากเปล่า(ถ้ามี) และจ่ายเมื่อได้ตัดสินผล การสอบแล้ว ในอัตรา 5,000 บาทต่อครั้ง โดยให้มีผู้เข้าสอบไม่น้อยกว่า 5 คนต่อครั้ง (ในกรณีที่มีนักศึกษาเข้าสอบ น้อยกว่า 5 คน ให้จ่ายค่าตอบแทนในอัตรา 1,000 บาทต่อนักศึกษา 1 คน แต่รวมแล้วไม่เกิน 5,000 บาทต่อการ สอบ 1 ครั้ง ข้อ 6 ให้คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ รักษาการให้เป็นไปตามประกาศนี้ โดยให้มีอานาจในการอนุมัติ การเบิกจ่ายตามที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2554

(ลงชื่อ) พิษณุ อุตตมะเวทิน (รองศาสตราจารย์พิษณุ อุตตมะเวทิน) คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์

คู่มือนักศึกษา 2561

213 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

214 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2978/2556) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ ทันตแพทยศาสตร์ สาหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ เอือ้ ต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคมพ.ศ.2552 โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการประจาคณะทั นตแพทยศาสตร์ คราวประชุมครั้งที่ 9/2556 เมื่อวัน ที่ 2 กรกฎาคม 2556 และ คณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 6/2556 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 จึง ออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2978/2556) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ทัน ตกรรมจัดฟัน” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษา ต้น ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1354/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ทันตกรรมจัดฟัน ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2549 และให้ใช้ประกาศนี้แทน ข้อ 4 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะทันต แพทยศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน มีดังนี้ 4.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา 4.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 60,000 บาท 4.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 30,000 บาท 4.2 ค่าธรรมเนียมการบริหารจัดการ 210,000 บาท 4.3 กรณีเป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียนภาค การศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่ง ของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ 4.4 ค่าธรรมเนียมการสอบ 4.4.1 การสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท 4.4.2 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท 4.4.3 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท


ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย คาวินิจฉัยของอธิการบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2556 (ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

215 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

216 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 966 /2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” -------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ” เป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 ของประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตร โครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2548 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2548 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 966/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับ ใช้สาหรับนักศึกษาที่เ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆสาหรับหลักสู ตรการวางแผนภาค และ เมืองมหาบัณฑิต ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,500 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 15,250 บาท 3.2 กรณี ล งทะเบี ย นวิ ชาฝึ ก งานวิ ชาเดี ย วในภาคการศึ ก ษาฤดู ร้ อ น นั ก ศึ ก ษาไม่ ต้ อ งจ่ า ย ค่าธรรมเนียมการศึกษา 3.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ ต่อครั้ง 5,000 บาท ข้อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1057 /2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” -------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ ของคณะสถาปัตย- กรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ” เพื่อให้บังเกิดผลดีต่อการพัฒนา องค์กร การพัฒนาด้านวิชาการและวิจัย และการพัฒนานักศึกษาและอาจารย์ เอื้อประโยชน์ต่อการจัดการหลักสูตร โครงการพิเศษอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 6 ของประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการ พิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2548 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2548 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1057/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้อ 3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ที่จัดการเป็นหลักสูตร โครงการพิเศษนี้ ให้จ่ายได้ตามที่กาหนดในบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 ค่าใช้จ่ายใดๆ ที่มิได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศมหาวิทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และระเบียบหรือประกาศของ มหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการนั้นๆ กรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยที่สามารถใช้ได้โดยอนุโลม ให้อธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 5 เพื่อความคล่องตัวในการดาเนินการ อธิการบดีมอบหมายให้คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เป็น ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตโครงการพิเศษ และรับผิดชอบฐานะการเงินของโครงการและให้ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หรือคณบดีของคณะที่ให้บริการสอนรายวิชาในหลักสูตรโครงการพิเศษนี้มีอานาจในการ อนุมัติหลักการและเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามที่กาหนดในประกาศนี้ จากรายรับที่ได้รับจัดสรร ข้อ 6 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

217 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

218 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชีแนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1057 /2548) ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ “หลักสูตร การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต” รายการค่าใช้จ่าย 1. ค่าใช้จ่ายสาหรับการรับนักศึกษาเข้าศึกษา 1.1 กรรมการออกข้อสอบและตรวจกระดาษคาตอบ เหมาจ่ายครั้งละ 1.2 กรรมการสอบสัมภาษณ์ ต่อนักศึกษาที่เข้าสอบหนึ่งคน 1.3 กรรมการคุมสอบ คนละ 2 ค่าตอบแทนการสอน 2.1 ค่าตอบแทนการสอนภาคทฤษฏี 2.1.1 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย ชั่วโมงละ 2.1.2 อาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัย ชั่วโมงละ 2.2 ค่าตอบแทนการสอนภาคปฏิบัติ ชั่วโมงละ 2.3 กรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ต่อเรื่อง 2.4 กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต่อเรื่อง 3 ค่าตอบแทนการสอบต่าง ๆ 3.1 คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ต่อครั้ง 3.1.1 กรณีที่มีคณะกรรมการ 2 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ 3.1.2 กรณีที่มีคณะกรรมการ 3 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ 3.2 คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ต่อครั้ง

3.2.1

กรณีที่มีคณะกรรมการ 3 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ

อัตราค่าใช้จ่าย ไม่เกิน (บาท) 5,000 50 100 /ชั่วโมง

1,200 600 500 3,500 5,600 2,500 1,500 1,000 1,200 650 สูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท นักศึกษา 5 คนแรก คนละ 700 บาท ถ้าเกินจ่ายเพิม่ 500/นักศึกษา 1 คน แต่รวม แล้วไม่เกินอัตราสูงสุดที่ กาหนดต่อการสอบ 1 ครั้ง 2,000 1,500


รายการค่าใช้จ่าย กรณีที่มีคณะกรรมการ 4 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ 3.3 คณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ต่อครั้ง 3.4 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ต่อครั้ง 3.4.1 กรณีที่มีคณะกรรมการ 3 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ 3.4.2 กรณีที่มีคณะกรรมการ 4 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ 3.4.3 กรณีที่มีคณะกรรมการ 5 คน - ประธานกรรมการ - กรรมการ คนละ

อัตราค่าใช้จ่าย ไม่เกิน (บาท)

3.2.2

4 ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร 4.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เหมาจ่าย เดือนละ 4.2 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ให้ได้รับค่าตอบแทน 1 คาบ การปฏิบัติงาน 1 คาบ ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง 4.3 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ปีละ 5 ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเดินทาง และค่าที่พักสาหรับคณะกรรมการบริหารหลักสูตร หรือ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการหลักสูตร ตามจ่ายจริง 6 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 6.1 ค่าเลี้ยงรับรองบุคคลที่ได้รับเชิญเกี่ยวกับการสอนหรือการจัดการหลักสูตร ตามจ่ายจริง ครั้งละ

1,400 1,200 2,000

2,000 1,500 1,400 1,200 1,400 900 10,000 150/คาบ 10,000 20,000

1,000

คู่มือนักศึกษา 2561

219 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

220 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 695/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาโท คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาโท ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการหลักสูตรโครงการ พิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับ หลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะวิทยาการจัดการ คราวประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2549 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 3/2549 โดยวิธีเวียนตามหนังสือที่ ศธ 0514.23.6/ว1151, 1238 ลงวันที่ 9,18 พฤษภาคม พ.ศ.2549 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 695/2549) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาโท คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาโท คณะวิทยาการจัดการ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา รายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 32,500 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 16,250 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้ จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษา สาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และระเบียบหรือ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2549 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 322/2553 ) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับ ปริญญาเอก ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อ ต่อการบริหารและการจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาคณะในคราวประชุมครั้งที่ 10/2552 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2552 และโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ คราวประชุมครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2553 จึง ออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 322/2553) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มี ผลบังคับ ใช้สาหรับนักศึกษาที่เ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรระดับปริญญาเอก ที่ จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ชุดวิชาละ 58,000 บาท มี 9 ชุดวิชา ตลอดหลักสูตรและสาหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนครบ 9 ชุดวิชา กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตาม ระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้าย เพื่อสาเร็จการศึกษาโดยเหลือหน่วยกิต ที่ต้องลงทะเบียน อีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษา 3.2 ค่าธรรมเนียมการศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการ ท่องเที่ยวและบริการ 3.2.1 ภาคการศึกษาปกติ 69,000 บาท 3.2.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 34,500 บาท 3.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา รายการค่าธรรมเนียม อัตราค่าธรรมเนียมไม่เกิน(บาท) การสอบวัดคุณสมบัติ(Qualifying Examination) 3,000 การสอบวิทยานิพนธ์ 6,000

คู่มือนักศึกษา 2561

221 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

222 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ข้อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประ กาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปั ญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2553 (ลงชื่อ) กุลธิดา ท้วมสุข (รองศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2164/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการ จัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คราวประชุมวาระพิเศษ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 และโดยความ เห็ น ชอบของคณะกรรมการอ านวยการหลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ คราวประชุ ม ครั้ ง ที่ 6/2552 เมื่ อ วั น ที่ 16 พฤศจิกายน 2552 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2164/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับ ใช้สาหรับนักศึกษาที่เ ข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ภาค การศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ระดับปริญญาเอก 3.1.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 55,000 บาท 3.1.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 27,500 บาท 3.1.2 ระดับปริญญาโท 3.1.2.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,500 บาท 3.1.2.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 15,250 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็น การลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหนึ่งของ ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 4.2 การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท 5,000 บาท

คู่มือนักศึกษา 2561

223 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

224 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม 4.3 การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก 6,000 บาท ข้อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิ เศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

(ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2165/ 2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” ------------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” เพื่อให้บังเกิดผลดีต่อการพัฒนาองค์กร การพัฒนาด้านวิชาการและวิจัย และการพัฒนา นักศึกษาและอาจารย์ เอื้อประโยชน์ต่อการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ นโยบายของมหาวิทยาลัยขอนแก่น อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลัก สูต รโครงการพิ เศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 6 แห่ งประกาศมหาวิ ทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 640/2548) เรื่อ ง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คราวประชุมวาระพิเศษ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 และโดย ความเห็ น ชอบของคณะกรรมการอ านวยการหลั ก สู ต รโครงการพิ เ ศษ คราวประชุ ม ครั้ งที่ 6/2552 เมื่ อ วั น ที่ 16 พฤศจิกายน 2552 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2165/2552) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการ จัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและการกีฬา” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป ข้อ 3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตร “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษนี้ ให้จ่ายได้ตามที่กาหนดในบัญชี แนบท้ายประกาศนี้ ข้ อ 4 ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ ที่ มิ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกา ศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ และระเบียบหรือ ประกาศของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการนั้นๆ กรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยที่สามารถใช้ได้โดยอนุโลม ให้อธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดี ข้อ 5 ให้คณบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

(ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

225 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

226 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม บัญชี แนบท้ายประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2165/2552) ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม” -------------------------------

1.

2.

3.

รายการค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทนการดาเนินการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา 1.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการออกข้อสอบและตรวจกระดาษคาตอบ แต่ละวิชาชั่วโมงละ 100 บาทต่อผู้เข้าสอบ 1 คน ทั้งนี้จะได้รับ ค่าตอบแทนอย่างน้อยวิชาละ 1,000 บาท ไม่เกินวิชาละ 12,000 บาท 1.2 ค่าตอบแทนคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ 1.3 ค่าตอบแทนกรรมการคุมสอบ 1.4 ค่าตอบแทนคณะกรรมการดาเนินงานที่ปฏิบัติงานใน วันทาการมีสิทธิเบิกเงินได้ไม่เกินวันละ 4 ชั่วโมง วันหยุดราชการมีสิทธิเบิกเงินได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ค่าตอบแทนการสอน 2.1 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย ชั่วโมงละ ปริญญาโท ปริญญาเอก 2.2 อาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัย - การสอนภาคบรรยายหรือภาคทฤษฎี ชั่วโมงละ ปริญญาโท ปริญญาเอก - การสอนภาคปฏิบัติ ชั่วโมงละ 2.3 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานช่วยการสอน ชั่วโมงละ 2.4 กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท ต่อเรื่อง 2.5 กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก ต่อเรื่อง ค่าตอบแทนการสอบต่างๆ 3.1 กรรมการดาเนินการสอบกลางภาคและสอบประจาภาค คนละ 3.2 กรรมการออกข้อสอบ และตรวจข้อสอบ ต่อนักศึกษาที่เข้าสอบ คนละ 3.3 กรรมการคุมสอบ คนละ 3.4 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานพิมพ์หรือผลิตข้อสอบ วิชาละ 3.5 ค่าตอบแทนกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ปริญญาเอก ต่อเรื่อง 3.6 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท ต่อครั้ง

อัตราค่าใช้จ่าย (บาท) 1,000/วิชา

50บาท/ผู้เข้าสอบ1 คน 150 บาท/ชั่วโมง 80 บาท/ชั่วโมง 100 บาท/ชั่วโมง

1,000 2,000

700 1,000 500 100 12,000 42,000 500/วัน 20 150/ชั่วโมง 300 4,000 2,000


4.

รายการค่าใช้จ่าย 3.7 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก ต่อครั้ง 3.8 ค่าตอบแทนกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท ต่อครั้ง 3.9 ค่าตอบแทนกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก ต่อครั้ง หมายเหตุ 1. ให้ใช้อัตราปริญญาโท สาหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และ อัตราปริญญาเอก สาหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 2. ในกรณีที่หลักสูตรเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกทั้งในและต่างประเทศ และมี ความจาเป็นต้องจ่ายค่าตอบแทนการสอบในอัตราที่สูงกว่าวงเงินที่กาหนด ข้างต้น ให้ดาเนินการได้โดยขออนุมัติจากคณบดี 3. ค่าใช้จ่า ยอื่น ใดที่ เกี่ย วข้อ งกับ การจัดการเรียนการสอนที่ไม่ ได้ร ะบุไ ว้ใ น ประกาศนี้ ให้ คณบดี โดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการประจาคณะ กาหนดเพิ่มเติมได้ ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนั้น จะต้องเป็นไปตามประกาศฯ (ฉบับที่ 640/2548) ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร 4.1 ค่าบริหารจัดการของคณะ 4.1.1 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไม่เกินเดือนละ 2 ครั้งๆ ละไม่เกินคนละ 4.1.2 ค่าตอบแทนกรรมการบริหารหลักสูตร เหมาจ่ายเดือนละ 4.1.3 ค่าจ้างเหมา หรือค่าตอบแทนหน่วยตรวจสอบภายใน หรือผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ไม่เกินปีละ

อัตราค่าใช้จ่าย (บาท) 4,000 4,000 5,000

300/ครั้ง 5,000 20,000

คู่มือนักศึกษา 2561

227 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

228 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2561/2556) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์” ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ” เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและการจัดการ และ บังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัยขอนแก่น อาศัยอานาจตามความในข้อ 7 ข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 แห่งประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสู ตรโครงการพิ เศษ ประกอบกับมติที่ป ระชุ ม คณะกรรมการประจ าคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 4/2556 เมื่อวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2556 มติที่ประชุมคณะกรรมการการ อานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2556 และมติที่ประชุม คณบดี ครั้งที่ 10/2556 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2561/2556) เรื่อง ค่าธรรมเนียม การศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์” ข้ อ 2 ให้ ป ระกาศนี้ มี ผ ลบั งคั บ ใช้ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ตั้ งแต่ ภ าค การศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนดดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ระดับปริญญาเอก 3.1.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 55,000 บาท 3.1.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 27,500 บาท 3.1.2 ระดับปริญญาโท 3.1.2.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,500 บาท 3.1.2.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 15,250 บาท


3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา เหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่ง หนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ต่อครั้ง 4.1 การสอบวัดคุณสมบัติ 3,000 บาท 4.2 การสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท 5,000 บาท 4.3 การสอบดุษฎีนิพนธ์ ระดับปริญญาเอก 6,000 บาท ข้ อ 5 ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ในประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการตีความ หรือปัญหาการปฏิบัติตาม ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย

ประกาศ ณ วันที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 (ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

229 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

230 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 92/2559) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ “หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์” ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 37(1) และมาตรา 85 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 และระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ.2548 ประกอบกับมติที่ ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในประชุมครั้งที่ 9/2558 เมื่อ วันที่ 5 กันยายน 2558 เรื่อง มอบอานาจให้ อธิการบดี และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการประชุมครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า“ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 92/2559) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตร โครงการพิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมสอบวิทยานิพนธ์ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,500 บาท 3.1.2 ภาคการศึกษาพิเศษ 15,250 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว และเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้า ยเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ 3.3 ค่าธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ์ 3,000 บาท /ครั้ง ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมอื่นที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับ ที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2552 และ ระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง ข้อ 5 ในกรณีที่มีปัญหาการตีความหรือการปฏิบั ติตามประกาศนี้ ให้อธิก ารบดีเ ป็นผู้วิ นิจฉัยและค า วินิจฉัยของอธิการบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 24 เดือน มกราคม พ.ศ. 2559 (ลงชื่อ) เด่นพงษ์ สุดภักดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและสื่อสารองค์กร ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2683/2560) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ คณะสัตวแพทยศาสตร์ “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์” ------------------------------เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษของคณะสัตวแพทยศาสตร์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารจัดการ และบังเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 37(1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 และข้อ 14 ของข้อบังคับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การงบประมาณ การเงิน การพัสดุ ทรัพย์สิน และการตรวจสอบ พ.ศ..2559 ประกอบกับมติที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในประชุมครั้งที่ 11/2560 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 จึงออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า“ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2683/2560) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตร โครงการพิเศษ คณะสัตวหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์” ข้ อ 2 ให้ ป ระกาศนี้ มี ผ ลบั งคั บ ใช้ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ตั้ งแต่ ภ าค การศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ สาหรับโครงการพิเศษ สาหรับหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์ ที่จัดการเป็นหลักสูตรโครงการพิเศษ กาหนด ดังนี้ 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษารายภาคการศึกษา 3.1.1 ระดับปริญญาโท 3.1.1.1 ภาคการศึกษาปกติ 30,000 บาท 3.1.1.2 ภาคการศึกษาพิเศษ 15,000 บาท 3.1.2 ระดับปริญญาเอก 3.1.2.1 ภาคการศึกษาปกติ 35,000 บาท 3.1.2.2 ภาคการศึกษาพิเศษ 17,500 บาท 3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว และเป็นการลงทะเบียน ภาคการศึกษาสุดท้ายเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายใน อัตรากึ่งหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับภาคการศึกษาปกติ ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมอื่น ใดที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1802/2552) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2552 และระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง ข้อ 5 ในกรณีที่มีปัญ หาการตีความหรือการปฏิบั ติตามประกาศนี้ ให้อธิก ารบดีเป็นผู้วิ นิจฉัยและค า วินิจฉัยของอธิการบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 29 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

231 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

232 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2798/ 2560) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ วิทยาเขตหนองคาย “หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม” ------------------------------โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ วิทยาเขตหนองคาย “หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม” เพื่อให้บังเกิดผลดีต่อการ พัฒนาองค์กร การพัฒนาด้านวิชาการและวิจัย และการพัฒนานักศึกษาและอาจารย์ เอื้อประโยชน์ต่อการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ 37(1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 และข้อ 30 ของข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้ว ยงบประมาณ การเงิน การพัสดุ ทรัพย์สินและการตรวจสอบ พ.ศ.2559 ประกอบกับมติที่ ประชุม คณะกรรมการบริหารการคลังและพัสดุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครั้งที่ 12/2560 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2560 จึงออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2798/2560) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการ หลักสูตรโครงการพิเศษ วิทยาเขตหนองคาย หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการและ นวัตกรรม” ข้อ 2 ให้ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2560 เป็นต้นไป ข้อ 3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม ให้ เป็นไปตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้ ข้ อ 4 ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ ที่ มิ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นประกาศนี้ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศ มหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบั บที่ 640/2548) เรื่ อง ค่ าใช้จ่ ายในการจั ด การหลัก สูต รโครงการพิเ ศษ ลงวั นที่ 17 สิงหาคม 2548 และระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง ข้อ 5 กรณีที่มีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัย และคาวินิจฉัย ของอธิการบดีถือเป็นที่สุด ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย (รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


1.

2.

3.

4.

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2798/ 2560) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ วิทยาเขตหนองคาย “หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม” ------------------------------อัตราค่าใช้จ่าย ไม่เกิน รายการค่าใช้จ่าย (บาท) ค่าตอบแทนการดาเนินการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา 1.1 กรรมการดาเนินการสอบคัดเลือก คนละ 500.1.2 กรรมการออกข้อสอบ วิชาละ 3,000.1.3 กรรมการตรวจข้อสอบปรนัย ชุดละ 30.1.4 กรรมการตรวจข้อสอบอัตนัย ชุดละ 100.1.5 กรรมการสอบสัมภาษณ์ ต่อผู้เข้าสอบ คนละ 50.1.6 กรรมการคุมสอบ ต่อชั่วโมง 150.1.7 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานพิมพ์หรือผลิตข้อสอบ ชั่วโมงละ 100.ค่าตอบแทนการสอน 2.1 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย 1,500.2.2 อาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัย - การสอนภาคบรรยายหรือภาคทฤษฎี ชั่วโมงละ 1,000.- การสอนภาคปฏิบัติ ชั่วโมงละ 500.2.3 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานช่วยการสอน ชั่วโมงละ 100.2.4 กรรมการที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ต่อเรื่อง 6,000 2.5 กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต่อเรื่อง 12,000.ค่าตอบแทนการสอบต่างๆ 3.1 กรรมการดาเนินการสอบกลางภาคและสอบประจาภาค คนละ 500.3.2 กรรมการออกข้อสอบ และตรวจข้อสอบ ต่อนักศึกษาที่เข้าสอบ คนละ 20.3.3 กรรมการคุมสอบ ต่อชั่วโมง 150.3.4 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานพิมพ์หรือผลิตข้อสอบ วิชาละ 400.3.5 ค่าตอบแทนกรรมการสอบประมวลความรู้ ต่อครั้ง 3,000.3.6 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้าโครงการศึกษาอิสระ ต่อครั้ง 2,000.3.7 ค่าตอบแทนกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ต่อครั้ง 3,000.3.8 ค่าตอบแทนกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ต่อครั้ง 3,500.3.9 ค่าตอบแทนกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก ต่อครั้ง 5,000.ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักสูตร 4.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เหมาจ่ายเดือนละ 40,000.-

คู่มือนักศึกษา 2561

233 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม


คู่มือนักศึกษา 2561

234 ระเบียบ ประกาศ ค่าธรรมเนียม

4.2

รายการค่าใช้จ่าย ค่าจ้างเหมา หรือค่าตอบแทนหน่วยตรวจสอบภายใน หรือผู้สอบบัญชี รับอนุญาต ไม่เกินปีละ

อัตราค่าใช้จ่าย ไม่เกิน (บาท) 20,000.-

หมายเหตุ 4. ให้ใช้อัตราปริญญาโท สาหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และอัตราปริญญาเอก สาหรับหลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 5. ในกรณีที่หลักสูตรเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกทั้งในและต่างประเทศ และมีความจาเป็นต้องจ่ายค่าตอบแทนการ สอบในอัตราที่สูงกว่าวงเงินที่กาหนดข้างต้น ให้ดาเนินการได้โดยขออนุมัติจากคณบดี 6. ค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนที่ไม่ได้ระบุไว้ในประกาศนี้ให้คณบดี โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการประจาคณะกาหนดเพิ่มเติมได้ ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนั้น จะต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 640/2548) เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดหลักสูตร โครงการพิเศษ


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ -------------------เพื่อให้มีแนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และเป็นการให้โอกาส ทางการศึกษา ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2541 และข้อ 6 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราวประชุมครั้งที่ 13/2550 เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2550 จึงออกประกาศ ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946 /2550) เรื่อง แนวปฏิบัติใน การอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ” ข้อ 2 ให้ใช้ประกาศนี้ต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้น ไป บรรดาประกาศหรือแนวปฏิบัติอื่นใดทีข่ ดั หรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศฉบับนี้แทน ข้อ 3 ในประกาศนี้ “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “วิทยานิพนธ์” หมายถึง รายงานผลการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ในระดับ บัณฑิตศึกษาที่กาหนดให้ทาวิทยานิพนธ์ “การศึกษาอิสระ” หมายถึง รายงานผลการศึกษาอิสระที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรระดับ ปริญญามหาบัณฑิต แผน ข “การอุ ท ธรณ์ ” หมายถึ ง การที่นั ก ศึ ก ษายื่ น เรื่ อ งต่ อ มหาวิ ท ยาลัย เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเพื่ อ ขอให้ พิจารณาทบทวนผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เนื่องจากเห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือไม่เห็น ด้วยกับผลการสอบ ข้อ 4 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ยื่นอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ได้แก่ นักศึกษาที่สอบ วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่านและไม่ยื่นขอสอบครัง้ ที่สองหรือเป็นนักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการสอบ วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งที่สอง ข้อ 5 นักศึกษาที่ต้องการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ยื่นอุทธรณ์ต่อ อธิการบดีโดยยื่นที่บัณฑิตวิทยาลัยด้วยตนเองภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการสอบอย่างเป็นทางการ โดยทา เป็นหนังสือลงลายมือชื่อของนักศึกษา และข้อคัดค้านการสอบพร้อมข้อเท็จจริงและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อ 6 ให้มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการอุทธรณ์ เป็นการเฉพาะราย ประกอบด้วย 1) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ 2) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นรองประธานกรรมการ 3) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ(หรือที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น) เป็นกรรมการ จากคณะที่มีหลักสูตรบัณฑิตศึกษาและไม่เกี่ยวข้อง กับการอุทธรณ์อีก 2 คน

คู่มือนักศึกษา 2561

237 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

238 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 4) นิติกรที่อธิการบดีมอบหมาย 1 คน เป็นกรรมการ 5) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย เป็นกรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้อาจแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้อีก 1 คน ข้อ 7 ให้ค ณะกรรมการพิจ ารณาการอุท ธรณ์ดาเนิน การพิจ ารณาข้อ อุท ธรณ์โ ดยเปิด โอกาสให้ ผู้ อุทธรณ์ได้ชี้แจงข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการพิจารณาอุทธรณ์และเสนอผลการพิจารณาต่ออธิการบดีภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับคาอุทธรณ์ กรณีที่มีเหตุผลความจาเป็นสามารถขอขยายระยะเวลาได้ทั้งนี้ไม่เกินครั้งละ 30 วัน และไม่เกิน 2 ครั้งโดยแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ได้รับ ทราบด้วย ข้อ 8 อธิก ารบดีมีอานาจพิจ ารณาวินิจ ฉัย ผลการพิจ ารณาอุท ธรณ์ แล้ว แจ้งคาวินิจ ฉัย เป็น ลาย ลักษณ์อักษรให้ผู้อุทธรณ์ทราบภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้รับรายงานจากคณะกรรมการพิจารณาการอุทธรณ์ ข้อ 9 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 10 ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือการตีความตามประกาศนี้ให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัย หรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของอธิการบดีถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2550

(ลงชื่อ) สุมนต์ สกลไชย (รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลไชย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 30/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดีต่อทางราชการ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 8 การท าวิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละการศึ ก ษาอิ ส ระ อาศั ยอ านาจตามความในข้ อ 6 (3) แห่ ง ข้ อ บั ง คั บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราว ประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทา วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 30/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 88/2555) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 4 การลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 4.1 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระได้เมื่อได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเรียบร้อยแล้ว และมีคุณสมบัติครบตามข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา 4.2 ให้นักศึกษาเสนอขอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรื อการศึกษาอิสระ ที่มีคุณสมบัติตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารย์ ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5.1.4 และข้อ 5.1.5 4.3 จานวนหน่วยกิ ตที่ลงทะเบี ยน ให้เป็ นไปตามคาแนะน าของอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรื อ การศึกษาอิสระและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมหรือเป็นไปตามข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา ข้อ 5 การเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.1 นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระแล้ว ต้องเสนอเค้าโครง ที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์/ การศึกษาอิสระ(ถ้ามี) ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ และคณบดีคณะ ที่หลักสูตรสังกัด เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเวลาที่กาหนด ดังนี้ 5.1.1 ปริ ญ ญาโทต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ เ ค้ า โครงวิ ท ยานิ พ นธ์ หรื อการศึ ก ษาอิ ส ระภายใน 1 ปีหลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 5.1.2 ปริญญาเอกต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 2 ปี หลังจาก ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ 5.2 นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ ก่อน จึงจะดาเนินการเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้

คู่มือนักศึกษา 2561

239 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

240 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 5.3 เค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระที่เสนอขออนุมัติ ต้องจัดพิมพ์ตามแบบฟอร์มที่ บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด จานวนเล่มและแผ่นซีดีบันทึกเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ จานวนตามที่คณะ/ สาขาวิชากาหนด และคณะส่งแผ่นซีดีบันทึกเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ จานวน 1 แผ่น ให้บัณฑิต วิทยาลัย ทั้งนี้ จะต้ องผ่ านการตรวจสอบตามโปรแกรม Turnitin พร้ อมกับ แนบรายงานตามแบบ Turnitin Originality Report 5.4 นักศึกษาที่ไม่ผ่านการอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระภายในระยะเวลาที่ กาหนด จะได้ S เท่ากับ 0 ในภาคการศึกษานั้น 5.5 ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษต้องสอดคล้องกัน และ ตรวจสอบให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ข้อ 6 การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 6.1 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเป็นผู้ประเมินผลความก้าวหน้าในการทา วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาทุกภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนและรายงานผลการประเมินผ่าน ความเห็นชอบต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการประจาคณะ คณบดีคณะ และสานักบริหาร และ พัฒนาวิชาการ 6.2 การประเมินผลในระหว่างการดาเนินการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเป็น ที่พอใจ ให้ อาจารย์ที่ ปรึก ษาวิทยานิ พนธ์ หรื อการศึ กษาอิส ระประเมิน ความก้ าวหน้าในการทาวิทยานิ พนธ์ หรื อ การศึกษาอิสระของนักศึกษา โดยระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ที่ได้รับการประเมินให้ได้ สัญลักษณ์ S ของนักศึกษาแต่ละคนในแต่ละภาคการศึกษานั้น แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน หาก ผลการประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้า จานวนหน่วยกิตที่ได้ในภาคการศึกษานั้น ๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) 6.3 ต้นฉบับร่างวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบ และ ต้นฉบับผลงานวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ ที่ต้องตีพิมพ์หรือเผยแพร่ตามเงื่ อนไขที่หลักสูตรกาหนด ให้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้คณะพิจารณากาหนดจานวนหน่วยกิต ตามความเหมาะสม แล้วแต่กรณี 6.4 นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระและได้รับการประเมินผลความก้าวหน้าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องพิจารณาหาสาเหตุ ซึ่งอาจให้นักศึกษาผู้นั้นได้รับการพิจารณา ให้เปลี่ยนหัวข้อเรื่องวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ หรือเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ หรืออื่น ๆ แล้วแต่กรณี และประธานหลักสูตร ต้องรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาต่อคณบดีเพื่อหาข้อยุติ หากไม่มีความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดต่อกัน โดยได้สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ทั้งนี้ หากได้ S เป็น 0 ก่อน และหลังการลาพักการศึกษา ถือว่า เป็นการได้สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ข้ อ 7 ในกรณี ที่ นั กศึ กษาได้ รั บอนุ มั ติ ให้ เปลี่ ยนหั วข้ อวิ ทยานิ พนธ์ หรื อการศึ กษาอิ สระ ซึ่ งมี ผลต่ อการ เปลี่ยนแปลงสาระสาคัญของเนื้อหาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาประเมินจานวนหน่วยกิ ตจากหัวข้อเดิม ที่สามารถนาไปใช้กับหัวข้อใหม่ได้ แต่ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ผ่านในหัวข้อเดิม ทั้งนี้ ให้นับจานวน หน่วยกิตดังกล่าว เป็นจานวนหน่วยกิตที่ผ่านได้สัญลักษณ์ S ซึ่งสามารถนามานับเพื่อสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้


โดยต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พร้อมทั้งให้คณะแจ้งสานักบริหาร และพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน และให้บันทึกการเปลี่ยนแปลงในประวัติการศึกษา ข้อ 8 การสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 44 8.1 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ มีดังนี้ 8.1.1 ได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ไม่น้อยกว่า 60 วัน 8.1.2 นักศึกษาระดับปริญญาโทต้องมีความรูภ้ าษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน ตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 67/2559 8.1.3 มีผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยได้ สัญลักษณ์ S ครบตามที่หลักสูตรกาหนด 8.2 การขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 8.2.1 นักศึกษาต้องยื่นเรื่องขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ภายในเวลา 45 วันหลังจากที่ นักศึกษาผ่านการประเมินผลความก้าวหน้าและได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น ๆ ในการรายงานการประเมินผลความก้าวหน้าครั้งสุดท้ายซึ่งนักศึกษาได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเสนอแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ รวมทั้งให้เสนอวันที่ทาการสอบไปพร้อมด้วย ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน ให้ถือว่า การได้สัญลักษณ์ S ในการ ประเมินครั้งสุดท้ายเป็นโมฆะ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรเสนอยกเลิกผลการประเมินผลต่อคณะ และแจ้งสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 8.2.2 นักศึกษาต้องเสนอร่างวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระที่ยังไม่เข้าปก ซึ่งมี ส่วนประกอบตามรูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดในคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ จานวนเท่ากับกรรมการสอบ พร้อมทั้ง ยื่นคาร้องขอสอบพร้อมกับแนบ Turnitin Originality Report เพื่อให้คณะอนุมัติการสอบโดยผ่านความเห็นชอบ ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระและคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรก่อนวันกาหนดสอบอย่าง น้อย 20 วัน 8.2.3 นักศึกษาต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการสอบตามทีม่ หาวิทยาลัยกาหนด 8.3 การดาเนินการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 44.2 และข้อ 44.3 8.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เป็นผู้พิจารณาเสนอให้คณะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 65/2559 ข้อ 5.1.6 และข้อ 5.2.6 8.5 การประเมิ น ผลการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 45 และตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย 8.6 การรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ

คู่มือนักศึกษา 2561

241 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

242 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 8.6.1 ให้ประธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้เข้าสอบและ คณบดีภายใน 5 วันทาการถัดจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการแจ้งผลได้ภายในวันที่กาหนด ถือว่าการสอบ ครั้งนั้นเป็นโมฆะ 8.6.2 ในกรณีสอบผ่านแต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องแก้ไขพร้อม ทั้งมีการอธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และคณะกรรมการสอบให้ความ เห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนดดังกล่าว ให้ถือว่าไม่ผ่านในการ สอบครั้งนั้น ให้คณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี 8.6.3 กรณีสอบไม่ผ่าน คณะกรรมการต้องสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไม่ให้ผ่านโดย บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร รายงานต่อคณบดีภายใน 3 วันทาการถัดจากวันสอบ ให้คณะแจ้งผลการสอบให้สานัก บริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน 8.6.4 หากนักศึกษาขาดสอบโดยไม่มีเหตุสุดวิสัย ให้ถือว่าสอบไม่ผ่านในการสอบครั้งนั้น โดย คณะกรรมการสอบต้องแจ้งผลการสอบเช่นเดียวกับข้อ 8.6.3 8.7 ผู้สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่าน ตามข้อ 8.6.3 มีสิทธิ์ขอสอบครั้งที่ 2 ได้ ภายใน 15 วันหลังวันสอบ และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ ในกรณีที่ไม่ผ่านการสอบตามนัยแห่งข้อ 8.6.2 ให้ยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วัน หลังวัน ครบกาหนดการแก้ไข และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข การขอสอบทั้ง 2 กรณี ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือค่าลงทะเบียนสอบตามที่คณะกาหนด หาก ไม่ดาเนินการตามกาหนดข้างต้น ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา การให้โอกาสสอบครั้งที่ 2 นี้ ไม่เป็นเหตุให้ได้รับการยกเว้น หรือมิต้องปฏิบัติตามระเบียบหรือ หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ที่ อื่นแต่อย่างใด เช่น การพ้นสภาพการเป็ นนักศึกษาด้วยเหตุใช้ เวลาในการศึกษาครบ ระยะเวลาสูงสุดที่หลักสูตรกาหนด เป็นต้น การอุทธรณ์ผลสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด การล งโทษนั ก ศึ ก ษาที่ ท ากา รทุ จ ริ ต ทางวิ ช าการให้ ด า เนิ น การ ตา มข้ อ บั งคั บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย วินัยนักศึกษา พ.ศ. 2559 และประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 1365/2550 เรื่อง แนวปฏิบัติและเกณฑ์การพิจารณาโทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา หรือข้อบังคับและประกาศที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ข้อ 9 มาตรฐานวิทยานิพนธ์ 9.1 รูปแบบและการจัดพิมพ์วิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย และประกาศระบบไอทีสีส มหาวิทยาลัยขอนแก่น (KKU iThesis) 9.2 ปกนอกของวิทยานิพนธ์ ต้องเป็นปกแข็งหุ้มผ้าแร็กซีน 9.2.1 สาหรับวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท ใช้สีกรมท่า (สีน้าเงินเข้ม) 9.2.2 สาหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ใช้สีดา 9.3 การเข้าเล่มวิทยานิพนธ์ ต้องเป็นการเข้าเล่มแบบเจาะเย็บติดผ้าคิ้วหุ้มสัน และติด ใบรองปกสีขาว


9.4 สัญลักษณ์และข้อความของปกหน้า ปกใน และสันปกให้เป็นไปตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ของ บัณฑิตวิทยาลัย ข้อ 10 การส่งเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ 10.1 นักศึกษาต้องส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ที่ยังไม่เข้าปกซึ่งผ่านการตรวจสอบความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสอบแล้วจานวน 1 ชุด พร้อมแนบสาเนาเอกสารรับรองการแก้ไขในข้อ 8.6.2 และหลักฐานการ ตีพิมพ์ที่เสนอขอสาเร็จการศึกษา และ Turnitin Originality Report ต่อบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 3 วันทาการ หลังจากวันที่คณะกรรมการสอบเห็นชอบ 10.2 บัณฑิตวิทยาลัยตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบและความเรียบร้อยทั่วไปของวิทยานิพนธ์ ภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่ส่งถึงบัณฑิตวิทยาลัย ถ้าหากมีข้อผิดพลาดนักศึกษาจะต้องรีบดาเนินการแก้ไขแล้ว ส่งบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 7 วัน 10.3 นักศึกษาไม่สามารถดาเนินการตามระยะเวลาในข้อ 10.1 และ 10.2 ให้จ่ายค่าปรับวันละ 100 บาท และในกรณีที่ไม่ดาเนินการตามระยะเวลาภายใน 45 วัน ถือว่าการสอบผ่านวิทยานิพนธ์เป็นโมฆะ ต้อง ดาเนินการขอสอบใหม่ 10.4 บัณฑิตวิทยาลัยจะส่งใบรับรองวิทยานิพนธ์ให้กับคณะเพื่อให้คณบดีลงนาม ภายใน 1 วัน หลังจากที่นักศึกษาส่งวิทยานิพนธ์ที่แก้ไขเรียบร้อยแล้ว ตามข้อ 10.1 10.5 นักศึกษาต้องรับวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามแล้วไปดาเนินการ เข้าเล่มเย็บปกตามมาตรฐานของบัณ ฑิตวิทยาลัย ได้แก่ต้นฉบับจานวน 1 เล่ม สาเนา 3 เล่ม พร้อมแผ่นซีดีบันทึก ข้อมูลวิทยานิพนธ์ตามมาตรฐานในข้อ 9 จานวน 3 แผ่น ส่งบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่คณบดีลง นามรับรอง 10.6 เมื่อนักศึกษาส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ตามข้อ 10.5 บัณฑิตวิทยาลัยจะแจ้งให้คณะทราบ ภายใน 1 วันทาการ ข้อ 11 การส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ 11.1 ให้อนุโลมใช้รูปแบบเช่นเดียวกับรูปแบบวิทยานิพนธ์ หรือรูปแบบตามที่คณะกาหนด 11.2 นักศึกษาต้องส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 1 เล่ม พร้อมแผ่นซีดีบันทึก ข้อมูลฉบับเต็ม ซึ่งคณะกรรมการสอบให้ความเห็นชอบแล้วพร้อมการตีพิมพ์หรือนาเสนอผลวิจัยที่ใช้ประกอบการ สาเร็จการศึกษา ต่อคณะ ภายใน 3 วันทาการ 11.3 ให้คณะเสนอผลการสอบ สาเนาเอกสารรับรองการแก้ไข และหลักฐานการตีพิมพ์ หรือการ นาเสนอผลการวิจัยที่ประกอบการขอสาเร็จการศึกษาต่อบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 1 สัปดาห์หลังจากวันที่ได้รับ เอกสารรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ที่ยังไม่เข้าปก 11.4 ให้คณะส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ ไม่เย็บเล่ม จานวน 1 เล่ม และแผ่น ซีดีบันทึกข้อมูลฉบับเต็มต่อสานักหอสมุด ข้อ 12 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิ ทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ดาเนินการ ตามประกาศมหาวิทยาลัย ข้อ 13 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

243 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

244 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ข้อ 14 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับ การ ปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสังการของคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สรุ ศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย


ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 31/2560) เรื่อง แนวทางการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบการศึกษาอิสระ ---------------------เพื่อให้การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบการศึกษาอิสระ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 45 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 (3) แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงกาหนดแนวทางการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบการศึกษาอิสระ ไว้ดังนี้ ข้อ 1 ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 31/2560) เรื่อง แนวทางการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบการศึกษาอิสระ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแก่น (ฉบับที่ 71/2548) เรื่อง แนวทางการ ประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบรายงานการศึกษาอิสระ ข้อ 4 การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการสอบการศึกษาอิสระ ต้องประกอบด้วยการประเมิน 2 ส่วน คือ 4.1 การประเมินคุณภาพของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยวิธีการพิจารณาตรวจอ่านผลงาน วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 4.2 การประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษาในการนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดย วิธีการสอบปากเปล่า ทั้งนี้ ให้มีการประชุมพิจารณาประเมินผลงานตามข้อ 4.1 และ 4.2 โดยกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรือกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ข้อ 5 แนวทางการประเมินคุณภาพของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยวิธีการพิจารณาตรวจอ่าน วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระอาจพิจารณาประเมินคุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ จากหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 5.1 ความสาคัญของปัญหาในการวิจัย 5.1.1 ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลที่ต้องทาการวิจัย เพื่อตอบปัญหาของการวิจัยนั้น ๆ 5.1.2 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน 5.1.3 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา 5.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 5.2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ของการวิจัย 5.2.2 ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย 5.2.3 ความเป็นไปได้ในการทาวิจยั ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด 5.3 การทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง

คู่มือนักศึกษา 2561

245 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

246 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 5.3.1 การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.3.2 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 5.3.3 การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนกับหัวข้อการวิจัย 5.4 วิธีการดาเนินการวิจัย 5.4.1 ความเหมาะสมของของวิธีการวิจัยที่ใช้ 5.4.2 ความเหมาะสมของขั้นตอนการวิจัย การควบคุมตัวแปรและการวางแผนการทดสอบ 5.4.3 ความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัย เทคนิควิจัย การเลือกประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 5.4.4 ความถูกต้องของการอ้างอิงถึงวิธีการที่ใช้ในการวิจัย 5.4.5 ความเกี่ยวเนื่องของวิธีการดาเนินการวิจยั กับวัตถุประสงค์ 5.4.6 ความมีเหตุผลและความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล 5.5 ผลการวิจัย 5.5.1 ความเหมาะสมของลาดับขั้นตอนในการนาเสนอผลการวิจัย 5.5.2 ความชัดเจนของผลการวิจัยหรือความรู้ทไี่ ด้รับ 5.5.3 ความสามารถในการเสนอผลการวิจัย เช่น การใช้กราฟ ตาราง รูปภาพที่เหมาะสม 5.5.4 ความสอดคล้องของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 5.6 การวิเคราะห์ วิจารณ์ผลการวิจัย 5.6.1 ความเหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น การเลือกใช้วิธีการทางสถิติที่เหมาะสม 5.6.2 ความสามารถในการบูรณาการความรู้ต่าง ๆ จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และผลการวิจัย มาใช้ใน การตอบปัญหาตามวัตถุประสงค์ 5.6.3 ความสามารถในการสังเคราะห์ความรู้ใหม่จากหลักฐานการวิจัย 5.7 การสรุปและข้อเสนอแนะ 5.7.1 ความสามารถในการสรุปผลการวิจัยให้สมั พันธ์กับวัตถุประสงค์ 5.7.2 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนาผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ 5.7.3 ความรู้ทไี่ ด้จากการวิจัย 5.7.4 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ควรทาต่อไปในอนาคต 5.8 คุณภาพของการเขียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 5.8.1 คุณภาพของบทคัดย่อ 5.8.2 ความเหมาะสมถูกต้องของการจัดโครงสร้างของเนื้อหา 5.8.3 ความถูกต้องของการอ้างอิง 5.8.4 ความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้ในการเขียน 5.9 การนาผลงานไปตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่อง จากการประชุมที่ได้มาตรฐาน ข้อ 6 แนวทางการประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษาในการนาเสนอผลงานและการตอบคาถาม โดย วิธีการสอบปากเปล่า อาจประเมินจากหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 6.1 การนาเสนอผลงาน


6.1.1 ความเหมาะสมของวิธีการนาเสนอ 6.1.2 ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอ 6.1.3 การนาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสม 6.1.4 การเสนอแนวความคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง 6.1.5 บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผู้นาเสนอ 6.1.6 ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นาเสนอกับที่เขียนในวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 6.1.7 ความสามารถในการสรุปผล 6.2 การตอบคาถาม 6.2.1 ความสามารถในการให้เหตุผลและอ้างหลักฐานสนับสนุน 6.2.2 ความสามารถในการตอบคาถามที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ปรากฏในงานวิจัย 6.2.3 ความเข้าใจในงานวิจัยที่ทาและเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของผลจากการวิจัยต่อองค์ ความรู้ในสาขาวิชานั้น ๆ ข้อ 7 แนวทางตามข้อ 5 และ ข้อ 6 ในประกาศนี้กาหนดขึ้นเพื่อให้กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษา อิสระ ใช้ประกอบการพิจารณาในการประเมินผลการสอบ คณะหรือภาควิชาหรือสาขาวิชาอาจกาหนดใช้เป็นบางส่วน หรือกาหนดเพิ่มเติมอีกก็ได้ โดยคานึงถึงความเหมาะสมและความสอดคล้องกับลักษณะวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ในสาขาวิชานั้น ๆ ข้อ 8 การกาหนดระดับคะแนน และน้าหนักการประเมิน ตามข้อ 5 และ ข้อ 6 ให้แต่ละสาขาวิชาเป็นผู้ กาหนด โดยความเห็นชอบของคณะที่สาขาวิชานั้น ๆ สังกัด และจัดทาเป็นประกาศของคณะให้ชัดเจน หรืออาจใช้ หลักเกณฑ์ดังนี้ Excellent 80-100 % Good 70-79 % Pass 60-69 % Fail < 60 % ข้อ 9 การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาแต่ละราย ต้องมีการบันทึกไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร โดยให้มีการบันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องแก้ไขตามมติของคณะกรรมการสอบและแจ้งผู้เข้าสอบ รับทราบ ทั้งนี้เพื่อความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ข้อ 10 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ข้อ 11 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (รองศาสตราจารย์สรุ ศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คู่มือนักศึกษา 2561

247 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

248 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 030/2560 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ----------------------------------------เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การท าวิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละการศึ ก ษาอิ ส ระเป็ น ไปด้ ว ยความเรี ย บร้ อ ย มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 8 การทาวิทยานิพนธ์ และการศึกษาอิสระ ประกาศบัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลั ย ขอนแก่น ฉบับ ที่ 65/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์แ ละแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษา อิสระ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 ในส่วนงานตามมาตรา 9 และมาตรา 85 แห่งพระราชบัญญั ติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 คาสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 5161/2558 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง มอบอานาจการให้ปฏิบัติการแทน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะศึกษาศาสตร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2560 จึงเห็นสมควรกาหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทา วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ไวดังนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 030 /2560) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ” ขอ 2 ประกาศนี้ใช้สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในประกาศนี้ 3.1 คณะ หมายถึง 3.2 คณบดี หมายถึง 3.3 สาขาวิชา หมายถึง

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร หมายถึง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ 3.5 ประธานหลักสูตร หมายถึง ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สาขาวิชา 3.6 นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ข้อ 4 การลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 4.1 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระได้เมื่อได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ห รือการศึก ษาอิส ระเรีย บร้อ ยแล้ว และมีคุณ สมบัติครบตามข้อ กาหนดเฉพาะของแต่ล ะ หลัก สูต ร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 39 และ ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 ข้อ 4.1


4.2 ให้นักศึกษาเสนอขอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระที่มีคุณสมบัติ ตามประกาศบัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย ขอนแก่น (ฉบับ ที่ 65/2559) เรื่อ ง หลัก เกณฑ์แ ละแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5.1.4 และ ข้อ 5.1.5 โดยผ่านความเห็น ชอบคณะกรรม การบริห าร หลักสูตร 4.3 การควบคุมวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจให้ มีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมได้อีกตามความเหมาะสมแต่ละกรณี โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรของแต่ละสาขาวิชา 4.4 จานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ให้เ ป็นไปตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) หรือเป็นไปตามข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา ข้อ 5 การเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ 5.1 นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิ สระแล้วต้องเสนอขอสอบและ ขออนุมัติ เค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระ และ อาจารย์ที ่ป รึก ษาร่ว ม (ถ้า มี) คณะกรรมการบริห ารหลัก สูต ร และคณบดี คณะ ศึกษาศาสตร์ เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเวลาที่ กาหนด ดังนี้ 1) ระดับปริญญาโท ต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 2) ระดับ ปริญ ญาเอก ต้อ งได้ร ับ อนุม ัต ิเ ค้า โครงวิท ยานิพ นธ์ ภายใน 2 ปี หลัง จาก ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ทั้งนี้หากนัก ศึก ษาที่ไ ม่ ผ่า นการอนุมัติเ ค้า โครงวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระตาม ระยะเวลาดังกล่าว จะได้รับการประเมิน ผลการเรีย นวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ S เท่า กับ 0 (ศูนย์) ใน ภาคการศึกษานั้น 5.2 นักศึกษาระดับปริญญาเอก จะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัตินักศึกษาก่อนจึงจะ ดาเนินการเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้ 5.3 การสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 5.3.1 ก่อนขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ นักศึกษาต้องจัดทาเอกสารเชิง หลักการ ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา เสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อพิจารณาความ เหมาะสมและพิจารณาด้านจริยธรรมการวิจัย 5.3.2 เมื่อ คณะกรรมการบริห ารหลัก สูต ร พิจ ารณาความเหมาะสมและพิจ ารณาด้า น จริย ธรรมการวิจัย แล้ว ให้นักศึกษาจัดทาเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระและยื่นคาร้องขอสอบเค้าโครง พร้อมเอกสารเชิงหลักการ ทั้งนี้ ต้องยื่นเรื่องขอสอบเค้าโครง ก่อนวันกาหนดสอบอย่างน้อย 7 วันทาการ เพื่อเสนอ ขออนุมัติการสอบต่อคณบดี

คู่มือนักศึกษา 2561

249 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

250 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 5.3.3 คณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้พิจารณาเสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบ เค้าโครง เพื่อขออนุมัติ ต่อคณบดี ดังนี้ ระดับปริญญาโท (วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ) รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ประกอบด้วย 1) อาจารย์ประจาหลักสูตร ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ไม่น้อยกว่า 1 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ไม่น้อยกว่า 1 คน 3) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) เป็น กรรมการสอบ ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษา ร่วมหรืออาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์หรือ อาจารย์ผู้สอบการศึกษาอิสระ ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ระดับปริญญาเอก รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ประกอบด้วย 1) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ไม่น้อยกว่า 1 คน เป็น ประธานกรรมการสอบ 2) อาจารย์ประจาหลักสูตร ซึ่งไม่ได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ไม่น้อยกว่า 1 คน เป็น กรรมการสอบ 3) อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) เป็น กรรมการสอบ ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย โดยอาจารย์ผู้สอบ วิทยานิพนธ์ ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม 5.3.4 ในวันสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 1. ในวันสอบ จะต้องมีคณะกรรมการสอบจานวนไม่น้อยกว่าตามที่กาหนดข้างต้น จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์ 2. ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบตามที่กาหนดข้างต้นให้เลื่อนการสอบออกไป ใน กรณีที่จาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มี เวลาพอสมควรสาหรับกรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ เพื่อจะได้มีเวลาตรวจอ่านเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 3. ผู้ประเมินผลการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบที่อยู่ร่วมในวันสอบ การประเมินผล โดยให้นับ อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น 1 เสียง อาจารย์ประจาหลักสูตรเป็น 1 เสียง และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็น 1 เสียง และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 เสียงของจานวนกรรมการทั้งหมด 5.3.5 หลังจากสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 1. เมื่อนักศึกษาสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระผ่านเรียบร้อย แล้ว ให้ส่งเค้าโครงวิทยานิพ นธ์ หรือการศึ กษาอิสระ โดยผ่านความเห็น ชอบอาจารย์ที่ปรึ กษาหลัก อาจารย์ที่ ปรึกษาร่วม (ถ้ามี ) และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ ภายใน 30 วันหลัง สอบ หากพ้นกาหนดระยะเวลาในการส่งให้ถือว่าผลการสอบในครั้งนั้นเป็นโมฆะ ให้นักศึกษาดาเนินการทา เรื่องขอสอบใหม่


การขอสอบเค้าโครงและการอนุ มัติเค้าโครงครั้ งที่ 2 ไม่เป็นเหตุให้ได้รับ การยกเว้ น หรื อมิต้อ งปฏิบัติตามระเบียบ หรื อ หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ที่อื่นแต่ อย่า งใด 2. เอกสารการเสนอขออนุมัติเค้าโครง ผ่านความเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่ป รึก ษาร่ว ม (ถ้า มี) และคณะกรรมการบริห ารหลัก สูต ร เพื่อ เสนอคณบดีอ นุมัติโ ดยมีเ อกสาร ประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1) แบบเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ (บว.23) 2) ใบแจ้งผลการสอบเค้าโครง ที่ระบุว่า “ผ่าน” 3) แบบรายงาน Turnitin Originality Report 4) เล่มเค้าโครง จัดพิมพ์ตามแบบฟอร์มที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด จานวน 1 เล่ม และจัดส่งจานวนเล่มเค้าโครงเท่ากับจานวนคณะกรรมการสอบ 5) แผ่นซีดีบันทึกเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ จานวน 1 แผ่น 3. ชื่ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ภาษาไทยและภาษาอั งกฤษต้ อ ง สอดคล้ อ งกั น และตรวจสอบให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ข้อ 6. ค่า Similarity index จากการเทีย บวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระด้ว ยโปรแกรม Turnitin ในระดับ ปริญ ญาเอก ไม่ค วรเกิน ร้อ ยละ 20 และระดับ ปริญ ญาโท ไม่ค วรเกิน ร้อ ยละ 30 หากค่า Similarity index มากกว่า ค่า ที่กาหนดข้ า งต้น ขอให้อ าจารย์ที่ป รึก ษาวิท ยานิพ นธ์ ห รือ การศึก ษาอิส ระ ชี้แ จงค่า Similarity index ถึง สาเหตุที่ค่า ดัง กล่า วเกิน กว่า ที่กาหนด เพื่อ ประกอบการขออนุมัติเ ค้า โครง (บว.23) การขอสอบ (บว.25) และ การส่งเล่มวิทยานิพนธ์หรือการศึก ษาอิสระ (บว.28) ข้อ 7. การประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 7.1 นักศึกษาต้องรายงานความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาหลักและร่วม (ถ้ามี) ทุกภาคการศึกษา 7.2 อาจารย์ที ่ป รึก ษาวิท ยานิพ นธ์ห รือ การศึก ษาอิส ระ มีห น้า ที ่ใ นการประเมิน ผล ความก้า วหน้าในการทาวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระทุก ภาคการศึก ษา และรายงานผลการประเมิน ต่อ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการประจาคณะ และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ สาหรับการประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเป็นที่ พอใจ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ โดยระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระที่ได้รับการประเมินให้ได้สัญลักษณ์ S ของนัก ศึก ษาแต่ล ะคนในแต่ ล ะภาคการศึก ษา ทั้งนี้ต้อ งไม่เกินจานวนหน่ว ยกิตที่ลงทะเบีย น หากผลการ ประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้า จานวนหน่วยกิตที่ได้ในภาคการศึกษานั้น ๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) โดยมีหลักเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ดังต่อไปนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

251 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

252 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ระดับปริญญาโท วิทยานิพนธ์ (แผน ก) 1) ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ 2) เรียบเรียงเค้าโครงเสนอคณะกรรมการพิจารณา 3) สอบเค้าโครงผ่านและส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 4) โดยเขียนวิทยานิพนธ์ บทที่ 1, 2, 3, เสร็จสมบูรณ์ 5) สร้างเครื่องมือวิจัย 6) เก็บรวบรวมข้อมูล 7) วิเคราะห์ข้อมูล 8) ส่งฉบับร่างผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ที่ต้องตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด 9) เขียนวิทยานิพนธ์เสร็จ สมบูรณ์ทั้งฉบับ นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา และ เสนอต้นฉบับร่างวิทยานิพนธ์ที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบ รวม ระดับปริญญาโท การศึกษาอิสระ (แผน ข) 1) ค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องจนสามารถหาหัวข้อการศึกษาอิสระได้ และเรียบเรียงเค้า โครงเสนอคณะกรรมการพิจารณา 2) สอบเค้าโครงผ่าน และส่งเค้าโครงต่อคณบดีเพื่อขออนุมัติ 3) เขียนการศึกษาอิสระ บทที่ 1, 2, 3, เสร็จสมบูรณ์ 4) สร้างเครื่องมือวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล 5) ส่งฉบับร่างผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาอิสระที่ต้องตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด 6) เขียนการศึกษาอิสระเสร็จ สมบูรณ์ทั้งฉบับ นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการสอบ รวม

1 1 2 1 1 1 2 1

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

2 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต

1 กิต 1 กิต 1 กิต 1 กิต 1 กิต 1 กิต 6 กิต

หน่วย หน่วย หน่วย หน่วย หน่วย หน่วย หน่วย

ทั้งนี้ เค้าโครงระดับปริญญาโท ต้องได้รับการอนุมัติ ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียน วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ


ระดับปริญญาเอก วิทยานิพนธ์

(แบบ 2.1)

ระยะที่ 1 1) ทบทวนวรรณกรรมจนสามารถได้หัวข้อการวิจัย 2) พัฒนาเอกสารเชิงหลักการ (Concept paper) โดยผ่านที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 3) พัฒนาเค้าโครงวิทยานิพนธ์จนสามารถที่จะสอบได้ 4) สอบผ่านเค้าโครง (บทที่ 1, 2, 3) ระยะที่ 2 ดาเนินการวิจัยตามแผน 5) สร้างเครื่องมือ และหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 6) เก็บรวบรวมข้อมูล 7) วิเคราะห์ข้อมูล ระยะที่ 3 เขียนรายงานวิจัย 8) ส่งฉบับร่างผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ที่ต้องตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด 9) เขียนวิทยานิพนธ์เสร็จสมบูรณ์ทั้งฉบับ นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา และเสนอต้นฉบับร่างวิทยานิพนธ์ที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบ รวม

3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต

คู่มือนักศึกษา 2561

253 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ

3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต

ทั้งนี้ เค้าโครงระดับปริญญาเอก ต้องได้รับการอนุมัติ ภายใน 2 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ หมายเหตุ นักศึกษาที่จะขอการอนุมัติลงทะเบียน 3 หน่วยกิตสุดท้ายของหลักสูตร จะต้องลงทะเบียนและใช้เวลาศึกษา ครบตามระยะเวลาการศึกษาที่หลักสูตรกาหนดแล้ว (ตาม มคอ. 2) และเหลือหน่วยกิตทีต่ ้องลงทะเบียนอีก ไม่เกิน 3 หน่วยกิต ซึ่งจะสาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ๆ เท่านั้น ข้อ 8. การสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 8.1 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ มีดังนี้ 1) ได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ไม่น้อยกว่า 60 วัน 2) นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโท ต้ อ งผ่ า นมาตรฐานความรู้ ภ าษาอั ง กฤษ ตามประกาศบั ณ ฑิ ต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 67/2559 3) นักศึกษาปริญญาโท แผน ข ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ โดยได้สัญลั กษณ์ S ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 28/2560 เรื่อง การสอบประมวลความรู้ 4) มีผลการเรียนครบทุกรายวิชา โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 หรือตามที่หลักสูตร กาหนด และเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 37 5) มีผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระ โดยได้ สัญลักษณ์ S ครบตามที่หลักสูตรกาหนด 8.2 การขอสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 1) ให้นักศึกษาเสนอร่างวิทยานิพนธ์ หรือรายงานการศึกษาอิสระที่ยังไม่เข้าปก ซึ่งมี ส่วนประกอบตามรูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดในคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ จานวนเท่ากับจานวนกรรมการสอบ


คู่มือนักศึกษา 2561

254 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ พร้อมยื่นใบคาร้องขอสอบตามแบบฟอร์ม บว.25 และ แนบ Turnitin Originality Report (ค่า Similarity index ระดั บ ปริ ญ ญาเอก ไม่ ค วรเกินร้อยละ 20 และระดับปริญญาโท ไม่ควรเกินร้อยละ 30) เพื่อให้คณะอนุมัติ การสอบโดยผ่านความเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือ การศึกษาอิส ระ และคณะกรรมการบริห าร หลักสูตร ยื่นที่งานบริการการศึกษาของคณะ ก่อนวันกาหนดสอบอย่างน้อย 20 วัน 2) นักศึกษาต้องทาการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ภายใน 45 วัน หลังจากที่ นักศึกษาผ่านการประเมินความก้าวหน้าโดยได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้นๆ ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน ให้ถือว่าการได้สัญลักษณ์ S ในการประเมินครั้งสุดท้ายเป็นโมฆะ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอยกเลิกผลการประเมินต่อคณบดี และแจ้งสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 8.3 งานบริการการศึกษา คณะฯ ตรวจสอบผลการเรียน และคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่หลักสูตรกาหนด นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมการสอบที่งานการเงินคณะ 8.4 การด าเนิ น การสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ หรื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 44.2 และ ข้อ 44.3 8.5 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ (ตามแบบฟอร์ม บว.26) ให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้พิจารณาเสนอให้คณะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ โดยคณะกรรมการสอบควรเป็นชุด เดีย วกับ คณะกรรรมการสอบเค้า โครงวิท ยานิพ นธ์ห รือ การศึก ษาอิส ระ (ในกรณีที ่มีค วามจ าเป็น สามารถ เปลี่ยนแปลงกรรมการสอบได้ ) ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 65/2559 ข้อ 5.1.6 และ ข้อ 5.2.6 8.6 นั ก ศึ ก ษาส่ ง วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ ค ณะกรรมการสอบ วิ ท ยานิ พ นธ์ หรื อ การศึกษาอิสระ ก่อนวันกาหนดการสอบ อย่างน้อย 15 วัน 8.7 การกาหนดระดับคะแนนและน้าหนักการประเมินผลการสอบวิ ทยานิ พนธ์ หรื อ การศึกษาอิสระ (ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศ) โดยกาหนดระดับผลการสอบ ดังนี้ ระดับผลการประเมิน Excellent (ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม) Good (ผลการประเมิน ขั้นดี) Pass (ผลการประเมิน ขั้นผ่าน) Fail (ผลการประเมิน ขั้นตก)

ระดับคะแนน 91-100 81-90 71-80 <70

8.8 การรายงานผลการสอบวิ ทยานิ พ นธ์ หรื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ 8.8.1 ประธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็น ลายลักษณ์อักษรแก่ผู้เข้าสอบและ คณบดี ภายใน 5 วันทาการถัดจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการแจ้งผลได้ภายในวันที่กาหนดถือว่าการสอบ ครั้งนั้นเป็นโมฆะ ทั้งนี้ขอให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือการศึกษาอิสระ เป็นผู้ประสานใน การจัดส่งผลการสอบฯ


8.8.2 ในกรณีสอบผ่าน แต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็น หรือ รายการที่ต้องแก้ไข พร้อมทั้งมีการอธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และคณะกรรมการสอบ ให้ความเห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามกาห นดดังกล่า วให้ถือ ว่า ไม่ผ่านในการสอบครั้งนั้น ให้คณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี หากผลการสอบไม่ผ่าน ตามข้อ 8.8.2 ให้นักศึกษายื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วัน หลังวันครบกาหนดการแก้ไข และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข 8.8.3 กรณีส อบไม่ ผ่า น คณะกรรมการสอบต้อ งสรุป สาเหตุห ลัก ของการพิจ ารณา ไม่ให้ผ่าน โดยบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร รายงานต่อคณบดีภายใน 3 วันทาการถัดจากวันสอบ และแจ้งผลการ สอบให้ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่า น ตามข้อ 8.8.3 มีสิทธิ์ขอสอบครั้งที่ 2 ได้ ภ ายใน 15 วั น หลั งวั น สอบ และต้ อ งสอบภายใน 60 วั น หลั งวั น สอบ 8.9 หากนั ก ศึ ก ษาขาดสอบโดยไม่ มี เ หตุ สุ ด วิ สั ย ให้ ถื อ ว่ า สอบไม่ ผ่ า นในการสอบครั้ งนั้ น 8.10 การสอบวิ ทยานิ พนธ์ หรื อการศึ กษาอิสระ จะสอบได้ไม่เ กิน 2 ครั้ ง และการขอสอบ ทุกครั้ ง ต้อ งเสียค่าธรรมเนี ยมหรือค่าลงทะเบีย นสอบตามที่คณะกาหนด หากไม่ดาเนินการตามกาหนด ข้างต้ นให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 48 และ ข้อ 55 การให้โ อกาสสอบครั้งที่ 2 นี้ ไม่เ ป็น เหตุใ ห้ไ ด้รับ การยกเว้น หรือ มิต้อ งปฏิบัติต าม ระเบีย บหรือ หลัก เกณฑ์ ที่ก าหนดไว้ที่ อื่ นแต่ อ ย่า งใด เช่น การพ้น สภาพการเป็น นั ก ศึก ษาด้ ว ยเหตุ ใช้ เ วลาใน การศึกษาครบระยะเวลาสูงสุดที่หลักสูตรกาหนด เป็นต้น ข้อ 9 มาตรฐานวิท ยานิพ นธ์ และการส่ง เล่ม วิท ยานิพ นธ์ฉ บับ สมบูร ณ์ ให้เ ป็น ไปตา มประกาศ บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับ ที่ 30/2560 ข้อ 9 และ ข้อ 10 และหรือ ระเบียบ/ประกาศที่ บัณฑิตวิทยาลัย ปรับปรุงขึ้นใหม่ ข้อ 10 การส่ ง รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระฉบั บ สมบู ร ณ์ ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 ข้อ 11 10.1 ให้ใช้รูปแบบเช่นเดียวกับรูปแบบวิทยานิพนธ์ 10.2 ยกเว้นปกในใบรับรองการศึกษาอิสระ จะมีอาจารย์ที่ปรึกษา ประธานคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เป็นผูล้ งนาม 10.3 รายงานการศึกษาอิสระให้ใช้รูปแบบเช่นเดียวกับวิทยานิพนธ์ โดยส่งที่ งานบริการ การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ 10.4 นักศึกษาต้องส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ จานวน 1 เล่ม (เข้าปก 1 เล่ม และที่ยังไม่เข้าปก 1 เล่ม) พร้อมแผ่นซีดีบันทึกข้อมูลฉบับเต็ม จานวน 2 แผ่น ซึ่งคณะกรรมการสอบให้ความ เห็นชอบแล้วพร้อมการตีพิมพ์หรือนาเสนอผลวิจัยที่ใช้ประกอบการสาเร็จการศึกษาต่อคณะภายใน 3 วันทาการ 10.5 งานบริการการศึกษา คณะส่ง รายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ ไม่เย็บเล่ม จานวน 1 เล่ม และ แผ่นซีดีบันทึกข้อมูลฉบับเต็มต่อสานักหอสมุด ข้อ 11 การตีพิม พ์เ ผยแพร่ผ ลงานหรือ ส่ว นหนึ่ง ของผลงานวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษ าอิส ระให้ ดาเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่ น หรือ ตามที่หลักสูตรกาหนด

คู่มือนักศึกษา 2561

255 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

256 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ข้อ 12 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ ให้ปฏิบัติตามที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นกาหนด และหรือเป็นไปตามระเบียบ ประกาศ ที่มีการปรับปรุงหรือเพิ่มเติมภายหลั งจาก ทางบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 13 ในกรณีที่มีปัญ หาเกี่ย วกับ การปฏิบัติต ามประกาศนี้ใ ห้ค ณบดีค ณะศึก ษาศาสตร์มีอานาจ วินิจฉัย หรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ถือเป็นที่สิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่

11 เมษายน พ.ศ. 2560 (ลงชื่อ) ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (รองศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์) คณบดีคณะศึกษาศาสตร์


เกณฑ์การประเมินผลสอบวิทยานิพนธ์ หรือ การศึกษาอิสระ การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษา ประกอบด้วยการประเมิน 2 ส่วน คือ 1) คุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ์ หรือ รายงานการศึกษาอิสระ 2) การนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดยวิธีการสอบปากเปล่า โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ 1) คุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ์ หรือ รายงานการศึกษาอิสระ 2) การนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดยวิธีการสอบปากเปล่า 1) การประเมินคุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ์ หรือ รายงานการศึกษาอิสระ ลาดับ หัวข้อประเมิน ที่ 1.

2.

3.

4.

5.

70 คะแนน 30 คะแนน

ความสาคัญของปัญหาในการวิจยั 1.1 ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลทีต่ ้องทาการวิจัยเพือ่ ตอบ ปัญหาของการวิจัยนั้น ๆ 1.2 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน 1.3 ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงค์การวิจัย 2.2 ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย 2.3 ความเป็นไปได้ในการทาวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3.1 การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 3.3 การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนและงานวิจัยสู่การกาหนดกรอบ แนวคิดการวิจัยที่เหมาะสม วิธีการดาเนินการวิจัย 4.1 ความเหมาะสมของวิธีการวิจยั ที่ใช้ 4.2 ความเหมาะสมของขั้นตอนการวิจัย การควบคุมตัวแปรและการวาง แผนการทดสอบ 4.3 ความเหมาะสมของเครื่องมือวิจัย เทคนิควิจัย การเลือกประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง 4.4 ความถูกต้องของการอ้างอิงถึงวิธีการที่ใช้ในการวิจัย 4.5 ความเกี่ยวเนื่องของวิธีการดาเนินการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 4.6 ความมีเหตุผลและความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล ผลงานวิจัย 5.1 การสรุปผลถูกต้องและเชื่อถือได้ 5.2 ความสอดคล้องและครอบคลุมของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์ 5.3 ความรู้ใหม่ทไี่ ด้จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย 5.4 ประโยชน์ของผลที่ได้จากการวิจัย

คะแนน คะแนนที่ เต็ม ได้ 8

6

6

20

10

คู่มือนักศึกษา 2561

257 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

258 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ลาดับที่ หัวข้อประเมิน 6. การอภิปรายผลการวิจยั 6.1 ความสามารถในการบูรณาการความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ผลการวิจัย 6.2 ความสามารถในการสะท้อนผลถึงข้อดีและข้อจากัดในการวิจัย 6.3 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนาผลงานวิจยั ไปประยุกต์ใช้และ งานวิจัยที่ควรทาต่อไป

คะแนนเต็ม 10

คะแนนทีไ่ ด้

10 7.

คุณภาพของการเขียนวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ 7.1 ความเหมาะสมถูกต้องของการจัดโครงสร้างของเนื้อหา 7.2 จรรยาบรรณและความถูกต้องของการอ้างอิง 7.3 ความถูกต้องของภาษาและไวยากรณ์ที่ใช้ในการเขียน 7.4 ความถูกต้องของข้อมูลและการรายงานผล รวมคะแนนทั้งสิ้น

2) การนาเสนอผลงานและการตอบคาถามโดยวิธีการสอบปากเปล่า ลาดับ หัวข้อประเมิน ที่ 1. การนาเสนอผลงาน 1.1 ความเหมาะสมของวิธีการนาเสนอ 1.2 ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนาเสนอ 1.3 การนาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสม 1.4 การเสนอแนวความคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง 1.5 บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผู้นาเสนอ 1.6 ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นาเสนอกับที่เขียนในวิทยานิพนธ์หรือ รายงานการศึกษาอิสระ 1.7 ความสามารถในการสรุปผล 2. การตอบคาถาม 2.1 ความสามารถในการให้เหตุผลและอ้างหลักฐานสนับสนุน 2.2 ความสามารถในการตอบคาถามที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ปรากฏในงานวิจัย 2.3 ความเข้าใจในการงานวิจัยที่ทาและเข้าใจถึงความสัมพันธ์ ของผลจากการวิจัย ต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชานั้น ๆ รวมคะแนนทั้งสิ้น คะแนนรวม 2 ส่วน

70

คะแนนเต็ม 20

10

30

ส่วนที่ 1 เต็ม 70 คะแนน คะแนนที่ได้……………….……..คะแนน ส่วนที่ 2 เต็ม 30 คะแนน คะแนนที่ได้………………….…..คะแนน รวม เต็ม 100 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้……………….……..คะแนน

คะแนนทีไ่ ด้


เกณฑ์การพิจารณาผล 91 81 - 90 71 - 80 70

คะแนนขึน้ ไป คะแนน คะแนน คะแนนลงมา

= = = =

Excellent Good Pass Fail

คู่มือนักศึกษา 2561

259 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

260 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ประกาศคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 89/2560 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ----------------------------------------เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยมีประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดี อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 และมาตรา 85 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558 คาสั่งมหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ที่ 5161/2558 ลงวั นที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง มอบอานาจการให้ ปฏิบัติการแทน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวิชาการและบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ คราวประชุม ครั้ง ที่ 5/2560 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 และคณะกรรมการประจาคณะวิทยาศาสตร์ คราวประชุม ครั้งที่ 8/2560 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560 จึงออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทา วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ไวดังนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 89 /2560) เรื่อง หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ” ขอ 2 ให้ใช้ประกาศนี้สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ยกเว้นสาขาวิชาเคมี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาการ รับรู้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้ใช้แนวปฏิบัติตามประกาศเฉพาะของสาขาวิชา ที่ประกาศเพิ่มเติม ภายหลัง ข้อ 3 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความว่า “คณะ” หมายความว่า “คณบดี” หมายความว่า “คณะกรรมการประจาคณะ”

มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิทยาศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ หมายความว่า คณะกรรมการประจาคณะวิทยาศาสตร์

“สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความว่า คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจากคณบดีเพื่อ รับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “ประธานหลักสูตร” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร “อาจารย์ประจา” หมายความว่า ข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่เป็นอาจารย์ประจา หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ข้อ 4 การลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 4.1 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระได้เมื่อได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเรียบร้อยแล้ว และมีคุณสมบัติครบตามข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา


4.2 ให้นักศึกษาเสนอขอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระที่มีคุณสมบัติตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับอาจารย์ ระดับบัณฑิตศึกษา ข้อ 5.1.4 และ ข้อ 5.1.5 โดยผ่านความเห็นชอบคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 4.3 จานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน ให้เป็นไปตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) หรือเป็นไปตามข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา ข้อ 5 การเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 5.1 นั กศึ กษาที่ ลงทะเบี ยนรายวิ ชาวิ ทยานิ พนธ์ หรื อการศึ กษาอิ สระแล้ ว ต้ องเสนอเค้ าโครง วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และ/ หรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ (ถ้ามี) ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการวิชาการ และบัณฑิตศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ และคณบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเวลาที่กาหนด ดังนี้ 5.1.1 ระดับปริญญาโท ต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิ สระ ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 5.1.2 ระดับปริญ ญาเอก ต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิท ยานิพ นธ์ ภายใน 2 ปี หลังจาก ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ทั้งนี้หากนัก ศึก ษาที่ไ ม่ผ่า นการอนุมัติเ ค้า โครงวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระตาม ระยะเวลาที่กาหนด จะได้ รับ การประเมิน ผลการเรีย นวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยให้สัญ ลัก ษณ์ S เท่ากับ 0 (ศูนย์) ในภาคการศึกษานั้น 5.2 นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ นักศึกษาก่อนจึงจะดาเนินการเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้ 5.3 การสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ (เฉพาะสาขาวิชาที่มีการดาเนินการสอบ สาขาวิชาที่ไม่มีการดาเนินการสอบให้ดาเนินการตามข้อ 5.3.2) 5.3.1 นั ก ศึ ก ษาต้ อ งยื่ น แบบเสนอแต่ ง ตั้ งคณะกรรมการสอบเค้ า โครงวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึกษาอิสระ (วท.บศ.05) โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว ที่งานบริการ การศึกษา ก่อนวันสอบอย่างน้อย 20 วัน เพื่อเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษา อิสระ ประกอบด้วย 1) ระดับปริญญาโท รวมไม่น้อยกว่า 2 คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจาหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1 คนและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 2) ระดับปริญญาเอก รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ไม่น้อยกว่า 1 คน (ถ้ามี) อาจารย์ประจาหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1 คน และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)

คู่มือนักศึกษา 2561

261 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

262 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ 5.3.2 หลังจากสอบ ให้ส่งเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการวิชาการและบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ เพื่อเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ ภายใน 30 วัน โดยมีเอกสารประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1) แบบเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ (บว.23) 2) แบบฟอร์ม Turnitin Originality Report พร้อ มแนบหลัก ฐานเฉพาะ หน้าแรกที่ปรากฏชื่อนักศึกษาและข้อมูล Similarity Index 3) เล่มเค้าโครงวิทยานิพ นธ์ห รือ การศึก ษาอิส ระตามรูปที่คณะกาหนด จานวน 4 ชุด (ชุดจริง จานวน 1 ชุด และสาเนา จานวน 3 ชุด) 4) แผ่นซีดีบันทึกเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ จานวน 1 แผ่น 5.3.3 ชื่ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ภาษาไทยและภาษาอั งกฤษต้ อ งสอดคล้ อ ง กั น และตรวจสอบให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ข้อ 6. การประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ 6.1 นักศึกษาต้องรายงานความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ทุกภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนเรียน 6.2 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เป็นผู้ประเมินผลความก้าวหน้าในการ ทาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาทุกภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียน และรายงานผลการประเมิน ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการประจาคณะ คณบดี และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ สาหรับการประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเป็น ที่พอใจ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ ของนักศึกษา โดยระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระที่ได้รับการประเมินให้ได้ สัญลักษณ์ S ของนักศึกษาแต่ละคนในแต่ละภาคการศึกษานั้น แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน หากผลการประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้ า จานวนหน่วยกิตที่ได้ในภาคการศึกษานั้น ๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) โดยมีหลักเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ดังต่อไปนี้ ระดับปริญญาโท วิทยานิพนธ์ (แผน ก) กิจกรรม วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 16 หน่วยกิต 20 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต 1)ค้ น คว้ า เอกสาร ทบทวน 2 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต วรรณกรรม 2)การจั ด ท า การสอบ การ 4 หน่วยกิต 5 หน่วยกิต 5 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต อนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 3 ) ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ท า 3 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์ 4)ร่างวิทยานิพนธ์ที่นาเสนอต่อ 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต อาจารย์ที่ปรึกษาก่อนการสอบ ป้องกันวิทยานิพนธ์


กิจกรรม

วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 16 หน่วยกิต 20 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต 5)ต้ น ฉบั บ หรื อ ร่ า งผลงานที่ 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต ต้องตีพิมพ์เผยแพร่ตามเงื่อนไข ที่หลักสูตรกาหนด 6)เล่ ม วิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ พ ร้ อ ม 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต น าเสนอคณะกรรมการสอบ ป้องกันวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท การศึกษาอิสระ (แผน ข) กิจกรรม 1)ค้นคว้าเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม 2)การจัดทา การสอบ การอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ 3)การดาเนินการทาการศึกษาอิสระ 4)ต้นฉบับหรือร่างผลงานเผยแพร่การศึกษาอิสระ 5)เล่มรายงานการศึกษาอิสระที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบการศึกษา อิสระ

จานวน 6 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 1 หน่วยกิต

ระดับปริญญาเอก กิจกรรม 1)ค้นคว้าเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม 2)การจัดท า การสอบ การอนุมั ติเ ค้าโครง วิทยานิพนธ์ 3)การดาเนินการทาวิทยานิพนธ์ 4)ร่ า งวิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ น าเสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ปรึกษาก่อนการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ 5)ต้ น ฉบั บ หรื อ ร่ า งผลงานที่ ต้ อ งตี พิ ม พ์ เผยแพร่ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด 6 ) เ ล่ ม วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ที่ พ ร้ อ ม น า เ ส น อ คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

แบบ 1.1 วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต 8 หน่วยกิต 16 หน่วยกิต

แบบ 1.2 วิทยานิพนธ์ 72 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 24 หน่วยกิต

แบบ 2.1 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต

แบบ 2.2 วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต 8 หน่วยกิต 16 หน่วยกิต

16 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต

24 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต

16 หน่วยกิต 4 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

3 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

3 หน่วยกิต

1 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

6.3 การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ สาหรับหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา ให้ใช้หลักเกณฑ์การประเมิ น ความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ เฉพาะสาขาวิชา ตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

263 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

264 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ข้อ 7. การสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 ข้อ 44 7.1 คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ มีดังนี้ 1) ได้รับอนุมัติ เค้าโครงวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ไม่น้อยกว่า 60 วัน 2) นักศึกษาปริญญาโท ต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถ ภาษาอังกฤษ ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 67/2559 3) มีผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระ โดยได้ สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตที่หลักสูตรกาหนด 7.2 การขอสอบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ ให้นักศึกษาส่งร่างรูปเล่มวิทยานิพนธ์ หรือรายงานการศึกษาอิสระ ซึ่งมีส่วนประกอบตาม รูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดต่อคณะกรรมการสอบ โดยผ่านความเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือ การศึกษาอิสระ และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ ก่อนวันกาหนดสอบอย่าง น้อย 20 วัน โดยมีเอกสารประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1) แบบขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ (บว.25) 2) แบบฟอร์ม Turnitin Originality Report พร้อมหลักฐานเฉพาะหน้าแรกที่ปรากฏชื่อ นักศึกษาและข้อมูล Similarity Index 3) แบบเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ (บว.26) นักศึก ษาต้ องทาการสอบวิ ทยานิพนธ์ หรือ การศึ กษาอิสระ ภายใน 45 วัน หลังจากที่ นักศึกษาผ่านการประเมินความก้าวหน้าและได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์ หรือ การศึ ก ษาอิ ส ระของหลัก สู ต รนั้ น ๆ ในการรายงานการประเมิ น ผลความก้ า วหน้ า ครั้ งสุ ดท้ า ย (ซึ่ งนั ก ศึ ก ษาได้ สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น) ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน ให้ถือว่าการได้สัญลักษณ์ S ในการ ประเมิ น ครั้ งสุ ด ท้ า ยเป็ น โมฆะ ให้ อ าจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ โดยความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอยกเลิกผลการประเมินต่อคณบดี และแจ้งสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 7.3 งานบริ การการศึ กษา ตรวจสอบผลการเรี ยน และคุ ณสมบัติ อื่ นๆ ตามที่ หลั กสู ตรก าหนด นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมการสอบที่งานการเงินและบัญชีของคณะ 7.4 การด าเนิ น การสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ หรื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ นไปตามระเบี ย บ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 44.2 และ ข้อ 44.3 7.5 การประเมิ น ผลการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อการศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น ว่ าด้ วยการศึ กษาระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา พ.ศ. 2559 ข้ อ 45 และ ตามประกาศบั ณฑิ ตวิ ทยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( ฉบับที่ 31/2560) เรื่อง แนวทางการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์และการสอบการศึกษาอิสระ 7.6 การรายงานผลการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ หรื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ 7.6.1 ให้ประธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้เข้าสอบและ คณบดี ภายใน 5 วันทาการถัดจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการแจ้งผลได้ภายในวันที่กาหนดถือว่าการสอบ ครั้งนั้นเป็นโมฆะ


7.6.2 ในกรณีสอบผ่าน แต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็น หรือ รายการที่ต้องแก้ไข พร้อมทั้งมีการอธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และคณะกรรมการสอบ ให้ความเห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนดดังกล่า วให้ถือ ว่า ไม่ผ่านในการสอบครั้งนั้น ให้คณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี 7.6.3 กรณีส อบไม่ผ่า น คณะกรรมการสอบต้อ งสรุป สาเหตุห ลัก ของการพิจ ารณา ไม่ให้ผ่าน โดยบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร รายงานต่อคณบดีภายใน 3 วันทาการถัดจากวันสอบ และแจ้งผลการ สอบให้ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน 7.6.4 หากนั ก ศึ ก ษาขาดสอบโดยไม่ มี เ หตุ สุ ด วิ สั ย ให้ ถื อ ว่ า สอบไม่ ผ่ า นในการสอบ ครั้ งนั้ น โดย คณะกรรมการสอบต้องแจ้งผลการสอบเช่นเดียวกับข้อ 7.6.3 7.7 ผู้สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่าน ตามข้อ 7.6.3 มีสิทธิ์ขอสอบครั้งที่ 2 ได้ ภายใน 15 วันหลังวันสอบ และต้องสอบภายใน 60 วัน หลังวันสอบ ในกรณีที่ไม่ผ่านการสอบ ตามนัยแห่งข้อ 7.6.2 ให้ยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วัน หลัง วันครบกาหนดการแก้ไข และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข การขอสอบทั้ง 2 กรณี ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือ ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือค่าลงทะเบียน สอบตามที่กาหนด หากไม่ดาเนินการตามกาหนดข้างต้น ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา การให้โ อกาสสอบครั้ง ที่ 2 นี้ ไม่เ ป็น เหตุใ ห้ไ ด้รับ การยกเว้น หรือ มิต้อ งปฏิบัติต าม ระเบีย บหรือ หลัก เกณฑ์ ที่ก าหนดไว้ที่ อื่ นแต่ อ ย่า งใด เช่น การพ้น สภาพการเป็น นั ก ศึก ษาด้ ว ยเหตุ ใช้ เ วลาใน การศึกษาครบระยะเวลาสูงสุดที่หลักสูตรกาหนด เป็นต้น การอุ ท ธรณ์ ผ ลสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ม หาวิ ท ยาลั ย กาหนด การลงโทษนัก ศึก ษาที ่ท าการทุจ ริต ทางวิช าการให้ด าเนิน การตามข้อ บัง คับ มหาวิท ยาลัย ขอนแก่น ว่า ด้ว ย วิน ัย นัก ศึก ษา พ.ศ.2559 และประกาศมหาวิท ยาลัย ขอนแก่น ฉบับ ที่ 1365/2550 เรื่อ ง แนบปฏิบัติแ ละเกณฑ์ก ารพิจ ารณาโทษทางวิชาการนัก ศึก ษาที่ก ระทาทุจ ริต ทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา หรือข้อบังคับและประกาศที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ข้อ 8 มาตรฐานวิท ยานิพ นธ์ และการส่ง เล่ม วิท ยานิพ นธ์ฉ บั บ สมบูร ณ์ ให้เ ป็น ไปตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 30/2560) ข้อ 9 และ ข้อ 10 และหรือ ระเบียบ/ประกาศที่ บัณฑิตวิทยาลัย ปรับปรุงใหม่ ข้อ 9 การส่ ง รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระฉบั บ สมบู ร ณ์ ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 30/2560) ข้อ 11 9.1 ให้ใช้รูปแบบเช่นเดียวกับรูปแบบวิทยานิพนธ์ 9.2 ใบรับรองรายงานการศึกษาอิสระ มีอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ ประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดี เป็นผู้ลงนาม 9.3 นัก ศึก ษาส่งรายงานการศึก ษาอิส ระฉบับ สมบูร ณ์ เข้า ปก จานวน 1 เล่ม และที่ยังไม่ เย็บเล่มจานวน 1 เล่ม พร้อมแผ่นซีดีบันทึกข้อมูล 1 แผ่น ซึ่งคณะกรรมการสอบให้ความเห็นชอบแล้วพร้อมการ ตีพิมพ์หรือนาเสนอผลวิจัยที่ใช้ประกอบการสาเร็จการศึกษา ต่อคณะภายใน 3 วันทาการ 9.4 ให้คณะส่งรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ ไม่เย็บเล่ม จานวน 1 เล่ม และ แผ่นซีดี บันทึกข้อมูล 1 แผ่น ต่อสานักหอสมุด

คู่มือนักศึกษา 2561

265 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ


คู่มือนักศึกษา 2561

266 ประกาศเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ ข้อ 10 การตีพิม พ์เ ผยแพร่ผ ลงานหรือ ส่ว นหนึ่ง ของผลงานวิท ยานิพ นธ์ หรือ การศึก ษาอิส ระให้ ดาเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่ น และตามที่หลักสูตรกาหนด ข้อ 11 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ ให้ปฏิบัติตามที่บัณฑิตวิทยาลัย กาหนด และหรือเป็นไปตามระเบียบ/ประกาศ ที่มีการปรับปรุงหรือเพิ่มเติมภายหลัง ข้อ 12 ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติต ามประกาศนี้ใ ห้ค ณบดีมีอานาจวินิจ ฉัย หรือ สั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีถือเป็นสิ้นสุด ประกาศ ณ วันที่

8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

(ลงชื่อ) สมเกียรติ ศรีจารนัย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเกียรติ ศรีจารนัย) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์


คูมือนักศึกษา 2561

266 -1 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 012/2561) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัตใิ นการสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ เพื่ อ ให ก ารทํ า วิ ท ยานิ พ นธ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระของนั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา คณะ เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณ ฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณ ฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะเกษตรศาสตร ในการประชุมครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 และคณะกรรมการประจําคณะเกษตรศาสตร ในการประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2561 จึงกําหนดแนวปฏิบัติการสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้ใหใชกับทุกหลักสูตรที่มีการปรับปรุงตั้งแต พ.ศ. 2560 เปนตนไป ขอ 2. เงื่อนไขการขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 2.1 หลักสูตรระดับ ปริญ ญาโท ทุกหลักสูตรจะตองมีการสอบเคาโครงวิท ยานิพนธ หรือสอบประมวลความรู อยางใดอยางหนึ่ง หรือทั้งสองอยาง ตามที่ระบุไวในหลักสูตร คณะกรรมการสอบโครงวิ ท ยานิ พ นธ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระระดั บ ปริ ญ ญาโท ประกอบดวย อาจารยที่ปรึกษาหลัก อาจารยที่ปรึกษารวม และอาจารยประจําหลักสูตร รวมแลวไมนอยกวา 4 คน โดยประธานหลักสูตรเสนอชื่อใหคณบดีแตงตั้ง โดยใหอาจารยทปี่ รึกษาหลัก/อาจารยประจําหลักสูตร เปนประธาน กรรมการ 2.2 หลักสูตรระดับ ปริญ ญาเอก ตองสอบผานการสอบวัดคุณ สมบัติตามประกาศ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น (ฉบั บ ที่ 28/2560) เรื่อ ง การสอบประมวลความรู และการสอบวั ด คุณสมบัติ) กอนจึงสามารถสอบเคาโครงวิทยานิพนธได คณะกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ประกอบดวย อาจารยที่ ปรึกษาหลัก อาจารยที่ปรึกษารวม และอาจารยประจําหลักสูตร โดยอาจจะมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยรวม ดวย รวมแล วไมน อยกวา 4 คน โดยประธานหลักสู ตรเสนอชื่อให คณบดีแตงตั้ง โดยให อาจารยที่ ปรึกษาหลัก / อาจารยประจําหลักสูตร เปนประธานกรรมการ ขอ 3. การเสนออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 มีดังนี้ 3.1 ปริญญาโทตองไดรับอนุมตั ิเคาโครงวิทยานิพนธภายใน 1 ป หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ 3.2 ปริ ญ ญาเอกต อ งได รั บ อนุ มั ติ เค า โครงวิ ท ยานิ พ นธ ภ ายใน 2 ป หลั ง จากลงทะเบี ย น วิทยานิพนธ ขอ 4. นักศึกษายื่นคํารองขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตามแบบ กษ. 23 และ คํารองขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตามแบบ กษ. 23.1 กอนถึงวัน สอบไมนอยกวา 15 วัน โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาหลัก และประธานหลักสูตร เพื่อเสนอตอคณบดี พิจารณา


ขอ 5. การสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตองเปนแบบเปดใหผูสนใจเขารับฟง การนําเสนอและการตอบคําถามของผูเขาสอบได ทั้งนี้ ใหฝายจัดการการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาวิชา ประกาศใหผูสนใจทราบกอนวันสอบไมนอยกวา 7 วัน ขอ 6. การประเมินผลสอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระใหใชคําวา “สอบผาน” หรือ “สอบไมผาน” โดยใหประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบตอคณะฯ โดยผานความเห็นชอบจากประธาน หลักสูตร/สาขาวิชา ภายใน 15 วันนับจากวันสอบ นักศึกษาที่สอบเคาโครงวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระไมผาน จะตองขอสอบจนกวาจะสอบผาน ประกาศใดที่ขัดหรือแยงกับประกาศนี้ ใหใชประกาศนี้แทน ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2561 (ลงชื่อ) ดรุณี โชติษฐยางกูร (ผูชวยศาสตราจารยดรุณี โชติษฐยางกูร) รองคณบดีฝายวิชาการและประกันคุณภาพ ปฏิบัติการแทน คณบดีคณะเกษตรศาสตร

คูมือนักศึกษา 2561

266 -21 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ


คูมือนักศึกษา 2561

266 -3 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 014/2561) เรื่อง แนวปฏิบัติในการสอบประมวลความรู และการสอบวัดคุณสมบัติ สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับการสอบประมวลความรู และการสอบวัดคุณสมบัติ ตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณ ฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 31.2 และ ขอ 31.5 และประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 28/2560) เรื่อง การสอบประมวลความรู และการสอบวัดคุณสมบัติ เปนไปดวยความเรียบรอย และบังเกิดผลดีตอ การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร โดยความ เห็ น ชอบของคณะกรรมการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาประจํ าคณะเกษตรศาสตร ในการประชุ ม ครั้ งที่ 2/2560 เมื่ อ วัน ที่ 24 พฤศจิกายน 2560 และคณะกรรมการประจําคณะเกษตรศาสตร ในการประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวัน ที่ 15 กุมภาพันธ 2561 จึงกําหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสอบประมวลความรูและการสอบวัดคุณสมบัติ ไวดังนี้ ขอ 1. ประกาศนี้ใหใชกับทุกหลักสูตรที่มีการปรับปรุงตั้งแต พ.ศ. 2560 เปนตนไป ขอ 2. ใหยกเลิกประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 26/2542) เรื่อง แนวปฏิบัติในการสอบ ประมวลความรูสําหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ใหใชประกาศนี้แทน ข อ 3. การสอบประมวลความรู (Comprehensive examination) หมายถึ ง การสอบเพื่ อ ประเมินความรูความสามารถนักศึกษาในสาขาวิชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวของ ขอ 4. เงื่อนไขการสอบประมวลความรู 4.1 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบประมวลความรูได ตองลงทะเบียนรายวิชามาแลว ไมนอย กวา 2 ใน 3 ของจํานวนรายวิชาในหลักสูตร และในกรณีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน แผน ก แบบ ก 2 ตองมีคะแนน เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 4.2 นักศึกษาที่ประสงคจะสอบประมวลความรู ใหยื่นคํารองตอคณะ โดยผานความ เห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และประธานหลักสูตร/สาขาวิชา กอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห 4.3 คณะกรรมการสอบประมวลความรู ประกอบดวย อาจารยที่ปรึกษาหลัก อาจารยที่ ปรึกษารวม และอาจารยประจําหลักสูตร รวมแลวไมนอยกวา 4 คน โดยประธานหลักสูตร/สาขาวิชา เสนอชื่อให คณบดีแตงตั้ง โดยใหอาจารยที่ปรึกษาหลัก/อาจารยประจําหลักสูตร เปนประธานกรรมการ ขอ 5. การประเมินผลสอบประมวลความรู ใหใชคําวา “สอบผาน” หรือ “สอบไมผาน” โดยให ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผลการสอบตอคณะฯ ผานประธานหลักสูตร/สาขาวิชา ภายใน 15 วันนับจาก วันสอบ นักศึกษาที่สอบประมวลความรู แผน ก ครั้งแรกไมผาน สามารถขอสอบจนกวาจะสอบผาน นักศึกษาที่สอบประมวลความรู แผน ข ครั้งแรกไมผาน สามารถขอสอบไดอีก 1 ครั้ง นักศึกษาที่ สอบประมวลความรู แผน ข ครั้งที่สองแลวไมผานจะพนสภาพการเปนนักศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ 55.8


ข อ 6. การสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ (Qualifying examination) หมายถึ ง การสอบวั ด ความรู ความสามารถของนักศึกษาในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาที่เกี่ยวของ เพื่อประเมินวานักศึกษามีความสามารถที่จะ ดําเนินการวิจัยโดยอิสระ และเปนผูมีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธ ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ได ซึ่งกําหนดใหนักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญ ญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 และ แบบ 2 ตองสอบผาน โดยมี หลักเกณฑและแนวปฏิบัติ ดังนี้ 6.1 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ คือ นักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญา ดุษฎีบัณฑิต ตั้งแตภาคการศึกษาแรกเปนตนไป 6.2 คณะกรรมการสอบวัดคุณ สมบัติประกอบดวย อาจารยที่ปรึกษาหลัก อาจารยที่ ปรึกษารวม และอาจารยประจําหลักสูตร โดยอาจจะมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยรวมดวย รวมแลวไมนอย กวา 4 คน โดยประธานหลักสูตร/สาขาวิชา เสนอชื่อใหคณบดีแตงตั้ง โดยใหอาจารยที่ปรึกษาหลัก/อาจารยประจํา หลักสูตร เปนประธานกรรมการ ขอ 7. การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติ ใหเปนสัญ ลักษณ S หมายถึง สอบผาน หรือ U หมายถึง สอบไมผาน ใหคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบตอคณะ ประธานหลักสูตร/สาขาวิชา ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ ข อ 8. ให ใช แ นวปฏิ บั ติ ต ามประกาศฉบั บ นี้ กั บ การสอบประมวลความรู และการสอบวั ด คุณสมบัติ ของสาขาวิชาที่มิไดกําหนดไวในหลักสูตรได โดยอนุโลม ประกาศใดที่ขัดหรือแยงกับประกาศนี้ใหใชประกาศนี้แทน ประกาศ ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561 (ลงชื่อ) ดรุณี โชติษฐยางกูร (ผูชวยศาสตราจารยดรุณี โชติษฐยางกูร) รองคณบดีฝายวิชาการและประกันคุณภาพ ปฏิบัติการแทน คณบดีคณะเกษตรศาสตร

คูมือนักศึกษา 2561

266-41 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ


คูมือนักศึกษา 2561

266 -5 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ ประกาศคณะเกษตรศาสตร (ฉบับที่ 015/2561) เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัตใิ นการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ เพื่อใหการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ และบังเกิดผลดีแกนักศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะเกษตรศาสตร ในการประชุมครั้งที่ 2/2560 เมื่อ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 และคณะกรรมการประจําคณะเกษตรศาสตร ในการประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2561 จึงกําหนดเกณฑการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ดังแบบฟอรมการ ประเมินการสอบแนบทายประกาศนี้ ประกาศใดที่ขัดหรือแยงกับประกาศนี้ใหใชประกาศนี้แทน ประกาศ ณ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2561

(ลงชื่อ) ดรุณี โชติษฐยางกูร (ผูชวยศาสตราจารยดรุณี โชติษฐยางกูร) รองคณบดีฝายวิชาการและประกันคุณภาพ ปฏิบัติการแทน คณบดีคณะเกษตรศาสตร


แบบฟอรมการประเมินการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ชื่อผูสอบปกปองวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ....................................................................................... ชื่อผูประเมิน ………………………………………………………………………………………. หัวขอการประเมิน ระดับที่ได 1) คุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ/รายงานการศึกษาอิสระ ( ) ดีเยี่ยม -การแสดงถึงความสําคัญของปญหาที่ตองทําการวิจัย ( ) ดี -ความชัดเจนของวัตถุประสงคและความสอดคลองกับปญหาการวิจัย ( ) ปานกลาง -การทบทวนวรรณกรรมครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ( ) ไมผาน สูการกําหนดแนวคิดการวิจัยเหมาะสม -วิธีการดําเนินการวิจัย การใชเครื่องมือที่ถูกตองเหมาะสมในการเก็บขอมูล และการวิเคราะหทางสถิติ -ผลการวิจัยกอใหเกิดองคความรูใหม แนวทางใหม การแกปญหาหรือตอบ โจทยงานวิจัย หรือเกิดประเด็นการวิจัย ตอยอดทางวิชาการ มีการบูรณาการความรูในการอภิปราย สะทอนผลการ วิเคราะหและสังเคราะหในการสะทอน ผลการวิจัยสูการใชประโยชนหรือการตอยอด -การวางโครงสรางของเลมวิทยานิพนธ/รายงานการศึกษาอิสระและการ จัดลําดับเนื้อหา ความเขาใจในงานที่ทํา และสื่อสารผลงานตอผูอาน -ความถูกตองของภาษาและไวยากรณที่ใชในการเขียน -ความถูกตองและเหมาะสมของการใชตาราง กราฟ และภาพประกอบ -การตรวจ Turnitin (% similarity) 2) คุณภาพการนําเสนอ ( ) ดีเยี่ยม -การนําเสนอผลงานวิจัยเปนลําดับขั้นตอน มีการใชสื่อที่เหมาะสมชวยใน ( ) ดี ( ) ปานกลาง การสื่อสารตอผูฟง มีการนําเสนอ ( ) ไมผาน ประเด็นการทําวิจัย สิ่งที่คนพบ การสรุป การอภิปรายผลที่ชัดเจน -ความสอดคลอ งของเนื้ อหาในเลม กับ การนําเสนอปากเปลา และอยูใน ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม -บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผูนําเสนอ 3) ความสามารถในการตอบคําถาม ( ) ดีเยี่ยม -ความสามารถในการตอบคํ า ถามโดยการให เหตุ ผ ลและอ า งหลั ก ฐาน ( ) ดี สนับสนุนทางวิชาการ ( ) ปานกลาง -การตอบคําถามหรือแสดงความคิดเห็นที่แสดงถึงความเขาใจในงานวิจัยที่ ( ) ไมผาน

คูมือนักศึกษา 2561

266-61 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ


คูมือนักศึกษา 2561

266 -7 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ หัวขอการประเมิน

ระดับที่ได

ดําเนินการ ความสัมพันธของ ผลงานวิจัยกับบริบทของสาขาที่เกี่ยวของอื่น ๆ 4) การนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน ( ) ดีเยี่ยม -ผลงานวิ จั ย ได รั บ การตี พิ ม พ เผยแพร ในวารสารวิ ช าการระดั บ ชาติ / ( ) ดี นานาชาติ อยู ในฐานข อ มู ล ที่ เป น ที่ ย อมรั บ ในสาขาวิช า ได ย อมรับ ให ( ) ปานกลาง นําเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ ซึ่งเปนผลงานที่ ( ) ไมผาน เกิดจากวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ทั้งดานจํานวนและคุณภาพ -จํานวนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร/การจดทะเบียนรับรอง/สิทธิทางปญญาอื่น ๆ ซึ่งเปนผลงานที่เกิดจากวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ สรุปผลการประเมินการสอบปกปองวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ( ) Excellence ( ) Good ( ) Pass ( ) Fail หมายเหตุ: - โดยผลการประเมิน ในภาพรวมจะต องไดรับผลการประเมิ นใน ระดับนั้น ๆ ไมนอยกวา 2 ใน 4 ของหัวขอ การประเมิน - นั ก ศึ กษาจะได รับ ผลการประเมิ น ระดั บ excellence ได ตอ งมี ผลงานที่ไดรับการตีพิมพหรืออยางนอย ไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติ/นานาชาติ หรือ ผลงานวิจัยที่ถูกนําไปใชประโยชนที่เปน ประจั ก ษ (ซึ่ ง กรณี ของการนํ า ผลงานวิ จั ย ไปใช ป ระโยชน คณะกรรมการตองชี้แจงเหตุผลประกอบ) ขอคิดเห็นอื่นๆ .............................................................................................................................................................

ลงนาม ................................................................ ตําแหนงประธานกรรมการ/กรรมการ

สําหรับสรุปสงงานบริการการศึกษา


แบบฟอรมการประเมินการสอบวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ชื่อผูสอบปกปองวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ....................................................................................... ชื่อผูประเมิน ………………………………………………………………………………………. หัวขอการประเมิน ระดับที่ได 1) คุณภาพของผลงานวิทยานิพนธ/รายงานการศึกษาอิสระ ( ) ดีเยี่ยม -การแสดงถึงความสําคัญของปญหาที่ตองทําการวิจัย ( ) ดี -ความชัดเจนของวัตถุประสงคและความสอดคลองกับปญหาการวิจัย ( ) ปานกลาง -การทบทวนวรรณกรรมครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ สู ( ) ไมผาน การกําหนดแนวคิดการวิจัยเหมาะสม -วิธีการดําเนินการวิจัย การใชเครื่องมือที่ถูกตองเหมาะสมในการเก็บขอมูล และการวิเคราะหทางสถิติ -ผลการวิจัยกอใหเกิดองคความรูใหม แนวทางใหม การแกปญหาหรือตอบ โจทยงานวิจัย หรือเกิดประเด็นการวิจัย ตอยอดทางวิชาการ มีการบูรณาการความรูในการอภิปราย สะทอนผลการ วิเคราะหและสังเคราะหในการสะทอน ผลการวิจัยสูการใชประโยชนหรือการตอยอด -การวางโครงสร างของเล ม วิ ท ยานิ พ นธ /รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระและการ จัดลําดับเนื้อหา ความเขาใจในงานที่ทํา และสื่อสารผลงานตอผูอาน -ความถูกตองของภาษาและไวยากรณที่ใชในการเขียน -ความถูกตองและเหมาะสมของการใชตาราง กราฟ และภาพประกอบ -การตรวจ Turnitin (% similarity) 2) คุณภาพการนําเสนอ ( ) ดีเยี่ยม -การนําเสนอผลงานวิจัยเปนลําดับขั้นตอน มีการใชสื่อที่เหมาะสมชวยในการ ( ) ดี สื่อสารตอผูฟง มีการนําเสนอ ( ) ปานกลาง ประเด็นการทําวิจัย สิ่งที่คนพบ การสรุป การอภิปรายผลที่ชัดเจน ( ) ไมผาน -ความสอดคล อ งของเนื้ อ หาในเล ม กั บ การนํ า เสนอปากเปล า และอยู ใน ระยะเวลาที่เหมาะสม -บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผูนําเสนอ 3) ความสามารถในการตอบคําถาม ( ) ดีเยี่ยม -ความสามารถในการตอบคําถามโดยการใหเหตุผลและอางหลักฐานสนับสนุน ( ) ดี ทางวิชาการ ( ) ปานกลาง -การตอบคําถามหรือแสดงความคิดเห็นที่แสดงถึงความเขาใจในงานวิจัยที่ ( ) ไมผาน

คูมือนักศึกษา 2561

266 -81 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ


คูมือนักศึกษา 2561

266 -9 ประกาศเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ หัวขอการประเมิน

ระดับที่ได

ดําเนินการ ความสัมพันธของ ผลงานวิจัยกับบริบทของสาขาที่เกี่ยวของอื่น ๆ 4) การนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน ( ) ดีเยี่ยม -ผลงานวิจัยไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ ( ) ดี อยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในสาขาวิชา ไดยอมรับใหนําเสนอผลงานใน ( ) ปานกลาง ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ ซึ่งเปนผลงานที่เกิดจากวิทยานิพนธ/ ( ) ไมผาน การศึกษาอิสระ ทั้งดานจํานวนและคุณภาพ -จํานวนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร/การจดทะเบียนรับรอง/สิทธิทางปญญาอื่น ๆ ซึ่งเปนผลงานที่เกิดจากวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ สรุปผลการประเมินการสอบปกปองวิทยานิพนธ/การศึกษาอิสระ ( ) Excellence ( ) Good ( ) Pass ( ) Fail หมายเหตุ: - โดยผลการประเมินในภาพรวมจะตองไดรับผลการประเมินในระดับ นั้น ๆ ไมนอยกวา 2 ใน 4 ของหัวขอ การประเมิน - นั ก ศึ ก ษาจะได รั บ ผลการประเมิ น ระดั บ excellence ได ต อ งมี ผลงานที่ไดรับการตีพิมพหรืออยางนอย ได รับ การยอมรับ ให ตีพิ มพ ในวารสารระดั บ ชาติ /นานาชาติ หรื อ ผลงานวิจัยที่ถูกนําไปใชประโยชนที่เปน ประจั ก ษ (ซึ่ ง กรณี ของการนํ าผลงาน วิ จั ย ไป ใช ป ระโยชน คณะกรรมการตองชี้แจงเหตุผลประกอบ) ขอคิดเห็นอื่น ๆ ............................................................................................................................................................. ลงนาม ................................................................ ตําแหนงประธานกรรมการ/กรรมการ


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ ตอนที่ 5 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 5.1 การขอทาบัตรประจาตัวนักศึกษา นักศึกษาใหม่ ในวันส่งเอกสารรายงานตัวขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา นักศึกษาทุกคนจะต้องส่งรูปถ่ายจานวน 1 รูป ขนาด 1 นิ้ว เพื่อทาบัตรประจาตัวนักศึกษา และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการจะ ดาเนินการส่งให้คณะที่นักศึกษาสังกัด หลังจากวันเปิดภาคการศึกษา 1 สัปดาห์ นักศึกษาเก่า 1. กรณีบัตรหมดอายุหรือบัตรชารุด เขียนใบคาร้องทาบัตรใหม่ พร้อมแนบบัตรเดิมและยื่นคาร้อง ชาระเงิน 100 บาท ณ กลุ่มภารกิจบริการ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 2. กรณีบัตรหาย เขียนใบคาร้องทาบัตรใหม่ พร้อมทั้งแนบใบแจ้งความ และยื่น คาร้องชาระเงิน 100 บาท ณ กลุ่มภารกิจบริการ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ การแต่งกาย แต่งกายสุภาพ ผู้ชายไม่สวมเสื้อยืด ผู้หญิงไม่สวมเสื้อยืด เสื้อไม่มีแขน วันเวลา วันจันทร์ – วันเสาร์ เวลา 09.00 น. - 15.30 น. 5.2 ขั้นตอนการลงทะเบียน สานักบริหารและพัฒนาวิชาการได้พัฒนาระบบทะเบียนใหม่ เป็นระบบ WEB-BASE ที่ให้บริการนักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ได้ตลอด 24 ชั่วโมง จากเครือข่าย Internet http://reg.kku.ac.th โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เข้าสู่ระบบ : Login ก่อนที่นักศึกษาจะเข้าไปลงทะเบียนได้ นักศึกษาต้องทาการ Login เข้าสู่ระบบก่อน โดย คลิกที่เมนู "เข้าสู่ระบบ" จากนั้นให้นักศึกษาใส่รหัสประจาตัวนักศึกษาและรหัสผ่าน ซึ่งรหัสผ่านเริ่มต้นของ นักศึกษาคือรหัสประจาตัวนักศึกษาเอง เช่น รหัสประจาตัว 615080099-9 รหัสผ่านคือ รหัสประจาตัว ประชาชน เมื่อนักศึกษาใส่รหัสประจาตัวและรหัสผ่านแล้ว คลิกที่ปุ่ม “ตรวจสอบ” ในหน้าจอด้านล่าง (นักศึกษาสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านของตนเองได้ในภายหลัง) 2. ลงทะเบียน เมื่อนักศึกษาทาการ Login แล้วคลิกที่เมนู "ลงทะเบียน" ด้านซ้ายมือเพื่อเข้าสู่หน้าจอลงทะเบียนจากนั้น เลือกรูปแบบการลงทะเบียนซึ่งมี 2 แบบ คือ 2.1 ลงทะเบียนแบบปกติใช้ในการลงทะเบียนทั่วไป ให้ป้อนรหัสวิชาและกลุ่มเรียนที่ต้องการลงทะเบียนและ กดปุม่ "บันทึก"

คู่มือนักศึกษา 2561

269


คู่มือนักศึกษา 2561

270 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 2.2 ลงทะเบียนแบบพิเศษ เมื่อต้องการลงทะเบียนข้ามระดับการศึกษาเลือกรูปแบบการศึกษาหรือ กาหนดจานวนหน่วยกิตที่จะลงทะเบียนเองได้ วิธีใช้งานเลือกระดับการศึกษา ป้อนรหัสวิชา, กลุ่มเรียน, จานวนหน่วยกิตและเลือกระบบเกรดที่ต้องการลงทะเบียน เช่น CD AU SU VS จากนั้นกดปุ่ม "บันทึก" เพื่อบันทึกข้อมูล หากนักศึกษาต้องการยกเลิกรายวิชาที่เลือกไว้ให้กดปุ่ม "(ลบ)" ด้านหลังรายวิชานั้นๆ ซึ่ งนั ก ศึ ก ษาสามารถแก้ ไ ขรายการลงทะเบี ย นที่ ท าไว้ ไ ด้ จ นมั่ น ใจแล้ ว จึ ง ท าการยื น ยั น การ ลงทะเบียน 3. ยืนยันการลงทะเบียน การลงทะเบียนจะไม่เกิดผลใดๆ หากนักศึกษายังไม่ทาการยืนยันการลงทะเบียน ทาได้โดยคลิกที่ "เมนู" "ยืนยันการลงทะเบียน" จากหน้าจอด้านซ้ายมือ จากนั้นระบบจะแสดงผลรายการลงทะเบียน และตารางสอบของรายวิชาที่นักศึกษาได้เลือกไว้ ให้นักศึกษากดปุ่ม “ยืนยันการลงทะเบียน” เมื่อ ทานผลรายการจนมั่นใจเมื่อยืนยันการลงทะเบียนแล้วจะถือเป็นการสิ้นสุด จะเปลี่ยนแปลงแก้ไข รายการอีกไม่ได้ 4. การลงทะเบียนช้า/เพิ่ม/ถอน เมื่อถึงช่วงของการลงทะเบียนเรียนช้าเมนู "ลงทะเบียนช้า" จะปรากฏขึ้นแทนเมนูลงทะเบียน นักศึกษาจะดาเนินการเช่นเดียวกับการลงทะเบียนเรียน และเมื่อถึงช่วงที่นักศึกษาทาการเพิ่ม/ถอน รายวิชา เมนู "ลงทะเบียนเพิ่มถอน" จะปรากฏขึ้นนักศึกษาบันทึกข้อมูลการเพิ่ม/ถอน รายวิชา และ มาชาระเงินที่สานักทะเบียนและประมวลผล นักศึกษาสามารถพิมพ์ใบแจ้งยอดการชาระเงินทาง WEB ได้ทั่วประเทศ และนาไป ชาระเงินที่ธนาคาร 6 แห่ง ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือที่ทาการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ หรือ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ตามวันที่ระบุไว้ในใบแจ้งยอดฯ 5.3 การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ผู้มีสิทธิ์ขอโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ได้แก่ นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา จะต้องยื่นคาร้องเทียบ โอนรายวิชาภายใน 15 วันนับถัดจากวันเปิดภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา และสามารถยื่นคาร้องได้ เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ให้คณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาการโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ตามคาร้องของนักศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันสุดท้ายของระยะเวลาที่กาหนดเป็น วัน ยื่ นค าร้ อง และแจ้ งผลการอนุ มัติ ไ ปยังบั ณ ฑิต วิ ท ยาลั ย และส านั ก บริห ารและพั ฒนาวิ ชาการ รายวิ ชาที่ป ระสงค์จ ะขอโอนเป็ นรายวิชาที่ สอบผ่ านมาแล้ วไม่เ กิน 5 ปีก ารศึก ษา นั บจากวั น ลงทะเบียนรายวิชานั้นถึงวันที่มหาวิทยาลัยได้รับคาร้องขอเทียบโอน การเทียบโอนรายวิชาและค่า คะแนนของรายวิชาให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 23/2560 เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาใน ระบบ


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ การขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา มีขั้นตอนดังนี้  นักศึกษาที่ประสงค์จะขอโอนหน่วยกิตและค่าคะแนนของรายวิชา ยื่นคาร้อง (บว. 36) ที่งานบริการ การศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด โดยแนบใบแสดงผลการศึกษา รายละเอียดของรายวิชา และเค้าโครง รายวิชาเพื่อประกอบการพิจารณา ยกเว้นผู้ขอเทียบโอนที่เคยศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอเทียบโอน ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ให้แนบเฉพาะใบแสดงผลการศึกษาเท่านั้น  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกต้อง โดยให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น  งานบริการการศึกษาคณะแจ้งผลการอนุมัติไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และสานักบริหารฯ 5.4 การขอแจ้งการเปลี่ยนชื่อ - ชื่อสกุล กรณีที่ชื่อ-ชื่อสกุลของนักศึกษาไม่ถูกต้อง หรือมีการเปลี่ยนชื่อ-ชื่อสกุล หรือเปลี่ยนคานาหน้าชื่อ/ยศ หากนักศึกษาประสงค์จะขอให้เปลี่ยนแปลงข้อมูลดังกล่าว ให้ติดต่อฝ่ายทะเบียนประวัติ สานักบริหารและพัฒนา วิชาการ อาคารศูนย์วิชาการ โดย กรอกข้อความในคาร้องยื่นต่อ ผู้อานวยการสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ พร้อมทั้งแนบสาเนาเอกสาร ที่ใช้เป็นหลักฐาน อย่างละ 3 ชุด คือ 1. ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล และทะเบียนสมรส หรือคาสั่งเลื่อนยศ 2. สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน 3. สาเนาทะเบียนบ้าน กรณีการขอแก้ไขตัวสะกดภาษาอังกฤษ กรอกคาร้องยื่นที่ช่องการเงินเพื่อชาระค่าธรรมเนียม 50 บาท และนาคาร้องที่ชาระค่าธรรมเนียมแล้ว ยื่นที่งานทะเบียนประวัติ เพื่อตรวจสอบและแก้ไขให้ตามคาร้อง 5.5 การลาพักการศึกษา การลาพักการศึกษา สาหรับนักศึกษาใหม่ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย มีมติให้นักศึกษาใหม่ลา พักการศึกษาได้ ในกรณีจาเป็นเท่านั้น เช่น ป่วยหรืออุบัติเหตุ นอกจากนั้นไม่อนุญาตให้ลาพักการศึกษาได้ การลาพักการศึกษาให้ลาพักได้ไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร การลาพักการศึกษามี 2 ลักษณะดังนี้ 5.5.1 ลาพักการศึกษาโดยที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนวิชาเรียน นักศึกษายื่นขอลาพักการศึกษาในช่วงของวัน ต่อทะเบียนและลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่กาหนดในปฏิทินของมหาวิทยาลัย ซึ่งต้องชาระค่าธรรมเนียมสาหรับการ ลาพักการศึกษาสาหรับการรักษาสถานภาพเป็นนักศึกษา 5.5.2 ลาพักการศึกษาภายหลังจากที่ได้ลงทะเบียนวิชาเรียนและชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา เรียบร้อยแล้วไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมการลาพัก สาหรับรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ทั้งนี้ต้องยื่นคาร้อง และได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาก่อนการสอบประจาภาคตามปฏิทินการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกาหนดไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์ ยกเว้นกรณีที่ประสบอุบัติเหตุหรือมีเหตุสุดวิสัยอื่นๆ ซึ่งสามารถขอลาพักเป็นกรณีพิเศษในช่วงหลังวัน ดังกล่าวได้ ลักษณะการลาพักในข้อ 6.5.2 นี้ มหาวิทยาลัยจะไม่คืนค่าธรรมเนียมการศึกษาที่ได้ชาระไปแล้ว นักศึกษาที่ประสงค์จะขอลาพักการศึกษา ให้ปฏิบัติดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

271


คู่มือนักศึกษา 2561

272 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  ขอ คำร้องลำพักกำรศึกษำ (บว.14) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้อง พร้อมทั้งแนบเอกสารเพื่อประกอบการขอลาพัก (เช่น ใบรับรองแพทย์ คาสั่งจากต้น สังกัดฯลฯ) โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร  งานบริการการศึกษาคณะ ตรวจสอบ เพื่อเสนอคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาอนุมัติ  คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดอนุมัติแล้ว งานบริการการศึกษาส่งคาร้องไปที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพื่อตรวจสอบ ก่อนให้นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมสาหรับการลาพักการศึกษา  ชาระเงินค่าธรรมเนียมสาหรับการลาพักการศึกษา 5.6 การขอขยายเวลาศึกษาต่อ นักศึกษาที่ได้รับอนุมัติจากหน่วยราชการหรือหน่วยงานให้เข้าศึกษา แต่ระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้ลา ศึกษาสิ้นสุดลงก่อนสาเร็จการศึกษา มีความประสงค์จะขอขยายเวลาศึกษาต่อจากต้นสังกัดต้องนาหนังสือที่ลงนาม โดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขออนุมัติขยายเวลาศึกษาต่อถึงหัวหน้าหน่วยงาน ขั้นตอนการขอหนังสือขยายเวลา ศึกษาต่อมีดังนี้  ขอ คำร้องขอหนังสือขยำยเวลำศึกษำต่อถึงต้นสังกัด (บว.17) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้องและแนบสาเนาคาสั่ง หรือสาเนาหนังสือจากต้นสังกัดอนุญาตให้ลาศึกษาต่อ ที่ระบุช่วงเวลา การลาศึกษาต่อ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อให้ความเห็นชอบ  ยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด ซึ่งงานบริการการศึกษาคณะจะตรวจสอบ แล้วเสนอคณบดีอนุมัติ  งานบริการการศึกษาคณะจะส่งคาร้องขอขยายเวลาให้บัณฑิตวิทยาลัย จัดทาหนังสือขออนุมัติขยาย เวลาศึกษาต่อถึงต้นสังกัด  นักศึกษาขอรับหนังสือที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามแล้วได้ที่ จุด One Stop Service บัณฑิต วิทยาลัย ภายใน 3 วัน หลังจากยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด 5.7 การขอรายงานตัวเพื่อกลับเข้าปฏิบัติราชการ นักศึกษาที่เป็นข้าราชการที่ประสงค์จะรายงานตัวเพื่อกลับเข้าปฏิบัติราชการ หากได้ลงทะเบียนเรียน รายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว และได้ทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ อยู่ในขั้นที่คณะกรรมการที่ปรึกษาเห็นสมควร กลับเข้ารับราชการได้ นักศึกษาสามารถขอหนังสือรายงานตัวเพื่อกลับเข้าปฏิบัติราชการได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้  ขอคำร้องขอรำยงำนตัวเพื่อกลับเข้ำปฏิบัติรำชกำร (บว.17) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  กรอกคาร้อง เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อให้ ความเห็นชอบ  ยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด ซึ่งงานบริการการศึกษาคณะจะตรวจสอบ และนาเสนอคณบดีอนุมัติ  งานบริการการศึกษาคณะ จะส่งคาร้องขอรายงานตัวเพื่อเข้าปฏิบัติราชการมาที่บัณฑิตวิทยาลัย  บัณฑิตวิทยาลัย จัดพิมพ์หนังสือเสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาลงนาม  นักศึกษาขอรับหนังสือที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามแล้วได้ที่ จุด One Stop Service บัณฑิต วิทยาลัย ภายใน 3 วันหลังจากยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชาสังกัด 5.8 การรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว และอยู่ในระหว่างการขอสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ นักศึกษาต้องต่อทะเบียนเพื่อรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ในช่วงวันต่อทะเบียนและลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่ กาหนดในปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาหรับภาคการศึกษานั้นๆ มิฉะนั้นจะต้องถูกมหาวิทยาลัยสั่งให้ พ้น สภาพการเป็นนักศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 6 ข้อ 26.6 และหมวดที่ 10 ข้อ 55.4 การขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษามีขั้นตอนดังนี้  ขอ แบบรักษำสถำนภำพกำรเป็นนักศึกษำ (บว.13) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน์ โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้อง เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป/ที่ปรึกษาหลัก และประธานคณะกรรมการหลักสูตรเพื่อให้ ความเห็นชอบโดยยื่นคาร้องให้งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบและนาเสนอคณบดี อนุมัติ  ยื่นคาร้องที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ พร้อมกับเอกสารต่อทะเบียน ในวันต่อทะเบียนและ ลงทะเบียนวิชาเรียนตามที่กาหนดในปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาหรับภาคการศึกษานั้นๆ  ชาระเงินค่าธรรมเนียมสาหรับรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ตามอัตราที่กาหนดในระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5.9 การรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 1260/2560 เรื่อง การรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ โดยนักศึกษาในหลักสูตรที่ กาหนดให้การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขในการสาเร็จการศึกษาที่เรียน รายวิ ช าครบตามหลั ก สู ต รแล้ ว สอบและส่ ง วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระฉบั บ สมบู ร ณ์ ใ ห้ บัณฑิตวิทยาลัย/คณะ และได้ดาเนินการจนผ่านเงื่อนไขการสาเร็จการศึกษาอื่นๆ ครบถ้วนแล้ว แต่อยู่ในระหว่างรอ การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่หลักสูตรกาหนด และใช้เวลาในการศึกษายังไม่ครบตาม ระยะเวลาสูงสุดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรหรือระยะเวลาสูงสุดที่กาหนดตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้ ดาเนินการการขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ ดังนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

273


คู่มือนักศึกษา 2561

274 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  ขอ แบบรักษำสถำนภำพกำรเป็นนักศึกษำ (บว.13-1) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่สาขาวิชาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  นักศึกษายื่นคาร้องต่อคณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัด โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ ปรึกษา และต้องแนบเอกสารดังนี้ - สาเนาเอกสารที่แสดงถึงการผ่านเกณฑ์การศึกษาครบถ้วนตามหลักสูตร เช่น หนังสือ รับรองผลการเรียน(Transcripts) ผลการสอบภาษาอังกฤษ ผลการสอบวิทยานิพนธ์ หลักฐาน การส่งวิทยานิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ เป็นต้น - สาเนาบทความที่ส่งไปขอตีพิมพ์พร้อมหนังสือนาส่งและรายละเอียดของวารสารที่ส่งไป ตีพิมพ์ ได้แก่ ชื่อวารสาร  ให้คณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัดพิจารณาอนุมัติ และให้คณะสาเนาคาอนุมัติแจ้งให้ บัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันได้รับอนุมัติ  นักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้รักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ ผลงานวิทยานิพนธ์ ไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา และรักษาสถานภาพ ครั้งละ 1 ภาคการศึกษา 5.10 การขอลาออก นักศึกษาที่ประสงค์จะขอลาออกจากการเป็นนักศึกษา ให้ปฏิบัติดังนี้  ขอ คำร้องขอลำออก (บว.15) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์ โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้อง และตรวจสอบหนี้สินเสร็จเรียบร้อยเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ/ประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อให้ความเห็นชอบ  ยื่นคาร้องที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เจ้าหน้าที่สานัก บริหารและพัฒนาวิชาการ ตรวจสอบเสนอ ผอ.สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพื่อให้ความเห็นชอบ  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ นาเสนอคาร้องของนักศึกษาต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อ พิจารณาอนุมัติ  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ แจ้งผลการพิจารณาของคณบดีบัณ ฑิตวิทยาลัยถึงคณะที่ เกี่ยวข้อง 5.11 การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาต่อเมื่ออยู่ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้  ตาย  ลาออกและได้รับอนุมัติแล้ว  สาเร็จการศึกษา


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  มหาวิทยาลัยสั่งให้ออก อันเนื่องมาจากการฝ่าฝืนระเบียบการลงทะเบียนและการชาระ ค่าธรรมเนียมการศึกษา  เรียนได้จานวนหน่วยกิตไม่เกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่าคะแนนใน หลักสูตร และได้คะแนนเฉลี่ยสะสม ต่ากว่า 2.50  เรียนได้จานวนหน่วยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่าคะแนนและ ได้ คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.75  ไม่มีความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดต่อกันโดย ได้สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ หากได้ S เป็น 0 ก่อนและหลังการ ลาพักการศึกษา ถือว่า เป็นการได้ สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา  สอบวิทยานิพนธ์ หรือสอบประมวลความรู้ หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัดคุณสมบัติ ครั้งที่สองไม่ผ่าน  หลังการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน หากไม่ดาเนินการและ/หรือสอบ วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระครั้งที่ 2 ตามระยะเวลาที่กาหนด  ใช้เวลาการศึกษาครบตามที่หลักสูตรกาหนดแล้ว  นักศึกษาสามัญที่คงสภาพเป็นนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กาหนด  ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดอันได้กระทาโดย ประมาท  ถูกลงโทษทางวินัยให้ออกจากการเป็นนักศึกษา 5.12 การขอกลับเข้าเป็นนักศึกษา นักศึกษาที่พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามข้อ 55.2 ข้อ 55.4 ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 อาจขอสถานภาพการเป็นนักศึกษาคืนได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามประกาศของ บัณฑิตวิทยาลัย ขั้นตอนการกลับเข้าเป็นนักศึกษามีดังนี้  ขอ คำร้องขอกลับเข้ำเป็นนักศึกษำ (บว.18) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่สาขาวิชา สังกัด หรือหรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้องและยื่นคาร้อง เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด เพื่อให้ความเห็นชอบ ก่อนเปิดภาค การศึกษาที่ต้องการกลับเข้าเป็นนักศึกษาไม่น้อยกว่า 3 สัปดาห์  คณะส่งคาร้องต่อสานัก บริหาร ฯ เจ้าหน้าที่สานัก บริหารฯ ตรวจสอบ เสนอต่อ ผอ.สานักบริหาร ฯ ให้ความเห็นชอบ  สานักบริหาร ฯ นาเสนอคาร้องของนักศึกษาต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ

คู่มือนักศึกษา 2561

275


คู่มือนักศึกษา 2561

276 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  สานักบริหารฯ แจ้งผลการพิจารณาของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยถึงคณะที่เกี่ยวข้องและ นักศึกษาเป็นรายบุคคลเพื่อให้มาต่อทะเบียน/ลงทะเบียนวิชาเรียน และชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่ าธรรมเนี ย มการคื น สถานภาพการเป็ น นั ก ศึก ษา ตามก าหนดในปฏิ ทิ น การศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา 5.13 การขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา นักศึกษาอาจสามารถขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษา (เช่น จากหลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 เป็นแผน ข ) ทั้งนี้โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่นักศึกษาเข้า ศึกษาก่อนเปิดภาคการศึกษาอย่างน้อย 3 สัปดาห์ ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษามีดังนี้  ขอคาร้องขอเปลี่ยนแผนการศึกษา (บว.33) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์ โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้องและยื่นคาร้องเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร  งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบ เสนอต่อคณบดีเพื่ออนุมัติ  งานบริการการศึกษาคณะ แจ้งผลการอนุมัติให้สานักบริหารฯ บัณฑิตวิทยาลัย และภาควิชาที่เกี่ยวข้อง  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนแผนการศึกษา  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดาเนินการแก้ไขข้อมูลนักศึกษา 5.14 การขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา นักศึกษาอาจสามารถขอเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา (เช่น จากภาคปกติ เป็นโครงการพิเศษ ฯลฯ) ทั้งนี้โดยผ่าน ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลง ระบบการเรียนมีดังนี้  ขอคาร้องขอเปลี่ยนระบบการศึกษา (บว.33) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์ โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้องและยื่นคาร้องเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร  งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดตรวจสอบ เสนอต่อคณบดีเพื่ออนุมัติ  งานบริการการศึกษาคณะ แจ้งผลการอนุมัติให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย และ ภาควิชาที่เกี่ยวข้อง  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนระบบการศึกษา  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดาเนินการแก้ไขข้อมูลนักศึกษา 5.15 การขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา นั ก ศึ ก ษาสามารถขอเปลี่ ย นแผนการศึ ก ษาได้ โดยนั ก ศึ ก ษาต้ อ งผ่ า นการคั ด เลื อ กเข้ า ศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมีคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรของแผน/แบบการศึกษาที่ต้องการเปลี่ยนใหม่ ซึ่ง การขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ทาได้เ พียงครั้งเดียวเท่านั้น และต้องดาเนินการภายใน 1 ปี การศึกษา ในกรณีที่ขอ เปลี่ยนแผนการศึกษาเกินกว่า 1 ปี ต้องมีความจาเป็นอย่างยิ่ง และให้นาเสนอคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ ให้ความเห็นชอบ ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 25/2560 เรื่อง การเปลี่ยนแผนการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา โดยขั้นตอนการขอเปลี่ยนแผนการศึกษา มีดังนี้  นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนแผนการศึกษา ให้ยื่นคาร้องขอเปลี่ยนแผนการศึกษา (บว.33-1) ต่อ คณะ ที่สาขาวิชาสังกัด โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 สัปดาห์ก่อนเปิดภาคการศึกษา

 ให้คณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัดเป็นผู้อนุมัติโดยพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันยื่นคา ร้อง และแจ้งผลการอนุมัติไปยัง บัณฑิตวิทยาลัย และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนสาขาวิชา  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดาเนินการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนักศึกษา 5.16 การขอเปลี่ยนสาขาวิชา นักศึกษาสามารถขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้ เมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต มี รายวิชาที่สามารถโอนเข้าสาขาวิชาใหม่ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และทุกวิชาที่จะโอนต้องได้ระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แล้วแต่กรณี และได้ศึกษามาแล้วไม่เกิน 3 ปี และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ โดยได้รับอนุมัติจากคณะที่สาขาวิชาใหม่สังกัด ตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 24/2560 เรื่อง การเปลี่ยนสาขาวิชา โดยขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง สาขาวิชา มีดังนี้  นักศึกษายื่นคาร้องขอเปลี่ยนสาขาวิชา (บว.34) ต่อคณะที่หลักสูตรสาขาวิชาเดิมสังกัด โดยความ เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสู ตรเดิมไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ก่อนเปิด ภาคการศึกษา  คณบดีคณะที่หลักสูตรสาขาวิชาใหม่สังกัด เป็นผู้อนุมัติโดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจาคณะ และแจ้งผลการพิจารณาให้คณะ/สาขาวิชาเดิม เพื่อแจ้งนักศึกษาทราบต่อไป  คณะที่สาขาวิชาใหม่สังกัด แจ้งผลการอนุมัติเปลี่ยนสาขาวิชาไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัย ก่อนเปิดภาคการศึกษา  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนสาขาวิชา  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดาเนินการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนักศึกษา 5.17 การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาที่มีความประสงค์ ขอเปลี่ยนระดับการศึกษา จะต้องมีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร สาขาวิชาใหม่ และการขอเปลี่ยนระดับการศึกษาสาหรับนักศึกษาคนหนึ่ง ๆ สามารถกระทาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น กรณีขอเปลี่ยนระดับการศึกษาจากหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เป็นหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ต้องเป็น นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก2 ที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาที่ประเมินผลเป็น A B+ B C+ C D+ D F มาแล้วไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนการสอบวัด คุณสมบัติไม่ต่ากว่า 3.50 หรือ นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัยเพื่อทา

คู่มือนักศึกษา 2561

277


คู่มือนักศึกษา 2561

278 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ วิทยานิพนธ์อันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดุษฎีบัณฑิตได้ และสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ ที่ จัดขึ้ นส าหรับ นัก ศึก ษาในระดับ ปริ ญญาดุ ษฎี บัณ ฑิต ในหลั กสู ตรสาขาวิชานั้น ๆ และให้เ ป็น ไปตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 27/2560 เรื่อง การเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ขั้นตอนการเปลี่ยนระดับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้  นักศึกษาจะต้องยื่นคาร้องขอเปลี่ยนระดับการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาฯ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเดิม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหม่ และคณะกรรมการประจา คณะ เพื่อเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ก่อนเปิด ภาคการศึกษา  คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้อนุมัติการเปลี่ยนระดับการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ประจาบัณฑิตวิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัยแจ้งผลการพิจารณาให้คณะที่สาขาวิชาสังกัด และสานัก บริหารฯ เพื่อแจ้งนักศึกษาทราบและชาระค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนระดับ  สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ดาเนินการแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.18 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่เข้าศึกษา ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 26/2560 เรื่อง การลงทะเบียนเรียน รายวิชาในระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่เข้าศึกษา มีรายละเอียดดังนี้  นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนรายวิชา ที่อยู่ในหลักสูตรระดับที่ต่ากว่าหลักสูตรที่ตนเข้าศึกษาได้ ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และสาขาวิชา การลงทะเบียนรายวิชาที่มีเงื่อนไขของ รายวิชา อาจได้รับยกเว้นไม่ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาทีเป็นเงื่อนไขที่ต้องเรียนมาก่อน ทั้งนี้ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง  ค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนวิชาเรียนให้เรียกเก็บตามอัตราที่กาหนดในระเบียบและ/หรือประกาศ มหาวิท ยาลัยขอนแก่ น ว่า ด้ว ย ค่ าธรรมเนี ยมการศึก ษาตามระดับ ของหลั กสู ตรของรายวิ ชาที่ ลงทะเบียนนั้น ในกรณีที่ไม่มีระเบียบ หรือประกาศรองรับ ให้เรียกเก็บตามอัตราที่กาหนดสาหรับ หลักสูตรที่นักศึกษานั้น ๆ เข้าศึกษา  การนับจานวนหน่วยกิตและการคิดค่าคะแนน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรที่นักศึกษาเข้า ศึกษา รายวิชาใดที่ไม่ได้ระบุในหลักสูตรหรือไม่อยู่ในข้อกาหนดของหลักสูตร จะต้องลงทะเบียนโดยไม่ นับหน่วยกิต (Audit) 5.19 การขอหนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา นักศึกษาที่ประสงค์จะขอหนังสือรับรองให้ปฏิบัติดังนี้  ขอ คำร้องขอหนังสือรับรอง ทีก่ ลุ่มภารกิจบริการ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ หรือดาวน์โหลด ได้ที่เวบไซต์สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ http://reg.kku.ac.th  กรอกค าร้ องและยื่ นค าร้ องที่ ก ลุ่ ม ภารกิ จ บริ ก าร ส านั กบริ หารและพั ฒนาวิ ชาการ พร้ อมชาระเงิ น ค่าธรรมเนียม และติดต่อขอรับหนังสือรับรองได้ที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 5.20 การขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript)  นักศึกษาที่ประสงค์จะขอใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) ฉบับสภาอนุมัติปริญญาหรือฉบับแสดง คะแนนเฉลี่ยสะสมให้ปฏิบัติดังนี้  ขอ คำร้องขอใบแสดงผลกำรศึกษำ ที่กลุ่มภารกิจบริการ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการหรือ ดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ http://reg.kku.ac.th  กรอกคาร้องและยื่นคาร้องที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการพร้อมชาระเงินค่าธรรมเนียม และติดต่อขอรับ ใบแสดงผลการศึกษา ได้ที่สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 5.21 การทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 5.21.1 การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ นักศึกษาจะลงทะเบียนเพื่อทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ได้ต่อเมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบ ตามที่แต่ละหลักสูตรกาหนด โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์อื่น ๆ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่องหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ สาหรับจานวนหน่วยกิตที่ จะลงทะเบียนเรียนให้ เป็นไปตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมหรือเป็นไปตาม ข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา แต่ทั้งนี้ต้องไม่ขัดกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่องหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.21.2 การเสนอแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ/อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ให้นั กศึ กษาเสนอแต่งตั้งอาจารย์ ที่ปรึกษาวิ ทยานิพนธ์ /การศึกษาอิ สระ/อาจารย์ที่ ปรึกษาร่วม ที่ มี คุณสมบัติตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 65/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีขั้นตอนดังนี้  ขอคาร้องขอเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระ/อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (บว.21) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด หรือหรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์ บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกรายละเอี ย ดในค าร้ องตามค าแนะน าของอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาหลั ก และประธาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรลงนามให้ความเห็นชอบ โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาหลักหรือที่ ปรึกษาร่วม ลงลายมือชื่อในคาร้องฯ  ยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัด  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบคุณสมบัติของอาจารย์และเสนอให้คณบดีเห็นชอบให้ แต่งตั้งพร้อมทั้งลงนามในคาสั่ง  งานบริการการศึกษาคณะแจ้งผู้เกี่ยวข้องและบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ

คู่มือนักศึกษา 2561

279


คู่มือนักศึกษา 2561

280 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 5.21.3 การขอเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ/อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ถ้ า หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ /การศึ ก ษาอิ ส ระ นั ก ศึ ก ษาต้ อ ง ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้  ขอคาร้องขอเปลี่ยนแปลงอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ (บว. 21) ที่งาน บริ ก ารการศึ ก ษาคณะที่ นั ก ศึ ก ษาสั ง กั ด หรื อ ดาวน์ โ หลดได้ ที่ เ วบไซต์ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย http://gs.kku.ac.th  กรอกรายละเอียดในคาร้อง โดยระบุชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาคนเดิม พร้อมให้ลงลายมือชื่อ และ ระบุชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก/ร่วมคนใหม่ พร้อมให้ลงลายมือชื่อ และให้ลงนามเฉพาะบุคคล ที่มีการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น  เสนอแบบค าร้ อ งผ่ า นอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาหลั ก และประธานคณะกรรมการบริ ห าร หลักสูตร ให้ความเห็นชอบ  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบ และเสนอให้คณบดีอนุมัติ พร้อมทั้งลงนามในคาสั่ง เปลี่ยนแปลงอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ  งานบริการการศึกษาคณะ แจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องและบัณฑิตวิทยาลัย 5.21.4 การเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ นัก ศึ กษาที่ล งทะเบีย นวิท ยานิ พ นธ์ /การศึ กษาอิส ระแล้ ว จ าเป็ น ต้อ งเสนอเค้ าโครง วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ ปรึกษาร่วมต่อคณบดีที่นักศึกษาสังกัดเพื่อพิจารณาอนุมัติ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 40 โดยระดับปริญญาโทต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ และระดับปริญญาเอกต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 2 ปี หลังจาก ลงทะเบี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ทั้ งนี้ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกจะต้ อ งสอบผ่ า นการสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ ก่ อ นจึ ง จะ ดาเนินการเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้ ขั้นตอนการเสนอเค้าโครงมีดังนี้  ขอ แบบเสนอเค้ำโครงวิทยำนิพนธ์/กำรศึกษำอิสระ (บว.23) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  สาหรับสาขาวิชาที่กาหนดให้มีการสอบเค้าโครง ให้นักศึกษาดาเนินการขอสอบที่คณะ ที่นักศึกษาสังกัดโดยการกาหนดคณะกรรมการสอบเค้าโครง พร้อมทั้งวัน เวลา สถานที่สอบ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ /การศึกษา อิสระ และได้รับอนุมัติจากคณบดีคณะนั้น ๆ  อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ อาจจะเชิญผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา จากภายนอกหรือผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาอื่น เช่น ด้านสถิติ ฯลฯ เป็นกรรมการสอบ เค้าโครงได้  คณะ อาจจะประกาศแจ้งวัน เวลา และสถานที่สอบเค้าโครง ให้นักศึกษา และอาจารย์ที่สนใจเข้ารับฟังและซักถามข้อสงสัยได้


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  เมื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ เห็นชอบเค้าโครงแล้ว นักศึกษา กรอก รายละเอียดในแบบ บว.23 แล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมทุกคนลงนามและประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ลง นามให้ความเห็นชอบ  ยื่นแบบ บว.23 พร้อมทั้งเค้าโครงที่มีหัวข้อครบถ้วนตามที่ระบุในแบบ บว.23(ด้านหลัง) จานวน 6 ชุด ที่คณะที่นักศึกษาสังกัด  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบรูปแบบเค้าโครง และเสนอคณบดีอนุมัติเค้าโครง  งานบริ ก ารการศึ ก ษาคณะส่ ง เค้ า โครงที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ แ ล้ ว ให้ อ าจารย์ ที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธ์ นักศึกษา และส่งสาเนาแบบ บว. 25 ที่อนุมัติแล้วพร้อมแผ่นบันทึก ข้อมูลไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จานวน 1 แผ่น ส่งให้บัณฑิตวิทยาลัย 5.21.5 แนวปฏิบัติในการแต่งตั้งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ แนวปฏิบัติการแต่งตั้งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้สภามหาวิทยาลัยขอนแก่นเห็นชอบ มีขั้นตอนดังนี้  การขออนุมัติแต่งตั้งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละกรณี ให้ประธานหลักสูตรโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนั้นๆจัดทาเอกสารเพื่อประกอบการเสนอ พิจารณาแต่งตั้ง เสนอขอแต่งตั้งตาม แบบ บว.42  คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะพิจารณา และส่งเรื่องให้งานบริการการศึกษา ตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ และเสนอคณบดีคณะที่รับผิดชอบหลักสูตร  คณบดีคณะที่รับผิดชอบหลักสูตรส่งเรื่องให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณา และให้ คณะกรรมการประจ าบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย พิ จ ารณา กลั่ น กรอง และเสนอสภา มหาวิทยาลัยขอนแก่นเห็นชอบ 5.21.6 การขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล ทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ นักศึกษาที่ประสงค์จะขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลทาวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระจาก หน่วยงานต่างๆ จาเป็นต้องมีหนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อขอความอนุเคราะห์จาก หน่วยงานนั้น ๆ ขั้นตอนของการขอหนังสือจากคณะที่นักศึกษาสังกัดมีดังนี้  จัดพิมพ์หนังสือ 2 ฉบับคือ - ฉบับที่ 1 บันทึกข้อความจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ถึงคณบดีคณะนั้น ๆ เพื่อ แจ้งความประสงค์และขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลโดยผ่านความ เห็นชอบของหัวหน้า ภาควิชาหรือประธานหลักสูตร - ฉบับที่ 2 หนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดถึงหน่วยงานที่ต้องการขอความ อนุเคราะห์โดยแต่ละหน่วยงานให้ พิมพ์ต้นฉบับ 1 ชุดและสาเนา 2 ชุด (ดูตัวอย่าง ภาคผนวก)

คู่มือนักศึกษา 2561

281


คู่มือนักศึกษา 2561

282 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  ยื่นหนังสือฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ที่งานบริการการศึกษาคณะ  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอให้คณบดีลงนาม  นักศึกษาขอรับหนังสือจากงานบริการการศึกษาคณะไปดาเนินการจัดส่งให้หน่วยงาน ต่างๆ ด้วยตนเอง 5.21.7 การขอความอนุเคราะห์ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือในการ วิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ นักศึกษาที่ประสงค์จะขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานต่าง ๆ ในการให้บุคลากรของหน่วยงานนั้น เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือในการทาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระจาเป็นต้องมีหนังสือ ราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัดเพื่อขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานนั้น ๆ ขั้นตอนของการขอหนังสือจากคณะที่ นักศึกษาสังกัดมีดังนี้ จัดพิมพ์หนังสือ 2 ฉบับคือ - ฉบับที่ 1 บันทึกข้อความจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ฯลฯ ถึงคณบดีที่นักศึกษา สังกัดโดยผ่ำนควำมเห็นชอบของประธำนคณะกรรมกำรบริหำรหลักสูตร - ฉบับที่ 2 หนังสือราชการจากคณะที่นักศึกษาสังกัด ถึงหัวหน้าหน่วยงานของบุคคลที่ ต้องการขอความอนุเคราะห์โดยแต่ละหน่วยงานให้พิมพ์ต้นฉบับ 1 ชุด และสาเนา 2 ชุด (ดูตัวอย่างภาคผนวก)  ยื่นหนังสือฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ที่งานบริการการศึกษาคณะ  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอให้คณบดีลงนาม  นักศึกษาขอรับหนังสือจากงานบริการการศึกษาคณะไปดาเนินการจัดส่งให้หน่วยงาน ต่างๆ ด้วยตนเอง 5.21.8 การขอสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ 5.21.8.1 การสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 44 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.21.8.2 การขอสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ มีขั้นตอนดังนี้  ขอ คำร้องขอสอบวิทยำนิพนธ์/กำรศึกษำอิสระ (บว.25) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.25 เสนออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และประธาน หลักสูตร ให้ความเห็นชอบ พร้อมแบบฟอร์ม Turnitin Originality Report (ตาม ประกาศ บว. ฉบับที่ 30/2560) และส่งวิทยานิพนธ์/รายงานการศึกษาอิสระที่ยังไม่ เข้าปกให้งานบริการการศึกษาเท่ากับจานวนกรรมการสอบ ก่อนวันกาหนดสอบอย่าง น้อย 20 วัน


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  งานบริ ก ารการศึ ก ษาพิ ม พ์ ใบแสดงผลการศึ กษาของนั กศึ กษาที่ ขอสอบจากระบบ On-line ของสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ตรวจสอบคุณสมบัติของนักศึกษาที่ขอ สอบ และผลสอบภาษาอังกฤษ  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมสอบ ที่งานการเงินคณะที่นักศึกษาสังกัด  งานบริการการศึกษาคณะเสนอคาร้องขอสอบให้คณบดีอนุมัติและส่งวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระ ให้คณะกรรมการสอบอ่านก่อนสอบ  งานบริการการศึกษาคณะสาเนาคาร้องขอสอบแจ้งบัณฑิตวิทยาลัย 5.21.8.3 การเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ มีขั้นตอนดังนี้  ประธานหลักสูตร เสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระพร้อม คุณวุฒิและผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อคณบดีเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบคุณสมบัติอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ /การศึกษา อิสระตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 65/2559) เรื่อง หลั ก เกณฑ์ แ ละแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ อาจารย์ ร ะดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาและประกาศบั ณ ฑิ ต วิท ยาลัย มหาวิ ทยาลั ย ขอนแก่น ฉบั บที่ 30/2560 เรื่อ งหลั กเกณฑ์แ ละแนวปฏิ บั ติ เกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ  เสนอให้คณบดีพิจารณาแต่งตั้งและลงนามในคาสั่ง งานบริการการศึก ษาส่งสาเนา คาสั่งแต่งตั้งให้บัณฑิตวิทยาลัยและภาควิชาเพื่อแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 5.21.8.4 การดาเนินการเกี่ยวกับการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ การสอบวิทยานิพนธ์ ดาเนินการสอบตามระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ข้อ 44.2 และประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ฉบั บ ที่ 30/2560 เรื่ อ ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ การสอบการศึกษาอิสระ ดาเนินการสอบตามระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ข้อ 44.3 และประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ฉบั บ ที่ 30/2560 เรื่ อ ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.21.8.4 การแจ้งผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ดาเนินการตาม ระเบียบฯ พ.ศ. 2559 ข้อ 46 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.21.9 การขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ หากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระ ลงความเห็นให้มีการปรับหรือ เปลี่ยนชื่อ เรื่องวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระให้นักศึกษาดาเนินการขออนุมัติเปลี่ยนตามขั้นตอนดังนี้  ขอคาร้องขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ (บว.24) ที่งานบริการการศึกษาคณะ ที่นักศึกษาสังกัดหรือ หรือดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  กรอกคาร้อง เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และประธานหลักสูตร เพื่อให้ความเห็นชอบ

คู่มือนักศึกษา 2561

283


คู่มือนักศึกษา 2561

284 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ  ยื่นคาร้องที่งานบริการการศึกษาคณะ งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบและเสนอต่อคณบดีเพื่อ ลงนามอนุมัติ  งานบริการการศึกษาคณะ แจ้งบัณฑิตวิทยาลัยและสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 5.21.10 การส่งวิทยานิพนธ์/การส่งรายงานศึกษาอิสระ การส่งวิทยานิพนธ์ นักศึกษาที่สอบผ่านวิทยานิพนธ์ เรียบร้อยแล้ว ให้รีบดาเนินการตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ และการศึกษาอิสระ การส่งรายงานการศึกษาอิสระ นักศึกษาที่สอบผ่านการศึกษาอิสระ เรียบร้อยแล้ว ให้รีบ ดาเนินการตามที่คณะกาหนด และตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 30/2560 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 5.22 การสอบประมวลความรู้ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ที่ ศึ ก ษาในหลั ก สู ต รแผน ข ต้ อ งสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 28/2560 เรื่อง การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ ขั้นตอนการสอบประมวลความรู้มีขั้นตอนดังนี้  ขอ คำร้องขอสอบประมวลควำมรู้ (บว.30) ที่งานบริการการศึกษาคณะที่นักศึกษาสังกัดหรือ ดาวน์โหลดได้ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.30 แล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปฯกาหนดวัน เวลา และ สถานที่สอบพร้อมทั้งลงนาม และประธานหลักสูตร ลงนามให้ความเห็นชอบ  ยื่นแบบ บว.30 ที่งานบริการการศึกษาคณะ ก่อนการสอบอย่างน้อย 15 วัน  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอให้คณบดีอนุมัติการสอบ  นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้  คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ดาเนินการสอบตามกาหนดวันเวลาที่ระบุสาหรับแต่ละสาขาวิชา โดยเป็นผู้ ดาเนินการจัดสอบประมวลความรู้ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ในกรณีที่ จาเป็นอาจ จัดการสอบในภาคการศึกษาเดียวกันได้อีก 1 ครั้ง และสามารถจัดสอบในภาคการศึกษาพิเศษ ได้ โดยการสอบประมวลความรู้เป็นการสอบข้อเขียน หรือการสอบปากเปล่า หรือการสอบทั้ง สอบแบบ  ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบต่อคณะ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และ บัณฑิตวิทยาลัย ผ่านประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ แจ้งผลการสอบโดยใช้ ใบแจ้งผลการสอบประมวลความรู้ (บว.32)  งานบริการการศึกษาคณะ สาเนาผลการสอบประมวลความรู้แจ้งให้บัณฑิตวิทยาลัยและสานัก บริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบ


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ 5.23 การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบวัดคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 28/2560 เรื่อง การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ และมีขั้นตอน ดังนี้  ขอคาร้องสอบวัดคุณสมบัติ (บว.30) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัด หรือดาวน์โหลดได้ ที่เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th  นักศึกษากรอกรายละเอียดในแบบ บว.30 แล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป กาหนดวันเวลาและ สถานที่สอบพร้อมทั้งลงนาม และประธานหลักสูตร ลงนามให้ความเห็นชอบ  ยื่นแบบ บว.30 ที่งานบริการการศึกษาคณะก่อนการสอบอย่างน้อย 15 วัน  งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอให้คณบดีอนุมัติการสอบ  นักศึกษาชาระค่าสอบวัดคุณสมบัติ  คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ จัดสอบวัดคุณสมบัติ และให้ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบต่อ คณะ สานักบริหารและพัฒนาวิ ชาการ และบัณฑิตวิท ยาลัย ผ่า น ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ แจ้งผลการสอบโดยใช้ใบแจ้งผลการสอบ ประมวลความรู้/วัดคุณสมบัติ (บว.32)  งานบริ ก ารการศึ ก ษาคณะ ส าเนาผลการสอบวั ดคุ ณ สมบั ติ แจ้ งให้ บั ณฑิ ต วิท ยาลัย และ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ทราบ 5.24 การสาเร็จการศึกษา นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาใน ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50 ให้คณะกรรมการประจาคณะเป็นผู้อนุมัติการสาเร็จการศึกษา และให้ถือวันที่ได้รับอนุมัตินั้นเป็นวันสาเร็จการศึกษา 5.25 การขออนุมัติปริญญา นักศึกษาผู้คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา ให้ยื่นคาร้องแสดงความจานงขอ สาเร็จการศึกษาต่อคณะล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษานั้น นักศึกษาที่จะได้รับการพิจารณาเสนอชื่อจากคณะเพื่อขออนุมัติปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัย ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 4.25.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาตามระเบียบฯ 2559 ข้อ 50 4.25.2 ไม่ค้างชาระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ 4.25.3 เป็นผู้ไม่อยู่ในระหว่างการดาเนินการทางวินัยนักศึกษา 4.25.4 ส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จัดทาตามรูปแบบและ จานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด การเสนอชื่อผู้สาเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัย กาหนด นอกจากนี้ นักศึกษาจะต้องดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบหนี้สิน ใบแจ้งความจานงสาเร็จการศึกษา และการตรวจสอบหนี้สิ้น (บว.20) ที่งานบริการการศึกษา คณะที่นักศึกษาสังกัดและให้หน่วยงานต่างๆ ได้แก่ สานัก

คู่มือนักศึกษา 2561

285


คู่มือนักศึกษา 2561

286 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ วิทยบริการ สาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัด และลงนามรับรองในแบบ บว.20 ว่านักศึกษาไม่มีหนี้สินค้างชาระใดๆ แล้ว ยื่นแบบ บว.20 ที่งานบริการการศึกษาคณะตรวจสอบ และเสนอให้คณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดรับทราบ เพื่อนาไป ประกอบการพิจารณาเสนอชื่อผู้สาเร็จการศึกษาต่อสภามหาวิทยาลัย 5.26 การขอรับปริญญา 5.26.1 การขอรับปริญญาบัตร นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาให้ติดต่อสานัก บริหารและพัฒนาวิชาการเพื่อขอแบบฟอร์มขอรับปริญญาบัตร พร้อมทั้งกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มยื่นต่ อสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ซึ่งสานักบริหารฯจะใช้ข้อมูลใน แบบฟอร์มดังกล่าวสาหรับการติดต่อกับนักศึกษาเกี่ยวกับงานพระราชทานปริญญาบัตรรายละเอียดเครื่องแต่งกาย รับปริญญาสามารถดูได้ที่เว็บไซต์ http://reg.kku.ac.th 5.27 เงื่อนไขของหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 5.27.1 เงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการขอความร่วมมือเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลจากโรงเรียนในสังกัด สามัญศึกษา ตามหนังสือที่ ศธ 0808/1983 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2528 กรมสามัญศึกษาได้กาหนดเงื่อนไขและแนว ปฏิบัติในการขอความร่วมมือเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลจากโรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษาดังนี้ การติดต่อขอความร่วมมือ (1) กรมสามัญศึกษาสนับสนุนให้มีการติดต่อขอความร่วมมืออย่างเป็นทางการโรงเรียนใน สังกัดกรมสามัญศึกษาทุกแห่งย่อมมีสิทธิที่จะปฏิเสธที่จะไม่ให้ความร่วมมือแก่นักศึกษาที่เข้าไปติดต่อโดยไม่มี หนังสืออนุญาตอย่างเป็นทางการ หรือแม้จะมีหนังสืออนุญาตอย่างเป็นทางการ โรงเรียนก็ยังคงสงวนสิทธิที่จะไม่ให้ ข้อมูลบางอย่างที่เห็นว่าไม่สมควรได้ (2) ในการติดต่อขอความร่วมมืออย่างเป็นทางการนั้น ในกรณีที่ต้องการรวบรวมข้อมูลจาก โรงเรียนในส่วนกลางหรือจากโรงเรียนในท้องที่เกินกว่าหนึ่งเขตการศึกษา คณะจะต้องทาหนังสือราชการเพื่อขอ ความร่วมมือไปยังอธิบดีกรมสามัญศึกษาโดยแนบเอกสารต่อไปนี้เพื่อประกอบการพิจารณาคือ (2.1) โครงร่าง (Proposal) วิทยานิพนธ์ (2.2) แผนการและวิธีการรวบรวมข้อมูล (2.3) รายชื่อโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง (3) ในกรณีที่นักศึกษาต้องการรวบรวมข้อมูลจากโรงเรียนเฉพาะในท้องที่เขตการศึกษาใดเขต การศึกษาหนึ่งเท่านั้น คณะจะต้องทาหนังสือราชการขอความร่วมมือไปยังศึกษาธิการเขตของเขตการศึกษานั้นๆ โดยจะต้องแนบเอกสารดังข้อ (2.1),(2.2) และ (2.3) เพื่อประกอบการพิจารณาด้วยเช่นกัน (4) ในการติดต่อขอความร่วมมือในข้อ (2) และ (3) นั้น คณะควรติดต่อกรมสามัญศึกษาหรือ ศึกษาธิการเขตก่อนวันดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากโรงเรียนอย่างน้อย 14 วัน เมื่อกรมสามัญศึกษาหรือศึกษาธิการ เขตพิจารณาเห็นชอบด้วยกับวิธีการรวบรวมข้อมูลที่ระบุไว้แล้วนั้ น กรมสามัญศึกษาหรือเขตการศึกษาจะออก หนังสือถึงโรงเรียนให้ เพื่อให้ผู้ทาวิทยานิพนธ์นาไปติดต่อกับโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างในการดาเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลต่อไป


แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ การรวบรวมข้อมูล เท่าที่ผ่านมา ผู้ทาวิทยานิพนธ์มักจะใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลที่สร้างภาระเป็นอย่างมากแก่ โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล กล่าวคือ มักส่งแบบสอบถามที่มีความยาวมาก ๆ ให้กรอก และผู้ให้ข้อมูลต้องหารายละเอียด ต่าง ๆ เพื่อกรอกแบบสอบถามให้ ผลที่เกิดขึ้นก็คือแบบสอบถามนั้น ๆ ได้รับกลับคืนมาน้อยและข้อมูลที่ได้มักไม่ สมบูรณ์ กรมสามัญศึกษาใคร่ขอเสนอแนะให้พยายามหลีกเลี่ยงวิ ธีการดังกล่าว และขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) รวบรวมข้อมูลจากโรงเรียนเฉพาะที่จาเป็นเท่านั้น ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติต่างๆ ของโรงเรียนควร ค้นคว้าจากแบบ รศ.2 และ ร.ค. ซึ่งเก็บไว้ที่กองแผนงาน กรมสามัญศึกษา ไม่จาเป็นต้องสอบถามโรงเรียนโดยตรง (2) ใช้ วิ ธี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ที่ ส ร้ า งภาระน้ อ ยแก่ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล กล่ า วคื อ หลี ก เลี่ ย งวิ ธี ก ารส่ ง แบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปให้กรอก แต่ผู้ทาวิทยานิพนธ์ควรหาข้อมูลด้วยวิธีการไปเยี่ยมเยือนโดยตรง สัมภาษณ์ แล้วกรอกข้อมูลลงแบบสอบถามด้วยตนเอง ซึ่งจะได้ประโยชน์จากการสังเกตสภาพต่าง ๆ เป็นหลักฐานเพิ่มเติม (3) มีการวางแผนการรวบรวมข้อมูลร่วมกับโรงเรียนผู้ให้ข้อมูล เพื่อเปิดโอกาสให้โรงเรียนมีความ สะดวกที่จะร่วมมืออย่างเต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ผู้ทาวิทยานิพนธ์จะขอทดสอบนักเรียน ควรได้มีการ วางแผนร่วมกับบุคลากรในโรงเรียนนั้น ๆ เป็นการล่วงหน้า (4) มีการสุ่มโรงเรียนตัวอย่างกระจายกันออกไปเพื่อให้โรงเรียนทุกโรงได้รับภาระการให้ข้อมูล ทัดเทียมกัน มิใช่สุ่มตัวอย่างแบบจงใจให้ได้แต่โรงเรียนที่เดินทางติดต่อได้สะดวกเท่านั้น (5) มีการสุ่มตัวอย่างเผื่อเพื่อให้มีโรงเรียนสารองสาหรับให้ข้อมูลทดแทนในกรณีที่โรงเรี ยนที่ถูก เลือกเป็นตัวจริงไม่สามารถให้ข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์เมื่อนักศึกษาทาวิทยานิพนธ์เรื่องนั้นๆ เสร็จสมบูรณ์แล้วขอให้ บัณฑิตวิทยาลัยส่งให้กรมสามัญศึกษาหรือเขตการศึกษานั้นๆ แล้วแต่กรณี จานวน 1 เล่ม ทั้งนี้เพื่อกรมสามัญศึกษาหรือ เขตการศึกษาจะได้นาผลการค้นพบที่ได้จากวิทยานิพนธ์เรื่องนั้นไปพิจารณาประกอบการปรับปรุงโรงเรียนในสังกัดต่อไป 5.27.2 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแจกแบบสอบถามเพื่อทาการวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ในสถานศึกษาของ กรมอาชีวศึกษา ด้ว ยกรมอาชีว ศึ กษาพิ จารณาเห็ นว่ า เพื่อ ประโยชน์ ทางวิ ชาการ และเพื่อ ให้ การแจก แบบสอบถามของนิสิตนักศึกษาหรือบุคคลภายนอกในสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษาเป็นไปโดยเรียบร้อย จึง กาหนดแนวปฏิบัติในเรื่องนี้ไว้ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ ป ระสงค์ จ ะแจกแบบสอบถามในสถานศึ ก ษาสั งกั ด กรมอาชี ว ศึ ก ษาเพื่ อ ท าวิ จั ย หรื อ วิทยานิพนธ์ จะต้องยื่นเรื่องราวขออนุญาตจากกรมอาชีวศึกษาก่อน (2) การยื่นเรื่องราวขออนุญาต จะต้องยื่นเป็นหนังสือขออนุญาตจากอธิการบดี คณบดี หรือ หัวหน้าส่วนราชการที่ผู้ประสงค์จะแจกแบบสอบถามศึกษาหรือปฏิบัติราชการอยู่ (3) การยื่นเรื่องราวขออนุญาต จะต้องแนบแบบสอบถามไปประกอบการพิจารณาด้วย (4) กรมอาชี ว ศึ ก ษาจะพิ จ ารณาความประสงค์ แ ละแบบสอบถามดั งกล่ า ว หากเห็ น ว่ า แบบสอบถามนั้นไม่เหมาะสม กรมอาชีวศึกษาจะแจ้งให้สถาบันหรือหน่วยงานเจ้าของเรื่องปรับปรุงแบบสอบถาม ใหม่ หากเห็นว่าแบบสอบถามนั้นเหมาะสมแล้วก็จะปฏิบัติดังนี้ (4.1) แจ้ งการอนุ ญ าตการแจกแบบสอบถามให้ ส ถานศึ ก ษาของกรมอาชี ว ศึ ก ษาที่ เกี่ยวข้องทราบโดยหนังสือแจ้งสถานศึกษาดังกล่าว กรมอาชีวศึกษาจะเป็นผู้จัดส่ง ส่วนแบบ สอบถามนั้นเป็นหน้าที่ ของผู้วิจัยที่จะจัดส่ง

คู่มือนักศึกษา 2561

287


คู่มือนักศึกษา 2561

288 แนวปฏิบัติต่างๆ ที่ควรทราบ และถือปฏิบัติ (4.2) แบบสอบถามที่กรมอาชีวศึกษาอนุญาตให้แจกในสถานศึกษาได้นั้นจะมีตราประทับ คาว่า “ได้รับความเห็นชอบจากกรมอาชีวศึกษา” (ตราวงกลม)ไว้ที่มุมบนด้านขวาของแบบสอบถามแต่ละแผ่น โดยมี การลงลายมือชื่อผู้ได้รับมอบหมาย กากับตราดังกล่าวด้วย (5) การแจกแบบสอบถามหลังจากกรมอาชีวศึกษาอนุญาตแล้วให้ผู้วิจัยหรือผู้แจกแบบสอบถามมอบ แบบสอบถามทั้งหมดให้กับหัวหน้าสถานศึกษาแต่ละแห่งเพื่อตรวจสอบก่อนที่จะแจกในสถานศึกษา (6) ในกรณีผู้วิจัยได้จัดทาแบบสอบถามไว้เป็นจานวนมากและส่งฉบับตัวอย่างไปขออนุญาตต่อ กรมอาชีวศึกษา กรณีเช่นนี้หากกรมอาชีวศึกษาอนุญาตให้แจกแบบสอบถามได้ กรมอาชีวศึกษาจะดาเนินการ ประทับตราลงลายมือชื่อกากับตราตามข้อ (4.2) ในแบบสอบถามเพียงฉบับตัวอย่างเท่านั้น (7) เมื่อจะมีการแจกแบบสอบถามตามข้อ (6) ในสถานศึกษา หัวหน้าสถานศึกษาจะเรียก แบบสอบถามฉบับตัวอย่างและแบบสอบถามที่จะใช้แจกในสถานศึกษาตรวจสอบ หากเห็นว่าข้อความถูกต้องตรงกัน แล้วก็จะให้แจกในสถานศึกษาได้


บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตอนที่ 6 บริการต่าง ๆ ของบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.1 ทุนการศึกษา ทุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่ดาเนินการโดยบัณฑิตวิทยาลัย มีดังนี้ 6.1.1 ทุนสนับสนุนผู้ช่วยสอน เงื่อนไข ผู้รับทุนทาหน้าที่ช่วยสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีหรือระดับบัณฑิตศึกษาของคณะ โดยมีภาระช่วยสอนสัปดาห์ละไม่ต่ากว่า 10 ชั่วโมงและไม่เกิน 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ การรับสมัคร 1) คณะต้นสังกัดเป็นผู้คัดเลือกนักศึกษารับทุนผู้ช่วยสอน (TA) ประมาณเดือนมิถุนายน 2)นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สนใจติดต่อคณะต้นสังกัดประมาณเดือนกรกฎาคม อัตราเงินทุน ทุนละ 5,000.- บาท ต่อเดือน ระยะเวลา 8 เดือน ต่อปีการศึกษา เป็นเงิน 40,000.- บาท ต่อทุน ตารางปฏิบัติงาน ภาคการศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงาน เดือน ต้น สิงหาคม – พฤศจิกายน 4 ปลาย มกราคม – เมษายน 4 6.1.2 ทุนสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ เงื่อนไข 1) วิทยานิพนธ์ต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงเรียบร้อยแล้ว 2) ผู้ขอรับทุนมีสถานภาพการเป็นนักศึกษา ในขณะที่ยื่นสมัครขอรับทุน 3) การยื่นเอกสารสมัคร ไม่ต้องรอใบตอบรับจากหน่วยงานที่จัดการประชุมวิชาการแต่ต้อง นาหลักฐานการสมัครมายื่นเพื่อให้ทันกาหนดระยะเวลาการตามประกาศรับสมัคร การรับสมัคร จานวน 3 ครั้งต่อปีงบประมาณ เดือนกันยายน มกราคม และพฤษภาคม ของทุกปี (ตามกาหนดการนาเสนอผลงาน) การอนุมัติทุน 1) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สามารถขอรับทุนได้ 1 ครั้ง 2) ผู้ได้รับทุนต้องสารองเงินค่าใช้จ่ายก่อนและส่งเอกสารการเบิกจ่าย ภายใน 1 สัปดาห์ หลังจากการนาเสนอผลงานและต้องดาเนินการตามขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินทุนที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ตารางงบประมาณในการนาเสนอผลงาน ประเภทการนาเสนอ 1) Oral Presentation 2) Poster presentation

ระดับการประชุม ระดับนานาชาติ ระดับชาติ จัดประชุมในประเทศ จัดประชุม ไทย ต่างประเทศ. 5,000.- บาท 15,000.- บาท 35,000.- บาท 2,500.- บาท 8,000.- บาท 15,000.- บาท

คู่มือนักศึกษา 2561

291


คู่มือนักศึกษา 2561

292 บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.1.3. ทุนสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศ เงื่อนไข 1) เป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่กาลังศึกษาอยู่ในหลักสูตรที่ทาวิทยานิพนธ์ 2) วิทยานิพนธ์ต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงเรียบร้อยแล้ว 3) ต้องไม่เป็นผู้ที่ได้รับทุนใดๆ ที่มีงบประมาณสนับสนุนการไปศึกษาวิจัยในต่างประเทศ และหากได้รับทุนสนับสนุนอื่นในลักษณะนี้ก่อนการเดินทาง จะต้องสละสิทธิ์ทุนนี้ 4) สามารถอยู่ศึกษาวิจัยในต่างประเทศได้ไม่น้อยกว่า 4 สัปดาห์ การรับสมัคร จานวน 3 ครั้งต่อปีงบประมาณ เดือนกันยายน มกราคม และพฤษภาคม ของทุกปี (ตามระยะเวลาการทากิจกรรมในต่างประเทศ) ตารางค่าใช้จ่าย แยกตามกลุ่มประเทศที่สถาบันการศึกษานั้นตั้งอยู่ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับ ค่าตั๋วเครื่องบิน และ/หรือ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าเบี้ยเลี้ยง และอื่นๆโดยจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ในอัตรา (บาท) ดังต่อไปนี้ ที่ กลุ่มประเทศ วงเงิน 1 ทวีปเอเซีย นอกจาก 2 และ 3 30,000 2 อินเดีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย 35,000 3 จีน เกาหลี ฮ่องกง ไต้หวัน เอเชียตะวันตก 50,000 4 ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปตะวันออก 60,000 5 ยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา แคนาดา 70,000 6 ประเทศอื่นๆ วงเงินอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณา 6.1.4 ทุนวิจัย สาหรับคณาจารย์บัณฑิตศึกษา เพื่อให้สามารถรับนักศึกษาที่มีความสามารถและ ศักยภาพสูงเข้าศึกษาในหลักสูตรและทาวิจัยในสาขาที่อาจารย์มีความเชี่ยวชาญ เพื่อให้สามารถรับนักศึกษาที่มีความสามารถ และศักยภาพสูงเข้าศึกษาในหลักสูตรและทาวิจัย ใน สาขาที่อาจารย์มีความเชี่ยวชาญ โดยที่อาจารย์บัณฑิตศึกษาเป็นผู้ยื่นเอกสารโครงการเพื่อขอรับทุน ประมาณ 50 ทุนต่อปี ในวงเงิน 20 ล้านบาท เงื่อนไข (รายละเอียดในประกาศรับสมัคร) 1. คุณสมบัติของอาจารย์บัณฑิตศึกษาที่มีสิทธิ์ขอรับทุน 2. คุณสมบัติของนักศึกษาที่ได้รับทุน - กรณีของการเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท - กรณีของการเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก จานวนเงินทุน ทุนที่ให้ผ่านอาจารย์บัณฑิตศึกษา แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ทุนระดับปริญญาโท ทุนละไม่เกิน 300,000 บาท (ตลอดหลักสูตรไม่เกิน 2 ปีการศึกษา) 2. ทุนระดับปริญญาเอก ทุนละไม่เกิน 600,000 บาท (ตลอดหลักสูตรไม่เกิน 3 ปีการศึกษา) การรับสมัคร ประมาณเดือนมกราคมของทุกปี


บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.1.5 ทุนโครงการค่ายบัณฑิตศึกษา ม.ขอนแก่น(GS KKU Camp) เพื่อต้องการนักศึกษาที่มีศักยภาพสูง มีความรู้ ความสามารถเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยอาจารย์ส ามารถคัด เลือ กนัก ศึก ษาเพื่อ สามารถทางานวิจัย ร่ว มกัน ในโอกาสต่อ ไป ซึ่ง ในการเข้า ค่า ย ดังกล่าวจะได้เห็นความสามารถ การแก้ปัญ หา ความรับ ผิด ชอบ ความเสีย สละ และความเอื้อ อาทรของการ เข้ากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ คุณสมบัติ (รายละเอียดในประกาศรับสมัคร) สัญชาติไทย เป็นนักศึกษาภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรหรือผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือปริญญาโท 1) ผู้สนใจสมัครศึกษาระดับปริญญาโท รับเฉพาะ แผน ก (ทาวิทยานิพนธ์) เป็นผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรระดับปริญญาตรีหรือสาเร็จการศึกษาแล้วไม่เกิน 5 ปี และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 2) ผู้สนใจสมัครศึกษาระดับปริญญาเอก 2.1) สาหรับผู้สมัครที่ใช้คุณวุฒิระดับปริญญาโท เป็นผู้ที่กาลังรอสอบวิทยานิพนธ์หรือสาเร็จการศึกษาแล้ว และมีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.50 หรือหากคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทางานด้านการ วิจัยและพัฒนาวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 3 ปี และสาเร็จการศึกษาแล้วไม่เกิน 5 ปี 2.2) ส าหรั บผู้ สมัค รที่ใ ช้คุณ วุฒิ ระดั บปริ ญญาตรี เป็ นผู้ที่ กาลังศึ กษาอยู่ ในภาคการศึ กษาสุด ท้ายของ หลักสูตรหรือสาเร็จการศึกษา หลักสูตรระดับปริญญาตรี ที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.25 การรับสมัคร ประมาณเดือนธันวาคม - มกราคม ผู้สนใจสมัครผ่าน http://gs.kku.ac.th กรรมการคัดเลือกตามเกณฑ์ จานวน 30 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2) กลุ่ม วิท ยาศาสตร์เ ทคโนโลยี 3) กลุ่ม มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กิจกรรมจัด 2 วัน โดยวันที่ 1 เป็นกิจกรรมวิชาการ วันที่ 2 กิจกรรมสันทนาการ มีการเก็บ คะแนนทั้ง 2 ส่วน คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับทุนการศึกษา ซึ่งผู้ได้รับการคัดเลือกต้องดาเนิน การ สมัครสอบเข้าศึกษาและเป็นผู้มีสิทธ์เข้าศึกษาจึงจะมีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ทั้งนี้ผู้ได้รับทุนจะต้องมีคุณสมบัติตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การรับสมัคร ทุนวิจัยสาหรับคณาจารย์บัณฑิตศึกษา เพื่อให้สามารถรับนักศึกษาที่มีความสามารถและศักยภาพสูงเข้าศึกษาใน หลักสูตรและทาวิจัยในสาขาที่อาจารย์มีความเชี่ยวชาญ 6.1.6 ทุนฝึกอบรมนักวิจัยหลังปริญญาเอก (Post-Doctoral Training) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาบุคคลหลังจบการศึกษาปริญญาเอกให้มีความสามารถด้านการวิจัยเพิ่มมากขึ้น 2.เกิดการเชื่อมโยงการวิจัยของคณาจารย์ เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของนักวิจัยหลังปริญญาเอก คุณสมบัติที่ปรึกษาโครงการ (Mentor) 1. มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์

คู่มือนักศึกษา 2561

293


คู่มือนักศึกษา 2561

294 บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. มีผลการวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน Scopus หรือ ISI หรือได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาอย่างสม่าเสมอ ย้อนหลัง 5 ปี ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง ซึ่ง เป็นผลงานวิจัยที่สอดคล้องกับโครงการวิจัยสาหรับการฝึกอบรมหลังปริญญาเอกนี้ 3. มีแหล่งเงินทุนวิจัยต่างๆ จากภายนอกมหาวิทยาลัย ในการสนับสนุนการฝึกอบรมเฉพาะราย คุณสมบัตินักวิจัยหลังปริญญาเอก 4. มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และจบการศึกษาดังกล่าวมาไม่เกิน 5 ปี 5. อายุไม่เกิน 40 ปี 6. มีโครงการวิจัยที่มีที่ปรึกษาโครงการวิจัย (Mentor) รองรับและมีแผนการฝึกอบรม 7. มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการที่อยู่ในฐาน Scopus หรือ ISI หรือได้รับการ จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ย้อนหลัง 5 ปี รวมกันหรืออย่างใดอย่างหนึ่งไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง โดยมีผู้ เข้าฝึกอบรมเป็นชื่อแรกอย่างน้อย 1 เรื่อง เฉพาะผู้เข้าฝึกอบรมในกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สามารถพิจารณาจากผลงานวิจัยที่ได้รับการ ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานที่ไม่ต่ากว่า TCI ในกลุ่มที่ 1 ที่มีค่า Thai-Journal Impact Factors หรือมีงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ตั้งแต่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ ย้อนหลัง 5 ปี รวมกันหรืออย่าง ใดอย่างหนึ่งไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง โดยมีผู้เข้าฝึกอบรมเป็นชื่อแรกอย่างน้อย 2 เรื่อง ระยะเวลาของสัญญา สัญญา 1 ปี สามารถต่อสัญญาได้ แต่ไม่เกิน 3 ปี จานวนเงินทุน เป็นเงินเดือนให้กับนักวิจัยฯ เดือนละ 35,000 บาท 1 ปี รวม 420,000 บาท กาหนดการรับสมัคร โปรดติดตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 6.1.7 รางวัลวิทยานิพนธ์เกียรติยศ ศาสตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน เกิ ด จากแนวความคิ ด ของ ศาสตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ ตระหง่ า น อดี ต อุ ป นายกสภ า มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ได้ มี แ นวคิ ด ในการสนั บ สนุ น ส่ งเสริ ม และสร้ า งแรงจู งใจให้ นั ก ศึ ก ษา ได้ พั ฒ นาผลงาน วิทยานิพนธ์ให้มีคุณภาพบนพื้นฐานของแนวคิดของงานวิจัยทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ และของประเทศได้ จึงได้เสนอให้มีการคัดเลือกวิทยานิพนธ์ดีเด่นปีละ 1 เรื่อง สาหรับมหาบัณฑิต หรือดุษฎีบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีการนาผลวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ ทั้งระดับชุมชน ภูมิภาค และ ของประเทศได้ โดย ศาสตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน ได้สนับสนุนรางวัล เรื่องละ 100,000 บาท เป็นเวลา 10 ปี รับสมัครประมาณเดือน ตุลาคม ของทุกปี สอบถามรายละเอียด เงื่อนไขการรับสมัครทุนต่างๆ ได้ที่บัณฑิตวิทยาลัย และสามารถดาวน์โหลดประกาศ ใบสมัคร ทุนและดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th นอกจากนี้ยังมีทุนเฉพาะภาควิชา และทุนภายนอกหรือทุนเฉพาะ เช่น ทุนสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) และ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นต้น


บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.2 สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีสานักหอสมุด ซึ่งเป็นศูนย์กลางการให้บริการการศึกษามีหนังสือ สิ่งพิมพ์ และ โสตทัศนวัสดุทุกสาขาวิชา รวมทั้งวิทยานิพนธ์และหนังสืออ้างอิงต่างๆที่จาเป็นสาหรับการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ในบางคณะและบางภาควิชา ยังมีห้องสมุดเฉพาะต่างหาก ซึ่งจะมีหนังสือและสิ่งพิมพ์ เฉพาะสาขาวิชาไว้ให้บริการ 6.3 สานักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีสานักเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นศูนย์กลางการให้บริการสาหรับอาจารย์ ข้าราชการ และนักศึกษา ในการเข้าใช้คอมพิวเตอร์เพื่อปฏิบัติงานต่าง ๆ เช่น พิมพ์รายงาน ตรวจเช็คคอมพิวเตอร์ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ดาวน์โหลดโปรแกรม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีบริการเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาสามารถขอเป็นผู้ใช้ได้ 6.4 หลักสูตรฝึกอบรมภายใต้โครงการการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของคณาจารย์และนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ได้จัดกิจกรรมในลักษณะของการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้คณาจารย์ และนักศึกษา สามารถนาความรู้ไปประยุ กต์ใช้ในการศึ กษาวิจัย ได้ อย่างมีประสิท ธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยได้จัด หลักสูตรอบรม ออกเป็น 4 กลุ่มหลัก คือ 1) กลุ่ มหลักสูตรด้านการวางแผนและการดาเนินการวิจัย 2) กลุ่มหลักสูตรด้านการ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัย 3) กลุ่มหลักสูตรด้านการนาเสนอและเผยแพร่งานวิจัย และ 4) กลุ่มหลักสูตรด้านมโน ทัศน์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อการวิจัย โดยในทุกภาคการศึกษาจะมีการจัดอบรมประมาณ 35 หลักสูตร หลักสูตรละ 1 ครั้ง อาทิ การออกแบบวางแผนและการเขียนเค้าโครงการวิจัย การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย การ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม R การเขียนบทความวิจัยและการขอรับการตีพิมพ์ในวารสารวิจัย การบริหารความคิด ด้วย Mind Mapping วิธีการจัดการความเครียด เป็นต้ น การจัดอบรมแต่ละครั้ง บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ นักศึกษาทราบโดยทั่วกัน และสามารถดูรายละเอียดได้ที่ เวบไซต์บัณฑิตวิทยาลัย http://gs.kku.ac.th/ 6.5 โภชนาการ มหาวิ ทยาลัยขอนแก่ นจั ดให้ มีบริการจ าหน่ ายอาหารและเครื่องดื่ มในราคาที่ เหมาะสม โดยให้เอกชนเช่ า ดาเนินการภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการโภชนาการ ณ ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งอยู่บริเวณหน้า อาคาร สานักหอสมุด นอกจากนี้ยังมีโรงอาหารของคณะต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเปิดจาหน่ายในวันราชการ 6.6 รถขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และรถประจาทาง มหาวิทยาลัยขอนแก่นจัดให้มีบริการรถ shuttle bus ใหม่ สามารถติดตามรายละเอียดการเดินทาง ทั้งเส้นทางและตารางเวลาการให้บริการได้ที่เวบไซต์ http://kst.kku.ac.th/ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่ นมอบให้เอกชนจัดวิ่งรถบริการรับ -ส่งผู้โดยสารภายในมหาวิทยาลัย ระหว่างมหาวิทยาลัยกับในเมืองขอนแก่น ระหว่างเวลา 06.00-22.00 น. โดยมีรถโดยสารวิ่งผ่านได้แก่ สาย 8 สีฟ้า สายเก่า วิ่งจากการเคหะแห่งชาติ ถึงโรงพยาบาลศรีนครินทร์ สายใหม่ วิ่งจากการเคหะแห่งชาติ ถึงหอ 9 หลัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

295


คู่มือนักศึกษา 2561

296 บริการต่างๆ ของบัณฑิตวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น สาย 16 สีแดง รถตู้โดยสาร

สายใหม่ วิ่งจากหมู่บ้านกันยารัตน์ (โนนทัน) ถึงหอ 9 หลัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิ่งระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น ถึงเซ็นทรัล และ ถึงสถานีรถปรับอากาศ

6.7 บริการไปรษณีย์ ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีที่ทาการไปรษณีย์โทรเลข โดยความร่วมมือของการสื่อสารแห่งประเทศไทย บริเวณลานจอดรถ ศูนย์คอมเพล็กซ์ รหัสไปรษณีย์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น คือ 40002 6.8 บริการธนาคาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีที่ทาการธนาคารพาณิชย์สาหรับให้บริการ 6 ธนาคาร คือ  ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ ถนนมิตรภาพ และสาขาย่อย 2 แห่ง ดังนี้ 1. ตั้งอยู่ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. ตั้งอยู่บริเวณ ชั้น 1 อาคารสิริคุณากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ธนาคารกรุงเทพ ตั้งอยู่บริเวณจุดรับส่งผู้ป่วย โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ธนาคารกรุงไทย ตั้งอยู่บริเวณ ชั้น 1 ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณ ชั้น 1 ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ธนาคารกสิกรไทย สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งอยู่บริเวณ ชั้น 1 ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ธนาคารออมสิน ตั้งอยู่บริเวณ ชั้น 2 ศูนย์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.9 ศูนย์อาหารและบริการ (คอมเพล็กซ์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีศูนย์อาหารและบริการ (คอมเพล็กซ์) เป็นศูนย์อาหาร และศูนย์รวมร้านค้าต่าง ๆ เช่น ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยขอนแก่น สหกรณ์ร้านค้า การให้บริการธนาคาร ร้านบริการ Internet ร้านถ่าย เอกสาร ร้านจาหน่ายตั๋วเครื่องบิน ตั๋วรถปรับอากาศ ตั้งอยู่บริเวณหน้าอาคารสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6.10 ศูนย์สุขภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีศูนย์สุขภาพนักศึกษา ที่เรียกว่า หน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit : PCU) ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้บริการ สุขภาพนักศึกษา บุคลากรในมหาวิทยาลัยขอนแก่นและประชาชนทั่วไป จานวน 2 หน่วย ได้แก่ PCU นักศึกษา มข ที่ท าการอยู่ ห ลั งศูน ย์ อ าหารและบริ ก าร 1 (คอมเพล็ ก ซ์ ) และ PCU 123 มข.ที่ ทาการอยู่ ห ลั งหอแปดหลั ง เวลาให้บริการในวันราชการ เวลา 08.00 – 20.00 น. ให้บริการโดยแพทย์ออกตรวจ 1 คน ช่วงเช้า เวลา 09.00-11.00 น. ช่วงบ่าย เวลา 12.00-16.00 น. และช่วงเย็น เวลา 16.00-20.00 น. สาหรับการบริการโดย พยาบาลจะมีตลอดช่วงเวลาทาการ ** นอกเวลา ใช้บริการที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ** 6.11 การประกันอุบัติเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดให้มีการประกันอุบัติเหตุ สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกคน


คณาจารย์บัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย ตอนที่ 7 คณาจารย์บัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 7.1 คณาจารย์บัณฑิตศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย ฉบับที่ 65/2559 กาหนดคุณสมบัติของ อาจารย์ประจาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และมหาวิทยาลัยต้องเผยแพร่รายชื่อและคุณสมบัติของอาจารย์ประจา หลักสูตรแต่ละหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา นั้น บัณฑิ ตวิท ยาลั ย ได้ ทาการสารวจรายชื่อและคุ ณสมบัติ ของอาจารย์ประจ าหลั กสูต รแต่ละหลัก สูต ร เรียบร้อยแล้ว แต่เนื่องจากมีข้อมูลรายชื่อ คุณสมบัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์จานวนมาก ไม่สามารถจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของเอกสารได้ จึงได้จัดให้มีการจัดทารายชื่อและคุณสมบัติของอาจารย์ ประจาหลักสูตรแต่ละหลักสูตร ประจาปีการศึกษา 2561 ในรูปแบบของการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งสามารถตรวจสอบรายชื่อและคุณสมบัติของอาจารย์ประจาหลักสูตรได้ที่ https://gs.kku.ac.th/

คู่มือนักศึกษา 2561

299


คู่มือนักศึกษา 2561

300 คณาจารย์บัณฑิตศึกษา และบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 7.2 รายนามบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 1. นายประสงค์ ต่อโชติ 2. นางแววตา วรรณคา 3. นางรัตติยากร วิมลศิริ 4. นางหอมหวล นาถ้าเพชร 5. นางดิลกรัตน์ โคตรสุมาตย์ 6. นายจิรพัฒน์ จันทะไพร 7. นางสาวธนิดา รักษาเคน 8. นายสุพัฒน์ พิบูลย์ 9. นางหนูแดง ตาบ้านดู่ 10. นายธีรพล มะลิดา 11. นายไพศาล แสงสุวรรณ 12. นางสาวศิตธีรา สโมสร 13. นางสาวจิตติมา ไกรศรีวรรธนะ 14. นางพัชลี พวงคต 15. นางสาวพรนภา โยธาฤทธิ์ 16. นางพาณิภัค พระชัย 17. นางเยาวลักษณ์ แหล่งหล้า 18. นางสาวนวพร หนูเส็ง 19. นางสาวศิริพร เบญจมาศ 20. นางสาววรรณิศา สีเรือง 21. นางสาวปัทมา สมพงษ์ 22. นางสาวพนัชกร โชคลา 23. นายภาสพงษ์ ฉัตรดอน 24. นายอนุสรณ์ มั่นคง 25. นายอภิเชษฐ์ บุญจวง 26. นางสาวนรมน แจ่มอ้น 27. นางศิรินธร สุวรรณทอง 28. นางสาววิไลพร นามหงษา 29. นางสาววรินภ์ธร นันตะเวชกูล 30. นางรุ่งนิภา คนล้า 31. นายวุฒิพงษ์ จันทร์แก้ว

ผู้อานวยการกองบริหารงานบัณฑิตวิทยาลัย เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชานาญการ นักวิชาการศึกษา ชานาญการ นักวิชาการศึกษา ชานาญการ นักวิชาการศึกษา ชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน พนักงานธุรการ ส 4 พนักงานธุรการ พนักงานสถานที่ พนักงานทั่วไป นักวิเทศสัมพันธ์ นักวิเทศสัมพันธ์ นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักวิชาการศึกษา นักสารสนเทศ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการพัสดุ คนงาน พนักงานขับรถ


ภาคผนวก

แบบฟอร์มที่นักศึกษาควรทราบ บว.9 บว.13 บว.13-1 บว.14 บว.15 บว.16 บว.17 บว.18 บว.20 บว.21 บว.22 บว.23 บว.24 บว.25 บว.26 บว.27 บว.28 บว.29 บว.30 บว.31 บว.32 บว.33 บว.33-1 บว.34 บว.35 บว.36 บว.37 บว.38 บว.42

คาร้องขอลงทะเบียนเรียนน้อยกว่า/มากกว่าที่กาหนด คาร้องขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา คาร้องขอรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา(กรณีรอการยอมรับให้ตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์) คาร้องขอลาพักการศึกษา คาร้องขอลาออก แบบส่งและรับวิทยานิพนธ์ คาร้องขอหนังสือขยายเวลาศึกษาต่อ/ขอรายงานตัวเพื่อกลับเข้าปฏิบัติราชการ คาร้องขอกลับเข้าเป็นนักศึกษา ใบแจ้งความจานงสาเร็จการศึกษาและการตรวจสอบหนี้สิน คาร้องขอเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา/เปลี่ยนแปลงอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ คาร้องขอขยายจานวนนักศึกษาในคาปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นกรณีพิเศษ แบบเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ คาร้องขอเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ คาร้องขอสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ แบบเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ใบแจ้งผลการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ใบรับรองการแก้ไขวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ แบบฟอร์มตรวจสอบวิทยานิพนธ์ คาร้องขอสอบประมวลความรู้/สอบวัดคุณสมบัติ แบบเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบประมวลความรู้/สอบวัดคุณสมบัติ ใบแจ้งผลสอบประมวลความรู้/สอบวัดคุณสมบัติ คาร้องขอเปลี่ยนระบบการศึกษา คาร้องขอเปลี่ยนแผน/แบบการศึกษา คาร้องขอเปลี่ยนสาขาวิชา คาร้องขอเปลี่ยนระดับการศึกษา คาร้องขอเทียบโอนรายวิชา และค่าคะแนนของรายวิชา แบบฟอร์มการเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา การรับทราบเรื่องลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ แบบขอเสนอแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษา 2561

303


ระยะเวลาการศึกษา 1. ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต/ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระยะเวลาสูงสูดตามเกณฑฯ ไมเกิน 3 ป

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคตน ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคปลาย ปการศึกษา 2563 - สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคตน ปการศึกษา 2564

2. ระดับปริญญาโท ตามโครงสรางหลักสูตร 2 ป และระยะเวลาสูงสูดตาม เกณฑฯ 5 ป

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคตน ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคปลาย ปการศึกษา 2565 - สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคตน ปการศึกษา 2566

3. ระดับปริญญาเอก ตามโครงสรางหลักสูตร กรณีรับคุณวุฒิ ป.โท ศึกษา ตอระดับปริญญาเอก 3 ป และระยะเวลาสูงสูดตามเกณฑฯ 6 ป

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคตน ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคปลาย ปการศึกษา 2566 - สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคตน ปการศึกษา 2567

4. ระดับปริญญาเอก ตามโครงสรางหลักสูตร กรณีรับคุณวุฒิ ป.ตรี ศึกษา ตอระดับปริญญาเอก 4 ป และระยะเวลาสูงสูดตามเกณฑฯ 8 ป

- สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคตน ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคปลาย ปการศึกษา 2568 - สําหรับนักศึกษาที่เขาศึกษา ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 จะครบระยะเวลาสูงสุด ในภาคตน ปการศึกษา 2569


คู่มือนักศึกษา 2561

304 ภาคผนวก (ตัวอย่างหนังสือขออนุมัติขยายเวลาศึกษาต่อ) (หนังสือภายนอก) (ครุฑ) ที่ ศธ 0514.10

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 วันที่……….เดือน……….…….…พ.ศ…………

เรื่อง

ขอขยายเวลาศึกษาต่อ

เรียน

(ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด)

ตามที่ (ระบุชื่อหน่วยงานต้นสังกัดที่อนุมัติให้ลาศึกษา) ได้อนุญาตให้ (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อ สกุล) ลาศึกษาต่อในหลักสูตร (หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด) สาขาวิชา(สาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัด) ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่(ระบุวันที่ เดือน พ.ศ.ที่ได้รับอนุมัติให้ลาศึกษา ถึงวันสุดท้ายที่ได้รับอนุมัติครั้งหลังสุด) วันที่…..…เดือน……………พ.ศ……………ถึงวันที่……….….เดือน………พ.ศ…… นั้น ขณะนีม้ ีคะแนนเฉลี่ยสะสม………..…… เนื่องจากอยู่ในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์ และจาเป็นต้องขอขยายเวลาศึกษาต่อ ตั้งแต่(ระบุวัน เดือน พ.ศ.ที่จะขอ ลาศึกษาต่อ) วันที่……..เดือน………….พ.ศ…….. ถึงวันที่…..….….เดือน………………..พ.ศ……. ทั้งนี้ การขอขยายเวลา ดังกล่าว ได้ผา่ นความเห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รึกษา สาขาวิชา และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดเรียบร้อยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ขอแสดงความนับถือ

โทร. 0-4320-2420 โทรสาร 0-4320-2421


(ตัวอย่างหนังสือขออนุมัติขยายเวลาศึกษาต่อ) (หนังสือภายใน) (ครุฑ) บันทึกข้อความ ส่วนราชการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร.12584-6 ที่ ศธ 0514.10/ วันที่……..เดือน………..พ.ศ……………… เรื่อง ขอขยายเวลาศึกษาต่อ เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด) ตามที่ (ระบุชื่อหน่วยงานต้นสังกัดที่อนุมัติให้ลาศึกษา) ได้อนุญาตให้ (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อ สกุล) ลาศึกษาต่อในหลักสูตร (หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด) สาขาวิชา(สาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัด) ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่(ระบุวันที่ เดือน พ.ศ.ที่ได้รับอนุมัติให้ลาศึกษา ถึงวันสุดท้ายที่ได้รับอนุมัติครั้งหลังสุด) วันที่……..…เดือน…….….……พ.ศ…..……ถึงวันที่……….….เดือน………พ.ศ…… นั้น ขณะนี้มคี ะแนนเฉลี่ยสะสม……..……… เนื่องจากอยู่ในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์ และจาเป็นต้องขอขยายเวลาศึกษาต่อ ตั้งแต่(ระบุวัน เดือน พ.ศ.ที่จะขอ ลาศึกษาต่อ) วันที่……...เดือน………….พ.ศ…….. ถึงวันที่…….….เดือน………………..พ.ศ……. ทั้งนี้ การขอขยายเวลา ดังกล่าว ได้ผา่ นความเห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รึกษา สาขาวิชา และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัดเรียบร้อยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

คู่มือนักศึกษา 2561

305 ภาคผนวก


คู่มือนักศึกษา 2561

306 ภาคผนวก (ตัวอย่างหนังสือขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์) (หนังสือภายนอก) (ครุฑ) ที่ ศธ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(คณะที่นักศึกษาสังกัด) อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

40002 วันที่……เดือน…………….…..พ.ศ……………..…… เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่จะขอความอนุเคราะห์) สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. แบบสอบถาม จานวน 1 ชุด ด้ ว ย (ระบุ ค าน าหน้ า ชื่ อ ……………….ชื่ อ สกุ ล ………..………) นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท หลักสูตร………………………………….(หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด)สาขาวิชา….……………………….……. (คณะที่นักศึกษา สังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “……………..…..…...………” ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ได้กาหนด กลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ (เช่น นักเรียนชั้น….….ปีการศึกษา……..…. จานวน……………….คน) ดังนั้น เพื่อให้การศึกษาครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี (คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงใคร่ขอความ อนุเคราะห์ให้บุคคลดังกล่าว ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ตามความประสงค์ระหว่าง วันที่………………………………..…… จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา(คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คงจะได้รับความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ

โทร. (หมายเลขโทรศัพท์ของคณะ)


(ตัวอย่างหนังสือขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์) (หนังสือภายใน) (ครุฑ) บันทึกข้อความ ส่วนราชการ (คณะที่นักศึกษาสังกัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร.หมายเลขโทรศัพท์คณะ) ที่ ศธ ……………….…. วันที่………………………………………………………… เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่จะขอความอนุเคราะห์) ด้วย (ระบุคานาหน้าชื่อ……….…..…..….ชื่อสกุล…….……..…………) นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชา….………………….…. (คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “…………………………….………” ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ได้กาหนดกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ (เช่น นักเรียนชั้น…….ปีการศึกษา………..จานวน……….คน) ดังนั้น เพื่อให้การศึกษาครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี (คณะที่ นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงใคร่ขอความอนุเคราะห์ให้บุคคลดังกล่าว ดาเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ตามความประสงค์ระหว่างวันที่…………พร้อมนี้ ได้แนบแบบสอบถาม จานวน……….ชุด มาด้วยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา(คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คงจะได้รับความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

307 ภาคผนวก


คู่มือนักศึกษา 2561

308 ภาคผนวก (ตัวอย่างหนังสือขออนุญาตแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ) (หนังสือภายนอก) (ครุฑ) ที่ ศธ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(คณะที่นักศึกษาสังกัด) อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 วันที่………เดือน…………..พ.ศ…………

เรื่อง ขออนุญาตแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่จะขออนุญาต) ด้วย (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อสกุล) นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตร ………………… (หลักสูตร ที่นักศึกษาสังกัด) สาขาวิชา…….………...(คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “…………..……….” ในการศึกษาครั้งนี้ จาเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและพิจารณาเนื้อหาของ(แบบสอบถาม/ แบบวัดความถนัด/แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ฯลฯ) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิจัยก่อนที่จะนาไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อทาวิทยานิพนธ์ ในการนี้ (คณะที่นักศึกษาสังกัด) พิจารณาแล้วเห็นว่า (คานาหน้าชื่อ ชื่อสกุลของบุคคลที่จะ ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์เป็นอย่างดี จึงใคร่ขอแต่งตั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ตรวจสอบและพิจารณาเนื้อหาของเครื่องมือดังกล่าว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา (คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าคงจะได้รับความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ

โทร.(หมายเลขโทรศัพท์ของคณะ)


(ตัวอย่างหนังสือขออนุญาตแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ) (หนังสือภายใน) (ครุฑ) บันทึกข้อความ ส่วนราชการ (คณะที่นักศึกษาสังกัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร. (หมายเลขโทรศัพท์ของคณะ) ที่ ศธ………………… วันที่……………………………………………………………… เรื่อง ขออนุญาตแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานในมหาวิทยาลัย ที่จะขออนุญาต) ด้วย(ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อสกุล) นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตร ………………..…….. (หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด ) สาขาวิชา…….…….………...(คณะที่นักศึกษาสังกัด ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น กาลังทา วิทยานิพนธ์เรื่อง “………….…………..…….” ในการศึกษาครั้งนี้ จาเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและพิจารณา เนื้อหาของ(แบบสอบถาม/แบบวัดความถนัด/แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ฯลฯ) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิจัย ก่อนที่จะนาไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทาวิทยานิพนธ์ ในการนี้ (คณะที่นักศึกษาสังกัด) พิจารณาแล้วเห็นว่า (คานาหน้าชื่อ ชื่อสกุลของบุคคลที่จะให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์เป็นอย่างดี จึง ใคร่ขอแต่งตั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบและพิจารณาเนื้อหาของเครื่องมือดังกล่าว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา (คณะที่นักศึกษาสังกัด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าคงจะได้รับความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

คู่มือนักศึกษา 2561

309 ภาคผนวก


คู่มือนักศึกษา 2561

310 ภาคผนวก (ตัวอย่างหนังสือขอส่งตัวข้าราชการคืนต้นสังกัด) (หนังสือภายนอก) (ครุฑ) ที่ ศธ 0514.10/ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บัณฑิตวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

40002 วันที่………เดือน…………..พ.ศ………… เรื่อง ขอส่งตัวข้าราชการคืนต้นสังกัด เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่จะส่งตัวคืนต้นสังกัด) ตามที่ (ระบุชื่อหน่วยงานต้นสังกัดที่อนุมัติให้ลาศึกษา) ได้อนุญาตให้ (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อ สกุล) ตาแหน่ง (ตาแหน่งของนักศึกษาที่ขอคืนต้นสังกัด ) ลาศึกษาต่อในหลักสูตร (หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด) สาขาวิชา (สาขาที่นักศึกษาสังกัด) ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น นั้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอแจ้งให้ทราบว่านักศึกษาดังกล่าว (ระบุเหตุผลเกี่ยวกับ การเรียนรายวิชาหรือการทาวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระของนักศึกษา) และมีความประสงค์ขอกลับเข้าปฏิบัติ หน้าที่ ตั้งแต่ (ระบุวันที่ เดือน พ.ศ.ที่จะขอกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ) เป็นต้นไป ทั้งนี้ การขอกลับเข้าปฏิบัติ หน้าที่ราชการดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชา และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัด เรียบร้อยแล้ว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงขอส่งตัว (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อสกุลนักศึกษา) เข้าปฏิบัติ หน้าที่ราชการต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดาเนินการต่อไป ขอแสดงความนับถือ

โทร. 0-4320-2420 โทรสาร 0-4320-2421


(ตัวอย่างหนังสือขอส่งตัวข้าราชการคืนต้นสังกัด) (หนังสือภายใน) (ครุฑ) บันทึกข้อความ ส่วนราชการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร. 12584-6 ที่ ศธ 0514.10/ วันที่……………………………………………………………… เรื่อง ขอส่งตัวข้าราชการคืนต้นสังกัด เรียน (ระบุตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่จะส่งตัวคืนต้นสังกัด) ตามที่ (ระบุชื่อหน่วยงานต้นสังกัดที่อนุมัติให้ลาศึกษา) ได้อนุญาตให้ (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อ สกุล) ตาแหน่ง (ตาแหน่งของนักศึกษาที่ขอคืนต้นสังกัด ) ลาศึกษาต่อในหลักสูตร (หลักสูตรที่นักศึกษาสังกัด) สาขาวิชา (สาขาที่นักศึกษาสังกัด) ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น นั้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอแจ้งให้ทราบว่านักศึกษาดังกล่าว (ระบุเหตุผลเกี่ยวกับ การเรียนรายวิชาหรือการทาวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระของนักศึกษา) และมีความประสงค์ขอกลับเข้าปฏิบัติ หน้าที่ ตั้งแต่ (ระบุวันที่ เดือน พ.ศ.ที่จะขอกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ) เป็นต้นไป ทั้งนี้ การขอกลับเข้าปฏิบัติ หน้าที่ราชการดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชา และคณบดีคณะที่นักศึกษาสังกัด เรียบร้อยแล้ว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงขอส่งตัว (ระบุคานาหน้าชื่อ ชื่อสกุลนักศึกษา) เข้าปฏิบัติ หน้าที่ราชการต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดาเนินการต่อไป

คู่มือนักศึกษา 2561

311 ภาคผนวก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.