คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ให้บริการ SMEs สู่อาเซียน (ASEAN SMEs Service Provider Network)
สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน(ECBER) มหาวิทยาลัยขอนแก่น คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
1
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ให้บริการ SMEs สู่อาเซียน (ASEAN SMEs Service Provider Network)
สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน(ECBER) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คำ�นำ�
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาดในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของผลการศึกษาโครงการเชื่อม โยงเครือข่ายผู้ให้บริการ SMEs สู่อาเซียน (ASEAN SME Service Provider Network) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำ�นักงานส่งเสริมวิสากิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ให้บริการ SMEs ให้ครอบคลุมพื้นที่ให้ทั่วถึงมากขึ้นพร้อมกับการเชื่อมโยงกับประเทศใน อาเซียน และพัฒนาศักยภาพและให้ความรู้ของผู้ประกอบการในการใช้ประโยชน์จากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คู่มือฉบับนี้ได้รวบรวมเครือ ข่ายธุรกิจและขั้นตอนในการทดสอบตลาดเพื่อเป็นประโยชน์การให้คำ�ปรึกษาสำ�หรับผู้ให้บริการ SMEs ไทยและผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม รวมถึงผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการค้าและการลงทุนในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา ซึ่งสามารถนำ�ไปใช้ได้จริงและเพิ่มเติมความรู้ใน การทำ�ธุรกิจที่สนใจต่อไป โดยคู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาดในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมามีองค์ประกอบเนื้อหาได้มีการอธิบายถึงขั้นตอน การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจและการทดสอบตลาด รวมไปถึงข้อมูลวิธีการขนส่งและกฏระเบียบต่างๆที่ควรทราบในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา เหมาะสำ�หรับผู้ให้บริการ SMEs ไทยในการเพิ่มพูนความรู้และผู้ประกอบการที่กำ�ลังเตรียมตัวก่อนทำ�การค้าการลงทุน สำ�นักงานส่งเสริมวิสากิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ร่วมกับศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีสานมหาวิทยาลัยขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าคู่มือฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ SMEs รวมถึงผู้ให้บริการ SMEs ไทย ให้มีความพร้อมและแข่งขันได้ในต่างประเทศและเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน ในการสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจและการทดสอบตลาดก่อนเข้าไปลงทุนในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป คณะผู้จัดทำ�
สารบัญ ข้อมูลการสร้างเครือข่าย (Business Networking)
6
การเริ่มต้นในการให้ผู้ประกอบการเตรียม ความพร้อม และสร้างความเข้าใจในการ เลือกประเทศที่จะทำ�การค้าการลงทุน
8
การเตรียมความพร้อมของผลิตภัณฑ์และ บริการ
11
19
ข้อมูลด้านกฏระเบียบที่เกี่ยวข้อง
การติดต่อประสานงานหน่วยงานและ องค์กรต่างๆในประเทศเป้าหมาย
12
21
ช่องทางและค่าใช้จ่าย
มารยาทและวัฒนธรรมทางธุรกิจ ข้อมูลการทำ�การทดสอบตลาด (Market Test)
22
หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
9
14
ข้อมูลการขนส่งสินค้า
การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ
10
การสร้างเครือข่ายและการหาพันธมิตรเพื่อ สร้างโอกาสทางธุรกิจ คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
18
แนวทางและค่าใช้จ่ายในการทดสอบตลาด
จะไปประเทศไหนในอาเซียนดี? คำ�แนะนำ�ที่เป็นขั้นตอนง่ายๆ แต่ได้ผลดี สำ�หรับผู้ประกอบการที่ต้องการขยายตลาดไปในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ที่ยังไม่มีเป้าหมายว่าจะไปเริ่มขยายตลาดที่ประเทศใด
ศึกษาข้อมูล ผู้ประกอบการควรศึกษาข้อมูลของประเทศ (country profile) ที่เราให้ความสนใจที่จะไป เพื่อให้ทราบข้อมูล เบื้องต้นของประเทศนั้นเสียก่อน จำ�นวนประชากร ภาษา ศาสนา เมืองสำ�คัญทางเศรษฐกิจ ด่านชายแดนที่ติดกับประเทศไทย (ถ้ามี) รายได้ประชากร ภาพรวม และอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ อัตราแรงงาน แรงงานมีฝีมือ และค่าจ้างแรงงาน กฎหมาย และกฎระเบียบในการทำ�ธุรกิจของคนต่างชาติ
แหล่งข้อมูล www.sme.go.th www.ditp.go.th www.boi.go.th
Tips เมื่อดูข้อมูลแล้ว ให้วิเคราะห์ว่าสินค้าหรือบริการของเราน่าจะเหมาะกับประเทศใด และที่เมืองอะไร การเลือกประเทศควรตั้งเกณฑ์ว่า เป็นที่ที่เราเห็นว่ามีโอกาสทางธุรกิจ ไม่ใช่เพราะอยากไป หรือพูดภาษา คล้ายกัน คนส่วนใหญ่ชอบนึกถึงประเทศลาวเป็นอันดับแรก โดยไม่ดูว่าประเทศเค้าเล็กมากๆ มี ประชากรแค่ประมาณ 2.5% ของจำ�นวนประชากรในประเทศอินโดนีเซีย ตลาดเล็ก = โอกาสที่จะมียอด จำ�หน่ายสูงก็น้อยตามไปด้วย หากยังไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจนควรสำ�รวจโอกาสทางธุรกิจในแถบประเทศเพื่อนบ้านเสียก่อนเพราะ นอกจากจะมีความใกล้ด้านระยะทางและวัฒนธรรมที่ใกล้เคียงแล้ว สินค้าและเป็นบริการของประเทศไทย ยังเป็นที่นิยม และเชื่อมั่นในคุณภาพมากๆสำ�หรับคนท้องถิ่นของประเทศเพื่อนบ้าน จึงมีโอกาสในการเข้า สู่ตลาดและประสบความสำ�เร็จสูง
เดินทางไปสำ�รวจโอกาสทางธุรกิจและพฤติกรรมผู้บริโภค เมื่อผ่านขั้นตอนแรกมาแล้ว ก็ให้เลือกเดินทางไปประเทศ และเมืองที่เราเห็นว่าน่าจะมีโอกาสทางธุรกิจมาก ที่สุด จะต้องไปสำ�รวจเอง เลือกประเทศแล้วก็ให้เลือกเมืองที่จะไป เช่น จะไปที่ประเทศเมียนมาแล้วจะไป เมืองอะไร เช่น ย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ หรือ พุกาม ทั้งนี้ขึ้นกับประเภทของธุรกิจหรือบริการของผู้ประกอบการ ว่าจะเหมาะสมกับเมืองใด การเดินทางสำ�รวจธุรกิจ ผู้ประกอบการต้องไปทำ�ความรู้จักประเทศเป้าหมาย ต้องไปดูสภาพเศรษฐกิจ การทำ�ธุรกิจ และตลาดที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของท่าน ก็ควรจะเป็นการตั้งใจไปเพื่อการนี้จริงๆ ไม่ใช่ตั้งใจไปเที่ยวและดูธุรกิจเผื่อไปด้วย การจะเดินทางไปดูโอกาสทางธุรกิจนั้นต้องมีการเตรียมตัว และตั้งใจเพื่อที่จะตั้งใจดูเรื่องโอกาสทางธุรกิจ ไม่ใช่เที่ยวไปดูธุรกิจไป ซึ่งจะไม่ได้ประโยชน์นัก
6
Tips ชวนเพื่อนที่มีความสนใจในการทำ�ธุรกิจในต่าง ประเทศ หรือหุ้นส่วน หรือ คนในครอบครัวให้ ไปร่วมทริป เพื่อที่จะช่วยกันหาช่องทางธุรกิจ และสำ�รวจตลาดกัน โดยที่แต่ละคนจะมีมุมมอง ที่ต่างกัน จึงเป็นการดีสำ�หรับการนำ�ข้อมูลและ ประสบการณ์ต่างๆที่พบมาวิเคราะห์กัน
การสำ�รวจพฤติกรรมผู้บริโภค เมื่อไปถึงประเทศเป้าหมายแล้วต้องสังเกตว่ามีสินค้าอะไรในตลาดนั้นแล้ว รสชาติ หีบห่อ หรือ การบริการ เป็นอย่างไร ซื้อของเค้ามาดู มาทดสอบดูรสชาติ หรือ ทดลองไปใช้บริการของเค้า แล้ว เอามาเทียบกับ เรา เช่น ธุรกิจโรงงานขายบะหมี่ก็ควรไปชิมรสชาติบะหมี่เส้นต่างๆที่คนท้องถิ่นรับประทาน และแวะตาม ซุปเปอร์มาร์เกต หรือร้านสะดวกซื้อ และซื้อของที่เค้านิยมมาลอง อีกตัวอย่างคือ ธุรกิจสิ่งพิมพ์ก็ควรไปดู ว่าคนท้องถิ่นอ่านหนังสือแบบไหน และก็ซื้อสิ่งพิมพ์ต่างๆมาดูรูปแบบ และเปรียบเทียบคุณภาพ และราคา เป็นต้น ดูมาให้ครบ แล้วนำ�กลับมาวิเคราะห์หาจุดอ่อน จุดแข็งของเรา แม้กระทั่งการรับประทานอาหารก็ สามารถศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคไปด้วย เช่น อาหารท้องถิ่นเค้าชอบรับประทานอะไร ทานที่ไหน ที่บ้าน หรือ ร้านอาหาร ราคาสินค้าเป็นอย่างไร หรือการบริการเป็นอย่างไร ก็จะทำ�ให้เราเข้าใจผู้บริโภคในประเทศนั้นได้ มากขึ้น เช่น เมื่อลองทานอาหารท้องถิ่นของคนกัมพูชา ก็จะทราบว่าเข้าไม่ทานเผ็ด อาหารจะคล้ายบ้านเรา แต่รสชาติอ่อนๆ กลางๆ และจะติดหวาน เป็นต้น
Tips ต้องเป็นคนช่างสังเกต และจดเก็บข้อมูล และ ถ่ายรูปไว้ ลองทานอาหารพื้นเมือง แต่ต้องระวังเรื่อง ความสะอาดของอาหารและร้านอาหาร
แหล่งข้อมูล สามารถดาวน์โหลด ผลงานการสำ�รวจพฤติกรรมผู้บริโภค “ ชีพขจรอาเซียน-การสำ�รวจพฤติกรรมผู้บริโภคในประเทศ เมียนมา ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ได้ที่ www.ecberkku.com หรือติดต่อ ศูนย์วิจัยธุรกิจ แลเศรษฐกิจอีสาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การเข้าร่วมงานแสดงสินค้า ในปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่มีการจัดงานแสดงสินค้าและบริการในประเทศต่างๆเพื่อช่วยส่งเสริมสินค้า และบริการของไทยให้ไปขายในตลาดต่างประเทศ โดยในแต่ละปีหน่วยงานต่างๆของภาครัฐได้มีการจัด งานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�และมีการจัดหลายครั้งต่อปีและมีการจัดแยกเป็นประเภทสินค้าและ บริการ ไปตามเมืองต่างๆทั่วโลก อาทิเช่น สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม และสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น สำ�หรับหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัด งานแสดงสินค้าในประเทศไทย และประเทศต่างๆ คือ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ โดยการดำ�เนิน งานของ อัครราชทูต (ฝ่ายการพาณิชย์) ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในสถานทูตไทย หรือสถานกงสุล และ ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานการค้าต่างประเทศ ทั้งหมด 63 แห่งทั่วโลก ผู้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการผลิตและขาย สินค้า หรือ บริการก็ควรจะติดตามข่าวสารของหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อที่จะทราบว่ามีการจัดงาน trade fair เหล่านี้ที่ไหน เมื่อใด การเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวจะเป็นโอกาสดีที่จะนำ�สินค้าและบริการไปทดลอง ในตลาดต่างประเทศ เพื่อที่จะทราบว่าสินค้าและบริการของเราน่าสนใจไหม มีข้อติชม แสดงความคิดเห็น อย่างไรจากผู้เข้าร่วมงาน เพื่อที่จะได้นำ�มาปรับปรุงให้เข้ากับผู้บริโภคของประเทศนั้น และนำ�ข้อมูลที่ได้มา วางแผนธุรกิจต่อไป
แหล่งข้อมูล สามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับกำ�หนดการจัดงาน Thai Trade Fair ในประเทศต่างๆได้ที่ www.ditp.go.th
Tips ผู้ประกอบการหลายท่านมักจะสนใจไปในเรื่องการขายของโดยไม่ได้สังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าชมงานต่อสินค้า และการนำ�เสนอของตน ก็คิดว่าได้กำ�ไรจากการขายของได้ แต่ที่จริงแล้วถือว่าเป็นการขาดทุนเพราะแทนที่ จะได้ไปหาข้อมูลกลับมาปรับปรุงตนเองกลับไปมุ่งแต่ขายของ อย่างที่เรียนข้างต้นว่าผู้ประกอบการต้องศึกษา ตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคซึ่งการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าก็จะเป็นเวทีที่ดีมากในการดูความต้องการของตลาด ในประเทศนั้นว่าสินค้าของเราพอจะไปได้หรือไม่หรือต้องมีการปรับปรุงอย่างไร จะต้องมีการเตรียมการนำ�เสนอสินค้าและผลิตภัณฑ์ รวมถึงการออกแบบหน้าร้านให้น่าสนใจ เตรียมนามบัตร และแผ่นพับประชาสัมพันธ์ต่างๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษ มีการเตรียมของตัวอย่างไปให้ทดลอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาหาร เครื่องดื่ม และเครื่องสำ�อาง ควรเดินทางไปร่วมงานแสดงสินค้าอย่างน้อย 2 ท่าน จะได้ช่วยกันสังเกตความสนใจ ผู้เข้ามาชมร้านในการ จัดร้าน การวางสินค้า และตัวสินค้าของเราอย่างไร
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
7
Checklist สำ�หรับการเตรียมตัวไปเปิดตลาดและโอกาสในประเทศอาเซียน การเตรียมตัวเมื่อไปออกงานแสดงสินค้า
เตรียมความพร้อมในการศึกษาข้อมูลเกี่ยว กับประเทศเป้าหมายอย่างละเอียด ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของประเทศ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเมือง ศึกษาข้อมูลด้านการเงิน ศึกษาความเป็นไปได้
8
ศึกษาและทำ�ความเข้าใจวัตถุประสงค์ของ การเดินทางไปยังประเทศเป้าหมายอย่างละเอียด วัตถุประสงค์การเดินทางไป กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สินค้า/ผลิตภัณฑ์/บริการ จัดเตรียมสินค้าตัวจริงเพื่อสำ�หรับโชว์ จัดเตรียมสินค้าตัวอย่างสำ�หรับทดลอง หรือแจก จ่ายเพื่อการทดลองใช้ จัดเตรียมสินค้าและสิ่งส่งเสริมการขาย เช่น นามบัตร แผ่นพับต่างๆในปริมาณที่เหมาะสม สำ�หรับระยะเวลาการใช้งาน
เอกสารประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสินค้า แผ่นพับแนะนำ�สินค้า, ใบปลิว (ใช้ในการแนะนำ� สินค้าและบริษัท) สำ � หรั บ สิ น ค้ า ที่ มี ค วามหลากหลายควรจั ด ทำ � แค็ตตาล็อกผลิตภัณฑ์ ควรเป็นเอกสารที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ หรือเป็น ภาษาท้องถิ่นของประเทศที่จะไป ควรจั ด เตรี ย มเอกสารเพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ น ปริมาณที่มากเพียงพอ
สถานที่การทำ� Market Test การเตรียมความพร้อมด้านสถานที่ มีอุปกรณ์ ต่างๆ การออกแบบบูธ รวมไปถึงรูปแบบการจัดวางที่ สามารถดึงดูดผู้ที่สนใจให้เข้ามาเยี่ยมชมและเข้า มาสอบถามข้อมูลมากที่สุด พื้นที่ใช้งาน ควรใช้พื้นที่ใช้งานให้เหมาะสมและ คุ้มค่าที่สุด มีการจัดวางตำ�แหน่งการโชว์สินค้าอย่างชัดเจน เพื่อสร้างความน่าสนใจ
ทีมงาน/เจ้าหน้าที่ พนักงานที่ดีต้องมีอัธยาศัยดี เชิญชวน และพูดจา ดี มีภาษากายที่ดีและเป็นมิตร (เปิดเผย / ยิ้มแย้ม / มีการสบตา) แต่งกายสุภาพ กำ�หนดเวลาที่จะพูดคุยอย่างมีประสิทธิภาพและ ให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน ช่างสังเกต และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาท้องถิ่นของประเทศที่ไปได้ หากไม่ได้ก็จะ ต้องจัดเตรียมล่ามไปช่วย
เทคนิคในการอธิบายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ต้องมีความเข้าใจในสินค้าอย่างละเอียด ควรทำ�ความเข้าใจในแง่มุมของผู้ซื้อที่จะมีคำ�ถาม เกี่ยวกับสินค้าอย่างไร เพื่อเตรียมความพร้อมใน การตอบคำ�ถาม เมื่อเริ่มทำ�ความรู้จักกับผู้ที่เข้ามาสอบถาม ควร ใช้โอกาสในการสนทนาสำ�หรับการเสาะหาข้อมูล ความต้องการของตลาดและความต้องการของผู้ บริโภคท้องถิ่นได้ด้วย การเชิญชวนเชิงรุก คือการสร้างจุดสนใจเชิงรุก ด้วยการนำ�เสนอสินค้าในรูปแบบที่น่าสนใจ เพื่อ ดึงดูดให้ผู้ที่เดินผ่านหันมาสนใจที่บูธ หรืออาจจะ มีกลยุทธ์ในการแจกของชำ�ร่วยเล็กๆน้อย หรือ มี การสาธิตและทดลองสินค้า เป็นต้น
ด้านเวลา ใช้เวลาทุกนาทีให้มีค่า เมื่อมีผู้สนใจเข้ามาสอบ ถามข้อมูลหรือทดลองสินค้า ควรอธิบายให้ กระชับได้ใจความและเข้าใจง่าย หากสั ง เกตว่ า มี ผู้ ที่ ส นใจเข้ า มาสอบถามข้ อ มู ล ควรรีบแจกเอกสารประชาสัมพันธ์ทันที เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้รับ และจดบันทึกเพื่อไว้ ประเมินและปรับปรุง บริหารจัดการเวลา โดยมีพนักงานที่ได้รับการ ฝึกฝนอย่างดี พร้อมทั้งข้อมูลที่จะนำ�เสนอไปยัง กลุ่มเป้าหมายและเก็บข้อมูลพื้นฐานจากกลุ่มเป้า หมาย
นามบัตร เป็นสิ่งที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับ แนะนำ�ตัวและให้ข้อมูลในการติดต่อ เตรียมนามบัตรเป็นภาษาอังกฤษและเตรียมให้ เพียงพอ นามบัตรต้องมีข้อมูลครบถ้วน และมีตัวอักษร ขนาดพอดีชัดเจน ชื่อและตำ�แหน่งควรมีขนาด ใหญ่ ควรมีหมายเลขโทรศัพท์สายตรง และ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ และต้องเป็นที่อยู่ที่แน่นอน มารยาทในการแลกเปลี่ ย นนามบั ต รจะต้ อ งใช้ มือทั้งสองข้างจับนามบัตรที่หันด้านชื่อเข้าผู้รับ โดยผู้น้อยควรเป็นผู้เริ่มยื่นก่อน และหลังจากรับ นามบัตรแล้วห้ามเก็บทันที ควรอ่านรายละเอียด ก่อนและหากพบว่าในนามบัตรไม่มีข้อมูลบางส่วน ควรรีบถามทันที ไม่ถือว่าเสียมารยาท
2. การเริ่มต้น และดำ�เนินการเจรจา 1. เตรียมความพร้อมก่อนไปเจรจา กำ�หนดเป้าหมายว่าเราต้องการสิ่งใดจากการ เจรจา เขียนเป็นแผนและกลยุทธ์ไว้ คาดการณ์ความต้องการของคู่เจรจา ว่าเขาน่า จะต้องการอะไร เตรียมข้อมูลของเราไปให้พร้อม
เตรียมคำ�พูดเปิดการเจรจาไว้ล่วงหน้า เริ่มการเจรจาอย่างนุ่มนวล ค่อยเป็นค่อยไป และด้วยอัธยาศัยที่ดี การเจรจาที่ ดี นั้ น ผู้ เจรจาต้ อ งแสดงความ เป็นมิตรตลอด อย่าใส่อารมณ์ แม้การเจรจา จะเริ่มไปในทิศทางที่เราไม่พอใจ
เทคนิคการเจรจาต่อรองธุรกิจ
3. ค้นหาสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งให้ความ สนใจ และเห็นว่ามีคุณค่า การเป็นผู้ฟังที่ดี ก็จะมีความได้เปรียบในการ เจรจา เพราะการรับฟังความต้องการ และ ความสนใจของฝ่ า ยตรงข้ า มจะทำ � ให้ เรามี โอกาสที่จะนำ�เสนอสิ่งที่ถูกใจเขา และเราเอง ก็รับได้ รู้จักถามคำ�ถาม เพื่อที่จะได้ทราบว่าอีกฝ่าย ต้องการอะไร จะได้เข้าใจและสามารถปรับ ให้ตรงกันเพื่อที่การเจรจาจะได้สำ�เร็จแบบ ที่เรียกว่า WIN-WIN คือ ชนะทั้งคู่ เป็นการ เจรจาที่ทั้งสองฝ่ายพอใจ
7. สรุปผลการเจรจา
เมื่อเจรจาเสร็จแล้ว ควรสรุปผลการ เจรจาย่อ แล้วส่งให้อีกฝ่ายรับทราบว่าได้ ตกลงกันเช่นนี้
4. สื่อสารคุณค่าของสิ่งที่ท่านเสนอได้ อย่างชัดเจนตรงประเด็น ต้องแสดงให้เห็นคุณค่า ของสิ่งที่ท่านเสนอ ให้อีกฝ่าย ว่ามีประโยชน์กับเขาอย่างไร
6. ปิดฉากการเจรจา
เตรียมการไว้ล่วงหน้าสำ�หรับผลการเจรจาที่จะ ปิดลงในรูปแบบต่างๆ เช่น ไม่ตกลงกัน หรือ มี การนัดเจรจารอบหน้า ท่านควรลองคิดออกมาว่า ผลอยากจะออกมาในรูปแบบไหนได้บ้างทั้งแนว ลบ และบวก หากการเจรจาเริ่ ม ไปในทางที่ เ ป็ น ทำ � นอง เอาชนะกัน ต่างฝ่ายๆต่างไม่ยอมกัน ขอให้ ท่ า นหายใจลึ ก ๆและขอหยุ ด การเจรจาแบบ ประนีประนอม เช่น บอกว่าวันนี้เราคงจะเหนื่อย พักทานน้ำ�ก่อนค่อยมาคุยกันต่อ ซึ่งจะดีกว่าจะ เถียงกันไปมาหาข้อยุติไม่ได้ ไม่ว่าผลการเจรจาจะออกมาอย่างไร จะต้อง รักษาความสัมพันธ์ไว้ เผื่อโอกาสหน้าจะได้มี โอกาสทำ�ธุรกิจร่วมกันอีก
5. ค้นหา และเตรียมการสำ�หรับ ความกังวล หรือความข้องใจในเรื่อง ที่เราเจรจา จากฝั่งตรงข้าม
ในการเจรจาจะต้องเป็นคนชอบสังเกตและค้นหา เพื่อที่จะสามารถรู้ได้ถึงความกังวลและข้อข้องใจ จากคู่สนทนาได้ ต้องมีการเตรียมการและเตรียมตัวล่วงหน้า หาก คู่สนทนามีข้อข้องใจหรือสงสัยในระหว่างเจรจา จะต้องให้คำ�ตอบได้อย่างละเอียดและถูกต้อง สามารถอธิบายและตอบคำ�ถามให้กับคู่สนทนาได้ อย่างแม่นยำ� เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับคู่สนทนา เพิ่มมากขึ้น
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
9
การสร้าง และการรักษาความสัมพันธ์กับเครือข่ายพันธมิตร คำ�แนะนำ�ทั่วไป ควรมีอีเมล์ที่เหมาะสม และแยกออกจากอีเมล์ ที่ใช้ส่วนตัว และควรใช้เป็นอีเมล์ของบริษัท หากไม่มีก็ควรใช้เป็น Google mail (gmail) เพราะมีระบบป้องกันการจารกรรมข้อมูลได้ดี กว่าเมล์ของบริษัทอื่น และเป็นที่ยอมรับในวง ธุรกิจ นำ�นามบัตรติดตัวไปเสมอ และมีนามบัตรที่เป็น ภาษาอังกฤษไว้ด้วย ฝึกการแนะนำ�ตัวและธุรกิจภายในเวลา 30 วินาที เพื่อใช้เวลาสั้นๆนี้ทำ�ให้คนที่เราพบรู้จัก และประทับใจ สร้างมิตรใหม่ๆเมื่อไปงานต่างๆ หลังจากพบคนในงาน ก็จะต้องมีการติดต่อ สม่ำ�เสมอ ควรเข้ า ร่ ว มเครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ และวิ ช าชี พ เช่น สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้า ในต่างชาติ และสมาคมธุรกิจต่างๆ
การสร้างเครือข่าย (networking) 1. สร้างเครือข่าย กำ�หนดเป้าหมาย แบ่งเวลาไว้สำ�หรับการสร้างเครือข่าย เป็นผู้ให้ สร้างคลังข้อมูลเครือข่ายของตัวเอง
2. ขยายเครือข่าย เชื่อมต่อกับคนที่เหมาะสมกับธุรกิจ สร้างความหลากหลายในเครือข่ายของเรา กลับไปเชื่อมต่อกับคนที่เคยรู้จักในอดีต เข้ารวมกลุ่มธุรกิจ และวิชาชีพ เช่น เป็นสมาชิก สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
3. ลงมือทำ� ติดตามผลในทันที ทำ�ตัวให้คนอื่นรู้จักด้วยการอาสาทำ�งานการกุศล จัดงานที่เป็นประโยชน์ เป็นผู้สนับสนุนการจัดงาน
4. เมื่อได้พบคนใหม่ๆ มีการติดต่อที่สมฺํ่าเสมอ เช่น ส่งอีเมล์ เพื่อแนะนำ� ตัวอีกครั้งว่าพบกันที่ไหน และเราเป็นใคร หากมีการเสนออะไรในขณะที่พบกัน เช่น บอก จะส่งรายการสินค้าให้ ก็จัดการให้เรียบร้อย นัดพบกันเพื่อสานต่อความสัมพันธ์
10
คำ�ถามที่ต้องถามตัวเอง และตอบให้ได้ จุดแข็งที่เป็นลักษณะเฉพาะของธุรกิจของท่าน ส่ ว นใดที่ ธุ ร กิ จ ของคุ ณ ต้ อ งการที่ จ ะเพิ่ ม ประสิทธิภาพการให้บริการตรงส่วนนั้น บริษัทหรือธุรกิจประเภทใดที่ท่านต้องการจะได้ มาเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ หากท่ า นต้ อ งการที่ จ ะร่ ว มเป็ น หุ้ น ส่ ว นทาง ธุรกิจกับบริษัทอื่นๆ ความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ อะไรที่ท่านจะนำ�มาให้กับลูกค้าของท่าน
การติดต่อหน่วยงาน หรือ องค์กรต่างๆในประเทศเป้าหมาย หน่วยงาน และองค์กรต่างๆที่สามารถให้คำ�ปรึกษา และแนะนำ�ข้อมูลในเรื่องการทำ�ธุรกิจในต่างประเทศ หมายเหตุ ข้อมูลติดต่อหน่วยงานสำ�คัญในประเทศเมียนมา และกัมพูชา อยู่ในภาคผนวกท้ายเล่ม
1. ศูนย์พัฒนาการค้า และธุรกิจไทยในอาเซียน เป็นศูนย์ที่อยู่ในความดูแลของสำ�นักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ และกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ที่มีสำ�นักงานในประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นแหล่งถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากและทันสมัยอยู่ตลอด และนอกจากนี้ยังมีการจัดงานแสดงสินค้า และการจับคู่ธุรกิจตลอดทั้งปี รวมถึงสนับสนุนให้นักธุรกิจไทยได้มา ทำ�การค้าการลงทุนในประเทศนั้นๆ โดยเป็นหน่วยงานที่มีเครือข่ายกับหน่วยงานราชการและธุรกิจประเทศต่างๆ ผู้ประกอบการท่านใดสนใจในประเทศไหนในอาเซียนก็สามารถเข้าไปดูข้อมูล หรือติดต่อได้โดยตรง Website http://www.ditp.go.th/main.php?filename=aec_intro
2. ธนาคารพาณิชย์ของไทยทั้งในและต่างประเทศ ในปัจจุบัน ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ต่างก็มีหน่วยงานที่ดูแลลูกค้าเอสเอ็มอี โดยเฉพาะ และยิ่งไปกว่า นี้ก็มีการสนับสนันให้ลูกค้าไปทำ�ธุรกิจหรือลงทุนในประเทศอาเซียน มีหลายธนาคารที่จัดตั้งศูนย์ข้อมูล AEC ไว้ บริการลูกค้า และก็ให้บริการสำ�หรับประชาชนที่สนใจด้วย ดังนี้ผู้ประกอบการสามารถสอบถามไปที่ธนาคารที่ ท่านใช้อยู่เพื่อดูว่ามีข้อมูลด้านการค้าในประเทศอาเซียนที่ท่านสนใจหรือไม่ และหากท่านต้องการข้อมูลเฉพาะ ของประเทศอาเซียนใด ก็สามารถขอคำ�แนะนำ�โดยเฉพาะเรื่องการนำ�เงินเข้า-ออก การให้สินเชื่อ และการให้ บริการทางการเงินการธนาคารต่างๆ นอกจากนี้ ทางธนาคารที่มีสาขาในประเทศอาเซียน ยังมีเครือข่ายกับนัก ธุรกิจท้องถิ่นที่อาจจะตรงกับธุรกิจของผู้ประกอบการไทยอีกด้วย
3. บริษัทที่ปรึกษากฎหมาย การที่จะไปลงทุน หรือทำ�ธุรกิจในต่างประเทศนั้น จะต้องมีความรู้ในเรื่องกฎหมายของประเทศที่เป็น ประเทศเป้าหมาย ดังนี้ผู้ประกอบการจึงควรที่จะปรึกษา บริษัทที่ปรึกษากฎหมาย เพื่อทราบถึงข้อมูลทั้งด้าน กฎหมาย กฎระเบียบ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาษี เรื่องการทำ�สัญญาประเภทต่างๆ การจัดตั้งบริษัท หรือแม้แต่เรื่อง การจดทะเบียนเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ที่เป็นประโยชน์สำ�หรับการลงทุน และทำ�ธุรกิจในต่างประเทศ เพื่อที่จะให้ปฏิบัติได้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำ�หนด และจะได้ไม่มีปัญหาด้านกฎหมายภายหลัง และควรมีการ ปรึกษาก่อนที่จะลงมืออะไร เพราะหากทำ�ผิดกฎหมายแล้วค่อยมาปรึกษานักกฎหมายก็จะทำ�ให้แก้ไขยาก และ เสียเงินทองและโอกาสทางธุรกิจ กฎหมายสำ�คัญที่ควรรู้ กฎหมายการจัดตั้งหุ้นส่วนบริษัท กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนของต่างชาติ กฎหมายว่าด้วย การจ้างแรงงาน และกฎหมายว่าด้วยการทำ�งานของคนต่างชาติ กฎหมายภาษีอากร กฎหมายที่ดิน และการถือครองอสังหาริมทรัพย์ของคนต่างด้าว กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายว่าด้วยเขตเศรษฐกิจพิเศษ กฎหมายว่าด้วยการระงับข้อพิพาท
4. หอการค้า สภาอุตสาหกรรม และสมาคมผู้ประกอบธุรกิจ สมาคมหอการค้า สภาอุตสาหกรรม สมาพันธ์ หรือ สมาคมธุรกิจต่างๆของท้องถิ่น รวมไปถึงสมาคมผู้ ประกอบธุรกิจไทยในประเทศอาเซียน จะมีส่วนช่วยผู้ประกอบการในการให้ข้อมูล และคำ�แนะนำ�ในการทำ�ธุรกิจ การค้าและการลงทุนจากมุมมองของนักธุรกิจโดยตรง และเป็นแหล่งที่ท่านจะมองหานักธุรกิจที่น่าเชื่อถือเพื่อร่วม ทำ�ธุรกิจ การสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์อันดี กับนักธุรกิจเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น ทั้งนักธุรกิจท้องถิ่น หรือนัก ธุรกิจไทย ก็จะเป็นการสร้างโอกาสที่ดีให้กับตัวท่านที่จะนำ�ไปสู่การหาคู่ค้าและธุรกิจที่ดีในอนาคต
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
11
มารยาท และวัฒนธรรมทางธุรกิจ เนื่ อ งจากแต่ ล ะประเทศจะมี ส ภาพ แวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อเราจะไปสร้างเครือ ข่าย ทำ�ธุรกิจ หรือแม้แต่การท่องเที่ยวในแต่ละ ประเทศ ก็จะควรจะทำ�ความเข้าใจวัฒนธรรมของ ประเทศนั้น เพื่อที่จะสร้างความประทับใจว่าเรามี อัธยาศัยไมตรีที่ดี น่าคบค้าสมาคม และเพื่อที่จะ ไม่ได้ไปทำ�อะไรให้นักธุรกิจท้องถิ่นไม่พอใจ หรือ เป็นการแสดงในทางดูถูกโดยไม่ได้ตั้งใจ
สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ (DONT ’s)
การสนทนาเรื่องเชื้อชาติ และศาสนา การสนทนาเรื่องนี้ อาจทำ�ให้เกิดบรรยากาศที่ ไม่ดี หรือเกิดความไม่พอใจได้ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในขณะนี้เมียนมากำ�ลังมีปัญหาความขัดแย้ง ระหว่างชาวพุทธกับชาวมุสลิม ซึ่งเป็นเรื่องที่ อ่อนไหวมากๆ การพูดที่ใช้ถ้อยคำ�ไม่สุภาพ หรือถ้อยคำ�ที่ รุนแรง ชาวเมียนมาส่วนใหญ่จะเป็นชาวพุทธที่ใจเย็น อ่อนน้อม การพูด หรือ แสดงลักษณะท่าที ที่ไม่ค่อยเป็นมิตร หรือค่อนไปทางโวยวาย หรือ แข็งกร้าว ก็จะไม่เป็นที่ประทับใจของ ชาวเมียนมา การสนทนาเรื่องการเมือง การแสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ์เรื่อง การเมือง รัฐบาล หรือ พรรคฝ่ายค้าน เป็นเรื่อง ไม่ควรทำ�อย่างยิ่งไม่ว่าจะในวงสนทนาธุรกิจ หรือสังสรรค์ ระหว่างเพื่อน เพราะอาจทำ�ให้ เกิดเข้าใจผิด หรือเข้าข่ายผิดกฎหมายได้ การพูดเสียงดัง การพูดที่ไม่สำ�รวมเสียงดังจะทำ�ให้ชาวเมียนมา เห็นเราเป็นคนที่ไม่สุภาพ และไม่น่าคบหา
12
มารยาททางธุรกิจและวัฒนธรรมในเมียนมา
สิ่งที่ควรปฏิบัติ (DO’s)
แต่งกายสุภาพ ปกติ ค นเมี ย นมาจะนุ่ ง โสร่ ง ใส่ ร องเท้ า แตะ เพราะเป็นวัฒนธรรมของประเทศเขา แต่ทั้งนี้ เค้ า จะพอใจหากเราแต่ ง กายดี เ พราะถื อ ว่ า เป็นการให้เกียรติ และเป็นการสร้างความ ประทับใจกับผู้ที่พบเห็น สุภาพสตรีไม่ควรนุ่ง กางเกง หรือกระโปรงที่สั้นมาก
การทักทาย การจับมือทักทายเป็นเรื่องที่ดี ไม่ควรยกมือไหว้ เพราะวัฒนธรรมของคนเมียนมาจะไหว้เฉพาะ พระสงฆ์ บุพการี และครูบาอาจารย์เท่านั้น ดังนี้จะเป็นเรื่องที่ไม่ปกติ หากเราเจอใครก็ไป ยกมือไหว้ การจับมือนั้นให้จับแบบพอดี ไม่เบาไม่บีบแรง และให้มองหน้าคนที่เราจับมือด้วย
การเรียกชื่อ เมียนมาไม่มีการใช้นามสกุล ดังนั้นจึงต้องเรียก ชื่อเต็มของเค้า เว้นแต่เค้าจะบอกให้เรียกชื่อ ตัวเดียวได้ เช่น คนชื่อ Thura Win Anug ก็ ต้องเรียกชื่อเต็ม แต่หากเค้าบอกว่าให้เรียกว่า Thura ก็เรียกตามนั้นได้ แต่ เพื่อเป็นการสุภาพ จะต้องมีคำ�เรียกนำ�หน้าดังนี้
สุภาพบุรุษ หากเป็นคนที่มีอายุมากกว่าท่าน หรือ อยู่ใน สถานะสูงกว่า หรือเป็นที่เคารพจะเรียกนำ�หน้า ว่า อู หรือ U เช่น U Thura Win Aung แต่ ถ้าเป็นผู้ที่อายุน้อยกว่า หรือยังอายุไม่มากก็จะ เรียกนำ�หน้าชื่อว่า โก้ (Ko)
สุภาพสตรี หากเป็นคนที่มีอายุมากกว่าท่าน หรือ อยู่ใน สถานะสูงกว่า หรือเป็นที่เคารพจะเรียกนำ�หน้า ว่า ด่อ (Daw) เช่น ไม่ควรเรียกว่า Aung San Suy Kyi ที่ถูกต้องคือ Daw Aung San Suy Kyi แต่ถ้าเป็นผู้ที่อายุน้อยกว่า หรือยังอายุไม่มากก็ จะเรียกนำ�หน้าชื่อว่า ม่า (Ma) เช่น Ma Thida Kyaw Win
เมื่อรับประทานอาหาร ผู้ที่มีอายุน้อย กว่า ต้องตักอาหารช้อนแรกของอาหารที่มา เสริฟ ให้แก่ผู้ที่มีอาวุโสสูงสุดในโต๊ะก่อน
การให้ของขวัญ ของฝาก การเตรียมของที่ระลึกจากประเทศไทย โดย เฉพาะของที่ระลึกประเภทตั้งโต๊ะ หรือขนมจาก ประเทศไทย จะทำ�ให้คนท้องถิ่นประทับใจใน ความมีอัธยาศัยไมตรีที่ดีของเรา
การเชิญร่วมงานสังคมต่างๆ การจะเชิ ญ คนเมี ย นมามาร่ ว มงานงานเลี้ ย ง หรื อ งานพิ ธี จ ะต้ อ งทำ � เป็ น เที ย บเชิ ญ พิ ม พ์ ใ ส่ ซอง และต้องให้คนนำ�ไปส่งกับมือ ก็จะถือว่าให้ เกียรติเค้ามาก
มารยาททางธุรกิจและวัฒนธรรมในกัมพูชา
สิ่งที่ควรปฏิบัติ (DO’s)
การเจรจา หรือติดต่อธุรกิจอย่างเป็น ทางการ สุภาพบุรุษควรใส่สูท หรือ หากอากาศ ร้อนมากก็ควรใส่เสื้อเชิ้ตผูกเนคไท หากเป็น สุ ภ าพสตรี ก็ ค วรแต่ ง ชุ ด สุ ภ าพจะเป็ น กางเกง หรือกระโปรงที่ไม่สั้น
ทักทายอย่างถูกวิธี คนกัมพูชาทักทายและการแสดงความเคารพ โดยการไหว้ หากเป็นผู้ชายกับผู้ชายด้วยกันก็ จะจับมือ หรือจับมือและไหว้ด้วยในกรณีที่ผู้ อ่อนอาวุโสกว่า ทักทายกับผู้ที่มีอาวุโสมากกว่า สำ�หรับการทักทายระหว่างผู้หญิงกับผู้ชายนั้น จะใช้การไหว้ โดยไม่มีการจับมือ
นั ด รั บ ประทานอาหารเพื่ อ สร้ า ง มิตรภาพ นักธุรกิจชาวกัมพูชา จะนิยมนัดรับประทาน อาหารค่ำ� เพื่อที่จะพบปะสังสรรค์และสร้าง ความเป็นกันเอง และการนัดหมายจะควรเป็น เวลาหลังจากหกโมงเย็น เพราะการจราจรจะ ไม่ติดขัดมาก และการดื่มสังสรรค์นั้นก็จะนิยม ผลัดกันยกแก้วอวยพร
มีการให้ของขวัญของฝาก ธรรมเนี ย มนี้ ก็ เ ป็ น ที่ นิ ย มของคนกั ม พู ช าเช่ น เดียวกับเมืองไทย เพราะถือว่าเป็นการแสดง น้ำ�ใจไมตรีที่ดีต่อกัน
เรียกชื่อให้ถูกต้อง คนกัมพูชาจะใช้นามสกุลขึ้นก่อนชื่อ และบาง ท่านมีชื่อกลางด้วย เช่น Mrs. Sao Khunthea โดย Sao เป็นนามสกุล และ Khunthea เป็น ชื่อตัว ตามมารยาทแล้วก็ควรเรียกผู้ที่มียศ หรือ ตำ�แหน่ง ให้ครบทั้งคำ�นำ�หน้าที่ถูกต้องและชื่อ เต็ม
สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ (DONT ’s)
การคุยเรื่องดินแดน หรือข้อพิพาท ระหว่างประเทศไทย และกัมพูชา
การคุยเรื่องยุคการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สมัย เขมรแดง หรือความขัดแย้งในประเทศ หรือ การเมือง เพราะเป็นการสร้างบรรยากาศที่ไม่ดี
ไม่ ค วรเชิ ญ ใครรั บ ประทานอาหาร กลางวัน หากคุ ณ ต้ อ งการเชิ ญ คนกั ม พู ช ารั บ ประทาน อาหารต้ อ งหลี ก เลี่ ย งที่ จ ะเชิ ญ รั บ ประทาน อาหารกลางวัน เพราะอาหารกลางวันต้องทาน ที่ บ้ า นเท่ า นั้ น เพื่ อ จะได้ น อนพั ก ตอนกลางวั น ก่อนตื่นมาอาบนํ้าแต่งตัวเพื่อทำ�งาน หากไม่ได้ นอนกลางวัน คนกัมพูชาจะเกิดอาการง่วงค้าง ทำ�งานได้ไม่เต็มสมรรถภาพ
ไม่ควรผิดเวลานัดหมาย เมื่อนัดพบผู้ใด ก็จะต้องมาให้ตรงเวลาเพื่อแสดง ให้เห็นถึงความเป็นมืออาชีพ และความตั้งใจที่ จะไปพบ แต่หากมีเหตุขัดข้องที่จำ�เป็นจะต้อง มาช้าก็จะต้องรีบแจ้งให้ผู้ที่เรานัดหมายว่าจะไม่ สามารถมาตรงเวลาได้ ด้วยเหตุผลอันใด
(ข้อมูลจาก www.ditp.go.th) คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
13
ข้อมูลการทำ�การทดสอบตลาดในอาเซียน (Market Test) สิ่งที่ควรรู้ก่อน คือ อะไร ?
Land Transportation
การขนส่งสินค้า การขนส่งภายในประเทศ การขนส่งภายในประเทศจะมีหลากหลายช่องทาง อาทิเช่น ทางบก ทางอากาศและทางน้ำ� และการขนส่งทางบก มี 2 รูปแบบคือ ขนส่งผ่านตัวแทนขายไปยังลูกค้าปลายทาง โดยผู้ผลิตจะส่งสินค้าผ่านตัวแทนขายไปยังปลายทางรับสินค้า(ผู้ผลิตรับผิดชอบค่าใช้จ่ายการขนส่ง) และ การขนส่งแบบลูกค้าปลายทางมารับสินค้าที่โรงงานผลิต(ลูกค้าปลายทางรับผิดชอบค่าใช้จ่ายการขนส่ง เอง) โดยสามารถแบ่งประเภทการขนส่งภายในประเทศ ดังต่อไปนี้
Water Transportation
เป็นรูปแบบการขนส่งที่มีปริมาณสูงที่สุดและเป็น รูปแบบการขนส่งหลัก ใช้รถบรรทุก 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ หรือมากกว่า 10 ล้อ เป็นยานพาหนะในการเคลื่อนย้ายสินค้า ดำ�เนินการขนส่งจากโรงงานผลิตไปยังด่านชายแดน
Air Transportation
เป็ น การขนส่ ง ที่ มี ต้ น ทุ น ต่ อ หน่ ว ยต่ำ � ที่ สุ ด ใน บรรดาทางเลือกการขนส่งทั้งหมด อาศัยเพียงเส้นทางที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติเป็น สำ�คัญเช่น คลอง แม่น้ำ� ทะเล และมหาสมุทร การขนส่งทางน้ำ�เป็นการขนส่งที่ช้าที่สุด ดังนั้น จึงเหมาะกับสินค้าที่ไม่มีข้อจำ�กัดเรื่องระยะเวลา ส่งมอบสินค้า
เป็นรูปแบบการขนส่งที่ไปได้ไกลที่สุดและรวดเร็วที่สุด มีต้นทุนต่อหน่วยแพงที่สุด และได้รับความนิยมน้อย สินค้าที่ขนส่งทางรางมักจะเป็นสินค้าที่มีการ ขนย้ายคราวละมากๆ เครือข่ายการขนส่งทางรถไฟของประเทศไทย ซึ่งมีความยาวทั้งสิ้น 4,180 กิโลเมตร เส้นทางวิ่งผ่าน 46 จังหวัด การขนส่งระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าจากประเทศไทยไปยังประเทศเป้าหมาย โดย จะแบ่งการการส่งออกเป็น การขนส่งสินค้าจากโรงงานไปยังประเทศเป้าหมายโดยมีปลายทางที่ด่านชายแดน และการขนส่งไปจากด่านชายแดนไปยังผู้กระจายสินค้าซึ่งอัตราค่าใช้จ่ายในการขนส่งทั้งสองรูปแบบจะมีค่า ใช้จ่ายที่แตกต่างกัน และจะพิจารณาตามประเภทของช่องทางการขนส่ง อาทิเช่น ทางบก ทางอากาศ ทาง น้ำ� รวมไปถึงปริมาณการขนส่งในแต่ละครั้ง โดยปริมาณการขนส่งจำ�นวนมากจะมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าการ ขนส่งในจำ�นวนน้อย และค่าธรรมเนียนการชำ�ระเงินจะอยู่ในรูปแบบดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (USD) โดยแบ่ง รูปแบบการขนส่งระหว่างประเทศได้ ดังต่อไปนี้
Land Transportation เหมาะสมกับการขนส่งคราวละมากๆ ระยะ ทางไกล ต้นทุนต่ำ� ไม่เร่งด่วน อาทิเช่น สินค้าวัตถุดิบ ส่วนประกอบ เครื่องจักร ปัจจุบันนิยมการขนส่งทางบกด้วยระบบ คอนเทนเนอร์
14
Water Transportation เหมาะสมกั บ การขนส่ ง ที่ ไ ม่ ต้ อ งการความ เร่งด่วน ต้นทุนต่อหน่วยค่อนข้างตํ่า และนิยม ขนส่งครั้งละจำ�นวนมาก สินค้าที่เหมาะสม คือ อะไหล่ เครื่องจักรและ สินค้าที่ไม่ต้องการความเร่งด่วน
Air Transportation เหมาะสมกับการขนส่งประเทศใกล้เคียง ระยะ สั้น และต้องการความเร็ว ดำ�เนินการง่าย ส่งมอบรวดเร็วและสะดวก รวมถึงต้นทุนต่อหน่วยค่อนข้างสูง
การขนส่งระหว่าง ไทย - เมียนมา ประเทศเมียนมากับประเทศไทย เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกันมีเขตแดนติดกันยาว 2,040 กม. ซึ่งหากคำ�นึงถึงด้านโลจิสติกส์แล้วจะพบว่า การขนส่ง ที่น่าจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การขนส่งทางบก เนื่องจากด่านชายแดนที่นิยมใช้กัน คือด่านแม่สอด จังหวัดตาก ที่อยู่ตรงข้ามอำ�เภอเมียวดีของเมียนมา หากนับ จากด่านแม่สอด โดยเส้นทางถนนไปสู่กรุงย่างกุ้ง ซึ่งถือว่าเป็นสายหลักของการกระจายสินค้าไทย โดยจะมีความยาวประมาณ 420 กม. ซึ่งถือว่าเป็นเส้นทางที่สะดวก ที่สุด ซึ่งจะใช้เวลาไม่เกิน 3-5 วัน โดยส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค แต่หากสินค้ามีขนาดใหญ่และต้องการกำ�หนดวันเวลาที่แน่นอนจะนิยมขนส่งทางเรือ ซึ่งจะใช้ เวลาในการเดินทางประมาณ 14 วัน(ซึ่งจะไม่นับรวมวันเวลาที่ใช้ดำ�เนินการเอกสารการส่งออก) Tips การขนส่งทางบกมีหัวใจสำ�คัญ คือ ต้องมีผู้รับปลายทางที่แน่นอน และตกลงค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการอย่างชัดเจน
ประเภทการขนส่ง
ทางบก
รายละเอียดเส้นทาง เส้นทางจากเชียงราย - เชียงตุง (เมียนมา) - เชียงรุ้ง (จีนตอนใต้) - คุนหมิง เส้นทางเมียวดี (เมียนมา) - แม่สอด - ตาก - สุโขทัย - พิษณุโลก - ขอนแก่น - มุกดาหาร สุวรรณเขต (ลาว) - ดงฮา - ดานัง (เวียดนาม)
กรุงเทพฯ – ท่าอากาศยานย่างกุ้ง ท่าอากาศยานย่างกุ้ง-ท่าอากาศยานภายในประเทศ ทางอากาศ
ทางเรือ
ท่าเรือเมาะลำ�ไย (Mawlamyine) มีระยะห่างจากแม่สอดของไทย 170 กิโลเมตร แต่ท่าเรือนี้ ไม่สามารถรองรับเรือเดินสมุทรได้ ท่าเรือแอมเฮิรสท์ (Amhurst) หรือ ไจกะมี (Kyaikami) เป็นท่าเรือเก่าสร้างสมัยอังกฤษ ปกครองเมียนมา ท่าเรือนี้ติดต่อกับไทยทางฝั่งด่านเจดีย์สามองค์ จังหวัดกาญจนบุรี ท่าเรือทีละวา (Thilawa) เป็นท่าเรือที่อยู่ใกล้นิคมอุตสาหกรรมย่างกุ้งมีความลึกขนาด 10,000 ตัน อยู่ห่างจากอำ�เภอแม่สอดของไทยเป็นระยะทาง 508 กิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ ระหว่างการก่อสร้าง
การขนส่งระหว่าง ไทย - กัมพูชา เส้นทางการขนส่งระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาส่วนใหญ่จะเป็นการขนส่งทางบกโดยใช้รถบรรทุกเป็นหลัก เนื่องจากการค้าชายแดนได้รับความ นิยมมาก การขนส่งทางบกจึงเป็นวิธีการที่สะดวกที่สุดทำ�ให้ต้นทุนค่าขนส่งต่ำ�และใช้เวลาในการเดินทางสั้น สามารถกระจายสินค้าทั่วทั้งจังหวัดได้ภายใน 1 วัน ซึ่งทำ�ให้ การค้าชายแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา มีมูลค่าการค้าสูงและมีจุดเชื่อมโยงการค้าชายแดน ถึง 16 แห่ง
ทางบก
ด่านชายแดนปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย ติดกับอำ�เภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ของประเทศไทย มีระยะทางรวม 407 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเดินทางประมาณ 5.5–7.5 ชั่วโมง ตลาดชายแดนบ้านแหลม ห่างจากอำ�เภอโป่งน้ำ�ร้อน ประมาณ 32 กิโลเมตร จุดผ่อนปรนบ้านบึงชะนังล่าง ตำ�บลเทพนิมิต อำ�เภอโป่งน้ำ�ร้อน จังหวัดจันทบุรี อยู่ตรงข้าม กับบ้านสวายเวง อำ�เภอก็อมเรียง จังหวัดพระตะบอง จุดผ่อนปรนบ้านซับตารี ตำ�บลทุ่งขนาน อำ�เภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี อยู่ตรงข้ามกับบ้าน โอร์ลำ�ดวน อำ�เภอพนมพรึก จังหวัดพระตะบอง จุดผ่อนปรนบ้านสวนส้ม ตำ�บลสะตอน อำ�เภอสอยดาว อยู่ตรงข้ามกับบ้านสังกะสี อำ�เภอ พนมพรึก จังหวัดพระตะบอง
แหล่งข้อมูล : AEC Business Support Center in Cambodia
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
ทางอากาศ
ทางเรือ
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการขนส่ง ระหว่างประเทศ ประเภทการขนส่ง
ทางบก (Trucking Service)
กรุงเทพ - เมียนมา
กรุงเทพ – พนมเปญ วันละ 6 เที่ยวบิน ท่าอากาศยานพนมเปญ-ท่าอากาศยานภาย ในประเทศ ท่าเรือบริเวณแม่น้ำ�เกาะกง จังหวัดเกาะกง ระยะทาง 30 กิโลเมตรจากชายฝั่ง ประเทศไทย ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2-3 ชั่วโมง ท่าเรือบริเวณเกาะเจ้า อำ�เภอศรีสาโก จังหวัดเกาะกง ระยะทาง 90 กิโลเมตร ใช้เวลา ในการเดินทางประมาณ 6 ชั่วโมง ท่าเรือบริเวณอำ�เภอนาเกลือ จังหวัดเกาะกง ระยะทาง 120 กิโลเมตร ใช้เวลาในการ เดินทางประมาณ 11 ชั่วโมง ท่าเรือสีหนุวิลล์ เป็นของรัฐบาลร่วมกับเอกชน ในจังหวัดสีหนุวิลล์ ระยะทาง 110 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 10-12 ชั่วโมง ท่าเรือมงฤทธี (Mong Rethy) เป็นท่าเรือเอกชน ในจังหวัดสีหนุวิลล์ ระยะทาง 110 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 10-12 ชั่วโมง ท่าเรือในจังหวัดกัมปอต ระยะทางประมาณ 300 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง ประมาณ 24 ชั่วโมง
ระยะเวลา ตู้คอนเทรนเนอร์ขนาด 20x40 ฟุต 420 กิโลเมตร (10-12 ชั่วโมง) ใช้เวลา 3-5 วันทำ�การ
ค่าขนส่งประมาณ 1,400-1,800 USD (รวมค่ า ดำ � เนิ น การศุ ล กากรฝั่ ง ไทย แต่ไม่รวมในฝั่งเมียนมา)
พิจารณาตามขนาดสินค้า, น้ำ�หนัก และ ระยะเวลาในการขนส่ง
คำ � นวณตามขนาดและน้ำ � หนั ก ของ สินค้า ค่าขนส่งประมาณ1,000-1,500 USD/ ตัน/ ประเภทของสินค้า(สินค้าเทกอง)
ระยะเวลาประมาณ 15 วัน
คำ�นวณตามขนาดตู้คอนเทรนเนอร์ ค่าอนุญาตขนสินค้าตู้คอนเทรนเนอร์ 20 ฟุต /20 USD ค่าขนส่งประมาณ 300-500 USD/คิว บิกเมตร(CBM) /ประเภทของสินค้า
Air Cargo
Sea Freight Service
ประเภทการขนส่ง
ระยะเวลา
Air Cargo
Sea Freight Service
เช่าคลังสินค้า
อัตราค่าธรรมเนียม
ตู้คอนเทรนเนอร์ ขนาด 20x40 ฟุต ใช้ระยะเวลา 20-25 ชั่วโมง
คำ�นวณตามขนาดตู้คอนเทรนเนอร์ ค่าขนส่งประมาณ 1,600-2,000 USD (รวมค่าดำ�เนินการศุลกากรฝั่งไทย แต่ไม่รวมในฝั่งกัมพูชา)
พิจารณาจากระยะเวลาในการขนส่ง น้ำ�หนักของสินค้า และประเภทของ สินค้า
คำ�นวณตามน้ำ�หนักที่ช่ังได้จริงและ ประเภทของสินค้า ค่าขนส่งประมาณ 25 USD/Kg
ระยะเวลาประมาณ 5-20 วัน ** ให้บริการตั้งแต่ 15 CBM ขั้นไป
คำ�นวณเป็นคิวบิกเมตร(CBM) กว้าง x ยาว x สูง (เมตร) x นํ้าหนัก ค่ า ใช้ จ่ า ยในการขนส่ ง โดยประมาณ 200-400 USD/ CBM /ประเภทสินค้า
ทางบก (Trucking Service)
กรุงเทพ - กัมพูชา
อัตราค่าธรรมเนียม
ก่อนสินค้าจะเข้าสู่ตลาดและกระจายไปถึงผู้บริโภคจะต้องมีค่าใช้จ่ายที่ใช้สำ�หรับการเช่าพื้นที่สำ�หรับพักสินค้าหรือเช่าคลังสินค้าก่อนส่งต่อไปยังผู้ กระจายสินค้า โดยค่าใช้จ่ายสำ�หรับเช่าคลังสินค้าทางบริษัทขนส่งจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในขั้นตอนนี้ หรือขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างผู้กระจายสินค้าและบริษัท ขนส่งที่จะเป็นผู้รับผิดชอบ โดยค่าใช้จ่ายสำ�หรับเช่าคลังสินค้าหรือค่าเช่าพื้นที่พักสินค้าจะมีค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทของสินค้าและปริมาณของสินค้า รวมถึงระยะเวลาในการเช่าพื้นที่
16
รูปแบบการขนส่งที่ได้รับความนิยม
รถบรรทุก (คอนเทรนเนอร์) เรือ เครื่องบิน
รถบรรทุก (คอนเทรนเนอร์)
เรือ
เครื่องบิน
รับจากมือผู้ส่ง
บรรจุสินค้า
เดินรถจากประเทศ ต้นทางถึงประเทศ ปลายทาง
ส่งถึงมือปลายทาง
รับจากมือผู้ส่ง
บรรจุสินค้า
ส่งสินค้าเข้าท่าเรือต้นทาง พร้อมดำ�เนินพิธีการ ศุลกากร
ส่งถึงมือปลายทาง
รับจากมือผู้ส่ง
บรรจุสินค้า
ส่งสินค้าเข้าท่าเรือต้น ทางพร้อมดำ�เนินพิธีการ ศุลกากร
ส่งถึงมือปลายทาง
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
ป ร ะ ม า ณ ค่ า ใช้ จ่ า ย 1,400-1,800 USD ต่อ การขนส่ง 1 รอบจาก เมืองเมียวดีไปยังเมือง ย่างกุ้ง (ไม่รวมค่าใช้ จ่ายภาษีที่เกี่ยวข้องกับ การนำ�เข้า)
เมียนมา
กัมพูชา
ประเภทค่าใช้จ่าย
ประเภทค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายในการ ขนถ่ายสินค้า ค่าใช้จ่ายด้านคลัง สินค้า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ดำ�เนินการศุลกากร ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ภาษีนำ�เข้าทั้งหมด ค่าใช้จ่ายในการ ขอ Import License
ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า ** หมายเหตุ
เป็นการขนส่งทางรถบรรทุกโดยมีค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบต่อรถบรรทุก 1 คัน/ 20 USD
ค่าใช้จ่ายในการ ดำ�เนินการเอกสารล่วง หน้า (pre-shipment cost)
500-650 USD
ค่าขนส่งจาก กรุงเทพฯ-พนมเปญ
900-1,200 USD
ค่าดำ�เนินการ เอกสารผ่านแดนทั้ง 2 ประเทศ
150-200 USD
ขนาดตู้คอนเทนเนอร์ ค่า X-Ray ตู้ 40’ คิด 40 USD สินค้า ณ ด่านศุลกากร 20’ คิด 25 USD ปอยเปต ค่าตู้สินค้า ค่าใช้จ่ายสำ�หรับ ด่านและค่าใช้จ่ายนอก ระบบ
80 USD 40-60 USD
**หมายเหตุ
ส่วนใหญ่จะเป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการ ด้านเอกสารการขนส่งทางบก รวมประมาณ การค่าใช้จ่าย คือ 1,600-2,000 USD
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
17
แนวทางและค่าใช้จ่ายในการทดสอบตลาด ก่อนที่จะนำ�สินค้าเข้าไปวางจำ�หน่ายในตลาดค้าปลีก หรือค้าส่งย่อมต้องมีขั้นตอนการทำ�การทดสอบ ตลาดเพื่อให้ทราบถึงความต้องการของผู้บริโภคอย่างแท้จริง ดังนั้นในขั้นตอนการทำ�การทดสอบตลาดในแต่ครั้ง ย่อมมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น โดยจะมีค่าใช้จ่ายในแต่ละประเภท ดังต่อไปนี้
แนวทางและขั้นตอนการติดต่อประสานงาน
ดำ�เนินการประสานงานกันระหว่างผู้ประกอบการและทีมงานการตลาดหรือทีมพัฒนาการตลาด ของห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า และซุปเปอร์มาเก็ต โดยจะเป็นขั้นตอนการติดต่อประสานงานไปยังตลาด เป้าหมาย เพื่อนำ�เสนอรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ รายละเอียดของบริษัทผู้ผลิต รายละเอียดของกลุ่มลูกค้า เป้าหมายที่ต้องการ แผนการตลาดที่ต้องการนำ�เสนอและแผนการประชาสัมพันธ์ รวมถึงแสดงสินค้าตัวอย่าง ตลอดจนการทำ�ข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการตลาดเป้าหมาย หลังจากนั้นจะเป็นขั้นตอนการตรวจ พิจารณาผลิตภัณฑ์ก่อนนำ�เข้าไปทดลองตลาด
ค่าธรรมเนียนการให้บริการ
เป็นขั้นตอนการคิดค่าใช้จ่ายสำ�หรับทำ�การทดสอบตลาด ทั้งในตลาดการค้าปลีกและค้าส่ง อาทิเช่น ห้างสรรพสินค้า, ซุปเปอร์มาเก็ต โดยจะมีอัตราค่าธรรมเนียมที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับประเภทและขนาดของตลาด ที่จะเข้าไปทำ�การทดสอบตลาด โดยเฉพาะห้างสรรพสินค้าหรือซุปเปอร์มาเก็ตที่มีขนาดใหญ่และมีชื่อเสียงเป็นที่ ได้รับความนิยมจะมีอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการทำ�การทดสอบตลาดที่ค่อนข้างสูงกว่าห้างสรรพสินค้าหรือ ซุปเปอร์มาเก็ตขนาดกลางและขนาดเล็ก (พิจารณาตามขนาดของบูธและตำ�แหน่งที่ตั้ง) ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวจะ เป็นการประสานงานกันระหว่างผู้ประกอบการและทีมพัฒนาการตลาดของห้างสรรพสินค้า หรือ ซุปเปอร์มาเก็ต
ค่าเช่าพื้นที่
เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นหลังจากการติดต่อประสานงานเพื่อนำ�สินค้าเข้าไปทำ�การทดสอบตลาดภายใน ห้างสรรพสินค้าหรือซุปเปอร์มาเก็ต โดยอัตราค่าเช่าพื้นที่สำ�หรับทดสอบตลาดจะมีอัตราค่าธรรมเนียมที่แตกต่าง กัน ขึ้นอยู่กับประเภทของสินค้าที่จะเข้ามาทำ�การทดสอบตลาด และขนาดของพื้นที่เช่าสำ�หรับการจัดบูธหรือจัด แสดงสินค้าเพื่อทดสอบตลาด รวมไปถึงพิจารณาตามตำ�แหน่งที่ตั้งของการจัดบูธสำ�หรับทดสอบตลาดและระยะ เวลาการดำ�เนินการ โดยค่าเช่าพื้นที่ Indoor จะมีราคาแพงกว่าพื้นที่เช่า Outdoor ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวจะใช้เวลา ประมาณ 1 เดือนในการดำ�เนินการประสานงาน
ตารางรายละเอียดค่าเช่าการทำ� Market Test
Shopping mall
เมียนมา
9.00 5.30 น.
1 เดือน
ระยะเวลาดำ�เนินงาน เริ่มต้น 9.00-5.30 น.
ใช้ระยะเวลา 1 เดือนใน การติดต่อประสานงาน จัดทำ� Market Test
ราคาค่าเช่าขั้นต่ำ� 500 USD/ วัน (ต่อ 1 บูธ) (ขนาด 2m x 3 m)
พิจารณาตามตำ�แหน่ง การจัดวาง และขนาด พื้นที่
Shopping mall
กัมพูชา
9.00 6.30 น.
15-20 วัน
ระยะเวลาดำ�เนินงาน เริ่มต้น 9.00-6.30 น.
ใช้ระยะเวลา 15-20 วัน ในการติดต่อประสานงาน จัดทำ� Market Test
ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ราคาค่าเช่าขั้นต่ำ� 160-200 USD/ วัน (ขนาด 3x6 ฟุต)
พิจารณาตามตำ�แหน่ง การจัดวาง และขนาด พื้นที่
พิจารณาตามประเภท ของสินค้า
เป็นค่าใช้จ่ายที่อาจจะมีเพิ่มเติมสำ�หรับการทดสอบตลาดในต่างประเทศ อาทิเช่นค่าใช้จ่ายในการตกแต่งสถานที่ สำ�หรับทดสอบตลาด หรือค่าใช้จ่ายในการจ้างล่ามแปลภาษาท้องถิ่น หรือค่าใช้จ่ายสำ�หรับทีมงาน/เจ้าหน้าที่ ที่ คอยให้บริการประจำ�บูธทดสอบสินค้า (MC, Seller)
18
ช่องทางและค่าใช้จ่าย ข้อมูลช่องทางการจัดจำ�หน่าย (Distribution Channel) บริษัทกระจายสินค้าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่มีความสำ�คัญอย่างมากสำ�หรับการนำ�สินเค้าเข้าไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศ เนื่องจากบริษัทกระจายสินค้าจะเป็น เหมือนตัวแทนขายสินค้าให้กับผู้ประกอบการ รวมทั้งมีกลยุทธ์ในการนำ�เสนอสินค้าไปยังผู้บริโภคได้ตรงตามความต้องการ โดยมีโครงสร้างและช่องทางเพื่อเคลื่อนย้าย สินค้าจากธุรกิจผู้ผลิตไปยังตลาดผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นตัวกลางทางการตลาดและเป็นหน่วยธุรกิจที่ช่วยเสริมการขายและจำ�หน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคได้ ซึ่งผู้ประกอบการ จะต้องติดต่อประสานงานกับบริษัทกระจายสินค้า เพื่อทำ�ให้สินค้าเป็นที่รู้จักในตลาดและกลุ่มผู้บริโภคในการเพิ่มช่องทางการจัดจำ�หน่าย
ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
โรงงาน
คลัง
ผู้ค้าส่ง
ผู้ค้าปลีก
ผู้บริโภค
อัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการ
หน้าที่และการดำ�เนินงานของบริษัทกระจายสินค้า
โดยทั่วไปเกี่ยวกับอัตราการให้บริการและต้นทุนค่า ใช้จ่ายในกระบวนการกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภค จะนิยมคิดเป็นร้อยละ 7% - 15% ขึ้นไปของยอด ขายสินค้า ขึ้นอยู่กับว่าสินค้าเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค มากน้อยเพียงใดเนื่องจากจะต้องมีค่าใช้จ่ายด้านการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการขาย เพื่อทำ�ให้คน รู้จักสินค้าเราเพิ่มมากขึ้น โดยการลงทุนสำ�หรับการส่ง เสริมการขายจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับผลตอบรับของผู้ บริโภคที่มีต่อสินค้า
คนกลางที่เข้ามาทำ�หน้าที่ต่างๆในกระบวนการที่จะนำ�สินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค เป็นผู้ดำ�เนินการและแก้ปัญหาความหลากหลายทางด้านสถานที่ เวลา การเคลื่อนย้ายสินค้า ระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค เป็นผู้รวบรวมข่าวสารข้อมูลการตลาด ที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคปัจจุบัน และผู้บริโภคในอนาคต คู่แข่งขันและข้อมูลอื่นๆ ทางการตลาด สื่อสารประชาสัมพันธ์การตลาดกับผู้บริโภคเพื่อกระตุ้นการซื้อ เจรจาต่อรองเพื่อบรรลุข้อตกลงในด้านเงื่อนไขการซื้อขาย เช่น ด้านราคา เงื่อนไขอื่นๆ รวมถึง การสั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ รับภาระความเสี่ยงจากการเก็บรักษาสินค้า การเคลื่อนย้ายสินค้าและคลังสินค้า และทำ�การโอนย้ายสิทธิความเป็นเจ้าของ
รูปแบบการกระจายสินค้าที่ได้รับความนิยม การจัดจำ�หน่ายผ่านคนกลางเพียงชั้นเดียว คือ ร้านค้าปลีก (Retailer) โดยผู้ผลิตทำ�หน้าที่ กระจายสินค้าผ่านร้านค้าปลีกเพื่อจำ�หน่ายต่อไปยังผู้บริโภค การจัดจำ�หน่ายโดยการกระจายสินค้าไปยังร้านค้าส่ง (Wholesaler) จำ�หน่ายสินค้าต่อไปยังร้าน ค้าปลีกอีกทอดหนึ่ง เพื่อให้สินค้ากระจายอย่างทั่วถึง โดยจะทำ�หน้าที่ด้านการตลาดแทนผู้ผลิต ในพื้นที่รับผิดชอบ รับผิดชอบเป้าหมายการตลาดและการแข่งขันกับคู่แข่งทุกรูปแบบ การจัดจำ�หน่ายโดยคนกลางที่เรียกว่า "ซาปั๊ว" เข้ามารับสินค้าต่อจากร้านค้าส่งอีกทอด เพื่อ เพิ่มความเข้มแข็งในการกระจายสินค้า สู่ร้านค้าปลีกให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้นและเข้าถึงผู้ บริโภคมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลทข้อมูลที่ปรึกษาทางธุรกิจ เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการ และให้คำ�ปรึกษาด้านกฏหมายทางธุรกิจ สำ�หรับผู้ประกอบการที่สนใจจะลงทุน ในตลาดต่าง ประเทศ โดยช่องทางการติดต่อประสานงาน สามารถติดต่อผ่านหน่วยงานที่ปรึกษาด้านกฏหมายการค้า โดยจะให้บริการด้านกฏหมายแบบ ครอบคลุม หรือให้บริการเฉพาะด้าน อาทิเช่น การดำ�เนินการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท การดำ�เนินการเอกสารระหว่างประเทศต่างๆ รวมไป ถึงกฏหมายว่าด้วยการจ้างงาน การเช่าซื้อที่ดินเพื่อการลงทุนและดำ�เนินการเจรจาต่อรองการค้ารวมถึงดำ�เนินการด้านเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ การนำ�เข้าสินค้า มายังประเทศเป้าหมาย อัตราค่าธรรมเนียนการให้บริการ จะขึ้นอยู่กับขนาด และประเภทของธุรกิจรวมถึงขนาดของทุนจดทะเบียนที่จะก่อตั้งบริษัท และขึ้นอยู่กับข้อตกลงกับของลูกค้า
แหล่งข้อมูล : AEC Business Support Center in Cambodia , AEC Business Support Center in Myanmar
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
19
ข้อมูลสื่อโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนการติดต่อประสานงานเพื่อจัดทำ�สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการให้เป็นที่รู้จักของตลาด และกลุ่มผู้บริโภคในตลาดเป้าหมาย สามารถอธิบายต่อไปนี้ ดำ�เนินการติดต่อประสานงานกับบริษัทที่ผลิตสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ อธิบายถึงความต้องการสื่อโฆษณาที่เหมาะสมกับสินค้าและบริการ รวมไปถึงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ประชาสัมพันธ์ และระยะเวลาในการดำ�เนินงาน ทำ�ข้อตกลงเรื่องการดำ�เนินงานและการชำ�ระค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่กำ�หนด ช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้า เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่ช่วยให้สินค้าและบริการเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค โดย สื่อประชาสัมพันธ์จะได้รับความนิยมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ได้รับ ความนิยมจะขึ้นอยู่กับการพิจารณาตามประเภทของสินค้าและประเภทของช่องทางการประชาสัมพันธ์ ดังต่อ ไปนี้
ป้ายโฆษณาติดรถบัสและรถแท็กซี่(Car wrap) โทรทัศน์ ป้ายโฆษณา billboard สื่อออนไลน์ อาทิเช่น Facebook, SMS สื่ออื่นๆ โบรชัวร์, แผ่นพับ, ใบปลิว วิทยุ
ประเภทของสื่อประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
พิจารณาตามประเภทของสินค้า และ ช่วงเวลาในการทำ�โฆษณา โดยเฉพาะช่วง เวลาวันหยุดและช่วงเวลาที่ได้รับความนิยม ของผู้บริโภคจะมีอัตราค่าธรรมเนียมที่แพง กว่าช่วงเวลาปกติ
พิ จ ารณาตามตำ � แหน่ ง ที่ ตั้ ง ป้ า ย โฆษณา/ประชาสัมพันธ์ และระยะเวลาใน การเช่าทำ�โฆษณา ซึ่งขั้นตอนจะดำ�เนินการ ตั้งแต่การออกแบบโฆษณาติดตั้งโฆษณาและ ดูแลซ่อมแซมจนกว่าจะหมดระยะเวลาตาม สัญญาเช่าทำ�โฆษณา
พิจารณาตามประเภทของสินค้าและ ขึ้นอยู่กับคุณภาพของวัตถุดิบที่ใช้และขนาด ของพื้นที่การใช้ทำ�โฆษณา รวมไปถึงปริมาณ การสั่งพิมพ์
เป็ น สื่ อ การโฆษณาที่ ส ามารถเข้ า ถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง เนื่องจาก สามารถเคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่ต่างๆได้ โดย อัตราค่าธรรมเนียมการใช้บริการจะพิจารณา ตามระยะเวลาการเช่าโฆษณาและปริมาณ การใช้โฆษณา เนื่องจากระยะเวลาการเช่าที่ ยาวจะมีราคาถูกกว่าช่วงระยะเวลาสั้น
เป็นการประชาสัมพันธ์ด้วยเสียงเป็น หลัก จะดำ�เนินงานโดยการขายโฆษณาใน ช่วงเวลาต่างๆ ซึ่งอัตราค่าธรรมเนียมจะแตก ต่างกันแล้วแต่ช่วงเวลาที่ได้รับความนิยมจาก ผู้ฟัง
เป็ น สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ไ ด้ รั บ ความ นิยมอย่างแพร่หลายจากกลุ่มผู้บริโภคที่นิยม ใช้สื่อออนไลน์โดยการโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะนิยมอยู่ในรูปการโฆษณาแฝงร่วมกับสื่อ ออนไลน์ และส่งไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว
ค่าธรรมเนียมการโฆษณา สื่อโฆษณาแฝงอื่นๆ สื่อการโฆษณาในรูปแบบให้การสนับสนุนการ จัดคอนเสิร์ต งานประกวดต่างๆ หรือแม้แต่การ โฆษณาในรูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิญชวน ร่วมกิจกรรมต่างๆ
20
อัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ จะมีอัตราค่าธรรมเนียมที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับประเภทของสื่อและช่องทางการ โฆษณารวมไปถึงระยะเวลาในการทำ�โฆษณาซึ่งสื่อที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค จะมีค่าธรรมเนียมที่สูง ขั้นตอนการชำ�ระค่าธรรมเนียมจะนิยมจ่ายก่อนการดำ�เนินการ 50% และ ชำ � ระค่ า ใช้ จ่ า ยส่ ว นที่ เ หลื อ ทั้ งหมดก่ อ นการเผยแพร่ โ ฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ หรือดำ�เนินการชำ�ระค่าใช้จ่ายทั้งหมดตามข้อตกลงก่อนดำ�เนินการโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะสื่อประเภทป้ายโฆษณา, billboard และสื่อโทรทัศน์ จะมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ดังนั้นจะ มีการชำ�ระค่าใช้จ่ายทั้งหมดก่อนการดำ�เนินงาน
ข้อมูลกฏระเบียบนโยบายการค้าการลงทุนในต่างประเทศ ข้อมูลด้านกฏระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุนในต่างประเทศ
สิ่งสำ�คัญที่ควรรู้ ศึกษาข้อมูล กฎระเบียบด้านการลงทุน / นโยบายการส่งเสริมการลงทุนในประเทศเป้าหมายอย่างละเอียด ศึกษาข้อมูล หน่วยงานที่ดูแลด้านนโยบายการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ ของประเทศเป้าหมาย ศึกษาข้อมูล กฏระเบียบพิธีการศุลกากรของประเทศเป้าหมาย ศึกษาข้อมูล เงื่อนไขการนำ�เข้าสินค้าในแต่ละรายการสินค้าของประเทศเป้าหมาย อาทิเช่น สินค้าจำ�เป็น สินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าควบคุม สินค้าที่ได้รับการ ยกเว้นค่าธรรมเนียม (หมายเหตุ : กฎระเบียบการลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมของรัฐบาลในแต่ละประเทศ ดังนั้นจึงควรติดตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง)
กฏระเบียบและนโยบายการค้าลงทุนจากต่างประเทศ ศึกษาได้จาก
เมียนมา
Myanmar Investment Law : MIL Myanmar Investment Commission :MIC Foreign Direct Investment : FDI หรือ Myanmar Foreign Investment Law (FIL)
กัมพูชา The Council for the Development of Cambodia(CDC) The Cambodian Investment Board(CIB) Cambodian Special Economic Zone Board(CSEZB) The Cambodian Rehabilitation and Development Board (CRDB)
ข้อควรรู้ กัมพูชา ได้ออกกฎหมายส่งเสริมการลงทุนที่จะให้สิทธิประโยชน์และความมั่นคงแก่นักลงทุนที่จะถือครองสิทธิในทรัพย์สินต่างๆ(ยกเว้นกรรมสิทธิ์ท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งผู้ถือครองได้ต้องเป็นบุคคลสัญชาติกัมพูชาเท่านั้น คนต่างด้าวสามารถใช้สิทธิโดยการเช่า หรือสัมปทาน) และให้หลักประกันว่า ผู้ได้รับการส่งเสริมจะได้รับการ ปฏิบัติเท่าเทียมกับคนในชาติและจะไม่ถูก บังคับจากนโยบายกำ�หนดราคาสินค้าและบริการหากมีการใช้บังคับ รวมทั้ง สามารถซื้อและโอนเงินตราต่างประเทศไม่ ว่าจะเพื่อชำ�ระสินค้าหรือจ่ายกำ�ไรตาม ระบบธนาคาร
เมียนมา
รูปแบบการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ มี 2 ประเภท คือ กิจการที่ชาวต่างชาติ เป็นเจ้าของทั้งหมด (Wholly Foreign-owned Enterprises) การลงทุนรูปแบบนี้ต้องขออนุมัติจากรัฐบาลเมียนมาเป็นกรณีไป และหลังจากได้รับอนุมัติแล้ว นักลงทุนต้องขออนุญาตดำ�เนินกิจการจากรัฐบาลเมียนมา ร่วมด้วย กิจการร่วมทุน (Joint Venture) การลงทุนรูปแบบนี้นักลงทุนต่างชาติต้องมีสัดส่วน การถือครองหุ้นขั้นต่ำ� ร้อยละ 35 ของมูลค่าทุนจดทะเบียนทั้งหมด และต้องขออนุญาตดำ�เนินการจากรัฐบาล เมียนมา
Tips
จำ�นวนเงินทุนจดทะเบียนขั้นตํ่า 500,000 USD สําหรับอุตสาหกรรมการผลิต จำ�นวนเงินทุนจดทะเบียนขั้นตํ่า 300,000 USD สําหรับ ธุรกิจบริการ
คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
21
หน่วยงาน
หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนและเกี่ยวข้อง
ที่ตั้ง
หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน เปรียบเสมือนเป็นแหล่งข้อมูลความรู้ และ มีบทบาทในด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนกับผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจที่จะเข้าไปลงทุนทำ�การค้าในประเทศเป้าหมายได้
รายชื่อเครือข่ายธุรกิจในประเทศเมียนมา ภาครัฐ
22
Office of Commercial Affairs Royal Thai Embassy
24-26 Kaba Aye Pagoda Road, (Golden Hill Tower) Bahan Township, Yangon, Union of Myanmar. Tel. (951) 558628, 558556 Ext. 7041 Fax. (951) 558644, 558557 E-mail:thaitrade.ygn@mptmail.net. mm,depthailand@gmail.com
สำ�นักงานส่งเสริมการค้าการลงทุน (ทูตพาณิชย์ประจำ�ประเทศเมียนมา)
Minister counsellor Office of commercial affairs 86 A shin Saw Pu Road, San Chaung Township Yangon Myanmar Tel: 951510731 Fax: 951510731 Mail: ditpthailand9@gmail.com
Kasikorn Bank (Overseas Branches)
No.313/315, U Wisara Road, Sanchaung Township, Yangon, The Republic of the Union of Myanmar E-mail: kbankyangon@gmail.com
Khungthai Bank
Mr. wutichai Sermsongsakunchai Krungthai Bank Office in Yangon (+95 1) 389528 ktbyangonrep@gmail.com
Ministry of Commerce (Myanmar)
Building 3, Nay Pyi Taw, Union of Myanmar. Tel. 067- 408002, 067- 408002 Fax. 067- 408004 Website: www.commerce.gov.mm
ภาคเอกชน
Supperone Shopping Center
No.86, 123rd Street, Super One Building, Mingalar Taungnyunt Township, Yangon, Myanmar. 11221 Tel: 95-1-292880, 202861, 202862 Fax No:95-1-290597 Email:superonecompany@gmail.com Website:www.superone.org SCG TRADING Company Mr. Soontornpol Veerapravati Trading Manager ที่ตั้ง: 9(A-2) U Tun Nyein Street, Mayangone Township, Yangon, MyanmarTel: 9595104393 Fax:951652724 Mail: soontorv@ scg.co.th www.scg-trading.com
Myanmar Advisory Group (Law)
Thurane Win Kyaw (Director) 16/3, third Floor, Kyuntaw Street, Sanchaung Township, Yangon , Myanmar thurane@myanmaradvisorygroup.net thurane@advisorsmyanmar.com
INFORMATIONMATRIX COMPANY
Khaing Nwe Thein (General Manager of sale& marketing development) ที่ตั้ง: 1 Floor, Diamond Center (E), No. 497, Pyay Road,Kamaryut Township, Yangon 11041 Tel: 01512887 Fax:01513519 E-Mail: knt@informationmatrix.com
LINK MEDIA & ADVERTISING
Mr. Tun Lin Aung (B to B Manager) ที่ตั้ง: a-35 Building, Mu Di Tar Housing, Baho Road, 2 Quarter, township Yangon Myanmar Tel: 09253444700-800 HP: 09253-444-900 Mail: kothetnaingag@gmail
Thai Business Association Myanmar (TBAM)
SURAVATH PINSUWANBUTR (Executive Committee) No.4 Pyay Road Dagon Township Yangon Myanmar Tel: (855)9977221422 Mail: tbamoffice@gmail.com www.tbam1997.com
E.F.R Express Service Limited
Yi Mon Thu (General Manager) No.62 , Mahabandoola Housing, Complex(B), Room No. 1001, 10 Floor, Tawataaintha Stree, Pazundaung Tsq.,Yangon, Myanmar Tel : 951202510,9519000668 Mail: nominat@ygnefr.com.mm คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
23
transportation service
Ko Latt Royal transportation service +95-9-73081105 +95-1-542315 +95-9-3004799 kolatt.lucky7@gmail.com
Trading
Yin Yin Aung Sea Horse Trading Limited +95 9 250 270 447 +95-1 385937 +95-1 204109 seahorsetrading1991@gmail.com
transportation service
Myanmar Politics and Business Consultant
DAW YIN YIN AUNG Min Latt Company Limited +95 9 250 270 447 minlattcompany@gmail.com seahorsetrading1992@gmail.com
Law
Ei Ei Aung Myanmar Advisory Group +951536340 Fax: +951535740 www.myanmaradvisorygroup.net eiei@ myanmaradvisorygroup.net
Genius Coffee shop
TBAM (Thai business association of Myanmar)
Distribution company
Export Import company
24
CHO CHO WIN Azimi co.,ltd Cmpany 09 43024039 01 2304203 Chochomar73@gmail.com
Sandy Thann Aung Ney Lin Htun Co.,Ltd. Genius Coffee Estate +95 94253 68000 +95 9795420480 +95 816 8079 Sandy@geniuscoffee.info Mr. Nattawin Phongsphetrarat TBAM (Thai business association of Myanmar) +959 977221422 Mail: tbamoffice@gmail.com www.tbam1997.com ZAW MIN HTIKE APHEA, Pharma distribution company limited Tel :+95 9 501 4695 Mail: aphetaygn.pharma@gmail.com Huanghaishan@gmail.com Ei Ei Phyu @ Phone Thant Cho DUWUN EXPORT IMPORT CO.,LTD Tel: +95 95159650, +95 01248948 Mail: duwun@mptmail.net.mm duwun943!gmail.com
รายชื่อเครือข่ายธุรกิจในประเทศกัมพูชา ภาครัฐ
สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ
Royal Thai Embassy No.196 Preah Norodom Boulevard , Sangkat Tonle Bassac, Khan Chamcar Mon, Phnom Penh Tel. (855) 23 726 306 - 10 (Auto Line) Fax. (66) 0-23546190 (855) 23 726 303 Email: thaipnp@mfa.go.th, thaipnp@mail.camshin.net
สำ�นักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ
Office of Commercial Affairs,Royal Thai Embassy Tel : (855) 23-726 304 Tel : (662)-3546191-3 Ext 208-210 Fax : (855) 23-726 305 E-mail :thaicompnh@online.com.kh
The Council for the Development of Cambodia (CDC)
Government Palace Quay Sisowath, Wat Phanom Phanom Penh Tel : (855) 23-981183 (855) 23-981156 ext 111 Fax : (885) 23-428953-4 or (885) 23-428426 E-mail : CDC.CIB@online.kh
Ministryof Agriculture Forestry and Fisheries
ธนาคารกรุงไทย สาขาพนมเปญ
No.200, Norodom Blvd. , Phnom Penh Tel : (855)23 211351 Fax: (855)23 217320 / 215982 E-Mail : icomaff@camnet.com.kh Website : www.maff.gov.kh 149 Road 215, Teipo1 Market Tuankok District, Phnom Penh Tel : (855) 23-366005 Fax : (855) 23-428737
ภาคเอกชน
ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาพนมเปญ
26 Monivong Blvd, Sangkat Phsar Thmei II, Khan Daun Penh, Phnom Penh, (855-23) 426-145, 213-601, 426-638 โทรสาร: (855-23) 426-116 www.ccb-cambodia.com คู่มือการสร้างเครือข่ายธุรกิจและการทดสอบตลาด ในประเทศกัมพูชาและประเทศเมียนมา
25
CAMBODIA CHAMBER OF COMMERCE
No.7D, Russian Blvd.,(st,110) Sangkat Tek Laok, khan Toul Kork, Phnom Penh Cambodia Tel:(855) 957671, Fax: (855) 881757 Mail: nimetkeo@ gmail.com, http://www.ccc.org.kh/
CAMFEBA-Cambodia Federation of Employer & Business Associations
No.175, Jawaharlal Nehru (St.215), Phnom Penh Tel : 855-23-880 931 Fax : 855-23-880 931 E-mail :camfeba@online.com.kh
PSMIA-Phnom Penh Smalland Medium Industry Association
No.552-556, National Road 2, Sangkat Chak Angreleu, Khan Meanchey, Phnom Penh Tel : 855-23-993 618 Fax : 855-23-993 618 / 995 388 E-mail : psmia@camintel.com
Han Rutten (Director) Logistics-Trade
2-3 str. 188, Sangkat Phsar Thmei , Khan Daun Penh, Phnom Penh 12209, Cmbodia Tel: (855)23428596, 427153, Fax: (855)23218578
Out Door Company Mun Chankanika Sales Excutive
102A Mao Tse Toung Blvd, Boeung Trak khan Cham Penh Phnom Penh, Cambodia Tel: (855) 77808004 E-mail:Sales2@outdoorcambodia.com
Logistic Transport
Mrs.Oranooch Pakarat Rutten Intra Mekong Company +855 081-8392452 (+66) 0-29610855-9, (+66)0-29610811 manager@intraimekong.com
Certified Public Accountants
Young Entrepreneurs association of Cambodia
Ministry of Education Youth and Sport
26
Mr.Sea Piseth APV Certified Public Accountants +855-89 486 856 +855-23 210 918 spiseth@apvcambodia.com Chann Veasna Bod-treasurer Young Entrepreneurs association of Cambodia (+855) 23 6541 666 (+855) 78 666 001 yeac@yeacambodia.org Tiang Sophanarath Ministry of Education Youth and Sport (+855) 01 2826876 sopha2@hotmail.com
Logistic Transport
Mr.Srey Ratanak Daily Transport Car Rental Service (+855) 17 49 85 85 (+855) 10 49 85 85 ŕšˆratanakkhmer@gmail.com
Logistic Transport
Samdy Amith Lok Cam Freight Services (+855)-23 652 8888 (+855)-23 833 902 (+855)-23 88 983 9999 camfreight-ceo@camfreifht.com
สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีกสาน(ECBER) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
30