คำนำ รายงานประจาปี 2557 เป็นการรายงานผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัย นเรศวร ช่วงแผนการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (2555 – 2559) ของรอบปีงบประมาณ 2557 อย่างครบถ้วนทุกยุทธศาสตร์ มีการปรับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายให้เหมาะสมกับการดาเนินงานตามสภาวการณ์ และ จัดทาแผนที่ยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ฯ ขึน้ เพื่อให้การดาเนินงานได้ผลตามค่าเป้าหมายที่วางไว้โดย นามาใช้ในการกาหนดสมรรถนะการประเมินผลการปฏิบัติงานประจาปีของบุคลากร ทาให้ผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรทุกฝ่าย/งาน บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ขอขอบคุณในความร่วมมือที่ดีของบุคลากรทุกคนซึ่งเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนภารกิจให้สาเร็จด้วย ความวิริยะ อุตสาหะอย่างสม่าเสมอ ทาให้องค์กรมีผลการดาเนินงานที่ดีมาโดยตลอด สานักหอสมุดหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประจาปีฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานต่าง ๆ และผู้สนใจ ทั่วไปสาหรับเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา การดาเนินงานต่อไป
(รองศำสตรำจำรย์ ดร.รัตติมำ จีนำพงษำ) ผู้อำนวยกำรสำนักหอสมุด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
|3
บทที่ 1 ส่วนนา ประวัติความเป็นมา สานักหอสมุดมีประวัติควบคู่กับการก่อตั้งมหาวิทยาลัยนเรศวรมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นหน่วยงานสาย สนับสนุนที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ดาเนินงานในภารกิจตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2539 โดยมีการแบ่ง ส่วนราชการเป็น 5 ฝ่าย คือ สานักงานเลขานุการ ฝ่า ยบริการ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรและวิเคราะห์สนเทศ ฝ่า ย วารสารและหนังสือพิมพ์ ฝ่ายสื่อโสตทัศนศึกษา ต่อมาได้มีการแบ่งส่วนราชการตามคาสั่งมหาวิทยาลัยที่ 2654/50 ได้แก่ สานักงานเลขานุการ ฝ่ายบริการทรัพยากรสารสนเทศ ฝ่ายพั ฒนาทรัพยากรและวิ เคราะห์ สนเทศ ฝ่า ย วารสารและหนังสือพิมพ์ ฝ่ายสื่อโสตทัศนศึกษา ฝ่ายเทคโนโลยีห้องสมุด ฝ่ายหอจดหมายเหตุ และฝ่ายห้องสมุด สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ในปี พ.ศ. 2551 สานักหอสมุดดาเนินการปรับโครงสร้างการบริหารงานเพื่อความเหมาะสมและคล่องตัว ในการดาเนินภารกิจให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยนเรศวร ครั้งที่ 137 (4/2551) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2551 เห็นชอบให้ปรับโครงสร้างการบริหารงาน เป็น 3 ฝ่าย คือ สานักงานเลขานุการ ฝ่ายบริการ สารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ โดยลงประกาศในราชกิจ จานุเบกษา เล่ม 127 ตอน พิเ ศษ 138 ง หน้ า 41 เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2553 และจั ด ตั้ ง เครื อข่ า ย NULiNet (Naresuan University Library Network) เพื่อดาเนินงานการจัดการและการบริการทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัย รวม 18 คณะ โดยใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติร่วมกัน สานักหอสมุดกาหนดนโยบายการบริหารงานที่มุ่งให้การดาเนินงานมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยความ มีประสิทธิภ าพ สามารถให้ บริการได้อ ย่างถู กต้องและรวดเร็ว ดั งนั้นในทุกภารกิ จ จึงมี การพั ฒนาเกิด ขึ้น อย่า ง ต่อเนื่องจนกลายเป็นวัฒนธรรมในการทางานที่สามารถสร้างสรรค์นวัต กรรมบริการที่เกิด จากความร่ วมมืออันดี ระหว่างผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ใช้บริการ
วิสัยทัศน์ ปณิธาน ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร วิสัยทัศน์ สานักหอสมุดเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมบริการเพื่อการเรียนรู้ของสาธารณชน ปณิธาน พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ค่านิยม รอบรู้ เชี่ยวชาญ บริการประทับใจ
4 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
วัฒนธรรมองค์กร 1. ทางานเป็นทีม (Teamwork – TW) หมายถึง การทางานเป็นทีม การให้ความร่วมมือในการให้ประสบ ความสาเร็จ รวมถึงการมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างทีมงานทั้งภายในและภายนอก 2. บริการที่ดี (Service Mind – SM) หมายถึง การให้บริการที่สะดวกรวดเร็วด้วยความเต็มใจ ความเอาใจ ใส่และสร้างความประทับใจ 3. การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Continuous Learning – CL) หมายถึง การแสดงออกถึงความตั้งใจในการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองต่อการทางานและการดาเนินชีวิตให้มีความรู้ ความสามารถปรับตัวเข้ากับปัญหาหรือ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ วัตถุประสงค์ 1. เป็นองค์กรที่เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต 2. เป็นองค์กรที่ให้บริการที่สร้างความพึงพอใจและเกื้อกูลต่อการใฝ่รู้ใฝ่เรียน 3. เป็นองค์กรที่มุ่งพัฒนาส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัย พันธกิจ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศทั้งประเภทสิ่งพิมพ์ และอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่กระบวนการการจัดหา การวิเคราะห์หมวดหมู่ การนาออกบริการให้เป็นระบบและมีมาตรฐาน 2. พัฒนาศักยภาพบริการที่นาไปสู่ความพึงพอใจและเกิดประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้บริการใน ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ขั้นตอนการให้บริการ บุคลากร/ผู้ให้บริ การ สถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก และการประชาสัมพันธ์ 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีห้องสมุดโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพ และเพียงพอ สามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้สะดวกและรวดเร็ว 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี มีความคล่องตัวและรวดเร็ว โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ภายใต้ บรรยากาศการมีส่วนร่วมจากทุก ๆ ภาคส่วน 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการทางวิชาการแก่สังคม การให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ห้องสมุด การสืบค้นข้อมูล การมีส่วนร่วมพัฒนาห้องสมุดทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อการอนุรักษ์สืบสาน พัฒนาและ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 5
สัญลักษณ์
แนวคิดและความหมาย 1. จุดกลมประกอบเป็ นรูปช้างสัญลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย สื่อถึงการเชื่อมโยงข้อมูล ต่าง ๆ ในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัด การเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นการค้นคว้าวิจัย เปรียบเสมือนห้องสมุดที่มีชีวิต สามารถสืบค้นข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ สะดวกและรวดเร็ว 2. รูปหนังสือ สื่อถึงแหล่งคลังสมองที่รวบรวมข้อมูลจัดเก็บ เอกสาร ตาราเพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็น ศูนย์ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้และวิจัย 3. ลายเส้นตวัดด้านล่างสื่อถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง 4. สีแสด และสีเทา เป็นสีประจามหาวิทยาลัย 5. ช้างศึกเป็นตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย นโยบาย 1. นโยบายด้านบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ดาเนินการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบที่ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการเข้า มามีส่วนร่วมอย่าง ทั่ว ถึ งเพื่ อจั ด หาทรัพ ยากรสารสนเทศให้ สอดคล้ อ งกั บ ความต้อ งการ และครอบคลุ มทุ ก หลั ก สูต ร/สาขาวิ ช า ด้วยกระบวนงานที่สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ทุกขั้นตอน 2. นโยบายด้านบริการสารสนเทศ ดาเนินการบริการสารสนเทศที่ให้ความสาคัญกับผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม โดยให้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ อย่างสม่าเสมอ ทั้งในแง่ทรัพยากรสารสนเทศ กระบวนการบริการ และบุคลากรผู้ให้บริการ 3. นโยบายด้านเทคโนโลยีห้องสมุด สนับสนุนการนาเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการบริการในทุกภารกิจ 4. นโยบายด้านการบริหารจัดการ ปรับปรุง/พัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่ อให้นาไปสู่การบรรลุ วิสัยทัศน์ของ สานักหอสมุดด้วยความโปร่งใสบนความร่วมมือของบุคลากรทุกคน 5. นโยบายด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมในการให้ความรู้การดาเนินงานห้องสมุดโดยให้ความร่วมมือกับหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 6. นโยบายด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ สืบสานประเพณี วัฒนธรรมไทย และสถาบันหลักของชาติ โดยการมีส่วน ร่วมระหว่างบุคลากรและผู้ใช้บริการสานักหอสมุด
6 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
แผนยุทธศาสตร์สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2555 – 2559 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการสารสนเทศ วัตถุประสงค์ 1. ดาเนินการให้บริการสารสนเทศที่มีคุณภาพเพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนของ คณาจารย์ การเรียนรู้ของนิสิต และการเพิ่มผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัย 2. ดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาองค์กรเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 3. ดาเนินการพัฒนาความรู้และทักษะการให้บริการของบุคลากร 4. ดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบฐานข้อมูลบริการสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าฝ่ายบริการสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการ วัตถุประสงค์ 1. ดาเนินการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมจากผู้ใช้บริการ 2. ดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสนับสนุนการเป็นแหล่งข้อมูลผลงานทาง วิชาการของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ดาเนินการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการวิเคราะห์หมวดหมู่และทารายการทรัพยากร สารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และหัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 7
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการที่มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมบริการเพื่อการเรียนรู้ของสาธารณชน วัตถุประสงค์ 1. ดาเนินการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมที่มาจากความความร่วมมือของทุกภาคส่วนและเกิดการ ปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องที่ชัดเจน โปร่งใส 2. ดาเนินการพัฒนาระบบการสื่อสารขององค์กรให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบ ข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างทั่วถึง ผู้รับผิดชอบ รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมการบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาบุคลากรให้นาไปสู่ผลการดาเนินงานที่ดี วัตถุประสงค์ ดาเนินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งให้เกิดการเรียนรู้ และมีความ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงได้ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าสานักงานเลขานุการ และหัวหน้างานธุรการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 เทคโนโลยีที่สนับสนุนการบริหารและการบริการ วัตถุประสงค์ ดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริหารและการบริการอย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างานเทคโนโลยีห้องสมุด ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริการวิชาการแก่สังคม วัตถุประสงค์ ดาเนินการให้บริการวิชาการแก่สังคมขององค์กรที่ต อบสนองความต้องการของชุมชน สังคม ผู้รับผิดชอบ รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมการบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 7 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ ดาเนินการในการมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมไทย ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าสานักงานเลขานุการ และหัวหน้างานการเงินและพัสดุ
8 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ผู้บริหารสานักหอสมุด รองศาสตราจารย์ ดร.รัตติมา นางวลุลี นางสาวธนพร นางสาวขวัญตระกูล นางสาวพรทิพย์
จีนาพงษา โพธิรังสิยากร ประเสริฐกุล กลิ่นสุคนธ์ อาจวิชัย
นางปราณี
คาแหง
ผู้อานวยการสานักหอสมุด รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการและพัฒนาคุณภาพ รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมการบริการ รักษาการในตาแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริการสารสนเทศ รักษาการในตาแหน่งหัวหน้าฝ่ายพัฒนา และวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ หัวหน้าสานักงานเลขานุการ
คณะกรรมการดาเนินงานสานักหอสมุด รองศาสตราจารย์ ดร.รัตติมา นางวลุลี นางสาวธนพร นางสาวขวัญตระกูล นางสาวพรทิพย์ นางสาวสุมาลี นางรวิวรรณ นายเกดิษฐ นางกนกอร นางปราณี นางสุนิสา
จีนาพงษา โพธิรังสิยากร ประเสริฐกุล กลิ่นสุคนธ์ อาจวิชัย อิ่มศิลป์ ศรีอาไพ เกิดโภคา ไชยาเผือก คาแหง พรหมมณี
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 9
คณะกรรมการประจาสานักหอสมุด รองศาสตราจารย์ ดร.รัตติมา จีนาพงษา (ผู้อานวยการสานักหอสมุด) นางวลุลี โพธิรังสิยากร (รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการและพัฒนาคุณภาพ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ธีระภูธร (ผู้แทนกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สุทัศน์ เยี่ยมวัฒนา (ผู้แทนกลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี) แพทย์หญิงวิมลรัตน์ หออัษฎาวุธ (วันที่ 6 กันยายน 2555 – 1 สิงหาคม 2556) (ผู้แทนกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ) แพทย์หญิงสุชิลา ศรีทิพยวรรณ (วันที่ 21 ตุลาคม 2556 – ปัจจุบัน) (ผู้แทนกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ แย้มเม่น (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อุ่นอรุณ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ดร.นิสาพร วัฒนศัพท์ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) นางสาวธนพร ประเสริฐกุล
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
10 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
อัตรากาลัง กลุ่มปฏิบัติงาน/ประเภท/เพศ/ระดับ การศึกษา/อายุงาน
จานวน (คน)
ปฏิบัติงาน
อายุ (ปี)
ห้องสมุด 21 - 30 31 - 40 41 - 50 51 - 60 สาขา
จานวน
ร้อยละ
สานักฯ
บรรณารักษ์
15
26.32
13
2
-
8
3
4
นักเอกสารสนเทศ
11
19.30
9
2
-
6
4
1
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
3
5.26
3
-
1
1
1
-
เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 1.2 กลุ่มสนับสนุนงานบริการและ งานเทคนิค
1
1.75
1
-
-
1
-
-
นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
3
5.26
3
-
-
1
2
-
นักประชาสัมพันธ์
1
1.75
1
-
-
1
-
-
นักวิชาการช่างศิลป์
1
1.75
1
-
-
1
-
-
พนักงานห้องสมุด
1
1.75
1
-
-
-
-
1
ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด
8
14.04
7
1
1
5
-
2
ผู้บริหาร
1
1.75
1
-
-
-
1
-
นักวิชาการเงินและบัญชี
3
5.26
3
-
-
2
1
-
นักวิชาการพัสดุ
1
1.75
1
-
-
1
-
-
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
1
1.75
1
-
-
1
-
-
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
4
7.02
4
-
1
2
1
-
พนักงานธุรการ
1
1.75
1
-
-
-
1
-
พนักงานขับรถยนต์
1
1.75
1
-
-
1
-
-
คนสวน
1
1.75
1
-
-
-
-
1
57
100.00
52
5
3
31
14
9
2.1 ข้าราชการ
13
22.81
12
1
-
1
7
5
2.2 ลูกจ้างประจา
1
1.75
1
-
-
-
1
-
2.3 พนักงานมหาวิทยาลัย (แผ่นดิน)
14
24.56
13
1
-
11
3
-
2.4 พนักงานมหาวิทยาลัย (รายได้)
16
28.07
14
2
-
12
3
1
2.5 พนักงานราชการ (แผ่นดิน)
4
7.02
4
-
-
-
3
1
1. กลุ่มปฏิบัติงาน 1.1 กลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3 กลุ่มสนับสนุนงานบริหาร
รวม 2. ประเภท
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 11 กลุ่มปฏิบัติงาน/ประเภท/เพศ/ระดับ การศึกษา/อายุงาน
จานวน (คน)
ปฏิบัติงาน
อายุ (ปี)
ห้องสมุด 21 - 30 31 - 40 41 - 50 51 - 60 สาขา
จานวน
ร้อยละ
สานักฯ
9
15.79
8
1
1
6
-
2
57
100.00
52
5
1
30
17
9
3.1 ชาย
24
42.11
23
1
2
15
3
4
3.2 หญิง
33
57.89
29
4
-
17
11
5
57
100.00
52
5
2
32
14
9
4.1 ปริญญาเอก
1
1.75
1
-
-
-
1
-
4.2 ปริญญาโท
20
35.09
20
-
1
8
8
3
4.3 ปริญญาตรี
25
43.86
21
4
1
17
4
3
4.4 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 4.5 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ / อนุปริญญา
2 2
3.51 3.51
2 2
-
-
2 1
-
1
4.6 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือต่ากว่า
7
12.28
6
1
1
3
1
2
57
100.00
52
5
3
31
14
9
5.1 น้อยกว่า 3 ปี
1
1.75
1
-
-
1
-
-
5.2 3 - 10 ปี
15
26.32
14
1
3
11
-
1
5.3 11 - 20 ปี
30
52.63
29
1
-
19
10
1
5.4 21 - 30 ปี
7
12.28
5
2
-
-
4
3
5.5 มากกว่า 30 ปี
4
7.02
3
1
-
-
-
4
รวม
57
100.00
52
5
3
31
14
9
2.6 พนักงานราชการ (รายได้) รวม 3. เพศ
รวม 4. ระดับการศึกษา
รวม 5. อายุงาน
โครงสร้างองค์กร
สานักหอสมุด
สานักงานเลขานุการ
งานธุรการ
งานการเงิน และพัส ดุ
ฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ฝ่ายบริการสารสนเทศ
งานบริการ สารสนเทศ
งานบริการห้องสมุดสาขา วิทยาศาสตร์สุขภาพ
งานเทคโนโลยี ห้องสมุด
งานพัฒนาทรัพยากร สารสนเทศ
งานวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศ
โครงสร้างการบริหารงาน ผู้อานวยการ
คณะกรรมการประจาสานักหอสมุด คณะกรรมการดาเนินงานสานักหอสมุด
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการและพัฒนาคุณภาพ
หัวหน้าสานักงานเลขานุการ
หัวหน้า งานธุรการ
หัวหน้า งานการเงินและพัสดุ
รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมการบริการ
หัวหน้าฝ่ายบริการสารสนเทศ
หัวหน้างานบริการ สารสนเทศ
หัวหน้างานบริการห้องสมุด สาขาวิทยาศาสตร์
หัวหน้างาน เทคโนโลยีห้องสมุด
หัวหน้าฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
หัวหน้างานพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ
หัวหน้างานวิเคราะห์ ทรัพยากรสารสนเทศ
14 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
งบประมาณ สานักหอสมุดได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณรายได้ แผ่นดิน กองทุนทั่วไป 7,080,100 11,189,082 งบบุคลากร 5,407,200 4,347,568 เงินเดือนและค่าจ้างประจา 5,407,200 เงินเดือน 5,170,400 ค่าจ้างประจา 236,800 ค่าจ้างชั่ว คราว 4,347,568 ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน 4,347,568 งบดาเนินงาน 1,672,900 6,361,514 ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ 1,672,900 6,341,514 ค่าตอบแทน 43,000 2,167,600 ค่าใช้สอย 31,400 938,574 ค่าวัสดุ 1,598,500 3,235,340 ค่าสาธารณูปโภค 20,000 ค่าสาธารณูป โภค 20,000 งบอุดหนุน 480,000 เงินอุดหนุน 480,000 เงินอุดหนุนทั่วไป 480,000 กองทุนสินทรัพย์ถาวร 8,800 13,921,000 งบดาเนินงาน 8,800 11,182,700 ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ 8,800 11,182,700 ค่าใช้สอย 8,800 11,182,700 งบลงทุน 2,738,300 ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง 2,738,300 ค่าครุภัณฑ์ 2,738,300 สิ่งก่อสร้าง กองทุนบริการวิชาการ 110,000 งบอุดหนุน 110,000 เงินอุดหนุน 110,000 เงินอุดหนุนทั่วไป 110,000 กองทุนทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 15,000 งบอุดหนุน 15,000 เงินอุดหนุน 15,000 เงินอุดหนุนทั่วไป 15,000 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 7,088,900 25,235,082
รวม 18,269,182 9,754,768 5,407,200 5,170,400 236,800 4,347,568 4,347,568 8,034,414 8,034,414 2,210,600 969,974 4,833,840 20,000 20,000 480,000 480,000 480,000 13,929,800 11,191,500 11,191,500 11,191,500 2,738,300 2,738,300 2,738,300 110,000 110,000 110,000 110,000 15,000 15,000 15,000 15,000 32,323,982
ร้อยละ 56.62 30.18 16.73 16.00 0.73 13.45 13.45 24.86 24.79 6.84 3.00 14.95 0.06 0.06 1.48 1.48 1.48 43.09 34.62 34.62 34.62 8.47 8.47 8.47 0.00 0.34 0.34 0.34 0.34 0.05 0.05 0.05 0.05 100.00
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประเภทรายจ่าย งบประมาณแผ่นดิน กองทุนทั่วไป งบบุคลากร เงินเดือนและค่าจ้างประจา เงินเดือน ค่าจ้างประจา งบดาเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ กองทุนสินทรัพย์ถาวร งบดาเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ ค่าใช้สอย งบประมาณรายได้ กองทุนทั่วไป งบบุคลากร ค่าจ้างชั่วคราว ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน งบดาเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ค่าสาธารณูป โภค
รายรับ 7,088,900 7,080,100 5,407,200 5,407,200 5,170,400 236,800 1,672,900 1,672,900 43,000 31,400 1,598,500 8,800 8,800 8,800 8,800 25,235,082 11,189,082 4,347,568 4,347,568 4,347,568 6,361,514 6,341,514 2,167,600 938,574 3,235,340 20,000 20,000
ปรับเพิ่ม/ ปรับลด 4,735,890 2,235,890 935,890 935,890 935,890 1,300,000 1,300,000 1,300,000 -
โอน เปลี่ยนแปลง รวมงบประมาณ งบประมาณ 1,988,000 9,068,100 9,068,100 5,407,200 5,407,200 5,170,400 236,800 1,988,000 3,660,900 1,988,000 3,660,900 -43,000 -31,400 2,062,400 3,660,900 -8,800 -8,800 -8,800 -8,800 4,926,313 34,897,285 1,014,700 14,439,672 5,283,458 5,283,458 5,283,458 834,700 8,496,214 834,700 8,476,214 20,000 2,187,600 257,700 1,196,274 557,000 5,092,340 20,000 20,000
รายจ่าย 8,653,980 8,653,980 4,993,080 4,993,080 4,774,920 218,160 3,660,900 3,660,900 3,660,900 32,035,156.99 12,205,956.68 4,771,560.00 4,771,560.00 4,771,560.00 7,123,529.18 7,104,716.75 2,131,922.89 924,594.32 4,048,199.54 18,812.43 18,812.43
คงเหลือ 414,120 414,120 414,120 414,120 395,480 18,640 2,862,128.01 2,233,715.32 511,898.00 511,898.00 511,898.00 1,372,684.82 1,371,497.25 55,677.11 271,679.68 1,044,140.46 1,187.57 1,187.57
รายจ่าย (ร้อยละ)
95.43 95.43 92.34 92.34 92.35 92.13 100.00 100.00 100.00 91.80 84.53 90.31 90.31 90.31 83.84 83.82 97.45 77.29 79.50 94.06 94.06
ประเภทรายจ่าย งบอุดหนุน เงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป กองทุนสินทรัพย์ถาวร งบดาเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้ส อยและวัสดุ ค่าใช้สอย งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และ สิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ กองทุนบริการวิชาการ งบอุดหนุน เงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป กองทุนทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม งบอุดหนุน เงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินรับฝากเงินรายได้ กองทุนเงินนอกงบประมาณ เงินรับฝาก NU Book Fair PULINET วิชาการ เงินงบประมาณงบกลาง งบกลาง งบกลาง
รายรับ
ปรับเพิ่ม/ ปรับลด
โอน เปลี่ยนแปลง รวมงบประมาณ งบประมาณ 180,000 660,000 180,000 660,000 180,000 660,000 3,911,613 20,332,613 4,933,393 18,616,093 4,933,393 18,616,093 4,933,393 18,616,093 -1,021,780 1,716,520 -1,021,780 1,716,520
รายจ่าย 310,867.50 310,867.50 310,867.50 19,816,031.31 18,359,470.61 18,359,470.61 18,359,470.61 1,456,560.70 1,456,560.70
คงเหลือ
รายจ่าย
349,132.50 349,132.50 349,132.50 516,581.69 256,622.39 256,622.39 256,622.39 259,959.30 259,959.30
47.10 47.10 47.10 97.46 98.62 98.62 98.62 84.86 84.86
(ร้อยละ)
480,000 480,000 480,000 13,921,000 11,182,700 11,182,700 11,182,700 2,738,300 2,738,300
2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 -
2,738,300 110,000 110,000 110,000 110,000 15,000
-
-1,021,780 -
1,716,520 110,000 110,000 110,000 110,000 15,000
1,456,560.70 1,600.00 1,600.00 1,600.00 1,600.00 11,569.00
259,959.30 84.86 108,400.00 1.45 108,400.00 1.45 108,400.00 1.45 108,400.00 1.45 3,431.00 77.13
15,000 15,000 15,000 706,740.62 706,740.62 706,740.62 706,740.62 279,510 279,510 279,510
2,611,813.00 2,611,813.00 2,611,813.00 1,801,066.00 810,747.00 -
-
15,000 15,000 15,000 3,318,553.62 3,318,553.62 3,318,553.62 2,507,806.62 810,747.00 279,510.00 279,510.00 279,510.00
11,569.00 11,569.00 11,569.00 2,824,149.68 2,824,149.68 2,824,149.68 2,101,266.13 722,883.55 122,813.00 122,813.00 122,813.00
3,431.00 3,431.00 3,431.00 494,403.94 494,403.94 494,403.94 406,540.49 87,863.45 156,697.00 156,697.00 156,697.00
77.13 77.13 77.13 85.10 85.10 85.10 83.79 89.16 43.94 43.94 43.94
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 งบประมาณที่จัดสรรให้กับคณะสาหรับใช้ในการจัดซื้อหนังสือ
คณะ กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (35%) คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพลังงานทดแทน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ (35%) คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (35%) คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ รวม
งบประมาณ 1,750,000 337,926 602,455 589,679 199,649 20,291 1,750,000 171,802 150,710 343,264 300,739 250,389 301,419 231,678 1,500,000 108,293 461,267 249,059 329,396 280,826 71,160 5,000,000
หมายเหตุ: ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จัดสรรให้วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน 10,000 บาท และวิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน 10,000 บาท
| 17
18 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
งบประมาณที่เบิกจ่ายให้กับคณะ
คณะ สานักหอสมุด กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพลังงานทดแทน วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ รวม หมายเหตุ 1. รายจ่ายส่วนเกินจากงบประมาณที่จัดสรรใช้ในต้นปีงบประมาณมาจาก - เงินรับฝาก - เงินงบประมาณแลกเปลี่ยนจากหน่วยงานอื่น - เงินเหลือจ่ายจากกองทุนต่าง ๆ 2. เงินเหลือจ่ายจากกองทุนต่าง ๆ จะนามาใช้ในการจัดซื้อหนังสือเพิ่มเติม
งบประมาณ 83,863.35 2,021,919.10 417,867.00 651,823.40 604,991.95 233,390.90 49,373.00 19,951.85 44,521.00 1,877,470.45 173,240.15 134,333.00 305,739.20 434,425.75 332,516.50 337,057.05 160,158.80 1,779,026.35 165,650.20 498,475.10 314,803.80 336,749.45 358,669.65 104,678.15 5,762,279.25
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
| 19
สรุปงบประมาณที่เบิกจ่ายค่าทรัพยากรสารสนเทศของสานักหอสมุด งบประมาณ/ทรัพยากร หนังสือ วารสารภาษาไทย/นิตยสาร วารสารภาษาต่างประเทศ หนังสือพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (ซื้อใหม่/ต่ออายุ) วารสารออนไลน์ (ซื้อใหม่/ต่ออายุ) ค่าบารุงรักษาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ รวม
แผ่นดิน 3,660,900.00
รายได้ 1,445,309.00 103,030.00 1,401,304.77 141,215.00 26,059.00 16,899,251.12
756,319.88 855,766.80 3,660,900.00 21,628,255.57
เงินรับฝาก รายได้ 56,709.00
หน่วยงานอื่น
3,750.00
60,459.00
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายทรัพยากรสารสนเทศต่อนิสิตและอาจารย์ ประเภท จานวน (คน) ทรัพยากรสารสนเทศ (คน : บาท) 1 นิสิต 22,228 1 : 1,166.06 2 อาจารย์ 1,396 1 : 18,566.73 รวม 23,624 1 : 1,097.15 รวมค่าใช้จ่ายจริงทั้งหมด 25,919,162.57 1 2
จานวนนิสิต : ข้อมูลจากกองบริการการศึกษา สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2557 จานวนบุคลากรสายวิชาการ (อาจารย์) : ข้อมูลจากกองบริหารงานบุคคล สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร
569,548.00
รวม 5,732,466.00 103,030.00 1,401,304.77 141,215.00 29,809.00 16,899,251.12
756,319.88 855,766.80 569,548.00 25,919,162.57
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 23
การบริการสารสนเทศ สํานักหอสมุดดําเนินงานบริการตามที่กําหนดไว้ในนโยบายการบริหาร สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2559 และยังคงให้ความสําคัญกับผู้ใช้บริการมาโดยตลอด มีการปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพ ของทรัพยากรสารสนเทศ กระบวนการให้บริการ พร้อมทั้งบุคลากรผู้ให้บริการอย่างสม่ําเสมอเพื่อมุ่งให้ผู้ใช้บริการทุก คนได้รับประโยชน์จากการใช้ข้อมูลสารสนเทศของสํานักหอสมุดอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ได้พัฒ นาระบบเทคโนโลยี สนับสนุนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการอีกด้วย ปีงบประมาณ 2557 มีการพัฒนาและจัด กิจกรรมส่งเสริมการบริการ ได้แก่ 1) ติด Tag RFID หนังสือของสํานักหอสมุดและห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อเตรียมการรองรับระบบเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification ) ในการให้บริการยืม – คืน 2) จัด กิจกรรมส่งเสริมการรักการอ่าน ได้จัดกิจกรรม “ยืมไม่อั้น อ่านให้อิ่ม” ครั้งที่ 1 ขึ้นระหว่างวันที่ 8 พฤษภาคม ถึงวันที่ 11 สิงหาคม 2557 ซึ่งเป็นกิจกรรมสนับสนุนและส่งเสริมการอ่านของนิสิตทุกระดับ เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้หนังสือ โดย เปิดโอกาสให้ยืมหนังสือทุกประเภทได้ไม่จํากัดจํานวนในช่วงระยะเวลาที่กําหนด มีนิสิตเข้าร่วมกิจกรรม รวม 315 คน จําแนกเป็น นิสิตระดับปริญญาตรี 249 คน ปริญญาโท 36 คน ปริญญาเอก 30 คน จํานวนการยืมหนังสือรวมทั้งสิ้น 36,929 เล่ม (จํานวนการยืมนี้นับรวมกับการยืมในช่วงเวลาปกติ) สํานักหอสมุดแบ่งงานบริการสารสนเทศหลักๆ ออกเป็น 5 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านการบริการผู้ใช้ เป็นบริการพื้นฐานทั่วไป ดังต่อไปนี้ • บริการยืม – คืนทรัพยากรสารสนเทศ (Borrowing Service) • การยืมต่อด้วยตนเอง (Renew Online) • บริการยืมระหว่างห้องสมุด (ILL: Interlibrary Loan Service) • บริการนําส่งทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุด (DDS: Document Delivery Service) • บริการจองทรัพยากรสารสนเทศ (Hold) • บริการตอบคําถามและช่วยการค้นคว้า (Reference Service) บริการด้านบนนี้จัดในลักษณะบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One - Stop Service) ด้วยระบบ Millennium บนเครือข่าย NULiNet (Naresuan University Library Network) จํานวน 18 จุดบริการ • บริการรับแจ้งการหาทรัพยากรสารสนเทศไม่พบ • บริการหนังสือเร่งด่วน • บริการทําบัตรสมาชิกห้องสมุด สําหรับบุคลากรทุกหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย • บริการเครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องพิมพ์ จํานวน 6 เครื่อง เพื่อบริการการพิมพ์ออนไลน์ • บริการห้องศึกษาค้นคว้า จํานวน 12 ห้อง สําหรับการศึกษาค้นคว้าแบบกลุ่ม • บริการโสตทัศนศึกษา ให้บริการสื่อโสตทัศนวัสดุประเภท ซีดี ดีวีดี วีซีดี รายการโทรทัศน์ทั้ง ภายในประเทศและต่างประเทศ พร้อมอุปกรณ์ • บริการ 24 ชั่วโมง เปิดบริการทั่วทั้งอาคาร ช่วงก่อนสอบกลางภาค และก่อนสอบปลายภาค เพื่อเป็นการ สนับสนุนการเรียนรู้แบบไร้ขีดจํากัดด้านเวลา • บริการพื้นที่นั่งอ่าน 24 ชั่วโมง (Zone-24) สํานักหอสมุดจัดบริการพื้นที่นั่งอ่าน 24 ชั่วโมง (Zone-24) ด้วยพื้นที่นั่งอ่าน 200 ที่นั่งตลอดปีไม่มีวันหยุดพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก อาทิ Wireless Access Point, ปลั๊กไฟ, น้ําดื่ม โดยมีระบบรักษาความปลอดภัยทั้งกล้องวงจรปิด และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
24 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ผลการดําเนินงานโดยรวมด้านบริการผู้ใช้ในรอบปีงบประมาณ 2557 มีสถิติข้อมูล ดังนี้ สถิติบริการยืม-คืน เคาน์เตอร์ One-stop Service 1-3 และเครือข่าย NULiNet งานทีป่ ฏิบัติ เคาน์เตอร์ One-stop Service 1 ยืม คืน จอง เคาน์เตอร์ One-stop Service 2 ยืม คืน จอง เคาน์เตอร์ One-stop Service 3 ยืม คืน จอง รวมเคาน์เตอร์ One-stop Service ทั้งหมด ยืม คืน จอง รวมเครือข่าย NULiNet (18 จุด) ยืม ยืมต่อผ่านเว็บ จอง
หน่วยนับ
จํานวน
รายการ รายการ รายการ
146,025 158,308 134
รายการ รายการ รายการ
16,469 5,601 14
รายการ รายการ รายการ
8,921 2,429 13
รายการ รายการ รายการ
171,415 166,338 161
รายการ รายการ รายการ
267,772 98,271 259
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 25
สถิติบริการยืมทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุด จําแนกตามหน่วยงาน ที่ 1
2
3
4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
คณะ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพลังงานทดแทน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มสังคมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร คณะสังคมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัย โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร สํานักงานอธิการบดี สํานักหอสมุด วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตกรุงเทพ สมาชิกสมทบ PULINET วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน สถานเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ไม่ระบุ รวม
จํานวน (รายการ) 38,257 6,720 13,980 13,215 4,236 106 23,782 2,562 1,205 3,284 3,560 5,630 3,450 4,091 70,736 5,758 11,242 9,851 35,640 6,724 1,521 31,450 518 2,355 3,075 58 3 672 40 268 133 68 171,415
26 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
สถิติบริการยืมทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุดเครือข่าย NULiNet ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
ห้องสมุด/ห้องอ่านหนังสือ สํานักหอสมุด ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ *คณะแพทยศาสตร์ โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะมนุษยศาสตร์ *คณะสาธารณสุขศาสตร์ การยืมต่อด้วยตนเองออนไลน์ (Renew Online) รวม
จํานวน (รายการ) 171,415 26,111 95 7,541 3 3,323 19,426 1,403 750 2,906 5,489 5,592 2,112 9,518 5,554 2,575 272 3,687 98,271 366,043
หมายเหตุ : 1. คณะแพทยศาสตร์ ปิดทําการห้องอ่านหนังสือ ปีงบประมาณ 2557 มีข้อมูลการยืมค้างในระบบ 2. คณะสาธารณสุขศาสตร์ อยู่ในระหว่างก่อสร้างอาคารและนําทรัพยากรสารสนเทศมาให้บริการที่ สํานักหอสมุด 3. บัณฑิตวิทยาลัยปิดทําการห้องอ่านหนังสือ
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 27
สถิติการขอใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ประเภทเอกสาร วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/ภาคนิพนธ์ หนังสือ ผลงานวิจัย บทความวารสาร รวม
จํานวน 14 45 5 21 85
สถิติการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ประเภทเอกสาร วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/ภาคนิพนธ์ หนังสือ ผลงานวิจัย บทความวารสาร รวม
จํานวน 2 4 1 2 9
สถิติบริการนําส่งทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุด (DDS: Document Delivery Service) ห้องสมุด/ห้องอ่านหนังสือที่เป็นเจ้าของทรัพยากร สํานักหอสมุด ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะนิติศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ รวม
จํานวน คําขอ 918 249 11 39 58 18 18 9 36 42 20 1,418
รายการ 1,806 369 15 47 99 18 22 9 72 48 22 2,527
28 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
สถิติรับแจ้งหาทรัพยากรสารสนเทศกรณีหาไม่พบ ประเภท วิทยานิพนธ์ ผลงานวิจัย หนังสืออ้างอิง สิ่งพิมพ์รัฐบาล หนังสือภาษาต่างประเทศ หนังสือภาษาไทย สื่อโสตทัศนวัสดุ นวนิยาย-เรื่องสั้น วารสาร รวม
หน่วยนับ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ รายการ
จํานวนรวม 2 9 1 2 9 31 15 1 70
หน่วยนับ รายการ
จํานวน 83
หน่วยนับ คน คน คน
จํานวน 42 34 76
สถิติบริการหนังสือเร่งด่วน รายการ ขอใช้บริการหนังสือกรณีเร่งด่วน สถิติการทําบัตรสมาชิกห้องสมุด ประเภท อาจารย์ บุคลากร รวม
จํานวน พบ 1 8 0 1 5 20 10 1 46
ไม่พบ 1 1 1 1 4 11 5 0 24
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 29
สถิติบริการห้องศึกษาค้นคว้า คณะ บัณฑิตวิทยาลัย คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยพลังงานทดแทน วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน สํานักงานอธิการบดี ไม่มีบัตร รวม
หน่วยนับ
จํานวน
คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน
928 580 607 413 122 526 1,085 1,306 3,687 2,195 424 3,147 2,150 111 1,049 2,259 1,186 166 1 0 0 0 1,666 23,608
หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2557 ปรับเปลีย่ นการเก็บข้อมูลเป็นจํานวนผู้ใช้บริการโดยจําแนกตามคณะ/หน่วยงาน
30 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
สถิติบริการโซน 24 ชั่วโมง (Zone-24) ช่วงเวลา
จํานวน (คน)
00.00 - 01.00 01.00 - 02.00 03.00 - 04.00 04.00 - 05.00 05.00 - 06.00 06.00 - 07.00 07.00 - 08.00 08.00 - 09.00 09.00 - 10.00 10.00 - 11.00 11.00 - 12.00 12.00 - 13.00 13.00 - 14.00 14.00 - 15.00 15.00 - 16.00 16.00 - 17.00 17.00 - 18.00 18.00 - 19.00 19.00 - 20.00 20.00 - 21.00 21.00 - 22.00 22.00 - 23.00 23.00 - 24.00 รวม
321 58 15 12 124 420 672 680 1,721 1,420 1,950 1,715 1,650 1,436 1,215 1,120 1,140 1,060 950 512 216 82 61 18,550
หมายเหตุ : ปิดบริการระหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 ถึงวันที่ 10 มีนาคม 2557 เพือ่ ปรับปรุงพื้น
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 31
สถิติผู้เข้าใช้บริการ คณะ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพลังงานทดแทน วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มสังคมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร คณะสังคมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัย โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร หน่วยงานสนับสนุน สํานักงานอธิการบดี บุคคลภายในแลกบัตร** รวมบุคคลภายใน สมาชิกสมทบ สมาชิก PULINET บุคคลภายนอก รวมบุคคลภายนอก ZONE-24 รวม หมายเหตุ : บุคคลภายในแลกบัตร คือบุคลากร/อาจารย์ ที่ไม่ได้นําบัตรมาเข้าใช้บริการ
จํานวน (คน) 94,784 13,217 37,226 38,238 5,779 192 79 53 104,589 11,592 5,293 12,173 24,936 14,180 23,293 13,122 192,395 21,734 21,944 41,552 47,582 34,622 3,244 21,413 304 1,370 1,370 18,107 411,245 468 0 10,865 11,333 18,550 441,128
สรุปสถิติการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ลําดับ
รายชื่อ
ต.ค. 1* Academic Search Complete 16,468 2* ACM 85 3* ACS 728 4/ ADIS Online 94 5/ AIP 77 6/ APS 50 7/ Annual Reviews 130 8/ ASCE 62 9/ ASME 3 10/ A - to - Z Search 2,065 11/ Business Source Complete 14,935 12/ CINAHL Plus with Full Text 15,570 13* Communication & Mass Media Complete 14,914 14* Computer & Applied Science Complete 14,901 15* Education Research Complete 15,403 16* Emerald Management Xtra 203 17* H.W.Wilson (12 subjects) 179,235 18* IEEE/ IEL 3,208 19* ISI Web of Science 1,014 20/ JOVE 687 21/ JSTOR 147 22/ Matichon e-Library 200 23/ Micromedex Group A 2,082 24/ Nursing Reference Centre 14,828 25// Ovid 691
พ.ศ. 2556 พ.ย. 17,757 173 529 192 20 41 108 5 5 1,431 16,169 16,259 16,077 16,040 16,447 552 192,773 5,378 773 572 102 193 3,881 15,976 797
ธ.ค. 8,037 54 358 70 33 233 70 2 3 651 7,263 7,404 7,145 7,143 7,389 378 85,951 3,109 443 382 82 303 2,566 7,128 293
พ.ศ. 2557 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 20,732 13,796 15,870 9,615 14,382 15,219 12,479 19,880 158 130 162 130 148 527 267 198 649 556 493 501 486 1,287 890 536 72 107 92 28 135 118 45 155 29 24 28 18 17 71 44 32 63 87 78 29 44 93 17 89 111 130 104 67 70 110 63 197 9 0 29 48 10 22 5 72 10 6 17 9 9 13 14 55 2,953 886 1,624 811 780 993 808 1,715 19,009 12,132 14,011 8,656 12,503 13,286 10,815 17,447 19,030 12,289 14,303 8,758 12,556 13,384 10,872 20,522 ยกเลิกการบอกรับฐานข้อมูล CMMC ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 19,011 12,238 14,021 8,697 12,468 13,307 10,857 17,477 19,335 12,483 15,411 9,434 12,932 13,614 11,089 17,805 348 434 667 519 389 338 369 226,568 145,377 167,845 103,949 149,130 159,108 129,420 208,282 3,758 3,515 3,661 3,046 2,467 3,598 3,283 3,911 861 680 340 107 208 330 625 698 728 727 687 516 1,115 1,067 692 903 111 149 435 93 144 118 64 195 120 144 148 145 190 1273 51 270 2,207 2,236 1,638 1,343 3,012 3,184 3,098 2,107 18,768 12,029 13,799 8,555 12,277 13,176 10,741 17,330 720 571 566 326 1,498 797 461 556
รวมทั้งสิ้น ก.ย. 26,061 190,296 490 2,522 633 7,646 130 1,238 58 451 60 884 99 1,259 95 359 50 194 1,429 16,146 23,273 169,499 25,145 176,092 38,136 23,279 169,439 23,518 174,860 4,197 277,991 2,025,629 4,809 43,743 669 6,748 1,144 9,220 210 1,850 457 3,494 2,839 30,193 22,969 167,576 959 8,235
ลําดับ
รายชื่อ
พ.ศ. 2556 ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ม.ค.
26/ ProQuest 5000 * ProQuest ABI/Inform Complete 471 504 297 495 * ProQuest Dissertation & Theses 1,959 2,832 1,696 1,785 ProQuest Agriculture Journals 152 161 95 157 ProQuest Asian Business and Reference 143 168 102 137 ProQuest Biology Journals 148 205 104 143 ProQuest Computing 154 195 95 136 ProQuest Education Journals 216 191 110 156 ProQuest Science Journals 154 174 100 223 ProQuest Social Science Journals 168 196 136 145 ProQuest Telecommunications 141 145 96 136 27 Regional Business News 14,836 15,995 7,134 18,798 28/ SAGE 220 356 304 468 29/ Science Online 32 12 23 22 30* ScienceDirect 117,320 136,814 93,349 141,561 31// SciFinder 210 126 107 301 32/ SCOPUS 1,298 1,497 738 2,338 33* SpringerLink 2,933 3,690 1,863 2,569 34/ Springer Protocols 10 26 23 68 35// UpToDate 1,833 2,434 2,184 2,383 36/ Westlaw 37/ Wiley InterScience 1,256 1,422 1,311 1,766 รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : บอกรับโดย -- * สกอ. -- / สํานักหอสมุด -- // บอกรับร่วมกับคณะ
ก.พ.
มี.ค.
615 2,536 227 202 249 366 355 214 208 214 12,058 333 34 97,453 190 1,556 1,755 904 1,314 1,761
840 4,089 280 274 297 274 674 311 295 269 13,852 497 37 129,709 170 1,666 2,065 1,136 1,198 1,993
พ.ศ. 2557 เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 648 2,958 193 199 202 213 339 204 232 193 8,588 561 36 98,188 212 1,231 1,315 598 1,189 1,532
558 3,016 190 189 211 203 221 211 192 188 12,369 444 12 82,343 188 1,216 1,838 463 3,054 1,521
402 1,632 161 133 167 140 165 149 157 132 13,178 979 37 121,338 395 1,299 2,567 676 3,480 2,460
ก.ค.
ส.ค.
493 2,012 163 160 164 159 172 160 167 157 10,752 295 17 102,738 222 1,412 1,694 621 3,496 2,030
655 2,718 243 210 231 208 324 218 266 210 17,339 533 36 159,733 223 1,915 2,099 410 3,242 2,283
ก.ย.
รวมทั้งสิ้น
786 6,764 3,339 30,572 296 2,318 210 2,127 215 2,336 241 2,384 316 3,239 218 2,336 275 2,437 210 2,091 23,182 168,081 693 5,683 32 330 210,283 1,490,829 304 2,648 2,065 18,231 2,697 27,085 550 5,485 2,679 28,486 0 19,335 5,072,703
สรุปสถิติการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) ลําดับ 1* 2 3 4 5 6* 7
รายชื่อ Access Medicine (MGH ACM) Blackwell Wiley Elsevier E-Book Emerald E-Book SpringerLink E-Book eBook Academic Collection วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (TDC)
พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 รวม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 349 452 276 1,062 274 392 372 1,019 740 1,729 1,021 1,045 8,731 9 12 7 18 13 85 53 10 7 8 16 238 86 221 174 130 126 183 248 162 118 93 241 311 2093 9 12 7 1 5 6 5 3 13 11 2 74 802 361 279 140 939 1,267 609 549 850 808 1265 826 8,695 405 759 511 1,026 255 336 358 740 604 304 486 435 6,219 56,617 55,683 36,331 43,271 52,241 54,136 36,018 49,182 49,889 49,713 57,698 55,651 596,430 รวมทั้งสิ้น 622,480
หมายเหตุ *เปลี่ยนแปลงตัวเลขใหม่ เนื่องจากมี e-Book 2 ส่วน คือ 1.eBooks Collection 2.eBooks Academic Collection (ข้อมูลตอนแรก ดึงมาเฉพาะ eBook Academic Collection)
สรุปสถิติการใช้วารสาร-นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal e-Magazine) ลําดับ 1* 2 3 4 5 6 7 8 9
รายชื่อ Animation Magazine Dentomaxillofacial Radiology Magazine of Concrete Research Nature Nature Immunology Nature Reviews Drug Discovery Nature Reviews Immunology Nature Rhuematology Planta Medica
หมายเหตุ *ไม่ได้รับข้อมูลจากบริษัทผู้จําหน่าย
พ.ศ. 2556 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 25 73 4 11 3 3 15
29 51 40 6 16 8 7
12 50 6 13 0 1 1
ก.พ.
มี.ค.
พ.ศ. 2557 เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
20 n/a 73 102 26 11 23 51 15 15 4 9 8 4 รวมทั้งสิ้น
n/a 72 31 12 19 9 23
n/a 95 30 5 19 7 3
ม.ค.
n/a 1 45 8 6 16 3 12
n/a 61 29 12 32 5 7
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
6 77 18 12 40 11 14
3 113 31 10 41 22 13
10 1 136 7 29 27 14 14
รวม 105 2 948 241 190 243 96 121 1,946
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
| 35
2. ด้านการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด เป็นการดําเนินการในการสื่อสารและส่งเสริมการใช้บริการ สารสนเทศต่างๆ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทัง้ ภายในและภายนอกด้วยสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบที่ทนั สมัย และ สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยมีการดําเนินงานดังนี้ • สื่อสิ่งพิมพ์ จํานวน 7 ช่องทาง ได้แก่ ป้ายประกาศประชาสัมพันธ์ ไวนิล คู่มือการใช้บริการ แผ่นปลิว จดหมายข่าว หนังสือราชการ และแผ่นพับ • สื่อไม่ใช่สิ่งพิมพ์ จํานวน 7 ช่องทาง ได้แก่ ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-mail) กระดานข่าว (Web Board/Web Blog) Pop Up เว็บเพจสํานักหอสมุด เสียงตามสาย (รถแห่) สปอร์ตวิทยุ จอ LED และ YouTube • สื่อกิจกรรม จํานวน 3 ช่องทาง ได้แก่ การสัมภาษณ์ผบู้ ริหารด้วยสื่อวิทยุ การออกบูธ และการจัด นิทรรศการ 3. ด้านการบริการทรัพยากรสารสนเทศ เป็นบริการทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ทีม่ กี ารจัดเก็บและการ ค้นหาอย่างเป็นระบบ ได้แก่ หนังสือ วิทยานิพนธ์ ผลงานวิจัย วารสาร หนังสือพิมพ์ สือ่ โสตทัศนวัสดุ ฯลฯ มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้บริการสืบค้นข้อมูลที่ครอบคลุมหลักสูตรทุกสาขาวิชา มีการปรับปรุง พัฒนาระบบ เทคโนโลยีที่ทนั สมัย เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลหรือเนื้อหาผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยได้สะดวกและรวดเร็ว ปีงบประมาณ 2557 มีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการ ดังนี้ หนังสือและสื่อโสตทัศนวัสดุ หนังสือและ สื่อโสตทัศนวัสดุ หนังสือภาษาไทย หนังสือภาษาต่างประเทศ หนังสือบริจาค หนังสืออ้างอิง รวมหนังสือ สื่อโสตทัศนวัสดุ รวมทั้งหมด
สํานักหอสมุด
ห้องสมุดสาขา วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ
รวม
137,064 47,310 31,363 4,679 220,416 18,154 238,570
12,859 18,748 1,187 654 33,448 1,893 35,341
149,923 66,058 32,550 5,333 253,864 20,047 273,911
อัตราส่วนหนังสือและสื่อโสตทัศนวัสดุต่อนักศึกษาและอาจารย์ ประเภท 1
นิสิต อาจารย์ 2 รวมทุกประเภท จํานวนหนังสือและสื่อโสตฯ 1 2
จํานวน (คน) 22,228 1,396 23,624
หนังสือ 1 : 11 1 : 171 1 : 10 238,570
สื่อโสตทัศนวัสดุ 1:2 1 : 25 1:1 35,341
จํานวนนิสิต : ข้อมูลจากกองบริการการศึกษา สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร จํานวนบุคลากรสายวิชาการ (อาจารย์) : ข้อมูลจากกองบริหารงานบุคคล สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร
รวม 1 : 12 1 : 170 1 : 10 273,911
36 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ฐานข้อมูล (Databases) จํานวน 37 ฐานข้อมูล Academic Search Complete ACM ACS ADIS Online AIP APS Annual Reviews ASCE ASME A – to – Z Search Business Source Complete CINAHL Plus with Full Text Communication & Mass Media Complete Computer & Applied Science Complete Education Research Complete Emerald Management Xtra H.W.Wilson (12 subjects) IEEE/ IEL
ISI Web of Science Regional Business News JOVE SAGE JSTOR Science Online Matichon e-Library ScienceDirect Micromedex Group A SciFinder Nursing Reference Centre SCOPUS Ovid SpringerLink ProQuest 5000 Springer Protocols ProQuest ABI/Inform Complete *UpToDate ProQuest Dissertation & Theses Westlaw ProQuest Agriculture Journals Wiley InterScience ProQuest Asian Business and Reference ProQuest Biology Journals ProQuest Computing ProQuest Education Journals ProQuest Science Journals ProQuest Social Science Journals ProQuest Telecommunications
*บอกรับโดยคณะแพทยศาสตร์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) จํานวน 1 รายชื่อ eBook Academic Collection วารสาร-นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal e-Magazine) จํานวน 11 รายชื่อ Animation Magazine Nature Dentomaxillofacial Radiology Nature Review Drug Discovery Magazine of Concrete Research Nature Review of Immunology Planta Medica Nature Immunology Production Planning & Control Nature Review Rheumatology TESOL Quaterly วารสารฉบับพิมพ์ (จัดซื้อ/อภินันทนาการ) วารสารฉบับพิมพ์ จัดซื้อ อภินันทนาการ รวม
ภาษาไทย 102 304 406
ภาษาต่างประเทศ 49 47 96
รวม 151 351 502
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
| 37
หนังสือพิมพ์ (จัดซื้อ) รายการ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ รวม
จํานวน 14 2 16
4. ด้านการให้การศึกษาแก่ผู้ใช้ เป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผใู้ ช้ได้มีทักษะและประสบการณ์การ สืบค้นและเรียนรู้สารสนเทศต่าง ๆ สามารถสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองได้ โดยสํานักหอสมุดจัดกิจกรรม ดังนี้ • การแนะนําการใช้ห้องสมุด จัดกิจกรรมแนะนําการใช้ห้องสมุด การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศจาก แหล่งต่าง ๆ ตลอดจนนําชมห้องสมุด สําหรับนิสิตใหม่ทกุ ระดับการศึกษา เพื่อให้สามารถทราบบริการต่าง ๆ ของ สํานักหอสมุด ซึ่งเป็นการให้ความรู้พื้นฐานในการค้นคว้าและการใช้บริการห้องสมุด สรุปการแนะนําการใช้ห้องสมุด ประจําปีงบประมาณ 2557 จํานวนนิสิตทีเ่ ข้าร่วม (คน) ระดับการศึกษา คณะ หมายเหตุ ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ 139 คณะแพทยศาสตร์ 122 คณะทันตแพทยศาสตร์ 58 คณะนิติศาสตร์ 252 คณะบริหารธุรกิจฯ 670 คณะพยาบาลศาสตร์ 116 คณะวิทยาศาสตร์ N/A นิสิตทั้งคณะไม่ทราบจํานวน คณะศึกษาศาสตร์ N/A นิสิตทั้งคณะไม่ทราบจํานวน คณะสังคมศาสตร์ N/A นิสิตทั้งคณะไม่ทราบจํานวน ความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง N/A ไม่ระบุจํานวน มหาวิทยาลัยนเรศวร กับกองทัพภาคที่ 3 (คณะสังคมศาสตร์) คณะสาธารณสุขศาสตร์ 142 30 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ N/A ไม่ระบุจํานวน คณะสหเวชศาสตร์ 229 วิทยาลัยนานาชาติ N/A ไม่ระบุจํานวน วิทยาลัยพลังงานทดแทน 8 International Student Orientation N/A ไม่ระบุจํานวน 2014 รวม 1,728 38 หมายเหตุ : จํานวนนิสิตดังกล่าวเป็นจํานวนที่ทางคณะระบุไว้ในบันทึกข้อความ ซึ่งในทางปฏิบัติจริงแล้วมีจํานวน ผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าที่ระบุไว้ในบันทึกข้อความ หรือในบางคณะไม่ได้มีการระบุจํานวนนิสิตที่เข้า ร่วมโครงการ
38 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
• การสอนการรู้ ส ารสนเทศ จั ด โปรแกรมอบรมการรู้ ส ารสนเทศตลอดปี โดยกํ า หนดเนื้ อ หาที่ ดําเนินการ ประกอบด้วย การใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote การทําสารบัญด้วย Microsoft Word การสืบค้นฐานข้อมูลด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การสืบค้นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ การสืบค้น ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด (WebOPAC) การสืบค้นสารสนเทศเพื่อการศึกษา/ วิจัย หลักการทํา Slide และ เทคนิ ค การนํ า เสนอ โดยมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ ทั้ ง นี้ อ าจารย์ บุ ค ลากร นิ สิ ต ตลอดจน บุ ค ค ล ภ าย น อ ก ที่ ส น ใจ ส าม ารถ ล งท ะ เบี ย น อ บ รม ผ่ าน เว็ บ ไซ ต์ สํ านั ก ห อ ส มุ ด ด้ วย ต น เอ งได้ ที่ http://mis.lib.nu.ac.th/libtraining/2013 มีรายละเอียดการจัดฝึกอบรมและจํานวนผู้เข้ารับการอบรม ดังนี้ สรุปการอบรมการเรียนรูส้ ารสนเทศ ประจําปีงบประมาณ 2557 จํานวนครั้ง จํานวนผูเ้ ข้าอบรม หัวข้อการอบรม การอบรม (คน) (ครั้ง) 10 1. การใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote 261 5 2. การทําสารบัญด้วย Microsoft Word 86 1 3. การสืบค้นฐานข้อมูลด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 39 2 4. การสืบค้นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 27 1 5. การสืบค้นฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด (WebOPAC) 7 9 6. การสืบค้นสารสนเทศเพื่อการศึกษา/ วิจัย 127 1 7. หลักการทํา Slide และเทคนิคการนําเสนอ 27 29 รวม 574 หมายเหตุ : มีการจัดการอบรมการเรียนรู้สารสนเทศ ทั้งสิ้น 68 ครั้ง แต่เนื่องจากมีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม ไม่ครบตามจํานวนที่กําหนด (5 คน) จึงยกเลิกการอบรมในช่วงเวลาดังกล่าว 5. ด้านการสนับ สนุน การวิจัย เป็น บริการที่จัดขึ้นเพื่ อสนับสนุ นการทํ าวิจั ย ผลงานทางวิชาการของ คณาจารย์ นักวิจัย นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา และบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยจัดบริการ แบ่งเป็ น 4 ส่วน คือ บริการตรวจสอบดั ชนี ผลกระทบการอ้างอิงวารสาร บริการสืบค้นเพื่ อการวิจัย บริการ วิเคราะห์การอ้างอิง บริการให้คําปรึกษาด้านวิชาการ มีระบบเทคโนโลยีสําหรับการจัดการและบริการ ดังนี้ • เว็ บ เพจบริ ก ารส่ ง เสริ ม การวิ จั ย เป็ น บริ ก ารข้ อ มู ล สารสนเทศที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การค้ น คว้ า วิ จั ย ประกอบด้วย เอกสาร/คู่มือแนะนําการค้นคว้าการเขียนรายงานการวิจัย วิธีการสืบค้น การค้นหาสารสนเทศ สํ า หรั บ นั ก วิ จั ย การใช้ โ ปรแกรมจั ด การทางบรรณานุ ก รม (EndNote) และฐานข้ อ มู ล ผลงานของนั ก วิ จั ย มหาวิทยาลัยนเรศวรที่เผยแพร่ผลงานในฐานข้อมูลสากล • ระบบบริหารจัดการฝึกอบรม เป็นระบบสําหรับใช้จัดการฝึกอบรมของสํานักหอสมุด มีรายละเอียด ประกอบด้วย ระบบการลงทะเบียนออนไลน์สําหรับการฝึกอบรม ข้อมูลรายละเอียดของหลักสูตรการฝึกอบรม ระบบบริหารจัดการผู้เข้าอบรมและการจัดการสมาชิกหรือลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการเก็บสถิติการเข้าอบรมของผู้เข้า อบรม • ระบบการสอนการค้นคว้าและใช้ห้องสมุด เป็นเว็บเพจสําหรับแนะนําการใช้งาน อาทิ วิธีการใช้ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การสืบค้นฐานข้อมูล WebOPAC ในรูปแบบดาวน์โหลดผ่านเว็บเพจ
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
| 39
• ระบบบริการให้คําปรึกษาด้านวิชาการ หรือ Clinic@Library เป็นบริการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้ใช้บริการได้รับความรู้และมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าสารสนเทศและการทําวิจัย โดยสนองความต้องการ ของผู้ใช้บริการที่เป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะผู้ใช้บริการ กลุ่ม นี้ จําเป็น ต้ องใช้ ส ารสนเทศสํ าหรับการทํ าวิจัยทั้งในหลักสูตรการเรียนการสอน รวมถึงการพั ฒ นาผลงาน วิชาการและวิจัย เพื่อเพิ่มพูนคุณวุฒิทางวิชาการ ความรู้เรื่องการทําวิจัยต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ทักษะการค้นสารสนเทศให้ตรงตามความต้องการ การใช้โปรแกรม Microsoft Word สําหรับจัดทําเอกสาร การ ใช้โปรแกรมจัดการทางบรรณานุกรม เช่น EndNote เป็นต้น การดําเนินงานบริการให้คําปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library ได้ จั ด มุ ม บริ ก าร ไว้ ณ จุ ด บริ ก ารตอบคํ า ถามและช่ ว ยการค้ น คว้ า ชั้ น 1 ภายในบริ เวณ สํานักหอสมุด โดยจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู้และเชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ ตามความสนใจของผู้ใช้มาให้คําปรึกษา แนะนํา มีการรับลงทะเบียนขอรับคําปรึกษาผ่านทางเว็บเพจ สามารถระบุเวลาที่เข้าพบตามวันที่ห้องสมุดกําหนด จัดกิจกรรมไว้ล่วงหน้า และมีการแจ้งเตือนไปยังผู้ใช้บริการผ่านทางอีเมล์ สํานักหอสมุดจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็น ประจํ าทุ ก เดื อ นตามที่ วิท ยากรกํ า หนด ซึ่ งได้ รับ ความร่วมมื อ จากอาจารย์ จํ านวน 7 ท่ านมาเป็ น ผู้ ให้ ค วามรู้ ให้คําปรึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการทําวิจัยในสาขาต่าง ๆ ดังนี้ รายชื่อ ผศ.ดร. พัชราภรณ์ สุดชาฎา
สังกัด คณะเภสัชศาสตร์
สาขาความเชี่ยวชาญ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ และภาษาอังกฤษสําหรับการสื่อสารทางวิชาการ
ผศ.ดร. วศิน เหลี่ยมปรีชา
คณะเศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจฯ
การวิจัยทางสังคมศาสตร์และการเตรียมบทความ ภาษาอังกฤษทางด้านสังคมศาสตร์
ผศ.ดร. เกตุจันทร์ จําปาไชยศรี
คณะวิทยาศาสตร์
สถิติสําหรับการทําวิจัย
ดร. นิทรา เนื่องจํานงค์
คณะวิทยาศาสตร์
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์และการทดสอบวิธีทางด้าน เคมี&เภสัชวิเคราะห์
ผศ.ดร. สุชาติ แย้มเม่น
คณะวิศวกรรมศาสตร์
โครงงานวิศวกรรมศาสตร์
ดร. ศลิษา วีรพันธ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
การวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีและการ ใช้ภาษาอังกฤษสําหรับการทําวิจัยทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์กิตติพงษ์ พุ่มพวง
คณะศึกษาศาสตร์
การวิจัยทางศึกษาศาสตร์และการค้นคว้าข้อมูลทาง ศึกษาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการศึกษา
40 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
สรุปการดําเนินงานด้านบริการสนับสนุนการวิจัย ประจําปีงบประมาณ 2557 บริการ บริการ Citation Analysis บริการ Journal Impact Factor บริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย บริการ Clinic@Library บริการตอบคําถามและช่วยการค้นคว้า (Ask a Librarian)
หน่วยนับ ครั้ง ครั้ง ครั้ง คน/ครั้ง ครั้ง
จํานวน 21 224 18 12 367
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 43
เทคโนโลยีห้องสมุด 1.ระบบคอมพิวเตอร์ 1.1 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) สานักหอสมุดมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการตรวจสอบการทางานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการดูแลบารุงรักษา อุปกรณ์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้พร้อมใช้งานตลอดเวลา โดยสานักหอสมุดมีจุดให้บริการเครือข่ายไร้สาย (Wireless Access Point) จานวน 23 จุด สามารถรองรับผู้ใช้บริการได้จานวนประมาณ 2,000 คน 1.2 ด้านระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง สานักหอสมุดมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ ที่ใช้ในการดาเนินงานและให้บริการ มีบุคลากรที่มี ความรู้ความสามารถในการ ตรวจสอบ ดูแลรักษา ทั้งในส่วนซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ให้พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา โดยสานักหอสมุดจัดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการ จานวน 108 เครื่องดังนี้ รายการ บริการห้องอบรม ชั้น 2 บริการอินเทอร์เน็ตชั้น 3 บริการสืบค้นอินเทอร์เน็ตและมัลติมีเดีย บริการสืบค้นข้อมูล (OPAC) บริการตรวจสอบข้อมูลการยืม-คืน บริการจองห้องศึกษาค้นคว้า บริการพิมพ์เอกสาร รวม
สานักหอสมุด (เครื่อง) 50 21 4 15 4 1 3 98
ห้องสมุดสาขา วิทยาศาสตร์สุขภาพ (เครื่อง) 4 4 2 10
รวม (เครื่อง) 50 21 8 19 6 1 3 108
ในปีงบประมาณ 2557 ได้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพหน่วยความจาชั่วคราวเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับ ห้องบริการฝึกอบรมและห้องบริการอินเทอร์เน็ต จานวน 70 เครื่อง และมีการปรับปรุงระบบสารองไฟฟ้าสาหรับ เครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ จานวน 1 เครื่อง 2. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สานั กหอสมุด นาระบบห้อ งสมุด อัต โนมัติ Innovative Millennium Release 2011 จ านวน 52 Licences ที่เชื่อ มโยงข้อมู ลสารสนเทศและการปฏิบัติง านร่วมกัน ของ Catalog Module, OPAC Module, Circulation Module และ Serial Control Module มีบุคลากรปฏิบัติงานบนระบบกระจายอยู่ ณ สานักหอสมุด ห้องสมุ ดสาขาวิท ยาศาสตร์ สุขภาพ ห้ องอ่ านหนั งสือ คณะ โรงเรี ยนมัธยมสาธิ ต มหาวิ ทยาลัย นเรศวร ภายใต้ เครือข่าย NULiNet (Naresuan University Library Network) ประมาณวันละ 40 คน ข้อมูลเคลื่อนไหวผ่าน ระบบต่อวันไม่ต่ากว่า 35,000 รายการ โดยประมวลผลเป็นรูปแบบออนไลน์ และมีการสารองข้อมูลทุกวันผ่าน ระบบการสารองข้อมูลของสานักหอสมุด
44 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
3. ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ มีผลดาเนินงานดังนี้ รายการ แปลงสื่อโสตทัศนวัสดุเป็นไฟล์ดิจิตอล ให้บริการสาเนาสื่อโสตทัศนวัสดุ (ตามคาขอ) สาเนาสื่อโสตทัศนวัสดุ จัดทาสื่อเข้าระบบวิดีโอออนไลน์ บันทึกข้อมูลสื่อโสตทัศนวัสดุลงฐานข้อมูล Naresuan University’s Catalog บันทึกภาพกิจกรรมสานักหอสมุด
จานวน 245 40 345 51 605
หน่วยนับ ไฟล์ แผ่น แผ่น เรื่อง Item
60
ครั้ง
สถิติบริการวิดีโอออนไลน์ รายการ วีดิทัศน์ฝึกภาษาต่างประเทศ สารคดีกบนอกกะลา สารคดีคนค้นฅน สารคดี Discovery Channel ภูมิปัญญาไทย เส้นทางอาชีพ โครงการในพระราชดาริ ภาพยนตร์ฝึกภาษาต่างประเทศ วีดิทัศน์แนะนาประชาคมอาเซียน รวม
จานวน (ครั้ง) 1,521 176 37 75 27 22 6 5,566 38 7,468
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 45
4. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนการดาเนินงานและการให้บริการ สานักหอสมุดพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อนามาใช้ในการปฏิบัติงานและการ ให้บริการอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การปฏิบัติงานและการให้บริการต่าง ๆ สามารถดาเนินไปด้วยความมีประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก ปีงบประมาณ 2557 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 4.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนการดาเนินงานและการให้บริการ จานวน 5 ระบบ ชื่อระบบงาน งานบริการสารสนเทศ 1. พัฒนาโปรแกรมพิมพ์สลิป (ใบเสร็จ) ค่าปรับจาก Millennium 2. ระบบบริการยืมระหว่าง ห้องสมุด
วัตถุประสงค์
สมรรถนะของระบบ
เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนในการ ให้บริการกรณีที่ผู้ใช้บริการต้องจ่าย ค่าปรับของงานบริการยืม -คืน เพื่ออานวยความสะดวกในการ ให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด
- พิมพ์สลิป (ใบเสร็จ) ค่าปรับจาก โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Innovative Millennium - สนับสนุนการจัดการข้อมูล การ ตรวจสอบ การติดตามผล การ รายงานสถิติงานบริการยืมระหว่าง ห้องสมุด - รายงานข้อมูลการตรวจสอบข้อมูล ตัวเล่มที่ไม่ถูกต้อง
3. ระบบแจ้งแก้ไขตัวเล่ม หนังสือ
เพื่ออานวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ งานจัดชั้นในการแจ้งแก้ไขตัวเล่มให้ งานวิเคราะห์ทราบข้อมูล กรณีที่ตัว เล่มไม่ถูกต้อง ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค 4. ระบบตรวจสอบความ เพื่ออานวยความสะดวกในการ ซ้าซ้อนรายชื่อวารสารใน ตรวจสอบความซ้าซ้อนของวารสาร ฐานข้อมูล e- Journal ของห้องสมุดสมาชิกข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) การสนับสนุนการเรียนการสอน 5. ระบบตรวจสอบรายชื่อ เพื่ออานวยความสะดวกในการ นิสิตเข้าเรียนรายวิชา ตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาที่เข้าเรียน GE001221 ในรายวิชา GE001221
- นาเข้าข้อมูล เปรียบเทียบ และ รายงานข้อมูลความซ้าซ้อนของ วารสารของห้องสมุดสมาชิก ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วน ภูมิภาค (PULINET) - ตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาที่เข้า เรียนในรายวิชา GE001221 ของ แต่ละห้องเรียน - สรุปจานวนวันนักศึกษาที่ไม่เข้า เรียน
46 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
4.2 การปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนการดาเนินงานและการให้บริการ จานวน 5 ระบบ ชื่อระบบงาน งานบริการสารสนเทศ 1. ระบบบริหารจัดการการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
2. ระบบวิดีโอออนไลน์ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 3.ระบบบริหารงานจัดซื้อหนังสือ ออนไลน์ งานประกันคุณภาพ 4. ระบบข้อมูลการประกัน คุณภาพ/SAR Online งานการเงินและพัสดุ 5. ฐานข้อมูลวัสดุ
วัตถุประสงค์
สมรรถนะของระบบ
พัฒนาต่อยอดการให้บริการระบบ วิดีโอออนไลน์
- สนับสนุนการตรวจสอบรายงาน ภารกิจประจาวันในช่วงบริการ ล่วงเวลา - สนับสนุนการจัดการค่าตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - รองรับการดูวิดีโอออนไลน์ผ่าน อุปกรณ์ทุกรูปแบบ
เพื่อใช้ในการดาเนินงาน กระบวนการจัดซื้อหนังสือในงาน NU Book Fair และระหว่าง ปีงบประมาณ
- บริหารจัดการการจัดซื้อหนังสือ ของสานักหอสมุด - สรุปรายงานผลการจัดซื้อให้ ผู้ใช้บริการทราบแบบออนไลน์
เพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพ ภายในสานักหอสมุด
- สนับสนุนการประเมินคุณภาพ ภายในสานักหอสมุด
เพื่อจัดการข้อมูลเหตุการณ์ ประจาวันและการคิดเงิน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอก เวลาราชการ
เพื่อสารวจความต้องการใช้วัสดุของ - ตรวจสอบรายงานวัสดุคงเหลือ แต่ละฝ่าย/งาน เป็นรายไตรมาส
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
| 49
การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ดาเนินการตามนโยบายการบริหาร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2559 ซึ่งกาหนดนโยบายด้านบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศไว้อย่างครอบคลุม ได้แก่ การคัดเลือกหนังสือ การคัดเลือกวารสารและฐานข้อมูล การดาเนินงานทางเทคนิคตัวเล่ม การซ่อมบารุงรักษา เป็นต้น มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อจัด ซื้อหนัง สือให้ กับทุกคณะ รวม 18 คณะ และแบ่ งสัด ส่ วนงบประมาณ สาหรับจัดซื้อหนังสือ ดังนี้ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 35 % จานวน 5 คณะ ประกอบด้วย คณะเกษตรศาสตร์ฯ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ วิทยาลัยพลังงานทดแทน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ 35 % จานวน 7 คณะ ประกอบด้วย คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ และคณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มสังคมศาสตร์ 30% จานวน 6 คณะ ประกอบด้วย คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และวิทยาลัยนานาชาติ ปีง บประมาณ 2557 จั ด สรรให้ วิ ทยาลั ยเพื่ อ การค้ น คว้ า ระดับ รากฐาน 10,000 บาท และวิท ยาลั ย โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน 10,000 บาท และยังแบ่งงบประมาณของแต่ละคณะออกเป็น 2 ส่วน คือ ร้อยละ 70 จัดสรรให้อาจารย์ และร้อยละ 30 จัดสรรให้นิสิต เป็นผู้เสนอรายชื่อหนังสือ สานักหอสมุดสนับสนุนให้คณาจารย์ นิสิต บุคลากร มีส่วนร่วมในการจัด ซื้อหนังสือ โดยจัด งานสัปดาห์ หนังสือ (NU Book Fair) และดาเนินการจัดซื้อหนังสือโดยใช้ระบบบริหารงานจัดซื้อหนังสือออนไลน์ (NU Library Online Purchasing System) ทาให้ได้หนังสือที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งด้านปริมาณ คุณภาพ และ สอดคล้ อ งกั บ งบประมาณ นอกจากนี้ ส านั ก หอสมุ ด ให้ ค วามส าคั ญ ในการสื บ ค้ น สารสนเทศจากฐานข้ อ มู ล อิเล็ กทรอนิ กส์ อย่า งกว้างขวางตามความต้ องการของผู้ใ ช้ จึง บอกรับ ฐานข้อ มูล อิเล็ กทรอนิ กส์ สาหรับ บริก ารที่ ครอบคลุมหลักสูตรทุกสาขาวิชาของทุกคณะ การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสารและหนังสือพิมพ์ 2. สือ่ โสตทัศนวัสดุ ได้แก่ ซีดี วีซีดี ดีวีดี 3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
สรุปการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ทรัพยากรสารสนเทศ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ (เล่ม) วารสาร (ชื่อเรื่อง) หนังสือพิมพ์ (ชื่อเรื่อง) 2. สื่อโสตทัศนวัสดุ (ชื่อเรื่อง) 3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
ภาษา ไทย ต่างประเทศ
งบประมาณแผ่นดิน จานวนเงิน ร้อยละ
งบประมาณรายได้ จานวนเงิน ร้อยละ
อื่น ๆ จานวนเงิน ร้อยละ
2,381
3,660,900.00
1,445,309.00 1,504,334.77 141,215.00 26,059.00
5.77 6.00 0.56 0.10
630,007.00
2.51
3,750.00
0.01
281,446.20
1.12
14 68
2,101 49 2 1 (Collection) 23 (ฐาน) 12 (ชื่อ)
14.61
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Databases) 1 (ฐาน) 16,617,804.92 66.30 วารสารออนไลน์ (E-journals) 756,319.88 3.02 รวม 3,660,900.00 14.61 20,772,488.77 82.88 633,757.00 หมายเหตุ : 1. คณะทันตแพทยศาสตร์ แลกเปลี่ย นงบประมาณค่าหนังสือ จานวน 469,738 บาท (สี่แสนหกหมื่นเก้าพันเจ็ดร้อยสามสิบแปดบาทถ้วน) 2. คณะแพทยศาสตร์ สมทบงบประมาณค่าต่ออายุฐานข้อมูล จานวน 4,431,841 บาท (สี่ล้านสี่แสนสามหมื่นหนึ่งพันแปดร้อยสี่สิบเอ็ดบาทถ้วน) 3. คณะพยาบาลศาสตร์ สมทบงบประมาณค่าต่ออายุฐานข้อมูล จานวน 99,810 บาท (เก้าหมื่นเก้าพันแปดร้อยสิบบาทถ้วน) เบิกค่าหนังสือแทน 4. คณะสหเวชศาสตร์ สมทบงบประมาณค่าต่ออายุฐานข้อมูล จานวน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
2.53
รวม จานวนเงิน
ร้อยละ
5,732,466.00 1,504,334.77 141,215.00 29,809.00
22.87 6.00 0.56 0.11
281,446.20
1.12
16,617,804.92 756,319.88 25,063,395.77
66.30 3.02 100
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 51
สรุปการจัดซื้อหนังสือ ประจาปีงบประมาณ 2557 คณะ สานักหอสมุด กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร์ฯ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพลังงานทดแทน วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับ รากฐาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจฯ คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ รวม
งบประมาณ ใช้ไป 83,863.35 2,021,919.10 417,867.00 651,823.40 604,991.95 233,390.90 49,373.00 19,951.85
หนังสือ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ รวม ชื่อเรื่อง เล่ม ชื่อเรื่อง เล่ม ชื่อเรื่อง เล่ม 143 326 9 9 152 335 193 447 695 705 888 1,152 83 209 98 99 181 308 63 121 225 230 288 351 24 60 215 215 239 275 21 55 124 126 145 181 12 13 12 13 2 2 6 7 8 9
44,521.00 1,877,470.45 127 318 173,240.15 10 25 134,333.00 4 12 305,739.20 36 91 434,425.75 15 41 332,516.50 9 24 337,057.05 24 52 160,158.80 29 73 1,779,026.35 547 1,290 165,650.20 107 233 498,475.10 100 286 314,803.80 145 338 336,749.45 56 145 358,669.65 134 278 104,678.15 5 10 5,762,279.25 1,010 2,381
15 550 59 62 81 108 92 91 57 787 55 217 139 162 144 70 2,041
15 15 15 583 677 901 63 69 88 63 66 75 87 117 178 119 123 160 97 101 121 93 115 145 61 86 134 804 1,334 2,094 55 162 288 218 317 504 151 284 489 162 218 307 148 278 426 70 75 80 2,101 3,051 4,482
52 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
การรับบริจาคทรัพยากรสารสนเทศ สานักหอสมุดรับบริจาคทรัพยากรสารสนเทศจาก บุคคล หน่วยงาน สถาบันการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย มีการดาเนินการเป็นไปตามนโยบายด้า นบริหารจัด การทรัพยากรสารสนเทศที่กาหนดไว้ ปีงบประมาณ 2557 ดาเนินการทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับ หนังสือตารา วารสาร และสื่อโสตทัศนวัสดุที่ได้รับบริจาค ดังนี้ ทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รับบริจาค ทรัพยากรสารสนเทศ หนังสือ วารสาร สื่อโสตทัศนวัสดุ รวม
ไทย 3,493 75 210 3,778
ต่างประเทศ 501 501
ทรัพยากรสารสนเทศที่บริจาคให้หน่วยงานอื่น ทรัพยากรสารสนเทศ หนังสือ วารสาร สื่อโสตทัศนวัสดุ รวม
ไทย 1,618 75 88 1,781
ต่างประเทศ 48 48
การบันทึกข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รับบริจาค ทรัพยากรสารสนเทศ หนังสือ
ไทย 3,018
ต่างประเทศ 344
การดาเนินงานคลังเอกสารดิจิทัลมหาวิทยาลัยนเรศวร (NU Digital Repository) ทรัพยากรสารสนเทศ จานวน (ชื่อเรื่อง) ผลงานวิจัย 55 การดาเนินการฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLis Digital Collection ทรัพยากรสารสนเทศ จานวน (ชื่อเรื่อง) วิทยานิพนธ์ 279 การดาเนินงานซ่อมบารุงทรัพยากรสารสนเทศ รายการ
สานักหอสมุด
ซ่อมบารุงหนังสือ 545 เย็บเล่มวารสาร 336 แกะ/เย็บ 396 รวม 1,277 การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ 52 30 82
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 53
วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศลงฐานข้อมูล Naresuan University’s Catalog ประจาปีงบประมาณ 2557 ดังนี้ 1. วิเคราะห์และทารายการทรัพยากรสารสนเทศ จาแนกตามประเภท ประเภททรัพยากร สารสนเทศ หนังสือทั่วไป ปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ หนังสืออ้างอิง งานวิจัย สิ่งพิมพ์รัฐบาล นวนิยาย เรื่องสั้น เยาวชน สื่อโสตทัศนวัสดุ ดัชนีวารสาร (บทความ) รวม
ภาษาไทย ชื่อเรื่อง เล่ม 1,732 4,228
ภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่อง เล่ม 2,235 2,701
34
67
-
-
428 24 308 150 340 147 3,145 6,308
860 88 443 279 871 627 7,463
35 6 7 39 71 14 2,407
68 10 13 163 334 3,289
54 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
2. วิเคราะห์หนังสือภาษาไทยทั่วไป จาแนกตามหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หมวดหมู่ A-AZ B1-BD BF1-BJ BL1-BX C1-CT D1-DX E1-F G1-GV H1-HJ HM1-HX J1-JX K1-KWX L1-LT M1-MT N1-NX P1-PZ Q1-QR R1-RZ S1-SK T1-TX Z1-Z *Fic, Sht, Juv
เนื้อหาสารสนเทศ General Work : Polygraphy Philosophy and Religion Psychology,Aesthetics,Ethics Religions History : Auxiliary Sciences History and Topography American History Geography,Anthropology,Sport and Game Economics Sociology Political Science Law Education Music Fine Arts Language and Literature Science Medicine Agriculture Technology Bibliography. Library Science Fiction, Short Story, Juvenile Total
ชื่อเรื่อง 9 9 85 145 10 135 1 105 332 87 70 78 197 22 38 148 237 143 102 210 14 333 2,510
เล่ม 34 17 208 322 21 327 1 151 678 155 168 273 355 36 83 362 555 266 211 439 40 864 5,566
หมายเหตุ *หนังสือประเภท นวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือสาหรับเยาวชน ไม่ได้วิเคราะห์หมวดหมู่
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 55
3. วิเคราะห์หนังสือภาษาต่างประเทศทั่วไป จาแนกตามหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หมวดหมู่ A-AZ B1-BD BF1-BJ BL1-BX D1-DX E1-F G1-GV H1-HJ HM1-HX J1-JX K1-KWX L1-LT M1-MT N1-NX P1-PZ Q1-QR R1-RZ S1-SK T1-TX U-UH V-VM Z *Fic, Sht, Juv
เนื้อหาสารสนเทศ General Work Polygraphy Philosophy and Religion Psychology,Aesthetics,Ethics Religions History and Topography American History Geography,Anthropology,Sport and Game Economics Sociology Political Science Law Education Music Fine Arts Language and Literature Science Medicine Agriculture Technology Military Science Naval Science Bibliography. Library Science Fiction, Short Story, Juvenile Total
ชื่อเรื่อง 2 5 22 15 55 7 93 261 65 30 45 76 21 92 144 344 43 44 332 1 1 9 39 1,746
เล่ม 3 5 24 15 70 10 109 300 73 35 47 99 27 106 247 391 56 48 390 2 1 16 163 2,237
หมายเหตุ *หนังสือประเภท นวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือสาหรับเยาวชน ไม่ได้วิเคราะห์หมวดหมู่
56 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
4. วิเคราะห์หนังสือภาษาไทยทั่วไป จาแนกตามหมวดหมู่ระบบแพทย์แห่งชาติอเมริกัน หมวดหมู่ QS-QZ W WA WB WC WD WE WF WG WH WI WJ WK WL WM WN WO WP WQ WR WS WT WU WV WW WX WY WZ
เนื้อหาสารสนเทศ Preclinical Sciences Health professions Public Health Practice of medicine Communicable diseases WD100-WD700 Musculoskeletal Respiratory system Cardiovascular system Hemic and lymphatic systems Digestive system Urogenital system Endocrine system Nervous system Psychiatry Radiology Surgery Gynecology Obstetrics Dermatology Pediatrics Geriatrics Dentistry Otolaryngology Ophthalmology Hospitals Nursing History of medicine Total
ชื่อเรื่อง 26 29 8 2 1 1 2 1 1 3 24 2 3 5 10 1 3 4 1 127
เล่ม 74 73 21 5 4 5 2 8 1 9 47 4 5 10 25 2 6 12 5 318
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 57
5. วิเคราะห์หนังสือภาษาต่างประเทศทั่วไป จาแนกตามหมวดหมู่ระบบแพทย์แห่งชาติอเมริกัน หมวดหมู่ QS-QZ W WA WB WC WD WE WF WG WH WI WJ WK WL WM WN WO WP WQ WR WS WT WU WV WW WX WY WZ
เนื้อหาสารสนเทศ Preclinical Sciences Health professions Public Health Practice of medicine Communicable diseases WD100-WD700 Musculoskeletal Respiratory system Cardiovascular system Hemic and lymphatic systems Digestive system Urogenital system Endocrine system Nervous system Psychiatry Radiology Surgery Gynecology Obstetrics Dermatology Pediatrics Geriatrics Dentistry Otolaryngology Ophthalmology Hospitals Nursing History of medicine Total
ชื่อเรื่อง 206 24 33 48 4 5 6 10 1 3 4 1 6 2 30 8 5 6 4 10 59 1 7 4 62 1 550
เล่ม 216 27 34 50 4 5 6 12 1 4 5 1 8 2 31 8 5 6 4 13 63 3 7 4 63 1 583
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
| 61
การบริหารจัดการ ผู้บริหารสานักหอสมุดบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล มีภาวะผู้นา มีวิสัยทัศน์ มีนโยบายการบริหารงานที่ ครอบคลุมทุกพันธกิจ นาไปสู่การปฏิบัติบนความร่วมมือ ที่ดีของบุคลากร สามารถทาให้การดาเนินงานทุกๆ ภารกิจ ดาเนินไปด้วยความมีประสิทธิภาพ ทาให้องค์กรมีผลการดาเนินงานที่ดี สานักหอสมุดประเมินประสิทธิภาพการบริหารจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 3 ส่วนคือ ผู้บริหารคณะของมหาวิทยาลัย นเรศวร บุคลากรสานักหอสมุด และคณะกรรมการประจาสานักหอสมุด มีผลการประเมิน ดังนี้ การประเมิน ความพึงพอใจของผู้บริหารคณะที่มีต่อประสิทธิภาพการดาเนินงานของสานักหอสมุด ความพึงพอใจของคณะกรรมการประจาสานักหอสมุดที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหาร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ความพึงพอใจของบุคลากรสานักหอสมุดที่มีต่อการบริหารงานของผู้อานวยการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร รวมเฉลี่ย
ผลการประเมิน 4.31 4.66 4.60 4.52
การพัฒนาบุคลากร สานักหอสมุดดาเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาบุคลากร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556 2559 ผู้บริหารให้การสนับสนุนและเป็นผู้นาในการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสอนงาน เป็นต้น เพื่อให้บุคลากรมีทักษะความรู้ มีพฤติกรรม มีความพร้อมใน การให้บริการที่ดี ซึ่งบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง ปีงบประมาณ 2557 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
ผลการดาเนินงานแผนพัฒนาบุคลากร ประจาปีงบประมาณ 2557 หลักสูตรการพัฒนา 1. การบริหารจัดการ 1.1 การประกันคุณภาพ
1.2 การปรับปรุง กระบวนการ ปฏิบัติงาน
1.3 การศึกษาดูงาน ห้องสมุดสถาบัน อุดมศึกษาภายใน/ ต่างประเทศ 1.4 ความก้าวหน้าใน วิชาชีพสาย สนับสนุน:การจัดทา ผลงาน และขอ ตาแหน่ง ชานาญการ
กิจกรรมที่ดาเนินการ
ระยะเวลา
ผลการดาเนินงาน
จานวนผู้เข้าร่วม
กิจกรรม QA/KM โดย นางวลุลี โพธิรงั สิยากร รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และพัฒนาคุณภาพ
ครั้งที่ 1 = 14 ต.ค. 56 ครั้งที่ 2 = 17 ก.พ. 57 ครั้งที่ 3 = 25 ก.ค. 57
- ความรู้ ความเข้าใจเกณฑ์และการ รวบรวมข้อมูลและหลักฐานอ้างอิง สาหรับการประเมิน/ตรวจสอบ คุณภาพภายใน ประจาปี งบประมาณ 2557
ครั้งที่ 1 = 23 คน ครั้งที่ 2 = 22 คน ครั้งที่ 3 = 26 คน
“แนวปฏิบัติเกี่ยวกับประตู อัตโนมัติ” โดย รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา ผู้อานวยการสานักหอสมุด Library Say Hi : แลกเปลีย่ น เรียนรู้ ระบบบันทึกเหตุการณ์ ประจาวันนอกเวลาราชการ โดย นะรัตร์ คงสวัสดิ์ โครงการพัฒนาบุคลากร : การศึกษาดูงานห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา ภายในประเทศ กิจกรรม “การเตรียมความ พร้อมเพื่อขอกาหนดตาแหน่ง ให้สูงขึ้น” โดย นางวลุลี โพธิรงั สิยากร รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และพัฒนาคุณภาพ
28 พ.ย. 56
- ทักษะการแก้ปัญหา - แนวปฏิบัติเกี่ยวกับระบบประตู อัตโนมัติ
40 คน
4 ก.พ. 57
- นาเสนอระบบบันทึกเหตุการณ์ ประจาวันนอกเวลาราชการ (การ ใช้งานในระบบ การแสดงผล และ การแจ้งปัญหาบนระบบ) - นาไปดาเนินการ ปีงบประมาณ 2558
46 คน
1 ส.ค. 57
- บุคลากรได้รบั ความรู้ความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมแนว ทางการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาชีพ ของบุคลากร
22 คน
ความพึงพอใจ (คะแนนเฉลี่ย) ครั้งที่ 1 = 4.14 ครั้งที่ 2 = 4.26 ครั้งที่ 3 = 4.12
หมายเหตุ
ครั้งที่ 1 = บุคลากร 21 คน, คณะกรรมการประจาสานักฯ 1 คน และผู้ใช้บริการ (นิสิตป.โท) 1 คน ครั้งที่ 2 = บุคลากร 20 คน, คณะกรรมการประจาสานักฯ 1 คน และผู้ใช้บริการ (นิสิตป.โท) 1 คน ครั้งที่ 3 = บุคลากร 24 คน, คณะกรรมการประจาสานักฯ 1 คน และผู้ใช้บริการ (นิสิตป.โท) 1 คน
หลักสูตรการพัฒนา เชี่ยวชาญ 1.5 การประเมินผลการ ปฏิบัติงานในระบบ สมรรถนะ (competency)
2. คุณภาพการบริการ 2.1 ภาษาอังกฤษเพื่อ งานบริการ
กิจกรรมที่ดาเนินการ
ความพึงพอใจ (คะแนนเฉลี่ย)
ระยะเวลา
ผลการดาเนินงาน
จานวนผู้เข้าร่วม
กิจกรรมการประเมินผลการ ปฏิบัติงานครั้งที่ 1/2557
มี.ค. 57
- การสร้างตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน
48 คน
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร เทคนิคการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ วิทยากร โดย ดร. สุรชาติ กิ่มมณี โครงการพัฒนาบุคลากร : กิจกรรมการสัมมนาอบรมเชิง ปฏิบัติการ “การจัดทาแผนที่ กลยุทธ์สานักหอสมุด”และ วิเคราะห์สมรรถนะของ บุคลากรสานักหอสมุด
5-6 มิ.ย. 57
- อบรม เรื่อง เทคนิคการประเมินผล การปฏิบัติราชการ
118 คน
4.51
24-25 มิ.ย. 57
- แผนที่กลยุทธ์สานักหอสมุด - สมรรถนะหลัก (Core Competency) ของสานักหอสมุด - สมรรถนะทางการบริหาร (Managerial Competency) ของสานักหอสมุด
19 คน
4.32
โครงการ Ball State University English Summer Camp โดย สถานพัฒนาด้าน ภาษา
15-30 พ.ค. 57
6 คน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ จากอาจารย์ผมู้ ีความสามารถ พิเศษ โดยความร่วมมือกับ สถานพัฒนาด้านภาษา
ปีการศึกษา 2557 (1 ส.ค. 57)
- ฝึกทักษะการพูด อ่าน เขียนกับ ชาวต่างชาติที่เป็นเจ้าของภาษา ตลอดจนประสบการณ์การใช้ ชีวิตประจาวันร่วมกับชาวต่างชาติ ทาให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความ กล้าแสดงออกในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ สามารถประยุกต์ใช้ ในงานบริการห้องสมุดในการ แนะนาบริการต่าง ๆ และการ สื่อสารกับชาวต่างชาติ - Intensive English - ฝึกทักษะการสนทนาทั่วไปและ คาศัพท์บทสนทนาทีเ่ กี่ยวข้องกับ งานบริการห้องสมุด
20
หมายเหตุ
- บุคลากร 58 คน - บุคลากรหน่วยงานอื่น 60 คน
หลักสูตรการพัฒนา
กิจกรรมที่ดาเนินการ
ระยะเวลา
ผลการดาเนินงาน
จานวนผู้เข้าร่วม
2.2 การพัฒนาความรู้ และทักษะการ บริการห้องสมุดและ สารสนเทศ
กิจกรรม Restart Bookshelf
13-14 มี.ค. 57
60 คน
กิจกรรม “พัฒนาทักษะและ คุณภาพการให้บริการของ บุคลากร” โดย น.ส.ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ และ น.ส.วรรณาภรณ์ เทียรท้าว
24-25 ก.ค. 57
- จัดเรียงหนังสือให้มปี ระสิทธิภาพ (ความถูกต้องเป็นระเบียบ) - มีการให้ความรู้การจัดหมวดหมู่ หนังสือระบบ LC - มีกิจกรรม BAR/AAR - การให้ความรูเ้ กี่ยวกับแนวปฏิบัติ และขั้นตอนในการให้บริการ - ฝึกแบบ On the job Training - Pre-test & Post-test
ความพึงพอใจ (คะแนนเฉลี่ย) 4.20
21 คน
4.61
- บุคลากรได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ การลงรายการทรัพยากร สารสนเทศห้องสมุด
9 คน
- บุคลากรได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ ในการกาหนดหัวเรื่องหนังสือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ครั้งที่ 1 = 20 คน ครั้งที่ 2 = 16 คน
- บุคลากรได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือ ระบบ LC
ครั้งที่ 1 = 17 คน ครั้งที่ 2 = 12 คน ครั้งที่ 3 = 14 คน
3. พัฒนาด้านวิชาชีพ สารสนเทศและ เทคโนโลยี 3.1 การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการทาง วิชาชีพห้องสมุด : ระบบการจัด หมวดหมู่หนังสือ LC, NLM
4 เม.ย. 57 การให้ความรูเ้ รื่อง การลง รายการทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุด วิทยากร โดย น.ส.ปัทมา บุระมาน การให้ความรูเ้ รื่อง การกาหนด ครั้งที่ 1 = 2 พ.ค. 57 หัวเรื่องหนังสือภาษาไทยและ ครัง้ ที่ 2 = 12 พ.ค. 57 ภาษาอังกฤษ วิทยากร โดย น.ส.จิราภา เกิดไผ่ล้อม และ น.ส.สิริรัตน์ ไกรกลิ่น การให้ความรูเ้ รื่อง การ ครัง้ ที่ 1 = 27 พ.ค. 57 วิเคราะห์หมวดหมูห่ นังสือ ครัง้ ที่ 2 = 23 มิ.ย. 57 ระบบ LC วิทยากร โดย ครัง้ ที่ 3 = 21 ก.ค. 57 น.ส.พรทิพย์ อาจวิชัย
หมายเหตุ - บุคลากร 58 คน - นิสิตฝึกงาน 2 คน - บุคลากรฝ่ายบริการสารสนเทศ
ครั้งที่ 1 บุคลากร 12 คน/คณะ 5 คน ครั้งที่ 2 บุคลากร 9 คน/คณะ 3 คน ครั้งที่ 3 บุคลากร 14 คน
หลักสูตรการพัฒนา 3.2 เทคโนโลยีทเี่ กี่ยวข้อง กับงานห้องสมุด
4. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมบุคลากร 4.1 การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมบุคลากร
ความพึงพอใจ (คะแนนเฉลี่ย)
กิจกรรมที่ดาเนินการ
ระยะเวลา
ผลการดาเนินงาน
จานวนผู้เข้าร่วม
Library Say Hi : RDA (Resource Description and Access) วิทยากร โดย น.ส.พรทิพย์ อาจวิชัย
25 พ.ย. 56
40 คน
Library Say Hi : Cloud Computing โดย นายเกดิษฐ เกิดโภคา ระบบบันทึกเหตุการณ์ ประจาวันนอกเวลาราชการ โดย นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ โครงการการจัดการความรู้ : กิจกรรมอบรมการเรียนรู้เชิง ปฏิบัติการ เรื่อง Cloud Computing โดย นายสุภชัย ธนานุวัตรพงศ์
12 ธ.ค. 56
- ให้ความรู้ ความเข้าใจ RDA (Resource Description and Access) เบื้องต้นซึ่งเป็นมาตรฐาน การลงรายการใหม่สาหรับ ทรัพยากรสารสนเทศ - ให้ความรู้ ความสาคัญ Cloud Computing
22 ธ.ค. 56
- Workshop ระบบ
10 คน
16 ก.ค. 57
- ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการใช้ “Google Drive”
48 คน
4.29
4 เม.ย. 57
- คุณธรรมจริยธรรมกับการทางาน
57 คน
4.38
โครงการพัฒนาบุคลากร: กิจกรรม เรื่อง คุณธรรม จริยธรรมกับการทางานอย่างมี ความสุข วิทยากร โดย รศ.ดร. รัตนา สนั่นเมือง
หมายเหตุ
40 คน - บรรณารักษ์หัวหน้าเวร
66 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
การประกันคุณภาพ สานักหอสมุดดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ถือว่าการประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารที่ต้องดาเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพงาน และในปีงบประมาณ 2557 มหาวิทยาลัยนเรศวรมีนโยบายให้ หน่วยงานสนับสนุนดาเนินการประเมินคุณภาพภายในเป็นประจาทุกสิ้นปีงบประมาณ เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา คุ ณ ภาพของหน่ ว ยงาน และได้ จั ด ท าเกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน ส าหรั บ หน่ ว ยงานสายสนั บ สนุ น โดย สานักหอสมุดรับการประเมินและตรวจสอบคุณภาพ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2557 โดยคณะกรรมการประเมินตรวจสอบ ประกอบด้วย 1. รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานกรรมการ 2. อาจารย์ยุทธพงษ์ ทองพบ กรรมการ 3. อาจารย์ธนวัฒน์ ขวัญบุญ กรรมการ 4. นางปราณี คาแหง เลขานุการ 5. นายปฏิญญา วรรณโสภา ผู้ช่วยเลขานุการ ผลการประเมินตรวจสอบ 5 องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 3 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 4 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 5 ภารกิจหลัก รวมเฉลี่ย
ผลการประเมิน 5 5 5 5 4.75 4.91
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 67
สรุปผลการประเมินตรวจสอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และ แผนดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การบริหารและการจัดการ
องค์ประกอบที่ 3 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 4 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 5 ภารกิจหลัก
ตัวบ่งชี้ที่
ผลประเมิน ตรวจสอบ
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ. 1.1)
5
2.1 ระบบการพัฒนาบุคลากร (สกอ. 2.4) 2.2 ภาวะผู้นาของคณะกรรมการประจาหน่วยงานและผู้บริหารของ หน่วยงาน (สกอ. 7.1) 2.3 การพัฒ นาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (สกอ. 7.2) 2.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (สกอ. 7.4) 3.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ. 8.1)
5 5
4.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน (สกอ. 9.1)
5
5.1 การพัฒ นาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒ นธรรม (สมศ. 11) 5.2 ระดับ ความสาเร็จของการให้บริการที่สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้รับบริการ (สอดคล้องกับ ก.พ.ร.) 5.3 ระดับ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (สอดคล้องกับ ก.พ.ร.) 5.4 ระดับ ความสาเร็จของการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดาเนินงาน (ก.พ.ร.) รวม 11 ตัวบ่งชี้ 55 คะแนน เฉลี่ย (เต็ม 5) คิดเป็นร้อยละ
5 5
5 5 5
4 5 54 4.91 98.18
68 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
การจัดการความรู้ สานักหอสมุดมีคณะกรรมการดาเนินงานจัดการความรู้ทาหน้าที่วางแผน ดาเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ อย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2557 มีการดาเนินงาน ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการที่มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมบริการเพื่อการเรียนรู้ของสาธารณชน วัตถุประสงค์
1. ดาเนินการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมที่มาจากความร่วมมือของทุกภาคส่วนและเกิดการ ปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องที่ชัดเจน โปร่งใส 2. ดาเนินการพัฒนาระบบการสื่อสารขององค์กรให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้รับ ทราบข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างทั่วถึง
เป้าประสงค์ การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม โปร่งใส ตรวจสอบได้ กลยุทธ์ 3.2 พัฒนาการดาเนินงานทุกพันธกิจอย่างต่อเนื่องโดยนาระบบการประกันคุณภาพ การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ขับเคลื่อนทุกฝ่าย/งาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล วัตถุประสงค์การจัดการความรู้ 1. เพื่อดาเนินการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากร 3. เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องให้สามารถนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม เป้าหมายการจัดการความรู้ ใช้ประโยชน์การจัดการความรู้พัฒนาการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริการห้องสมุด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 69
สรุปผลการดาเนินงานการจัดการความรู้ ประจาปีงบประมาณ 2557 ลาดับ กิจกรรม ตัวชี้วัด ผลการดาเนินงาน ที่ 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 1.1 ทบทวนแผนและผลการจัดการ - มีแผนการจัดการความรู้ - ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานจัดการ ความรู้ประจาปีงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2557 ที่ ความรู้ 2 ครั้ง 2556 สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ - มีแผนการดาเนินงานการจัดการความรู้ ของสานักหอสมุด ประจาปีงบประมาณ 2557 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 2.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน - มีหัวข้อการปรับปรุงพัฒนา - การประชุมภายในฝ่ าย/งาน ดังนี้ ฝ่าย/งาน งานที่สอดคล้องกับแผน สานักงานเลขานุการ 3 ครั้ง ยุทธศาสตร์ งานบริการสารสนเทศ /Morning Talk 5 ครั้ง ฝ่ายพัฒ นาและวิเคราะห์ฯ 6 ครั้ง งานเทคโนโลยีห้องสมุด 7 ครั้ง งานบริการห้องสมุดสาขาฯ 1 ครั้ง - มีการปรับปรุงและพัฒนางาน 4 กระบวนงาน ดังนี้ 1) กระบวนงานซ่อมหนังสือ 2) กระบวนงานวารสาร 3) กระบวนงานบริการ Quick Catalog 4) กระบวนงานบริการยืม-คืน (การออก ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ) 2.2 กิจกรรม Library Say Hi : เรื่อง - จานวนครั้งการจัดกิจกรรม - จัดกิจกรรม Library Say Hi : เรื่องเล่าชาว เล่าชาวสานัก ประกอบด้วย สานัก จานวน 9 ครั้ง กิจกรรมหลัก - จานวนบุคลากรเข้าร่วม - มีบุคลากรเข้าร่วมครั้งละเฉลี่ยไม่ต่ากว่า ดังนี้ กิจกรรม ร้อยละ 70 - การให้ความรู้โดยผู้บริหาร/ - มีผลลัพธ์ที่เกิดจากการ - มีประเด็นความรู้ตามที่กาหนดผ่านกิจกรรม ผู้เชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Library Say Hi : เรื่องเล่าชาวสานัก ดังนี้ - กิจกรรม BAR/AAR 1) ความรู้/ทักษะบริการห้องสมุด โครงการ/กิจกรรมที่สาคั ญ (งานบริการสารสนเทศ) จานวน 4 เรื่อง 2) ความรู้และทักษะทางวิชาชีพ (งานพัฒ นาและวิเคราะห์ฯ) จานวน 5 เรื่อง 3) ความรู้/ทักษะทางเทคโนโลยีฯ (งานเทคโนโลยีห้องสมุด) จานวน 6 เรื่อง 4) ความรู้เกี่ยวการการบริหารจัดการ (สานักงานเลขานุการ) จานวน 4 เรื่อง 5) ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จานวน 9 เรื่อง
70 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ลาดับ กิจกรรม ที่ 2.3 กิจกรรม Restart Bookshelf
ตัวชี้วัด
ผลการดาเนินงาน
- จานวนบุคลากรเข้าร่วม - บุคลากรเข้าร่วม 58 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรม และนิสิตฝึกงาน 2 คน - หนังสือภาษาไทยและ - หนังสือภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้รับ ภาษาต่างประเทศมีการ การจัดเรีย งอย่างมีประสิทธิภาพ (ถูกต้องตาม จัดเรียงให้มีประสิทธิภาพ หมวดหมู่) - มีแนวปฏิบัติที่ดีในการ - มีแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดเรีย งหนังสือที่เป็น จัดเรียงหนังสือ ลายลักษณ์อักษร - มีข้อมูล ประเด็นปัญหา แนว - มีกิจกรรม BAR&AAR และจัดทาเอกสารสรุป ทางแก้ไขและการพัฒนา ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร 2.4 อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร - จานวนบุคลากรเข้าร่วม - บุคลากรสานักหอสมุดเข้าร่วม จานวน “เทคนิคการประเมินผลการ กิจกรรม 58 คน และบุคลากรจากหน่วยงานอื่น ปฏิบัติงาน” จานวน 34 คน - บุคลากรมีทักษะในการ - บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ กาหนดตัวชี้วัดและค่า การประเมินผลการปฏิบัติงาน และสามารถ เป้าหมายผลการปฏิบัติของ สร้างตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของตนเองได้ ตนเอง 2.5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิง - จานวนบุคลากรเข้าร่วม - บุคลากรเข้าร่วม จานวน 47 คน ปฏิบัติการ เรื่อง Google Aps กิจกรรม - บุคลากรใช้ความรู้ที่ได้รับนาไปใช้ประโยชน์ใน for Education - บุคลากรสามารถประยุกต์ใช้ การปฏิบัติงานได้ อาทิ การใช้ข้อมูลร่วมกั น Google Aps for Education บน Drive 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 3.1 รวบรวมและจัดเก็บความรู้หลัง - มีระบบจัดเก็บความรู้ - มีผู้รับผิดชอบรวบรวมจัดเก็บความรู้ กิจกรรมการสร้างและแสวงหา - มีระบบจัดเก็บความรู้ของสานักหอสมุด ความรู้ให้เป็นระบบ/หมวดหมู่ Knowledge Base Naresuan University Library 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 4.1 ทบทวน กลั่นกรองความถูกต้อง - จานวนความรู้ - มีจานวนความรู้ที่รวบรวม จัดเก็บ 27เรื่อง ความสมบูรณ์ของความรู้และ - จานวนประเด็นปัญหา แนว - มีจานวนประเด็นปัญหา 3 เรื่อง ปรับปรุงรูปแบบให้เป็นไปใน ทางแก้ไขและการพัฒนา แนวทางเดียวกัน 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 5.1 ปรับปรุง พัฒนาเทคโนโลยี - มีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย - มีระบบจัดเก็บความรู้ของสานักหอสมุด สนับสนุนการดาเนินงานจัดการ สนับสนุนการจัดการความรู้ Knowledge Base Naresuan University ความรู้ Library - มีระบบเผยแพร่ แบ่งปันความรู้ http://www.lib.nu.ac.th/web/research /index.php?load=knowledge 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 6.1 การนาความรู้ไปใช้ในการ - จานวนผลลัพธ์ที่เกิดจากการ - บุคลากรร้อยละ 89.40 ได้นาความรู้ไปใช้ใน ปรับปรุง พัฒนางานให้มี แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยน - นาเสนอผลงานด้วยวาจาในงาน PULINET เรียนรู้ร่วมกันทั้งภายในและ วิชาการ ครั้งที่ 4 วันที่ 22 – 24 มกราคม ภายนอก 2557 จานวน 5 เรื่อง
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 71 ลาดับ กิจกรรม ตัวชี้วัด ที่ 7. การเรียนรู้ (Learning) 7.1 การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของการ - มีกระบวนการติดตาม ปฏิบัติงาน ประเมินผลการเรียนรู้ 8. การประเมินผลและส่งเสริมการจัดการความรู้ในองค์กร 8.1 การประเมินผลการจัดการ - มีสรุปรายงานผลการ ความรู้ในรอบปีที่ผ่านมาและ ดาเนินงาน ประจาปี จัดทาสรุปรายงานผลการ ดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน - มีการติดตามการนาความรู้ไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - มีการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากร เกี่ยวกับการจัดการความรู้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - มีรายงานสรุปผลการดาเนินงานประจาปี
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 75
การบริการทางวิชาการแก่สังคม ในปี งบประมาณ 2557 สานัก หอสมุด ดาเนิน การให้ บริ การวิช าการและวิ ชาชีพ แก่สั งคม / ชุ มชน โดยมี กิจกรรมที่ให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม / ชุมชน ดังนี้ 1. การได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยาย จานวน 51 กิจกรรม (ครั้ง) ลาดับ ที่ 1
เรื่อง
หน่วยงานที่ร้องขอ
การสืบค้นฐานข้อมูลด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ การใช้โปรแกรมจัดการ บรรณานุกรม EndNote การทาสมุดโน๊ต และวิธีการเก็บ รักษาหนังสือ
คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กองพัฒนากลยุทธ์การตลาด มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
9
การทาสารบัญด้วย Microsoft Word การถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการ คิดโจทย์งานวิจัยและสืบค้น งานวิจัยทางด้านป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบการคัดลอก ผลงานทางวิชาการ และ การ เขียนผลงานวิทยานิพนธ์โดยไม่มี การคัดลอก การใช้โปรแกรมจัดการ บรรณานุกรม EndNote การถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการ เขียนทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยทางด้านการป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การประกันคุณภาพการศึกษา
10
การใช้โปรแกรม EndNote
11
การสืบค้นเอกสารฐานข้อมูล ด้านวิทยาศาสตร์ การเขียนเอกสารอ้างอิงโดยใช้ โปรแกรม EndNote
คณะบริหารธุรกิจฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาอุตสาหกรรมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาอุตสาหกรรมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2 3 4 5
6
7 8
12 13
การสืบค้นเอกสารและบทความ ทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์
วิทยากร
วัน เดือน ปี ที่ ดาเนินการ
นางรวิวรรณ ศรีอาไพ
4 ตุลาคม 2556
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
11 ตุลาคม 2556 19-20 ตุลาคม 2556
นายจิรทีปต์ แตงเส็ง และ น.ส.สาอางค์ ทิมเครือจีน รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
25 ตุลาคม 2556 11 พฤศจิกายน 2556
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
22 พฤศจิกายน 2556
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
29 พฤศจิกายน 2556 11 ธันวาคม 2556
มหาวิทยาลัยพะเยา
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
นางวลุลี โพธิรังสิยากร
2 – 3 มกราคม 2557 รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา 4 มกราคม 2557 นางรวิวรรณ ศรีอาไพ 6 มกราคม 2557 ดร.ศศิธร ติณะมาศ 14, 21 มกราคม 2557 น.ส.ขวัญตระกลู กลิ่นสุคนธ์
14, 28 มกราคม 2557
76 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ลาดับ ที่ 14 15
16 17
18
19 20 21
เรื่อง
หน่วยงานที่ร้องขอ
วิทยากร
วัน เดือน ปี ที่ ดาเนินการ
“Academic Plagiarism Verification และ Writing the Thesis, without copying” การติดตามและพัฒนา ความก้าวหน้าการดาเนินงาน ทบทวนวรรณกรรมงานวิจัย ทางด้านป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ การถ่ายทอดประสบการณ์และ แรงจูงใจเข้าสู่ตาแหน่งสูงขึ้น
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
30 มกราคม 2557
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
5 กุมภาพันธ์ 2557
นางวลุลี โพธิรังสิยากร
การตรวจสอบการคัดลอก ผลงานทางวิชาการ และ การ เขียนผลงานวิทยานิพนธ์โดยไม่มี การคัดลอก การตรวจสอบการคัดลอก ผลงานทางวิชาการ และ การ เขียนผลงานวิทยานิพนธ์โดยไม่มี การคัดลอก การค้นคว้าข้อมูล ฐานข้อมูล และการใช้โปรแกรม EndNote การอบรมวิชาชีพบรรณารักษ์ และการจัดการงานห้องสมุด
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
8–9 กุมภาพันธ์ 2557 15 กุมภาพันธ์ 2557
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
19 มีนาคม 2557
คณะบริหารธุรกิจฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทัณฑสถานหญิ งพิษณุโลก
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
22 มีนาคม 2557 24 – 25 เมษายน 2557
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ฝ่ายพัฒ นาและวิเคราะห์ ทรัพยากรสารสนเทศ
เทคนิคการสืบ ค้นผลงานวิจัย กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากระบบฐานข้อมูลระดับชาติ และระดับนานาชาติ โปรแกรม EndNote นิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
24 เมษายน 2557
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
28 เมษายน 2557
23
การซ่อมหนังสือ
ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก
24
โปรแกรม Microsoft word นิสิตแพทย์ ชั้นปีที่ 6 การสืบค้นสารสนเทศเพื่อ การศึกษาและการวิจัย (One Search Database/E-book) การให้บริการของสานักหอสมุด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
งานพัฒ นาทรัพยากร สารสนเทศ รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
28 – 29 เมษายน 2557 29 เมษายน 2557 30 เมษายน 2557
22
25 26 27
การใช้ห้องสมุด และการสืบค้น สารสนเทศ
ภาควิชาบริหารและพัฒนา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา น.ส.ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
6 พฤษภาคม 2557 8 พฤษภาคม 2557
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 77 ลาดับ ที่ 28
เรื่อง
หน่วยงานที่ร้องขอ
วิทยากร
การสืบค้นข้อมูลเพื่อการศึกษา และวิจัย การสืบค้นข้อมูลการใช้โปรแกรม EndNote สภาพการอนุรักษ์ข้อมูลวิจัย ใน มหาวิทยาลัยและการบริหาร จัดการทรัพยากรสารสนเทศ ดิจิทัลในมหาวิทยาลัย การใช้ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น / ฝึกปฏิบัติใช้ฐานข้อมูลสืบค้น
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช จังหวัดนนทบุรี โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัย นเรศวร
น.ส.ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์
28 พฤษภาคม 2557
วิทยาลัยประชาคมอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
นางปราณี คาแหง
28 พฤษภาคม 2557
33
การสร้างทีม งานที่มี ประสิทธิภาพ และการปลูกจิต รักบริการเชิงรุก การสืบค้นและการใช้ฐานข้อมูล
34
การใช้ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น
35
จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลอง เพื่อการวิจัย และจรรยาบรรณ การวิจัยกับการคัดลอกผลงาน ทางวิชาการ การใช้โปรแกรม Endnote
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัย นเรศวร กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัย นเรศวร
น.ส.กิ่งกาญจน์ สิงห์กวาง และนางรวิวรรณ ศรีอาไพ น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
2 มิถุนายน 2557 11 มิถุนายน 2557 22 – 23 กรกฎาคม 2557
ดร.ศศิธร ติณะมาศ
น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์
24 กรกฎาคม 2557 1 สิงหาคม 2557 4 สิงหาคม 2557 5 สิงหาคม 2557 7 สิงหาคม 2557 8 สิงหาคม 2557
น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์
21 สิงหาคม 2557
รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
28 สิงหาคม 2557
29 30
31 32
36 37 38 39 40 41
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิธีการใช้ห้องสมุดของ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย นเรศวร Literature Search คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร แนะนาการใช้ห้องสมุดฯสาหรับ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย นิสิตใหม่ นเรศวร แนะนาการใช้ห้องสมุด และการ คณะสังคมศาสตร์ สืบค้นข้อมูล มหาวิทยาลัยนเรศวร การใช้ระบบและวิธีการใช้ สถานการศึกษาต่อเนื่อง ห้องสมุดในการยืม-คืนหนังสือ มหาวิทยาลัยนเรศวร
42
การสืบค้นฐานข้อมูลทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
43
การตรวจสอบการคัดลอก ผลงานวิชาการ และการเขียน ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยไม่มีการ คัดลอก
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
น.ส.ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ ดร.ศศิธร ติณะมาศ
วัน เดือน ปี ที่ ดาเนินการ
ดร.ศศิธร ติณะมาศ
น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา
19 พฤษภาคม 2557 19 พฤษภาคม 2557 22 พฤษภาคม 2557
78 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ลาดับ ที่ 44 45 46 47 48 49 50 51
เรื่อง
หน่วยงานที่ร้องขอ
การแนะนาการใช้ห้องสมุด สาหรับนิสิตพยาบาล การเขียนงานวิจัยสถาบัน
วิทยากร
คณะพยาบาลศาสตร์ น.ส. ขวัญตระกูล มหาวิทยาลัยนเรศวร กลิ่นสุคนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย นางวลุลี โพธิรังสิยากร มหาวิทยาลัยนเรศวร การสืบค้น ค้นคว้างานวิจัยของ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย น.ส. ขวัญตระกูล สานักหอสมุด นเรศวร กลิ่นสุคนธ์ แนะนาบริการของสานักหอสมุด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย น.ส.พรทิพย์ อาจวิชัย นเรศวร และน.ส.สิริรัตน์ ไกรกลิ่น Library Resources and บัณฑิตวิทยาลัย รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา Services มหาวิทยาลัยนเรศวร การสืบค้นข้อมูล คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย น.ส. ขวัญตระกูล ทรัพยากรห้องสมุด นเรศวร กลิ่นสุคนธ์ เทคนิคการสืบ ค้นข้อมูลเพื่อ คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัย น.ส. ขวัญตระกูล การศึกษาและวิจัย นเรศวร กลิ่นสุคนธ์ การตรวจสอบการคัดลอก บัณฑิตวิทยาลัย รศ.ดร.รัตติมา จีนาพงษา ผลงานวิชาการ และการเขียน มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยไม่มีการ คัดลอก
วัน เดือน ปี ที่ ดาเนินการ 29 สิงหาคม 2557 29 สิงหาคม 2557 1 กันยายน 2557 6 – 7 กันยายน 2557 18 กันยายน 2557 15 กันยายน 2557 22 กันยายน 2557 28 กันยายน 2557
2. การจัดโครงการ / กิจกรรม ที่ให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม / ชุมชน จานวน 2 กิจกรรม (ครั้ง) ลาดับ ชื่อโครงการ/กิจกรรม ที่ 1 โครงการบริการวิชาการแก่สังคม : การพัฒนา ห้องสมุดโรงเรียนหลวงพ่อเพชรวิทยา 2 โครงการบริการวิชาการแก่สังคม : การติดตาม การดาเนินงานห้องสมุดหอสมุดชินวงส์
วัน/เดือน/ปีที่ สถานที่ จัดกิจกรรม 15 พ.ค. 57 โรงเรียนหลวงพ่อเพชรวิทยา อ.เมือง จ.พิจิตร 7 ส.ค. 57 หอสมุดชินวงส์ วัดวังหิน ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 79
การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ลาดับ จานวน วัน/เดือน/ปี บุคคล / หน่วยงาน ที่ (คน) 1 16 ตุลาคม 2556 คณะนักศึกษาชาวเมียนมาร์ ภาควิชาภาษาไทย ณ Yangon University of 20 Foreign Languages (YUFL), Republic of the Union of Myanmar 2 22 ตุลาคม 2556 Mr.Yoo WoonSek, Director, Office of International Affairs และ 2 Mr. Suh Young-jin, Manager, Undergraduate Degree Admission, Office of International Affairs from Konkuk University, Republic of Korea 3 30 ตุลาคม 2556 Dr. Encarnacion N. Raralio, President IMUS Institute, Republic of 1 the Philippines 4 1 พฤศจิกายน Dr. Utami Widiati, Universitas Negeri Malang และ Sismijati, 12 2556 Ministry of Agriclture, Indonesia พร้อมด้วยคณะนิสิตจาก Universitas Negeri Malang, Republic of Indonesia 5 4 พฤศจิกายน บุคลากรสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา เยี่ยมชมและดูงานเกี่ยวกับการ 5 2556 จัดงาน NU Book Fair และการใช้งานระบบ RFID 6 20 พฤศจิกายน คณะผู้บริหารจาก Myanmar Maritime University, 7 2556 Republic of the Union of Myanmar 7 25 พฤศจิกายน School of Nursing Faculty of Medicine Gadjah Mada University 10 2556 Indonesia, Republic of Indonesia 8 20 ธันวาคม Assoc, Prof.Dr. Jianguo Chen, Deputy Director และคณะ จาก 3 2556 International Exchange and Cooperation Division, China Jiliang University สาธารณรัฐประชาชนจีน 9 24 มกราคม บุคลากรศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา 8 2557 10 7 กุมภาพันธ์ บุคลากรคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ศึกษาดูงานสานักหอสมุด 10 2557 11 7 กุมภาพันธ์ Dr. Kim Wuenbae อธิการบดีจาก Mokwon University สาธารณรัฐ 2 2557 เกาหลี พร้อมด้วย Dr. Lee Heehak, Dean of Office of International Cooperation 12 11 กุมภาพันธ์ นักศึกษาสาขาบรรณารักษ์ฯ ชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 10 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พิษณุโลก 13 21 มีนาคม 2557 Rev.Fr. Leander Barrot, OAR, Vice President for Academic Affairs, 3 Dr. Maria Corazon Reyes, Dean, College of International Hospitality Management, Miss Cristina Caluza, Chair, Tourism Management, Republic of the Philippines 14 8 พฤษภาคม นักเรียนโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 320 2557 1 และปีที่ 4
80 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ลาดับ ที่ 15 16 17 18
วัน/เดือน/ปี 8 พฤษภาคม 2557 14 สิงหาคม 2557 28 สิงหาคม 2557 25 กันยายน 2557
จานวน (คน) นิสิตโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาครูในถิ่นทุรกันดารบนพื้นที่สูงชายแดน 165 ไทย-เมียนมาร์ ด้านจังหวัดตาก เอกอัครราชทูตบูรไนดารุสซาลาม ประจาประเทศไทย 6 บุคคล / หน่วยงาน
Professor Nobuhiko Henmi พร้อมคณะจาก Shinshu University ประเทศญี่ปุ่น คณะกรรมการประเมินฯ ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
การให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมูลที่สานักหอสมุดพัฒนาขึ้นให้กับหน่วยงานอื่น ฐานข้อมูลครุภัณฑ์
แผนกห้องสมุด สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
3 3
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 83
การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ส านั ก หอสมุ ด ให้ ความส าคั ญ ในการท านุ บารุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมอัน ดี งามของชาติ อย่ างสม่าเสมอ และ สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ สืบสานประเพณี และวัฒนธรรม เป็นประจาทุก ๆ ปีมาโดยตลอด ซึ่งบุคลากรและผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมอย่างทั่ วถึง โดยปีงบประมาณ 2557 จัดกิจกรรมการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม จานวน 8 กิจกรรม ดังนี้ ปีงบประมาณ 2557 สานักหอสมุดจัดกิจกรรมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมเนื่องในวันสาคัญทางศาสนา และประเพณีต่าง ๆ จานวน 5 กิจกรรม ดังนี้ ทาบุญเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ 2557 วันที่ 3 มกราคม 2557 ณ ชั้น 4 ห้องศูนย์เทปและหนังสือ ธรรมะท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ณ อาคารสานักหอสมุด
84 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
กิจกรรม “คนดี คิดดี ทาดี” เป็นส่วนหนึ่งของวันมาฆบูชา ในระหว่างวันที่ 3 - 28 กุมภาพันธ์ 2557 และจัดนิทรรศการเนื่องในวันมาฆบูชา ระหว่างวันที่ 7 – 14 กุมภาพันธ์ 2557 ณ อาคาร สานักหอสมุด
การสรงน้าพระเนื่องในเทศกาลวันสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 1 – 16 เมษายน 2557 ณ อาคาร สานักหอสมุด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 85
จัดนิทรรศการเนื่องในวันวิสาขบูชา ระหว่างวันที่ 1 – 14 พฤษภาคม 2557 ณ อาคารสานักหอสมุด
จัดนิทรรศการเนื่องในวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ระหว่างวันที่ 1 – 15 กรกฎาคม 2557 ณ อาคารสานักหอสมุด และนาเทียนพรรษาไปถวายที่วัดวังอิทก ตาบลวังอิทก อาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2557
86 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
กิจกรรมส่งเสริมการแสดงออกถึงการเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ จานวน 3 กิจกรรม ดังนี้ ลงนามถวายพระพรเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ระหว่างวันที่ 2 พฤศจิกายน - 6 ธันวาคม 2556 ณ บริเวณชั้น 1 อาคารสานักหอสมุด
ถวายพวงมาลาเนื่องในวันสวรรคตสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วันที่ 25 เมษายน 2557 ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 87
ลงนามถวายพระพรเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ระหว่างวันที่ 4 – 13 สิงหาคม 2557 ณ ชั้น 1 อาคารสานักหอสมุด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 91
พันธกิจที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศทั้งประเภทสิ่งพิมพ์ และอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่กระบวนการการจัดหา การวิเคราะห์หมวดหมู่ การนาออกบริการให้เป็นระบบและมีมาตรฐาน สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 2 : การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการ วัตถุประสงค์ : 1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้สอดคล้องกับหลักสู ตรและความต้องการของผู้ใช้ 1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่สอดคล้องกับหลักสูตร 1.2 จัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้เสนอ
92 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ส อดคล้องกับหลักสูตรและความต้องการของผู้ใช้ 1. ร้อยละของ ร้อยละ ≥90 N/A เนื่ อ งจากในปี ง บประมาณ 2557 ได้ มี ก ารด าเนิ น แยกข้ อ มู ล ทรัพยากรสารสนเทศที่ ทรัพยากรสารสนเทศตามคณะ และภาควิชา แต่ยังไม่มี การแยก จัดหาและสอดคล้อง ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศตามหลักสูตร ซึ่งงานพัฒ นาทรัพยากร กับหลักสูตร สารสนเทศจะดาเนินการในปีงบประมาณ 2558 2. ร้อยละของ ร้อยละ 100 100 จัดซื้อหนังสือตรงตามความต้องการ คิดเป็นร้อยละ 100 ทรัพยากรสารสนเทศที่ 1. จัดซื้อตามรายการเสนอซื้อของผู้ใช้บริการ จัดหาและสอดคล้อง 2. จัดซื้อตามจานวนงบประมาณที่ทางสานักหอสมุดได้จัดสรรให้แ ต่ กับความต้องการของ ละคณะของแต่ละคณะ และจัดซื้อตามงบประมาณสานักหอสมุด ผู้ใช้บริการ 3. ไม่จัดซื้อ เนื่องจาก 3.1 เสนอซ้ ากั บ รายการทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ นฐานข้ อ มู ล ของ สานักหอสมุด 3.2 เสนอซ้ากับผู้ใช้บริการอื่นๆ ที่มีการจัดซื้อแล้ว วัตถุประสงค์ : 1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ส อดคล้องกับหลักสูตร 3. ร้อยละของจานวน ร้อยละ 100 N/A เนื่ อ งจากในปี ง บประมาณ 2557 ได้ มี ก ารด าเนิ น แยกข้ อ มู ล หลักสูตรที่สามารถ ทรัพยากรสารสนเทศตามคณะ และภาควิชา แต่ ยังไม่มี การแยก รวบรวมรายชื่อ ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศตามหลักสูตร ซึ่งงานพัฒ นาทรัพยากร สารสนเทศได้ สารสนเทศจะดาเนินการในปีงบประมาณ 2558 วัตถุประสงค์ : 1.2 จัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้เสนอ 4. ร้อยละของจานวน ร้อยละ 100 100 จัดซื้อหนังสือตรงตามความต้องการ คิดเป็นร้อยละ 100 ทรัพยากรสารสนเทศที่ 1. จัดซื้อตามรายการเสนอซื้อของผู้ใช้บริการ จัดซื้อตามความ 2. จัดซื้อตามจานวนงบประมาณที่ทางสานักหอสมุดได้จัดสรรให้แ ต่ ต้องการของผู้ใช้ตาม ละคณะของแต่ละคณะ และจัดซื้อตามงบประมาณสานักหอสมุด งบประมาณที่ได้รับการ 3. ไม่จัดซื้อ เนื่องจาก จัดสรร 3.1 เสนอซ้ ากั บ รายการทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ นฐานข้ อ มู ล ของ สานักหอสมุด 3.2 เสนอซ้ากับผู้ใช้บริการอื่นๆ ที่มีการจัดซื้อแล้ว ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 93
พันธกิจที่ 2 พัฒนาศักยภาพบริการที่นาไปสู่ความพึงพอใจและเกิดประโยชน์สูงสุด ของผู้ใช้บริการในด้านทรัพยากรสารสนเทศ ขั้นตอนการให้บริการ บุคลากร/ผู้ให้บริการ สถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก และการประชาสัมพันธ์ สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาคุณภาพการให้บริการสารสนเทศ วัตถุประสงค์ : 2. พัฒนาคุณภาพบริการที่นาไปสู่ความพึงพอใจและประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้บริการ 2.1 ประสิทธิภาพการให้บริการ 2.2 บุคลากรให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
94 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 2. พัฒนาคุณภาพบริการที่นาไปสู่ความพึงพอใจและประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้บริการ 5. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 81.80 ความพึงพอใจของผู้ใช้บ ริการ อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ ย ผู้ใช้บริการ 4.09 คิดเป็นร้อยละ 81.80 1. ความพึ ง พอใจของผู้ใ ช้บ ริก ารส านั กหอสมุ ด ประจ าปี งบประมาณ 2557 อยู่ในระดับ มาก มี ค่าเฉลี่ย 3.95 คิ ด เป็นร้อยละ 79 2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุดสาขาวิท ยาศาสตร์ สุข ภาพ ประจาปี งบประมาณ 2557 อยู่ ในระดั บ มาก มี ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.60 วัตถุประสงค์ : 2.1 ประสิทธิภาพการให้บริการ 6. จานวนครั้งของข้อผิดพลาด ร้อยละ ≥85 83.90 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการ ในการให้บริการ บริการของห้องสมุด อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 คิด เป็นร้อยละ 83.90 1. ความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารส านั ก หอสมุ ด ด้ า น กระบวนการ/ขั้น ตอนการบริก ารของห้ องสมุ ด ประจ าปี งบประมาณ 2557 อยู่ในระดับ มาก มี ค่าเฉลี่ย 4.10 คิ ด เป็นร้อยละ 82 2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุดสาขาวิท ยาศาสตร์ สุขภาพ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการบริการของห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2557 อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.29 คิดเป็นร้อยละ 85.80 7. จานวนครั้งของข้อผิดพลาด ครั้ง ≤2 5 สมุดบันทึกปัญหางานบริการเคาน์เตอร์ชั้น 1 ในการให้บริการ (ข้อมูลจากคุณวรรณาภรณ์ เทียรท้าว) หมายเหตุ: ไม่เกิน 2 ครั้งต่อ เดือน ตัวชี้วัด
วัตถุประสงค์ : 2.2 บุคลากรให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8. ร้อยละความพึงพอใจ ร้อยละ ≥85 85.40
9. จานวนครั้งที่มีข้อร้องเรียน ด้านการให้บริการทางบุคลากร โดยมีการลงชื่อผู้ร้องเรีย นอย่าง ชัดเจน หมายเหตุ: ไม่เกิน 1 ครั้งใน 6 เดือน (รอบประเมิน)
ครั้ง
≤1
1
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านบุคลากรของห้องสมุด อยู่ ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.27 คิดเป็นร้อยละ 85.4 1. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสานักหอสมุด ด้านบุคลากร ของห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2557 อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.14 คิดเป็นร้อยละ 82.8 2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ด้านบุคลากรของห้องสมุด อยู่ในระดับมาก มี ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88 มีการร้องเรีย นผ่านทางเพจ Social Network Facebook ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร เกี่ ย วกั บ การให้ บ ริ ก ารของบุ ค ลากร สานักหอสมุด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 95 หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 2.2.1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10. จานวนบุคลากร (ร้อยละ) ร้อยละ 100 100 1. โครงการการจัดการความรู้: กิจกรรมแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ และได้รับการพัฒนาที่ Restart Bookshelf บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมทุกคน ปฏิบัติงานด้านบริการ 2. โครงการพัฒ นาบุคลากร: กิจกรรม คุณธรรม จริย ธรรม กับการทางานอย่างมีความสุข บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมทุก คน 3. กิจ กรรมพั ฒ นาทัก ษะและคุณ ภาพการให้ บ ริ ก ารของ บุคลากรงานบริการสารสนเทศ จานวน 22 คน ตัวชี้วัด
96 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
พันธกิจที่ 3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีห้องสมุดให้สามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ได้สะดวกและรวดเร็ว สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 5 : เทคโนโลยีที่สนับสนุนการบริหารและการบริการ วัตถุประสงค์ : 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีห้องสมุดที่ตอบสนองต่อการให้บริการและการปฏิบัติงานของบุคลากร 3.1 ประสิทธิภาพของฐานข้อมูลที่พัฒ นาขึ้น 3.2 มีการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่อย่างสม่าเสมอ 3.3 ประสิทธิภาพในการพัฒนาฐานข้อมูลตามคาร้องขอของบุคลากรหลังจากที่ได้รับอนุมัติ จากผู้บริหาร
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 97
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีห้องสมุดที่ตอบสนองต่อการให้บริการและการปฏิบัติงานของบุคลากร 11. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ บุคลากรที่ใช้งานต่อฐานข้อมูล ที่พัฒนาขึ้นเอง 12. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ ผู้ใช้บริการต่อฐานข้อมูลที่ พัฒนาขึ้นเอง 13. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ บุคลากรต่ออุปกรณ์เทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน 14. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ ผู้ใช้บริการต่ออุปกรณ์ เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ที่ ใช้ในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ : 3.1 ประสิทธิภาพของฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้ น 15. จานวนครั้งของฐานข้อมูล ครั้ง 3 1 จานวนครั้ งของฐานข้อมู ลไม่ สามารถทางานได้ ตามปรกติ ไม่สามารถทางานได้ตามปรกติ นานเกิน 30 นาที 1 ครั้ง เนื่องจากได้ทาการเปลี่ย นเครื่อง นานเกิน 30 นาที Server ใหม่โดยนาโปรแกรม Virsual Machine (Proxmox หมายเหตุ: 3 ครั้ง ต่อ 6 เดือน 3.2) มาใช้งาน 16. จานวนครั้งของการสารอง ครั้ง 1 ทุกวัน มี ก ารด าเนิ น งานตามแผนการส าร องข้ อ มู ล ของงาน ข้อมูลของฐานข้อมูลที่ เทคโนโลยีห้องสมุด พัฒนาขึ้น หมายเหตุ: อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ : 3.2 มีการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่อย่างสม่าเสมอ 17. จานวนครั้งของการ ครั้ง 1 1 มีการเผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ งาน (ต่อ 2 เดือน) ห้องสมุด จานวน 6 ครั้งต่อปี เผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน 1. มีดาเนินการในกิจกรรม Library Say Hi : เรื่องเล่าชาว ห้องสมุด สานัก จานวน 5 ครั้ง หมายเหตุ: 1 ครั้งต่อเดือน 2. โครงการการจัดการความรู้: กิจกรรม "การอบรม Cloud Computing Google Apps & Microsoft 365" วัตถุประสงค์ : 3.3 ประสิทธิภาพในการพัฒนาฐานข้อมูล ตามคาร้องขอของบุคลากรหลังจากที่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร 18. ระยะเวลาที่ใช้ในการ ร้อยละ 100 100 รายงานสรุปผลการพัฒนาระบบสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลแล้วเสร็จ ตัวชี้วัด
98 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
พันธกิจที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี มีความคล่องตัวและรวดเร็ว โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ภายใต้บรรยากาศการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 3 : การบริหารจัดการที่มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมบริการเพื่อการเรียนรู้ของ สาธารณชน วัตถุประสงค์ : 4. มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีความคล่องตัวและรวดเร็วโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาบุคลากรให้นาไปสู่การดาเนินงานที่ดี วัตถุประสงค์ : 4.1 ประสิทธิผล 4.2 นิติธรรม – บุคลากรปฏิบัติตามแนวแนวปฏิบัติของหน่วยงาน (จรรยาบรรณ) 4.3 มีนโยบายเบิกจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 ตอบสนอง – ประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ 4.5 รับผิดชอบ – มีการรายงานผลการดาเนินการดาเนินงานด้วยวาจาหรือเป็นลายลักษณ์อักษร 4.6 โปร่งใส : มีกระบวนการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ 4.7 มีส่วนร่วม – บุคลากรมีส่วนร่วมและแนวทางในการแก้ไขปัญหา 4.8 การกระจายอานาจ – มีการถ่ายโอนอานาจในการตัดสินใจการดาเนินการให้แก่บุคลากร 4.9 เสมอภาค – บุคลากรทุกคนได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน 4.10 ฉันทามติ – บุคลากรมีโอกาสได้ลงมติหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 99
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 4. มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีความคล่องตัวและรวดเร็วโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 19. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 90.40 ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากร / คณะ กรร มการปร ะจ า บุคลากร / คณะกรรมประจา สานั กหอสมุ ด /ผู้ บ ริห ารคณะ ที่ มีต่ อ การบริ ห ารงานของ สานักหอสมุด / ผู้บริหารคณะ ผู้อานวยการสานักหอสมุด มีค่าเฉลี่ย 4.52 1. ความพึ งพอใจของบุค ลากรที่มี ต่อ การบริห ารงานของ ผู้อานวยการสานักหอสมุด ค่าเฉลี่ย 4.60 2. ความพึงพอใจของคณะกรรมการประจาสานักหอสมุดที่มี ต่อการบริห ารงานของผู้อานวยการสานักหอสมุด ค่าเฉลี่ย 4.66 3. ความพึ งพอใจของผู้บ ริห ารคณะที่มีต่อ การบริห ารงาน ของผู้อานวยการสานักหอสมุด ค่าเฉลี่ย 4.31 วัตถุประสงค์ : 4.1 ประสิทธิผล 20. ร้อยละความสาเร็จตาม ร้อยละ 80 94.44 ความสาเร็จของแผนยุทธศาสตร์ของสานักหอสมุด ประจาปี แผนยุทธศาสตร์ งบประมาณ 2557 ตัวชี้วัดทั้ง สิ้น 54 ตัวชี้วัด ซึ่งบรรลุ 51 ตัวชี้ วัด ไม่บ รรลุ 3 ตั วชี้ วัด คิด เป็ นร้อ ยละของตั วชี้ วัด ที่ บรรลุ 94.44 วัตถุประสงค์ : 4.2 นิติธรรม – บุคลากรปฏิบัติตามแนวแนวปฏิบัติของหน่วยงาน (จรรยาบรรณ) 21. จานวนครั้งที่บุคลากรไม่ ครั้ง 6 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติข อง หน่วยงานและจรรยาบรรณ หมายเหตุ: 6 ครั้งต่อ 6 เดือน วัตถุประสงค์ : 4.3 มีนโยบายเบิกจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 22. ร้อยละของการเบิกจ่าย ร้อยละ 100 100 รายงานการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินในระบบบัญชีสามมิติ งบประมาณตามแผนการ ประจาปีงบประมาณ 2557 (ยกเว้นงบบุคลากร) เบิกจ่ายงบประมาณ (แผ่นดิน) วัตถุประสงค์ : 4.4 ตอบสนอง – ประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ 23. ร้อยละของข้อร้องเรียน / ร้อยละ 80 100 จานวนข้อร้องเรียนทั้งหมด 41 ข้อ จานวนข้อร้องเรีย นที่ไ ด้ ข้อเสนอแนะที่ได้รับการ ดาเนินการแก้ไข 41 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 100 ตอบสนอง / แก้ไข 1. ข้อ ร้องเรี ย นจากกล่อ งรั บ ความคิดเห็น ของผู้ใ ช้บ ริ การ จานวน 1 ข้อ ดาเนินการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว 2. ข้ อ ร้ อ งเรี ย นจากการร้ อ งเรี ย นผ่ า นทางเพจ Social Network Facebook ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร เกี่ ย วกั บ การ ให้ บ ริ ก าร ของบุ ค ลากรส านั ก ห อสมุ ด จ านวน 1 ข้ อ ดาเนินการแก้ไข 1 ข้อ (โดยรองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาฯ) 3. ข้อร้องเรียนจากการร้องเรียนผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ของผู้ใช้บริการ เกี่ย วกับ การห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม จานวน 1 ข้อ ดาเนินการแก้ไข 1 ข้อ 4. ข้อร้องเรียนจากข้อเสนอแนะของแบบสอบถาม ประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บ ริการสานักหอสมุดจานวน 18 ข้อ ดาเนินการแก้ไข 18 ข้อ 5. ข้อร้องเรียนจากข้อเสนอแนะของแบบสอบถาม ประเมิน ตัวชี้วัด
100 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ตัวชี้วัด
หน่วย นับ
แผน
ผล
ข้อมูล ผลการดาเนินงาน
ความพึงพอใจของผู้ใ ช้บ ริ การห้ องสมุดสาขาวิ ท ยาศาสตร์ สุขภาพ จานวน 20 ข้อ ดาเนินการแก้ไข 20 ข้อ วัตถุประสงค์ : 4.5 รับผิดชอบ – มีการรายงานผลการดาเนินการดาเนินงานด้วยวาจาหรือเป็นลายลักษณ์อักษร 24. จานวนครั้งของการ ครั้ง 2 8 1. รายงานแผนและผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี รายงานผลการปฏิบัติงาน 2557 (หน่วยนโยบายและแผนฯ) หมายเหตุ: อย่างน้อยปีละ 2 2. รายงานแผนและผลการจัดซื้ อจัด จ้า งรายการครุ ภัณ ฑ์ ประจาปี (หน่วยนโยบายและแผนฯ) ครั้ง 3. รายงานการเบิกจ่ายเงินประจาเดือน (หน่วยการเงิน) 4. รายงานงบการเงินประจาเดือน (หน่วยการเงิน) 5. รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิ บัติการประจาปี (หน่วยนโยบายและแผนฯ) 6. รายงานผลการประเมินตรวจสอบคุณภาพภายใน (หน่วย นโยบายและแผนฯ) 7. รายงานผลการดาเนินงานของสานักหอสมุด ปี 2555 2556 ภายใต้การบริหารงานของรองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. รั ต ติ ม า จี น าพงษา ผู้ อ านวยการส านั ก หอสมุ ด เสนอ มหาวิทยาลัย 8. รายงานผลการประเมิ นความเสี่ ย งของส านั ก หอสมุ ด (หัวหน้าสานักงานเลขานุการ) วัตถุประสงค์ : 4.6 โปร่งใส : มีกระบวนการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ 25. จานวนข้อร้องเรียนจาก ครั้ง 0 0 ไม่มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง บุคลากรภายในและภายนอก เกี่ยวกับการจัดซื้อเป็นลาย ลักษณ์อักษร วัตถุประสงค์ : 4.7 มีส่วนร่วม – บุคลากรมีส่วนร่วมและแนวทางในการแก้ไขปัญหา 26. จานวนบุคลากรที่ไม่เคยมี คน 0 0 บุคลากรทุ กคนได้เ ข้าร่ว มกิจ กรรม และมีก ารแสดงความ ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา คิดเห็นเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ : 4.8 การกระจายอานาจ – มีการถ่ายโอนอานาจในการตัดสินใจการดาเนิ นการให้แก่บุคลากร 27. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 92.00 ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรส านั ก หอสมุ ด ที่ มี ต่ อ การ บุคลากรที่ได้รับมอบอานาจใน บริ ห ารงานของผู้ อ านวยการส านั ก หอสมุ ด ประจ าปี การตัดสินใจ งบประมาณ 2557 -ด้านการกระจายอานาจ อยู่ในระดั บ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 วัตถุประสงค์ : 4.9 เสมอภาค – บุคลากรทุกคนได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน 28. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 90.80 ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรส านั ก หอสมุ ด ที่ มี ต่ อ การ บุคลากรต่อการได้รับการ บริ ห ารงานของผู้ อ านวยการส านั ก หอส มุ ด ประจ าปี ปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน งบประมาณ 2557 -ด้ านความเสมอภาคอยู่ใ นระดับ มาก ที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.54 คิดเป็นร้อยละ 90.8 วัตถุประสงค์ : 4.10 ฉันทามติ – บุคลากรมีโอกาสได้ลงมติหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับองค์กร 29. ร้อยละของบุคลากรที่มี ร้อยละ 100 100 บุคลากรทุ กคนได้เ ข้าร่ว มกิจ กรรม และมีก ารแสดงความ โอกาสลงมติและแสดงความ คิดเห็ นเพื่อ ร่วมกั นแก้ไ ขปัญ หาที่เ กิดขึ้น ในการปฏิบั ติงาน คิดเห็น และลงมติในประเด็นสาคัญ
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 101
พันธกิจที่ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการทางวิชาการแก่สังคม การให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการห้องสมุด การสืบค้นข้อมูล การมีส่วนร่วมพัฒนาห้องสมุดทั้งภายในทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 6 : การบริการวิชาการแก่สังคม วัตถุประสงค์ : 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการทางวิชาการแก่สังคม 5.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนอกสถานที่ 5.2 บุคลากรมีทักษะในการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ
102 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการทางวิชาการแก่สังคม 30. ระดับความสาเร็จในการ เดือน 3 เดือน ร้องขอ จานวน 3 ครั้ง ดาเนินการโครงการบริการ 1. หอสมุ ด ชิ น วงส์ วั ด วั ง หิ น ต.พลายชุ ม พล อ.เมื อ ง วิชาการแก่สังคมที่ดาเนินการ จ.พิษณุโลก วันที่ 7 สิงหาคม 2557 (คาขอ) สาเร็จนับ จากวันที่ร้องขอ 2. ทั ณ ฑสถานหญิ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก วั น ที่ 23 - 24 หมายเหตุ: ภายใน 3 เดือน เมษายน 2557 เรื่อง ผู้ช่วยบรรณารักษ์ (คาขอ) 3. ทั ณ ฑสถานหญิ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก วั น ที่ 28 - 29 เมษายน 2557 เรื่อง การซ่อมหนังสือ (คาขอ) 31. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 90.00 ค่าเฉลี่ยทั้ง 2 กิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.50 ผู้ร่วมกิจกรรม 1. ความพึ งพอใจของผู้เ ข้า ร่ วมกิ จกรรม “การให้ บ ริก าร วิชาการแก่สังคม ณ ห้องสมุดโรงเรีย นหลวงพ่อเพชรวิท ยา ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.00 2. ความพึ งพอใจของผู้เ ข้า ร่ วมกิ จกรรม “การให้ บ ริก าร วิชาการแก่สังคม ณ หอสมุดชินวงส์ วัดวังหิน ต.พลายชุม พล อ.เมือง จ.พิษณุโลก” อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 5.00 วัตถุประสงค์ : 5.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนอกสถานที่ 32. จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม คน/ครั้ง 20 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการ หมายเหตุ: 20 คน/ครั้ง วัตถุประสงค์ : 5.2 บุคลากรมีทักษะในการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ 33. ร้อยละของบุคลากรที่ร่วม ร้อยละ 100 100 บุคลากรของสานักหอสมุดได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรมหรือดาเนิน ทั้ง 9 คน โครงการที่ได้รับการพัฒ นา 1. กิจกรรม “การให้บ ริการวิชาการแก่สังคม ณ ห้องสมุ ด โรงเรีย นหลวงพ่อเพชรวิท ยา ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร” จานวน 5 คน 2. กิจกรรม “การให้บริการวิชาการแก่สังคม ณ หอสมุดชิน วงส์ วัดวังหิน ต.พลายชุม พล อ.เมือง จ.พิษณุโลก” จานวน 4 คน ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 103
พันธกิจที่ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อการอนุรักษ์สืบสาน พัฒนาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย สนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 6 : การทานุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ : 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 6.1 สนับสนุนหรือรณรงค์การเขียนภาษาไทยอย่างถูกต้อง 6.2 รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี 6.3 การจัดกิจกรรมตามประเพณีไทยหรือกิจกรรมที่เทิดทูนสถาบันหลักของชาติ
104 | ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7
ผลการดาเนินงานตามแผนที่ยทุ ธศาสตร์ หน่วย แผน ผล ข้อมูล ผลการดาเนินงาน นับ วัตถุประสงค์ : 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการทานุบารุงศิล ปวัฒนธรรม มี ก ารจั ด กิ จ กรรมด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและ ประเพณีไทยเป็นประจาทุกปี วัตถุประสงค์ : 6.1 สนับสนุนหรือรณรงค์การเขียนภาษาไทยอย่างถูกต้อง 34. ร้อยละความพึงพอใจของ ร้อยละ ≥85 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35. จานวนครั้งที่บุคลากร จุด/ฉบับ 1 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการสารวจ เขียนผิดหลักภาษาไทย (เริ่ม จากเอกสารด้านธุรการ และ เอกสารประชาสัมพันธ์/เว็บ เพจ) หมายเหตุ: 1 จุดต่อฉบับ วัตถุประสงค์ : 6.2 รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี 36. จานวนครั้งที่บุคลากรแต่ง ครั้ง/ 1 N/A ยังไม่ได้ดาเนินการ กายด้วยผ้าไทย/พื้นเมืองของ สัปดาห์ บุคลากรทุกคน หมายเหตุ: 1 ครั้งต่อสัปดาห์ วัตถุประสงค์ : 6.3 การจั ดกิจกรรมตามประเพณีไทยหรือกิจกรรมที่เทิดทูนสถาบันหลักของชาติ 37. จานวนกิจกรรม กิจกรรม 5 9 กิจกรรมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม 1. กิจกรรม “ทาบุญวันขึ้นปีใหม่” 2. กิจกรรม “วันมาฆบูชา 3. กิจกรรม “วันสงกรานต์” 4. กิจกรรม “วันวิสาขบูชา” 5. กิจกรรม “วันอาสาฬบูชาและวันเข้าพรรษา” 6. กิ จกรรม “ถวายเทีย นพรรษา ณ วัด วังอิ ท ก ต.วั งอิท ก อ.บางระกา จ.พิษณุโลก” กิจกรรมแสดงออกถึงการเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ 7. จั ด นิ ทรร ศการเนื่ องในวั น เฉลิ มพร ะชนมพร รษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ 8. วันคล้ายวันสวรรคตสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 9. จัด นิท รรศการเนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษาสมเด็ จ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ 38. จานวนผู้เข้าร่วม ร้อยละ 80 87.72 มีบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณีไ ทยและกิจกรรมที่ เทิดทูนสถาบันหลักของชาติ จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 87.72 จากบุคลากร 57 คน ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 107
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสารสนเทศที่สนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของ มหาวิทยาลัยนเรศวร กลยุทธ์ที่ 1.2 ทบทวน ปรับปรุงระบบการให้บริการที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์อยู่ตลอดเวลา กลยุทธ์ที่ 1.3 สร้างบรรยากาศและจัดสภาพแวดล้อม สิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 1.4 สร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่ให้ความสําคัญกับผู้ใช้บริการ กลยุทธ์ที่ 1.5 การให้ความสําคัญกับผู้ใช้บริการและส่งเสริมให้มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ กลยุทธ์ที่ 1.6 พัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการของบุคลากร กลยุทธ์ที่ 1.7 พัฒนาระบบข้อมูลบริการสารสนเทศเพื่อการบริหารแก่ผู้บริหารมหาวิทยาลัยและคณะ
108 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสารสนเทศที่สนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร 1. มีระบบสนับสนุนบริการ ระบบ ≥3 6 1. ระบบบริการอบรมการรู้สารสนเทศ (Training สารสนเทศเพื่อการวิจัย (ปรับ Management System) ธ.ค. 56) 2. ระบบการให้บริการช่วยการค้นคว้า (Reference & Information Service) 3. ระบบบริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย (Literature Search Service) 4. ระบบบริการวิเคราะห์การอ้างอิง (Citation Analysis) 5. ระบบบริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของ วารสาร (Journal Impact Factor) 6. ระบบบริการให้คําปรึกษาด้านวิชาการ (Clinic@Library) 2. มีจํานวนฐานข้อมูล ฐาน ≥30 38 สํานักหอสมุด (25) อิเล็กทรอนิกส์ที่พร้อม 1. A-to-Z Search ให้บริการ (ปรับ ธ.ค. 56) 2. ADIS Online 3. AIP 4. APS 5. Annual Review 6. ASCE 7. ASME 8. Business Source Complete 9. CINAHL Plus with Fulltext 10. EBSCO Discovery Service (EDS) 11. JOVE 12. JSTOR 13. Matichon e-Library 14. Micromedex Group A 15. Nursing Reference Centre 16. Nature 17. OVID (ร่วมกับคณะ) 18. ProQuest 5000SC 19. Regional Business News 20. SAGE Premier 21. SciFinder 22. Science/AAAS Online 23. Spriker Protocal 24. Westlaw 25. Wiley สกอ. (13) 1. ABI/INFORM Complete 2. ACM Digital Library 3. IEEE/IET Electronic Library (IEL) ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 109 ตัวชี้วัด
หน่วย นับ
แผน
ผล
3. อัตราการสืบค้นใช้ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
ร้อยละ
≥10
79.87
4. มีการจัดกิจกรรมสอนการรู้ สารสนเทศเพื่อการวิจัย
หัวข้อ
≥7
8
ข้อมูลผลการดําเนินงาน 4. ProQuest Dissertation & Theses : Full Text 5. SpringerLink – Journal 6. Web of Science 7. American Chemical Society Journal (ACS) 8. Academic Search Complete 9. Computers & Applied Sciences Complete 10. Education Research Complete 11. Humanities Fulltext (H.W. Wilson) 12. Emerald Management (EM92) 13. ScienceDirect ปีงบประมาณ 2556 สถิติเพื่อการเข้าใช้ฐานข้อมูลจํานวน 3,328,727 ครั้ง จํานวนผู้ใช้บริการ 28,658 คน จํานวนฐานข้อมูล 39 ฐาน ปีงบประมาณ 2557 สถิติเพื่อการเข้าใช้ฐานข้อมูลจํานวน 4,811,953 ครั้ง จํานวนผู้ใช้บริการ 23,624 คน จํานวนฐานข้อมูล 38 ฐาน 1. การสืบค้นฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด 2. การสืบค้นสารสนเทศเพื่อการศึกษา/วิจัย 3. หลักการทํา Slide และเทคนิคการนําเสนอ 4. โปรแกรม EndNote 5. ทําสารบัญโดย MicrosoftWord 6. การสืบค้นฐานข้อมูลด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 7. การสืบค้นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. การสืบค้นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ จํานวนผู้เข้าร่วมโครงการสอนการรู้สารสนเทศ จํานวน 582 คน จากเป้าหมายโครงการ 1,000 คน
ร้อยละ ≥80 58.2 5. จํานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม สอนการรู้สารสนเทศเพื่อการ วิจัย 6. ระดับความพึงพอใจของ คะแนน ≥3.51 4.41 ผลประเมินความพึงพอใจต่อการอบรมการรู้สารสนเทศ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสอนการรู้ เฉลี่ย (โครงการสอนการรู้สารสนเทศ หส.02-010) อยู่ในระดับ สารสนเทศเพื่อการวิจัย มาก มีค่าเฉลี่ย 4.41 คิดเป็นร้อยละ 88.2 กลยุทธ์ที่ 1.2 ทบทวน ปรับปรุงระบบการให้บริการที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์อยู่ตลอดเวลา ≥1 4 1. ระบบบั น ทึ ก บริ ก ารยื ม ระหว่ า งห้ อ งสมุ ด - ผู้ พั ฒ นา: 7. มีนวัตกรรมบริการใหม่หรือ ชิ้นงาน นายสุภชัย ธนานุวัตรพงศ์ ร่วมกับนางสาวสุชาดา สังข์นาค มีกระบวนการลดขั้นตอนหรือ 2. ระบบแจ้งรายการหาทรัพยากรไม่พบ: ระบบแจ้งแก้ไข ปรับปรุงกระบวนการให้บริการ ตัวเล่มหนังสือ - ผู้พัฒนา: นายสุภชัย ธนานุวัตรพงศ์ (ปรับ ธ.ค. 56) 3. ระบบรายงานการเบิ ก จ่ ายค่ าตอบแทนการปฏิ บั ติ งาน นอกเวลาราชการ - ผู้พัฒนา: นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ 4. ระบบบันทึกเหตุการณ์ประจําวัน - ผู้พัฒนา: นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์
110 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 1.3 สร้างบรรยากาศและจัดสภาพแวดล้อม สิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 8. ระดับความพึงพอใจต่อการ คะแนน ≥3.51 3.79 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านสถานที่/สิ่งอํานวยความ ให้บริการห้องสมุดด้านสถานที่ เฉลี่ย สะดวก อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.79 คิดเป็น ร้อยละ และสิ่งอํานวยความสะดวก 79.4 1. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสํานักหอสมุด ด้านสถานที่/ สิ่งอํานวยความสะดวก ประจําปีงบประมาณ 2557 อยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.75 คิดเป็นร้อยละ 75 2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุ ข ภาพ ด้ า นสถานที่ / สิ่ ง อํ า นวยความสะดวก ประจํ า ปี งบประมาณ 2557 อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.19 คิดเป็น ร้อยละ 83.8 กลยุทธ์ที่ 1.4 สร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่ให้ความสําคัญกับผู้ใช้บริการ 9. มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริม กิจกรร มี มี กิจกรรม Library Say Hi: เรื่องเล่าชาวสํานัก วัฒนธรรม ค่านิยมองค์กร ม (ปรับ ก.พ. 57) คะแนน ≥3.51 4.05 ความพึงพอใจของบุคลากรสํานักหอสมุดเพื่อประกอบการ 10. ระดับความพึงพอใจของ เฉลี่ย รายงานผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติ บุคลากรต่อกิจกรรมการ การประจําปี และการประกันคุณภาพภายในสํานักหอสมุด ส่งเสริมวัฒนธรรมและค่านิยม ประจําปีงบประมาณ 2557 องค์กร กลยุทธ์ที่ 1.5 การให้ความสําคัญกับผู้ใช้บริการและส่งเสริมให้มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ ครั้ง ≥2 5 1. กิจกรรม ยืมไม่อั้น อ่านให้อิ่ม ระหว่างวันที่ 6 พฤษภาคม 11. จํานวนกิจกรรมสร้าง ถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2557 ความสัมพันธ์กับกลุ่ม 2. กิจกรรม PULINET Week ระหว่างวันที่ 18 - 29 ผู้ใช้บริการ (ปรับ ธ.ค. 56) สิงหาคม 2557 3. กิจกรรม นักเขียนพบนักอ่าน วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 4. กิจกรรม สุดยอดนักอ่าน ระหว่างวันที่ 1 - 7 พฤศจิกายน 2556 5. โครงการหนังสือคือเพื่อน ระหว่างเดือนเมษายน กรกฎาคม 2557 12. ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ ร้อยละ ≥80 100 ข้อร้องเรียน 41 ข้อ ดําเนินแก้ไขข้อร้องเรียนครบทุกข้อ ได้รับการแก้ไข (จากข้อ 1. ข้อ ร้อ งเรียนจากกล่ อ งรับ ความคิ ด เห็ น ของผู้ ใช้ บ ริก าร ร้องเรียนที่ได้รับ) จํานวน 1 ข้อ ดําเนินการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว 2. ข้ อ ร้ อ งเรี ย นจากการร้ อ งเรี ย นผ่ า นทางเพจ Social Network Facebook ข อ ง ผู้ ใช้ บ ริ ก า ร เกี่ ย ว กั บ ก า ร ให้ บ ริ ก ารของบุ ค ลากรสํ า นั ก หอสมุ ด จํ า นวน 1 ข้ อ ดําเนินการแก้ไข 1 ข้อ (โดยรองผู้อํานวยการฝ่ายพัฒนาฯ) 3. ข้อร้องเรียนจากการร้องเรียนผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ของผู้ใช้บริการ เกี่ยวกับการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม จํานวน 1 ข้อ ดําเนินการแก้ไข 1 ข้อ 4. ข้อร้องเรียนสํานักหอสมุดจากการสํารวจความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการที่มีต่องานบริการห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ประจําปีงบประมาณ 2557 มีจํานวน 18 ข้อ และ ได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ตามข้ อ เสนอแนะ ครบทุกข้อ ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 111 ตัวชี้วัด
13. จํานวนข้อร้องเรียนลดลง จากปีที่ผ่านมา
หน่วย นับ
ร้อยละ
แผน
≥10
ผล
6.82
กลยุทธ์ที่ 1.6 พัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการของบุคลากร 14. มีกิจกรรมการพัฒนา ครั้ง ≥2 6 บุคลากรด้านวิชาการ
ข้อมูลผลการดําเนินงาน 5. ข้อร้องเรียนห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จากการ สํ า รวจความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารที่ มี ต่ อ งานบริ ก าร ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจําปี งบประมาณ 2557 มี จํ า นวน 20 ข้ อ และได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาและ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะครบทุกข้อ ข้อร้องเรียนลดลง จํานวน 3 ข้อ จํานวนข้อร้องเรียนปีงบประมาณ 2557 จํานวน 41 ข้อ จํานวนข้อร้องเรียนปีงบประมาณ 2556 จํานวน 44 ข้อ
1. โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ ระหว่างวันที่ 22 24 มกราคม 2557 2. โครงการฝึกอบรมหลัก สู ตรเทคนิ ค การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ ระหว่างวันที่ 5 - 6 มิถุนายน 2557 3. กิ จ กรรม “คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม กั บ การทํ า งานอย่ า งมี ความสุข” วันที่ 4 มิถุนายน 2557 4. กิจกรรม “การเตรียมความพร้อมเพื่อขอกําหนดตําแหน่ง ให้สูงขึ้น” วันที่ 1 สิงหาคม 2557 5. กิ จ กรรม การสัม มนาอบรมเชิ งปฏิ บั ติ การ “การจัดทํ า แผนที่ ก ลยุ ท ธ์ สํ า นั ก หอสมุ ด ” ระหว่ า งวั น ที่ 24 - 25 กรกฎาคม 2557 6. กิ จ กรรมพั ฒ นาทั ก ษะและคุ ณ ภาพการให้ บ ริก ารของ บุคลากร ระหว่างวันที่ 24 – 25 กรกฎาคม 2557 15. มีกิจกรรมการพัฒนา ครั้ง ≥2 3 1. กิ จ กรรม “คุ ณ ธรรม จริย ธรรม กั บ การทํ า งานอย่ า งมี บุคลากรด้านทักษะและการ ความสุข” วันที่ 4 มิถุนายน 2557 สื่อสารในการให้บริการ (ปรับ 2. กิ จ กรรมพั ฒ นาทั ก ษะและคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารของ ธ.ค. 56) บุคลากร ระหว่างวันที่ 24 - 25 กรกฎาคม 2557 3. โค รงก าร Ball State University English Summer Camp โดย สถานพัฒ นาด้านภาษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างวันที่ 15 - 30 พฤษภาคม 2557 16. ระดับความพึงพอใจของ คะแนน ≥3.51 3.95 ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของสํานักหอสมุด ผู้ใช้บริการต่อการให้บริการ เฉลี่ย มหาวิท ยาลัยนเรศวร (โครงการสํารวจความต้องการของ ห้องสมุดด้านบุคลากร ผู้ใช้บริการ หส. 02-015) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.95 คิดเป็นร้อยละ 79 กลยุทธ์ที่ 1.7 พัฒนาระบบข้อมูลบริการสารสนเทศเพื่อการบริหารแก่ผู้บริหารมหาวิทยาลัยและคณะ ระบบ มี มี ระบบรายงานสถิติการให้บริการ - สถิติการยืมทรัพยากร 17. มีระบบการรายงานสถิติ สารสนเทศ การยืม - คืน หนังสือในระบบ เครือข่าย NULiNet ทุกเดือน (ปรับ ก.พ. 57) 18. มีระบบการรายงานสถิติ ระบบ มี มี ระบบรายงานผลการให้บริการนําส่งทรัพยากรสารสนเทศ การนําส่งทรัพยากรสารสนเทศ ระหว่างห้องสมุด ระหว่างห้องสมุด (DDS) ทุก เดือน (ปรับ ก.พ. 57)
112 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการ กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาระบบการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่สนับสนุนการเรียนการสอนการวิจัยของ มหาวิทยาลัยนเรศวร กลยุทธ์ที่ 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการจัดซื้อหนังสือออนไลน์ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่าง ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ใช้บริการ กลยุทธ์ที่ 2.3 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชา กลยุทธ์ที่ 2.4 พัฒนาระบบคลังข้อมูล Digital มหาวิทยาลัยนเรศวร กลยุทธ์ที่ 2.5 รวบรวมผลงานนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยจัดทําเป็น Digital ภายใต้ความร่วมมือกับสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 2.6 ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการวิเคราะห์หมวดหมู่ และทํารายการหนังสือ บทความ วารสารและสื่อโสตทัศนวัสดุ
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 113
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาระบบการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่สนับสนุนการเรียนการสอนการวิจัยของมหาวิทยาลัย 19. มีนโยบายและหลักเกณฑ์ นโยบาย มี มี นโยบายจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุด การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (นโยบายการบริ ห าร สํ า นั ก หอสมุ ด ในช่ ว งปี พ.ศ. ที่ชัดเจน 2555-2559) หน้า 4 - 7 กลยุทธ์ที่ 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการจัดซื้อหนังสือออนไลน์ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ใช้บริการ 20. จัดซื้อหนังสือได้ตรงกับ ร้อยละ ≥90 100 1. จัดซื้อตามรายการเสนอซื้อของผู้ใช้บริการ ความต้องการของผู้ใช้บริการ 2. จัดซื้อตามจํานวนงบประมาณที่ทางสํานักหอสมุดได้ (ปรับ ธ.ค. 56) จัดสรรให้แต่ละคณะของแต่ละคณะ 3. ไม่จัดซื้อ เนื่องจาก 3.1 เสนอซ้ํากับรายการทรัพยากรที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ของสํานักหอสมุด 3.2 เสนอซ้ํากับผู้ใช้บริการอื่นๆ ที่มีการจัดซื้อแล้ว คะแนน ≥3.51 4.07 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริม 21. ระดับความพึงพอใจของ เฉลี่ย การอ่าน (NU Book Fair) ผู้ใช้บริการต่อการให้บริการ จัดซื้อหนังสือ (ในงาน NU Book Fair) 22. ร้อยละของข้อร้องเรียน ร้อยละ ≥90 100 ไม่พบข้อร้องเรียนด้านการจัดซื้อหนังสือ ด้านการจัดซื้อหนังสือที่ได้รับ การแก้ไข (ปรับ ธ.ค. 56) คน/ปี ≥800 996 โครงการส่งเสริมการอ่าน (NU Book Fair) 23. จํานวนอาจารย์ และนิสิต 1. อาจารย์ จํานวน 510 คน ที่ร่วมเสนอรายชื่อหนังสือ 2. เจ้าหน้าที่ จํานวน 13 คน (ปรับ ธ.ค. 56) 3. นิสิต จํานวน 473 คน วัน/ชื่อ ≤15 11.97 สถิ ติ ก ารทํ า งานจากฐานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรห้ อ งสมุ ด 24. เวลาเฉลี่ยในการ เรื่อง (Millennium) ข้ อมู ล ตั้งแต่ วัน ที่ 1 ตุ ล าคม 2556 ถึ ง ดําเนินการตั้งแต่รับทรัพยากร วันที่ 30 กันยายน 2557 จํานวนหนังสือจัดซื้อ 2,583 สารสนเทศและนําออก ชื่อ (เฉพาะหนังสือใหม่) เวลาเฉลี่ย 11.97 วันต่อ 1 ชื่อ ให้บริการ (ปรับ ธ.ค. 56) เรื่อง กลยุทธ์ที่ 2.3 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชา 25. จัดซื้อหนังสือได้ตรงกับ ร้อยละ ≥90 100 1. จัดซื้อตามรายการเสนอซื้อของผู้ใช้บริการ ความต้องการของทุกคณะ 2. จัดซื้อตามจํานวนงบประมาณที่ทางสํานักหอสมุดได้ (ปรับ ธ.ค. 56) จัดสรรให้แต่ละคณะของแต่ละคณะ 3. ไม่จัดซื้อ เนื่องจาก 3.1 เสนอซ้ํากับรายการทรัพยากรที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ของสํานักหอสมุด 3.2 เสนอซ้ํากับผู้ใช้บริการอื่นๆ ที่มีการจัดซื้อแล้ว กลยุทธ์ที่ 2.4 พัฒนาระบบคลังข้อมูล Digital มหาวิทยาลัยนเรศวร 26. จํานวนผลงานของอาจารย์ เรื่อง/ปี ≥20 55 ปีงบประมาณ 2557 งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ที่ให้บริการ ได้ ดํ า เนิ น จั ด ทํ า หนั ง สื อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผ ลงานของ อาจารย์ และคู่มือนิ สิตมหาวิทยาลัยนเรศวร จํานวน 55 รายการ ประกอบด้วย ผลงานของอาจารย์ จํานวน ตัวชี้วัด
114 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ตัวชี้วัด
หน่วย นับ
แผน
ผล
ข้อมูลผลการดําเนินงาน
52 รายการ และคู่มือนิสิต จํานวน 3รายการ (หมาย เหตุ : หนั ง สื อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ จํ า นวน 293 รายการ และคู่มือนิสิต จํานวน 36 รายการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557) กลยุทธ์ที่ 2.5 รวบรวมผลงานนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยจัดทําเป็น Digital ภายใต้ความร่วมมือกับสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) อย่างต่อเนื่อง 27. ปริมาณการใช้งานฐาน ครั้ง/ปี ≥50,000 94,673 สถิติฐานข้อมูล Thai Digital Collection ข้อมูลตั้งแต่ ข้อมูลมหาวิทยาลัยนเรศวร วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2556 ถึ ง วั น ที่ 30 กั น ยายน 2557 จํานวน 94,673 รายการ 28. ปริมาณการ Download รายการ/ ≥200,000 423,735 สถิติฐานข้อมูล Thai Digital Collection ข้อมูลตั้งแต่ ข้อมูลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2556 ถึ ง วั น ที่ 30 กั น ยายน 2557 จํานวน 423,735 รายการ กลยุทธ์ที่ 2.6 ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการวิเคราะห์หมวดหมู่ และทํารายการหนังสือ บทความ วารสารและสื่อ โสตทัศนวัสดุ 29. มีกระบวนการรับแจ้ง กระบวน มี มี มีการปรับเปลี่ยนจากนายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ เป็น นาย ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการทํา การ สุ ภ ชั ย ธนานุ วั ต รพงศ์ เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ เนื่ อ งจาก รายการ สามารถนําไปประยุกต์รวมกับระบบเดิมที่พัฒนาไว้ได้ http://www.lib.nu.ac.th/lostbook/login.php 30. ระยะเวลาในการวิเคราะห์ นาที/ ≥25 11.66 สถิ ติ ก ารทํ า งานจากฐานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรห้ อ งสมุ ด หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ รายการ (Millennium) ข้ อมู ล ตั้งแต่ วัน ที่ 1 ตุล าคม 2556 ถึ ง ที่จัดซื้อ วั น ที่ 30 ก.ย. 57 จํ า นวนหนั ง สื อ จั ด ซื้ อ 8,586 ชื่ อ (เฉพาะหนั ง สื อ ใหม่ ) เวลา 11.66 นาที ต่ อ รายการ (รายงานสรุปการวิเคราะห์เลขหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ประจําปีงบประมาณ 2557)
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 115
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทีม่ ุ่งสู่การเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมบริการเพื่อการเรียนรู้ของสาธารณชน กลยุทธ์ที่ 3.1 การนําองค์กรของผู้บริหารที่ให้ความสําคัญการมีส่วนร่วมของผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงานอย่าง ทั่วถึงโดยยึดมั่นหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาการดําเนินงานทุกพันธกิจอย่างต่อเนื่องโดยนําระบบการประกันคุณภาพ การบริหาร ความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มาใช้ขับเคลื่อนทุกฝ่าย/งาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ 3.3 วิเคราะห์ ศึกษา ทบทวน การสื่อสารภายในสํานักหอสมุด กลยุทธ์ที่ 3.4 สนับสนุนให้มีการสื่อสารสองทางทั่วทั้งองค์กรโดยกําหนดจุดมุ่งหมายทิศทาง รูปแบบ ข่าวสาร ที่ชัดเจน กลยุทธ์ที่ 3.5 พัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารเพื่อความสะดวกรวดเร็วทั่วทั้งองค์กร กลยุทธ์ที่ 3.6 สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเชิงบูรณาการเพื่อสร้างความสัมพันธ์/ความร่วมมือที่ดี
116 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 3.1 การนําองค์กรของผู้บริหารที่ให้ความสําคัญการมีส่วนร่วมของผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงานอย่างทั่วถึงโดยยึด มั่นหลักธรรมาภิบาล คะแนน ≥3.51 4.46 1. ความพึ งพ อใจของผู้ บ ริ ห ารคณ ะที่ มี ต่ อ การ 31. ระดับความพึงพอใจของ บริหารงานของผู้อํานวยการสํานั ก หอสมุ ด ค่ าเฉลี่ ย ผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงานที่มี เฉลี่ย 4.31 ต่อประสิทธิภาพการบริหาร 2. ความพึงพอใจของบุคลากรสํานักหอสมุดที่มีต่อการ บริ ห ารงานของผู้ อํ า นวยการสํ า นั ก หอสมุ ด ค่ า เฉลี่ ย 4.60 กลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาการดําเนินงานทุกพันธกิจอย่างต่อเนื่องโดยนําระบบการประกันคุณภาพ การบริหารความเสี่ยง การ ควบคุมภายใน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มาใช้ขับเคลื่อนทุกฝ่าย/งาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ครั้ง 3 7 1. กิจกรรม QA KM ครั้งที่ 1 วันที่ 14 ตุลาคม 2556 32. มีระบบและกลไกการ 2. ประชุ ม คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ประกันคุณภาพและมีการ ครั้งที่ 4/2556 วันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 ประเมินคุณภาพภายใน (ปรับ 3. การประเมินคุณภาพภายในสํานักหอสมุด วันที่ 27 ธ.ค. 56) พฤศจิกายน 2556 4. ประชุ ม คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ครั้งที่ 5/2556 วันที่ 17 ธันวาคม 2556 5. กิ จ กรรม QA KM ครั้ ง ที่ 2 วั น ที่ 17 กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 6. กิ จ กรรม QA KM ครั้ ง ที่ 3 วั น ที่ 25 กรกฎาคม 2557 7. ประชุ ม คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 26 กันยายน 2557 ครั้ง ≥1 4 1. จัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง 33. มีระบบและกลไกการ และดําเนินการตามแผนตามแบบฟอร์ม NU-RM2-NUบริหารความเสี่ยงและมีการ RM9 เดือน ตุลาคม 2556 วิเคราะห์ความเสี่ยง 2. จะดํ า เนิ น การประเมิ น ผลการบริ ห ารความเสี่ ย ง (NU-RM10) เดือน มีนาคม 2557 3. ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า แบบสอบถามปั จ จั ย เสี่ ย งระดั บ หน่ ว ยงาน และระดั บ กิ จ กรรม ตามแบบสอบถามที่ กระทรวงศึกษาธิการกําหนด 4. ดําเนินการประเมินความเสี่ยงหน่วยงานตนเอง ตาม แบบสอบถามปัจจัยเสี่ยงระดับหน่วยงาน และระดับ กิจกรรม ครั้ง ≥1 2 1. จั ด ทํ า รายงานผลการประเมิ น การควบคุ ม ภายใน 34. มีระบบและกลไกการ ประจําปีตามระเรียบวาระ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ควบคุมภายในและมีการ ว่าด้วยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. วิเคราะห์/รายงานการควบคุม 2544 ภายในเดือน ตุลาคม 2556 ภายใน 2. จัดทํารายงานการประเมินผลการบริหารความเสี่ยง (NU-RM 10) ประจําปีการศึกษา 2556 (งบประมาณ 2557) ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 117 ตัวชี้วัด 35. มีผลลัพธ์ที่เกิดจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
หน่วย นับ
แผน
ผล
ผลลัพธ์
มี
มี
ข้อมูลผลการดําเนินงาน
รายงานผลการดํ า เนิ น งานตามแผนการดํ า เนิ น งาน จัดการความรู้: กิจกรรม Library Say Hi: เรื่องเล่าชาว สํานัก 1. ความรู้/ทักษะบริการของห้องสมุด (บริการ) จํานวน 4 เรื่อง 2. ความรู้/ทักษะทางวิชาชีพ (งานพัฒนาและวิเคราะห์ ฯ) จํานวน 5 เรื่อง 3. ความรู้/เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (งานเทคโนโลยีฯ ) จํานวน 6 เรื่อง 4. ความรู้ เ กี่ ย วกั บ องค์ ก รและการบริ ห าร (งาน เลขานุการ) จํานวน 4 เรื่อง 5. ความรู้อื่นๆ จํานวน 9 เรื่อง กลยุทธ์ที่ 3.3 วิเคราะห์ ศึกษา ทบทวน การสื่อสารภายในสํานักหอสมุด 36. มีการติดตามประเมินผล ครั้ง ≥1 1 มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรสํานักหอสมุด การสื่อสาร เพื่อประกอบการรายงานผลการดําเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจําปี และการประกัน คุ ณ ภาพภายในสํ า นั ก หอสมุ ด ประจํ า ปี ง บประมาณ 2557 ด้านการสื่อสารภายในองค์กร กลยุทธ์ที่ 3.4 สนับสนุนให้มีการสื่อสารสองทางทั่วทั้งองค์กรโดยกําหนดจุดมุ่งหมายทิศทาง รูปแบบ ข่าวสาร ที่ชัดเจน 37. ความพึงพอใจของ คะแนน ≥3.51 3.88 ความพึ งพ อใจของบุ คลากรสํ า นั ก ห อสมุ ด เพื่ อ บุคลากรด้านการสื่อสารภายใน เฉลี่ย ประกอบการรายงานผลการดํ า เนิ น งานตามแผน องค์กร ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจําปี และการประกัน คุ ณ ภาพภายในสํ า นั ก หอสมุ ด ประจํ า ปี ง บประมาณ 2557 ด้านการสื่อสารภายในองค์กร กลยุทธ์ที่ 3.5 พัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารเพื่อความสะดวกรวดเร็วทั่วทั้งองค์กร 38. มีระบบเทคโนโลยี ระบบ ≥2 2 1. ระบบฐานข้ อ มู ล Knowledge Base พั ฒ นาโดย สนับสนุนการสื่อสารภายใน นายสุภชัย ธนานุวัตรพงศ์ องค์กร (ปรับ ธ.ค. 56) 2. ระบบบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ป ระจํ า วั น พั ฒ นาโดย นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ กลยุทธ์ที่ 3.6 สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเชิงบูรณาการเพื่อสร้างความสัมพันธ์/ความร่วมมือที่ดี 39. มีกิจกรรมส่งเสริม ครั้ง ≥3 10 กิ จ กรรม Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก ความสัมพันธ์ที่ดีของบุคลากร จํานวน 9 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 ครั้งที่ 2 วันที่ 12 ธันวาคม 2556 ครั้งที่ 3 วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557 ครั้งที่ 4 วันที่ 6 มีนาคม 2557 ครั้งที่ 5 วันที่ 3 เมษายน 2557 ครั้งที่ 6 วันที่ 13 มิถุนายน 2557 ครั้งที่ 7 วันที่ 10 กรกฎาคม 2557 ครั้งที่ 8 วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ครั้งที่ 9 วันที่ 22 สิงหาคม 2557 กิจกรรม Restart Bookshelf วันที่ 13-14 มีนาคม 2557 จํานวน 1 ครั้ง
118 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาบุคลากรให้นาํ ไปสู่ผลการดําเนินงานที่ดี กลยุทธ์ที่ 4.1 กลยุทธ์ที่ 4.2 กลยุทธ์ที่ 4.3 กลยุทธ์ที่ 4.4
การพัฒนาบุคลากรด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้บุคลากรมีแรงจูงใจเพื่อการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน ส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติงานที่หลากหลาย ส่งเสริมให้บุคลากรมีความสามารถเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อเพิ่มความสามารถในการ ปฏิบัติงาน
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 119
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 4.1 การพัฒนาบุคลากรด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่พึงประสงค์ 40. จํานวนบุคลากรที่เข้าร่วม ร้อยละ ≥80 100 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการประเมินผลการ กิจกรรม (ด้านทักษะ ปฏิบัติราชการ (หส.01-016) บุคลากรเข้าร่วมทั้งหมด สมรรถนะที่พึงประสงค์) 57 คน กลยุทธ์ที่ 4.2 ส่งเสริมให้บุคลากรมีแรงจูงใจเพื่อการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน งบ มี มี 1. โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากร - จั ด สรรงบประมาณ 41. มีการจัดสรรงบประมาณ จํานวน 300,000 บาท เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง ประมาณ 2. การเข้าร่วมอบรม ประชุม สัมมนา และศึกษาดูงาน ของบุคลากร ของบุ ค ลากรตามคํ า ร้ อ งขอ และตามนโยบายของ ผู้บริหาร - จัดสรรงบประมาณ จํานวน 400,000 บาท 42. มีการมอบรางวัลบุคลากร รางวัล มี มี ประกาศเกี ย รติ คุ ณ บุ ค ลากรดี เด่ น ประจํ า ปี 2556 ดีเด่นประจําปี จํานวน 3 ด้าน 1. ด้านนวัตกรรม (ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์) - นายสุภชัย ธนานุวัตรพงศ์ - นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ 2. ด้านการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน - นางกนกอร ไชยาเผือก 3. ด้านการอุทิศตน เสียสละ เพื่อส่วนรวม - นางสาววิไล รัตนาภรณ์ กลยุทธ์ที่ 4.3 ส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติงานที่หลากหลาย 43. ระดับความพึงพอใจในงาน คะแนน ≥3.51 4.23 ความพึ งพ อใจของบุ คลากรสํ า นั ก ห อสมุ ด เพื่ อ ของบุคลากร เฉลี่ย ประกอบการรายงานผลการดํ า เนิ น งานตามแผน ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจําปี และการประกัน คุ ณ ภาพภายในสํ า นั ก หอสมุ ด ประจํ า ปี ง บประมาณ 2557 เกี่ ย วกั บ ความพึ ง พอใจในงานของบุ ค ลากร สํานักหอสมุด 44. มีผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจาก ชิ้นงาน/ ≥3 4 1. ระบบบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ประจํ า วั น พั ฒ นาโดย แนวคิดของบุคลากร (ปรับ ปี นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ ธ.ค. 56) 2. ระบบ รายงาน การเบิ กจ่ า ยค่ า ตอบแท นการ ปฏิ บั ติง านนอกเวลาราชการ พั ฒ นาร่ ว มกัน ระหว่า ง นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ และนางลดาวัลย์ ปัญญากาศ 3. กิจกรรมยืมไม่อั้น อ่านให้อิ่ม 4. การพัฒนาโปรแกรมเพื่อรองรับการปรับปรุงขั้นตอน การออกใบเสร็จรับเงินค่าปรับ พัฒนาโดยนายเกดิษฐ เกิดโภคา ร่วมกับงานบริการสารสนเทศ 45. มีกิจกรรมที่ส่งเสริมการ กิจกรรม ≥2 2 1. Library Say Hi : เรื่องเล่าชาวสํานัก พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในฝ่าย/งาน (ปรับ ธ.ค. 56) กลยุทธ์ที่ 4.4 ส่งเสริมให้บุคลากรมีความสามารถเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติงาน 46. ระดับความพึงพอใจในงาน คะแนน ≥3.51 4.23 ความพึงพอใจของบุคลากรสํานักหอสมุดเกี่ยวกับความ ของบุคลากร เฉลี่ย พึงพอใจในงานของบุคลากรสํานักหอสมุด ตัวชี้วัด
120 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ยุทธศาสตร์ที่ 5 เทคโนโลยีที่สนับสนุนการบริหารและการบริการ กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริหารและการบริการ กลยุทธ์ที่ 5.2 สร้างคลังข้อมูลสารสนเทศของสํานักหอสมุดเพื่อใช้ในการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลสถิติสําหรับการ บริหารและการบริการ
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 121
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริหารและการบริการ ครั้ง ≥6 6 1. Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก วั น ที่ 25 47. มีการเผยแพร่ให้ความรู้ พฤศจิ ก ายน 2556 เรื่ อ ง Union Catalog (UC) โดย เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ที่ นายเกดิษฐ เกิดโภคา สนับสนุนในการปฏิบัติงานและ 2. Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก วั น ที่ 12 การให้บริการ ธัน วาคม 2556 เรื่อง Cloud Computing โดย นาย เกดิษฐ เกิดโภคา 3. Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก วั น ที่ 13 มิ ถุ น ายน 2257 เรื่อ ง กฏหมาย พรบ คอมพิ ว เตอร์ โดย นายเกดิษฐ เกิดโภคา 4. Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก วั น ที่ 13 มิถุนายน 2257 เรื่องการโจรกรรมข้อมูลผ่านอุปกรณ์ smartphone โดย นายนะรัตร์ คงสวัสดิ์ 5. โครงการการจัดการความรู้: กิจ กรรม "การอบรม Cloud Computing Google Apps & Microsoft 365" วันที่ 16 กรกฎาคม 2557 โดย นายสุภชัย ธนา นุวัตรพงศ์ 6. Library Say Hi : เรื่ อ งเล่ า ชาวสํ า นั ก วั น ที่ 22 สิ งหาคม 2557 เรื่อ ง สรุป การไปราชการการศึ ก ษา เรียนรู้การนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานของ สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของบุคลากรงาน เทคโนโลยีห้องสมุด โดย นายชัยพร คําเจริญคุณ 48. มีการพัฒนาหรือปรับปรุง ระบบ ≥10 12 1 . Android Application สํ า ห รั บ ง า น Pulinet ระบบเทคโนโลยีที่สนับสนุน วิชาการ (สุภชัย) การบริหารและ/หรือการ 2. Web Application สํ า หรั บ งาน Pulinet วิ ช าการ บริการ (ปรับ ธ.ค. 56) (ชัยพร) 3. ระบบบันทึกเหตุการณ์ประจําวัน (นะรัตร์) 4. ระบบรายงานการเบิ ก จ่ า ยเงิ น ค่ า ตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (OT) (นะรัตร์) 5. ปรับปรุงโปรแกรมระบบควบคุมห้องศึกษาคันคว้า กลุ่ม (เกดิษฐ) 6. ปรับปรุงโปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม (สุภ ชัย) 7. ระบบ SAR Online เกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายในสํ า หรั บ หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร (ชัยพร) 8. พั ฒ นา NU Digital Repository โดยใช้ โปรแกรม Dspace 4.1 9. พัฒนาระบบการยืมคืนระหว่างห้องสมุด (สุภชัย) 10. พัฒนาระบบแจ้งแก้ไขตัวเล่ม (สุภชัย) 11. พั ฒ นาโปรแกรมพิมพ์ส ลิป ค่าปรับ จากโปรแกรม ระบบห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ Innovative Millennium ตัวชี้วัด
122 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ตัวชี้วัด
หน่วย นับ
แผน
ผล
ข้อมูลผลการดําเนินงาน
(เกดิษฐ) 12. ปรั บ ปรุ ง ระบบบริ ก ารวิ ดี โอออนไลน์ ให้ ร องรั บ รายวิชาศึกษาทั่วไป (สุรัตน์) กลยุทธ์ที่ 5.2 สร้างคลังข้อมูลสารสนเทศของสํานักหอสมุดเพื่อใช้ในการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลสถิติสําหรับการบริหารและ การบริการ มี N/A อยู่ในระหว่างรวบรวมข้อมูลจากฝ่ายงานต่ าง ๆ ของ 49. มีการพัฒนาหรือปรับปรุง พัฒนา/ ปรับปรุง สํานักหอสมุด ระบบคลังข้อมูลสถิติต่าง ๆ ของสํานักหอสมุดอย่าง ต่อเนื่อง
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 123
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริการวิชาการแก่สังคม กลยุทธ์ที่ 6.1 ให้บริการวิชาการแก่สังคมบนเครือข่ายความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน กลยุทธ์ที่ 6.2 การเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเข้าใช้บริการของสํานักหอสมุด
124 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 6.1 ให้บริการวิชาการแก่สังคมบนเครือข่ายความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 50. ดําเนินกิจกรรมตามคําร้อง ร้อยละ 100 100 คํ า ร้ อ งขอ จํ า น วน 3 ค รั้ ง และติ ด ตามผลการ ขอ (ปรับ ธ.ค. 56) ดําเนินงาน จํานวน 1 ครั้ง ดําเนินการทั้งหมด 1. โครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม - ห้องสมุดโรงเรียนหลวงพ่อเพชร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 (ติดตาม) - หอสมุ ด ชิ น วงส์ วั ด วั ง หิ น ต.พลายชุ ม พล อ.เมื อ ง จ.พิษณุโลก วันที่ 7 สิงหาคม 2557 (คําขอ) 2. การไปราชการ - ทั ณ ฑสถานหญิ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โลก วั น ที่ 23 - 24 เมษายน 2557 เรื่อง ผู้ช่วยบรรณารักษ์ (คําขอ) - ทั ณ ฑสถานหญิ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โลก วั น ที่ 28 - 29 เมษายน 2557 เรื่อง การซ่อมหนังสือ (คําขอ) 51. ระดับความพึงพอใจของ คะแนน ≥3.51 4.50 รายงานสรุปโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม (หส. ผู้รับบริการทางวิชาการ เฉลี่ย 01-003) 1. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม “การให้บริการ วิชาการแก่สังคม ณ ห้องสมุดโรงเรียนหลวงพ่อเพชร วิท ยา ต.ในเมือ ง อ.เมือ ง จ.พิ จิ ต ร” อยู่ ในระดั บ มาก ค่าเฉลี่ย 4.00 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม “การให้บริการ วิชาการแก่สังคม ณ หอสมุดชินวงส์ วัดวังหิน ต.พลาย ชุ ม พล อ.เมื อ ง จ.พิ ษ ณุ โลก” อยู่ ในระดั บ มากที่ สุ ด ค่าเฉลี่ย 5.00 กลยุทธ์ที่ 6.2 การเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเข้าใช้บริการของสํานักหอสมุด 2,000 11,333 รายงานสรุปสถิติของฝ่ายบริการสารสนเทศ ประจําปี 52. จํานวนบุคคลทั่วไปที่เข้าใช้ คน/ปี 2557 บริการห้องสมุด (ปรับ ธ.ค. หมายเหตุ : เดือนตุลาคม 2556 ไม่มีข้อมูลเนื่องจากอยู่ 56) ในระหว่างการติดตั้งและทดสอบระบบประตูอัตโนมัติ และวั น ที่ 13 - 14 มี น าคม 2557 ปิ ด ให้ บ ริ ก าร เนื่องจากจัดกิจกรรม Restart Bookshelf ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7 | 125
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์ที่ 7.1 การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและจิตสํานึกในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชาติ กลยุทธ์ที่ 7.2 การส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการและบุคลากรเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ
126 | ร า ย ง า น ป ร ะ จํา ปี 2 5 5 7
ผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ หน่วย แผน ผล ข้อมูลผลการดําเนินงาน นับ กลยุทธ์ที่ 7.1 การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและจิตสํานึกในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชาติ 53. ดําเนินกิจกรรมในการ กิจกรรม ≥5 6 รายงานสรุ ป โครงการส่ ง เสริ ม ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปและ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม (ปรับ วัฒนธรรม (หส.01-005) ธ.ค. 56) 1. กิ จ กรรมทํ า บุ ญ วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ 2557 ในวั น ที่ 3 มกราคม 2557 2. กิ จ กรรม วั น ม าฆ บู ช า ระห ว่ า งวั น ที่ 7 - 14 กุมภาพันธ์ 2557 3. กิจกรรมเนื่องในวันสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 1 - 16 เม ษ า ย น 2 5 5 7 ณ ชั้ น 1 Zone 2 4 อ า ค า ร สํานักหอสมุด 4. จัดนิทรรศการเนื่องในวันวิสาขบูชา ระหว่างวันที่ 1 - 14 พฤษภาคม 2557 ณ อาคารสํานักหอสมุด 5. การจัดนิทรรศการเนื่องในวันอาสาฬหบูชาและวัน เข้าพรรษา ระหว่างวันที่ 1 - 15 กรกฎาคม 2557 6. การจัดกิจกรรม “ถวายเทียนพรรษา” ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 ณ วัดวังอิทก ต.วังอิทก อ.บางระกํา จ.พิษณุโลก กลยุทธ์ที่ 7.2 การส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการและบุคลากรเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ 54. ดําเนินกิจกรรมที่ส่งเสริม ครั้ง ≥3 3 รายงานสรุ ป โครงการส่ ง เสริ ม ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปและ การแสดงออกถึงการเทิดทูน วัฒนธรรม (หส.01-005) สถาบันหลักของชาติ 1 . จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร วั น เฉ ลิ ม พ ร ะ ช น ม พ ร ร ษ า พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ระหว่ า งวั น ที่ 25 พฤศจิกายน - วันที่ 6 ธันวาคม 2556 2. จั ด นิ ท รรศการวั น คล้ า ยวั น สวรรคตสมเด็ จ พระ นเรศวรมหาราช วันที่ 25 เมษายน 2557 3. จั ด นิ ท รรศการเนื่ อ งในวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ระหว่างวันที่ 4 13 สิงหาคม 2557 ตัวชี้วัด
ร า ย ง า น ป ร ะ จา ปี 2 5 5 7 | 129
แผนปฏิบัติการประจาปี สานักหอสมุดดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจ าปี 2557 มีโครงการบรรจุในแผนปฏิบัติการประจ าปี จานวน 14 โครงการ บรรจุเพิ่มระหว่างปี จ านวน 2 โครงการ รวมโครงการทั้งสิ้น 16 โครงการ โดยมีการอนุมัติ งบประมาณเพื่อใช้ในการดาเนินโครงการรวมเป็นเงินทั้งสิ้ น 3,928,950.18 บาท (สามล้านเก้าแสนสองหมื่นแปด พันเก้าร้อยห้าสิบบาทสิบแปดสตางค์) แบ่งเป็นงบประมาณรายได้จานวน 725,000 บาท (เจ็ด แสดสองหมื่นห้าพัน บาทถ้วน) เงินกันงบประมาณรายได้ ปี 2556 จานวน 1,815,677.20 บาท (หนึ่งล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นห้าพันหก ร้อยเจ็ดสิบเจ็ดบาทยี่สิบสตางค์ และเงินรับฝากรายได้ จ านวน 1,388,272.98 บาท (หนึ่งล้านสามแสนแปดหมื่น แปดพันสองร้อยเจ็ดสิบสองบาทเก้าสิบแปดสตางค์) ประกอบด้วยตัวชี้วัดความสาเร็จ จานวน 45 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เชิงเวลา เชิงต้นทุน รวม
บรรลุ 18 16 5 4 43
ร้อยละ 40.00 35.56 11.11 8.89 95.56
ไม่บรรลุ 1 0 1 0 2
ร้อยละ 2.22 2.22 4.44
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม ที่
1
รหัสโครงการ
หส.01-001
2
หส.01-002
3
หส.01-003
4
หส.01-004
ความพึง พอใจ
ประโยชน์
คะแนน เฉลี่ย
คะแนน เฉลี่ย
โครงการพัฒ นาบุคลากร กิจกรรม “คุณธรรม จริยธรรม กับการทางานอย่างมี ความสุข ” กิจกรรม “การเตรียมความพร้อมเพื่อขอกาหนดตาแหน่ง ให้สูงขึ้น” กิจกรรมคัดเลือกบุคลากรดีเด่น กิจกรรม การสัมมนาอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทา แผนที่กลยุทธ์สานักหอสมุด”
4.35 4.38
4.63 4.61
57 58
55 58
96.15 100.00
-
-
26
22
84.62
4.32
4.65
58 19
58 19
100.00 100.00
โครงการประกันคุณภาพ กิจกรรม การประเมินคุณภาพภายใน กิจกรรม QA KM ครั้งที่ 1 กิจกรรม QA KM ครั้งที่ 2 กิจกรรม QA KM ครั้งที่ 3 โครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม กิจกรรม ครั้งที่ 1 ห้องสมุดโรงเรียนหลวงพ่อเพชรวิทยา กิจกรรม ครั้งที่ 2 หอสมุดชินวงส์ วัดวังหิน โครงการการจัดการความรู้ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "Restart Bookshelf"
4.28 4.59 4.14 4.26 4.12 4.50 4.00 4.50 4.23 4.20
4.33 4.37 4.40 4.28 4.27 4.50 4.00 4.50 4.47 4.41
57 57 20 23 26 40 7 10 57 57
49 47 21 21 17 33 6 8 55 60
86.04 82.46 105.00 91.30 65.38 82.86 85.71 80.00 95.91 105.26
กิจกรรมอบรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง Cloud Computing
4.29
4.80
57
47
82.46
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
จานวนผู้เข้าร่วม (คน/คณะ/หน่วยงาน) เข้า เป้าหมาย ร่วม ร้อยละ เฉลี่ย
งบประมาณ อนุมัติ/ จัดสรร/รับ โอน
ใช้ไป
ร้อยละของ งบประมาณ ใช้ไป
คงเหลือ
300,000.00
55,443.00
18.48
244,557.00
30,000.00
14,458.50
48.20
15,541.50
10,000.00
1,600.00
16.00
8,400.00
30,000.00
12,989.00
43.30
17,011.00
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม ที่
รหัสโครงการ
5 6 7 8 9 10 11 12 13
หส.01-005 หส.01-006 หส.01-007 หส.01-008 หส.02-009 หส.02-010 หส.02-011 หส.02-012 หส.03-013
14
หส.03-014
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
กิจกรรม “Library Say Hi: เรื่องเล่าชาวสานัก ” โครงการส่งเสริมทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โครงการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ โครงการออกแบบกลุ่มอาคารสานักหอสมุด (เพิ่มเติม ) โครงการแนะนาการใช้ห้องสมุด โครงการสอนการรู้สารสนเทศ โครงการบริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library โครงการหนังสือคือเพื่อน โครงการส่งเสริมการอ่าน กิจกรรม NU Book Fair กิจกรรม สุดยอดนักอ่าน กิจกรรม นักเขียนพบนักอ่าน โครงการพัฒ นาเครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร (NULiNet) กิจกรรม NULiNet Data Clean Up (คณะ) กิจกรรม ประชุม อบรมผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด 6 ครั้ง
บรรจุเพิ่มระหว่างปี 15 หส.02-015 โครงการสารวจความต้องการของผู้ใช้บริการ กิจกรรม ประเมินความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการที่เข้ามาใช้
ความพึง พอใจ
ประโยชน์
คะแนน เฉลี่ย
คะแนน เฉลี่ย
4.24 4.44 4.02 4.20 4.41 4.43 4.41 4.28 4.07 4.07 4.08 4.34
4.22 4.47 4.13 4.52 4.43 4.64 4.72 4.30 4.30 4.13 4.49
3.95
-
จานวนผู้เข้าร่วม (คน/คณะ/หน่วยงาน) เข้า เป้าหมาย ร่วม ร้อยละ เฉลี่ย
57 100 57 300 26 1,000 1,000 50 100 1,000 1,000 4 400 25
57 320 57 280 25 2,390 582 21 92 839 1,017 4 200 32
100.00 320.00 100.00 93.33 96.15 239.00 58.20 42.00 92.00 83.90 101.70 100.00 50.00 117.50
25 20
40 15
160.00 75.00
400
423
105.75
งบประมาณ อนุมัติ/ จัดสรร/รับ โอน 15,000.00 10,000.00 1,000,830.00 1,815,677.20 30,000.00 10,000.00 10,000.00 497,442.98
ใช้ไป
ร้อยละของ งบประมาณ ใช้ไป
11,569.00 77.13 1,730.00 17.30 767,532.25 76.69 1,159,850.00 63.88 28,305.00 94.35 6,848.00 68.48 2,485.00 24.85 ไม่ใช้งบประมาณ 395,398.49 79.49
คงเหลือ
3,431.00 8,270.00 233,297.75 655,827.20 1,695.00 3,152.00 7,515.00 102,044.49
20,000.00
5,615.00
28.08
14,385.00
30,000.00
5,955.00
19.85
24,045.00
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม ที่
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
บริการสานักหอสมุด กิจกรรม การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Discussion-FGD) 16 หส.01-016 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รวม กิจกรรมนอกแผนปฏิบัติการประจาปี 1 กิจกรรม PULINET Week 2 กิจกรรมจัดนิทรรศการ "120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก" 3 กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ 4 กิจกรรมยืมไม่อั้น อ่านให้อิ่ม 5 กิจกรรมพัฒนาทักษะและคุณภาพการให้บริการของ บุคลากร
ความพึง พอใจ
ประโยชน์
คะแนน เฉลี่ย
คะแนน เฉลี่ย
4.51
4.66
จานวนผู้เข้าร่วม (คน/คณะ/หน่วยงาน) เข้า เป้าหมาย ร่วม ร้อยละ เฉลี่ย
60
118
196.67
งบประมาณ อนุมัติ/ จัดสรร/รับ โอน
150,000.00
ใช้ไป
142,939.00
3,958,950.18 2,612,717.24
4.26 4.61
-
50 2,500 80 500 22
47 2,166 77 315 22
94.00 86.64 96.25 63.00 100.00
ร้อยละของ งบประมาณ ใช้ไป
95.29
คงเหลือ
7,061.00
66.00 1,346,232.94