A R C H
T H E S I S
2 0 1 7
Organic agriculture and alternative thai food center Organic Agriculture and Alternative
Thai Food Center a Thesis submitted in Partial Fulfillment of the Requirement for the Bachelor Degree of Architecture. Division of Architectural Technology Faculty of Architecture Rajamangala University of Technology Thanyaburi.
TAYCHATOUCH BOONHOMLOM
Floral Brochure
Floral Brochure
Floral Brochure
Floral Brochure
Table of contents Organic Agriculture and Alternative Thai Food Center
สารบัญ
A
Content
สารบัญตาราง
B
Ta b l e o f c o n t e n t s
สารบัญแผนภูมิ
B
Ta b l e o f c o n t e n t s
สารบัญแผนที่
B
Map Contents
สารบัญรูปภาพ
Image Contents
http://ridesofmarch.com/white-marble-texture/
C
บทที1 ่ บทนำ� 1.1
ความเป็นมาของโครงการ
1-2
1.2
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1-3
1.3
ขอบเขตของการศึกษา
1-3
1.4
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
1-4
1.5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1-3
บทที2 ่ หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1
ความหมายและคำ�จำ�กัดความ
2-2
2.2
ความเป็นมา ปัจจุบัน อนาคต เรื่องที่ศึกษา
2-4
2.3
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2-11
2.4
หลักการออกแบบอาคาร
2-57
2.4
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
2-60
2.5
การศึกษาอาคารตัวอย่าง
2-61
2.2
2.3
ความเป็นมา ปัจจุบัน อนาคต เรื่องที่ศึกษา 2.2.1 ความเป็นมา ปัจจุบัน อนาคตของเรื่องที่ศึกษา
2-4
2.2.2
ความหมายเกษตรอินทรีย์
2-5
2.2.3
ความหมายอาหารเกษตรอินทรีย์
2-7
2.2.4
อนาคตเรื่องที่ศึกษา
2-9
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ระบบการผลิตพืชอินทรีย์ที่มีมาตรฐานและตลาดรองรับ
2-11
2.3.2
ศึกษาและแบ่งประเภทโรงเรือน
2-15
2.3.3
ลักษณะพันธุ์พืชที่เหมาะกับการประกอบอาหาร
2-29
2.3.4
อาหารไทย
2-45
2.3.5 การปรุงและวัสดุการปรุงอาหารไทย
2-47
Floral Brochure
บทที3 ่ การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.1
ลักษณะโครงการ
3-2
3.2
ความเป็นมาของจังหวัดที่ตั้งโครงการ
3-3
3.3
ความเป็นมาของย่านอโศก
3-6
3.4
ชีวิตในแบบฉบับ “อโศก“
3-9
3.5
ผังสี ขนาด และขอบเขตที่ตั้งโครงการ
3-11
3.6
การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
3-13
Floral Brochure
บทที4 ่ รายละเอียดโครงการ 4.1
ความเป็นมาของโครงการ
4-2
4.2
วัตถุประสงค์ของโครงการ
4-3
4.3
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
4-3
4.4
กำ�หนดโครงสร้างการบริหารงานโครงการ
4-5
4.5
การวิเคราะห์อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่
4-7
4.6
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้โครงการ
4-9
4.7
พื้นที่ใช้สอยในโครงการ
4-13
4.8
งบประมาณที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
4-16
4.9
งานระบบและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับอาคาร
4-17
Table of content 4.1 ตารางวิเคราะห์อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่
4-7
Chart of content 1.1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
1-4
4.1 Employee schedule
4-11
4.2 User behavior
4-12
Map of Content ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
1.1 ล้างผักก่อนทำ�อาหาร 1.3 บริโภคถั่วเป็นทางเลือกใหม่สำ�หรับการลดน้ำ�หนัก 2.1 หั่นผักเตรียมทำ�อาหาร 2.2 รับประทานแต่เนื้อสัตว์ 2.3 เลือกผักหรือเนื้อสัตว 2.4 ฟาร์มออร์แกนิก (organic farm) 2.5 อาหารออร์แกนิก 2.6 ร้านอาหารสุขภาพ 2.7 พืชอินทรีย์ที่มีมาตรฐาน 2.8 ฟาร์มมาตรฐานออร์แกนิก 2.9 Greenhouse 2.10 single span greenhouse 2.11 double roof greenhouse 2.12 uneven span greenhouse 2.13 quonset greenhouse 2.14 sawtooth greenhouse 2.15 dome greenhouse 2.16 ridge and furrow greenhouse 2.17 Mini greenhouse 2.18 พันธุ์พืชที่เป็นวัตถุดิบ 2.19 Leaf lettuce 2.20 Crisp-head 2.21 Butterhead 2.22 Cos 2.23 Celtuce lettuce 2.24 ต้นอ่อนทานตะวัน 2.25 ต้นอ่อนเจีย 2.26 ต้นอ่อนอัลฟาฟ่า 2.27 ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง 2.27 ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง 2.28 ต้นอ่อนไควาเระ 2.29 ต้นอ่อนโตเมี่ยว 2.30 ต้นอ่อนข้าวสาลี 2.31 ต้นอ่อนผักบุ้ง 2.32 ต้มยำ�กุ้ง
1-1 1-3 2-1 2-3 2-4 2-5 2-7 2-9 2-12 2-13 2-16 2-17 2-18 2-21 2-22 2-23 2-24 2-25 2-26 2-29 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37 2-38 2-39 2-40 2-41 2-42 2-43 2-44 2-45
ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
2.33 ปลาเผา 2.34 หมูปิ้ง 2.35 หมูย่าง 2.36 ต้มยำ�กุ้ง 2.37 ปลาดอลลี่อลวกจิ้มซีฟู้ด 2.38 ปูนึงนมสด 2.39 การตุ๋น 2.40 แกงแดงไก่ 2.74 ปลาทอดน้ำ�ปลา 2.42 ผัดไทย 2.43 ห้องครัว 2.44 พื้นที่อาคาร 2.45 Ilimelgo Reimagines Future 2.46 การระบายอากาศของอาคาร 2.47 perspective 2.48 Offices of Pasona 2.49 บรรยากาศในตัวอาคาร 2.50 ปลูกข้าวในอาคาร 2.51 แสงที่ใช้เลี้ยงผักมีประโยชน์ต่อฟังก์ชันอื่น 2.52 Urban Garden and Housing 2.53 ปลูกผักไว้บริโภคภายในโครงการ 2.54 DIAGRAM ปริมาณพื้นที่สีเขียวของโครงการ 3.1 แยกอโศก 3.2 กรุงเทพมหานคร 3.3 บรรยากาศย่านอโศก 3.4 บรรยากาศย่านอโศก 3.5 skywalk Terminal – BTS 3.6 ช่วงเช้า 3.7 ช่วงเที่ยง (ร้านย่งหลี่) 3.8 ช่วงเย็น (กลับบ้าน) 3.9 ผังสีกรุงเทพฯ 3.10 แสดงระยะร่นและระยะปาด 3.11 การจราจร 3.12 การเข้าถึง 3.13 มลพิษใกล้โครงการ
2-47 2-48 2-49 2-50 2-51 2-52 2-53 2-54 2-55 2-56 2-58 2-59 2-61 2-62 2-62 2-63 2-63 2-64 2-64 2-65 2-66 2-66 3-1 3-4 3-5 3-6 3-7 3-9 3-10 3-10 3-11 3-12 3-17 3-17 3-17
ภาพที่ 3.14 ทิศทางแดด ลม ฝน ภาพที่ 3.15 ตำ�แหน่งไซต์ ภาพที่ 4.1 restaurant ภาพที่ 4.2 kitchen ภาพที่ 4.3 kitchen ภาพที่ 4.4 Bar&Restaurant ภาพที่ 4.5 การเดินทางในย่านอโศก ภาพที่ 4.6 ช่วงทำ�งาน ภาพที่ 4.7 Bar&Restaurant ภาพที่ 4.8 ช่วงทำ�งาน ภาพที่ 4.9 เลิกงานกลับบ้าน ภาพที่ 4.9 ถมที่ดิน ภาพที่ 4.10 เก็บผลผลิต ภาพที่ 4.11 ระบบจ่ายน้ำ� Downfeed ภาพที่ 4.12 ระบบระบายน้ำ� ภาพที่ 4.13 ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย ภาพที่ 4.14 ระบบเก็บน้ำ�ฝน ภาพที่ 4.15 ระบบน้ำ�หมุนเวียน ภาพที่ 4.16 ระบบ chiller ภาพที่ 4.17 ระบบไฟฟ้า 3เฟส 4สาย ภาพที่ 4.18 ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน ภาพที่ 4.19 HOSE REEL ภาพที่ 4.20 Sprinkler system ภาพที่ 4.21 ตัวอย่างการใช้โคมไฟ high bay ในห้องเพาะปลูก ภาพที่ 4.22 ตัวอย่างโครงสร้างเหล็ก
3-17 3-18 4-1 4-4 4-5 4-5 4-9 4-9 4-9 4-10 4-10 4-15 4-16 4-17 4-18 4-18 4-19 4-20 4-21 4-22 4-22 4-23 4-23 4-24 4-25
Floral Brochure
ภาพที่ 1.1 ล้างผักก่อนทำ�อาหาร
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/photography
1-1
Floral Brochure
บทที่1 บทนำ� ความเป็นมาของโครงการ Background of the Project Problem
ปัจจุบันคนไทยใช้ชีวิตเร่งรีบ จนไม่มี เวลา เลือกอาหาร ทำ� ให้อาหารที่เลือกมา ไม่มีประโยชน์ และเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหา สุขภาพ
ชาย-ไทย นำ�้หนักเกินและอ้วนพุ่ง
การบริโภคผักและผลไม้ลดลง (พ.ศ.2552-2557)
ชายไทย
หญิง-ไทย นำ�้หนักเกินและอ้วนพุ่ง
หญิงไทย
สภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยน ไปของคนไทย นำ�มาสูก่ ารมีปญ ั หาสุขภาพ ที่เปลี่ยนไปเช่นกัน การบริโภคของคน ไทยในช่วง 40ปีที่ผ่านมาปรับเปลี่ยน ประเภทของการบริโภค โดยได้รับพลัง งานจากไขมันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.9 ในปี 2503 เป็นร้อยละ 23.9 ในปี 2546 หรือ เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่า ซี่งเป็นปัจจัย ที่ทำ�ให้อ้วนน้ำ�หนักเกิน (ที่มา: การ สำ�รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจ ร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557)
โรคที่เกิดจากการกิน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคอ้วน โรคเบาหวาน
ปัญหาสุขภาพของคนไทยเกิดจาก การกินเพิ่มมากขึ้น ทั้งโรคอ้วนความดัน โลหิตสูง คอเลสเตอรอลในเลือดสูง การ บริโภคผักและผลไม้ทไ่ี ม่เพียงพอ ทำ� ให้ เกิด โรคต่างๆตามมา ปัจจุบันกระแสการรัก สุขภาพเริม่ ได้รบั ความนิยมสำ�หรับคนหลาย กลุม่ ทำ�ให้เกิดการเลือกรับประทานอาหาร คลีนและอาหารออร์แกนิกเพื่อสุขภาพมาก ขึ้น จึงเกิด การประยุกต์อาหารไทยรูปแบบ ใหม่ที่มีผักปลอดสารพิษและสมุนไพรเป็น วัตถุดิบหลัก
01
1-2
Floral Brochure
ภาพที่ 1.3 บริโภคถั่วเป็นทางเลือกใหม่สำ�หรับการลดน้ำ�หนัก https://www.workbook.com/portfolios/view/smith_r/
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
Objectives of Research
Scope of the Research
Expected Benefits
1.2.1 เพื่อศึกษาการเพาะปลูกเกษตรอินทรีย์
1.3.1 ศึกษาสภาพประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น ใน
1.5.1 ได้ทราบถึงความเป็นมา และเหตุผลที่
ในอาคารและพื้นที่ที่มีจำ�นวนจำ�กัด
อดีตจนถึงปัจจุบัน และรวบรวมข้อมูลเพื่อ วิเคราะห์สภาพปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นภายใน อนาคต
จะทำ�ให้เกิดโครงการรวมทั้งศึกษาแนวทางการ แก้ปัญหาด้วยงานสถาปัตยกรรม
1.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่การทำ�อาหารและพื้นที่
จัดเก็บวัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตรใน รูปแบบที่ถูกต้อง 1.2.3 เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลชนิดพันธุ์ พืชอินทรีย์ที่นำ�มาประกอบอาหารสุขภาพ 1.2.4 เพื่อเพิ่มมูลค่าอาหารไทยและสนับสนุน
ให้คนไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้น
1-3
1.3.2 ศึกษาวิเคราะห์สภาพของการใช้พื้นที่
ในปัจจุบันและกิจกรรมที่เหมาะสมสำ�หรับ โครงการและบริบทโดยรอบ 1.3.3 ศึกษาการกำ�หนดรายละเอียดโครง
1.5.2 ได้เข้าใจทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับการออกแบบ นำ�มาพัฒนาและแก้ไขปัญหา โดยนำ�เกณฑ์กฎหมายข้อบังคับต่างๆ และ องค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมมาเป็นพื้นฐาน ในการวิเคราะห์
การ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายใน โครงการทั้งองค์ประกอบหลักและรอง รวม ไปถึงวิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยที่เหมาะสมสำ�หรับ โครงการ
1.5.3 สามารถวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของ
1.3.4 ศึกษาตัวอย่างการจัดองค์ประกอบ
และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายใน โครงการ, พื้นที่ใช้สอย, รวมไปถึงงานระบบ
ต่างๆ ภายในอาคาร
โครงการการวิเคราะห์ ทำ�เลที่ตั้ง และตำ�แหน่ง ที่ตั้งโครงการที่เหมาะสม 1.5.4 สามารถกำ�หนดรายละเอียดโครงการ
Floral Brochure
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา Research Schedule
1-4
Floral Brochure
ภาพที่ 2.1 หั่นผักเตรียมทำ�อาหาร https://www.workbook.com/portfolios/view/smith_r/
2-1
Floral Brochure
บทที่2 หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ความหมายและคำ�จำ�กัดความ Background of the Project Problem
ความหมาย ศูนย์พัฒนาเกษตรอินทรีย์และครัวไทย ทางเลือก Organic Agriculture and Alternative Thai Food Center
ครัวไทย (Thai Food) หมายถึง โรง เรือน หรือห้องสําหรับทํา กับข้าวของกิน ที่ใช้ประกอบอาหารที่มี เรื่องกลิ่นเข้ามามีส่วนสำ� คัญ เช่น ประ กอบอาหารประเภท ผัดพริกแกง ปลาทอด คั่วพริกแกง ฯลฯ
พัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่มีการ กระทำ�ให้เกิดขึ้นหรือมีการวางแผนกำ�หนด ทิศทางไว้ล่วงหน้า โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ ต้องเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นถ้าเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ไม่ดีก็ไม่เรียกว่าการพัฒนา
ทางเลือก (Alternative) หมายถึง ช่องทาง, โอกาส, หนทาง, ลู่ทาง, วิธี เลือก, วิถีทาง
เกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) หมายถึง ระบบการผลิตทาง การเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ใดๆ ทีอ่ าจจะเกิดการปนเปือ้ นต่อทรัพยากร ดิน น้ำ� และสิ่งมีชีวิตรวมถึงสุขภาพของมนุษย์ ด้วยการสร้างสมดุลของทรัพยากรให้เป็น ไปตามธรรมชาติ และร่วมจัดการให้เกิด ความยัง่ ยืนต่อทรัพยากร และผลผลิตนัน้ ๆ
ศูนย์พัฒนาเกษตรอินทรีย์และครัวไทย ทางเลือก หมายถึง แหล่งที่ผลิตพืชผล ทางการเกษตรที่เพาะปลูกในพื้นที่จำ�กัด เพือ่ นำ�มาประกอบอาหารทีม่ ปี ระโยชน์สำ�หรับ สุขภาพคนเมือง
ที่มา: http://puechkaset.com/ 2560
คำ�จำ�ก ดั ความ
02
2-2
Floral Brochure
problem
ภาพที่ 2.2 รับประทานแต่เนื้อสัตว์ https://www.workbook.com/portfolios/view/myers/gallery/
2-3
Floral Brochure
ภาพที่ 2.3 เลือกผักหรือเนื้อสัตว์ https://www.workbook.com/portfolios/view/maes_studio/gal
ความเป็นมา ปัจจุบัน และอนาคตของเรื่องที่ศึกษา Present and future history of the project.
ปัญหาคนไทยการเจ็บป่วยและการตาย จากโรคไม่ตดิ ต่อของประชากรไทยยังมีเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งโดยเฉพาะ 4 โรคสำ�คัญ ได้แก่ โรคมะเร็ง เบาหวาน ระบบทางเดิน หายใจเรื้อรัง และโรคหัวใจและหลอดเลือด อีกทัง้ พฤติกรรมเสีย่ งต่อโรคไม่ตดิ ต่อของ คนไทยหลายด้านยังไม่มีแนวโน้มลดลง การสำ�รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการ ตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 ปี 2557 คนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไปมีความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน และมีภาวะน้ำ�หนักเกินและอ้วน เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผลการสำ�รวจ ครั้ง ที่ 4 ซึ่งส่วนหนึ่งอธิบายได้จากพฤติกรรม การบริโภคที่ไม่เหมาะสมที่เพิ่มขึ้น
พฤติกรรมการบริโภคผักที่ไม่เพียงพอต่อ ร่างกายก็มีจำ�นวนมากขึ้น และบริโภคผัก ทีม่ สี ารเคมีกำ�จัดศัตรูพชื ทีเ่ ป็นปัจจัยเสี่ยง โรคมะเร็ง ซึ่งโรคมะเร็งกลายเป็นสาเหตุ การเสียชีวติ เป็นอันดับหนึง่ ของประเทศ ในปัจจุบันก็มีคนหันมาใส่ใจกับสุขภาพ กันมากขึ้น พฤติกรรมเหลา่นั้นยังส่งผล มาถึงการเลือกรับประทานอาหารคลีนและ อาหารออร์แกนิกเริ่มเป็นที่รู้จักและได้รับ ความนิยมมากขึ้น แหล่งที่จะผลิตผักและ อาหารออร์แกนิกให้คนเมืองยังมีน้อย ซึ่ง ถ้าคนเมืองสามารถเข้าถึงอาหารออร์แกนิกได้ง่ายขึ้น ก็จะลดปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิด โรคต่างๆที่อันตราย
ที่มา: การสำ�รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557
จึงเกิดแนวคิดศูนย์พัฒนาเกษตรอินทรีย์ และครัวไทยทางเลือกให้เป็นพื้นที่ผลิตผัก และอาหารออร์แกนิกและให้ความรู้เรื่อง สุขภาพสำ�หรับคนเมืองให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น
2-4
Floral Brochure
ภาพที่ 2.4 ฟาร์มออร์แกนิก (organic farm)
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/myers/gallery/industrialagricul-
ORGANIC FARM เกษตรอินทรีย์ (Organic Farm) ระบบการผลิตทางการเกษตรที่ไม่ใช้ สารเคมีสังเคราะห์ใดๆที่อาจจะเกิดการปนเปื้อนต่อทรัพยากรดิน น้ำ� และสิ่งมี ชีวิต รวมถึงสุขภาพของมนุษย์ ด้วยการสร้างสมดุลของทรัพยากรให้เป็นไปตาม ธรรมชาติ และร่วมจัดการให้เกิดความยั่งยืนต่อทรัพยากร และผลผลิตนั้นๆ
การทำ�เกษตรอินทรีย์ระบบปลูกพืช 1) ดิน และปุ๋ย –เน้นการใช้ปยุ๋ อินทรียท์ ห่ี าได้งา่ ย ได้แก่ ปุ๋ยคอก ทั้งจากมูลโค มูลกระบือ มูลไก่ รวมถึง ปุ๋ยหมักจากพืช แกลบ แกลบ ดำ� ขี้เลื่อย เป็นต้น –ใช้วัสดุอินทรีย์ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เป็นปุ๋ยสด เช่น เศษพืชหลังการเก็บ เกี่ยว เศษใบไม้ เป็นต้น –เน้นการใช้ปุ๋ยพืชสด โดยเฉพาะการ ปลูกพืชตระกูลถั่วต่างๆ เช่น ปอเทือง
ที่มา: http://puechkaset.com
2-5
–ใช้หินแร่เป็นแหล่งเสริมธาตุอาหาร และปรับปรุงดิน อาทิ แร่ยิปซัม หิน ฟอสเฟต เปลือกหอยเผา และปูนขาว
น้ำ� –จัดหาแหล่งน้ำ�ให้เพียงพอ ทัง้ น้ำ�จาก โครงการชลประทาน และน้ำ�จากบ่อที่ ขุดเอง 2)
–หลีกเลีย่ งการใช้นำ้ �ทีม่ าจากแหล่งชุมชน หรือแหล่งอุตสาหกรรมมารดพืชในแปลง เกษตร ซึง่ อาจทำ�ให้พชื ผักเกิดปนเปือ้ น สารเคมีได้ อากาศ –การปลูกไม้ยนื ต้นล้อมรอบแปลงเกษตร เพือ่ เป็นเกาะกำ�บังฝุน่ หรือสารพิษ 3)
–สร้างโรงเรือนระบบปิดเพือ่ ใช้สำ�หรับ ปลูกพืช
–การจัดแนวปลูกในทิศขวางตะวัน –การจัดแนวปลูกในทิศตามลม –การปลูกพืชอืน่ ล้อมรอบ เพือ่ ให้ความชืน้ และรักษาความชืน้ ของอากาศรอบแปลง เกษตร พืช และโรค/แมลง –หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำ�จัดวัชพืช กำ�จัดศัตรูพืชทุกชนิด 4)
–เน้นการใช้สารสกัดหรือน้ำ�ต้มจากสมุน ไพร อาทิ สะเดา ดาวเรือง บอระเพ็ด ตะไคร้หอม เป็นต้น สำ�หรับฉีดพ่นป้อง กันโรค และแมลงต่างๆ
Floral Brochure
หลักการเกษตรอินทรีย์ สหพันธ์การเกษตรอินทรีย์ระหว่าง ประเทศ ได้นิยามหลักการของการทำ� เกษตรอินทรีย์ไว้ 4 ด้าน ได้แก่
ด้านสุขภาพ (health) เกษตรอินทรีย์ เป็นรูปแบบ การเกษตรที่ส่งเสริมสุขภาพของทรัพยากรให้มั่นคง อันหมายถึง การมีดิน ที่อุดมสมบูรณ์ที่ส่งเสริมต่อการเติบโต ของพืชสำ�หรับใช้เป็นอาหารของสัตว์ และมนุษย์ สิ่งเหล่านี้เชื่อมโยงกันจึง ส่งผลต่อกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาทิ ดินที่ปราศจากสารพิษก็ย่อมไม่มีสาร พิษในพืช 1)
ด้านนิเวศวิทยา (ecology) เกษตรอินทรีย์ เป็นรูปแบบ การเกษตรที่เกื้อหนุนให้ทรัพยากรใน ระบบนิเวศวิทยาดำ�เนินตามวัฏจักรที่ เป็นไปตามธรรมชาติ และเกิดการต่อ เนื่องสมดุลกัน ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดน้อยจนทำ�ให้ระบบนิเวศ ขาดความสมดุล ทั้งทรัพยากรดิน น้ำ� จุลินทรีย์ และสัตว์ 2)
ด้านความเป็นธรรม (fairness) เกษตรอินทรีย์ ช่วยส่งเสริม ในด้านความเป็นธรรมของทรัพยากร อันหมายถึง การส่งเสริมความเป็น ธรรมในสิทธิของชนิดทรัพยากร สิทธิ ของมนุษย์ต่อการกระทำ� และการใช้ ทรัพยากร และสิทธิของมนุษย์ตอ่ มนุษย์ ด้วยกันเองในการบริโภคทรัพยากร นั้นๆ 3)
ด้านการดูแลเอาใจใส่ (cares) การทำ�เกษตรอินทรีย์ เกษตรกร หรือผูท้ ำ�เกษตรอินทรียเ์ องจะคอยร่วม จัดการ และส่งเสริมให้เกิดความสมดุล ขึ้นในระบบ อันประกอบด้วยการเอาใจ ใส่ในกระบวนการผลิตที่ต้องคอยเกื้อ หนุนให้ทรัพยากรทั้งดิน น้ำ� และสัตว์ อื่นๆเกิดความสมดุล และเกิดปลอดภัย ในการทำ�เกษตรนั้น อันได้แก่ ไม่ใช้สาร เคมีที่มีผลต่อทรัพยากรในระบบ หรือ สารพิษในผลผลิต ซึ่งส่วนนี้ถือเป็นก ระบวนการแรกทีท่ ำ�ให้เกษตรกรเกิดจิต สำ�นึก และเอาใจใส่ตอ่ คุณภาพของผลิต ที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค 4)
2-6
Floral Brochure
ORGANIC FOOD อ
าหารเกษตรอินทรีย์ (Organic Food) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาหารเกษตรอินทรีย์ หรือ อาหารอินทรีย์ นั่นก็ หมายความว่าอาหารออร์แกนิกที่ว่านี้คืออาหารที่ได้ผ่านกระบวนการผลิตจากทางเกษตรโดยที่ไร้หรือปลอดสาร เคมีทุกชนิดคือไม่ใช้สารเคมีใดๆเลย ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมีรวมถึงวัตถุสังเคราะห์ต่างๆ อีกทั้งยังรวมไปถึงไม่ทำ� การตัดต่อ ทางพันธุกรรมจากเมล็ดพันธุ์ ซึ่งก็รวมไปถึงกระบวรการผลิตก็จะต้องไม่มีการใช้สารเคมีในการกำ� จัดพืชด้วย และก่อนที่ จะเริ่มการปลูกก็จะต้องเตรียมหน้าดินด้วยวิธีธรรมชาติ หรือเรียกว่าทุกกระบวนการและขั้นตอนการผลิตนั้นจะต้องไม่มี หรือปลอดสารปนเปื้อนทั้งสิ้นไม่ว่าจะจากมนุษย์หรือจากโรงงานอุตสาหกรรม และจะไม่มีการฉายรังสีหรือเพิ่มเติมสารปรุง แต่งต่างๆ ลงไปในอาหารอีกด้วย แม้กระทั่งในขั้นตอนการเลี้ยงสัตว์จะต้องเลี้ยงสัตว์ด้วยอาหารที่มีสุขอนามัย ถ้าอาหาร ที่มาจากการทำ�ปสุสัตว์ก็จะต้องไม่มีการใช้สารปฎิชีวภาพ ไม่ใช้สารที่เร่งฮอร์โมนด้วย ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่จะให้ความสำ�คัญ กับการบริโภคอาหารออร์แกนิกค่อนข้างสูง ซึ่งเทียบกับประเทศไทยแล้วเรายังไม่ค่อยเห็นความสำ�คัญในเรื่องนี้มากนัก แต่ ก็เริ่มมีผู้บริโภคในกลุ่มคนรักสุขภาพหันมารับประทาน Organic Food มากขึ้น เพราะพิษภัยของสารพิษที่ปนเปื้อนอยู่ใน อาหารและสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้ร่างกายของเรากลายเป็นแหล่งสะสมสารพิษและส่งผลให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ ดังนั้น Organic Food จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำ�หรับผู้บริโภคที่ห่วงใยในสุขภาพของตัวเอง ที่มา: https://healthgossip.co/what-is-organic-food/ 2560
2-7
ภาพที่ 2.5 อาหารออร์แกนิก
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
Floral Brochure
ส่วนประกอบทุกอย่างต้องมาจาก ธรรมชาติ ส่วนประกอบทุกอย่างในการที่จะ ประกอบอาหารประเภทออร์แกนิกนั้น จะต้องมาจากธรรมชาติทั้งหมด นั่นก็ คือในขั้นตอนกระบวนการเพาปลูกพืช และผักนั้นจะไม่มีการใช้สารสังเคราะห์ ใดๆ ทั้งสิ้น เรียกได้ว่าจะต้องเป็นพืช ผักที่ปลอดสารพิษจากสารเคมีซึ่งจะ ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกจากธรรมชาติ ในการเพาะปลูกเท่านั้น และรวมไปถึง เนื้อสัตว์ก็ต้องมาจากสัตว์ที่จะต้องถูก ทำ�การเลี้ยงดูให้เติบโตสมบูรณ์อย่าง อิสระตามธรรมชาติ
กระบวนการผลิตไม่ก่อให้เกิดมลพิษ ในสิ่งแวดล้อม ส่วนผสมและขั้นตอนกระบวนการ ของการประกอบอาหารประเภทออร์ แกนิกจะต้องปลอดสารพิษไร้สารเคมี โดยมีจุดประสงค์เพื่อคำ�นึงถึงในขั้น ตอนกระบวนการผลิตทีจ่ ะไม่กระทบต่อ สิ่งแวดล้อม โดยพยายามลดมลพิษที่ จะให้โทษต่อธรรมชาติ ซึ่งวิธีการปลูก แบบธรรมชาติแบบนี้จึงเป็นหนทางที่ดี ที่สุดในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนขบวนการผลิตไม่ใช้สารเคมี อาหารทีม่ ีส่วนประกอบจากการ ใช้สารเคมีร่วมด้วยนั้นก็ไม่ถือว่าเป็น ออร์แกนิก ซึ่งการไม่ใช้สารเคมีในที่ นี้หมายถึง ยาฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี สาร กระตุ้นหรือสารเร่งการเจริญเติบโต โดยตามหลักมาตรฐานขององค์กร ออร์แกนิกจะระบุรูปแบบอาหารออร์แก นิกไว้ 3 ระดับ คือ 1) 100% Organic (ธรรมชาติ 100%) 2) Organic (ธรรมชาติ 95%
ขึ้นไป ใช้สาร สังเคราะห์เพียงเล็กน้อยเท่าที่จำ�เป็น) 3) Made with Organic Ingredient (ธรรมชาติ 70% ขึ้นไป ถ้าต่ำ�กว่านี้ไม่ถือว่าเป็น Organic)
2-8
Floral Brochure
ภาพที่ 2.6 ร้านอาหารสุขภาพ
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368381
2-9
Floral Brochure
อนาคตเรื่องที่ศึกษา Future of the Project Problem
การแก้ไขปัญหาสุขภาพ
อาหารออร์แกนิกและผลผลิต ของเกษตรอินทรียเ์ ป็นการสร้างทางเลือก สำ�หรับการรับประทานอาหารเพือ่ สุขภาพ ของคนไทย ซึง่ เป็นสิง่ สำ�คัญในการลด ความเสีย่ งการเกิดโรคจากการรับประทาน อาหาร
นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่นำ�มา ใช้ในโครงการ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีมคี วามจำ�เป็น ทีต่ อ้ งศึกษาสำ�หรับการเกษตรทีม่ พี น้ื ทีใ่ ช้ สอย จำ�กัดและเหมาะสมสำ�หรับปลูกในอาคาร และในระบบหรือมาตรฐานของเกษตรอินทรีย์ เพือ่ ประสิทธิภาพสูงสุด
การศึกษากลุ่มเป้าหมาย
ศึกษาจากกิจกรรมหลักของผู้ ใช้โครงการ และกิจกรรมชัว่ คราว ทีจ่ ะเกิด ภายในโครงการ และรูปแบบของกิจกรรม
2-10
Floral Brochure
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
Principles and theories
ระบบการผลิตพืชอินทรีย์ที่มีมาตรฐานและตลาดรองรับ Standardized organic production systems and market support.
ชนิดและพันธุ์ของพืชปลูก
เมล็ดพันธุแ์ ละส่วนขยายพันธุพ์ ชื ทีน่ ำ�มาปลูกต้องผลิตจากระบบเกษตร อินทรีย์ ในกรณีที่ไม่สามารถหาเมล็ดพันธุ์ และส่วนขยายพันธุ์จากระบบเกษตรอิน ทรีย์ได้ อนุญาตให้ใช้จากแหล่งทัว่ ไปได้ แต่ตอ้ งไม่มีการคลุกสารเคมี
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุ์
ในกรณีที่ผู้ผลิตยังไม่ได้ปรับ เปลีย่ นฟาร์มทัง้ หมดเป็นอินทรีย์ การ ผลิตในแปลงเคมี/ทัว่ ไป ต้องไม่ใช้สง่ิ มี ชีวติ ดัดแปรพันธุด์ ว้ ย
การอนุรักษ์ดินและนํ้า
ห้ามเผาตอซังหรือเศษวัสดุใน แปลงอินทรีย์ ยกเว้น มีเหตุจำ�เป็น เช่น กำ�จัดแหล่งระบาดของศัตรูพชื และการ ทำ�ไร่หมุนเวียนในทีส่ งู มีมาตรการป้องกันการชะล้างพัง ทะลายของดิน มีมาตรการป้องกันมิให้ใช้นํ้าเกิน ควรและรักษาคุณภาพนํา้
2-11
การป้องกันกำ�จัดศัตรูพืช/โรค
อนุญาตให้ใช้สมุนไพร แต่ตอ้ ง ระวังไม่ให้มผี ลกระทบต่อสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ป็น ประโยชน์อน่ื ๆ อนุญาตให้ใช้หางไหลหรือโล่ติ๊น แต่สำ�หรับพืชกินใบ ต้องทิ้งไว้ 7 วัน ก่อนเก็บเกี่ยว อนุญาตให้ใช้นา้ํ หมักยาสูบ แต ่ไม่อนุญาตให้ใช้สารนิโคตินบริสุทธิ์ อนุญาตให้ใช้วิธีกล และการ ควบคุมโดยชีววิธี แต่ต้องระวังมิให้มี ผลกระทบต่อสมดุลของศัตรูพืชกับ ศัตรูธรรมชาติ อนุญาตให้ใช้ความร้อนอบฆ่า แมลงและเชือ้ โรคในดิน เฉพาะในโรงเรือน เพาะชำ� ที่ต้องการเพาะกล้าหรือเมล็ดที่ อ่อนแอต่อโรคเท่านั้น อนุญาตให้ใช้ฟางข้าวจากนา เคมีมาคลุมดินป้องกันวัชพืชได้ ถ้าไม่ สามารถหาฟางข้าวจากนาอินทรีย์ได้ ห้ามใช้ผงซักฟอก หรือสารจับ ใบสังเคราะห์ทกุ ชนิด
ที่มา: http://www.baansanrakorganic.com/index.php?pageID=9&itemid=77 2560
สารเร่งการเจริญเติบโตและสาร อื่นๆ
ห้ามใช้สารเคมีสงั เคราะห์เร่งการ เจริญเติบโตทุกส่วนของพืช เช่น สาร เร่งราก เร่งดอก ห้ามใช้สีสังเคราะห์ในการย้อมสี ผลไม้ เพื่อให้ดูสวยงาม
การป้องกันการปนเปื้อน
ห้ามใช้เครื่องมือฉีดพ่นสารเคมี ที่ใช้ในแปลงเคมี ปะปกับเครื่องมือฉีด พ่นที่ใช้ในแปลงอินทรีย์ การใช้เครื่อง จักรกลการเกษตร เช่น เครื่องเก็บ เกี่ยว เครื่องนวด ฯลฯ ร่วมกันทั้ง แปลงเคมีและอินทรีย์ จะต้องมีมาตร การทำ�ความสะอาดเครื่องจักรก่อนนำ� ไปใช้ในแปลงอินทรีย์
การปรับปรุงบำ�รุงดิน
ผู้ผลิตต้องพยายามใช้อินทรีย วัตถุภายในฟาร์มมาปรับปรุงบำ�รุง ดิน และลดการใช้อินทรียวัตถุจาก นอกฟาร์ม มีแผนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ อย่างผสมผสาน และใช้เท่าที่จำ�เป็น
มูลสัตว์ที่นำ�มาใช้ต้องผ่านการ หมักเบื้องต้น หรืออบผ่านความร้อน จนแห้งดี หรือคลุกดินทิ้งไว้ไม่น้อยกว่า 1 เดือน ก่อนการปลูกพืช มูลสัตว์ปีก หรือผลพลอยได้ จากการเลี้ยงสัตว์ ต้องมาจากฟาร์ม ที่เลี้ยงปล่อยรวมเป็นฝูง ไม่จำ�กัด อาณาเขต ปุ๋ยหมักที่นำ�มาใช้ ต้องมีส่วน ประกอบจากอินทรียวัตถุตามที่ระบุอยู่ ในภาคผนวก 1 ผู้ผลิตต้องแจ้งส่วน ประกอบและแหล่งผลิตให้มกท. ทราบ ห้ามใช้อนิ ทรียวัตถุทม่ี สี ว่ นผสม ของอุจจาระคน ห้ามใช้ปุ๋ยหมักจากขยะเมือง เพราะมี ปัญหาการปนเปื้อนจากโลหะหนัก
การบรรจุภัณฑ์
บรรจุภณ ั ฑ์ทใ่ี ช้ใส่ผลผลิตอินทรีย์ ต้องไม่เคยบรรจุสารเคมี ปุ๋ยเคมี หรือ สิ่งที่เป็นพิษมาก่อน บรรจุภัณฑ์ที่นำ�มาใช้ ต้องไม่ผ่าน การอบด้วยสารฆ่าเชื้อราหรือสารเคมี อื่นๆ
การเก็บรักษาผลิตผลและผลิต ภัณฑ์์
ห้ามใช้สารเคมีกำ�จัดศัตรูในโรงเก็บ หรือฆ่าเชือ้ ในขณะทีม่ ผ ี ลผลิตอินทรีย์ เก็บอยู่ หาวิธีป้องกัน โดยทำ�ความสะอาด และกำ�จัดแหล่งที่อาศัยของศัตรูในโรง เก็บ ในกรณีที่จำ�เป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์ หรือสารเคมีที่ไม่ระบุในภาคผนวก ต้อง ขออนุญาตจาก มกท.ก่อน และต้องนำ� ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ออกจาก โรงเก็บให้หมดก่อนฉีดพ่น และตรวจ เช็กให้แน่ใจว่าไม่สารตกค้าง ก่อนนำ� กลับเข้าใหม่
Floral Brochure
ภาพที่ 2.7 พืชอินทรีย์ที่มีมาตรฐาน
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/eskite/all/623898
2-12
ภาพที่ 2.8 ฟาร์มมาตรฐานออร์แกนิก
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368324
2-13
มาตรฐาน
GAP
G o o d Ag r i c u l t u ra l P ra c t i c e . การปฏิบัติเพื่อป้องกัน หรือลดความเสี่ยงของอันตรายที่เกิดขึ้นระหว่าง การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการ จัดการหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลิตผลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และเหมาะสมต่อการบริโภค
แหล่งน้ำ� - น้ำ�ที่ใช้ต้องได้จากแหล่งที่ ไม่มีสภาพแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดการ ปนเปื้อนวัตถุอันตรายและจุลินทรีย์ พื้นที่ปลูก - ต้องเป็นพื้นที่ที่ไม่มีวัตถุ อันตรายและจุลินทรีย์ที่จะทำ�ให้เกิด การตกค้างหรือปนเปื้อนในผลิตผล การใช้วัตถุอันตราย - หากมีการใช้ สารเคมีในกระบวนการผลิตให้ใช้ตาม คำ�แนะนำ�หรืออ้างอิงคำ�แนะนำ�ของ กรมวิชาการเกษตร หรือ ตามฉลาก ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต้องใช้ สารเคมีให้สอดคล้องกับรายการ ห้าม ใช้วัตถุอันตรายที่ระบุในทะเบียนวัตถุ อันตรายทางการเกษตรที่ห้ามใช้ การเก็บรักษาและการขนย้ายผลิต ผลภายในแปลง - สถานที่เก็บ รักษาต้องสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดี และสามารถป้องกันการปนเปื้อนของ วัตถุแปลกปลอม วัตถุอันตรายและ สัตว์พาหะนำ�โรค อุปกรณ์และพาหะใน การขนย้ายต้องสะอาดปราศจากการ ปนเปื้อนสิ่งอันตรายที่มีผลต่อความ ปลอดภัยในการบริโภค ต้องขนย้าย ผลิตผลอย่างระมัดระวัง
การบันทึกข้อมูล - ต้องมีการบันทึก ข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้วัตถุอันตราย ทางการเกษตร มีการบันทึกข้อมูลการ สำ�รวจและการป้องกันจำ�กัดศัตรูพืช ข้อมูลการจัดการเพื่อให้ได้ผลิตผล คุณภาพ การผลิตให้ปลอดภัยจากศัตรูพืช - ผลิตผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ต้องไม่มี ศัตรูพืชติดอยู่ถ้าพบต้องตัดแยกไว้ ต่างหาก การจัดการกระบวนการผลิตเพื่อให้ ได้ผลิตผลคุณภาพ - การปฏิบัติ และการจัดการตามแผนควบคุมการ ผลิต คัดแยกผลิตผลด้อยคุณภาพไว้ ต่างหาก การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการ เก็บเกี่ยว - เก็บเกี่ยวผลในระยะที่ เหมาะสมตามเกณฑ์ในแผนควบคุมการ ผลิต อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเก็บเกีย่ วภาชนะ บรรจุและวิธีการเก็บเกี่ยวต้องสะอาด ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อคุณภาพของ ผลผลิต และปนเปื้อนสิ่งอันตรายที่มี ผลต่อความปลอดภัยในการบริโภค
2-14
Floral Brochure
ศึกษาและแบ่งประเภทโรงเรือน Study and classify the greenhouse.
องค์ประกอบของโรงเรือน ส่วนทีใ่ ช้ปลูกพืช เป็นส่วนทีจ่ ะใช้ ติดตัง้ เครือ่ งปลูก หลังคาควรทำ�ด้วย วัสดุโปร่งใส เพือ่ ให้แสงสามารถส่อง ผ่านไปยังพืชได้ พืชบางชนิดต้องการ แสงน้อย ดังนัน้ โรงเรือนปลูกพืชอาจ ต้องใช้แผ่นพลาสติกลดความเข้มแสง โรงเรือนส่วนนีอ้ าจแบ่งออกเป็นโรงเรือน เพาะต้นกล้า อนุบาลต้นกล้า และโรง เรือนปลูก ภายในโรงเรือนปลูกอาจแบ่ง เป็นส่วนย่อยๆ (segment) เพือ่ ให้งา่ ย ต่อการควบคุมการระบาดของโรค และ วางแผนการผลิตได้งา่ ยขึน้
ที่มา: http://agri.wu.ac.th/
2-15
ปัจจัยพื้นที่ก่อสร้างโรงเรือน ส่วนที่ใช้สำ�หรับกระบวนการหลัง เก็บเกี่ยว กิจกรรมหลังเก็บเกี่ยวมีหลาย อย่าง เช่น การล้าง การตัดแต่ง การ คัดเกรด ห้องเย็น และการบรรจุหีบห่อ เป็นต้น ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ชนิดของพืชทีป่ ลูก ส่วนที่ใช้เก็บวัสดุ อาจแบ่งเป็น ส่วนๆ ตามความเหมาะสมในการใช้งาน เช่น ส่วนที่ใช้เก็บเครื่องจักร อะไหล่ของ เครื่องจักร และน้ำ�มัน ส่วนที่ใช้เก็บเครื่อง ปลูกและวัสดุค้ำ�จุนราก และส่วนที่ใช้เก็บ วัสดุทใ่ี ช้ในกระบวนการหลังเก็บเกีย่ ว ควร เตรียมอุปกรณ์ดับเพลิงไว้ในบริเวณที่มี การเก็บวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง
ลักษณะภูมอิ ากาศ เช่น อากาศ ร้อนในบางฤดูและหนาวมากในบางฤดู ฝนตกหนักในบางฤดู อากาศแห้งใน บางฤดู และลมแรงในบางฤดู ลักษณะภูมิประเทศ เช่น พื้นที่ ก่อสร้างเป็นที่ลาดชัน หรือพื้นที่ ก่อสร้างเป็นที่ลุ่มน้ำ�ขังในบางฤดู ระบบปลูกที่เลือกใช้ การติดตั้ง อุปกรณ์ของระบบปลูกแต่ละระบบ แตกต่างกัน จึงต้องออกแบบราย ละเอียดภายในโรงเรือนที่แตกต่างกัน
ชนิดของพืชที่ต้องการปลูก พืช จำ�พวก แตงและมะเขือเทศ จำ�เป็นต้อง ออกแบบให้มีเครื่องค้ำ�จุนลำ�ต้น ใน ขณะที่ผักไม่จำ�เป็นต้องมี โรงเรือน สำ�หรับปลูกกล้วยไม้และหน้าวัวจำ�เป็น ต้องมีการพรางแสง ปริมาณการผลิต และความแปร ปรวนในรอบปี ราคาพืชส่วนใหญ่แปร ปรวนตามปัจจัยด้านการตลาด การ ผลิตจึงอาจจำ�เป็นต้องหมุนเวียรปลูก พืชหลายชนิดสลับกัน เพื่อเลือกพืช ราคาเหมาะสมในฤดูนั้นๆ โรงเรือนจึง จำ�เป็นต้องออกแบบให้เหมาะสมกับ การปลูกพืชหลายชนิด
การระบาดของศัตรูพืช พืน้ ทีซ่ ึ่ง มีการระบาดของศัตรูพืชรุนแรงจำ�เป็น ต้องเข้มงวดในการป้องกัน หรือสลับ ไปปลูกพืชชนิดอื่นในฤดูที่มีการระบาด จึงต้องออกแบบโรงเรือนในตอบสนอง ต่อความต้องการเหล่านี้ได้ ขนาดพื้นทีก่ ารสร้างโรงเรือนใน พื้นที่น้อย จำ�เป็นต้องคำ�นึงถึงประสิทธิ ภาพการใช้พื้นที่ในลำ�ดับต้นๆ
Floral Brochure
greenhouse
ภาพที่ 2.9 Greenhouse
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
2-16
Floral Brochure
รูปแบบของโรงเรือน 1) โรงเรือนหลังคาหน้าจัว่ แบบ สมมาตร (even span หรือ single span) เป็นรูปแบบโรงเรือนทีใ่ ช้กนั แพร่ หลายในเขตอบอุน่ และเขตหนาว หลังคา อาจออกแบบให้เปิดได้เพือ่ ระบายอากาศ ร้อนในฤดูรอ้ น รูปแบบอาคารแบบนีไ้ ม่ ค่อยเหมาะสำ�หรับประเทศในเขตร้อน ภาพที่ 2.10 single span greenhouse
ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/
2-19
Floral Brochure
โรงเรือนหลังคาหน้าจัว่ สองชัน้ อาคารรูปแบบนีส้ ร้างขึน้ เพือ่ ให้อากาศ ร้อนภายในอาคารระบายออกได้ดี แม้ใน ช่วงฝนตกน้ำ�ฝนก็ไม่สาดเข้ามาภายใน อาคารโรงเรือน อาคารรูปแบบนีเ้ หมาะ สำ�หรับประเทศในเขตร้อน 2)
ภาพที่ 2.11 double roof greenhousev
ที่มา : https://i.pinimg.com/originals/36/99/b0/3699b03c2e26579d5b9a849ed-
2-18
Floral Brochure
3) โรงเรือนหลังคาหน้าจั่วแบบไม่ สมมาตร (uneven span) โรงเรือน แบบนี้จะมีหลังคาด้านหนึ่งยาวกว่าอีก ด้านหนึ่ง เหมาะสำ�หรับการก่อสร้างใน พื้นซึ่งเป็นเนินเขา
ภาพที่ 2.12 uneven span greenhouse
ที่มา : http://freesplans.blogspot.com/2014/11/blog-post_59.html
2-21
Floral Brochure
โรงเรือนหลังคาครึ่งวงกลม (quonset) เป็นแบบโรงเรือนที่ได้รับ ความนิยมแพร่หลายในเขตอบอุ่นและ เขตหนาวอีกแบบหนึ่ง การก่อสร้างไม่ ซับซ้อนมากนัก เหมาะสำ�หรับกรณีที่ ต้องการมุงหลังคาด้ววัสดุที่โค้งงอได้ ง่าย เช่น แผ่นพลาสติกชนิดต่างๆ การ ระบายอากาศร้อนทำ�ได้ยากจึงไม่เหมาะ สำ�หรับประเทศในเขตร้อน 4)
ภาพที่ 2.13 quonset greenhouse
ที่มา : http://www.toledoblade.com/image/2016/08/18/Detroit-Designer-Huts-1.jpg
2-22
Floral Brochure
5) โรงเรือนหลังคาครึ่งวงกลม เหลื่อม เป็นโรงเรือนที่ออกแบบให้ง่าย ต่อการระบายอากาศร้อน เนื่องจาก หลังคามีช่องเปิด โรงเรือนแบบนี้จึง เหมาะสำ�หรับประเทศในเขตร้อน
ภาพที่ 2.14 sawtooth greenhouse
ที่มา : http://www.pakaprich.com/category/story/page/2/
2-23
Floral Brochure
6) โรงเรือนหลังคาครึ่งทรงกลม (dome) โรงเรือนแบบนี้ยากต่อการ ขยายให้ครอบคลุมพื้นที่กว้าง จึงไม่ ค่อยนิยมสร้างสำ�หรับการผลิตพืชใน เชิงพาณิชย์ ส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้มี จุดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมใน Botanical Garden หรือสถาบันการ ศึกษาต่างๆ
ภาพที่ 2.15 dome greenhouse
ที่มา : https://doowansnewsandevents.files.wordpress.com/2013/03/24ft_greenhouse_
2-24
Floral Brochure
โรงเรือนหลังคาต่อเนื่อง (ridge and furrow) โรงเรือนแบบ นี้จะสร้างหลังคาแบบหน้าจั่วหรือครึ่ง วงกลมต่อเนื่องกัน เพื่อให้โรงเรือน คลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง และมีค่า ก่อสร้างต่ำ�กว่าการสร้างหลังคาเดี่ยว ขนาดใหญ่ 7)
ภาพที่ 2.16 ridge and furrow greenhouse
ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/
2-25
Floral Brochure
8) โรงเรือนขนาดเล็ก โรงเรือน ขนาดใหญ่ช่วยให้สามารถควบคุมสิ่ง แวดล้อมภายในโรงเรือนได้ง่าย แต่ ขณะเดียวกันก็มีข้อเสียหลายอย่า เช่น เสียพื้นที่ส่วนหนึ่งเพื่อเป็นทางเดินและ ลำ�เลียงวัสดุ ทำ�ให้มีค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น ในส่วนที่ไม่จำ�เป็นนี้ ค่าก่อสร้างแพงและ ต้องใช้เงินลงทุนครั้งละมากๆ และแก้ไข ได้ยากเมื่อเกิดการระบาดของโรคหรือ แมลง เป็นต้น ในพื้นที่เขตร้อนของโลก ซึ่งมีอุณหภูมิสูงพอสำ�หรับการเจริญ เติบโตของพืชตลอดทั้งปี การสร้าง โรงเรือนขนาดใหญ่ เพื่อเก็บความร้อน ให้มีอุณหภูมิสูงพอสำ�หรับการเจริญ เติบโตของพืชจึงไม่จำ�เป็น โรงเรือน ขนาดเล็กที่มีเพียงหลังคากันฝน หรือ มีมุ้งกันแมลงก็เพียงพอต่อการปลูก พืช นอกจากนี้ เกษตรกรยังไม่จำ�เป็น ต้องลงทุนสูงในครั้งเดียว สามารถ วางแผนการผลิตได้ง่าย และมีค่าใช้ จ่ายด้านพลังงานต่ำ� จึงเป็นที่นิยมของ เกษตรกรในหลายพื้นที่
ภาพที่ 2.17 Mini greenhouse
ที่มา : http://deco.bergsansnipple.com/wp-content/uploads/2014/11/Diy-Outdoor-Greenhouse.jpg
2-26
Floral Brochure
วัสดุมุงหลังคาโรงเรือน กระจก (Glass) กระจกที่ใช้ เพื่อการเกษตรยอมให้รังสีจากดวง อาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่น 400 2500 นาโนเมตร ส่องผ่านได้ดี แต่ รังสีนอกย่านความยาวคลื่นส่องผ่าน ได้น้อย กระจกมีอายุการใช้งานได้ นาน แต่มีน้ำ� หนักมาก (ความหนา แน่นสูง) ทำ�ให้โรงเรือนที่ใช้กระจก มุงหลังคาต้องมีโครงสร้างที่แข็งแรง จึงมีค่าก่อสร้างที่สูงขึ้นตามไปด้วย กระจกสามารถแตกได้ง่ายเมื่อได้รับ แรงกระแทกแรงๆ หรือการยืด-หดตัว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ กระจกมีหลายชนิด เช่น - Float Glass เป็นกระ จกที่ใช้สำ�หรับงานทั่วไป แสงอาทิตย์ ส่องผ่านได้ประมาณ 88 - 90% แตกง่าย ราคาต่ำ� - Tempered Glass มี ราคาสูงกว่าประเภทแรก แต่มีความ แข็งแรงสูงกว่าประมาณ 5 เท่า และมี น้ำ�หนักมากกว่า - Low-iron glass เป็น กระจกที่มีเหล็กต่ำ� แสงส่องผ่านได้ดี กว่า float glass ประมาณ 5 - 6%
พลาสติกชนิดแผ่นแข็ง (กระ เบื้องใส) วัสดุประเภทนี้มีน้ำ�หนักเบา กว่ากระจกทำ�ให้ไม่ต้องใช้โครงสร้างที่ แข็งแรงมาก จึงประหยัดค่าใช้จ่ายใน การก่อสร้างมากกว่า อายุการใช้งาน สั้นกว่ากระจก แต่นานกว่าพลาสติก ชนิดแผ่นม้วน ได้แก่ -Fiberglass เป็นวัสดุที่ทำ� จากใยแก้วฝังตัวใน acrylic resin แสง อาทิตย์ส่องผ่านได้ประมาณ 78 - 88% แสงเกิดการกระจายเมื่อส่องผ่าน ทำ�ให้ พืชในโรงเรือนได้รับแสงสม่ำ�เสมอ อุณห ภูมิไม่สูงที่แถบใดแถบหนึ่ง พืชจึงไม่เสีย หายในช่วงที่มีแดดจัด เป็นลอนคลื่นทำ� ให้น้ำ�ฝนหรือหยดน้ำ�สามารถไหลได้ง่าย มีอายุการใช้งาน 10 - 15 ปี -Polycrylate แสงอาทิตย์ ส่องผ่านได้ประมาณ 78 - 88% ความ โปร่งแสงมักไม่เปลี่ยนเมื่ออายุการใช้งาน นานขึ้น วัสดุชนิดนี้จะเปราะมากขึ้นเมื่อ อายุการใช้งานนานขึ้น โดยทั่วไปมีอายุ การใช้งานประมาณ 20 ปี ติดไฟได้ง่าย -Polycarbonate แสง อาทิตย์ส่องผ่านได้ประมาณ 75 - 85% สำ�หรับแผ่นสองชั้น โค้งงอได้ง่าย เหมาะ กับโรงเรือนหลังคาโค้ง วัสดุชนิดนี้ค่อยๆ มีสีเหลืองเข้มขึ้นเมื่ออายุการใช้งานนาน ขึ้น โดยทั่วไปมีอายุการใช้งานประมาณ 8 ปี ติดไฟยากกว่า Polycrylate -Polyester -Polysulfonate
2-27
ที่มา: http://agri.wu.ac.th/
พลาสติกชนิดแผ่นม้วน (film) เช่น Polyethylene (PE) และ Polyvinyl Chloride (PVC) พลาสติคเหล่า นี้ที่ไม่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพมักมี อายุการใช้งานสั้น เนื่องจากโมเลกุล ของโพลีเมอร์ขาดออกเมื่อได้รับแสง อาทิตย์เป็นเวลานาน ทำ�ให้เนื้อพลาสติ คเปราะและฉีกขาดง่าย แผ่นพลาสติค ที่ถูกดึงให้ตึง มักหย่อนได้ง่าย พลา สติคที่ไม่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพ จึงไม่ค่อยนิยมใช้มุงหลังคาโรงเรือน -ผสมหรือเคลือบด้วยสาร เสริมความแข็งแรง เพื่อป้องกันไม่ให้ แผ่นพลาสติคยืดออก เมื่อถูกดึงให้ตึง เป็นเวลานาน -ผสมหรือเคลือบด้วยสาร ป้องกันโมเลกุลแตกเป็นโมเลกุลเล็ก เนื่องจากได้รับแสง Ultra-violet เป็น เวลานาน (UV Stabilizer) เพื่อยืด อายุการใช้งานให้นานขึ้น ในขณะที่ไม่ รบกวนแมลงที่ช่วยผสมเกสร -ผสมหรือเคลือบด้วยสาร ดูดกลืนแสง Ultra-violet (UV Absorber) ช่วยยืดอายุการใช้งานให้นาน ขึ้น และรบกวนการทำ�งานของแมลง ศัตรูพืชที่เข้าไปภายในโรงเรือน
-ผสมหรือเคลือบด้วยสาร ดูดกลืนรังสี Infrared (IR) โดยดูด กลืนรังสี IR คลื่นสั้น (750-1,400 nm) ในเวลากลางวัน เพื่อป้องกันไม่ ให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนในเวลา กลางวันสูงเกินไป และดูดกลืนรังสี IR คลื่นยาว (3,000-14,000 nm) ซึ่งเป็นรังสีสะท้อน ในเวลากลางคืน เพื่อเก็บความร้อนไว้ภายในโรงเรือนใน เวลากลางคืน -ผสมหรือเคลือบด้วยสาร ลดแรงตึงผิว (Anti-Drip or AntiCondensate) ช่วยให้น้ำ�ที่กลั่นตัวเกาะ บนผิวพลาสติคได้ดีขึ้น และไหลลงสู่ พื้นตามแนวแผ่นพลาสติค แทนที่จะ หยดลงสู่พื้นโรงเรือน ซึ่งเป็นสาเหตุ ให้ดอกหรือใบพืชเปียกชื้นเสียหาย (Scorching)
-ผสมหรือเคลือบด้วยสาร กระจายแสง (Light diffusion) ช่วย ให้ความเข้มแสงในโรงเรือนสม่ำ�เสมอ พืชสามารถเจริญเติบโตได้สม่ำ�เสมอ ตามไปด้วย และลดปัญหาใบพืชไหม้ใน ช่วงแดดจัด
Floral Brochure
พื้นโรงเรือน -พื้นดิน -พื้นทราย -พื้นกรวด -พื้นหินเกล็ด -พื้นคอนกรีต
โครงสร้างโรงเรือน -โครงสร้างไม้ไผ่ -โครงสร้างไม้ -โครงสร้างท่อเหล็กชุบสังกะสี -โครงสร้างรางเหล็กชุบสังกะสี -โครงสร้างคอนกรีต
ภาพที่ 2.17 wooden greenhouse
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368324
2-28
Floral Brochure
ลักษณะพันธุ์พืชที่เหมาะกับการประกอบอาหาร Plant characteristics for cooking.
Leaf lettuce (สลัดใบ/ผักกาดหอม) จะมีต้นสั้นใบ และ ใบเป็นกระจุก มีจำ�นวนใบมาก Crisp-head (สลัดปลี/ผักกาดหอมห่อ/ผักกาดแก้ว/ สลัดแก้ว) มีใบขนาดน้ำ�หนักมาก ใบในจะ วนและซ้อนกันคล้าย กะหล่ำ� ปลี หัวแน่น ใบจะแข็ง Butterhead (สลัดกึ่งห่อ หรือ สลัดบัตเตอร์) ใบจะอ่อน นิ่ม ห่อปลีหลวม ใบในจะลักษณะมีน้ำ�มัน จับที่ผิวใบ Cos (สลัดคอส หรือ ผักกาดหวาน) ใบมีลักษณะ ตั้งตรงยาวเข้มเนื้อใบหนามีเส้นใบนูนเด่น ออกมาด้านหลัง Stem (CELery-LetTUCE) มีลักษณะลำ�ต้น สูง ใบจะเรียวยาว เจริญติดๆ กันขึ้นไป จนถึงช่อดอก
ภาพที่ 2.18 พันธุ์พืชที่เป็นวัตถุดิบ
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
2-29
Floral Brochure
ต้นอ่อนทานตะวัน
ช่วยในการควบคุมระดับคอเลสเตอรอล ในร้่างกาย อุดมด้วยแคลเซียม คาร์โบไฮ เดรต และวิตามินต่างๆ
ต้นอ่อนเจีย
อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมกา-3 บำ�รุง สมอง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันโรค มะเร็ง
ต้นอ่อนอัลฟาฟ่า
ไควาเระ
วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี3 วิตามิ นบี6 แคลเซียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ต้านอนุมูลอิสระป้องกันการ เกิดโรคมะเร็ง
โตเมี่ยว
วิตามินซี มีสารต้านอนุมูลอิสระป้องกัน การเกิดโรคมะเร็ง กรดไขมันโอเมกา-6 ป้องกันโรคหัวใจ
อุดมไปด้วยโปรตีน ใยอาหาร วิตามินเอ วิ ตามินเค วิตามินซี วิตามินบี3 วิตามินบี5 โฟเลต ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ต้านอนุมูล อิสระป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
ต้นอ่อนข้าวสาลี
ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง
ต้นอ่อนผักบุ้ง
วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก ลดความ ดันโลหิต ป้องกันการเกิดนิ่ว สร้างหลอด เลือดให้แข็งแรง
อุดมไปด้วยคลอโรฟิล 70% ช่วยสร้าง เฮโมโกบินในเม็ดเลือดแดง กรดอะมิโนกว่า 17ชนิด ป้องกันโลหิตจาง วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม คาร์โบไฮ เดรต ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส และเหล็ก มีสาร ต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
ต้นอ่อนงา
โปรตีน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส สังกะสี เหล็ก วิตามินบีรวม บำ�รุงประสาทและสมอง
2-30
Floral Brochure
Leaf lettuce
(สลัดใบ/ผักกาดหอม) จะมีต้นสั้นใบ และใบเป็นกระจุก มีจำ�นวนใบมาก การเตรียมดิน ขุดดินตาก แดด และโรยปูนขาว หรือโดโลไมท์ อัตรา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทิ้งไว้่ 14 วัน ให้วัชพืชแห้งตาย ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม. ใส่ปุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่่วน 1:1 (รอง พื้น) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ การเตรียมกล้า เพาะกล้า ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร มีระบบน้ำ�ดี อายุกล้าประมาณ 3-4 อาทิตย์ การปลูก ระยะปลูก 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพื่อ ป้องกันการระบาดของโรค) การให้น้ำ� ควรให้น้ำ�อย่าง สม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ต่อการเจริญ เติบโต การให้ไม่ควรมากเกินไป อาจ ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า
ที่มา: http://www.vegetweb.com/ 2560
ภาพที่ 2.19 Leaf lettuce
ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/
2-31
การให้ปุ๋ย หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือผสม 15-1515 อัตรา 50 กก./ไร่ อย่างละครึ่ง พร้อมกำ�จัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด วัชพืช ขุดร่องลึก 2 -3 ซม. รัศมีจาก ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ กลบดินแล้วรดน้ำ� การเก็บเกี่ยว เมื่อผักกาด หอมใบแดง หรือสลัดใบแดง มีอายุ ได้ประมาณ 30-60 วัน หลังย้าย ปลูก ใช้มีดตัดและเหลือใบนอก 3 ใบ เพื่อป้องกันความเสียหายในการขนส่ง หลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวตอนเปียกควร เก็บเกี่ยวตอนบ่าย หรือค่ำ�แล้วผึ่งลม ในที่ร่ม และคัดเกรดป้ายปูนแดงที่รอย ตัด เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อโรคเข้าสู่ หัวอย่าล้างผัก บรรจุลงลังพลาสติด
Floral Brochure
Crisp-head
(สลัดปลี/ผักกาดหอมห่อ/ผักกาด แก้ว/สลัดแก้ว) มีใบขนาดน้ำ�หนักมาก ใบในจะวนและซ้อนกันคล้าย กะหล่ำ�ปลี หัวแน่น ใบจะแข็ง การเตรียมดิน ขุดดินตาก แดด และโรยปูนขาว หรือโดโลไมท์ อัตรา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทิ้งไว้่ 14 วัน ให้วัชพืชแห้งตาย ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม. ใส่ปุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่่วน 1:1 (รอง พื้น) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ การเตรียมกล้า เพาะกล้า ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร มีระบบน้ำ�ดี อายุกล้าประมาณ 3-4 อาทิตย์ การปลูก ระยะปลูก 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพื่อ ป้องกันการระบาดของโรค) การให้น้ำ� ควรให้น้ำ�อย่าง สม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ต่อการเจริญ เติบโต การให้ไม่ควรมากเกินไป อาจ ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า
การให้ปุ๋ย หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือผสม 15-1515 อัตรา 50 กก./ไร่ อย่างละครึ่ง พร้อมกำ�จัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด วัชพืช ขุดร่องลึก 2 -3 ซม. รัศมีจาก ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ กลบดินแล้วรดน้ำ� การเก็บเกี่ยว เมื่ออายุ ได้ ประมาณ 40-80 วัน หลังย้ายปลูก ใช้หลังมือกดดูถ้าหัวแน่นก็เก็บได้(กด ยุบแล้วกลับคืินเหมือนเดิม) ใช้มีดตัด และเหลือใบนอก 3 ใบเพื่อป้องกัน ความเสียหายในการขนส่ง หลีกเลี่ยง การเก็บเกี่ยวตอนเปียก ควรเก็บเกี่ยว ตอนบ่าย หรือค่ำ� แล้วผึ่ง ลมในที่ร่ม และคัดเกรดป้ายปูนแดงที่รอยตัด เพื่อ ป้องกันการแพร่เชื้อโรคเข้าสู่หัวอย่า ล้างผักบรรจุลงลังพลาสติก
ที่มา: http://www.vegetweb.com/ 2560
ภาพที่ 2.20 Crisp-head
ที่มา : https://cdn.shopify.com/s/files/1/1003/1822/products/
2-32
Floral Brochure
Butterhead
(สลัดกึ่งห่อ หรือ สลัดบัตเตอร์) ใบจะ อ่อนนิ่ม ห่อปลีหลวม ใบในจะลักษณะ มีน้ำ�มันจับที่ผิวใบ การเตรียมดิน ขุดดินตาก แดด และโรยปูนขาว หรือโดโลไมท์ อัตรา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทิ้งไว้่ 14 วัน ให้วัชพืชแห้งตาย ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม. ใส่ปุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่่วน 1:1 (รอง พื้น) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ การเตรียมกล้า เพาะกล้า ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร มีระบบน้ำ�ดี อายุกล้าประมาณ 3-4 อาทิตย์ การปลูก ระยะปลูก 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพื่อ ป้องกันการระบาดของโรค) การให้น้ำ� ควรให้น้ำ�อย่าง สม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ต่อการเจริญ เติบโต การให้ไม่ควรมากเกินไป อาจ ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า
ที่มา: http://www.vegetweb.com/ 2560
ภาพที่ 2.21 Butterhead
ที่มา : https://paramountseeds.com/wp-content/uploads/2014/07/Fidel.jpg
2-33
การให้ปุ๋ย หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือผสม 15-1515 อัตรา 50 กก./ไร่ อย่างละครึ่ง พร้อมกำ�จัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด วัชพืช ขุดร่องลึก 2 -3 ซม. รัศมีจาก ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ กลบดินแล้วรดน้ำ� การเก็บเกี่ยว เมื่ออายุ ได้ ประมาณ 40-60 วัน หลังย้ายปลูก ใช้หลังมือกดดูถ้าหัวแน่นก็เก็บได้(กด ยุบแล้วกลับคืินเหมือนเดิม) ใช้มีดตัด และเหลือใบนอก 3 ใบเพื่อป้องกัน ความเสียหายในการขนส่ง หลีกเลี่ยง การเก็บเกี่ยวตอนเปียก ควรเก็บเกี่ยว ตอนบ่าย หรือค่ำ� แล้วผึ่ง ลมในที่ร่ม และคัดเกรดป้ายปูนแดงที่รอยตัด เพื่อ ป้องกันการแพร่เชื้อโรคเข้าสู่หัวอย่า ล้างผักบรรจุลงลังพลาสติก
Floral Brochure
Cos
(สลัดคอส หรือ ผักกาดหวาน) ใบมี ลักษณะตัง้ ตรงยาวเข้มเนือ้ ใบหนามีเส้น ใบนูนเด่นออกมาด้านหลัง การเตรียมดิน ขุดดินตาก แดด และโรยปูนขาว หรือโดโลไมท์ อัตรา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทิ้งไว้่ 14 วัน ให้วัชพืชแห้งตาย ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม. ใส่ปุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่่วน 1:1 (รอง พื้น) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ การเตรียมกล้า เพาะกล้า ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร มีระบบน้ำ�ดี อายุกล้าประมาณ 3-4 อาทิตย์ การปลูก ระยะปลูก 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพื่อ ป้องกันการระบาดของโรค) การให้น้ำ� ควรให้น้ำ�อย่าง สม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ต่อการเจริญ เติบโต การให้ไม่ควรมากเกินไป อาจ ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า
การให้ปุ๋ย หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือผสม 15-1515 อัตรา 50 กก./ไร่ อย่างละครึ่ง พร้อมกำ�จัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด วัชพืช ขุดร่องลึก 2 -3 ซม. รัศมีจาก ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ กลบดินแล้วรดน้ำ� การเก็บเกี่ยว เมื่ออายุ ได้ ประมาณ 40-60 วัน หลังย้ายปลูก ใช้หลังมือกดดูถ้าหัวแน่นก็เก็บได้(กด ยุบแล้วกลับคืินเหมือนเดิม) ใช้มีดตัด และเหลือใบนอก 3 ใบเพื่อป้องกัน ความเสียหายในการขนส่ง หลีกเลี่ยง การเก็บเกี่ยวตอนเปียก ควรเก็บเกี่ยว ตอนบ่าย หรือค่ำ� แล้วผึ่ง ลมในที่ร่ม และคัดเกรดป้ายปูนแดงที่รอยตัด เพื่อ ป้องกันการแพร่เชื้อโรคเข้าสู่หัวอย่า ล้างผักบรรจุลงลังพลาสติก
ที่มา: http://www.vegetweb.com/ 2560
ภาพที่ 2.22 Cos
ที่มา : http://farm3.staticflickr.com/2238/2529145266_469f9ba1af_b.jpg
2-34
Floral Brochure
Stem
(ผ กั กาดหอมต้น) มีลักษณะลำ�ต้นสูง ใบจะเรียวยาว เจริญติดๆ กันขึ้นไป จนถึงช่อดอก การเตรียมดิน ขุดดินตาก แดด และโรยปูนขาว หรือโดโลไมท์ อัตรา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทิ้งไว้่ 14 วัน ให้วัชพืชแห้งตาย ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม. ใส่ปุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่่วน 1:1 (รอง พื้น) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ การเตรียมกล้า เพาะกล้า ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร มีระบบน้ำ�ดี อายุกล้าประมาณ 3-4 อาทิตย์ การปลูก ระยะปลูก 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพื่อ ป้องกันการระบาดของโรค) การให้น้ำ� ควรให้น้ำ�อย่าง สม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ต่อการเจริญ เติบโต การให้ไม่ควรมากเกินไป อาจ ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า
ที่มา: http://www.vegetweb.com/ 2560
ภาพที่ 2.23 Celtuce lettuce
ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/
2-35
การให้ปุ๋ย หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรือผสม 15-1515 อัตรา 50 กก./ไร่ อย่างละครึ่ง พร้อมกำ�จัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด วัชพืช ขุดร่องลึก 2 -3 ซม. รัศมีจาก ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ กลบดินแล้วรดน้ำ� การเก็บเกี่ยว เมื่อผักกาด หอมใบแดง หรือสลัดใบแดง มีอายุ ได้ประมาณ 30-60 วัน หลังย้าย ปลูก ใช้มีดตัดและเหลือใบนอก 3 ใบ เพื่อป้องกันความเสียหายในการขนส่ง หลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวตอนเปียกควร เก็บเกี่ยวตอนบ่าย หรือค่ำ�แล้วผึ่งลม ในที่ร่ม และคัดเกรดป้ายปูนแดงที่รอย ตัด เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อโรคเข้าสู่ หัวอย่าล้างผัก บรรจุลงลังพลาสติด
Floral Brochure
ต้นอ่อนทานตะวัน
ช่วยในการควบคุมระดับคอเลสเตอ รอลในร้่างกาย อุดมด้วยแคลเซียม คาร์โบไฮเดรต และวิตามินต่างๆ สิ่งที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดทานตะวัน ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.24 ต้นอ่อนทานตะวัน
ที่มา : https://www.sentangsedtee.com/wp-content/uploads/2016/09/P1070051.jpg
2-36
Floral Brochure
ต้นอ่อนเจีย
อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมกา-3 บำ�รุง สมอง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกัน โรคมะเร็ง สิ่งที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดเจีย ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.25 ต้นอ่อนเจีย
ที่มา : https://ch.lnwfile.com/_/ch/_raw/ky/u6/23.jpg
2-37
Floral Brochure
ต้นอ่อนอัลฟาฟ่า
อุดมไปด้วยโปรตีน ใยอาหาร วิตามิน เอ วิตามินเค วิตามินซี วิตามินบี3 วิตามินบี5 โฟเลต ฟอสฟอรัส โพแทส เซียม ต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิด โรคมะเร็ง สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดอัลฟาฟ่า ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.26 ต้นอ่อนอัลฟาฟ่า
ที่มา : http://www.sunflowersprout.com/wp-content/uploads/2014/11/alfalfa-seeds1.jpg
2-38
Floral Brochure
ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง
วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม โพแทส เซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก ลดความดันโลหิต ป้องกันการเกิดนิ่ว สร้างหลอดเลือดให้แข็งแรง สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดกระเจี๊ยบแดง ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.27 ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง
ที่มา : http://www.sunflowersprout.com/wp-content/uploads/2015/01/DSC_0436.jpg
2-39
Floral Brochure
ต้นอ่อนงา
โปรตีน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทส เซียม ฟอสฟอรัส สังกะสี เหล็ก วิตามิน บีรวม บำ�รุงประสาทและสมอง สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดงา ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.28 ต้นอ่อนงา
ที่มา : https://f.btwcdn.com/store-37864/product/c9e04c36-e9e3-55aa-d47b-
2-40
Floral Brochure
ต้นอ่อนไควาเระ
วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี3 วิตามิน บี6 แคลเซียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ต้านอนุมูลอิสระป้องกัน การเกิดโรคมะเร็ง สิ่งที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดไควาเระ ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.28 ต้นอ่อนไควาเระ
ที่มา : http://www.sunflowersprout.com/wp-content/uploads/2015/05/%E0%B9%84%E0
2-41
Floral Brochure
ต้นอ่อนโตเมี่ยว
วิตามินซี มีสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง กรดไขมัน โอเมกา-6 ป้องกันโรคหัวใจ สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดโตเมี่ยว ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.29 ต้นอ่อนโตเมี่ยว
ที่มา : http://www.sunflowersprout.com/wp-content/uploads/2015/05/โตเหมี่ยว2.jpg
2-42
Floral Brochure
ต้นอ่อนข้าวสาลี
อุดมไปด้วยคลอโรฟิล 70% ช่วย สร้างเฮโมโกบินในเม็ดเลือดแดง กรด อะมิโนกว่า 17ชนิด ป้องกันโลหิตจาง สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดข้าวสาลี ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.30 ต้นอ่อนข้าวสาลี
ที่มา : https://jomthongorganic.files.wordpress.com/2013/10/img_2322.jpg
2-43
Floral Brochure
ต้นอ่อนผักบุ้ง
วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม คาร์โบไฮ เดรต ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส และ เหล็ก มีสารต้านอนุมูลอิสระป้องกัน การเกิดโรคมะเร็ง สิง่ ที่ต้องเตรียม -ถาดสำ�หรับปลูก เช่น ถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับต้นอ่อน หรือดินจากร้านขายต้นไม้) -เมล็ดผักบุ้ง ขั้นตอนที่ 1 นำ�เมล็ดแช่ น้ำ� 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมีฟอง อากาศซึ่งเกิดจากน้ำ�เข้าไปในเมล็ด หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขั้นตอนที่ 2 นำ�เมล็ดบ่ม ในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลับมา เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงว่าเริ่ม เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใส่ถาดที่เตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมล็ดลง ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกินไป ขั้นตอนที่ 4 โรยดินกลบ บาง ๆ และรดน้ำ�พอชุ่ม ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลังจากนั้น ให้นำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ
ขั้นตอนที่ 6 แยกถาด ออกไว้ในร่ม รดน้ำ�วันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ขั้นตอนที่ 7 เข้าสู่วันที่ 3 รดน้ำ�ต่อวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น พอ ประมาณ ขั้นตอนที่ 8 เข้าสู่วันที่ 4 รดน้ำ� บาง ๆ เพื่อให้ดินหลุดจากใบ สามารถเริ่มเก็บเมล็ดที่ติดใบออกได้ รดน้ำ�เช้า-เย็นต่อ ขั้นตอนที่ 9 เข้าสู่วันที่ 5 รดน้ำ�ต่อเช้า-เย็น พอประมาณ ขั้นตอนที่ 10 เข้าสู่วันที่ 6-7 รดน้ำ�เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออก มารับแสงในวันที่จะตัด ต้นจะเริ่ม เขียว สามารถตัดได้ในวันที่ 6-7 หรือ มากกว่าก็ได้ แล้วแต่ความยาวของต้น
ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560
ภาพที่ 2.31 ต้นอ่อนผักบุ้ง
ที่มา : https://ch.lnwfile.com/_/ch/_raw/pj/nk/34.jpg
2-44
Floral Brochure
อาหารไทย Thai food.
อาหารไทย เป็นอาหารที่ประกอบด้วยรสเข้มข้นมีเครื่องปรุงหลายอย่างรสชาติอาหาร แต่ละอย่างมีรสเฉพาะตัวการใช้เครื่องปรุงรสต่างๆก็ไม่เหมือนกัน ต้องใช้ความชำ�นาญ และประสบการณ์ตลอดจนกรรมวิธีในการประกอบอาหารไทยผู้ทำ�จะต้องพิถีพิถัน ประณีต มีขั้นตอนเพื่อให้อาหารน่ารับประทาน
อาหารไทยแท้ คืออาหารที่คนไทยทำ�กัน มาแต่โบราณ ส่วนมากเป็นแบบง่ายๆ เช่น ข้าวแช่ ต้มโคล้ง แกงป่า น้ำ�พริก และหลน เป็นต้น
อาหารไทยแปลง คือ อาหารไทยที่แต่ง แปลงมาจากต่างประเทศ หรืออาหารไทยที่ รับมาจากต่างประเทศ เช่นแกงกะหรี่ แกง มัสมั่น แกงจืด ต้มจืด
สมัยสุโขทัย อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้ อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และวรรณคดี สำ�คัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท ที่ได้กล่าวถึงอาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าว เป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับข้าว ที่ ส่วนใหญ่ได้มาจากปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้ปรากฏคำ�ว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคำ�ว่า ข้าว หม้อแกงหม้อ ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและน้ำ�เต้า ส่วนอาหารหวาน ก็ใช้วตั ถุดบิ พืน้ บ้าน เช่น ข้าวตอกและน้ำ�ผึง้ ส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน
แห้ง หรือทำ�เป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภท เครื่องจิ้ม เช่นน้ำ� พริกกะปิ นิยมบริโภค สัตว์น้ำ�มากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ ใหญ่ ไม่นิยมนำ�มาฆ่าเพื่อใช้เป็นอาหาร ได้ มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ใช้เครื่อง เทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และเครื่องเทศแรงๆ ที่คาด ว่านำ�มาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาว ของเนื้อปลา
สมัยอยุธยา สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของ ไทย ได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศ มากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก จาก บันทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบ ว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยังคง มีปลาเป็นหลัก มีต้ม แกง และคาดว่ามี การใช้น้ำ�มันในการประกอบอาหารแต่เป็น น้ำ�มันจากมะพร้าวและกะทิ มากกว่าไขมัน หรือน้ำ�มันจากสัตว์มากขึ้น คนไทยสมัย นี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนำ�ไปตาก
สมัยธนบุรี จากหลักฐานที่ปรากฏใน หนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็นตำ�ราการทำ� กับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผู้หญิง เปลี่ยน ภาสกรวงษ์ พบความต่อเนื่อง ของวัฒนธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทัย มาถึงสมัยอยุธยา และสมัยกรุงธนบุรี และ ยังเชื่อว่าเส้นทางอาหารไทยคงจะเชื่อม จากกรุงธนบุรีไปยังสมัยรัตนโกสินทร์อาจ จะใส่กะทิหรือไม่ใส่ก็ได้
ที่มา: https://infothaifood.wordpress.com/2010/06/12/
2-45
ภาพที่ 2.32 ต้มยำ�กุ้ง
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368324
Floral Brochure
ความแตกต่างของอาหารไทย ระหว่างภูมิภาค อาหารไทยภาคเหนือ อาหารของภาคเหนือ ประกอบด้วยข้าวเหนียว น้ำ�พริกชนิดต่างๆ เป็นต้นว่า น้ำ�พริกหนุม่ น้ำ�พริกแดง น้ำ�พริก อ่อง นอกจากนั้นยังมีอาหารพื้นเมือง เช่น จิ้นปิ้ง แคบหมู และผักต่างๆ อาหารไทยภาคกลาง คนภาคกลางรับ ประทานอาหารทีม่ รี สกลมกล่อม มีรสหวาน นำ�เล็กน้อย วิธีการปรุงอาหารซับซ้อนขึ้น ด้วยการนำ�มาเสริมแต่ง หรือประดิดประดอย ให้สวยงาม เช่น น้ำ�พริกลงเรือ ซึ่งดัดแปลง มาจากน้ำ�พริกกะปิจัดให้สวยงามด้วยผัก แกะสลัก อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหารจะมีข้าวเหนียวนึ่งเป็นหลัก รับ ประทานกับลาบไก่ หมู เนื้อ หรือลาบเลือด ส้มตำ� ปลาย่าง ไก่ย่าง จิ้มแจ่ว ปลาร้า อาหารภาคนี้จะนิยมปิ้งหรือย่าง อาหารทุก ชนิดต้องรสจัด อาหารไทยภาคใต ้ อาหารของภาคใต้จะ ม รี สเผ ด็ มากกว่าภาคอ นื ่ ๆ แกงท มี ่ ชี อื ่ เส ยี งของภาคใต้ ค อื แกงเหล อื ง แกง ไตปลา เคร อื ่ งจ มิ ้ ก ค็ อื น้ ำ�บ ดู ู และม ี ผ กั สดหลายชน ดิ ประกอบ 2-46
Floral Brochure
การปรุงและวัสดุการปรุงอาหารไทย Thai cooking and cooking materials.
การเผา หมายถึง การใช้เตาถ่านไฟแรง โดยวางของทีจ่ ะเผาบนไฟเพือ่ ให้สขุ ข้างนอก หรือเพื่อให้มีกลิ่นหอมและรสอร่อยขึ้น เช่น เผาพริก หอม กระเทียม กุ้ง เป็นต้น
ภาพที่ 2.33 ปลาเผา
ที่มา : http://gis.pattaya.go.th/travelimage/PO0000011729/1024x768/ ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-47
Floral Brochure
การปิ้ง หมายถึง การใช้เตาถ่านไฟอ่อนใน กรณีนี้ต้องใช้ตะแกรงวางอาหารที่จะปิ้งจะ เป็นของที่สุกง่าย
ภาพที่ 2.34 หมูปิ้ง
ที่มา : http://www.maierandmaierphotography.com/wp-content/uploads/2013/03/friedที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-48
Floral Brochure
การย่าง หมายถึง ก็เช่นเดียวกับการปิ้ง ใช้เตาถ่านตะแกรงวางอาหาร เริม่ แรกใช้ไฟ แรงเพือ่ ให้เนือ้ สุกจากข้างนอกก่อน เมื่อสุก ข้างนอกให้ผ่อนไฟให้อ่อนลง
ภาพที่ 2.35 หมูย่าง
ที่มา : http://ilyaphoto.com/wp-content/uploads/2013/04/26.jpg
ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-49
Floral Brochure
การต้ม หมายถึง เป็นวิธีประกอบอาหาร โดยใช้หม้อ กับน้ำ� และเตาประเภทใดก็ได้ หม้อเลือกใช้ตามประเภทของอาหาร
ภาพที่ 2.36 ต้มยำ�กุ้ง
ที่มา : https://www.killingthyme.net/wp-content/uploads/2015/06/tom-yum-soup.jpg
ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-50
Floral Brochure
การลวก หมายถึง เป็นการทำ�ให้อาหารกึ่ง ดิบกึง่ สุข ต้มน้ำ�ให้เดือดก่อนใส่อาหารลงไป จากนั้นรีบตักขึ้นนิยมใช้กับเนื้อสัตว์ที่ต้อง การมายำ�หรือผักที่นำ�มาทานกับน้ำ�พริก
ภาพที่ 2.37 ปลาดอลลี่อลวกจิ้มซีฟู้ด
ที่มา : http://healthymealthailand.com/wp-content/uploads/2016/08/s008-%E0%B8%9B ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-51
Floral Brochure
การนึ่ง หมายถึง เป็นการทำ�ให้สุกโดย การใช้ไอน้ำ� อุปกรณ์ที่จำ�เป็นคือ ซึ้ง เพื่อ ให้ไอน้ำ�ร้อนอบอวลอยู่ภายในการอบให้สุก
ภาพที่ 2.38 ปูนึงนมสด
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=30XoY2VRRxg ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-52
Floral Brochure
การตุ๋น หมายถึง คล้ายนึ่ง แต่ใช้เวลานาน กว่าการนึ่ง และใช้เพื่อต้องการให้อาหาร เปื่อย โดยเฉพาะเนื้อสัตว์กับผัก
ภาพที่ 2.39 การตุ๋น
ที่มา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a9/Making_stock_for_pho_bo.jpg ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-53
Floral Brochure
การแกง หมายถึง ปรุงอาหารโดยผสม เครื่องแกงใส่ลงไปในน้ำ� มีเนื้อสัตว์และผัก อาจจะใส่กะทิหรือไม่ใส่ก็ได้
ภาพที่ 2.40 แกงแดงไก่
ที่มา : http://tonyhanscomb.com/wp-content/uploads/019Food-.jpg ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-54
Floral Brochure
การทอด หมายถึง ทำ�อาหารให้สุกหรือ กรอบด้วยน้ำ�มัน อุปกรณ์ที่ใช้คือ กระทะ นำ�้มัน การทอดเนื้อสัตว์ต้องรอให้น้ำ�มัน ร้อนจัดก่อนแล้วใส่อาหารลงไป
ภาพที่ 2.74 ปลาทอดน้ำ�ปลา
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=9-PkXAkktJI ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-55
Floral Brochure
การผัด หมายถึง ทำ�ให้สุกโดยใช้กระทะ ใส่น้ำ�มันเล็กน้อย จากนั้นใส่เนื้อสัตว์ตาม ด้วยผัก ให้ไฟแรงผัดเร็วๆ การจี่ หมายถึง คล้ายการทอด แต่ใช้ น้ำ�มันน้อย ใช้กระทะแบน ไฟอ่อน
ภาพที่ 2.42 ผัดไทย
ที่มา : https://i.pinimg.com/originals/e0/73/ba/e073ba48414f0d4ea1ae781d43ac7b7f. ที่มา: หนังสือ แกะรอยสำ�รับไทย
2-56
Floral Brochure
การออกแบบอาคาร Building design.
อาคารมีขนาดเหมาะสม มีการ ออกแบบและก่อสร้างในลักษณะง่ายต่อ การทะนุบำ� รุง รักษาความสะอาด และ สะดวกในการปฏิบัติงาน
โครงสร้างพืน้ ผิวของผนังและเพดาน อาคาร -พื้นผิวควรซิลปิด และเรียบ ทนต่อการ
โครงสร้างประตูอาคาร -ประตูทุกบานต้องปิดได้แน่สนิทและมีการ
สุขภิบาล -น้ำ�ที่ใช้ภายในอาคารต้องเป็น
-พื้นผิวควรปราศจากรอยร้าวและเสียหาย
โครงสร้างพื้นผิวปฏิบัติงาน -พื้นผิวปฏิบัติงานทุกที่ควรสร้างจากวัสดุ
น้ำ�สะอาดและจัดให้มีการปรับปรุงคุณภาพ น้ำ�ตามความจำ�เป็น -จัดให้มีห้องส้วม และอ่างล้าง มือหน้าห้องส้วมให้เพียงพอสำ�หรับผูป้ ฏิบตั ิ งานและผู้ใช้บริการที่ถูกสุขลักษณะ มีอุป กรณ์ล้างมืออย่างครบถ้วน -จัดให้มีทางระบายน้ำ�ทิ้งและ สิ่งโสโครกอย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนกลับเข้าสู่การ ผลิตอาหาร ที่มา :
http://www.foodnetworksolution.com/ 2560
โครงสร้างอาคาร
ส่วนผลิตอาหารควรสร้างอย่างแข็งแรง จากวัสดุที่ทนทาน ง่ายต่อการบำ�รุงรัก ษา ความสะอาด และสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะตามสภาพเฉพาะทีก่ ำ�หนดต่อไปนี้ เพื่อความปลอดภับและความเหมาะสมต่อ การบริโภคอาหาร -พื้นผิวของผนัง -พื้น -เพดานและอุปกรณ์ตดิ เพดาน -หน้าต่าง -ประตู -พื้นผิวปฏิบัติงาน
2-57
ดูดซับน้ำ�และล้างง่าย
-ร่อยต่อควรมีซลิ ปิดและฉาบให้เป็นมุมโค้ง -ป้องกันพื้นผิวที่ไวต่อการเสียหาย เช่น ท่อหรือท่อลมที่ติดตั้งผ่านทาง ผนังและเพดานควรได้รับการซิลปิด
โครงสร้างพื้นอาคาร -ไม่ดูดซับความชื้นและทนทานต่อสารเคมี และอาหาร
-ความลาดเอียงของพื้นเหมาะสมต่อการ ไหลสู่ช่องระบายน้ำ� -ออกแบบเพือ่ ลดการตกค้างของน้ำ� -ระบบระบายน้ำ�ควรออกแบบให้มีการ ไหลจากบริเวณมีความเสี่ยงสูงสู่บริเวณ ที่มีความเสี่ยงต่ำ�โดยไม่ไหลย้อนกลับ
โครงสร้างหน้าต่างอาคาร -หน้าต่างที่เปิดสูภายนอกที่อยู่ใกล้พื้นที่ การผลิตควรมีการติดตะแกรงอย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการเข้ามาของ แมลง
-หน้าต่างบริเวณการผลิตไม่ควรเป็นแก้ว -หากเป็นแก้วควรป้องกันการแตก หรือหุม้ ด้วยฟิลม์
ที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/ 2560
ติดตั้งสิ่งป้องกันแมลงและสัตว์
ที่เหมาะสม โดยไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยของอาหาร -พื้นผิวทนต่อการดูดซับน้ำ� ง่ายต่อการ ทำ�ความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค -พืน้ ผิวไม่ควรทาสีและเคลือบด้วยวัสดุท่ี ย่อยสลายง่ายและก่อให้เกิดความเสีย่ งทาง กายภาพ
การเลือกใช้โครงสร้างเหล็ก ควรเป็นเหล็กกล่อง หรือเหล็กรูปตัวแอล โดยทิศของการวางเหล็กควรให้คว่ำ�ลง เพื่อไม่ให้ฝุ่นสะสมได้
แสงสว่าง บริเวณที่ทำ�การผลิตควรมีแสงสว่างเพียง พอสำ�หรับการปฏิบัติงานให้ถูกต้องและ ถูกสุขลักษณะ หลอดไฟควรมีการป้องกัน ที่เหมาะสมเพื่อไม่แตกกระจายจนปนเปื้อน กับอาหาร
การกำ�จัดของเสีย -สิ่งปฏิกูลต้องแยกออกจากพื้นที่การ ผลิตตามระยะเวลาที่เหมาะสม
Floral Brochure
ภาพที่ 2.43 ห้องครัว
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
2-58
Floral Brochure
ภาพที่ 2.44 พื้นที่อาคาร
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/jeff_green/all/532796
2-59
Floral Brochure
กฎหมายควบคุมอาคาร Building Laws.
การปฏิบัติเพื่อป้องกัน หรือลดความเสี่ยงของอันตรายที่เกิดขึ้นระหว่าง การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการ จัดการหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลิตผลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และเหมาะสมต่อการบริโภค
คำ�จำ�กัดความประเภทอาคาร
-“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถาน บริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น -“อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตาราง เมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้น ดาดฟ้า สำ�หรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
ลักษณะของพื้นที่ภายในอาคาร
- อาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สำ�นักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ต้องมีความกว้างช่องออาคารไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร - ห้องที่ใช้เป็นสำ�นักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.00 เมตร - ห้องขายสินค้า ห้องประชุม ห้องคนไข้รวม คลังสินค้า โรงครัว ตลาด และอื่น ๆ ที่คล้ายกัน 3.50 เมตร
บันได
- บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจำ�นวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยายที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือ บันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่าง น้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร - บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรือน้อยกว่านั้น และระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชานพัก บันได ถึงส่วนต่ำ�สุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดต้องมีความกว้างและความยาวไม่น้อยกว่าความกว้างสุทธิของบันได เว้นแต่บันไดที่ มีความ กว้างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดจะมีความยาวไม่เกิน 2 เมตรก็ได้
บันไดหนีไฟ
- อาคารที่สูงตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูงสามชั้นและมีดาดฟ้าเหนือชั้นที่สามที่มี พื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมีบันไดหนีไฟที่ทำ�ด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึ่งแห่ง และต้องมี ทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง - บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่วนที่บันได หนีไฟพาดผ่าน เป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ - พื้นหน้าบันไดหนีไฟต้องกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันไดและอีกด้านหนึ่งกว้างไม่น้อยกว่า
1.50 เมตร 2-60
การศึกษากรณีตัวอย่าง
Floral Brochure
Case study.
Ilimelgo Reimagines Future of Urban Agriculture in Romainville อนาคตของการเกษตรใน เมืองที่มีความซับซ้อนของเกษตรแนว ตั้งในย่านชานเมืองของกรุงปารีส การผลิตผลผลิตการเกษตรผ่านเรือน กระจก 1000 ตารางเพื่อเพิ่มแสงแดด และระบายอากาศตามธรรมชาติ ให้ผู้ คนได้ตระหนักถึงพื้นทีก่ ารเกษตร ทีล่ ดลงของโลกในการพัฒนาโครงการ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความ ต้องการที่เพิ่มขึ้น และสำ�หรับการเพาะ ปลูกพืชในสภาพแวดล้อมของเมือง
ที่มา: http://www.archdaily.com/tag/ urban-farming
ภาพที่ 2.45 Ilimelgo Reimagines Future of Urban Agriculture in Romainville ที่มา: http://www.archdaily.com/tag/urban-farming
2-61
Floral Brochure
ภาพที่ 2.46 การระบายอากาศของอาคาร ที่มา: http://www.archdaily.com/tag/urban-farming
ภาพที่ 2.47 perspective ที่มา: http://www.archdaily.com/tag/urban-farming
2-62
offices of Pasona
Floral Brochure
ภาพที่ 2.48 Offices of Pasona
ที่มา : https://www.archdaily.com/428868/in-tokyo-a-vertical-farm-inside-and-out
ภาพที่ 2.49 บรรยากาศในตัวอาคาร
ที่มา : https://www.archdaily.com/428868/in-tokyo-a-vertical-farm-inside-and-out
2-63
Floral Brochure
ภาพที่ 2.50 ปลูกข้าวในอาคาร
ที่มา : https://www.archdaily.com/428868/in-tokyo-a-vertical-farm-inside-and-out
ภาพที่ 2.51 แสงที่ใช้เลี้ยงผักมีประโยชน์ต่อฟังก์ชันอื่น
ที่มา : https://www.archdaily.com/428868/in-tokyo-a-vertical-farm-inside-and-out
2-64
Urban Garden and Housing
ภาพที่ 2.52 Urban Garden and Housing ที่มา : http://www.archdaily.com/867338/
2-65
Floral Brochure
Floral Brochure
ภาพที่ 2.53 ปลูกผักไว้บริโภคภายในโครงการ ที่มา : http://www.archdaily.com/867338/
ภาพที่ 2.54 DIAGRAM ปริมาณพื้นที่สีเขียวของโครงการ ที่มา : http://www.archdaily.com/867338/
2-66
Floral Brochure
ภาพที่ 3.1 แยกอโศก ที่มา : http://findyourspacesea.blob.core.windows.net/images/
3-1
Floral Brochure
บทที่3 การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.1 ลักษณะโครงการ Project characteristics.
ล ักษณะโครงการ ศูนย์พฒ ั นาเกษตรอินทรียแ์ ละครัวไทย ทางเลือก เป็นโครงการที่ผลิตผักและ อาหารออร์แกนิกให้สำ�หรับคนเมืองให้ สามารถเข้าถึงอาหารสุขภาพและปลอด สารเคมีได้มากขึน้ อีกทัง้ ยังให้ความรู้ ด้านสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
03
Floral Brochure
3.2 ความเป็นมาของจังหวัดที่ตั้งโครงการ Background of the province.
ข้อมูลด้านกายภาพจังหวัด กรุงเทพมหานคร 3.2.1
กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้ง หมด 1,568.74 ตารางกิโลเมตร ความหนาแน่นของประชากรในกรุงเทพฯ 3,631.20 คน/ตารางกิโลเมตร กรุงเทพฯมีจำ�นวนประชากร ชาย 2,695,051 คน ประชากรหญิง 3,001,212 คน รวมทั้งหมด มี ประชากรทั้งหมด 5,696,409 คน 2,753,972 ครัวเรือน ที่มา :
http://www.bangkok.go.th/info/ 2560
3.2.2
ภูมิศาสตร์ทั่วไป
กรุงเทพมหานคร ลักษณะ ภูมิประเทศส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะกับการเพาะปลูก สภาพพื้นที่ใน กรุงเทพมหานครมีลักษณะเป็นอ่างอยู่ ทั่วไป มีอัตราการทรุดตัวของผิวดิน สูง จึงท้าให้มีน้้าท่วมเสมอในฤดูฝน ของแต่ละปี สภาวะน้้าท่วมบางปีครอบ คลุมอาณาบริเวณกว้างขวางเกือบทุก ส่วนของกรุงเทพมหานคร และ ท่วม เป็นระยะเวลายาวนาน ก่อให้เกิดความ เสียหายมากมาย มีแม่น้้าเจ้าพระยา ซึ่งเป็นแม่น้้าที่ส้าคัญสายหนึ่งของ ประเทศไทยไหลผ่านกลางตัวเมืองสู่ อ่าวไทย และมีล้าคลองใหญ่น้อยหลาย สายกระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของกรุง เทพมหานคร
3.2.3 ลักษณะอากาศทั่วไป
อยู่ภายใต้อิทธิพลของ มรสุม 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งพัดจากทิศตะวันออก เฉียงเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนาว ท้า ให้กรุงเทพมหานครมีอากาศหนาวเย็น และแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ปกคลุมในช่วงฤดูฝน ท้าให้อากาศชุ่มชื้นและมีฝนตกทั่วไป
3.2.4 ฤดูกาล
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลาง เดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศ จีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแห้งจะแผ่ลง มาปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้ แต่ เนื่องจากกรุงเทพมหานครตั้งอยู่ทาง ตอนล่างของภาคกลางอิทธิพลของ บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศ จีนที่แผ่ลงมาปกคลุมในช่วงฤดูหนาว จะช้ากว่าภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ท้าให้มีอากาศหนาวเย็น ช้ากว่าสองภาคดังกล่าว โดยเริ่ม มีอากาศหนาวประมาณกลางเดือน พฤศจิกายนเป็นต้น
ที่มา: climate.tmd.go.th/data/province/ 2560
3-3
ฤดูร้อน เริ่มเมื่อมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงคือประ มาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลาง เดือนพฤษภาคม ในระยะนี้เป็นช่วงว่าง ของฤดูมรสุม จะมีหย่อมความกดอากาศ ต่อเนือ่ งจากความร้อนปกคลุมประเทศ ไทยตอนบน และลมที่พัดปกคลุม บริเวณดังกล่าวเป็นลมใต้และตะวัน ออกเฉียงใต้ ท้าให้มีอากาศร้อน อบอ้าวทั่วไป โดยมีอากาศร้อนที่สุดใน เดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลาง เดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นลมที่พัดจากมหาสมุทรอินเดีย น้าฝนและความชุ่มชื้นเข้ามายังประเทศ ไทย ประกอบกับ ร่องความกดอา กาศต่้าที่พาดผ่านบริเวณภาคใต้ของ ประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผ่าน บริเวณภาคกลางและภาคเหนือเป็น ลำ�ดับในระยะนี้ ท้าให้มีฝนตกชุกขึ้น ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้น ไป โดยเดือนที่มีฝนตกชุกมากที่สุดใน รอบปีคือเดือนกันยายน และเป็นช่วง ที่มีความชื้นสูง
3.2.5 อุณหภูมิ
กรุงเทพมหานคร อยู่ บริเวณภาคกลางตอนล่าง มีพื้นที่ส่วน ใหญ่เป็นที่ราบลุ่มน้้าท่วมถึง พืชพรรณ ปกคลุมดินมีไม่มากนัก เนื่องจากปัจจุบันการใช้ ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น สิง่ ก่อสร้างขนาดใหญ่แทนพืน้ ทีเ่ กษตร กรรม จึงมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงและ อากาศร้อนอบอ้าวมากในฤดูร้อน ส่วน ในฤดูหนาวไม่หนาวจัดมากนัก มี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 28-30 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 3234 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่้าสุด เฉลี่ย 24-26 องศาเซลเซียส โดยมี อากาศร้อนจัดอยู่ในเดือนเมษายนและ พฤษภาคม 3.2.6 ฝน
พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ของกรุงเทพ มหานครมีปริมาณฝนรวมปกติอยู่ ระหว่าง 1,400 – 1,600 มิลลิเมตร เว้นแต่บริเวณตอนกลางของจังหวัด ที่มีปริมาณฝนมากกว่า 1600 มิลลิ เมตร โดยเฉพาะเขตคลองเตยมีฝน ชุกและมีปริมาณฝนมากกว่าพื้นที่อื่นๆ โดยมีปริมาณฝนรวมตลอดปีสูงกว่า 1600 มิลลิเมตร
Floral Brochure
ภาพที่ 3.2 กรุงเทพมหานคร
ที่มา : https://www.google.co.th/maps
3-4
Floral Brochure
asoke
ภาพที่ 3.3 บรรยากาศย่านอโศก ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3-5
Floral Brochure
ภาพที่ 3.4 บรรยากาศย่านอโศก ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3.3 ความเป็นมาของย่านอโศก History of Asoke district.
อโศกเป็นย่านเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนาน แต่หากพูดถึงความเป็นย่านอโศก จริงๆ น่าจะเริ่มต้นตั้งแต่ยุคที่มีการตัด ถนนผ่านย่านนี้ซึ่งเดิมทีถนนสายหลักนี้มี ชื่อเรียกตามปกติว่า “ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)” ต่อมาทางกรุงเทพมหานคร ได้เปลี่ยนชื่อถนนสายนี้เป็น “ถนนอโศก มนตรี” เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2547 ตามข้อเสนอของมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่พระอโศก มนตรี (เรียม เศวตเศรณี) ข้าราชการใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งท่านเป็นหนึ่งในผู้อุทิศที่ดินรายหลักเพื่อ สร้างถนนสายนี้ขึ้นมา
ความสำ�คัญของย่านอโศกอีกอย่างก็ คือการตัง้ อยูใ่ นเขตวัฒนาทีเ่ ดิมนัน้ คือส่วน หนึ่งของเขตคลองเตย ทางกรุงเทพมหา นครได้มีการแบ่งเขตขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.2541 โดยเปลี่ยนพื้นที่เดิมซึ่งถูกเรียกว่าเขต คลองเตย สาขา 1 ให้เป็นเขตวัฒนา โดยชื่อนี้นั้นยังได้รับพระราชทานมาจาก สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
3-6 ที่มา: http://www.culturedcreatures.co
Floral Brochure
ภาพที่ 3.5 skywalk Terminal - BTS
ที่มา : https://www.livinginsider.com/inside_topic/1309/
3-7
Floral Brochure
อโศก ถือเป็นย่านที่เป็นหัวใจหลักของ กรุงเทพ ที่นี่คือศูนย์กลางการคมนาคม หลักจุดหนึง่ ของเมืองหลวงเลยก็วา่ ได้ โดย เฉพาะบริเวณแยกอโศก ซึ่งเป็นสี่แยกหลัก ใจกลางกรุง ศูนย์รวมของการคมนาคม อันทันสมัยสะดวกสบายหลากหลายรูป แบบ ทีท่ ง้ั ชาวไทยและชาวต่างชาติเลือกพัก อาศัย กินอยู่เที่ยวทำ�งานกันอยู่บริเวณนี้ เริม่ ต้นด้วยการเป็นจุดบรรจบกันของถนน หลัก 3 สาย คือ ถนนอโศกมนตรี ถนนรัชดา ภิเษก และ ถนนสุขุมวิท ทำ�ให้ซอกซอย เส้นทางต่างๆ สามารถนำ�เราไปยังย่าน สำ�คัญทั่วกรุงเทพได้อย่างสะดวก ตามมา ด้วยการเป็นศูนย์เชื่อมการเดินทางของ รถไฟฟ้าสองสายทั้ง BTS และ MRT ซึ่ง
ที่มา: https://www.plus.co.th/ 2560
นับวันจะยิง่ ขยายโครงข่ายเส้นทางไกลออก ไปทั่วทั้งมหานคร เป็นทางเลือกที่รวดเร็ว สะดวกสบาย ช่วยให้เราบริหารเวลาได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย แถมการ เดินทางเชื่อมต่อไปยัง Airport Link ก็ ง่ายและใกล้เพียงนิดเดียว ทำ�ให้การเดิน ทางสู่ต่างประเทศไม่เป็นปัญหาอีกต่อไป ข้อได้เปรียบของทำ�เลอโศกอีกอย่างก็คือ การมีตรอกซอกซอยที่หลากหลายให้เรา สามารถเลือกเส้นทางลัดเลาะเพื่อเลี่ยงการ จราจรในบางจุด หรือไม่ก็อาจเป็นวิธีที่ ทำ�ให้เราไปถึงยังจุดหมายได้เร็วขึ้น ทำ�ให้ อโศกกลายเป็น Hub of Bangkok ศูนย์ กลางของเมืองหลวงที่สำ�คัญอย่างแท้จริง ด้วยศักยภาพของทำ�เลที่ดีเยี่ยมนี้จึงทำ�ให้
อโศกกลายเป็นศูนย์รวมของหลากหลายสิง่ นอกจากจะเป็นย่านธุรกิจสำ�คัญที่เต็มไป ด้วยบริษัทชั้นนำ�ต่างๆ มากมาย ย่านนี้ยัง เต็มไปด้วยแหล่งไลฟ์สไตล์มรี ะดับอีกหลาก หลายเช่นกัน รวมไปถึงเป็นแหล่งที่ตั้งของ โรงแรมหรูหราระดับสากลอีกหลายแห่ง แวดล้อมไปด้วยร้านอาหารชั้นเยี่ยม คาเฟ่ บรรยากาศดีๆ ตลอดจนแหล่งผักผ่อน หย่อนใจหลากหลายประเภททีใ่ ห้เราสามารถ ใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขตลอดทั้งวัน ตั้งแต่มีการพัฒนาโครงข่ายรถไฟฟ้าสาย สีเขียวและสายสีน้ำ�เงินก็ทำ�ให้ย่านอโศก กลายเป็นสถานี Interchange ที่สำ�คัญที่สุด และมีปริมาณการใช้บริการเป็นอันดับที่ สองของกรุงเทพมหานคร รองจากสถานี “สยาม” 3-8
Floral Brochure
3.4 ชีวิตในแบบฉบับ “อโศก” Life of Asoke.
3.4.1 ช่วงเช้า
ภาพความวุน่ วายของอโศก ตัง้ แต่เช้าจรดเย็นคงน่าจะเป็นอะไรทีช่ นิ ตา กิจวัตรประจำ�วันย่านอโศกในแต่ละ วันเริ่มตั้งแต่เช้าเราจะเห็นเหล่ามนุษย์ เงินเดือนที่เดินทางมาจากทุกสารทิศ ไม่ว่าจะด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล รถรับ จ้าง ระบบขนส่งมวลชน ทั้งทางรถ ทางราง และทางเรือ รวมไปถึงการ เดินเท้า ทำ�ให้ช่วงเวลาตั้งแต่ 8.30 – 9.00 น. จะมีผู้คนพลุกพล่านมากใน เส้นอโศก เพราะทุกคนต่างรีบเร่งเพื่อ ไปยังที่ทำ�งานของตัวเองให้ทันเวลา
ภาพที่ 3.6 ช่วงเช้า
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3-9
3.4.2 ช่วงเที่ยง
ช่วงเทีย่ งของวันเป็นอีกหนึง่ ช่วงเวลาที่อโศกจะกลับมาคึกคักอีก ครั้ง เนื่องจากพนักงานบริษัทจะลง มาทานอาหารกลางวัน ทำ�ให้พื้นที่ ขายอาหารหนาแน่นไปด้วยพนักงาน จากทั้ง 18 อาคารสำ�นักงาน ซึ่งรวม กันแล้วมีมากถึงกว่า 100 บริษัทโดย ประมาณ โดยจุดหลักก็จะมีบริเวณ ข้างอาคารเสริมมิตรฝั่งซอยอโศก 1 บริเวณตึกมิดทาวน์ ที่มีแบรนด์ฟาสต์ ฟู้ด ทั้งญี่ปุ่น ไทย และต่างประเทศ มากมาย แต่ที่ได้รับความนิยมมาก ที่สุดคงเป็นตลาดรวมทรัพย์ ที่มีครบ ทุกเมนูอาหาร ทั้งเจ้าดัง เจ้าใหม่
เจ้าเก่า จบในที่เดียว แต่อาจติดร้อน นิดหน่อย อีกทั้งยังมีตลาดสุขตาตรง ข้ามตลาดรวมทรัพย์ ที่มีที่นั่งทานแบบ 2 ชั้น หรือจะทะลุไปหลังตึกแกรมมี่ก็มี โรงอาหารของมศว. เป็นอีกหนึ่งทาง เลือกของคนที่ไม่ชอบความวุ่นวาย หากคนที่ต้องการของอร่อย และราคา ถูก แอร์เย็นสบาย ชั้น Food Court Terminal 21 ก็เป็นอีกหนึ่งตัวเลือก ชั้นดี แต่อาจจะต้องใช้ความสามารถใน การหาที่นั่งสักนิดเพราะมีผู้คนทั้งชาว ไทย และชาวต่างชาติ รวมไปถึงนัก ท่องเที่ยวแวะเวียนกันมาทานอาหารที่ นี่กันเป็นจำ�นวนมาก
3.4.3 ช่วงเย็น
เมื่อถึงยามเย็นก็เป็นเวลา เลิกงานพนักงานก็จะเริม่ ทยอยออก จากออฟฟิศตัง้ แต่เวลา 17.30 น. บ้าง ก็มุ่งหน้าไปยังรถไฟฟ้าเพื่อหลีกเลี่ยง ช่วงไพร์มไทม์ของเวลาเลิกงาน ที่จะ เริ่มหนาแน่นตั้งแต่เวลา 18.20 น. ยาว ไปจนถึงเกือบ 3 ทุ่มของทุกวัน ทำ�ให้ หลายๆ คนที่เลิกงานเวลาหกโมงเย็น ต้องรีบทำ�เวลาเพื่อให้ไปถึงสถานีรถไฟ ก่อนช่วงไพร์มไทม์ เพราะใครที่ไปหลัง หรือติดอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าวอาจจะ ต้องรอรถไฟ 2-3 ขบวน
Floral Brochure
ภาพที่ 3.7 ช่วงเที่ยง (ร้านย่งหลี่)
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
ภาพที่ 3.8 ช่วงเย็น (กลับบ้าน)
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3-10
Floral Brochure
ภาพที่ 3.9 ผังสีกรุงเทพฯ
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3-11
Floral Brochure
3.5 ผังสี ขนาด และขอบเขตที่ตั้งโครงการ Comprehensive Plan, size, and scope of the project location.
ภาพที่ 3.10 แสดงระยะร่นและระยะปาด
พื้นที่สีแดง (พ.๕-๔) ประเภทพาณิชยกรรม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน อัตราส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
10:1
ร้อยละ3
3-12
Floral Brochure
3.6 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ Site Analysis.
3.6.1 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง
3-13
Floral Brochure
3-14
Floral Brochure
transportation 3-15
Floral Brochure
office building 3-16
Floral Brochure
traffic ภาพที่ 3.11 การจราจร
3-17
access
ภาพที่ 3.12 การเข้าถึง
pollution ภาพที่ 3.13 มลพิษใกล้โครงการ
orientation ภาพที่ 3.14 ทิศทางแดด ลม ฝน
Floral Brochure
ภาพที่ 3.15 ตำ�แหน่งไซต์
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co
3-18
Floral Brochure
ภาพที่ 4.1 restaurant ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/andy_mahr/
4-1
Floral Brochure
บทที่4 รายละเอียดโครงการ 4.1 ความเป็นมาโครงการ Project characteristics.
ปัญหาสุขภาwของคนไทย เกิดจากการกินเพิม่ มากขึน้ ทัง้ โรคอ้วน ความดัน โลหิตสูง คอเลสเตอรอลใน เลือดสูง การบริโภคผักและผลไม้ทไ่ี ม่ เพียงพอ ทำ� ให้ เกิดโรคต่างๆตามมา ปัจจุบนั กระแสการรักสุขภาพ เริม่ ได้รบั ความนิยมมากขึน้ พฤติกรรม เหลา่ นน้ั ยังส่งผลมาถึงการเลือกรับประ ทานอาหารคลีนและอาหารออร์แก นิกจึงเกิด อาหารไทยรูปแบบใหม่ที่ มีผักปลอดสารพิษและสมุนไพรก็จะ เป็นวัตถุดิบหลัก จึง ทำ�ให้เกิด “ศูนย์ พัฒนาเกษตรอินทรีย์และครัวไทยทาง เลือก” เทรนด์อาหารเพื่อ สุขภาพนี้จะ เติบโตและคนไทยสามารถเข้าถึงอาหาร ออแกนิคได้มากขึ้น
04
Floral Brochure
4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
4.3 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ
Objective of the project.
Benefit from the project.
.2.1 เพือ่ เพิม่ ทางเลือกการรับประทาน 4 อาหารสุขภาพให้กับคนไทย 4.2.2 เพื่อเป็นพื้นที่สำ�หรับนวัตกรรม การเกษตร 4.2.3 เพื่อเพิ่มมูลค่าอาหารไทย .2.4 เพื่อสนับสนุนให้คนมีสุขภาพที่ดี 4 ขึ้น 4.2.5 เพือ ่ เป็นพืน้ ทีส่ ำ�หรับคนรักสุขภาพ
.3.1 เป็นทางเลือกการรับประทาน 4 อาหารสุขภาพให้กับคนไทย 4.3.2 เป็นพื้นที่สำ�หรับนวัตกรรมการ เกษตร 4.3.3 มูลค่าอาหารไทยเพิ่มขึ้น .3.4 คนเมืองมีสุขภาพที่ดีขึ้น 4 4.3.5 เป็นพืน ้ ทีส่ ำ�หรับคนในเมืองทีร่ กั สุขภาพ
ที่มา: climate.tmd.go.th/data/province/ 2560
4-3
Floral Brochure
ภาพที่ 4.2 kitchen
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/andy_mahr/all
4-4
Floral Brochure
4.4 กำ�หนดโครงสร้างการบริหารงานโครงการ Define the structure of project management.
โครงการศูนย์พฒ ั นาเกษตรอินทรียแ์ ละครัวไทยทางเลือกเป็นพืน้ ทีส่ ำ�หรับ กิจกรรมเพือ่ สุขภาพสำ�หรับคนเมืองทีร่ บี เร่งในการใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน โดยการรวม กิจกรรมเพือ่ สุขภาพมาไว้ในทีเ่ ดียว ซึง่ เรือ่ งความสะอาดและความปลอดภัยจึงเป็นสิง่ ทีจ่ ำ�เป็นสำ�หรับผูใ้ ช้โครงการหลัก จำ�เป็นต้องมีผดู้ แู ลเกีย่ วกับความสะอาด และความ ปลอดภัยของพืน้ ทีแ่ ปลงผัก เพือ่ เป็นผลผลิตทีด่ สี ำ�หรับผูใ้ ช้โครงการ
•
เจ้าหน้าที่ประจำ�โครงการ
•
เจ้าหน้าที่ส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการประสานงานและประเมินผล
•
วิทยากรและเจ้าหน้าที่พิเศษ
ภาพที่ 4.3 kitchen
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/andy_mahr/all
Organization Chart
ภาพที่ 4.4 Bar&Restaurant
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
4-5
Floral Brochure
ศูนย์พัฒนาเกษตรอินทรีย์และครัวไทยทางเลือก
คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารโครงการ รองผู้บริหาร
ฝ่ายธุรการ
ฝ่ายทะเบียนสถิติ
เลขานุการ
ฝ่ายบัญชีการเงิน
ฝ่ายผลิตและโภชนาการ
ฝ่ายอาคารสถานที่
ฝ่ายซ่อมบำ�รุง
•
เจ้าหน้าที่ธุรการ
•
เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
•
เจ้าหน้าที่บัญชี
•
เจ้าหน้าที่ฝ่ายตรวจเช็ค
•
เจ้าหน้าที่อาคาร
•
ช่างไฟฟ้า
•
เจ้าหน้าที่เอกสาร
•
เจ้าหน้าที่ทะเบียน
•
เจ้าหน้าที่การเงิน
•
เจ้าหน้าที่โภชนาการ
•
เจ้าหน้าที่อุปกรณ์
•
ช่างทั่วไป
•
เจ้าหน้าที่บุคคล
•
เจ้าหน้าที่เอกสาร
•
เจ้าหน้าที่การตลาด
•
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสุภาพ
•
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
•
เจ้าหน้าที่ทำ�ความสะอาด
•
เจ้าหน้าที่พัสดุ
•
เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย
•
เจ้าหน้าที่ฝ่ายซื้อ
4-6
Floral Brochure
4.5 การวิเคราะห์อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่ Staff Analysis.
อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่
หน้าที่
จำ�นวน
ส่วนบริหาร 1.1 ผูอ ้ ำ�นวยการ
- ผูบ ้ ริหารและเป็นหัวหน้ารับผิดชอบงานภายในโครงการทัง้ หมด
1.3 เลขานุการ
- ปฏิบัติตามหน้าที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร
1.2 รองผู้อำ�นวยการ
- ความคุมงานต่างๆ
รองจากผู้อำ�นวยการ
1 1 1
ส่วนเจ้าหน้าที่โครงการ 2.1 ฝ่ายบัญชี
-หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.2 ฝ่ายบุคคล -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.3 ฝ่ายธุรการ -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.4 ฝ่ายการตลาด -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่
4-7
- รับผิดชอบดูแลและตรวจสอบบัญชี
1
- ทำ�บัญชีและทะเบียนวัสดุในการตรวจรับสินค้า
1
- รับผิดชอบติดต่อประสานงาน
1
- จัดทำ�เอกสารและดำ�เนินงานติดต่อ
1
- รับผิดชอบงานสารบัญ
1
- รับผิิดชอบงานรับ-ส่งหนังสือ
จัดพิมพ์เอกสาร
1
- รับผิดชอบต่อการดำ�เนินงานวางแผนการตลาด
1
- จัดทำ�เอกสารดำ�เนินงานวางแผนการตลาด
1
Floral Brochure
อัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่
หน้าที่
จำ�นวน
ส่วนเจ้าหน้าที่โครงการ 2.5 ฝ่ายอาคารสถานที่
-หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ -รักษาความปลอดภัย -นักการภารโรง 2.6 ฝ่ายงานประชาสัมพันธ์ -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.7 ฝ่ายผลิต -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.8 ฝ่ายโภชนาการ -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ 2.9 ฝ่ายเทคนิค -หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่
- ควบุมดูแลจัดการสถานที่
1
- ดูแลความปลอดภัย
1
- รับผิดชอบงานจัดซื้อ
จัดจ้าง พัสดุ ควบคุม
1
- ดูแลความสะอาด
2
- รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์
1
- จัดทำ�เอกสารเผยแพร่ข้อมูลในโครงการ
1
- ควบคุมการผลิตในโครงการ
1
- ควบคุมสินค้าโภชนาการ
1
- จัดเก็บคัดแยก
- รับออร์เดอร์
บรรจุผลผลิตสินค้า
ดูแลและจัดส่งสินค้า
- รับผิดชอบและดูและงานด้านเทคนิคทัง้ หมด - ดูแล
และซ่อมบำ�รุงงานเทคนิคในโครงการ
2
3 1 1
4-8
Floral Brochure
user behavior ภาพที่ 4.5 การเดินทางในย่านอโศก
ภาพที่ 4.6 ช่วงทำ�งาน
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co/%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%A8%E0
4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้โครงการ User Analysis.
ที่มา : https://news.mthai.com/
07.00-9.00 4.7.1 ช่วงเช้า
ภาพความวุน่ วายของอโศก ตัง้ แต่เช้าจรดเย็นคงน่าจะเป็นอะไรทีช่ นิ ตา กิจวัตรประจำ�วันย่านอโศกในแต่ละ วันเริ่มตั้งแต่เช้าเราจะเห็นพนักงาน บริษัทที่เดินทางมาจากทุกสารทิศ ไม่ ว่าจะด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล รถรับ จ้าง ระบบขนส่งมวลชน ทั้งทางรถ ทางราง และทางเรือ รวมไปถึงการ เดินเท้า ทำ�ให้ช่วงเวลาตั้งแต่ 8.30 – 9.00 น. จะมีผู้คนพลุกพล่านมากใน เส้นอโศก เพราะทุกคนต่างรีบเร่งเพื่อ ไปยังที่ทำ�งานของตัวเองให้ทันเวลา 4-9
ภาพที่ 4.7 Bar&Restaurant
ที่มา : http://www.culturedcreatures.co/%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%A8%E0
09.00-12.00 4.7.2 ช่วงเที่ยง
ช่วงเทีย่ งของวันเป็นอีกหนึง่ ช่วงเวลาที่อโศกจะกลับมาคึกคักอีก ครั้ง เนื่องจากพนักงานบริษัทจะลง มาทานอาหารกลางวัน ทำ�ให้พื้นที่ ขายอาหารหนาแน่นไปด้วยพนักงาน จากทั้ง 18 อาคารสำ�นักงาน ซึ่งรวม กันแล้วมีมากถึงกว่า 100 บริษัทโดย ประมาณ โดยจุดหลักก็จะมีบริเวณ ข้างอาคารเสริมมิตรฝั่งซอยอโศก 1 บริเวณตึกมิดทาวน์ ที่มีแบรนด์ฟาสต์ ฟู้ด ทั้งญี่ปุ่น ไทย และต่างประเทศ มากมาย แต่ที่ได้รับความนิยมมาก ที่สุดคงเป็นตลาดรวมทรัพย์ ที่มีครบ ทุกเมนูอาหาร ทั้งเจ้าดัง เจ้าใหม่
Floral Brochure
ภาพที่ 4.8 ช่วงทำ�งาน
ภาพที่ 4.9 เลิกงานกลับบ้าน
ที่มา : https://news.mthai.com/general-news/331761.html
12.00-13.00 เจ้าเก่า จบในที่เดียว แต่อากาศร้อนนิด หน่อย อีกทั้งยังมีตลาดสุขตาตรง ข้ามตลาดรวมทรัพย์ ที่มีที่นั่งทานแบบ 2 ชั้น หรือจะทะลุไปหลังตึกแกรมมี่ก็มี โรงอาหารของมศว. เป็นอีกหนึ่งทาง เลือกของคนที่ไม่ชอบความวุ่นวาย หากคนที่ต้องการของอร่อย และราคา ถูก แอร์เย็นสบาย ชั้น Food Court Terminal 21 ก็เป็นอีกหนึ่งตัวเลือก ชั้นดี แต่อาจจะต้องใช้ความสามารถใน การหาที่นั่งสักนิดเพราะมีผู้คนทั้งชาว ไทย และชาวต่างชาติ รวมไปถึงนัก ท่องเที่ยวแวะเวียนกันมาทานอาหารที่ นี่กันเป็นจำ�นวนมาก
ที่มา : https://www.plus.co.th/
13.00-17.00
17.30-21.00 4.7.3 ช่วงเย็น
เมื่อถึงยามเย็นก็เป็นเวลา เลิกงานพนักงานก็จะเริม่ ทยอยออก จากออฟฟิศตัง้ แต่เวลา 17.30 น. บ้าง ก็มุ่งหน้าไปยังรถไฟฟ้าเพื่อหลีกเลี่ยง ช่วงไพร์มไทม์ของเวลาเลิกงาน ที่จะ เริ่มหนาแน่นตั้งแต่เวลา 18.20 น. ยาว ไปจนถึงเกือบ 3 ทุ่มของทุกวัน ทำ�ให้ หลายๆ คนที่เลิกงานเวลาหกโมงเย็น ต้องรีบทำ�เวลาเพื่อให้ไปถึงสถานีรถไฟ ก่อนช่วงไพร์มไทม์ เพราะใครที่ไปหลัง หรือติดอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าวอาจจะ ต้องรอรถไฟ 2-3 ขบวน 4-10
Floral Brochure
employee schedule order
farming
delivery
BAr & restaurant
lunch
kitchen
cooking classes
restaurant
walk-in
07.00-9.00 farming supermarket kitchen Bar & restaurant delivery cooking STUDIO fitness
4-11
09.00-12.00
lunch
fitness
12.00-13.00
13.00-17.00
17.30-21.00
Floral Brochure
07.00-9.00
09.00-12.00
12.00-13.00
13.00-17.00
17.30-21.00
skipped brakefast
work
lunch
work
18.00-21.00
3hours
transports
brakefast
order
delivery
lunch
BAr & restaurant
o r farming
kitchen
cooking STUDIO
restaurant
walk-in
lunch
fitness
user behavior to program 4-12
Floral Brochure
4.6 พื้นที่ใช้สอยโครงการ Area Requirement.
พื้นที่ใช้สอยโครงการทั้งหมด 6,000
ตรม.
ผู้ใช้บริการโครงการ คนต่อวัน (อ้างอิงจาก case study ผู้ใช้บริการ 2,000คน ต่อพื้นที่ 19,974 ตร.ม. อัตราส่วน 1:10)
b
พื้นที่ซูเปอร์มาร์เก็ต
25%
25%
600
a 35%
พื้นที่ปลูกผัก (FARMING) ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด (อ้างอิงจาก case study พื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ 3,280 ตร.ม. ต่อพื้นที่ปลูกผัก 1,200 ตร.ม. คิดเป็น 35% ของพืน้ ทีใ่ ช้สอยทัง้ หมด)
a1
-พื้นที่ปลูกผักออร์แกนิก 40%
ของพื้นที่ปลูกผัก
ดังนั้นพื้นที่ปลูกผักมีพื้นที่ทั้งหมด 840 ตร.ม.
a2
-พื้นที่ปลูกผักแนวตั้ง 60%
ของพื้นที่ีปลูกผัก
ดังนั้นพื้นที่ปลูกผักมีพื้นที่ทั้งหมด 1,260 ตร.ม. 4-13
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด (อ้างอิงจาก case study พืน้ ทีใ่ ช้สอยทัง้ โครงการ 1,500 ตรม.)
c 10%
b1
-พื้นที่วางสินค้า 90%
ของพื้นทซูเปอร์มาร์เก็ต
c1
-พื้นที่แคชเชียร์ 10%
ของพื้นที่ีซูเปอร์มาร์เก็ต
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด (อ้างอิงจาก case study พื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ 500 ตรม.) 10%
d 5%
25%
ของบาร์และร้านอาหาร
c2
ของบาร์และร้านอาหาร
ดังนั้นพื้นที่บาร์ทั้งหมด 90 ตร.ม.
ดังนั้นพื้นที่แคชเชียร์ทั้งหมด 150 ตร.ม.
c3
-พื้นที่โต๊ะอาหาร 50%
ของบาร์และร้านอาหาร
ดังนั้นพื้นที่โต๊ะอาหารทั้งหมด 300 ตร.ม.
c4
d1
-พื้นที่ห้องเก็บของ 10%
ของบาร์และร้านอาหาร
ดังนั้นพื้นที่ห้องเก็บของทั้งหมด 60 ตร.ม.
(COOKING STUDIO)
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด (อ้างอิงจาก case study พื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ 150 ตรม. รองรับผู้เรียนได้ 32 คน)
5%
-พื้นที่สตูดิโอ 50%
ของสตูดิโอสอนทำ�อาหาร
ดังนั้นพื้นที่สตูดิโอทั้งหมด 150 ตร.ม.
-พื้นที่บาร์ 15%
พื้นที่สตูดิโอสอนทำ�อาหาร
ดังนั้นพื้นที่สตูดิโอสอนทำ�อาหาร ทั้งหมด 300 ตร.ม.
-พื้นที่ห้องครัว ดังนั้นพื้นที่ห้องครัวทั้งหมด 150 ตร.ม.
ดังนั้นพื้นที่วางสินค้าทั้งหมด 1,350 ตร.ม.
b2
RESTAURANT)
ดังนั้นพื้นที่บาร์และร้านอาหารทั้งหมด 600 ตร.ม.
ดังนั้นพื้นที่ซูเปอร์มาร์เก็ตทั้งหมด 1,500 ตร.ม.
35%
ดังนั้นพื้นที่ปลูกผักมีพื้นที่ทั้งหมด 2,100 ตร.ม.
(SUPERMARKET)
พื้นที่บาร์และร้านอาหาร (BAR &
d2
-พื้นที่จัดแสดง 50%
ของสตูดิโอสอนทำ�อาหาร
ดังนั้นพื้นที่จัดแสดงทั้งหมด 150 ตร.ม.
Floral Brochure
e 15%
พื้นที่ศูนย์ออกกำ�ลังกาย (FITNESS CENTER)
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด (อ้างอิงจาก case study พื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ 1000 ตรม.) 15%
ดังนัน้ พืน้ ทีศ่ นู ย์ออกกำ�ลังกายทัง้ หมด 900 ตร.ม.
e1
-พื้นที่ต้อนรับ 10%
-พื้นที่ออกกำ�ลังกาย 55%
-พื้นที่ล็อคเกอร์ 25%
-พื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่ 10%
ของศูนย์ออกกำ�ลังกาย
ดังนั้นพื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 90 ตร.ม.
(OFFICE) 5%
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด
ดังนั้นพื้นที่สำ�นักงาน 300 ตร.ม. -พื้นที่ห้องสัมมนา 30%
ของสำ�นักงาน
ดังนั้นพื้นที่ห้องสัมมนา 90 ตร.ม. รองรับได้ 50 คน
f2
-พื้นที่ส่วนบริหาร 50%
ของสำ�นักงาน
ดังนั้นพื้นที่ส่วนบริหารทั้งหมด 150 ตร.ม.
f3
-พื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่รักษาความ สะอาด 10%
ของศูนย์ออกกำ�ลังกาย
ดังนั้นพื้นที่ล็อคเกอร์ทั้งหมด 225 ตร.ม.
e4
f1
ของศูนย์ออกกำ�ลังกาย
ดังนั้นพื้นที่ออกกำ�ลังกายทั้งหมด 495 ตร.ม.
e3
5%
ของศูนย์ออกกำ�ลังกาย
ดังนั้นพื้นที่ต้อนรับทั้งหมด 90 ตร.ม.
e2
f
พื้นที่สำ�นักงาน
ของสำ�นักงาน
ดังนั้นพื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่รักษาความ สะอาด 30 ตร.ม.
f4
-พื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย 10%
ของสำ�นักงาน
ดังนั้นพื้นที่ห้องเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย 30 ตร.ม.
g 5%
g1
ห้องเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าสำ�รอง
พื้นที่งานระบบ
(EMERGENCY GENERATER ROOM)
(BUILDING SYSTEM) 5%
เลือกใช้เครื่อง
ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด
ดังนั้นพื้นที่งานระบบ 300 ตร.ม.
ขนาดของเครื่อง (0.80 x 2.00) ระยะปลอดภัย = 0.35 ตร.ม. เว้นระยะพื้นที่ด้านละ = 1.50 ตร.ม. เว้นระยะด้านท้ายเครื่องไม่ต่ำ�กว่า = 2.50 ตร.ม.
-พื้นที่ห้องระบบไฟฟ้า พื้นที่โครงการ 6,000 ตร.ม ดังนั้นจะมีการใช้จำ�นวน/ปริมาณ 6,000 ตร.ม. การใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น 12,000 V หรือคิดเป็น 120 KV ตูจ้ ่ายไฟหลัก 1 ตู้สำ�หรับไฟฟ้า 500 KV
เพราะฉะนั้นใช้ตู้จ่ายไฟฟ้าหลัก 1 ตู้ ขนาด 0.80 x 2.50 = 2 ตร.ม. ระยะปลอดภัย 0.35 เมตรรอบตู้ 1.50 x 3.20 = 2 เมตร พื้นที่โดยรอบกว้าง 2 เมตร ดังนั้น พื้นที่รวมห้อง MDB 5.50 x 7.20 = 39.60 = 40 ตร.ม./ตู้ ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ในโครงการ 12,000 V ข้อมูลจาก
Architectural Graphic Standard
ขนาดของตัว Transformer 2.10 x 2.10 = 4.41 เมตร เว้นพื้นที่โดยรอบ 6.10 x 7.10 = 43.31
ตร.ม.
EMERGENCY GENERATER
WITH CONTROL PANEL 500 kV)
ดังนั้นพื้นที่
GENERATER ROOM
4.50 x 4.85 = 21.82
-พื้นที่เก็บน้ำ�
g2 ผู้ใช้บริการ
600
ตร.ม.
คนต่อวัน
คิดการใช้น้ำ�โดยเฉลี่ยต่อ 1 คน 0.4 ลบ.ม./คน/วัน ดังนั้นปริมาณการใช้น้ำ�ต่อวัน 240 ลบ.ม. ขนาดถึงเก็บน้ำ� 2000L. (1.20 x 1.20)
เว้นระยะพื้นที่ด้านละ = 0.30 ตร.ม. ดังนั้นพื้นที่ถังเก็บน้ำ�
1.50 x 1.50 = 2.25 ตร.ม. 120 ถัง (120 x 2.25) = 270 ตร.ม.
4-14
Floral Brochure
income
ภาพที่ 4.9 ถมที่ดิน
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/
4-15
Floral Brochure
ภาพที่ 4.10 เก็บผลผลิต
ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/maes_studio/gal
4.8 งบประมาณที่เกี่ยวข้องกับโครงการ Objective of the project.
4.8.1 ต น ้ ท นุ ที่ดิน
4.8.2 ค่าก่อสร้าง
-ค่าที่ดิน 1.47 ไร่ (2,364ตรม.) @
-ค่าก่อสร้าง (9,999ตรม.) @
550,000 บาท/ตรม.
= 1,300,200,000
บาท
15,000 บาท/ตรม. = 149,985,000
บาท
-ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน 2% = 26,004,000
บาท
รวม 1,326,204,000
4-16
Floral Brochure
4.9 งานระบบและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับอาคาร Building system.
4.8.1 งานระบบสุขาภิบาล
ระบบสุขาภิบาลของอาคาร - ระบบน้ำ�ใช้ - ระบบบำ�บัดน้ำ�เสียในอาคาร - วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานระบบสุขาภิบาล 1. ระบบน้ำ�ใช้
น้ำ�ประปาที่นำ�มาใช้ในอาคารใช้น้ำ�ประปาจากการประปานครหลวง แต่เนื่องจาก จำ�เป็นต้องมีแหล่งน้ำ�สำ�รองยามฉุกเฉิน จึงต้องสร้างถังเก็บน้ำ�สำ�รองไว้เพื่อเก็บ น้ำ�ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ถังเก็บน้ำ�มักอยู่ในระดับดิน เพื่อให้น้ำ�จากท่อจ่ายน้ำ�ของการ ประปาไหลเข้ามาได้สะดวก โดยใช้ลูกลอกเป็นตัวควบคุมการเปิด-ปิดประตูน้ำ�ของ การรับน้ำ�จากการประปานครหลวงที่ส่งมาให้ทางท่อเมนใต้ดินของบริเวณที่ตั้ง โครงการ - ระบบจ่ายน้ำ�ลง
(DOWNFEED SYSTEM)
ระบบนี้ มีหลักการทำ�งานโดยการสูบน้ำ�ขึ้นไปยังถังเก็บน้ำ�ที่อยู่บนหลังคา อาคารหรือหอคอย แล้วจ่ายน้ำ�ลงมาใช้ภายในอาคารด้วยแรงโน้มถ่วง วิธีนี้นิยม ใช้กับอาคารสูงมากกว่า 3 ชั้นขึ้นไป โดยยิ่งความสูงมากเท่าไหร่น้ำ�จะยิ่งแรงมาก ขึ้น โดยชั้นล่างน้ำ�จะแรงที่สุด ดังนั้นอาคารที่ใช้การจ่ายน้ำ�ระบบนี้ควรมีความสูง ไม่เกิน 56 เมตร หรือประมาณ 12 ชั้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาแรงดันน้ำ�มากเกิน ไปที่บริเวณชั้นล่าง หากอาคารมีความสูงเกินกว่านี้ควรใช้วาล์วช่วยลดความดันที่ บริเวณท่อแยกตามชั้นต่างๆ
ภาพที่ 4.11 ระบบจ่ายน้ำ� Downfeed
ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/
Sanitation system 4-17
Floral Brochure
ภาพที่ 4.12 ระบบระบายน้ำ�
ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/
ภาพที่ 4.13 ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย
ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/
2. ระบบระบายน้ำ�
3. ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย
ระบบสุขาภิบาลของอาคาร - ระบบการระบายน้ำ�โสโครก หมายถึง น้ำ�ที่มาจากโถส้วมและที่ปัสสาวะ - ระบบการระบายน้ำ�ทิ้ง หมายถึง น้ำ�ที่มาจากเครื่องสุขภัณฑ์อื่นๆ - ระบบการระบายน้ำ�ทิ้ง หมายถึง น้ำ�ที่มาจากหลังคา น้ำ�ที่มาจาก greenroof
น้ำ�เสีย หมายถึงน้ำ�ที่มีสิ่งเจือปนต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นน้ำ�ที่ไม่เป็น ที่ต้องการ และน่ารังเกียจของคนทั่วไป ไม่เหมาะสมสำ�หรับใช้ประโยชน์อีกต่อไป หรือถ้าปล่อยลงสู่ลำ�น้ำ�ธรรมชาติก็จะทำ�ให้คุณภาพน้ำ�ของธรรมชาติเสียหายได้
- ระบบระบายน้ำ�เสีย ชนิดท่อรวม
- ระบบระบายน้ำ�เสีย ชนิดท่อรวม
เป็นการติดตั้งระบบระบายน้ำ�จากห้องครัวและระบบระบายน้ำ�จากห้องส้วม มารวมไว้ที่ถังบำ�บัดน้ำ�เสีย ก่อนปล่อยลงสู่ท่อระบายน้ำ�สาธารณะ วิธีนี้จะช่วย เพิ่มคุณภาพของน้ำ�ที่ปล่อยลงสู่ระบบสาธารณะให้ดียิ่งขึ้น แต่ควรมีบ่อพักดัก กลิ่นเพื่อป้องกันกลิ่นจากบ่อบำ�บัดย้อนกลับขึ้นมา
ระบบการทำ�งานของถังบำ�บัดน้ำ�เสียสำ�เร็จรูป ใช้หลักการ “จุลินทรีย์ กำ�จัดจุลินทรีย์” โดยกากของเสียซึ่งไหลลงสู่ถังบำ�บัดน้ำ�เสีย จะตกตะกอนอยู่ ก้นถังที่เต็มไปด้วยจุลินทรีย์คอยย่อยสลาย ทำ�ให้ไม่มีกลิ่นเนื่องจากไม่มีตะกอน ตกค้างในถังและไม่ต้องพึ่งการระบายน้ำ�ของบ่อซึม สำ�หรับน้ำ�ที่ผ่านการบำ�บัด แล้วจะถูกลำ�เลียงไปยังปลายทางคือ ท่อระบายน้ำ�สาธารณะ ทั้งนี้ ตัวถังบำ�บัดน้ำ� เสียสำ�เร็จรูปเป็นอุปกรณ์ที่ฝังอยู่ใต้ดินซึ่งยากต่อการดูแลรักษา เจ้าของบ้านจึง ควรเลือกใช้ถังบำ�บัดและอุปกรณ์ ที่ทนทานมีคุณภาพตามมาตรฐาน มอก. โดย ในท้องตลาดจะมีขายถังบำ�บัดสำ�เร็จรูปทั้งแบบเติมอากาศและแบบไม่เติมอากาศ ซึ่งปกติในบ้านพักอาศัยมักใช้แบบไม่เติมอากาศ 4-18
Floral Brochure
4. ระบบเก็บน้ำ�ฝน
น้ำ�ฝนจะไหลลงมาตามหลัง คาสู่รางน้ำ� และไหลไปตามท่อลงในถัง กรองที่เตรียมไว้เป็นพิเศษ ในถังกรอง นี้มีตะแกรงลวด, ทราย, กรวด, และ ถ่านซึ่งจะทำ�ให้น้ำ�สะอาดขึ้น จากนั้น น้ำ�จะไหลลงถังเก็บซึ่งอาจอยู่บนดิน หรือใต้ดินก็ได้ มีการยาแนวถังน้ำ�เพื่อ ป้องกันแสงแดดและไม่ให้อากาศหรือ สิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆเข้าไป ทั้งยังแกว่ง สารส้มเพื่อทำ�ให้น้ำ�หายขุ่น
ภาพที่ 4.14 ระบบเก็บน้ำ�ฝน
ที่มา : https://morningchores.com/rainwater-harvesting/
4-19
Floral Brochure
5. ระบบน้ำ�หมุนเวียน
น้ำ�ฝน หรือ น้ำ�เสีย จาก การล้างมือ อาบน้ำ� สามารถนำ�กลับ มาใช้ใหม่ได้ โดยนำ�น้ำ�ที่ใช้แล้วเก็บไว้ ในถังแล้วนำ�ไปบำ�บัดทางกายภาพ หลัง จากการบำ�บัดก็จะสามารถน้ำ�มาใช้ใน การเกษตรกรรมและกิจกรรอย่างอื่น ได้ วิธีการบำ�บัดทางกายภาพ (Physical Treatment) เป็นวิธี การแยกเอาสิ่งเจือปนออกจากน้ำ�เสีย เช่น ของแข็งขนาดใหญ่, กระดาษ, พลาสติก, เศษอาหาร, กรวด, ทราย, ไขมันและน้ำ�มัน โดยใช้อุปกรณ์ในการ บำ� บัดทางกายภาพ คือ ตะแกรงดัก ขยะ ถังดักกรวดทราย ถังดักไขมัน และน้ำ� มัน และถังตกตะกอน ซึ่งจะ เป็นการลดปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ มีในน้ำ�เสียเป็นหลัก
ภาพที่ 4.15 ระบบน้ำ�หมุนเวียน
ที่มา : http://www.dewater.com/water_recycling/greywater.html
Sanitation system 4-20
Floral Brochure
4.8.2 งานระบบปรับอากาศ
ระบบปรับอากาศแบบใช้เครื่องทำ�น้ำ�เย็น (Chiller) เป็นระบบปรับ อากาศขนาดใหญ่บางครั้งเรียกว่าระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ เหมาะสำ�หรับ พื้นที่ที่ต้องการปรับอากาศที่ขนาดใหญ่ มีจำ�นวนห้องที่จำ�เป็นต้องปรับอากาศ หลายห้อง หลายโซน หรือหลายชั้น โดยส่วนใหญ่จะใช้น้ำ�เป็นสารตัวกลางในการ ถ่ายเทความร้อนหรือความเย็น โดยมีส่วนประกอบของระบบดังต่อไปนี้ 1) เครื่องทำ�น้ำ�เย็น (Chiller)
ถือว่าเป็นหัวใจของระบบปรับอากาศประเภทนี้ ใน การออกแบบระบบปรับอากาศแบบใช้เครื่องทำ�น้ำ�เย็นนี้ เครื่องทำ�น้ำ�เย็นจะทำ� หน้าทีค่ วบคุมอุณหภูมิของน้ำ�ที่เข้าและออกจากเครื่องระเหย (Evaporator) 2) เครื่องสูบน้ำ�เย็น
(Chilled Water Pump) เป็นอุปกรณ์ที่ทำ�หน้าที่สูบสาร ตัวกลางหรือน้ำ�จากเครื่องทำ�น้ำ�เย็นไปยังเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเช่นเครื่อง ส่งลมเย็น (Air Handling Unit) หรือคอล์ยเย็น (Fan Coil Unit) 3) ระบบส่งจ่ายลมเย็น (Air Handling Unit) และท่อส่งลมเย็น (Air Duct System) ทำ�หน้าที่ลดอุณหภูมิอากาศภายนอก (Fresh Air) หรืออุณหภูมิอากาศไหลกลับ (Return Air) ให้อยู่ในระดับที่ควบคุมโดยอากาศจะถูกเป่าด้วยพัดลม (Blower) ผ่านแผงคอล์ยน้ำ�เย็น (Cooling Coil) 4) คอล์ยร้อน (Condensing Unit) สำ�หรับระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ หรือ หอระบายความร้อน (Cooling Tower) สำ�หรับระบบระบายความร้อนด้วยน้ำ� ซึ่ง
ทำ�หน้าที่ระบายความร้อนออกจากสารทำ�ความเย็นเพื่อเปลี่ยนสถานะสารทำ�ความ เย็นจากก๊าซไปเป็นของเหลว
ภาพที่ 4.16 ระบบ chiller
ที่มา : http://www.brighthubengineering.com/hvac/27168-what-are-water-chillers/
air conditioning system 4-21
Floral Brochure
4.8.3 งานระบบไฟฟ้า
ภาพที่ 4.17 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย ที่มา : https://static1-velaeasy.readyplanet.com/
สายไฟฟ้าแรงสูงที่ต่อจากสายประทานของการไฟฟ้านครหลวงเป็น ไฟฟ้ากำ�ลัง 12,000 โวลต์ เข้าสู่โครงการโดยผ่านหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้ง แปลงกำ�ลังไฟฟ้าเป็น 380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิร์ต ด้วยระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย โดยทั่วไประบบไฟฟ้า 3 เฟสเป็นระบบที่ไฟฟ้าที่ใช้กับเครื่องจักรต่างๆ ใน โรงงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ เพราะเครื่องจักรเหล่านี้มักมีขนาดใหญ่ จึงต้องการแรงดันไฟฟ้าที่สูง ไฟฟ้าระบบนี้ไม่สามารถนำ�มาใช้กับระบบแสงสว่าง หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตามบ้านได้โดยตรง แต่เนื่องจากโครงการมีปริมาณเครื่องใช้ ไฟฟ้ามากกว่าตามบ้านเรือนทั่วไป การนำ�ไฟฟ้า 3 เฟสมาใช้ในโครงการจะไม่นำ� ไฟฟ้า 3 เฟส เข้ามาใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยตรง แต่จะมาแบ่งให้เป็นระบบไฟฟ้า 1เฟส 3ชุด แล้วกระจายไปตามจุดต่างๆที่มีการใช้ไฟฟ้า แต่ละเฟสไม่ทำ�งานหนัก มากเกินไป ทำ�ให้ประหยัดค่าไฟ มิเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 50(150) แอมแปร์ เพราะมีปริมาณการใช้ไฟฟ้า มาก เช่น ดวงโคมที่ต้องใช้ในการปลูกพืชจำ�นวนมาก เครื่องปรับอากาศควบคุม อุณหภูมิห้องเพาะเลี้ยง ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน พิจารณาความสำ�คัญในแต่ละส่วนของโครงการ จึงแบ่งเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเป็น 2 แบบ - เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากลาง (Generator set) จะจ่ายไปในส่วนที่มี ความสำ�คัญและมีผู้ใช้มาก มีความจำ�เป็นที่จะต้องดำ�เนินกิจกรรมต่อไม่ขาดตอน คือ ส่วนรักษาความปลอดภัย ส่วนพื้นที่ปลูกผัก
ภาพที่ 4.18 ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน
- เครื่องกำ�เนิดแสงสว่างฉุกเฉิน (Emergency lighting) เป็นเครื่องให้ แสงสว่างเป็นจุดเพื่อป้องกันปัญหาโจรกรรมขณะเกิดปัญหาไฟฟ้าขัดข้อง
ที่มา : https://www.xn--12cgjfb0hrbyb2d1dbt3c3g7b6d.com/
electrical system 4-22
Floral Brochure
4.8.4 งานระบบป้องกันอัคคีภัย
ระบบป้องกันอัคคีภัยของโครงการแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ 1. ระบบสัญญาณเตือนภัย (FIRE ALARM SYSTEM)
- ระบบการแจ้งเหตุแบบระบุตำ�แหน่ง (ADRESSABLE SYSTEM) เมื่อเกิดเหตุเพลิง ไหม้ ระบบสามารถบอกพื้นที่หรือตำ�แหน่งที่เกิดเหตุได้โดยตรง ทำ�ให้สามารถเข้า ระงับเหตุและอพยพคนออกจากพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้ลดความเสียหายลง ได้ นอกจากนี้ยังตรวจสอบสัญญาณจาก - อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) ตรวจจับเพลิงไหม้ ที่เกิดจากการคุ ตัวของเถ้าความร้อน - อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ (Notification Appliance Devices) เป็นอุปกรณ์ที่มี เสียงหรือแสงเพื่อแจ้งเตือน เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ขึ้นในบริเวณ หรืออาคารนั้นๆ โดยวัตถุประสงค์เพื่อแจ้งเตือนผู้ใช้งานในพื้นที่นั้นๆ ได้อพยพออกจากพื้นที่ได้ ทัน 2. ระบบดับเพลิง (FIRE ALARM SYSTEM)
- ระบบดับเพลิงแบบสายสูบ (Hose reel) สายฉีดน้ำ�แบบสายยางม้วนแข็ง จะ ทำ�งานได้ต่อเมื่อเปิดวาล์วน้ำ� - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำ�ฝอย (Sprinkle System) ติดตั้งตรงบริเวณ ฝ้าเพดาน ติดตั้งด้วยระบบท่อน้ำ�เปียกที่มีน้ำ�อยู่ระบบท่อตลอดเวลา - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส (Gas System) นิยมใช้กับพื้นที่ซึ่งต้องการดับ เพลิงเป็นพิเศษ และไม่ต้องการให้วัสดุหรืออุปกรณ์ในห้องนั้นเกิดความเสียหาย จากน้ำ�ยาเคมีที่ใช้ดับเพลิง
ภาพที่ 4.19 HOSE REEL ที่มา : http://www.bestworld-safety.com/
Fire protection system 4-23
ภาพที่ 4.20 Sprinkler system ที่มา : http://www.cfcsystems.com/
ภาพที่ 4.20 Gas System ที่มา : http://www.newage.ae/images
Floral Brochure
4.8.5 งานระบบการให้แสงสว่าง
ระบบการให้แสงสว่างหลัก คือ การออกแบบระบบแสงสว่างให้มีความ ส่องสว่างเพียงพอตามมาตรฐานเพื่อการใช้งานในแต่ละพื้นที่ แสงสว่างเฉพาะที่และทั่วไป คือ การให้แสงสว่างทั้งแบบทั่วไปทั้ง บริเวณ และเฉพาะที่ที่ทำ�งาน ซึ่งมักใช้กับงานที่ต้องการความส่องสว่างสูงซึ่งไม่ สามารถให้แสงแบบแสงสว่างทั่วไปได้เพราะเปลืองค่าไฟมาก เช่น การให้แสงสว่าง จากฝ้าเพดานเพื่อส่องบริเวณทั่วไปและที่โต๊ะทำ�งานติดโคมตั้งโต๊ะส่องเฉพาะตัง หาก เพื่อให้ได้ความส่องสว่างตามที่ต้องการ ระบบการให้แสงสว่างรอง คือ การออกแบบให้มีแสงสว่างที่เกิดความ สวยงาม หรือเน้นเพื่อให้เกิดความสนใจ สบายตา และอารมณ์ แสงสว่างแบบส่องเน้น เป็นการให้แสงแบบส่องเน้นที่วัตถุใดวัตถุ หนึ่งเพื่อให้เกิดความสนใจ แสงสว่างแบบเอฟเฟค เป็นการให้แสงสร้างบรรยากาศที่น่าสนใจ แต่ ไม่ได้ส่องเน้นวัตถุเพื่อเรียกร้องความสนใจ แสงสว่างแบบตกแต่ง เป็นที่ได้จากโคมหรือหลอดที่สวยงามเพื่อ สร้างจุดสนใจในการตกแต่งภายใน แสงสว่างแบบงานสถาปัตย์ เป็นการให้แสงไฟจากหลืบ แสงจาก บังตา หรือแสงจากการซ่อนหลอดแสงสว่างตามอารมณ์ ใช้สวิตซ์หรือตัวหรี่ไฟ เพื่อปรับแสงตามความต้องการใช้งาน
ภาพที่ 4.21 ตัวอย่างการใช้โคม high bay ในห้องเพาะปลูก ที่มา : https://www.archdaily.com/428868/in-tokyo-a-vertical-farm-inside-and-out
lighting system 4-24
Floral Brochure
4.8.6 ระบบโครงสร้าง 1. ระบบโครงสร้างผนังรับน้ำ�หนัก (Bearing Wall)
ผนัง รับน้ำ�หนักเป็นระบบการก่อสร้างรูปแบบหนึ่งในหลายๆรูปแบบที่ มีใช้กันใน ปัจจุบัน ระบบผนังรับน้ำ� หนักจะใช้ตัวผนังเป็นทั้งตัวกันห้อง และ เป็นชิ้นส่วนที่ใช้รับกำ�ลังในแนวดิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นกับอาคารทั้ง แรงลม น้ำ�หนัก บรรทุกจร น้ำ�หนักบรรทุกตายตัว จะถ่ายน้ำ�หนักไล่ลงมาถึงฐานราก รูปแบบของฐานในระบบเสาคานทั่วๆไปที่พบเห็นกันคือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) และฐานรากเสาเข็ม (Pile Foundation) ฐานรากแผ่ (Mat Foundation) และฐานรากตามยาว (Strip Footing) 2. ระบบเสา-คานคอนกรีตเสริมเหล็ก
- เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Columns) เป็นเสา ซึ่งทำ�จากคอนกรีตเสริมด้วยเหล็กร่วมกันรับแรงที่เกิดขึ้น - คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Beam) เป็นคาน คอนกรีตที่มีเหล็กเสริม ช่วยรับแรงดึงและแรงอัด ส่วนเหล็กปลอกช่วยคอนกรีต รับแรงเฉือนในส่วนที่เกินจากหน้าตัดคานคอนกรีตที่สามารถจะรับได้ 3. ระบบพื้นที่ใช้กับโครงสร้างคอนกรีต
- พื้นคอนกรีตหล่อในที่ (Cast-in-Place Concrete Slabs) จะมี กระบวนการทำ�แบบสำ�หรับหล่อพื้น ผูกเหล็กเสริมของพื้นเชื่อมกับเหล็กในคาน แล้วจึงเทคอนกรีตพื้นให้เป็นเนื้อเดียวกับคานส่วนบน - พื้นคอนกรีตวางบนคาน (Slabs on Beam) คือพื้นที่ถ่ายน้ำ�หนักลงสู่ คาน เป็นพื้นประเภทนิยมใช้กันมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่อาจมีน้ำ�ขัง เสี่ยงต่อ การรั่วซึม การถ่ายน้ำ�หนักของพื้นประเภทนี้มี 2 แบบคือ พื้นทางเดียว และพื้น สองทาง
ภาพที่ 4.22 ตัวอย่างโครงสร้างเหล็ก ที่มา : https://bonestructure.ca/wp-content/uploads/2016/03/structure-02-1-845x321.jpg
structure and material 4-25
Floral Brochure
4. ระบบโครงสร้างเหล็ก
ในโครงการเลือกใช้โครงสร้างเหล็กประกอบกับโครงสร้างเสา-คานตอ นกรีตเสริมเหล็ก ในส่วนที่ต้องรับโครงสร้างช่วงพาดกว้างของหลังคา green roof หรือช่วงหลังคาโปร่งแสง -โครงข้อแข็ง เป็นโครงสร้างที่เพิ่มความแข็งแรงให้ข้อต่อระหว่างเสาคาน โดยใช้ข้อต่อแบบยึดแน่นเพื่อให้รับแรงด้านข้าง -โครงข้อหมุน หรือโครงถัก (Truss) เป็นโครงสร้างที่ประกอบขึ้นจาก ชิ้นส่วน หรือองค์ประกอบขนาดสั้นจำ�นวนมากยึดต่อกับข้อต่อหมุนเพื่อทำ�หน้าที่ คล้ายคาน โดยโครงสร้างข้อหมุนจะทำ�หน้าที่รับโมดเมนต์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีน้ำ�หนัก มากระทำ� -โครงหลังคาเหล็ก เป็นโครงถักรูปโค้งแบบประทุน (Braced Barrel vault) โครงที่ประกอบด้วยโครงเหล็กชั้นเดียว หรือสองชั้น
5. ระบบโครงสร้างผนังกระจก
ระบบโครงสร้างผนังกระจก (Structural Glass Wall) หรือที่มักเรียก สั้นๆ ว่า Glass wall คือ ระบบที่ประกอบด้วยระบบกระจกและโครงสร้างที่เปิดเผย ซึ่งระบบโครงสร้างนี้ทำ�หน้าที่ทำ�หน้าที่เป็นความแข็งแรงให้กระจกและโครงสร้าง ทนต่อแรงต่างๆ - โครงสร้างเหล็ก (Steel structure system) - โครงสานเหล็กรับแรงดึง (Tension rod system) - โครงสันกระจก (Glass rib system) - โครงเคเบ ลิ ข งึ (Cable net system)
4-26
Floral Brochure
bibliography เมล็ดงอก (2558). การปลูกต้นอ่อนเมล็ดงอก. ฉบับปรับปรุง : 40-100. ปลูกผักไร้สารพิษ (2557). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผัก. ผักสลัดเชิงการค้า (2557). ชนิดพรรณพืชที่เหมาะกับการค้า. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: บริษัท สำ�นักพิมพ์แสงแดด จำ�กัด. พัชรี สำ�โรงเย็น (2558). แนวทางและแบบอย่างการลงทุนเพาะปลูกผักไร้ดิน เพื่อการค้าครบวงจร. พิมพ์ครั้งที่1. สมุทรสาคร: นาคาอินเตอร์มีเดีย. อฤชร พงษ์ไสว (2547). รู้จักกิน รู้จักผัก ลำ�ดับที่ 1 ผักสลัดและดอกไม้ใน จานสลัด.. ครั้งที่1.กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ์บ้านและสวน.
Floral Brochure
references “อาหาร organic“. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://www.med.cmu.ac.th/hospital/dis/2011/index.php?option=com_content&view=article&id=68:organic-food-conventional-food-&catid=18:knowledge&Itemid=35
สืบค้น 13
กันยายน 2559 “ประเภทของโรงเรือน“. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://agri.wu.ac.th/msomsak/Soilless/Chapter07/Greenhouse.htm สืบค้น 15 กันยายน 2559 “อาหารไทย“. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://saranukromthai.or.th/sub/ book/book.php?book=13&chap=8&page=chap8.htm สืบค้น 21 กันยายน 2559
“Organic Farming“. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://www.tcdc.or.th/ creativethailand/article/CoverStory/22735 สืบค้น 29 กันยายน 2559 “บำ�บัดน้ำ�เสีย“. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://www.uba.co.th/index.php/ easyblog/entry/water-treatment.html สืบค้น 2 ตุลาคม 2559
Organic Food