Phatrang_phathai

Page 1

อด้วยรัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศรี พิมพ์ครั้งที่ 1

ภูมิปัญญาชาวบ้าน ถักทอ ร้อยเรียงจากรัก สร้างอาชีพ สร้างรายได้ พึ่งพาตนเอง

ศศิขัณฑ์ อุ่นนวล



อด้วยรัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศรี


คำ�นำ�


...เชือ่ ว่าความฝันของคนเรียนทางด้านวารสารศาสตร์หลายคน นอกจากการมีงานเขียนเป็นของตัวเองสักชิน้ สองชิน้ แล้ว อีกหนึง่ สิง่ นัน่ ก็คือการมีหนังสือเล่มเล็กๆ เป็นของตัวเอง... ฉันเองก็เช่นกัน นักเขียนกับหนังสือเล่มเล็กๆ ที่มาจากปลาย ปากกาของตัวเอง อีกหนึง่ ความใฝ่ฝนั ทีค่ ดิ ว่าชีวติ นีต้ อ้ งทำ�ให้ได้ แต่ไม่ คาดคิดว่ามันจะเป็จริงรวดเร็วเช่นวันนี้ พ็อกเก็ตบุค๊ เล่มนี​ี้ แม้จดุ ประสงค์หลักเกิดขึน้ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของการจบการศึกษา แต่เวลาเกือบ 6 เดือนที่ได้คลุกคลีและสัมผัสกับ มัน แม้จะทัง้ เหนือ่ ยและท้อในบางครา แต่เมือ่ มันสำ�เร็จขึน้ มา แน่นอน ว่าความภาคภูมิใจอันเต็มเปี่ยมเกิดขึ้นในใจฉัน ขอขอบคุ ณ ทุ ก คนที่ มี ส่ ว นช่ ว ยในความสำ � เร็ จ ครั้ ง นี้ ทั้ ง คณาจารย์ทุกท่าน เพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ ที่น่ารักที่คอยช่วยเหลือและให้ คำ�ปรึกษา ที่สำ�คัญที่สุดคือ ‘คุณพ่อและคุณย่า’ ที่คอยสนับสนุนและ ผลักดันฉันมาจนทุกวันนี้...

ศศิขัณฑ์ อุ่นนวล


สารบัญ

8

มนต์เสน่ห์เมืองเล็ก

18

วิถีนาหมื่นศรี

ผ้าทอนาหมื่นศรี

32


46

ลายนี้...คือนาหมื่นศรี

ทอด้วยรัก ถักเป็นผืน

92

68

นาหมื่นศรี ในวันนี้



มนต์เสน่ห์ เมืองเล็ก


10 ทอท ถถักักเเปป็น็นผผืนืน ดอ้วดย้วรยักรัก นนาาหหมมื่นื่นศศรร ี​ี

“เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ ถิ​ิ่นกำ�เนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำ�ตกสวยตระการตา”


11

ากเอ่ยคำ�ขวัญขึ้นมาเช่นนี้แล้ว หลายคนคงร้องอ๋อ นึกถึง “ตรัง” เมืองเล็กๆ บรรยากาศอบอุ่น ผู้คนใจดี เปี่ยมด้วยรอยยิ้ม อาหารอร่อย หาด ทรายขาวสวย ประเพณีวัฒนธรรมงดงาม และความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ไม่มีใครเหมือนและไม่เหมือนใครของเมืองแห่งนี้ ซึ่งเป็นมนต์เสน่ห์ที่ดึงดูด นักท่องเที่ยวมานักต่อนักแล้ว การมาเยือนเมืองตรังของใครหลายคนอาจมีเหตุผลที่แตกต่างกันไป บ้างก็หลงใหลในธรรมชาติอันงดงาม บ้างก็อยากสัมผัสน้ำ�ทะเลที่เขาว่ากันว่า หาดทรายขาวสวย น้�ำ ใส เกาะแก่งเล็กน้อยงดงาม บ้างก็อยากลิม้ ลองรสความ อร่อยของหมูย่าง ขนมเค้ก หรือติ่มซำ�ที่เขาว่ากันว่าเป็นอาหารขึ้นชื่อของเมือง ตรัง แต่นอกเหนือจากสิ่งเหล่านี้แล้ว ตรังไม่ได้มีเพียงหาดทรายขาวสวย อาหารอร่อย แต่ตรังยังมีความเป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ ศิลป วัฒนธรรมทีค่ วรค่าแก่การเรียนรูแ้ ละได้รบั การสืบทอดอย่างทีใ่ ครหลายคนนึก ไม่ถึงเลยทีเดียว


11ท22อด้วยรัก 2 ทอทดอ้วดย้วรยักรัก ถถถักเป็นผืน ักักเเปป็น็นผ ผืนืนนาหมื่นศรี นนาาหหมมื่นื่นศศรร ี​ี

นเวลาเช้าแสงแดดสาดส่องเช่นวันนี้ จากวงเวียนหอนาฬิกาเมืองตรัง จุดนัดพบหรือแลนด์มาร์กที่หนุ่มสาวชาวตรังหรือแขกไปใครมา จะนึกถึงหรือ นัดพบเจอกันเป็นอันดับแรก ฉันวนรถเข้าสู่เส้นทางออกนอกตัวเมือง ผ่านวิถี ชีวติ ผูค้ นหรือวิถคี นตรังทีอ่ ยูก่ นั อย่างเรียบง่าย แต่จากทีฉ่ นั ได้สมั ผัสมันมากว่า 20 ปีเต็มนั้น ฉันรู้ดีว่าภายใต้ความเรียบง่ายนี้ กลับเต็มเปี่ยมด้วยเสน่ห์ ฉันขับรถเพลินๆ ไม่รีบเร่ง กับการจราจรที่เรื่อยๆ ไม่มีกลิ่นควันรถฟุ้ง ไม่มีการจราจรที่แออัดอย่างในเมืองกรุง ชวนให้มีอารมณ์หงุดหงิดในเช้าวันที่ อากาศดีๆ สายตาเหลือบแลไปเห็น ‘รถตุ๊กตุ๊กหัวกบ’ ยานพาหนะสุดคลาสสิ กรูปทรงแปลกตาในสายตาคนทัว่ ไป แต่เป็นทีช่ าชินในสายตาของคนเมืองตรัง ด้วยรูปทรงทีป่ ระหลาดคล้ายกบ กับเสียงร้องของรถ ตุก๊ ๆๆๆๆ นีก่ เ็ ป็นอีกหนึง่ เอกลักษณ์เมืองตรังที่ฉันภาคภูมิใจนำ�เสนอ แต่น่าเสียดายที่ปัจจุบันนี้ จำ�นวน รถตุ๊กตุ๊กหัวกบนั้นลดน้อยลงเต็มที ขับมาเรือ่ ยๆ ผ่านอนุสาวรียพ์ ระยารัษฎานุประดิษฐ์ สถานทีส่ �ำ คัญอีก หนึ่งที่ของเมืองตรัง ที่ใครมาเมืองตรังแล้วควรแวะมา เพราะเป็นสถานที่ ประดิษฐานรูปปั้นพระยารัษฎานุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) พ่อเมืองตรัง ในอดีต บุคคลที่มีคุณูปการอย่างมากมายสำ�หรับชาวตรัง ท่านได้สร้างความเจริญแก่เมืองตรังเป็นอย่างมากทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การคมนาคม การเกษตร การปกครอง และการศึกษา ทั้งยังเป็นบุคคล ซึ่งนำ�ยางพาราต้นแรกเข้ามาปลูกในประเทศไทย ท่านจึงเป็นที่เคารพนับถือ ของชาวตรังตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน


1133

อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์

ตุ๊กตุ๊กหัวกบ...เอกลักษณ์เมืองต

รัง


14 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี


15

เวลาเพียงไม่กี่นาที จากถนนในตัวเมืองที่พลุกพล่านไปด้วย ผู้คน ตอนนี้ฉันก็อยู่บน ถนนสายตรัง-พัทลุง สองข้างทางเริ่มแปร เปลี่ยนเป็นทุ่งหญ้าเขียวขจี ความเจริญของตัวเมืองเริ่มลดลง กลาย เป็นการใช้ชีวิตแบบชนบทของชาวนาชาวไร่ แต่ความเจริญนั้นดูแทบ จะไม่มผี ลกระทบกับวิถชี วี ติ ทีเ่ ป็นอยูข่ องชาวบ้านเหล่านีเ้ ลย ฉันสัมผัส ได้ถึงความสุข ความพอใจกับสิ่งที่ได้รับและสิ่งเป็นอยู่ของคนเหล่านั้น ทำ�ให้ฉันเกิดประโยคขึ้นมาในหัวว่า “นัน่ สิเนอะ บางครัง้ เราจะต้องการอะไรกับชีวติ มากมาย เพียง แค่ที่มีอยู่ก็ทำ�ให้เรามีความสุขได้แล้ว”


11ท6อด้วยรัก 6ทอทดอ้วดย้วรยักรัก ถถถักเป็นผืน ักักเเปป็น็นผผืนืนนาหมื่นศรี นนาาหหมมื่นื่นศศรร ี​ี


1177

เพียงไม่นานกับระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร ป้ายบอกทางเข้าสู่ เขตอำ�เภอก็ปรากฏอยูต่ รงหน้า ถนนหนทางทีค่ นุ้ เคยเริม่ ปรากฏแก่สายตา ก่อนถึงตลาดสดของอำ�เภอเพียงเล็กน้อย ฉันเลี้ยวหัวรถเข้าซอย ทางด้าน ซ้ายมือ ชอยขนาดไม่เล็กไม่ใหญ่ พอให้รถวิ่งสวนกันได้ จากปากทางขับรถ ตรงไปเรื่อยๆ ตามป้ายบอกทางที่บอกว่า อีก ‘4 กิโลเมตร’ ฉันก็จะถึง ‘จุด หมาย’ รถวิ่งตามถนนลาดยางลดเลี้ยวเคี้ยวโค้ง สองฝั่งถนนโอบล้อมด้วย ธรรมชาติ ทุ่งนาป่าเขียว มองเห็นภูเขาหลายสิบลูกอยู่ลิบๆ ไม่กี่นาที ฉัน ก็ถึงจุดหมาย อาคารหลังกะทัดรัดพร้อมป้ายสลักหินชื่ออาคารปรากฏแก่ สายตา ‘กลุม่ ทอผ้านาหมืน่ ศรี’ และนีค่ อื จุดมุง่ หมายการเดินทางของฉันในวัน นี้....



วิถีนาหมื่นศรี


22ท0อด้วยรัก 0ททออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี

1

2


2211

นาหมืน่ ศรี’ ได้ยนิ ชือ่ ครัง้ แรก หลายคนอาจนึกถึงภาพทุง่ นาอันกว้าง ใหญ่สุดลูกหูลูกตา ฉันเองก็เช่นกัน แรกทีเดียวที่ได้ยิน สิ่งแรกที่ปรากฏขึ้นใน มโนภาพความคิด คือภาพทุง่ นาอันกว้างใหญ่ไพศาล อุดมไปด้วยความสมบูรณ์ ของธรรมชาติ ...ไม่ผิดหรอก ที่ใครหลายคนจะคิดเช่นนั้น แต่ ‘นาหมื่นศรี’ วันนี้ ในมโนภาพของหลายคน โดยเฉพาะชาวจังหวัดตรังแล้ว คือแหล่งสืบทอด ‘ผ้าทอนาหมื่นศรี’ ผ้าทอพื้นบ้านอันทรงคุณค่าของเมืองตรัง ในอดีต บริเวณลานใต้ถุนเรือนไม้ของคนนาหมื่นศรีแทบทุกหลังจะมี ‘กี่พื้นบ้าน’ หรือ ‘โหก’ หรือถ้าหากออกเสียงตามสำ�เนียงคนถิ่นใต้แล้ว ก็จะ เพี้ยนเป็น ‘โฮก’ พร้อมอุปกรณ์การทอผ้าแขวนติดอยู่บนเพดานบ้าน เมื่อว่าง เว้นจากงานในไร่ในสวนที่เป็นอาชีพหลักของคนสมัยนั้น หญิงสาวนาหมื่นศรี ก็จะมานั่งทอผ้าเพื่อใช้สอยในชีวิตประจำ�วัน ทั้งทอให้ตัวเอง ทอให้คนสนิท ให้ คนรัก หรือทอเพื่อใช้ในงานสำ�คัญต่างๆ

แทบทุกบ้านจะพบคนนั่งทอผ้าตั้งแต่รุ่นเด็กไปจนถึงคนแก่ชราเป็นที่ ชินตาแก่คนทั่วไป เด็กหญิงในหมู่บ้านจะเรียนรู้การทอผ้าโดยการเฝ้าสังเกต การทอของยาย แม่ หรือพี่สาว เมื่อโตพอที่จะนั่งกี่สำ�หรับการทอผ้าได้ ก็จะ เริ่มเรียนรู้จากการทอแบบง่ายๆ ก่อน แล้วจึงจะพัฒนาการทอผ้าไปเรื่อยๆ ว่ากันว่า ศักดิศ์ รีของหญิงสาวนาหมืน่ ศรีอยูท่ กี่ ารทำ�นาและการทอผ้า การทำ�นาเป็นอาชีพหลักของคนที่นี่ ไม่ว่าหญิงหรือชาย ตื่นเช้ามาก็ต้องไปนา แต่สิ่งที่แตกต่างระหว่างหญิงและชาย คือเมื่อกลับถึงบ้าน ทอผ้า...ยังเป็นอีก หนึ่งงานที่รอให้หญิงสาวนาหมื่นศรีมาสัมผัสกับมัน ภาพที่ 1 : ภาพที่ 2 :

บ้านเรือนใต้ถุนสมัยก่อนของชาวนาหมื่นศรี หญิงสาวชาวนาหมื่นศรีสมัยก่อนนั่งทอผ้ายามว่างเว้นจากงานในไร่


22ท2อด้วยรัก 2ทอด ถถถักเป็นผืน ักักเเปป็น็นผผืนืน ทนอ้วดย้วรยักรัก า นาหมื่นศรี นาหหมมื่นื่นศศรรี ี ว่ากันว่า ศักดิศ์ รีของหญิงสาวนาหมืน่ ศรีอยูท่ กี่ ารทำ�นาและการทอผ้า การทำ�นาเป็นอาชีพหลักของคนที่นี่ ไม่ว่าหญิงหรือชาย ตื่นเช้ามาก็ต้องไปนา แต่สิ่งที่แตกต่างระหว่างหญิงและชาย คือเมื่อกลับ ถึงบ้าน ทอผ้า...ยังเป็นอีกหนึ่งงานที่รอให้หญิงสาว นาหมื่นศรีมาสัมผัสกับมัน “ชีวิตของลูกผู้หญิงนาหมื่นศรีในสมัยก่อน นั้น งานบ้านงานเรือน งานไร่นาเป็นภาระในอ้อม แขน แต่งานทอผ้าเราก็ไม่ทิ้ง เราทอไว้ใช้สอยของ เราเอง ทอให้คนที่เรารัก หรือทอเพื่อใช้ในงาน ต่างๆ หญิงใดทอผ้าไม่เป็น ทอไม่สวย จะไม่ได้รับ ความสนใจจากชายหนุม่ เพราะไม่มคี ณ ุ สมบัตคิ วาม เป็นแม่ศรีเรือน คนไหนทอผ้าเป็น ทอสวย นุ่งผ้า ทอผืนงาม ก็จะได้รับความสนใจมาก” คำ�บอกเล่าของคุณยายกุศล นิลลออ บุคคล สำ�คัญของชาวนาหมื่นศรี ผู้นำ�การสืบทอดผ้าทอ ท้องถิ่นของแห่งนี้ ทำ�ให้ฉันอมยิ้ม พร้อมนึกคิด เปรียบเทียบกับในยุคปัจจุบนั ทีถ่ า้ ไปพูดให้กลุม่ เพือ่ นฟัง เห็นจะไม่พน้ เพือ่ นว่า เป็นความคิดที่ “เชย” คุณยายยังเล่าไปอีกว่า เมื่อเข้าสู่วัยครองเรือน งานทอผ้ายิ่งเป็นงาน ที่สำ�คัญสำ�หรับชีวิตลูกผู้หญิง เริ่มตั้งแต่แต่งงาน เมื่อมีชายหนุ่มมาสู่ขอ หญิง


2233 ภาพ :

ทำ�นา

อาชีพหลักของชาวนาหมื่นศรีในสมัยก่อน

สาวก็จะเริ่มถักทอผ้าชุดแรก เพื่อให้ชายหนุ่มผู้เป็นเจ้าบ่าวได้ผลัดเปลี่ยนเมื่อ มาถึงเรือนจ้าสาว ก่อนจะเข้าพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ หรือไม่วา่ จะเมือ่ ยามมีลกู ชาย เมือ่ ลูกชายเข้าสูว่ ยั บวชเรียน ผูเ้ ป็นแม่ ก็จะทอผ้าห่มหรือผ้านาคไว้ให้ลูกชาย ด้วยรู้สึกเสมือนว่าได้เกาะชายผ้าเหลือง สู่สวรรค์


22ท4อด้วยรัก 4ทอทดอ้วดย้วรยักรัก ถถถักเป็นผืน ักักเเปป็น็นผผืนืนนาหมื่นศรี นนาาหหมมื่นื่นศร ศรี ี แม้กระทั่งวันลาโลกของตนเองหรือคนรัก หญิงสาวก็จะทอผ้าที่เรียก ว่า ‘ผ้าพานช้าง’ ไว้สำ�หรับพาดโลงศพของตนเองหรือบุคคลอันเป็นที่รักในวัน ที่สิ้นชีวิตลาจากแห่งโลกใบนี้ไปแล้ว ด้วยความเชื่อที่ว่าผ้านั้นจะเป็นบันไดไป สู่สวรรค์

ฟังยายกุศลเล่าแล้วก็ท�ำ ให้ฉนั นึกคิดไปว่า ชีวติ ธรรมดาๆ ของหญิงสาว นาหมื่นศรีคนหนึ่งช่างดูผูกพันกับการทอผ้า ผ้าผืนหนึ่งๆ ที่ต้องทำ�ตั้งแต่เริ่ม ต้นใช้เวลาเป็นอาทิตย์สองอาทิตย์ ไปจนถึงเป็นแรมเดือน หรือนานเป็นปี ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นถึงความเพียรพยายามและความอดทน ของผู้ หญิงตัวเล็กๆ ที่ต้องการสร้างสรรค์งานฝีมือจากจิตใจและจิตวิญญาณของลูกผู้ หญิงเพื่อคนที่ตนรัก แต่ แ ล้ ว ...การทอผ้ า ของผู้ ค นนาหมื่ น ศรี ก็ ข าดหายไปเมื่ อ เกิ ด สงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะขาดเส้นด้ายที่ใช้ในการทอ การย้อมปั่นด้ายเอง ก็ลดลง ค่านิยมในผ้าทอเริ่มหดหาย ผู้คนในสมัยนั้นนิยมนุ่งผ้าสำ�เร็จรูปจาก โรงงานมากขึ้น สุดท้าย ‘โหก’ หรือ ‘กี่พื้นบ้าน’

ภาพ : คุณยายกุศล นิลลออ ครูผู้นำ�ภูมิปัญญาผ้าทอนาหมื่นศรี


2255


22ท6อด้วยรัก 6ททออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี

1


พลิกฟื้นภูมิปัญญา

2277

สงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่เพียงแต่ทำ�ให้วัตถุดิบสำ�คัญในการทอผ้า ของชาวนาหมื่นศรีอย่างเส้นด้ายขาดหายไป แต่วิถีการเป็นอยู่ของปู่ย่าตา ยายเราในอดีตยังเปลี่ยนไปอีกด้วย ‘โจงกระเบน’ เครื่องแต่งกายที่ชาวบ้านนิยมใช้นุ่งห่ม กลับถูก ประเทศที่มาตั้งฐานทัพสงครามในไทยมองว่าเหมือนสุนัขที่ถูกตัดหาง เป็น ผลรัฐบาลในสมัยนั้น คือจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ได้มีคำ�สั่งให้มีการแต่ง กายแบบใหม่ ห้ามนุ่งโจงกระเบน ให้นุ่งผ้าถุงแทน ‘หมากพลู’ ที่ถือเป็นของคู่บ้านคู่เมือง แขกไปใครมาเจ้าของบ้าน ก็มักจะยกมาต้อนรับ พอเกิดสงคราม ก็มีคำ�สั่งให้เลิกกินหมาก ทั้งหมดนี้ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของคนชาวนาหมื่นศรีไปไม่น้อย ภาพที่ 1 : ภาพที่ 2, 3 :

โจงกระเบน เครื่องแต่งกายสมัยนิยมในสมัยก่อน หมากพลูและเชี่ยนหมาก ของคู่บ้านคู่เมืองของชาวนาหมื่นศรีและคนไทยในสมัยก่อน

2

3


22ท8อด้วยรัก 8ททออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี

“สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำ�ให้คนนาหมื่นศรีหยุดทอผ้าไปกว่า 30 ปี ชีวิตช่วงนั้นของชาวนาหมื่นศรีค่อนข้างเปลี่ยนไป”

“พอหมดสงคราม แม่ของยายเห็นว่าตัวเองนั้นแก่ตัวลงมากแล้ว อยากให้ลูกหลานได้ดู ได้ศึกษาวิธีการทอผ้าพื้นเมืองแบบโบราณ จึงได้ รวบรวมคนที่มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ตอนนั้นก็มีประมาณ 3-4 คน ก็เอากี่ทอผ้า เครื่องมือเครื่องใช้ที่ละทิ้งกันมาซ่อมแซม แล้วก็เริ่มทอกัน ใหม่ แต่ก็ยังไม่มีคนสนใจเท่าไหร่นัก” คุณยายกุศลเล่าให้ฉนั ฟังไปเรือ่ ยๆ เกีย่ วกับจุดเริม่ ต้นการพลิกฟืน้ การทอผ้าของชาวนาหมื่นศรี


“ช่วงนั้นแม่ของยายกับกลุ่มเพื่อนๆ ก็ทอกันเท่าที่มีกำ �ลังและ วัตถุดิบ ทอไว้ใช้กันเอง ทอไว้แลกเปลี่ยนเหมือนเดิม หรือเอาไว้ขายบ้าง เล็กน้อย วันหนึ่งยายกลับมาหาแม่ ก็เห็นแม่เขาทอกัน ยายก็เริ่มคิดว่า มันเป็นผ้าทอของเรา มันควรจะได้รับการอนุรักษ์ให้เป็นมรดกภูมิปัญญา แก่ลูกหลาน แม่ยายเขาเห็นยายสนใจ ก็เลยรวบกันเป็นกลุ่มก้อนอีกครั้ง ลักษณะเป็นกลุ่มเล็กๆ มีการจัดการกันแบบครอบครัว” ระหว่างนัง่ ฟังคุณยายเล่า ฉันก็นกึ จินตนาการถึงภาพของคุณยาย กับกลุม่ ทอผ้านาหมืน่ ศรีเล็กๆ ทีก่ �ำ ลังก่อกำ�เนิดขึน้ มา ว่ามันคงไม่งา่ ยและ มีอุปสรรคหลากหลาย ก็พอดีกับที่คุณยายพูดขึ้นมาว่า

2299


33ท0อด้วยรัก 0ท ทออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี “การดำ�เนินงานของกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรีไม่ได้ราบรื่นไป ซะทั้งหมด ล้มลุกคลุกคลานกันมาโดยตลอด แต่เราก็สู้ไม่ถอย ทุกคน พยายามช่วยกันพัฒนา ช่วยกันคิดค้น ไม่ว่าจะลายผ้า รูปแบบการทอ การนำ�ออกจำ�หน่าย การทำ�ให้เป็นที่รู้จัก เวลาผ่านไปเราก็มีสมาชิกเพิ่ม ขึ้นมาเรื่อยๆ สมาชิกทุกคนมีใจสู้” คุณยายเล่าด้วยรอยยิ้ม


3311

สุดท้ายความพยายามของทุกคนก็เห็นผล จากการร่วมสรรค์สร้าง ผืนผ้างามออกมาสู่สาธารณชนอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ส่วนราชการเห็นถึง ความตั้งใจจริง จึงได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ ไม่ว่าจะหาซื้อเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้า มอบงบประมาณจัดสร้างอาคารทอผ้า ให้เงิน ทุนหมุนเวียน อีกทัง้ ยังจัดสร้างศูนย์ฝกึ อบรมอาชีพให้แก่สมาชิกทอผ้าทีม่ ี มาเรื่อยๆ อีกด้วย “ยายมีความสุขกับการทำ�งานทีน่ ี่ ทุก คนเป็นเหมือนลูกหลาน แม้ในวันนีย้ ายจะมอบ หน้าที่ต่างๆ ให้แก่ลูกหลานไปแล้ว แต่ทุกคน ยังให้ความสำ�คัญกับยาย มีอะไรก็มาปรึกษา หารือกัน ...ทอผ้าคือชีวิตของยาย ยายดีใจที่ได้ บุกเบิกกลุม่ ทอผ้ามาจนวันนี้ ได้สร้างงาน สร้าง รายได้ให้กับคนที่นี่ แม้วันนี้จะดูเหมือนเป็น ธุรกิจใหญ่โต แต่ยายก็บอกทุกคนเสมอ ให้เรา ใช้ชวี ติ อย่างพอเพียง แค่นเี้ ราก็มคี วามสุขแล้ว” และนี่คือคำ�พูดของคุณยายกุศล นิล ลออ ที่ได้ทิ้งท้ายไว้กับฉัน ก่อนที่เราจะลาจากกันวันนั้น...


32 ทอ ถักเป็นผืน ด้วยรัก นาหมื่นศร ี


33

ผ้าทอนาหมื่นศรี


34 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ารทอผ้าของชาวนาหมื่นศรีในสมัยก่อน ทอขึ้นเพื่อใช้ ในชีวติ ประจำ�วันเป็นหลัก จึงได้มกี ารแบ่งชนิดของผ้าตามการใช้งาน ในสมัยนั้น ออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าเช็ดหน้า และ ผ้าที่ทอด้วยวัตถุประสงค์พิเศษ ซึ่งผ้าแต่ละชนิดก็จะมีลักษณะและ ลวดลายแตกต่างกันออกไป

ผ้านุ่ง

แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือผ้ายาวและผ้าถุงหรือผ้าโสร่ง ผู้ชาย จะนุ่งโจงกระเบนสำ�หรับไปงานพิธีการ ส่วนผู้หญิงจะนุ่งโจงกระเบน ตลอด

ผ้ายาว

ใช้นุ่งโจงกระเบน มีขนาดกว้าง 36-40 นิ้ว ส่วนใหญ่ใช้สำ�น้ำ�เงินหรือสีม่วง แดงเขียว ทั้งที่มีลวดลายและไม่มี ลวดลาย ลายที่นิยมได้แก่ หางกระรอก ราชวัตร ตาสมุก

ผ้าถุงหรือโสร่ง

ใช้นุ่งแบบขมวดชายพก ขนาด กว้าง 36-40 นิ้ว ยาว 2 หลา หรือครึ่งของผ้ายาว มักใช้สีน้ำ�เงิน หรือม่วง แดง เขียว เช่นเดียวกับผ้ายาว ทั้งมีลวดลายและไม่มี ลวดลาย ลายที่นิยมได้แก่ หางกระรอก ราชวัตร ตาสมุก หัวพลู ตา นก ตาหมากรุก ผู้หญิงนิยมใช้ลายละเอียด ส่วนผู้ชายนิยมผ้าตา


3355

ภาพ :

ผ้านุ่งที่นำ�มาใช้เป็นเครื่องแต่งกายของชาวนาหมื่นศรีในสมัยก่อน


36 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ภาพ :

ผ้านุ่งที่นำ�มาใช้เป็นเครื่องแต่งกายของชาวนาหมื่นศรีในสมัยก่อน


37


33ท8อด้วยรัก 8ทอทดอ้วดย้วรยักรัก ถถถักเป็นผืน ักักเเปป็น็นผผืนืนนาหมื่นศรี นนาาหหมมื่นื่นศร ศรี ี

ผ้าห่ม

มีหลายขนาด ขนาดเล็กที่สุดกว้าง 12 นิ้ว ขนาดที่พบส่วนใหญ่ กว้าง 14-18 นิ้ว เป็นขนาดที่เหมาะสำ�หรับพาดไหล่สไบเฉียง ส่วน ขนาดใหญ่กว้างประมาณ 24 นิ้วขึ้นไป เป็นขนาดผ้าขาวม้า ที่พบใหญ่ สุด 28 นิ้ว ความยาวประมาณ 2 หลา หรือ 4 ศอกกำ� สีที่นิยมคือ พื้นแดง ลวดลายยกดอกเป็นสีเหลืองมากที่สุด นอกจากนี้มีขาว เขียว ตอง ดำ� น้ำ�เงิน อีกหนึง่ สิง่ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ นัน่ คือลวดลายของผ้าห่ม เพราะเป็น เรือ่ งทีแ่ สดงถึงการอวดฝีมอื แก่กนั การทอผ้าห่มนิยมทอลายลูกแก้วมาก ที่สุด


3399

การใช้งานผ้าห่มทอยกดอกผืนใหญ่ นิยมใช้สำ�หรับผู้ชาย เป็น ผ้าโพกศีรษะ หาดไหล่ คาดเอว หากใช้เป็นผ้าขาวม้านุ่งอาบน้ำ�ก็ใช้เป็น ผ้าตา ส่วนผู้หญิงจะใช้ผืนแคบกว่า สำ�หรับพาดไหล่สไบเฉียง ผ้าเหล่านีม้ กั เก็บ ไ ว้ ใ ช้ ใ น โ อ ก า ส สำ � คั ญ เท่านั้น เช่น ไปวัด ทำ�บุญ ตั กบาตร แต่ งงาน บวช นาค เป็นต้น ลายลูกแก้ว

นิยมทอเป็นผ้าห่ม


40 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

1

2

3

4


41

ผ้าเช็ดหน้า มักเรียกกันว่า ลูกผ้าหรือผ้านุ้ย ขนาดกว้างยาว 14-20 นิ้ว เท่ากับผ้าสไบ นิยมลายลูกแก้วมากที่สุด ลายอื่นๆ ได้แก่ ดอกจัน ดาว ล้อมเดือน แก้วชิงดวง ช่อมาลัย ช่อลอกอ เม็กแตง ดอกกก ลายประสม เช่นเดียวกับผ้าห่ม ถ้าใช้เป็นผ้าเช็ดปาก นิยมทอเป็นผ้าพื้นหรือผ้าตาสีแดง ถ้าเป็น ลวดลายใช้ยืนแดงยกดอกด้วยสีเหลืองหรือสีขาว โดยทั่วไปใช้เช็ดปาก (เช็ดน้ำ�หมาก) ปูกราบพระ กราบขอขมา ห่อขันหมาก หรือเหน็บเอวอวดกัน ผ้าเช็ดหน้าเหน็บเอวนิยมใช้กนั ทัง้ หญิง และชาย

ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

1 2 3 4

: : : :

ผ้าเช็ดหน้าลายแก้วชิงดวง ผ้าเช็ดหน้าลายราชวัตรห้อง ผ้าเช็ดหน้าลายตัวหนังสือ ผ้าเช็ดหน้าลายประสม


42 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ผ้าทอด้วยวัตถุประสงค์ พิเศษ

ผ้าพานช้าง

เป็นผ้าทอผืนยาว เกิดจากการทอผ้าเช็ดหน้าต่อกัน หลายผืน เดิมใช้ 12 ผืน หรือน้อยกว่า แต่เป็นจำ�นวนคู่ การ กำ�หนดสีและลายเช่นเดียวกับผ้าเช็ดหน้า ใช้สำ�หรับพาดบนโลง ศพ หลังจากเสร็จงานศพแล้วตัดแบ่งออกเป็นผืนๆ เพือ่ ถวาย พระหรือแจกลูกหลานเก็บไว้เป็นที่ระลึก การทอผ้าพานช้างนั้นไม่ได้ทอทั่วไป ผู้ทอมักมีเจตนา เฉพาะว่าเก็บไว้สำ�หรับงานศพของตนเอง หรือทอให้แก่ผู้ที่รัก ใคร่นับถือกัน


43


44 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ผ้าถวายพระ

มี 2 ขนาด คือขนาดผ้าเช็ดหน้าและขนาดอาสนะ ผู้ทอมัก ใช้ลายตัวหนังสือเพือ่ บอกความประสงค์ อุดมคติ หรือความศรัทธา ไว้บนผืนผ้า และประสมลายอื่นๆ ลงไปเพื่อความสวยงาม


45

ผ้าตั้ง

ผ้าตั้งมาจากผ้านุ่งและผ้าห่ม แต่เป็นผ้าที่ทอขึ้นเพื่อใช้ใน พิธีแต่งงาน เริ่มจากเมื่อฝ่ายชายไปเจรจาขอหมั้น ฝ่ายหญิงจะตก (เรียกสินสอด) เป็นเงิน ในสมัยก่อนเรียกเป็นจำ�นวนเงินบาท เช่น 9 บาท 19 บาท 29 บาท ฝ่ายหญิงเรียกสินสอดไปเท่าไหร่ ก็ต้องเตรียมทอผ้าไว้ให้ ฝ่ายชายให้เหมาะสมกับที่ตกลงกันไว้ เช่น 9 บาท ผ้า 1 สำ�รับ เรียก 19 บท ผ้า 2 สำ�หรับ 29 บาท ผ้า 3 สำ�รับ ใน 1 สำ�รับนั้นประกอบด้วยผ้านุ่ง 1 ผืน และผ้าห่ม 1 ผืน เมื่อ เจ้าบ่าวยกขุนหมากมาถึงบ้านเจ้าสาว ก็จะเปลีย่ นผ้าสำ�รับใหม่ทเี่ จ้า สาวเตรียมไว้ให้


46 ทอ ถักเป็นผืน ด้วยรัก นาหมื่นศร ี


47

ลายนี้... คือนาหมื่นศรี


48 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

วดลายผ้าทอนาหมื่นศรีเท่าที่พบสามารถแบ่งกลุ่มได้เป็น 3 ลักษณะ คือ ผ้าพื้น ผ้าตา และผ้ายกดอก

ผ้าพื้น

เป็นผ้าทีใ่ ช้เส้นด้ายยืนสีเดียวและก่อเขาลายขัดเท่านัน้ สามาถ ทำ�ให้เกิดลวดลายในเนือ้ ผ้าได้ดว้ ยเทคนิคการใช้เส้นด้าย ในกลุม่ ผ้าพืน้ แบ่งออกเป็น 3 จำ�พวก ได้แก่ ผ้าพื้นธรรมดา ผ้าหางกระรอก และผ้า ล่อง


49

ผ้าพื้นธรรมดา ใช้ด้ายยืนและด้ายพุ่งสีเดียวกัน

จะ

ได้ผ้าพื้นสีเรียบ แต่ถ้าใช้ด้ายพุ่งต่างสี ต่วนหรือไหม จะได้ผ้าสีเหลือบ สมัยก่อนนิบมยืนแดงพุ่งแสดได้สีส้มเหลือบ

ผ้าหางกระรอก เกิดจากการนำ�ด้ายพุง่ ไปประกบกับ

เส้นไหมสีขาวพันกันให้เป็นเกลียว เรียกว่า คบ เมื่อทอแล้วจะเกิดลาย ใยตัวเหมือนหางกระรอก

ผ้าล่อง คือผ้าริว้ หรือผ้าลายทาง เกิดจากการสลับสีดา้ ยพุง่

เป็นตอนๆ ไป ในชุดผ้าล่องนีห้ ากมีการสลับเส้นด้ายพุง่ เป็นจังหวะเท่าๆ กันไปตลอด ก็จะมีชื่อเรียกลายที่แตกต่างกัน


5 0 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ผ้าตา

เป็นผ้าทอที่กำ�หนดสีด้ายยืนมากกว่า 1 สี ส่วนด้ายพุ่งมีตั้งแต่ 2 สีขึ้นไป เพื่อให้เกิดตาสี่เกลี่ยมตามต้องการ เก็บตะกอลายขัดอย่าง เดียวเหมือนกันผ้าพื้น ส่วนใหญ่ทอเป็นเป็นผ้าโสร่งชายและผ้าขาวม้า มีบ้างที่แต่เดิมทอเป็นผ้ายาว การกำ�หนดลวดลายของผ้าตาทำ�ได้โดยการเรียงด้ายยืนสลับสี และด้ายพุ่งสลับสีเช่นกัน


51

ผ้ายกดอก เป็นผ้าทีม่ ลี วดลายนูนสูงขึน้ ในเนือ้ ผ้า เกิดจากการใช้ดา้ ยพุง่ 2 ชนิด ชนิดที่ 1 เรียก ด้ายตี คือเส้นด้ายที่ทำ�ให้ปรากฏดอกเป็นตัวนูน สูงกว่าสีพื้น ทอตาลายแต่ละนัด ชนิดที่ 2 เรียก ด้ายโส ใช้ทอลายขัดสลับลายตีทุกครั้งเพื่อเป็น โครงร่างผืนผ้า และหนุนยกดอกให้นูนเด่น หากเส้นด้ายตีหลุดออกไป ผืนผ้าจะยังคงอยู่ในลักษณะผ้าพื้น


5 2 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ห้อง

ลายสืบทอด มี 3 ลาย ได้แก่ ลายลูกแก้ว ลายแก้วชิงดวง และลายราชวัตร

ลายลูกแก้ว

เป็นลายพื้นฐานของผ้ายกดอกทั้งหมด ผู้ที่ทอผ้าพื้นชำ�นาญ แล้วจะเริ่มหัดทอผ้ายกดอกด้วยลายลูกแก้วเป็นลายแรก ในการทอจะ ต้องรู้จักลำ�ดับลายจึงจะเป็นลูกแก้วตามต้องการ ต้องมีสมาธิสูง จำ�ได้ แม่นยำ�ตลอดเวลาว่าทอถึงนัดไหน


53

ลายแก้วชิงดวง

เป็นลายที่สวยงามและซับซ้อน เป็นการเลือกลายที่มุ่งที่ความ สวยงามประการหนึ่ง และเป็นลายที่ผ่านการพัฒนาปรับปรุงแล้วอีก ประการหนึ่ง และที่สำ�คัญ ลายแก้วชิงดวงสามารถสื่อความหมายได้ดี มาก ลักษณะลายแก้วชิงดวงเป็นรูปวงกลมคล้องกันไว้อย่างดี เหมือน กับสมาชิกกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรีที่รวมใจคล้องใจกันไว้ให้ดพเนินการก ลุ่มมาได้จนปัจจุบัน

ลายราชวัตรห้อง

เป็นลายเก่าที่เพิ่งค้นพบใหม่ ไม่มีผู้สืบทอดการทอ และไม่มี ใครจำ�ได้ว่าเรียงด้ายและเก็บลายอย่างไร เพระาฉะนั้นจึงต้องดร่งฟื้นฟู ขึ้นมาใหม่ ด้วยการศึกษาจากผ้าตัวอย่างโดยตรง


5 4 ทอ ถักเป ็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศรี

ลายแรกเริ่มของกลุ่ม เริ่มทอกี่กระตุกเมื่อปี พ.ศ. 2527

ลายห้า

ลายพริกไทย


55

ลายดอกจิก

ลายดอกพิกุล

ลายหมากรุกย่าน

ลายราชวัตร

ลายหมากรุก


5 6 ททออด้วดย้วรยัก ร

ัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศร ี

ลวดลายในปัจจุบัน กลีบบัว

ใยบัว

ใบบัว

เกสรบัว

ก้านบัว

บัวเพชร

เม็ดบัว


57

เม็ดบัว 2

บึงบัว 1

บึงบัว 2

บึงบัว 3

บึงบัว 4

บึงบัว 5

บึงบัว 6


58 ทอทดอ้วดยร ้วยักร ถ

ถักักเเปป็น็นผผืนืน นา ัก นาหหมมื่นื่นศศรรี ี

ลวดลายในปัจจุบัน ดอกขี้เหล็ก

ขี้เหล็กพวง

มะลิซ้อน

มะลิลา


59

พริกหยวก

ดอกดีปลี

พวงดีปลี

หิ่งห้อย

ฝูงหิ่งห้อย

แสงหิ่งห้อย


6 0 ททออด้วดย้วรยัก ร

ัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศร ี

ลวดลายในปัจจุบัน เกลียวมาลัย

สี่ทิศ

กระดุมทอง

ดาวกระจาย


61

ดาหลา

ใบโพ

เม็ดสะตอ

ประแจจีน


6 2 ททออด้วดย้วรยัก ร

ัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศร ี

ลวดลายในปัจจุบัน พิกุล

สร้อยพิกุล 1

สร้อยพิกุล 2

เกลียวพิกุล

มาลัยพิกุล

เกสรพิกุล

อุบะพิกุล 1


63

ลูกแก้วกลาย

ลูกแก้วกลาย 2

ลูกแก้วกลาย 3

ลูกแก้วกลาย 4

ลูกแก้วแพ

ลูกแก้วเหลี่ยม

ลูกแก้วหกเหลี่ยม


6 4 ททออด้วดย้วรยัก ร

ัก ถักเป็นผืน นาหมื่นศร ี

ลวดลายในปัจจุบัน ข้าวหลามตัด

กรุเพชร 1

กรุเพชร 2

กรุแก้ว 1

กรุแก้ว 2

กรุเพชร 3


65

พันเกลียว 1

พันเกลียว 2

พันเกลียว 3

พันเกลียว 4


6 6 ทอ ถ ทอด้วดย้วรยักร

ถักเป็นผืน นา ัก หมื่นศรี

ลวดลายในปัจจุบัน เสาวรส

เสาวรสโปรย

เสาวรสห้อง

เสาวรสคลื่น 1

เสาวรสคลื่น 2


67

เสาวรสหยดน้ำ�

เสาวรสหยดเพชร

ก้านพลู

เถาพลู

ใบพลู



ทอด้วยรัก... ถักเป็นผืน


70 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

1

2


กี่พื้นบ้าน

7711

การทอผ้าของนาหมืน่ ศรีสมัยก่อนจะเรียกว่า “ทอหูก” หรือ “ทอโหก“ หูกหมายถึงกี่นั่นเอง ภายหลังเมื่อมีกี่กระตุกเข้ามาททจึงเรียกกี่กระตุกนั้นว่า “กี่” ออกเสียง “เก่“ ตามการกลายเสียงและตัดคำ�สั้นๆ ปัจจุบนั การใช้ค�ำ ว่าทอผ้าจะรวมๆ กันไปททไม่แยกความหมายเหมือน เมื่อครั้งก่อน แต่ยังควลักษณะของกี่หรือหูกได้เป็น 2 แบบ คือกี่พื้นบ้านหรือ กี่พื้นเมือง และกี่กระตุก กี่พื้นบ้านหรือหูก บางครั้งเรียกกี่เตี้ย หรือกี่โบราณ เป็นเครื่องมือที่ ทำ�ด้วยไม้ โครงสร้างเป็นโครงไม้รูปสี่เหลี่ยม เพื่อเป็นกรอบสำ�หรับใช้ยึดส่วน ประกอบอื่นๆ มีทนี่ งั่ คนทอผ้าและไม้หน้าผาสำ�หรับม้วนเก็บผ้าทีท่ อแล้วอยูด่ า้ นหนึง่ ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นที่แขวนลูกตุ้งสำ�หรับสอดไม้พันด้ายยืน มีไม้คานพาดไว้ ข้างบน 3 อัน อันแรกสำ�หรับผูกโยงเขาหรือตะกอลายขัด อันที่ 2 ไว้ผูกโยงเขายก ดอก และอันที่ 3 ไว้ผูกโยงลูกตุ้ง ส่วนลด้านล่างมีไม้อีก 2 อัน ผูกโยงกับเขา ลายขัดไว้เพื่อเป็นที่เหยียบขยับเส้นด้าย ภาพที่ 1 : กี่พื้นบ้าน ภาพที่ 2 : ฟืม


7 2 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

เรี้ย

แกนสำ�หรับเอาไว้พันด้าย สำ�หรับไว้เป็นด้ายพุ่ง


73

ตรน

อุปกรณ์พุ่งทอด้าย เป็นทอกลวง สำ�หรับสอดใส่เรี้ย สมัยก่อนทำ�ด้วยไม้ไผ่ ปัจจุบันทำ�ด้วยพลาสติกแทน


7 4 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

การกรอเส้นด้าย

ใช้หลอดด้ายยืนของกีก่ ระตุก จะต้องอยูใ่ นลักษณะหลอดตัง้ อยูต่ ลอด เวลา ฉะนั้นการกรอจะต้องกรอใส่เส้นด้ายเข้าไปอยู่หัว-ท้ายของหลอดก่อน แล้วจึงกรอใส่เส้นด้ายเข้าไปในตอนกลางของหลอดเป็นช่วงสุดท้าย ทัง้ นีจ้ ะทำ�ให้สะดวกรอการตัง้ หลอด เวลาเดินเส้นด้ายจะไม่ตอ้ งกังวล ว่าข้างไหนจะเป็นข้างบนและข้างล่างเพราะตั้งข้างไหนก็ใช้ได้เหมือนกัน ส่วน เส้นด้ายพุ่งเวลาใช้งานจะต้องดึงเส้นด้ายออกทางเดียว จึงต้องกรอจากจุดเริ่ม ต้นเกลี่ยไล่ไป จนสุดปลายหลอดอีกข้างหนึ่ง


75

การเดินด้าย

การเดินด้ายจะต้องคิดว่าผ้าที่ทอแต่ละครั้งต้องการความยาวเท่าไหร่ และหน้ากว้างเท่าใดของหน้ากว้างของผ้า คิดจากจำ�นวนฟันหวีทั้งหมดว่าใช้กี่ ซีแ่ ล้ว เอาจำ�นวนหลอดทีต่ งั้ ในราวตัง้ หลอดไปหาก็จะทราบว่าเดินกีเ่ ทีย่ วจึงจะ เต็มหน้ากว้างของ ส่วนหลักทีจ่ บั เส้นด้ายเข้าคันนัดและสวมไว้ในหลักนัน้ ให้เชือกผูกไว้ กับเอ็นตัง้ หลัก ปล่อยปลายเชือกให้ยาวทิง้ ไว้ดา้ นเดียวสำ�หรับทับเส้นด้ายทีถ่ กู จับครบเทีย่ วทีเ่ ดินเส้นด้ายแต่ละครัง้ โดยพาดทับไปพาดทับมาเพือ่ สะดวกต่อ การนับจำ�นวนเที่ยวว่าเดินด้ายได้กี่เที่ยวแล้ว


76 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี


77 ภาพ : การเดินด้าย

ภาพ : ด้ายพุ่ง


7 8 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

การหวีเส้นด้าย ให้นำ�เส้นด้ายที่ร้อยฟันหวีเสร็จแล้ว เข้าไปกับก็อปปี้ของเครื่องหวีด้วย แล้วดึงเอา ฟั น หวี ม าทางม้ า หวี ด้ ว ย โดยดึ ง ไม้ คั น นั ด เหลื่อมไปคล้องกับใบพัดหวีด้วย และนำ�ไม้คัน นัดแบนไปสอดแทนเชือกที่ผูกมาจากหลักไม้ คันนัด หลังจากนั้นก็ลงมือตรวจดูการเรียงตัว ของเส้นด้ายในช่องฟันหวีแล้วจึงลงมือทำ�การ หวีด้ายต่อไป

การคัดเส้นด้าย การคัดเส้นด้ายเพือ่ จะทำ�ผ้าทีเ่ ป็นดอก ซึ่งจะใช้ตะกอมากกว่า 2 ตับ ถ้าเป็นผ้าลายขัด ซึ่งใช้ตะกอเพียง 2 ตับ ก็ไม่ต้องคัดเส้นด้าย เพราะไม้คันนัดแบ่งเส้นด้ายไขว้กันไว้ให้แล้ว ฉะนั้นความหมายหรือประโยชน์ของการตัด ตะกอ ก็เพื่อจะจัดตำ�แหน่งตะกอไว้สำ�หรับผูก ตะกอแบบเชือกได้สะดวก


79


80 ทอ ถถักักเเปป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก ็นผืน นนาาหหมื่นศร มื่นศรี ี

การสอดฟันฟืม

ในการสอดฟันฟืมต้องใช้คนช่วย 2 คนขึ้นไป เตรียมไม้เรียวใหญ่ๆ ไว้ 1 อัน ไว้รับเป็นไม้รับด้าย และตะขอเบ็ด 1 อัน นำ�เส้นด้ายในห่อหรือใน กะละมังที่เตรียมไว้มาวางหลังฟันฟืม ให้คนอยูด่ า้ นหน้าคนหนึง่ ทำ�หน้าทีส่ อดตะขอเบ็ดผ่านช่องฟันฟืม อีก คนหนึ่งคอยจัดเส้นด้ายคล้องปลายเบ็ด เมื่อดึงหัวด้ายผ่านช่องฟันฟืมมาแล้ว ก็คล้องกับเบ็ดไว้ก่อน แล้วเริ่มสอดใหม่ ทำ�แบบนี้ไปเรื่อยๆ


81


82 ทอ ถถักักเเปป็น็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก ผืน นนาาหหมมื่นศรี ื่นศรี

การหันด้าย เส้นด้ายที่ใช้ในการทอมี 2 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่ ด้ายยืนกับ ด้ายพุง่ ด้ายยืนคือส่วนทีเ่ ป็นโครง ร่างของผืนผ้า ด้ายพุ่งจะแบ่งย่อย ไปตามลักษณะผ้า ถ้าเป็นผ้าพื้นหรือผ้าตา ใช้ดา้ ยพุง่ ชนิดเดียว เรียกว่า “ด้าย ดี” ส่วนผ้ายกดอกจะต้องเพิม่ ด้าย โส คือ ด้ายพุ่งสำ�หรับสลับใช้กับ ด้ายตี เพื่อทำ�ให้เนื้อผ้าแน่นขึ้น และหนุนด้ายตีให้เห็นดอกเด่นชัด


83


88ท4อด้วยรัก 4ททออด้วดย้วรยักร ัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี

การหันด้าย


85

เครื่องหันด้าย


86 ทอ ถถักักเเปป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก ็นผืน นนาาหหมื่นศร มื่นศรี ี

ทอด้วยรัก การกำ�หนดเท่าเพื่อทำ�การทอนั้นขึ้นอยู่กับลวดลายหรือ ดอกผ้า โดยมีหลักการว่าการกำ�หนดเหยียบเท้าจะต้องไม่ให้เท้าไขว้ กัน และเท้าข้างไหนถูกเหยียบกระสวยจะต้องอยูใ่ นรางข้างนัน้ เช่น กำ�หนดให้เหยียบ 1-2-3-4 เท้าซ้ายจะเหยียบ 1 เท้าขวาจะเหยียบ 3 เหยียบ 2


87

และต่อไปเท้าซ้ายเลือ่ นมาเหยียบ 2 เท้าขวาเขยิบไปเหยียบ 4 จึงจะถูกต้อง การทอเป็นผืนผ้าของกี่กระตุก จะต้องเหยียบเท้าละ ครั้ง เหยียบข้างซ้ายและโยกฟันหวีออกไปหาตะกอเพื่อให้เส้นด้าย ยืนช่วงล่างแนบกับรางกระสวย และกระตุกให้กระสวยนำ�เส้นด้ายพุ่งวิ่งจากข้างหนึ่งไปอีก ข้างหนึ่ง แล้วกระทบเข้าหาเนื้อผ้า เสร็จแล้วก็สลับจากซ้ายไปขวา เหยียบและกระตุกกระสวยให้วิ่งผ่านแบบครั้งแรกสลับกันไป เพื่อ ให้เส้นด้ายพุ่งปขัดกับเส้นด้ายยืนเป็นผ้าขึ้นมา


8 8 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี


89


90 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี


91


92 ทอ ถักเป็นผืน ด้วยรัก นาหมื่นศร ี


93

นาหมื่นศรี ในวันนี้ี


9 4 ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี


โอทอป 5 ดาว ของจังหวัดตรัง

ากอดีตลานใต้ถนุ เรือนไม้ของชาวนาหมืน่ ศรีทกุ หลัง ที่ มีโหกหรือกี่พื้นบ้านตั้งอยู่ และมีอุปกรณ์การทอผ้าแขวนติดอยู่บน เพดานใต้ถุน หลังเสร็จจากงานในไร่ในสวน หญิงสาวนาหมื่นศรี ทุกคนจะมานั่งทอผ้า เพื่อไว้ใช้สอยในครอบครัวและในงาน พิธีสำ�คัญต่างๆ ศักดิ์ศรีของชาวนาหมื่นศรีในยุคก่อน จึงอยู่ที่ความ สามารถในการทำ�นาและการทอผ้าจากฝ้ายพื้นบ้านย้อมสี จนกลายเป็นภูมิปัญญาที่สั่งสมมาจนถึงปัจจุบัน นาหมื่นศรีในวันนี้ เห็นได้ถึงความเข้มแข็งของชุมชน และพลังชาวบ้าน จากภูมิปัญญาที่สั่งสมและได้รับการสืบทอด ทั้งยังได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐผลักดันจน “ผ้าทอนาหมื่นศรี” กลายเป็นสินค้าระดับ 5 ดาวของจังหวัด

95


96 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก น าหม ื่นศรี จจุบนั สมาชิกผ้าทอนาหมืน่ ศรีทกุ คน ก็ยงั คงทอผ้ากันอย่างมีความ สุข บางคนมาร่วมทอที่กลุ่ม บางคนนำ�กลับไปทอที่บ้านแล้วแต่ความสะดวก โดยอาศัยช่วงเวลาว่างเว้นจากการทำ�งานหลักคือกรีดยาง มาทอผ้า พูดจา ประสาคนกันเองกับเพื่อนๆ สมาชิก ทำ�ให้ทุกคนใกล้ชิดและสนิทสนมกัน

ปั

ซึง่ ยายกุศล บอกกับฉัน ว่าการทำ�งานจะมีพคี่ อยสอนน้อง เป็นทอดๆ ไป การสอนนั้นจะไม่สอนแต่งานแต่จะสอนคนไปด้วยคือต้องรู้จักสั่งงาน คอย ดูแลซึ่งกันและกัน ในส่วนของรายได้นั้นสมาชิกแต่ละคนจะมีรายได้ตั้งแต่ 2,00010,000 กว่าบาทต่อเดือน ทัง้ นีแ้ ล้วแต่ความขยันและออร์เดอร์ทเี่ ข้ามา ซึง่ ส่วน ใหญ่ออร์เดอร์จะเข้ามาอย่างต่อเนื่อง อยู่ที่ว่าจะผลิตทันหรือไม่เท่านั้น

นั่นทำ�ให้รายได้ของกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรีในแต่ละเดือนไม่น้อยกว่า


97 200,000 บาท และหากเป็นช่วงเทศกาลสงกรานต์หรือวันสำ�คัญต่างๆ อาจมี รายได้เดือนละกว่า 500,000 บาท ซึ่งนับว่ามากโขทีเดียว ในช่วงสงกรานต์จะขายดี เพราะหน่วยงานราชการ นักท่องเที่ยว หรือ ประชาชนทั่วไป จะนิยมสั่งซื้อผ้าไปตัดเสื้อกัน ยอดขายจึงเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว “แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น อย่างที่ยายบอก เราทำ�ไม่ได้เน้นที่ยอดขายหรือราย ได้ จริงอยู่ที่รายได้จากการทอผ้า ออเดอรืส่งขายผ้าทอจะให้ทำ�ชาวบ้านหลาย คนตั้งตัวได้ หรือมีรายได้เพิ่มมากขึ้น แต่ยายจะสอนทุกคนเสมอ ว่างานแต่ละผืน ผ้าแต่ละชิน้ ทีอ่ อกมา เรา ต้องทำ�ด้วยใจรัก ตั้งใจทำ� ไม่เร่งทำ�เพื่อทำ�ยอดขาย เราต้องเน้นที่ตุณภาพ แล้วลูกค้าจะเข้ามาหาเราเรื่อยๆ“


98 ททอ ถักเป็นผืน อด้วดย้วรยักรัก นาหม ื่นศร ี

กระเป๋าอเนกประสงค์


99

ผ้าขาวม้า


100ทอ ถักเป็นผืน ทอด้วดย้วรยักรัก นาหมื่นศร ี

ปลูกฝังภูมิปัญญา

แดดร่มลมตกในยามบ่ายแก่ๆ เช่นวันนี้ หลังเสร็จจากดูน้าๆ สาธิต วิธีการเดินด้ายของผ้าทอนาหมื่นศรีแล้ว สายตาฉันก็เหลือบไปเห็นเด็กๆ อีก ฝั่งข้ามถนน ซึ่งมีป้ายทางเข้าบอกให้ทราบว่าเป็นสถานศึกษา “โรงเรียนบ้านควนสวรรค์“ ป้ายอันโดดเด่นบริเวณทางเข้า บอกฉัน เช่นนั้น แต่ที่สะดุดใจไม่ใช่ป้ายโรงเรียนอันโดดเด่น แต่เป็นเหล่าเด็กน้อยวัย เด็กไม่น่าเกิน 10 ขวบ จับกลุ่มนั่งคุยกันอยู่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ โดยที่ ทุกคนสวมเสื้อที่ค่อนข้างแปลกตาไปจากเครื่องแบบนักเรียนทั่วไป

“สวัสดีครับ/สวัสดีค่ะ“

“พี่มาหาใครคะ/พี่มาถ่ายรูปเหรอครับ“

ทุกคนส่งเสียงถามเซ็งแซ่เมื่อฉันเดินมุ่งตรงไปหาพร้อมกับกล้องถ่าย รูปในมือ บ้างก็นั่งอมยิ้มอย่างเขินอาย ฉันยิ้มรับรอยยิ้มบริสุทธิ์ของเด็กเหล่า ก่อนจะเข้าไปนั่งร่วมวงด้วย เด็กๆ บอกกับฉันว่า กำ�ลังนั่งทำ�การบ้าน รอเวลาโรงเรียนเลิก


101

ภาพ : นักเรียนโรงเรียนบ้านควนสวรรค์กับเสื้อผ้าทอนาหมื่นศรี


11ท00อด้วยรัก 22ททออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหม ื่นศร ี

ฉันพูดคุยสัปเพเหระกับเด็กๆ ไปเรื่อยๆ ก่อนจะถามในสิ่งที่สงสัย

“ทำ�ไมไม่ใส่เสื้อนักเรียนสีขาวกันเอ่ย“ ฉันถามเด็กๆ ทุกคนมองหน้า กันเลิ่กลั่ก งงๆ ก่อนจะมีผู้กล้าหาญตอบฉันว่า “เราต้องใส่เสือ้ ผ้าทอนาหมืน่ ศรีทกุ วันศุกร์คะ่ “ เด็กน้อยผิวเข้มคนหนึง่ ตอบพร้อมรอยยิ้ม และถามฉันกลับมาว่า

“พี่รู้จักผ้าทอนาหมื่นศรีไหมคะ“

“รู้จักสิคะ ผ้าทอนาหมื่นศรีที่คุณน้าๆ ทอกันที่อาคารฝั่งโน้นไง แล้ว ทำ�ไมต้องใส่ผ้าทอนาหมื่นศรีแทนเสื้อนักเรียนคะ รู้หรือเปล่าเอ่ย...”


1 น้าอารอบ เรืองสังข์ ประธานกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรี บอกกับฉันว่า03 กลุม่ ทอผ้านาหมืน่ ศรีเริม่ ขยายโครงการอนุรกั ษ์และสืบสานผ้าทอพืน้ บ้าน โดย การเริ่มปลูกฝังจากเยาวชน โดยทางกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรี จะจัดการเรียนการเรียนวิชาผ้าทอนา หมืน่ ศรี เริม่ จากให้กับเด็กโรงเรียนบ้านควนสวรรค์ อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง ซึ่งเป็นโรงเรียนในตำ�บล จัดการเรียนการสอนวิชาผ้าทอนาหมื่นศรีตั้งแต่ระดับชั้น ป.4-ม.3 โดนจะสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีการจัดสร้างอาคารเรียนและ อุปกรณ์สำ�หรับการเรียนทอผ้าขึ้นโดยเฉพาะ และมีการจัดให้นกั เรียนสวมใส่เสือ้ ผ้าทีท่ อจากผ้าทอนาหมืน่ ศรีทกุ วัน ศุกร์ เพื่อเป็นการอนุกรักษ์ผ้าทอพื้นบ้านให้คงอยู่สืบไป...


11ท00อด้วยรัก 44ททออด้วดย้วรยักรัก ถถักเป็นผืน ักเป็นผืนนาหมื่นศรี นาหมื่นศร ี


110055


แผนที่เพื่อเดินทางไปยังกลุ่มทอผ้านาหมื่นศรี

106ทอ ถถักักเเปป็น็นผผืนืน ทดอ้วดย้วรยักรัก นนาาหหมมื่นื่นศศร รี ี

ติดต่อ

คุณอารอบ เรืองสังข์ 119 หมู่ 8 ตำ�บลนาหมื่นศรี อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง 92170 โทร. 081-4764318, 075-583524


107


108ทอ ถักเป็นผืน ด้วยรัก นาหมื่นศร ี

จุลนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษษตามหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2555 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.