CONTENT 1
PAST I
1.ข้อมูลพื้นที่ ประวัติศาสตร์และการตั้งถิน ่ ฐาน 2.ลักษณะทางกายภาพของชุมชนเมืองเก่า SHAPE OF URBAN AREA PATTERN GRAIN AND 3.IMAGE OF CITY PATH EDGE NODE DISTRICT LANDMARKS รูปแบบสถาปัตยกรรม VISTAS AND SKYLINES CONTOUR SITE SECTION
2
PAST II 5.ANALYSIS PROBLEM AREAS SWOT ANALYSIS TOWS ANALYSIS
3
PAST III
6.DESIGN CONCEPT DESIGN DIAGRAM CONCEPT DESIGN VISION GOAL OBJECTIVE TARKET CONCEPTUAL PLAN ZONNING MASTERPLAN DETAIL PLAN ONE DAY WITH SINGTHA DESIGN GUIDELINES
2369 กองกาลังเมืองยศเข้าร่วมกองทัพ ไปตีเมืองเวียงจันทร์และแต่งตั้งเจ้า ฝ่ายบุตเป็นเจ้าเมืองคนที่3
2417 เกิดศึกฮ่อ
2452 ยุบเมืองเขมราชและรวมในเขต การปกครองเมืองยโสธร
2494 พยายามดาเนินการจัดตั้งจังหวัด ยโสธร แต่ไม่ได้รับการตอบรับ
2329 ปรับปรุงและสร้างบ้านสิงห์ท่าจนเจริญ รุ่งเรือง
2400 พระศรีวรราชขึ้นเป็นเจ้าเมือง คนที่4
2418-2429 แต่งตั้งเจ้าเมืองคนที่5 และแต่งตั้งข้าหลวง กากับราชการเมืองยโสธร
2454-2456 มลฑลอิสานแบ่งเป็น 2 มลฑล และเปลี่ยนชื่ออาเภอปจิมยโสธร เป็นอาเภอยะโสธร
2514 จอมพล ถนอม กิติขจร หัวหน้า คณะปฏิวัติออกประกาศเรื่องการจัดตั้ง จังหวัดยโสธร
2357 ยกฐานบ้านสิงห์ท่าเป็นเมือง ยศสุนทร
2416 ปฏิสังขรณ์วัดท่าแขกและให้ชื่อใหม่ ว่า วัดศรีธรรมาราม
2433 เปลี่ยนการปกครองเป็นเทศาภิบาล มีเมืองอุบลเป็นราชธานี
2314 สร้างเมืองใหม่ที่ดงขวางท่าชีและได้ตั้ง ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านสิงห์ท่า
2489 สมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบล เสนอร่างให้อาเภอยะโสธรเป็น จังหวัดยะโสธร
Pattern Grain And Texture บริเวณย่านใหม่ศูนย์ราชการ มีความหนาแน่นที่มีความเป็น ระเบียบมากกว่าย่านเมืองเก่า โดยเฉพาะย่านศูนย์ราชการ และมีความหนาแน่นลดลงใน บริเวณชุมชนโดยรอบบริเวณ ด้านทิศเหนือมีความหนาแน่น เนื่องจากเป็นด้านที่เข้าถึจาก จังหวัดร้อยเอ็ดทาให้เกิความ หนาแน่นขึ้น
รูปแบบลักษณะเมือง
บ้านสิงห์ท่ามีจุดเริ่มต้นมาจากเมืองหนองบัวลุ่มภู และมีการขยายอาณาเขตออกไปหาพื้นที่ สร้างเมืองหน้าด่าน เมื่อเดินทางมาถึงสิงห์โคก แต่บริบทไม่อานวยในการสร้างเมืองจึงเดินทาง ต่อมาถึงบริเวณริมน้าชี จึงทาการสร้างเมืองขึ้นที่นี่และให้ชื่อบ้านสิงห์ท่า ต่อมามีการได้มีการ ยกฐานะบ้านสิงห์ท่าขึ้นเป็นเมือง ชื่อว่าเมืองยโสธร ชุมชบ้านสิงห์ท่าตั้งอยู่บริเวณริมน้ามีพื้นที่ มากกว่าครึ่งทาการเกษตรและทาการค้ากับต่างชาติทางเรือ ในอดีตจึงมีบทบาทเป็นศูนย์กลาง การค้าริมน้า ต่อมาเมืองมีความเจริญขึ้น มีการย้ายตลาดเพื่อรองรับการเติบโตของเมืองจึง ทาให้พื้นที่มีความซบเซาลง และเกิดการพัฒนาพื้นที่ย่านเมืองเก่าขึ้นและทาให้ย่านชุมชนสิงห์ท่า เจริญขึ้นอีกครัง ้ แต่ก็ขาดการสนับสนุนที่ไม่มากพอ ทาให้ย่านเมืองเก่าชุมชนสิงห์ท่ากลับมาซบ เซาอีกครั้ง ทาให้เกิดโครงการพัฒนาและฟื้นฟูย่านเมืองเก่าสิงห์ท่าขึ้น
TOPOGRAPHICAILY DEFINED CURVILINEAR กาหนดเส้นโค้ง
LORG RECTONGULAR รูปแบบการวางอาคารใน รูปแบบการวางอาคารใน ย่านเมืองใหม่ ย่านเมืองเก่า สี่เหลี่ยมมุมฉาก SHARP TRIANGULOR MUTIPLE DRID ORIENTATIONS
รูปสามเหลีย ่ มทีค ่ มชัด
รูปแบบการวางอาคารใน ย่านชุมชนใหม่
TOPOGRAPHICALLY LNFLUENCED CURVILINEAR เส้นทแยงมุม
SHAPE OF URBAN FORM
ขยายไปทางทิศเหนือ และทางสัญจร
การตั้งถิ่นฐานแรกเริ่มมกีการตั้ง ถิ่นฐานบริเวณริมน้า เดิมเป็นท่า เรือที่ใช้ในการค้าขายแลคมนาคม ทางน้า บ้านสิงห์ท่าในยุคนั้นจึง เป็นพื้นที่เศรษฐกิจของเมือยโสธร และเจริญรุ่งเรืองมากบริเวณสอง ฝั่งถนนอุทัยรามฤทธิ์ และสองฝั่ง ถนนนครปทุม
หลังจากนั้นมีการขยายตัวไปทาย่าน หลังจากนั้นมีการย้ายเมือโดยการ สร้างย่านพาณิชยกรรมใหม่บริเวณทิศการค้าใหม่อย่างต่อเนื่องและขยายตัว ตะวันออกของถนนแจ้งสนิท จึงมีการ ไปตามย่านศูนย์ราชการใหม่ทางทิศ เหนือ และขยายตัวไปตามถนนแจ้งสนิท ขยายตัวของเมืองไปทางย่าการ ค้าใหม่ของเมือง และทาให้พื้นที่สิงห์ท่า หมายเลข23 ขยายตัวไปตามถนน หมายเลข3018 และมีโครงการสร้าง ซบเซาลง สถานีรถไฟเลิงนกทา เมืองจึงขยายตัว ไปตามบริเวณทางนี้อีกด้วย
ผังการใช้ประโยชน์ที่ดินเมืองยโสธร ผังเมืองรวมเมืองยโสธรปีพ.ศ 2529
ผังเมืองรวมเมืองยโสธรปีพ.ศ 2539
ผังเมืองรวมเมืองยโสธรปีพ.ศ 2548
ผังเมืองรวมเมืองยโสธรปรับปรุงครั้งที่ 3
IMAGE OF CITY
ถนนทางหลวงหมาย 292 ขอบเขตแม่น้าชี ถนนทางหลวงหมายเลข 202
ถนนรัตนเขต
ขอบเขตแม่น้าชี ถนนแจ้งสนิท
ถนนแจ้งสนิท
พื้นที่บ้านสิงห์ท่ามีขอบเขตการเติบโตทีค ่ ่อนข้างจากัด ทาให้ ปัจจุบันมีขนาดชุมชนหนาแน่น และมีบทบาทเป็นชุมชน อนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ ขาดแลนด์มาร์คที่เป็นทีร ่ ู้จัก และขาดการนาทางในการเข้าถึง
ถนนแจ้งสนิท ถนนทางหลวง ถนนทางหลวง ถนนรัตนเขต หมายเลข 292 หมายเลข 202
ถนนประชา สัมพันธ์
ขอบเขตแม่น้าชี
คลองเซียม
บขส.จังหวัดยโสธร
เทสโก้ โลตัส ยโสธร
ถนนคนเดิน ตลาดโต้รุ่ง สวนสาธารณะริมชี วิมาณพญาแถน ประตูเมืองบ้านสิงห์ท่า
สวนสาธารณะพญาแถน
ย่านชุมชนเกิดใหม่ ย่านเมืองใหม่ ย่านเมืองเก่า ถนนคนเดิน
ประตูเมือง บ้านสิงห์ท่า
ตลาดโต้รุ่ง
วิมานพญาแถน อนุสาวรีย์ พระสุนทรราชวงศา
ย่านชุมชนเกิดใหม่
ย่านเมืองเก่า
ย่านเมืองใหม่
อุทยานการ เรียนรู้
ประตูเมือง บ้านสิงห์ท่า
สวนสาธารณะ วิมานพญาแถน พญาแถน
PATH
DISTRICT
NODE
เส้นทางทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ
บริเวณช่วงถนนทีม ่ ก ี ารทากิจกรรม ่ ด ุ คือ เส้นทางทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการเข้าถึงพืน ้ ทีแ่ ละ หรือรวมตัวกันของชุมชนมากทีส เส้นถนนสายวัฒนธรรม เช่น การตัก สามารถเป็นเส้นหลักในการ เข้าถึงได้คอ ื บาตร หรือกิจกรรมอื่น ๆ วารีย์ราชเดช -ถนนเขตยศไก
EDGE
LANDMARK
ย่านสาคัญ ย่านเมืองเก่าเป็นย่านที่มีความสาคัญของพื้นที่และมี เอกลักษณ์ด้านสถาปัตยกรรม ที่เป็นจุดเด่นทาให้มีการ แบ่งย่านที่ชัดเจน รวมทั้งมีวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจาก อดีตหรือกิจกรรมที่ชัดเจนจากความหลากหลายทางชาติพันธ์
แลนด์มาร์คชุมชน แลนด์มาร์คชุมชนบ้านสิงห์ท่ามีจด ุ เด่นด้าน สถาปัตยกรรมทีม ่ ค ี วามหลักหลายแต่มก ี าร สร้างจุดเด่นขึน ้ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีการแบ่งขอบ เขตที่ชัดเจน ระหว่างเมิองเก่า บ้านสิงห์ท่า และ เมืองใหม่
ถนนหลัก
ถนนแจ้งสนิท
1.วัดบ้านสิงห์ท่า
2.หลังวัดบ้านสิงห์ท่า เมืองใหม่
ประตูบ้านสิงห์ท่า
ขอบเขตฝัง ่ เมืองใหม่
วัดบ้านมหาธาตุ
ขอบเขตทางด้าน ทิศเหนือมีการ สิ้นสุดถึงขอบเขตย่าน ราชการ ถนนรอง
ซอยวารีย์ราชเดช
3.อนุสาวรีย์
่ 4.วัดศรีธรรมมาราม เมืองเก่าบ้านสิงห์ทา
ขอบเขตย่านราชการ
พระสุนทรราชวงศา
ถนนย่อย
ซอยนครปทุม
5.วัดมหาธาตุ
6.ศาลหลักเมือง
ชุมชนย้ายเข้ามาใหม่
ขอบเขตแม่นาชี ้
ศาลหลักเมือง
ร้านสมประสงค์
ขอบเขตทางด้าน แม่น้าชีมีการสิ้น สุดบริเวณเวณ แม่น้า อุทยานการเรียนรู้บ้านดิน
สมกอสถาน
ระบบขนส่งสาธารณะ
B
C
A
A
B
D C D
ระบบขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งสาธารณะของเมือยโสธร รถโดยสารประจาทางที่วิ่งระหว่าง จังหวัดไม่ผ่านใจกลางเมืองระบบ ขนส่งภายในเมืองจะเป็นรถสองแถว ซึ่งผ่านบริเวณถนนแจ้งสนิทและ วินมอไซค์ ทาไห้การเดินทางภายใน เมืองข้อนข้างลาบาก
เส้นทางเดินและการใช้พน ื้ ที่ ทางเท้า ทางเดินบริเวณย่านบ้านสิงห์ท่าทาง เทศบาลได้จัดเป็นทางเท้าเพื่อส่งเสริม การเดิน แต่ยังมีการใช้รถร่วมกันใน พื้นที่ ทางชุมชนมีการจัดจาหน่ายสินค้า บริเวณริมทางเท้า เป็นการจัดขึ้นทุก สัปดาห์
ย่านชุมชนเก่า การใช้ประโยชน์ อาคาร ส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่อยู่อาศัย ความสูงอาคารประมาณ 610เมตร เรียงชิดติดกัน ให้ความรู้สึกปิดล้อม
อาคารบางหลังมีการประโยชน์แบบ mix use ค้าขายและพักอาศัย มีระยะห่างระหว่างอาคาร เป็นช่วงๆให้ความรู้สึกไม่อึดอัด
อาคารเก่าบางหลังมีการใช้ประโยชน์เป็น แหล่ง เรียนรู้ชุมชน เป็นอาคารเรียงชิดติดกัน ให้ความ รู้สึกแออัด
พื้นที่อาคารบริเวณเส้นหลักของชุมชนให้ความรู้สึก โล่ง เพราะขนาดถนนที่กว้างและอาคารที่มีความสูง ไม่มาก ประมาณ 6-10 เมตร
VISTA AND SKY LINE
รู ป แ บ บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม
บ้านสิงห์ท่าเป็นพื้นที่มีเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมเฉพาะตัวและมี สถาปัตยกรรมเก่าแก่อยู่มาก เช่น ตึกดินโบราณ อาคารไม้เก่า ห้อง แถว บ้านดิน เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกสมัยที่ฝรั่งเศส ปกครองแม่น้าโขงฝั่งซ้าย รัชกาลที่6 และ7 จึงปรากฏลวดลาย ศิลปะที่งดงาม
อาคารส่วนใหญ่กลุ่มอาคารที่อยู่ในช่วง 90ปีขึ้นไป ศิลปะแบบตะวักตกสร้างขึ้นด้วย ช่างฝีมือชาวเวียดนามเป็นส่วนใหญ่ COLOR TONE
USER AND ACTIVITY
คนในชุมชน
ริมแม่น้าชี
ผู้ใช้บริการ
คนนอกพื้นที่
พฤติกรรมเดิมในพื้นที่
พฤติกรรมใหม่ในพื้นที่
พื้นที่ริมชี จัดให้เป็นพื้นที่จัด กิจกรรมนันทนาการ เช่น การ ออกกาลังกาย แม้กระทั้ง งาน ประจาปีของจังหวัด งานกาชาด มีพื้นที่รองรับน้า และบาบัดน้าเสีย บุ่งใหญ่ ที่ใช้เป็นพื้นหาปลาของ ชาวบ้าน สภาพของพื้นที่ขาดการ ดูแล ช่วงกลางวันคนไม่นิยมมาให้ งานเนื่องจากร่มเงาไม่เพียงพอ คนจึงมาใช้งานในช่วงตอนเย็นเป็น ส่วนใหญ่
ปรับปรุงพื้นที่ ให้เป็นสวนสาธารณะ พื้นรองรับคนในชุมชน และผู้ที่อาศัยใน บริเวณใกล้เคียง ปรับภูมิทัศน์ให้มี ความร่มรื่น สวยงาม และน่าใช้งาน มากขึ้น เพื่อดึงดูดนักท่อง เที่ยวให้เข้ามาใช้งานได้ตลอด ทั้งวัน ปรับระบบน้าเสีย และการปล่อยน้าลงสู่ ธรรมชาติ
06.00TIMING
09.00
12.00
15.00
20.00
06.00TIMING
09.00
12.00
15.00
20.00
09.00
12.00
15.00
20.00
TIMING
06.00
USER AND ACTIVITY ย่านเมืองเก่า
คนในชุมชน
ผู้ใช้บริการ
คนนอกพื้นที่
พฤติกรรมเดิมในพื้นที่
พฤติกรรมใหม่ในพื้นที่
พื้นที่ชุมชนเก่าบ้านสิงห์ท่า เป็นพื้นที่ชุมชนที่ มีการประกอบ การค้า การประมง เป็นส่วนใหญ่ ผู้ที่อยู่อาศัยเริ่มย้ายออกไป อาศัยที่อยุ่ใหม่ จึงทาให้เกิดอาคารร้าง แต่ ภายในพื้นที่เต็มด้วย สถาปัตยกรรมเก่า ที่ น่าอนุรักษณ์ การใช้งานพื้นที่ในปัจจุบัน หลักๆจะเป็นการค้าขายระดับชุมชน นักท่องเที่ยวเข้ามาเป็นส่วนน้อย
โครงการอนุรักษณ์พื้นที่เมืองเก่า เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็น การปรับปรุงถนนคนเดินใหม่ และ การปรับปรุงถนนใหม่ในหลายเส้น และเพิ่มร่มเงาโดยการปลูกต้นไม้ การเสริมสร้างให้คนในพื้นที่มีส่วน ร่วมในการพัฒนา และอนุรักษณ์ เอกลักษณ์ความดั้งเดิมของพื้นที่และ อาคารเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามา ในพื้นที่
TIMING
06.00
09.00
12.00
15.00
20.00
09.00
12.00
15.00
20.00
09.00
12.00
15.00
20.00
TIMING
06.00 TIMING
06.00
กลุ่มชาติพันธุ์ -คนในพื้นที่จะมีไทยแท้เป็นส่วนมาก และมีคนไทยเชื่อสายจีนเข้ามาบ้าง ตั้งแต่อดีต รวมถึงคนลาวที่เข้ามา ดั่งเดิมเช่นกัน อาชีพ -ทานา เป็นจานวนมาก และส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ โดยรอบของเมือง
วัฒนธรรม -ให้ความสาคัญกับฮีต 12 ครอง 14 งานประเพณีต่างๆของภาคอีสาน เช่น บุญบั้งไฟ เป็นต้น
ศาสนา -ส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ -อิสลาม
กลุ่มผู้ใช้งาน -คนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการ
สังคมและวัฒนธรรม ประเพณีที่อยู่ใกล้กับโครงการ ประเพณีลอยกระทง บุญบัง ้ ไฟ ที่จัดอยู่สวนพยาแถน งานประจาปี ที่จด ั อยู่สวนสาธารณะริมชีงานตรุษจีน จัดอยู่ในพื้นที่โครงการ
เดือนอ้าย - บุญเข้ากรรม เดือนยี่ - บุญคูนลาน เดือนสาม - บุญข้าวจี่ เดือนสี่ - บุญพระเวส เดือนห้า - บุญสงกรานต์ เดือนหก - บุญบั้งไฟ เดือนเจ็ด - บุญซาฮะ เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา เดือนเก้า - บุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ - บุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง - บุญกฐิน
ฮีต 12 คอง 14
CONTOUR SITE SECTION แสดงระดับความสูงความ ลาดเอียงของพื้นที่ตั่งแต่บริเวณบ้านสิงห์ทา ่ จนถึงแม่น้าชี ทาให้เห็นพื้นที่ปัญหาของ โครงการ ตั่งแต่บริเวณหลังวัดสิงห์ท่าจนถึง แม่น้าชีเป็นพื้นที่ต่าเสี่ยงต่อการเกิดน้าท่วม
PROBLEM AREA พื้นที่ปัญหา PROBLEM AREA พื้นที่ปัญหา 1 ประเด็นการอนุรก ั ษ์อาคารเดิมทีท ่ รุดโทรม
การปรับปรุงซ่อมแซมสถาปัตยกรรมมีความละเอียดอ่อนและความซับ. ซ้อนในการซ่อมแซม
BESE MAP
2 ประเด็นปัญหาด้านการรับรู้ที่ตง ั้ โครงการ
ประเด็นด้านการรับรู้ทต ี่ ง ั้ โครงการยังไม่มีตาแหน่งของสิ่งบอกทางที่ ชัดเจน ทาให้ยากต่อการเข้าถึงโครงการ 3 ปัญหาอาคารทรุดโทรม
ปัญหาอาคารทรุดโทรมตามกาลเวลา ขาดการดูแล ทาให้บ้านไม้บาง หลังและตึกดินบางหลังมีความทรุดโทรมค่อนข้างมากและยังขาดการ ดูแลจากภาครัฐ 4 ปัญหาน้าท่วม
KEY MAP
ปัญหาน้าท่วมเนื่องจากพื้นที่บางส่วนของบ้านสิงห์ท่าเป็นพื้นทีต ่ ่า มี โอกาสน้าท่วมสูง น้าท่วมครั้งล่าสุดช่วงปลายปี 2562 5 ปัญหาด้านการเติบโตของเศรษฐกิจ
เนื่องจากพื้นที่มีลักษณะการค้าขายกันเพียงในชุมชนมากเกินไป ทาให้ เศรษฐกิจในพื้นที่ไม่มีการตื่นตัว พื้นที่ย่าน ชุมชนเก่า โรงเรียน พื้นที่สีเขียว
พื้นที่ริมน้า
พื้นที่ส่วนราชการ
พื้นที่ย่าน เศรษฐกิจเก่า
พื้นที่ชุมชนแออัด
แหล่งน้า
พื้นที่เสี่ยงน้าท่วม
SWOT ANALYSIS
กายภาพ
พื้นที่โครงการ ย่านเมืองเก่า มีเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมทีแ่ ตก ต่างจากสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของ ชาวยโสธร
มีปัญหาพื้นที่สีแดงหรือพื้นทีอ ่ าชญากรรมอยู่ ภายในโครงการ กายภาพ
ขาดการนาทางและการเข้าถึงที่มี ประสิทธิภาพ
กายภาพ
สังคม
มีการจัดกิจกรรมต่างๆในชุมชน มีความ ร่วมมือกันระหว่างคนในชุมชน
สังคม
มีการจัดประชุมต่างๆในชุมชนอยู่เสมอและ คนในชุมชนก็ให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
เศรษฐกิจ
มีโอกาสที่จะส่งเสริมพื้นที่ยา ่ นเมืองเก่า ให้เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวและรองรับ นักท่องเที่ยว
สังคม
ลักษณะชุมชนไม่เป็นชุมชนเมืองมากนักชุมชน อยู่ร่วมกันแบบละแวกข้างเคียงมีการช่วยเหลือ กันและกันภายในชุมชน
ชุมชนขาดการนาทางและการเข้าถึงที่มี ประสิทธิภาพ และมีความเสือ ่ มโทรมของ อาคาร
สังคม
คนในพื้นที่ไม่คอ ่ ยให้ความสนใจในเรื่อง การอนุรักษ์อาคารเก่า
เศรษฐกิจ
การเติบโตของเศรษฐกิจเป็นไปได้ค่อน ข้างยากเพราะเศรษฐกิจไปเติบโตทีฝ ่ ั่ง เมืองใหม่
พื้นที่เศรษฐกิจฝั่งเมืองใหม่สามารถรองรับ กิจกรรมต่างๆในพื้นทีไ่ ด้เป็นอย่างดี เศรษฐกิจ
พื้นที่ถนนคนเดินย่านเมืองเก่าสิงห์ท่ามีโอกาส เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ลักษณะชุมชนเมืองเก่าที่ขาดการส่งเสริม ทางด้านอัตลักษณ์หรือความสมบูรณ์ของ รูปแบบอาคาร ลักษณะทีแ่ ออัดของชุมชนในบางจุดมี ลักษณะการเข้าถึงได้ยาก
มีพื้นที่แม่น้าชีและบุง ่ ใหญ่ให้คนในพื้นทีไ่ ด้ใช้ งาน
เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆมากมาย ทางหน่วยงานไม่ได้มีการสนับสนุนอย่าง ชัดเจนในเรื่องอัตลักษณ์ของอาคารที่บ่ง บอกถึงชุมชนเมืองเก่า ประชาชนและภาครัฐขาดความร่วมกัน
กายภาพ
มีหน่วยงานราชการต่างๆที่ตั้งอยู่บริเวณ โดยรอบของพื้นที่
ความเสื่อมโทรมของสถาปัตยกรรม และความซบเซาของพื้นที่
มีพื้นที่สาธารณะสาหรับไว้รองรับกิจกรรม ของคนในชุมชน
มีชุมชนเมืองเก่าเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ที่จะเข้ามามีบทบาททางด้านการส่งเสริมใน ทางการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจ
มีการแบ่งกลุม ่ ของคนในชุมชน ระหว่างเขต ชุมชนพื้นถิ่นเดิมและประชาชนที่เข้ามาใน ชุมชน
ลักษณะการค้าขายกันเพียงในชุมชน มากเกินไป ทาให้เศรษฐกิจในพื้นที่ไม่มี การตื่นตัว
TOWS ANALYSIS
STRENGTH
STRENGTH
OPPORTUNITY กลยุทธ์เชิงรุก
SO1
ปรับปรุงส่วนพื้นที่บริเวณย่านชุมชนเก่า เมืองสิงห์ท่า อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ที่ สมบูรณ์ สามารถเข้าถึงและรองรับ นักท่องเที่ยวในอนาคตได้
SO2
ปรับปรุงถนนคนเดินสายวัฒนธรรม ให้มี ความหลากหลายด้านกิจกรรมและดึงดูด ผู้คน ให้เศรษฐกิจตื่นตัว
SO3
เพิ่มพื้นที่รองรับสาหรับกิจกรรมชุมชน ต่างๆให้เป็นระเบียบและการจัดงานใน วันสาคัญต่างๆของพื้นที่
THREATS
WEAKNESS THREATS
กลยุทธ์เชิงรับ
กลยุทธ์เชิงป้องกัน
ST1
ปรับปรุงลักษณะการเข้าถึงพื้นที่ โครงการให้มีความชัดเจนและสะดวก มากยิ่งขึ้นหรือปรับปรุงในเรื่องการนา ทางให้ชัดเจน
ST2
ให้ความกับเศรษฐกิจในพื้นที่ ปรับปรุงพื้นที่เศรษฐกิจและกระตุ้น เศรษฐกิจในพื้นที่ให้ตื่นตัวและเติบโต
ST3
ให้ความสาคัญทางด้านอัตลักาณ์ หรือความสมบูรณ์ของรูปแบบ อาคารเก่าในพื้นที่
WT1
ปรับปรุงฟื้นฟู ย่านบริเวณเมืองเก่าสิงห์ ท่า ให้รองรับการใช้งานด้านการ ท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
WT2
ปรับปรุงรูปแบบของพื้นที่ รูปแบบ อาคารให้มีความสะท้อนอัตลักษณ์และ เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมที่ แตกต่างและเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน
WT3
ส่งเสริมกิจกรรมและประเพณีภายใน ชุมชน ให้มีความหลากหลายในแต่ละ ย่าน
WEAKNESS OPPORTUNITY กลยุทธ์เชิงแก้ไข
WO1
เพิ่มอัตลักษณ์ ย่านถนนคนเดิน เพื่อให้มี ความน่าสนใจ โดดเด่นและดึงดูดในเรื่อง ของเศรษฐกิจชุมชนเมืองเก่า
WO2
เพิ่มลักษณะการเข้าถึงของคนภายนอก พื้นที่ด้วยกิจกรรมและประเพณีต่างๆของ ชุมชน
WO3
พื้นที่ที่บ่งบอกเมืองเก่า ลักษณะการ เข้าถึงพื้นที่ย่านเมืองเก่าอย่างชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น
ลอดช่อง
CONCEPTUAL DIAGRAM
ขนมจีน น้างัว
ปลาส้ม
WALK เดิน BIKE จักรยาน
E
A F
ECONOMIC ส่งเสริมเศรษฐกิจ ARCHITECTURE ฟื้นฟูเอกลักษณ์ สถาปัตยกรรม
FOLKWAYS / LIFE STYLE วิถีชีวิต / วิถีชาวบ้าน
ทางเดินเท้า และสามล้อปั่น
ของกิน
ทางเดินเท้า และสามล้อปั่น
ศูนย์การ เรียนรู้
การ เรียนรู้
ศูนย์การ บริการ
ตลาดน้า
วัด
สถาปัตยกรรม
เอกลักษณ์ เชื่อชาติ ชาติพันธุ์
ONE DAY WITH SINGTHA
ย้อนอดีต เมืองท่า
โฮมสเตย์
สวน
วัฒนธรรม ทางเดินเท้า และสามล้อปั่น
ทางเดินเท้า และสามล้อปั่น
การค้า
ท่าน้า
VISION
GOAL
1. การอนุรักษ์ปรับปรุงส่งเสริมมนต์
-เพื่อการฟื้นฟูและอนุรักษ์ OBJECTIVE 1
สถาปัตยกรรม
TARGET 1
เสน่ห์สถาปัตยกรรม 2.การปรับปรุงโครงข่ายการเดินเท้า 3. SINGTHA THE GALLERY
มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม ส่งเสริมเอกลักษณ์เมืองริมน้า ย้อนอดีตเมืองท่า สู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
เศรษฐกิจ -ส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่ พัฒนาและ ปรับปรุงพื้นที่ทางเศรษฐกิจเดิมเพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพิ่มรายได้ให้แก่คน ในชุมชน
-เพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจ OBJECTIVE 2
เดิมของพื้นที่และการ
1.ศูนย์การเรียนรู้วิถีชว ี ิตบ้านสิงห์ทา ่ TARGET 2
3.ปรับปรุงและส่งเสริมกิจกรรมสาธารณะริมชี
ท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
สถาปัตยกรรม -ฟื้นฟูและอนุรักษ์สถาปัตยกรรม และ ส่งเสริมทางเท้า และทางจักรยาน สร้างความต่อเนื่องในแต่ละพื้นที่
1.ศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
-เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิต วิถีชว ี ต ิ -พัฒนาและออกแบบสถานที่ท่องเที่ยว จากวิถีชีวิตเดิม เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ให้กับคนใจชุมชน
OBJECTIVE 3
ของคนในชุมชน และรองรับ นักท่องเที่ยว
2. HOME STAY ริมน้าและล่องเรือริมชี
TARGET 3
2.ปรับปรุงย่านที่พก ั อาศัยสาหรับผูม ้ ร ี ายได้น้อย 3.ออกแบบปรับปรุงภูมท ิ ัศน์ริมชี
ZONING
CONCEPTUAL PLAN ที่พักอาศัย อารคารทีม ่ ค ี ณ ุ ค่า อาคารพาณิชยกรรม
ศาสนสถาน ที่พักอาศัยผูม ้ ร ี ายได้นอ ้ ย ศูนย์บริการ ริมชี ถนนหลัก(แจ้งสนิท) ถนนหลักเข้า โครงการเส้นทางสามล้อชมเมือง ทางเดินเท้า
จุดเปลี่ยนถ่าย(สามล้อปั่น)
VISION
ZONE A
มนต์เสน่ห์ สถาปัตยกรรม
1.โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม ส่งเสริมเอกลักษณ์เมืองริมน้า ย้อนอดีตเมืองท่า มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม สู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต ZONE B
2.โครงการศูนย์เรียนรูว ้ วิถีชีวิต ชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า ZONE C
3.โครงการอกกแบบปรับปรุงพื้นที่ กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์ 4.โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยว
จุดรองรับนักท่องเที่ยว
ZONE D
Nodeใหม่
5.โครงการปรับปรุงย่านที่พก ั อาศัย สาหรับผู้มีรายได้นอ ้ ย
แลนด์มาร์ค
ZONE E
6.โครงการโฮมสเตย์ริมน้า 7.โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์รม ิ ชี
DETAIL ZONING
MASTER PLAN โครงการออกแบบฟืน ้ ฟูเมืองเก่าชุมชนบ้านสิงห์ทา ่
โครงการอนุรก ั ษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่หส ์ ถาปัตยกรรม
โครงการศูนย์เรียนรูว ้ ถ ิ ช ี ว ี ต ิ ชุมชนริมน้าบ้าน สิงห์ท่า
โครงการปรับปรุงย่านทีพ ่ ก ั อาศัย สาหรับผูม ้ ร ี ายได้นอ ้ ย
โครงการโฮมสเตย์รม ิ น้า
2
1 6
โครงการออกแบบปรับปรุงพืน ้ ที่ กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
4
7
3
5
โครงการศูนย์บริการเพือ ่ รองรับ นักท่องเทีย ่ ว
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมท ิ ศ ั น์รม ิ ชี
1 โครงการอนุรก ั ษ์ปรับปรุงและส่งเสริมมนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด ย่านเมืองเก่า และทางเท้า ปรับปรุงโครงข่ายทางเท้าให้มีความน่าใช้งานมากขึ้น โดยการเพิ่มร่มเงาให้กับทางเดินเท้า ทาให้สามารถเดินชมอาคารสถาปัตยกรรมได้ สะดวกสบายมากขึ้น รวมถึงทางจักรยานที่จะเชื่อมโยงกับพื้นที่ต่างๆโครงการได้ดี
CONCEPT DIAGRAM
SECTION โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
PERSPECTIVE DAY
PERSPECTIVE NIGHT
โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
BEFORE โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
AFTER โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
SECTION โครงการอนุรักษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรม
โครงการปรับปรุงและประยุกต์การใช้สอยโรงหนังเก่า
ADAPTIVE RE-USE PERSPECTIVE DAY
ปรับปรุงและประยุกต์การใช้สอยโรงหนังเก่าบ้านสิงห์ท่า ADAPTIVE RE-USE
PERSPECTIVE NIGHT ปรับปรุงและประยุกต์การใช้สอยโรงหนังเก่าบ้านสิงห์ท่า ADAPTIVE RE-USE
BEFORE ปรับปรุงและประยุกต์การใช้สอยโรงหนังเก่าบ้านสิงห์ท่า ADAPTIVE RE-USE
AFTER ปรับปรุงและประยุกต์การใช้สอยโรงหนังเก่าบ้านสิงห์ท่า ADAPTIVE RE-USE
2
โครงการศูนย์เรียนรูว ้ ิถีชว ี ิตชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด ศูนย์การเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนบ้านสิงห์ท่าเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิถี ชีวิตของคนในอดีต และจาลองเมืองท่าในอดีตให้นักท่องเที่ยวได้เยี่ยมชม รวมทั้งยังมีการเรียรนรู้เชิงเกษตรกรรม และขายสินค้าเกษตอินทรีย์
CONCEPT DIAGRAM
SECTION
โครงการศูนย์เรียนรูว ้ ิถีชว ี ิตชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
PERSPECTIVE DAY โครงการศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิต ชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
PERSPECTIVE NIGHT โครงการศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิต ชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
BEFORE โครงการศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิต ชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
AFTER โครงการศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิต ชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
SECTION
โครงการศูนย์เรียนรูว ้ ิถีชว ี ิตชุมชนริมน้าบ้านสิงห์ท่า
3 โครงการออกแบบปรับปรุงพืน ้ ที่กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด สวนสาธารณะอณุสาวรีย์ มีการจัดการออกแบบให้เกิดกิจกรรมต่างๆของ ชุมชน ลักษณะเป็นลานอเนกประสงค์เป็นสวนสาธารณะที่แบ่งออกเป็นสองส่วน คือส่วนวัยรุ่น และผู้สูงอายุ
CONCEPT DIAGRAM
SECTION
โครงการออกแบบปรับปรุงพืน ้ ที่กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
PERSPECTIVE DAY
PERSPECTIVE NIGHT
โครงการออกแบบปรับปรุงพื้นที่ กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
โครงการออกแบบปรับปรุงพื้นที่ กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
BEFORE โครงการออกแบบปรับปรุงพื้นที่กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
AETER
โครงการออกแบบปรับปรุงพื้นที่กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
SECTION
โครงการออกแบบปรับปรุงพืน ้ ที่กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
4
โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด ศูนย์บริการนักท่องเทีย ่ ว แนวความคิด ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ออกแบบให้เป็นศูนย์บริการ สาหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้บริการ มีพื้นที่จัดนิทรรศการชั่วคราว และมีร้านอาหารให้บริการแก่นักท่องเที่ยว มีที่จอดรถให้กับนักท่องเที่ยว และยังเป็นจุดกระจายนักท่องเที่ยวไปยังพื้นที่ต่างๆ ของโครงการ CONCEPT DIAGRAM
SECTION
โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
PERSPECTIVE DAY โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยว
PERSPECTIVE NIGHT โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยว
BEFORE โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
AFTER โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
SECTION
โครงการศูนย์บริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
5 โครงการปรับปรุงย่านที่พักอาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด ออกแบบปรับปรุงพื้นที่ ให้มีการใช้งานที่หลากหลาย และเหมาะสาหรับ ทุกวัน ปรับให้เป็นพื้นที่เปิดโล่งมากขึ้น ทาให้ทัศนียภาพของชุมชนน่าอยู่ มากขึ้น มีความปลอดภัยสาหรับผู้ที่จะเข้ามาชุมชน CONCEPT DIAGRAM
SECTION
โครงการปรับปรุงย่านที่พักอาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย
PERSPECTIVE DAY
PERSPECTIVE NIGHT
โครงการปรับปรุงย่านทีพ ่ ก ั อาศัย สาหรับผูม ้ ร ี ายได้นอ ้ ย
โครงการปรับปรุงย่านทีพ ่ ก ั อาศัย สาหรับผูม ้ ร ี ายได้นอ ้ ย
BEFORE โครงการปรับปรุงย่านที่พักอาศัย สาหรับผู้มีรายได้น้อย
AFTER โครงการปรับปรุงย่านที่พักอาศัย สาหรับผู้มีรายได้น้อย
SECTION
โครงการปรับปรุงย่านที่พักอาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย
6 โครงการโฮมสเตย์ริมน้า
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
แนวความคิด ออกแบบปรับปรุงริมชี และเพิ่มกิจกรรมริมชีกิจกรรมล่องเรือริมชี และออกแบบ โฮมสเตย์เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว บริเวณริมชี และกะตุ้นเศรษฐกิจ ย้อนอดีตเมืองท่า
CONCEPT DIAGRAM
SECTION
โครงการโฮมสเตย์ริมน้า
PERSPECTIVE DAY โครงการออกแบบโฮมสเตย์ริมชี
PERSPECTIVE NIGHT โครงการออกแบบโฮมสเตย์ริมชี
BEFORE โครงการออกแบบโฮมสเตย์ริมชี
AFTER โครงการออกแบบโฮมสเตย์ริมชี
SECTION
โครงการโฮมสเตย์ริมน้า
7
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
PERSPECTIVE
SECTION
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
PERSPECTIVE DAY โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
PERSPECTIVE NIGHT
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
BEFORE
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
AFTER
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
SECTION
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ริมชี
ONE DAY WITH SINGTHA MORNING
ARCHITECTURE
สัมผัสวิถีชีวิตชุมชนเก่าบ้านสิงห์ท่า ชื่นชมสถาปัตยกรรม ตักบาตร ไหว้พระ ชมวัด ปั่นจักยานชมเมือง
AFTERNOON FOOD
ลิ้มรสอาหารพื้นถิ่น ของขึ้นชื่อชุมชน บ้านสิงห์ท่า และเมืองยโสธร
EVENING
FOLKWAYS LIFE STYLE
-เรียนรู้วิถีชีวิตริมน้าของคนในอดีต -ร่องเรือชมธรรมชาติสองฝั่งริมชี -ถนนคนเดินริมชี
DESIGN GUIDELINES Shared Streets ( บ้านสิงห์ท่า ) ภาพรวมโครงการ การใช้ถนนย่านเมืองเก่าสิงท่า ใช้เป็นรูปแบบ shared streets คือถนนที่เป็นการแชร์รูปแบบ การใช้งานผสมการใช้ถนนร่วมกันระหว่างผู้เดิน เท้าจักยานและ รถยนต์
เนื่องจากถนนบริเวณย่านเมืองเก่าบ้านสิงห์ท่ามี ขนาดค่อนข้างแคบยากต่อการขยายเส้นทาง การสัญจรให้มีขนาดใหญ่ จึงใช้แนวความคิด shared streets เพื่อให้สามารถใช้งานพื้นที่ ร่วมกันได้ระหว่างผู้ใช้รถยนต์ ผู้คนที่เดินเท้าและ จักยาน และยังมีการประเปลี่ยนรูปแบบของพื้น โดยมีรูปแบบมาจากลายผ้าขิดลายลูกหวายของ จังหวัดยโสธร บริเวณด้านข้างของถนนจะมีการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวและสตรีทเฟอร์นิเจอร์ในจุดต่างๆ ของโครงการ
DESIGN GUIDELINES อาคารเก่า
การจัดการรูปแบบการสัญจร บ้านสิงห์ท่า การจัดการรูปแบบการสัญจรแบ่งเป็นเส้นทางสัญจร หลัก กับ และสตรีท เฟอนิเจอร์ รวมถึงพื้นที่สีเขียว ทาให้ผู้ใช้รถใช้ถนนสามารถใช้พื้นที่ร่วมกันใด้ โดย การลดความเร็วในการใช้รถยนต์ทาให้ ผู้ใช้ทาง ทางเดินเท้าและจักยานมีความปลอดภัยมากขึ้น และ พื้นที่สีเขียวและสตรีท เฟอนิเจอร์ ทาไห้เพิ่มความหน้า สนใจในการใช้พื้นที่มากขึ้น
การจักการระดับความลาดเอียงพืน ้ ถนนเพิ่มStreet furniture พื้นทางเดินมีการปรับ ความลาดเอียงเพื่อ การระบายน้า และมีการปลูกต้นไม้เป็น ระยะตามโครงข่ายเส้นทาง และยังสามารถ ไห้น้าสามารถซึมผ่านได้ เพิ่มStreet furnitureในบริเวณต่าง ๆ ของโครงการเพื่อเป็นจุดบริการคนใน ชุมชนและบริการนักท่องเที่ยว และเป็น การเพิ่มฟังก์ชั่น การใช้งานพื้นที่
บ้านสิงห์ทา ่
รูปแบบสถาปัตยกรรม
ปัญหาทีพ ่ บ
บ้านสิงห์ท่าเป็นพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์ ทางสถาปัตยกรรมเฉพาะตัวและมี สถาปัตยกรรมเก่าแก่อยู่มากเช่นตึก ดินโบราณอาคารไม้เก่า ห้องแถวเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรม ตะวันตกสมัยรัชกาลที่6และ7จึง ปรากฎลวดลายทางสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม
1.บ้านดิน หรือ ตึกดิน 2.สถาปัตยกรรมแบบบ้านไม้ 3.สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล 4อาคาร ยุคปัจจุบัน
-อาคารมีความทรุดโทรม เพราะขาดการดูแลรักษา -โครงสร้างของอาคารมีการเสื่อม โทรม -ขาดชุดความรู้ในการดูแลรักษา
DESIGN GUIDELINES หน้าต่างไม้บานเปิดคู่
ผนังไม้
ลายฉลุไม้
หลังคาสังกะสี
ประตูบานเฟี้ยม
หน้าต่างบานเกร็ด
หลังคาสังกะสี
อาคาร คสล. หลังคากระเบื้อง
หน้าต่างไม้บานเปิดคู่
ประตูเหล็ก
หลังคากันสาด
ประตูเหล็กม้วน
หลังคาสังกะสี
ผนังไม้
บัวหน้าต่าง ประตูเหล็ก
ประตูบานเฟี้ยม
อาคารเก่า แสดงลักษณะสถาปัตยกรรมที่จาเป็นต่อการรักษาองค์ประกอบของย่าน ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ที่จาเป็นต่อการรักษาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมเดิม และที่มีผลต่อการรักษาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมที่จะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคต detail ของอาคารที่จาเป็นและต่อการรักษา
ลายฉลุไม้
ผนังไม้
ประตูบานเฟี้ยม
ประตูบานเฟี้ยม
B
A
A. สถาปัตยกรรมโคโลเนียล สถาปัตยกรรม โคโลเนียล เป็น สถาปัตยกรรมที่ยังมีความ สมบูรณ์ และมีรูปแบบ สถาปัตยกรรมที่สวยงามมี DETAILอาคารที่ควรแก่การ รักษาเช่นลายฉลุหน้าต่างประตู
B.บัวผนัง บัวผนัง มีความสวยงาม สามารถ นารูปแบบมีปรับใช้ใน อาคารปัจจุบันและเป็นการ รักษาองประกอบของ สถาปัตยกรรม
C
ลายฉลุ เป็น detail อาคารที่มีความสวยงาม สามารถนารูปแบบมา ปรับใช้ใน งาน สตีท เฟอ นิเจอร์เสาไฟและป้ายบอก ทาง
A
เสนอแนวทางการอนุรก ั ษ์ -การป้องกันการเสื่อมสภาพ (Protectionof deterioration) -การรักษาสภาพ (Preservation)
DESIGN GUIDELINES
บ้านไม้ สถาปัตยกรรมแบบบ้านไม้ บ้านไม้หลาย หลังในบ้านสิงห์ท่า มีความทรุดโทรม อย่างมาก ไม่มีผู้อยู่อาศัย
ปัญหา ที่พบ ปัญหาที่พบ –บ้านบางหลังมีความ เสื่อมสภาพอย่างมากเนื่องจากขาด การดูแล และตามอายุการใช้งาน
เสนอแนะหลักการอนุรก ั ษ์ 1. การป้องกันการเสื่อมสภาพ 2. การรักษาสภาพ 3. ขั้นการเสริมความแข็งแรง 4. ขั้นการจาลองแบบ 5. ขั้นการสร้างขึ้นใหม่
B A
A.หลังคากันสาด หลังคากันสาดที่มีการสร้างเพื่อเป็น ส่วนกันแดดของตัวอาคารและยัง สามารถใช้เป็นทางเดินกันแดด
B.สถาปัตยกรรมบ้านดิน สถาปัตยกรรมแยบบบ้านดินเป็น รูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีรูป แบบเฉพาะตัวคือผนังทาจากดิน โครงสร้างเป็นไม้ และมีอายุมากทาให้ ปัญหาที่พบ จึงเป็นเรื่องโครงสร้างที่มี การทรุดตัว
เสนอแนะหลักการอนุรก ั ษ์ 1. การป้องกันการเสื่อมสภาพ (Protection of deterioration) 2. การรักษาสภาพ (Preservation) 3. ขั้นการเสริมความแข็งแรง (Consolidation) 4. ขั้นการจาลองแบบ (Reproduction) 5. ขั้นการสร้างขึ้นใหม่ (Reconstruction)
IMPLEMENTATION
โครงการอนุรก ั ษ์ปรับปรุงและส่งเสริม มนต์เสน่หส ์ ถาปัตยกรรม
โครงการศูนย์เรียนรูว ้ ถ ิ ช ี ว ี ต ิ ชุมชนริมน้า บ้านสิงห์ทา ่
โครงการออกแบบปรับปรุงพืน ้ ที่ กิจกรรมสวนสาธารณะอนุสาวรีย์
โครงการปรับปรุงย่านทีพ ่ ก ั อาศัย สาหรับผูม ้ ร ี ายได้นอ ้ ย
โครงการโฮมสเตย์รม ิ น้า
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมท ิ ศ ั น์รม ิ ชี
โครงการศูนย์บริการเพือ ่ รองรับ นักท่องเทีย ่ ว
IMPLEMENTATION 314,570,000
รายชือ ่ สมาชิก นายศักดา นันทะสัย 59011112051 ระบบปกติ นายธนาวัฒน์ ภักดีสมุทร 59011112088 ระบบปกติ นางสาวศศิภา รุ่งเรือง 59011112092 ระบบปกติ นางสาวศศิภรณ์ ท้าวนิล 59011112050 ระบบปกติ นางสาวทิพย์วรรณ ทองภู 59011112021 ระบบปกติ นายณัฐฤทธิ์ ปาละอินทร์ 59011122001 ระบบพิเศษ นางสาวชนากานต์ ล้อธนวิจต ิ ร 56011111014 ระบบปกติ
Thank you
Thank you