คำสอนพ่อ เศรษฐกิจพอเพียง

Page 1

"เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้า้ ไป"

พระราชด้ารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา

ผู้จดั ทำ : นำงสำวนันทนำ ศรีหำบุตร



เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิน ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งใน การนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุก ระดับให้มีสานึกในคุณธรรม


การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดใี นตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการตัดสินใจ และการกระทา “ถ้าพอมีพอกิน คือพอมีพอกินของตัวเองนั้น ไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจสมัยหิน. สมัยหินนั้นเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน แต่ว่าค่อยๆพัฒนาขึ้นมา ต้องมีการแลกเปลี่ยนกัน มีการช่วยระหว่างหมู่บ้าน หรือระหว่างจะเรียกว่าอาเภอ จังหวัด ประเทศ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน มีการไม่พอเพียง จึงบอกว่าถ้ามีเศรษฐกิจพอเพียง เพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะพอแล้ว จะใช้ได้.” (พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)


สรุป 1.ความพอประมาณ คือ รู้จักพอประมาณ พออยู่ พอมี พอกิน พอใช้ ประหยัด และไม่ เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น 2.ความมีเหตุผล คือ ตัดสินใจกระทาสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความพอเพียงต้องใช้เหตุผล และ พิจารณาด้วยความรอบคอบ 3.การมีภมู ิคุ้มกันที่ดี คือ เตรียมใจให้พร้อมรับผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต 4.การมีความรู้ คือ นาความรู้มาใช้ในการวางแผนและดาเนินชีวิต 5.การมีคุณธรรม คือ มีความซื่อสัตย์สุจริต สามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน


1. ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไปพออยู่พอใช้


2. ทาให้บา้ นน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน จะสะอาด กว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่า รักษาพยาบาล)


3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด


หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับในสังคมไทยแล้วถือว่าเป็นแนวคิดทฤษฎีใหม่ที่ชวน ผู้คนในสังคมกลับมามอง ดูตัวเอง รู้จักประเมินสถานการณ์ของตนว่าตอนนี้มีฐานะความเป็นอยู่ ในระดับใด สภาพแวดล้อมที่เราอาศัยอยู่เป็นแบบไหน และเราควรต้องปฏิบัติตัวเช่นไรเพื่อให้ สอดคล้อง มีความเหมาะสมได้ นั่นคือหลักความพอเพียง แต่ในทั ศนะของผู้เรียนขอเสนอ เพิ่มเติมว่า หลักความพอเพียงนี้ไม่แตกต่างจากหลัก ความสันโดษ คือการสร้างใจของตนเองให้ รู้สึกรัก พอใจ ยินดี กับของของตนที่มีอยู่ ซึ่งพุทธองค์ ทรงแนะนาพร่าสอนเหล่าพุทธบริษัท ให้มีหลักความสันโดษ สอนแม้กระทั้งถึงการครองชีวิตคู่ ให้สันโดษในคู่ครอง ถ้าอยากมากทุกข์ มาก ไม่อยากไม่ทุกข์ ความพอเพียงก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังอยากรวยจนเกินเหตุจะไม่มีทางเข้าใจ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้เลย


"การจะเป็นเสือนั้นมันไม่ส้าคัญ ส้าคัญอยู่ที่เรา พออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง"

พระราชด้ารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัวฯ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.