King of the forest of Asia
“ ไมยางนาในประเทศไทยไดถูกตัดฟนไปใชสอย และทําเปนสินคากันเปนจํานวนมากขึน้ ทุกป เปนทีน่ าวิตก วาหากมิไดทําการบํารุงสงเสริมและดําเนินการปลูกไมยางนา ขึ้นแลว ปริมาณไมยางนาอาจจะลดนอยลงไปทุกที จึงควร ท่ีจะได้มีการดําเนินการวิจัยเก่ียวกับการปลูกไมยางนา เพ่ือจะได้นําความรูไปใชในทางปฏิบัติ ”
พระราชปรารภพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ ๙ พุทธศักราช ๒๕๐๔
สารบัญ การจําแนกไม้ในวงศ์ยาง ทั้ง 8 สกุล
16 SUMMER(ฤดูร้อน) ไม้ ในวงศ์ยางที่ออกผลระหว่าง เดือนมีนาคม - มิถุนายน
51
08 WINTER(ฤดูหนาว) ไม้ ในวงศ์ยางที่ออกผลระหว่าง เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
34 RAINY SEASON (ฤดูฝน) ไม้ ในวงศ์ยางที่ออกผลระหว่าง เดือนกรกฎาคม - ตุลาคม
ไม้ ในวงศ์ยางสามารถพบได้ทั่วประเทศไทย แต่ จ ะขึ ้ น อยู ่ ก ั บ แต่ ล ะสายพั น ธุ ์ แ ละฤดู ก าล ซึ ่ ง กระจายกั น อยู ่ ท ั ่ ว ประเทศไทยและพบได้ ม ากสุ ด ที ่ ภาคใต้ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
หนั ง สื อ เล่ ม นี ้ ได้ ร วบรวมพรรณไม้ ใ นวงศ์ ย าง ทั ้ ง 8 สกุ ล โดยแบ่ ง แยกไว้ ต ามฤดู ก าลที ่ อ อกผล ไปจนถึ ง สถานที ่ ที ่ ส ารมารถพบไม้ ใ นวงศ์ ย างได้
สกุลเคี่ยม Cotelelobium
8
ไมยืนตนขนาดใหญ เปลือกแตกแบบสะเก็ดตามยาว มีชนั สีเหลืองออน ใบรู ป ขอบขนาน หรื อ รู ป ขอบขนานแกมรู ป ไข ปลายใบเรี ย วแหลม โคนใบรูปล่ิมกวาง หรือกลม ไมพบตุมใบ เสนแขนง ใบ ปลายเรียวจรดกัน มีเสนใบแซมระหวางเสนแขนงใบชัดเจนใบดานลางมีขนกระจุกหนาแนน สีน้ําตาลออน ชอดอกแบบชอแยกแขนงที่มีชอดอกยอยไมแนนอนระหวาง ชอกระจะ-ชอกระจุก (thyrst)กลีบเลี้ยง เรียงจรดกัน แยกถึงโคน แบงเปนกลีบใหญ 2 กลีบกลีบเล็ก 3 กลี บ กลี บดอก สี ข าว หรื อ ครี ม ปลายบิดเล็กนอยยาว 8 - 9 มม. เกสรเพศผู มี 15 อัน อับเรณูรูปหอก ปลายอับเรณูมีรยางคเรียวยาวใกลเคียงกับความยาวอับเรณู เกสรเพศเมีย รังไขอยูกึ่งใตวงกลีบ รังไขมีโคน กานเกสรเพศเมียชัดเจน ยอดเกสรเพศเมีย หยัก 3 พู ผล คอนขางกลม เมล็ดติดอยูเหนือฐานรองดอกมีปกยาว 2 ปก มีเสนปก 7 เสน ปกสัน้ 3 ปก มีเสนปก 5 เสน ปกยาวรูปแถบแกมรูปหอกกลับ ปกสั้นรูปเรียวแหลม ผลออนสีเขียวออน ปกสีเขียวเหลือง ในประเทศไทยพบเพียง 1 ชนิด คือ เค่ียม
สกุลพันจํำ Vatica
ไมยืนตนขนาดกลาง-ใหญ เปลือกเรียบ มักจะมีรอยวงแหวน รอบตน มักมีชันสีเหลืองอําพันใส เปลือกช้ันในมักบางสีครีมขาว หรือสีส มออน ใบรูปขอบขนาน รูปรี หรือรูป หอกกลับ ปลายใบแหลม หรือหยักเปนติ่งแหลม โคนใบรูปมน ขอบใบเรียบ ไมพบตุมใบ เสนแขนงใบ ปลายโคงเรียวใกลขอบใบ เสนใบแบบข้นั บันไดหรือแบบรางแห ชอดอกแบบชอแยกแขนงท่มี ชี อดอกรอบตนย่อย
ไมแนนอนระหวางชอกระจะ-ชอกระจุก มีขนกระจุกหนาแนนสีนํ้าตาลแดง หรือสีสนิม ผล คอนขางกลม หรือรูปไข เมล็ดติดอยูเหนือฐานรองดอก หรือโคน เมล็ดฝงอยูในฐานรองดอก มีผล 2 แบบ คือ แบบมีปก ซ่ึงมีปกยาว 2 ปก ปีกสั้น 3 ปก โคนปกเรียงจรดกัน ปกยาวรูปหอกกลับแกมรูปแถบ ยาวไมเกิน 11 ซม.มีเสนปก 5 - 7 เสน และผลแบบกลีบเล้ียงไมพัฒนาเปนปก หรือ เปนเพียงปกส้นั แข็งหนามีขนาด ใกลเคียงกัน และมีเมล็ดท่คี อนขางใหญกวาผล แบบแรก ผลออนมีขนสั้นหนาแนนสีสนิมปกสีแดง หรือสีเขียวออนแตมสีแดง สวนในกลุมผลไมมีปก ผลจะเปนสีน้ําตาล ประเทศไทยพบไมสกุลพันจํา 13 ชนิด ได้แก่ สักปก รือเสาะ พันจําเขา จันทนกะพอ สะเดาปก พันจําดง จันทนกะพอแดง สักผา พันจําบาลา พันจํา สักนํ้า ทะลอก และ สัก
9
สกุล
ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus
10
ไมยืนตนขนาดใหญ เปลือกแตกแบบสะเก็ดตามยาว มีชองอากาศ กระจายท่วั หรือแตกเปนรองต้นื ตามยาวมีชนั สีเหลืองใส หรือสีขาวใส ใบรูปหอก หรือรูปรีแกมรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ โคนใบแหลมมน และมักเบีย้ ว เกลีย้ งทัง้ สองดาน ดานลางบางครัง้ พบตุมใบ เสนแขนงใบเอียง ทํามุมแหลมกับเสนกลางใบปลายเสนโคงเรียว เสนใบแบบข้ันบันไดหาง ผล รูปทรงกระบอก หรือทรงกระบอกแกมรี ยาว 2 – 4 ซม. เมล็ดติดอยู เหนือฐานรองดอก ผิวเรียบเกล้ียง ไมมีป ก กลีบเลี้ยงไมพัฒนาเปนปก กลีบเลี้ยงทั้ง 5 คอนขางกลม แข็งหนา โอบหุมโคนผลและซอนกันชัดเจน ผลออนสีเขียวออน
สกุลนี้ทั่วโลกพบเพียง 1 ชนิด ที่พบในประเทศไทยคือ ตะเคียนชันตาแมว
สกุลไขเขียว Parashorea
ไมยืนตนขนาดใหญ เปลือก เรียบ หรือแตกสะเก็ดเปนแผน หรือแตกเปนรองตื้นตามยาว มีชองอากาศกระจายทั่ว มีชันสีขาวใส ใบ รูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปล่มิ กวาง หรือกลม หรือเบี้ยวเล็กนอย มีตุมใบ เส้นแขนงใบ เอียงทํามุมแหลมกับ เสนกลางใบมาก ปลายเสนโคงเรียว เสนใบแบบข้ันบันได ใบดานลางมักพบ สะเก็ดสีขาวในชวงหนึ่ง ของการเจริญเติบโต ชอดอกแบบชอแยกแขนง ผล รูปไข หรือ กลม เมล็ดติดอยูเหนือฐานรองดอก ผิวมีชองอากาศกระจายท่วั อาจมีหรือไมมีปก ถามีปก ปกท้งั 5 จะยาวใกลเคียงกัน มีเสนปก 4 - 7 เสน โคนปกเรียงจรดกัน ผลออนผิวสีนํ้าตาล ปกสีเขียวเหลือง บางชนิดกลีบเลี้ยง ไมพัฒนาเปนปก แตจะเปนต่ิงสั้นและแข็ง ติดโคนผล
ในประเทศไทยพบไมสกุลเพียง 2 ชนิด ได้แก่ เกล็ดเข และไขเขียว
11
สกุลสยา Shorea
12
ไมยืนตนขนาดกลาง – ใหญ โคนตนมีพูพอนไม่มีรากคํ้ายัน เปลือกแตกไดหลายแบบ เชนแตกเปนรองลึกตามยาวแตกเป็นสะเก็ด หรือเรียบ มีชันสีน้ําตาลแกมสีมวงเขม สีนํ้าตาลอมสีเหลือง หรือสีขาวใส ใบรูปรี รูปไข รูปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม หรือหยักเปน ต่งิ สัน้ ถึงยาวโคน ใบรูปมนแหลม รูปล่ิม กลมตัดหยักรูปหัวใจ บางครั้งเบ้ียวขอบใบเรียบ แผนใบเรียบบางชนิดพบตุมใบตามงามเแขนงใบกับเสนกลางใบ ใกลโคนใบ ผล รูปไข รูปไขกวาง หรือรูปคอนขางกลม สวนใหญมีขนสั้นหนาแนน กลีบเลีย้ งวงนอกพัฒนาเปนปกยาว 3 ปก กลีบเลีย้ งวงใน 2 กลีบเปนปกส้นั กวา ปกยาวรูปหอกกลับแกมรูปขอบขนาน รูปหอกกลับ ยาวไมเกิน 10 ซม. มีเสนปก 7 - 12 เสน บางชนิดเปนปกแข็งหนาไมมีเสนปกชัดเจน ผลออนสีเขียวออน ปกสีแดง สีแดงอมชมพู หรือสีเขียวเหลือง
ในประเทศไทยพบไมสกุลนี้ 24 ชนิด กับอีก 1 ชนิดยอย โดยสกุล Shorea เปนสกุลที่พบจํานวนชนิดมากท่ีสุดในประเทศไทย ได้แก่ สยาขาว สยานวล สยาเหลือง กาลอ กระบากดํา แอก เคียนทราย เต็งตานี เคี่ยม คะนอง พนอง ตะเคียนสามพอน สยาแดง กาลอดํา ชันหอย สยาขน เต็ง สยาเขา พะยอมนกเขา สยาดํา พะยอม รัง หมากออน ปาลอซาลี ตะเคียนเต็ง และอีก 1 ชนิดยอย คือ พะยอมนกเขาขน
สกุลตะเคียน Hopea
ไมยืนตนขนาดเล็ก - ใหญ โคนตนมีพพู อน หรือมีรากคํา้ ยันเปลือกเรียบ ขรุขระหลุดลอน เปนแผนเล็กๆ แตกแบบสะเก็ด หรือแตกแบบรองลึกตามยาว ชันสีขาวใส ตอมาขุน ใบรูปรี รูปไข หรือรูปขอบขนาน ปลายใบมักหยักเป็นต่ิง ส้ันถึงยาว หรือเรียวแหลม โคนใบรูปมน แหลม รูปลิ่ม หรือ เบี้ยว ขอบใบเรียบ มีบางที่มวนลงเล็กนอย บางชนิดพบตุมใบ เสนแขนงใบ โคงเรียว เสนใบแบบ ขั้นบันได หรือแบบเสนใบแซม หรือแบบเส้นใบแซมก่ึงข้ันบันได ผลรูปไข รูปไขกวาง เมล็ดติดอยูเหนือฐานรองดอก สวนใหญผลมีปก ปกยาวและใหญ 2 ปก ปกสัน้ และเล็กกวา 3 ปก บางชนิดผลไมมีปกเปนเพียงกลีบแข็งหนาโอบหุมผลมิด หรืออาจไมมิด ผลทีม่ ปี ก ปกยาวรูปหอกกลับแกมรูปขอบขนาน ยาวไมเกิน 9.5 ซม. ปกสั้น ยาวไมเกิน 2 ซม. มีเสนปก 5 - 10 เสน ผลออนสี เ ขี ย วออน ปกสีเขียวออน หรือสีแดงอมสีชมพู
ประเทศไทยพบไมสกุลตะเคียน 18 ชนิด ได้แก่ มะตะกูจิง ตะเคียนชันตาหนู ตะเคียนสามเสน ตะเคียนหิน ตะเคียนรากเขา กระบกกรัง เคียนราก ตะเคียนเขา เคียน รากดํา ตะเคียนราก กรายดํา ตะเคียนทอง ชันภู ตะเคียนแกว ตะเคียนทราย ตะเคียนขาว ตะเคียนใบใหญ่ และมีอีก 1 ชนิดซ่ึงยังไมสามารถระบุชนิดได คือ ชันหอม
13
สกุลยาง Dipterocarpus
ไมยืนตนขนาดใหญ เปลือก ชนิดพันธุ ที่ไมผลัดใบและข้ึนในปาดิบ จะมีเปลือกเรียบ หรือหลุด ลอนเปนแผนขนาดเล็กถึงใหญ แตชนิดพันธุที่ผลัดใบ
และขึ้นในปาเต็งรัง จะมีเ ปลือกแตกเปนรองลึก ตามยาว มีช ันสีขาวใส
14
ปลายกิง่ มีหใู บขนาดใหญกวาสกุลอืน่ ๆ ยาวต้งั แต 1.5 - 13 ซ.ม.และมีรอยแผล หูใบเปนวงรอบก่ิงชัดเจน ใบรูปรี หรือรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมมน โคนใบรูปมน รูปลิ่มหรือหยักรูปหัวใจ ขอบใบหยักมนและเปนคลื่นชวงปลายใบหรือเรียบ แผนใบ มักพับจีบเปนรางนํา้ ไมพบตุมใบทีง่ ามเสนแขนงใบ เสนแขนงใบ เหยียดตรงขนานกัน แลวหักโคงใกลขอบ ใบจรดกันชัดเจนเฉพาะชวงปลายใบ และไมชัดเจนชวงโคนใบ เสนใบแบบข้ันบันได ชอดอกแบบกระจะหายากที่เปนแบบแยกแขนง กลีบเล้ียง โคนเช่อื มติดกันเปนรูปกรวยผิวดานนอกเรียบ เปนเหล่ยี มหรือมีครีบตามยาว ปลายแยก 5 แฉก เรียงจรดกัน แบงเปนกลีบใหญ 2 กลีบ กลีบเล็ก 3 กลีบ กลีบดอก สีขาว มีแถบคาดกลางสีชมพู สีชมพูเขม หรือสีสมออน ปลายบิดเปนเกลียว ผล รูปรี รูปไขกวาง หรือรูปกลมแบน มีปกยาว 2 ปกๆ ส้ัน 3 ปก ปกยาวรูปขอบขนาน แกมรูปแถบมีเสนปกนูนชัดเจน 3 เสน เสนปกยอยแบบรางแห ปกสัน้ รูปคอนขางกลม มักหยิกงอคลายหูหนู ยาวไมเกิน 2 เซนติเมตร ผลออนสีเขียวออน ปกสีแดง ในประเทศไทยพบไมในสกุลยาง 16 ชนิด ได้แก่ ยางนา ยางบูเกะ ยางขน ยางวาด ยางปาย ยางกลอง ยางเสียน ยางยูง ยางใต ยางกราด ยางมันหมู ยางเหียง ยางแดง ยางพลวง ยางแข็ง และยางคาย
สกุลกระบำก Anisoptera
ไมยืนตนขนาดใหญ เปลือก ขรุขระ แตกแบบสะเก็ดตามยาว หรือแตกแบบรองลึกตามยาว เปลือกช้ันในเปนชั้นสีสมสลับขาว มีชันสีขาวใส ใบรูปขอบขนาน รูปรี หรือรูปหอกกลับ ปลายใบเรียวแหลม หยักเปนต่งิ สัน้ ถึงแหลม โคนใบรูปมน หรือกลม ขอบใบเรียบหรือมวนลง ไมพบตุมใบท่ีงามเสนแขนงใบ เสนแขนงใบ โคงเรียวปลายเสนจรดกันไมชัดเจน หรือชัดเจน เสนใบแบบข้นั บันได แกมรางแห หรือแบบรางแห ชอดอก แบบชอแยกแขนง กลีบเล้ียง เรียงจรดกัน แยกถึงโคน แบงเปนกลีบใหญ 2 กลีบ กลีบเล็ก 3 กลีบ กลีบดอกสีขาวปลายบิด เปนเกลียวเล็กนอยหรือไมบิด ยาว 4 - 8 มม. เกสรเพศผูมี 15 - 25 อัน เรียง 2 วง เกสรเพศเมีย รังไขอยูก่ึงใตวงกลีบ 1/2 สวน รังไขมีโคนกานเกสร เพศเมีย (stylopodium) รูปทรงกระบอกและมีรอยคอดระหวาง โคนกานเกสรเพศเมียกับรังไข หรือรูปมงกุฎ ยอดเกสรเพศเมียหยัก 3 พู หรือ แยก 3 แฉก ผล รูปกลม เมล็ดฝงอยูในฐานรองดอกท้ังหมด มีปกยาว 2 ปก ปีกสัน้ 3 ปก ปกยาวรูปแถบ แกมรูปหอกกลับ ปกส้นั รูปเรียวแหลมหรือรูปขอบขนาน มีเสนปกนูนชัดเจน 3 เสน เสนปกยอยเรียง แบบข้ันบันได ผลออนสีเขียวออน ปกสีเขียวเหลือง
ในประเทศไทยพบไมสกุลกระบาก 4 ชนิด ไดแก กระบาก กระบากทอง กระบากแดง และชามวง
15
WINTER ฤดูหนาว
ตะเคียนราก Hopea pierrei Hance พบไดคอนขางงายใน ภาคตะวันออกเฉียงใต(ตราด)และภาคใต พบไดยากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หนองคาย) ผลแกเดือน ธ.ค. – ก.ย. 18
ผลออนมีปกสีแดง
เสนใบแซมกึ่งข้ันบันได
Vatica odorata (Griff.) Symington พรรณไมหางาย พบได้ทั่วประเทศ ผลแกเดือน พ.ย. – ก.ค.
19
ใบปกติ ร ู ป ไข ก ลั บ แกมรี
ถ้าแก่จะเป็น สีน้ำาตาลเข้ม
ปลายกิ่งและกานใบมีขนส้ันหนาแนนและติดทน
กระบำก
Anisoptera costata Korth พบขึ้นกระจายทั่วประเทศ ในปาดิบแลง และปาเบญจพรรณชื้น ผลแกเดือน ธ.ค. - เม.ย.
20
เสนแขนงใบเรียงขนานกัน
ใบดานลางมีสะเก็ดสีนำ้าตาลออน
ยางวาด Dipterocarpus chartaceus Symington พบไดงาย ในภาคใต้ ผลแกเดือน ธ.ค. – มิ.ย.
ใบแหงดานบนมันวาว 21 ปลายกิ่งและหูใบมีขนหนานุม
ยางเสียน Dipterocarpus gracilis Blume
พบคอนขางยาก ในภาคตะวั น ตก (จังหวัดกาญจนบุรี) แตจะพบไดงายใน ภาคใต ภาคตะวันออก (เขาใหญ ) และภาคตะวันออกเฉียงใต ผลแกเดือน ม.ค. – ส.ค. 22 ปลายผลยาวนอยกวา 1/2 ของความยาวผล
ใบดานลางมีขนยาวหนาหนุม
สยาแดง Shorea leprosula Miq. พบไดงาย แตพบเฉพาะใน จังหวัดสงขลาลงไป ผลแกเดือน ม.ค. – ธ.ค.
Shorea gratissima (Wall. ex Kurz) Dyer
เคียนทราย พบไดงายตั้งแต จังหวัดประจวบคีรีขันธ ลงไปในภาคใต ผลแก่เดือน ม.ค.-ธ.ค.
23 มีปกยาวนอยกวา 8 cm. ป ก เป น แผ น บาง
Vatica lowii King เปนพรรณไมหายาก และพบเฉพาะในจังหวัดนราธิวาส ผลแกเดือน ม.ค. – ก.ย.
ยางเหียง
24
เปลือกแตกเปนสะเก็ด แกมรองลึกตามยาว
Dipterocarpus obtusifolius Teijsm.ex Miq. พบไดงาย พบท่ัวประเทศ มักขึ้น ในปาเต็งรัง ผลแกเดือน พ.ย. – มิ.ย.
ยางปาย Dipterocarpus costatus C.F. Gaertn.
ปกติขึ้นในปาดิบแลง มักพบบนภูเขาใกลชายฝงทะเล หรือถาพบในปาดิบช้ืน หรือปาดิบแลง ก่ึงปาดิบเขา มักขึ้นอยูตามสันเขา หรือที่ลาดชัน
พบไดงาย พบทั่วประเทศ ผลแกเดือน ธ.ค. – ก.ค.
25
ใบดานลางมีขนสั้นหนาแนน
ผลมีครีบหรือเหลี่ยม
26
กระบกกรัง
Hopea helferi (Dyer) Brandis
พบไดคอนขางยาก ในภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคใตลงไป ผลแกเดือน ม.ค. – พ.ย.
เคี ย นรากดํ า
เค ี ่ ย ม ค ะ น อ ง
Hopea pedicellata (Brandis) Symington
Shorea henryana Pierre ex Laness.
พบได คอนขางงาย ในภาคใตต้ังแต จังหวัดตรังลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ส.ค.
พบได ทั่วไป ผลแกเดือน ม.ค. – ส.ค.
27
กระบา
กทอง
เต็งตานี
Anisoptera curtisii Dyer ex King
Shorea guiso
เปนพืชหายากพบขึ้นเฉพาะ ในภาคใตตอนลาง ต้ังแตจังหวัดสตูล ยะลา และ นราธิวาส ผลแกเดือน ก.พ. – ก.ค.
(Blanco) Blume
พบไดยากใน (นครพนม) แตพบไดทั่วไปในภาค ตะวันออกเฉียงใต และภาคใต้ ผลแกเดือน ก.พ. – ธ.ค.
ตะเคียนรากเข Hopea griffithii Kurz
พบไดคอนขางยาก พบในภาคใตลงไป ผลแกเดือน ก.พ. – ธ.ค.
า
พบได้ง่ายในภาคใต้ ตะวันออก(เขาใหญ่) ออกผล ม.ค.- ส.ค.
พบได้ทุกที่ยกเว้นภาคใต้ ออกผล ม.ค.- พ.ค.
Dipterocarpus gracilis Blume
ยางพลวง
ยางเสียน
Dipterocarpus tuberculatus Roxb.
28 พบเฉพาะนราธิวาส ออกผล ม.ค.- ส.ค.
เป็นพรรณไม้หายาก พบเฉพาะนราธิวาส ออกผล ม.ค.- ก.ค.
ยางแดง Dipterocarpus turbinatus C.F. Gaertn.
Dipterocarpus crinitus Dyer ยางคาย
n Sloote a l e b tica สักปีก Va
พบเกือบทุกที่ยกเว้นภาคใต้ ออกผล ม.ค.- ก.ค.
พบได้ง่ายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ตอนลาง ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ออกผล ม.ค.- พ.ย. ยางกราด
Dipterocarpus intricatus Dyer
พบภาคตะวันตก ออกผล ม.ค.- ก.ค.
พบที่ ภาคใต้ ออกผล ม.ค.- พ.ย.
ยางยูง
Dipterocarpus grandiflorus (Blanco) Blanco
พบทุกที่ ออกผล ม.ค.- มิ.ย.
Anisoptera scaphula (Roxb.) Kurz
ชามวง
ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don
29
ไขเขียว เปนพรรณไมที่พบไดงาย ในภาคใต และภาคตะวันตกเฉียงใต แตจะหายาก ในภาคเหนือ ฝั่งตะวันตก และพบท่ี จังหวัดหนองคายดวย
30
เมล็ดรูปไข
ผลแกเดือน ม.ค. – พ.ย.
Parashorea stellata Kurz
ปกพัฒนา ยาว 4 - 15 ซม.
หมากออน Shorea singkawang (Miq.) Miq. พบไดยาก และขึ้นเฉพาะ ในจังหวัดนราธิวาสลงไป ผลแกเดือน ก.พ. – ต.ค.
ป ก ไม พ ั ฒ นามากนั ก ค อนขางหนา
31
สยาขาว Shorea assamica Dyer subsp. globifera (Ridl.) Symington พบไดทั่วไป เฉพาะในภาคใตตอนลาง ตั้งแตจังหวัด สงขลาลงไป ผลแกเดือน ก.พ. – พ.ย.
ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii King พบไดงาย พบเฉพาะในภาคใต้ ผลแกเดือน ธ.ค. – ส.ค.
ใบแหงดานบน
32
ผลรูปกลมแบน
จันทนกะพอ Vatica diospyroides Symington เปนพรรณไมหายาก พบในภาคใต ตั้งแต จังหวัดระนอง – ตรัง ผลแกเดือน ม.ค. – ส.ค.
ผิวท่ีโคนผลมีขุ ยสีสนิมปกคลุม 33
ขอบปกหยักเปนคลื่น
Vatica stapfiana (King) Slooten เปนพรรณไมที่พบคอนขางยาก พบในภาคใต้ ผลแกเดือน ม.ค. – พ.ย.
ปีกเปนแผนแข็งหรือคลายเนื้อไม
ผลยาว 3 - 4 ซม.
SUMMER
ฤดูร้อน
ปาลอซาลี Shorea sumatrana (Slooten ex Thorenaar) Symington ex
พบได้ยาก ผลแกเดือน มี.ค. – ธ.ค.
Desch มี ร ายงานการ เก็ บ ตั ว อย า งในประเทศไทย เพี ย งช้ ิ น เดี ย ว จากจั ง หวั ด นราธิ ว าส
พู ส้ ั น คลายกลี บ ดอกไม เนื ้ อ แข็ ง เป น ไม
36
ชันหอม Hopea sp.
เปนพรรณไมชนิดใหมของไทย และอาจเปนชนิดใหมของโลก (new species) หายาก ป ก ส้ ั น ของผลยาวกว า เมล็ ด โคนผลบวมพองชั ด เจน ซึ ่ ง สู ง ประมาณ 4 mm.
พบเฉพาะในจังหวัดนราธิวาส ผลแกเดือน มี.ค. – ส.ค.
ตะเคียนเขา Hopea montana Symington เปนพรรณไมที่พบไดยาก พบเฉพาะในจังหวัดยะลาลงไป ป ก ผลยาว 4.5 - 6 ซม.
ผลแกเดือน มี.ค. – ส.ค.
เปลื อ กแตกสะเก็ ด ตามยาว 37
สยานวล Shorea bracteolata Dyer เปนพืชหายาก พบไดเฉพาะ ในจังหวัดนราธิวาส ผลแกเดือน มี.ค. – มิ.ย. หู ใ บหลุ ด ร ว งง า ย ใบยาวมากกว า 5 ซม.
พบไดงาย แตพบเฉพาะในภาคใตตอนลาง ตั้งแตจังหวัดสงขลาตอนลางลงไป ผลแกเดือน พ.ค. – ก.ย. 38 ป ก อ อ นสี แ ดง หรื อ แดงม ว ง
สยาเหลือง Shorea curtisii Dyer ex King
Shorea faguetiana F. Heim
กาลอ
พบไดงาย แตพบเฉพาะในภาคใตตอนลาง ตั้งแตจังหวัดยะลา และนราธิวาส ลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ธ.ค.
39
ตะเค
ียนชัน
ยางบูเกะ
เป็นพรรณไม้หายาก พบใน จังหวัดนราธิวาสลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ก.ค.
acutangulus Vesque
40
Vatica nitens King
เป็นพรรณไม้หายาก พบเฉพาะนราธิวาส ผลแกเดือน เม.ย. – ก.ค.
นู
Hopea bracteata Burck
Dipterocarpus
เป็นพืชหายาก พบใน จังหวัด ยะลา ผลแกเดือน เม.ย. – ส.ค.
ตาห
จันทนกะพอแดง Vatica maingayi Dyer
เป็นพรรณไม้หายาก พบที่สงขลาและนราธิวาส ผลแกเดือน เม.ย. – ก.ค.
พบได้ง่ายเฉพาะ จังหวัดสงขลาลงไป
ผลแกเดือน เม.ย. – ต.ค.
พะยอมนกเขา Shorea parvifolia Dyer
Ashton
Shorea parvifolia Dyer subsp.velutinata P.S.
พบยาก และ พบเฉพาะในจังหวัดยะลา ผลแกเดือน เม.ย. – มิ.ย.
เปลื อ กในสี ช มพู สี ม ว ง หรื อ สี แ ดงน้ ำ า ตาล
ขอบใบเรี ย บ
41
พบยาก และพบเฉพาะในจังหวัดนราธิวาสลง ไป ผลแกเดือน เม.ย. – ก.ค.
เปลื อ กเรี ย บ
ใบด า นล า งมี ข นนุ ม ประปราย
Shorea ochrophloia Strugnell ex Symington
สยาขน
พะยอม นกเขำขน
42
สยาเขา Shorea ovata Dyer ex Brandis
พบยาก และพบเฉพาะในจังหวัด ยะลา และนราธิวาสลงไป ผลแกเดือน พ.ค. – ธ.ค.
ยางแข็ง Dipterocarpus retusus Blume
พบไดคอนขางยาก แตกระจายพันธุทั่วประเทศ
ขนหนาแน น เฉพาะ ตามแนวเส น กลางใบ
ผลแกเดือน พ.ค. – ม.ค.
43
ใบด า นล า งมี ข นประปราย
ด้ า นในของผล
ยอดอ่ อ น
พะยอม Shorea roxburghii G. Don
พบทั่วไป ขึ้นทั่วประเทศ พบมากในปาผลัดใบ ในปาดิบแลงหรือปาดิบช้ืน 44
ผลแกเดือน พ.ค. – ก.ค.
ผลมี ป ก ยาว 5-10 ซม. ผลอ อ นป ก สี เ ขี ย วอ อ น
เกล็ดเข
Parashorea densiflora Slooten & Symington subsp. kerrii (Tardieu) R. Pooma พรรณไมที่พบยาก พบที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ผลแกเดือน มี.ค. – ธ.ค.
45 ผลรู ป ค อนขางกลม ปลายผลกลม หรื อ บุ ม
ทะลอก Vatica philastreana Pierre ex Laness.
เปนพรรณไมท่ีพบคอนขางยาก พบในจังหวัด ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และสระแกว ผลแกเดือน มี.ค. – ก.ย.
กระบากแดง Anisoptera laevis Rild.
เปนพืชหายาก พบเฉพาะใน จังหวัดนราธิวาส ผลแกเดือน พ.ค. – ต.ค. 46
เส น แขนงใบแบบร า งแห
ตะเคียนขาว Hopea sublanceolata Symington ปกยาว 8 - 9.5 cm.
เปนพรรณไมที่พบไดยาก พบเฉพาะ ในจังหวัดยะลาและนราธิวาส ผลแกเดือน พ.ค. – ก.ย.
เคียนราก
Hopea latifolia Symington
พรรณไมที่พบไดยาก พบเฉพาะในจังหวัดสงขลาตอนใต ยะลา และนราธิวาสลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ก.ย. ป ก ผลยาว 3 - 4.5 cm. 47 Hopea dryobalanoides Miq.
ปกผลยาว 5 - 6 cm.
เปนพรรณไมที่หายาก พบเฉพาะในจังหวัดยะลาลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ต.ค.
Vatica cuspidata
Hopea pedicellata (Brandis)
(Ridl.) Symington
Symington
48 เปนพรรณไมหายาก พบเฉพาะ ในจังหวัดยะลาและนราธิวาสลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ต.ค.
เปนพรรณไมท่ีพบได คอนขางงาย พบในภาคใตต้ังแต จังหวัดตรังลงไป ผลแกเดือน เม.ย. – ส.ค.
Vatica umbonata (Hook.f.) Burck ผลแกเดือน เม.ย. – ม.ค.
เปนพรรณไมหายาก พบเฉพาะ ในจังหวัดสตูล และยะลา
RAINY SEASON ฤดูฝน
52 Shorea longisperma Roxb. พบได้ยาก พบเฉพาะ จ.นราธิวาส ผลแก่เดือน ก.ค. - ต.ค.
ใบยาว 1 - 1.5 cm.
ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus heimii (King) P.S. Ashton สกุ ล นี ้ ท ั ่ ว โลกพบเพี ย ง 1 ชนิ ด ที ่ พ บในประเทศไทย
พรรณไมที่พบไดคอนขางยาก และพบเฉพาะในจังหวัดนราธิวาสลงไป ผลแก่ ในเดือน ก.ค. - ก.พ.
ผลอ อ นสี เ ขี ย วอ อ น ผิ ว เรี ย บเกล้ ี ย ง ไม ม ี ป ก
ผล รูปทรงกระบอก หรือทรงกระบอกแกมรี ยาว 2 - 4 ซม.
53
56
ณ. เขาใหญ่ อ. ปากช่ อ ง จ.นครราชสี ม า 28 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2560 / 16:15 น.
59
ต้นไม้ ใหญ่ ในโรงเรียน เด็กๆเรียกว่า “ต้นกระยาง” (ต้นยางนา) ณ. เขาใหญ่ อ. ปากช่ อ ง จ.นครราชสี ม า 28 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2560 / 12:57 น.
60
ณ. เขาใหญ่ อ. ปากช่ อ ง จ.นครราชสี ม า 28 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2560 12:19
63
ณ. เขาใหญ่ อ. ปากช่ อ ง จ.นครราชสี ม า 28 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2560 12:14
King of the forest of Asia