Landscape Architecture Chulalongkorn University - Napat Pattrayanond 2015

Page 1

N A P A t Pattrayanond L A N D S A R C H I t e c t

C A P E S T u D E N t

DE p a r t of L a n d s e a r c h i t F a c u of a r c h i t e

m

e

n

t

c a p e c t u r e l t y c t u r e

Chulalongkorn University


Napat Pattrayanond

ณภั ท ร ภั ท รยานนท์


EDUCATION

Computer Skills

2012-present D E pa r t m e n t o f

R h i

Landscape architecture Fa c u lt y o f a r c h i t e c t u r e ,

C h u l a l o n g ko r n U n i v e rs i t y 2004-2011

B a n g ko k C h r i s t i a n c o l l e g e

144/7 The Connect UP 3 Wohgwaen-Bangkae Kanjanapisek Road Bangkae lak song 10160 bangkok 8 9 4

d d d d d

o o o o o

b b b b b

e e e e e

P h I l l u

P r e

additional Photography Skills

17 /01/1993

0 8 9

A A A A A

A u t o C a d 3 d s M a x n o c e r o s A r c G I S o t o s h o p s t r a t o r Indesign Lightroom m i e r P r o

1 1 5 0

b e e b a a . n a p a t

@ g m a i l . c o m

P o r A r c h i t e S L i f e C i n e F a

t c t s m s

r a t u r e t y a t h i

i r e l i o

t e t e c n


river urban PA R K

MEMORIAL PA R K

01

front

02

03


photography bROWN F I E L D additional

04

05

06



PHANTHAI N O R AS I N G M E M O R I A L P A R K memorial park of Phanthai Norasing | Samut Sakhon | Thailand





โครงการปรับปรุ งภูมิทัศน์อุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์จังหวัดสมุ ทรสาคร

เป็นโครงการออกแบบปรับปรุ งพื้นที่เดิมของวัดศาลพันท้ายนรสิงห์ โดยใช้ชีวประวัติของพันท้ายนรสิงห์มาเป็นแนวคิดการออกแบบ

พื้นที่เก่ามีความซั บซ้อน ยากในการเข้าถึงและใช้งาน ไม่มีความชั ดเจนของแต่ละส่วน ส่งผลให้ขนั้ ตอนการด�ำเนินการของพิธีกรรม เป็นไปด้วยความซั บซ้อน ผู ้ออกแบบ จึงเสนอแนวทางการแก้ไขโดย สร้างพื้นที่ให้แต่ละจุ ดมีเอกลักษณ์ของตัวเอง และเพิ่มเติมพื้นที่ใหม่ เช่ น สนามมวยนรสิงห์ ที่จะเป็นสังเวียนหลักของมวยนรสิงห์ เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่จึงได้ออกแบบรัว้ ให้เป็นเอกลักษณ์ด้วยไม้ พายสื่อถึงวีรกรรมของพันท้ายนรสิงห์ ที่แสดงความซื่ อสัตย์ในหน้าที่ของตัวเอง




Urban F I LT E R u n d e r p a s s 2KM | si rat expressway | Rama IV Road | Uruphong Intersection | Bangkok | Thailand






โครงการปรับปรุ งภูมิทัศน์ใต้ทางด่วน ความแออัดของชุมชนและอาคารความยาวตลอด 2 กิโลเมตรที่มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของแสงและการระบายนํ้า พื้นที่ในปั จจุ บันจึงเป็นสถานที่รกร้างเป็นส่วนมาก

ซึ่ งน�ำไปสู่การแก้ไขปั ญหาเกิดเป็นแนวความคิด Filter ซึ่ งหมายถึงการกรองสิ่งสกปรกให้ออกมาสะอาด หลักการนของการกรองที่ว่านี้จะใช้เหมือนหลักการกรองสิ่งสกปรกเป็นล�ำดับชั้นตัง้ แต่ การกรองแบบหยาบ ปานกลาง ละเอียด การออกแบบนัน้ จึงจ�ำแนกวิธีการกรองด้วยวิธีต่างๆเช่ น กรองด้วยนํ้า กรองด้วยพืช ท�ำให้มีระดับการกรองที่แตกต่างกันไปซึ่ งการกรองนี้จะท�ำให้ปริมาณฝุ่ น ลดลงอีกทัง้ ส่งสริมคุณภาพชี วิตของผู ้คนที่เข้ามาใช้งานเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมือง





c c c

l y a

e c n

a l a

n e l

7km | chaophaya river | restoration project | Bangkok | Thailand




นํ่ ้าในแม่น้าํ เจ้าพระยาซึ่งมีคุณภาพนํ้าอยู่ในระดับเสื่อมโทรมถึ่ ง

เสือมโทรมมากเกิดจากหลายสาเหตุ โดนยแหล่งมลพิษส�ำคัญซึ ง ก่อให้เกิดนํ้าเน่าเสียคือ ชุ มชน โรงงานอุ ตสาหกรรม แลการเกษตร ฟาร์มปศุสัตว์ โดยนํ้าเน่าเสียจากชุ มชนมีมากถึง 71% และโรงงาน อุ ตสาหกรรมอีก 18% นํ้าเสียบริเวณคลองทัง้ ภายในบริเวณฝั่ ง พระนครและฝั่ งธนบุ นรีมีคุณภาพเสื่อมยิ่งกว่าในแม่น้าํ เจ้าพระยาโดย เฉพาะในบริเวณปากคลองซึ่ งมีประตู ระบายนํ้าหรือสถานีสูบนํ้า ท�ำ ให้น้าํ เน่าเสียสะสมกันไม่สามารถระบายออกได้ แต่เมื่อมีการเปิ ดประตู ระบายนํ้า นํ้าเสียเหล่านี้จึงไหลลงแม่น้ําโดยไม่มีการบ�ำบัด เป็นเหตุให้ แม่น้าํ เจ้าพระยาปนเปื้ อนสารพิษมากขึ้น ส่งผลต่อระบบนิเวศและสิ่ง แวดล้อม ผู ้ออกแบบจึงเลือกที่จะท�ำการบ�ำบัดนํ้าเน่าเสียจากในคลอง เหล่านี้ก่อนที่จะปล่อยออกสู่แม่น้าํ โดยใช้วิธีทางธรรมชาติและสร้าง เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อให้คนเมืองได้ใช้ประโยชน์




floating unit

outdoor market

playground

linkage

urban farming

fish tank

floating park


K O D E

P L A

sanitary Landfill | community Park | Fish Hatchery | Rayong | Thailand






โขดปลา

จังหวัดระยองขึ้นชื่ อด้วยแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ตัง้ แต่ภูเขาสู่ทะเล ระบบนิเวศของระยองจึงมีความอุ ดมสมบู รณ์ เป็นแหล่งที่ อยู ่อาศัยของปลาหลากหลายชนิด ซึ่ งรวมไปถึง “ปลาตะพัด” หรือที่รู้จักกัน ในชื่ อ ปลาอโรวาน่า ปลาชนิดนี้อาศัยอยู ่ในแหล่งนํ้าสะอาดมีเกล็ดที่สวยงาม มักเป็นที่ช่ื นชอบของนกเลี้ยงปลา ในปั จจุ บันปลาตะพัด พื้นถิ่นที่หลงเหลืออยู ่ในประเทศไทย อยู ่ท่ีจงหวัดสตูล ส่วนภาคฝั่ งตะวันออก ที่เคยชุ กชุ มในอดีตไม่มีรายงานการพบเห็น ในแหล่งนํ้าธรรมชาติ เนื่องจาก ระบบนิเวศและสภาพแวดล้อมของระยองเปลื่ยนไป ท�ำให้ปลาพื้นถิ่นไม่สามารถอยู ่อาศัยได้เหมือนแต่ก่อน ดังนัน้ การเพาะพันธุ ์ปลาพื้นถิ่นจะส่งเสริมระบบนิเวศของระยองให้ดีย่ิง ขึ้นรวมไปถึงเป็นการดึงเอกลักษณ์ของพื้นที่ ท่สี ามารถน�ำมาใช้เป็นจุ ดเด่นใน การเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของระยอง


ทางเข้าหลัก ด้วยปริมาณขยะที่สามารถสร้างให้เกิดพื้นที่ต่าง ระดับ ่ ท�ำให้เกิดมุ มมองทีหลากหลายและเป็นจุ ดเด่นของ โครงการ ที่เป็นการบ่งบอกความเป็นมาของพื้นที่เดิม

ลานเอนกประสงค์ สถานที่จัดนิทรรศการบนพื้นราบ โดยอาศัยโครงสร้างเหล็กและตู้บรรทุกสินค้า ที่สามารถหาได้ง่ายเพราะด้วยเมืองระยอง เป็น เมืองอุ ตสาหกรรมและด้วยโครงสร้างที่ สามารถ ยื่นได้ท�ำให้ช่วยเข้าถึงพื้นที่บนเนินที่ไม่สามารถ ลงโครงสร้างเสาเข็มได้


โขดปลา ่ เป็นการออกแบบพื้นทีโดยใช้วิธีการถขยะ เพื่อสร้างคันดินและสร้างบ่อประดิษฐ์เพื่อเลี้ยงปลา แต่เนื่องจากโครงสร้างเสาเข็มหรือต้นไม้ จะไม่สามารถลงบนเนินจึงต้องใช้ดินถมสลับกบเนินขยะ เพื่อสร้างร่มเงาให้กับพื้นที่

สวนสาธารณะ เดิมเป็นบ่อขยะที่ถมสูง10เมตร มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นโดยรอบจึงพัฒนา ต่อเป็นเนินขนาดใหญ่เพื่อรองรับ กิจกรรมทั่วไป อาทิเช่ น เครื่องออกก�ำลังกาย วิ่งเดิน โยคะ หนรือจะเป็นลานกิจกรรม นั่งเล่น ดนตรีในสวน กิจกรรมดูดาวกลางคืน ลักษณะพื้นที่จะมีต้นไม้แค่รอบเชิ งเขา เพื่อป้องกันการเจาะของรากไม้ลงไปในขยะ



additional Skills




phography Skills


2014-2015



photographs

Wonderhutt | allzone b y N a p at p at t r aya n o n d


photographs

by

CUAAD 2014 N a p at p at t r aya n o n d


photographs

by

CUAAD 2015 N a p at p at t r aya n o n d



T H E E X P L O R AT I O N O F L I G H T | P h k a p h o t o g r a p h s b y N a p at p at t r aya n o n d


photograph


M A D H AT T E R ' S P A R T Y | P h k a h s b y N a p at p at t r aya n o n d



T h a n k yo u fo r yo u r c o n s i d er i n g


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.