บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด “กิจการให้บริการโลจิสติกส์” จัดทาโดย นางสาวณัชปา บทเจริญ รหัสประจาตัว 5552555256 เสนอ 1 รศ.ดร.ประดิษฐ์ วรรณรัตน์
5 รศ.ดร.บุญชัย หงส์จารุ
3 ผศ.ดร.กนกพร นาคทับที
4 รศ.ดร.มณีวรรณ ฉัตรอุทัย
5 คุณวิวรรธน์ เหมมณฑารพ การค้นคว้าอิสระ : การศึกษาธุรกิจแบบบูรณาการ ในสาขาบริหารธุรกิจนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา โครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจสาหรับนักบริหารภาคพิเศษ (EMBA-25) มกราคม 5558 ลิขสิทธิ์เป็นของคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Privilege Logistics
หัวข้อโครงการ
บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด
นักศึกษา
นางสาวณัชปา บทเจริญ
รหัสประจาตัว
5520222026
สาขาวิชา
บริหารธุรกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ประดิษฐ์ วรรณรัตน์, รศ.ดร.บุญชัย หงส์จารุ, ผศ.ดร.กนกพร นาคทับที, รศ.ดร.มณีวรรณ ฉัตรอุทัย และ คุณวิวรรธน์ เหมมณฑารพ
บทคัดย่อ บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับการให้บริการจัดการระบบโลจิสติกส์ ซึ่งได้แก่ การ วางแผนและการจัดการในการเคลื่อนย้ายสินค้า, การดาเนินการด้านพิธีการศุลกากร, การจัดการด้านสินค้าคง คลัง, การขนส่งสินค้าในประเทศ และ การขนส่งสินค้าต่อเนื่องหลายรูปแบบระหว่างประเทศ ลักษณะการ ให้บริการของบริษัทแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลักคือ 1. บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ได้แก่ การวางแผนและ จัดหาวิธีการขนส่งที่เหมาะสมกับลักษณะของสินค้าและข้อกาหนดของลูกค้า รวมถึงกฏระเบียบที่เกี่ยวข้อง ต่างๆ โดยบริษัทสามารถบริหารจัดการการขนส่งสินค้าในต่างประเทศกว่า 100 ประเทศทั่วโลก 2. บริการ จัดการขนส่งภายในประเทศ เนื้อหาหลักในรายงานฉบับนี้จะประกอบด้วย ความเป็นมาของบริษัท การวิเคราะห์อุตสาหกรรมและคู่แข่ง การตรวจสอบด้านการเงิน การตรวจสอบด้านการปฏิบัติการ การตรวจสอบด้านทรัพยากรบุคคล และการ ตรวจสอบด้านการตลาด วิเคราะห์รากของปัญหา การแก้ไขปัญหา กาหนดกลยุทธ์และกาหนดแผนดาเนินงาน พร้อมทั้งดัชนีชี้วัดเพื่อเป็นเปูาหมายในการดาเนินงาน เพื่อให้บริษทั สามารบรรลุเปูาหมายในการดาเนินงาน อย่างยั่งยืน
INDEPENDENT STUDY BA8900
2
Privilege Logistics
Title:
PRIVILEGE LOGISTICS CO., LTD
Student:
Ms. Natchapa Botcharoen
Student ID:
5520222026
Program:
Business Administration
Thesis Advisor:
รศ.ดร.ประดิษฐ์ ผศ.ดร.กนกพร
วรรณรัตน์,
รศ.ดร.บุญชัย
นาคทับที, รศ.ดร.มณีวรรณ
หงส์จารุ, ฉัตรอุทัย และ
คุณวิวรรธน์ เหมมณฑารพ ABSTRACT Privilege Logistics Co., Ltd is performing as Logistics Provider which include planning and managing the movement of cargo, customs procedure, warehouse management, domestic transportation/distribution and international multimodal transport. The services are divided into 2 groups: 1. International transportation management services including planning and provision of transport methods appropriate to the nature of the product and customer requirements. As well as various related regulations. The company can manage shipping in more than 100 countries worldwide 2. Domestic transport management services. The content that show in report consist of company background, Industry and competitor analysis, Financial audit, Operation audit, Human resource audit and Marketing audit, Root cause analysis, strategy and planning, Key performance indicator for control and monitoring. All this, It’s definitely expected to be able to solve the whole of the problems stated and make the sustainable company
INDEPENDENT STUDY BA8900
3
Privilege Logistics
เป้าหมายการศึกษา การศึกษาบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัดซึ่งเป็นบริษัทให้บริการด้านการจัดการโลจิสติกส์นั้น เพื่อศึกษาหา อาการปัญและสาเหตุในแต่ละหน่วยธุรกิจของกิจการโดยผ่านการวิเคราห์ทั้งปัจจัยภายนอก และวิเคราะห์ปัจจัย ภายในธุรกิจ โดยสามารถจัดเรียงลาดับความสาคัญของรากของสาเหตุ และนาสาเหตุที่แท้จริงมาวินิจฉัยและกาหนด กิจกรรมการแก้ไขเพื่อสร้างความแข็งแกร่งของบริษัทในการแข่งขันของธุรกิจและการดาเนินกิจการที่ยั่งยืน
ขอบเขตของการศึกษาและการเลือกธุรกิจ เนื่องจากบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด เป็นบริษัทที่อยู่ในหมวดธุรกิจ การขนส่งและขนถ่ายสินค้า รวมถึงคน โดยสาร ซึ่งขอบเขตในการศึกษานั้น จะศึกษาเฉพาะธุรกิจการขนส่งและขนถ่ายสินค้าเนื่องจากเป็นธุรกิจที่บริษัท ดาเนินกิจการ โดยจะเน้นการตลาดแบบเชิงรุกในประเทศด้วยการดูแลลูกค้ากลุ่มที่มีความต้องการนาเข้าส่งออกหรือ ขนส่งภายในประเทศโดยตรง การตลาดแบบเชิงรับในต่างประเทศผ่านตัวแทนในแต่ละประเทศ โดยจะศึกษาบริษัท คู่แข่งในธุรกิจที่มีการดาเนินกิจการลักษณะเดียวกันในประเทศไทย เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันทาง ธุรกิจ พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงอาการปัญหา และรากของสาเหตุที่ต้องทาการแก้ไขทั้งในระยะสั้นและระยะยาวโดยการ วางแผนดาเนินงานให้สอดคล้อง ซึ่งธุรกิจที่จะศึกษานั้นมีขนาดและทุนจดทะเบียนใกล้เคียงกับบริษัท และด้วยโครงสร้างของธุรกิจการให้บริการโล จิสติกส์ในประเทศไทยมีมูลค่ารวมคิดเป็น 14.3 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ 1,711 พันล้านบาท โดยมีแนวโน้มของมูลค่ารวมลดลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากมีผู้เล่นที่มีลักษณะการดาเนินงานคล้ายกันในตลาดกว่า 1,099 ราย (ข้อมูลจากสมาคมชิปปิ้ง พ.ศ. 2555) และมีการแข่งขันภายในที่สูง เนื่องจากผู้ให้บริการโลจิสติกส์นั้น สามารถให้บริการแก่ลูกค้าได้ไม่แตกต่างกัน ทาให้เกิดความแตกต่างทางด้านสินค้าน้อยซึ่งนาไปสู่การแข่งขันที่สูง ผู้ประกอบการรายใหม่ที่ต้องการเข้ามาทาธุรกิจดังกล่าวยังมีอย่างต่อเนื่องทั้งสัญชาติไทยและต่างประเทศ ความ แตกต่างของผู้ประกอบการในกลุ่มผู้ให้บริการโลจิสติกส์จึงขึ้นอยู่กับ เงินลงทุน การบริการลูกค้า การบริหารต้นทุน ความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร ประกอบกับการตัดสินใจใช้บริการของลูกค้ายังขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของผู้ ให้บริการ การต่อรองราคากับซัพพลายเออร์บริษัทยังไม่มีอานาจต่อรองที่ดี ในขณะเดียวกันผู้เก็บผลกาไรจาก อุตสาหกรรมนี้คือลูกค้า เนื่องจากมีอานาจในการต่อรองที่สูงกว่า ซึ่งปัจจุบันอาการที่เกิดขึ้นกับบริษัท เช่น การขาด สภาพคล่องทางการเงิน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารสูงเนื่องจากอัตราการหมุนเวียนสูง
INDEPENDENT STUDY BA8900
4
Privilege Logistics
สารบัญ บทที่ 1 Company overview
6
บทที่ 2 External Analysis Industry Classification
19
Market Structure and Product Life Cycle/ Key Success Factor
34
Five Forces Model Analysis
42
SPELT Analysis
46
SWOT Analysis
47
บทที่ 3 Internal Analysis Financial Audit
51
Marketing Audit
70
Operation Audit
74
Human Resource Audit
80
บทที่ 4 Root Cause Analysis
84
บทที่ 5 Problem Solving and Strategic Planning
88
บทที่ 6 Proforma Income Statement
93
ที่มาของข้อมูล
95
INDEPENDENT STUDY BA8900
5
Privilege Logistics
บทที่ 1 ข้อมูลจาเพาะของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์จากัด 1. ลักษณะของธุรกิจ บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 สิงหาคม ค.ศ. 2008 เพื่อดาเนินธุรกิจในการ ให้บริการโลจิสติกส์ ซึ่งประกอบไปด้วย การให้บริการนาเข้า/ส่งออกทางเรือ และ ทางอากาศ, พิธีการนาเข้า และส่งออกโดยการ out source และ การขนส่งโดยการ out source ค.ศ. 2011 ได้มีการส่งพนักงานไปฝึกอบรมในด้านพิธีการกรมศุลกากร เพื่อให้บริษัทสามารถดาเนินพิธี การศุลกากรให้กับลูกค้าได้โดยไม่ต้อง out source ซึ่งไม่สามารถควบคุมกิจกรรมได้ดีเท่ากับบริษัททาเอง เพื่อทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการต่อลูกค้านาเข้า/ส่งออกอย่างทันท่วงที ค.ศ. 2014 บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,000,000 บาท เป็น 3,000,000บาท และได้ขึ้นทะเบียนเป็นตัวแทนขนส่งสินค้าถ่ายลา ซึ่งได้รับมอบอานาจจากทางกรม ศุลกากรในการเป็นตัวแทนนาเข้าของที่นาเข้ามาเพื่อทาการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ
เพื่อส่งออกไปยัง
ต่างประเทศ โดยไม่ต้องเสียค่าภาษีอากรขาเข้า เป็นใบอนุญาตเฉพาะกับบริษัทที่ขอขึ้นทะเบียนกับทางกรม ศุลกากรโดยต้องมีหลักทรัพย์ค้าประกันในวงเงิน 2,000,000บาท เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการกับ ลูกค้ากลุ่มที่ต้องการนาเข้าจากต่างประเทศผ่านทางประเทศไทยและส่งผ่านออกไปยัง พม่า, เวียดนาม, เขมร และ ประเทศอื่นๆ(ที่ระบุในอนุสัญญาบาเซโลนา, ประเทศที่มีพรมแดนติดทะเล) โดยไม่จาเป็นต้องเสียภาษี อากร ยกเว้นประเทศลาวประเทศเดียวเท่านั้น จากการเพิ่มช่องทางในการให้บริการในการเป็นตัวแทนขนสินค้าถ่ายลา
ทาให้บริษัทสามารถเพิ่มขีด
ความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์แก่ลูกค้ากลุ่มใหม่
INDEPENDENT STUDY BA8900
6
Privilege Logistics
2. วิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัท บริษัทมีความมุ่งมั่น โดยได้กาหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัทดังนี้ วิสัยทัศน์ “จะเป็นผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ให้ความสาคัญต่อลูกค้าเป็นสาคัญ และแก้ปัญหาโดยใช้นวัตกรรมที่ สร้างสรรค์ มีความซื่อสัตย์และเชื่อถือได้” พันธกิจ 1. เรามีจุดมุ่งหมายที่จะให้บริการการจัดการจากต้นทางไปยังปลายทางอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ให้บริการลูกค้าด้วยวิธีการด้านโลจิสติกส์ที่มคี วามยืดหยุ่นในการมุ่งมั่นที่ตอบความต้องการของ ลูกค้า 3. เราต้องการที่จะมีส่วนร่วมในความสาเร็จของลูกค้าของเราด้วยบริการที่มีความสร้างสรรค์ เราถือ ว่าความสาเร็จของลูกค้าก็คือความสาเร็จของเรา
INDEPENDENT STUDY BA8900
7
Privilege Logistics
3. ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัท กลุ่มที่ 1การขนส่งสินค้า (Freight Transportation and Forwarding) ซึ่งครอบคลุมงานทางโลจิสติกส์ที่ เกี่ยวข้องกับการให้บริหารด้านการขนส่งสินค้าทั้งภายในและส่งออกนอกประเทศ ในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางถนน ทางรถไฟ ทางทะเล และทางอากาศ
Figure 1 ประเภทการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กลุ่มที่ 2การจัดเก็บสินค้า ดูแล และบริหารคลังสินค้า และการให้บริการติดฉลากสินค้าหรือบริการด้าน บรรจุภัณฑ์ (Warehousing/Inventory Management and Packing) รวมทั้งการกระจายสินค้า
Figure 2 การบริหารคลังสินค้าและการรับบริการด้านบรรจุภัณฑ์ INDEPENDENT STUDY BA8900
8
Privilege Logistics
กลุ่มที่ 3การให้บริการด้านพิธีการต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส์ (Non-Asset Based LogisticsServices) ครอบคลุมงานพิธีการศุลกากร งานเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าหรือส่งออกสินค้า
Figure 3 บริการด้านพิธีการศุลกากรสาหรับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กลุ่มที่ 4การให้บริการงานโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการเสริมเช่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ งานที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์ (Information and Communication Technology / Consulting)
Figure 4 การวางแผนการให้คาปรึกษาด้านโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ 4. สัดส่วนที่มาของรายได้ ที่มาของรายได้ ณ ปี 2556 แบ่งเป็น การขนส่งทางอากาศ
5,986,677.03
บาท
การขนส่งทางเรือ
25,156,042.66
บาท
พิธีการศุลกากร
2,718,576.79
บาท
รวมรายได้ ณ ปี 2556 เป็น
33,861,296.48
บาท
INDEPENDENT STUDY BA8900
9
Privilege Logistics
5. โครงสร้างองค์กร (Organization Chart) ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการด้าน การเงิน บัญชีรับ บัญชีจ่าย
ผู้จัดการด้านการ ปฏิบัติการ
ผู้จัดการขาย พนักงานขาย พนักงานให้บริการ ลูกค้า
ฝุายเอกสาร
ฝุายการขนส่ง
ฝุายพิธีการ
บัญชีต่างประเทศ Figure 5 โครงสร้างองค์กรบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด
INDEPENDENT STUDY BA8900
10
Privilege Logistics
6. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องในการให้บริการโลจิสติกส์
Figure 6 : การแบ่งขอบเขตของโลจิสติกส์ภายในประเทศและระดับโลก ลักษณะการให้บริการของบริษัทแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลัก คือ การให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศ และการให้บริการขนส่งในประเทศ โดยแต่ละกลุ่มการให้บริการมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ได้แก่ การเป็นผู้บริหารจัดการให้เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้าจาก จุดขนถ่ายสินค้าเพื่อส่งออกจากประเทศไทยไปสู่ยังจุดหมายปลายทางในประเทศต่างๆกว่า 100 ประเทศทั่ว โลก และการเป็นผู้บริหารจัดการการเคลื่อนย้ายสินค้าจากประเทศต่างๆ มาสู่จุดขนถ่ายสินค้าเข้าประเทศ ซึ่งบริษัทมีการให้บริการจัดการขนส่งทั้งทางทะเลและอากาศ โดยบริษัทเป็นผู้ให้บริการจัดการขนส่งประเภท ไม่มีเรือหรือเครื่องบินเป็นของตนเอง แต่จะจัดหาระวางเรือหรือเครื่องบินจากผู้ประกอบการขนส่งอันได้แก่ บริษัทเรือหรือสายการบินเพื่อให้บริการแก่ลูกค้า นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการประสานงานกับพันธมิตรใน ประเทศต่างๆ เพื่อให้สามารถให้บริการเคลื่อนย้ายสินค้าจากท่าเรือ หรือ สนามบินในต่างประเทศไปยัง จุดหมายปลายทางที่อยู่ภายในประเทศต่างๆนั้นได้อีกด้วย การให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศของบริษัทสามารถแบ่งตามวิธีการขนส่งได้ดังนี้ INDEPENDENT STUDY BA8900
11
Privilege Logistics
1.1) การจัดการขนส่งระหว่างประเทศทางทะเล : เหมาะสาหรับลูกค้าที่ต้องการขนส่งสินค้าในปริมาณมาก และไม่ต้องการระยะเวลาขนส่งที่รวดเร็วมากนัก เนื่องจากการขนส่งทางทะเลจะใช้ระยะเวลาเดินทางนานกว่า การขนส่งทางอากาศ แต่สามารถขนสินค้าได้ครั้งละปริมาณมากจึงสามารถช่วยลดต้นทุนการขนส่งได้ ปัจจุบันบริษัทมีการให้บริการจัดการขนส่งทางทะเลครอบคลุมทั้ง 5 ทวีป ได้แก่ ยุโรป, อเมริกา, เอเชีย, ออสเตรเลีย และแอฟริกา สาหรับการขนส่งทางทะเลสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ การขนส่งแบบเต็มตู้คอนเทนเนอร์ (Full Container Load : FCL) เหมาะสาหรับลูกค้าที่มีปริมาณ สินค้ามากพอที่จะเช่าตู้คอนเทนเนอร์ทั้งตู้ เพื่อบรรจุสินค้าโดยไม่จาเป็นต้องไปร่วมแบ่งใช้ตู้คอนเทน เนอร์กับลูกค้ารายอื่นๆ การใช้งานตู้คอนเทนเนอร์แบ่งตามขนาดที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยบริษัทจะ ให้บริการจัดหาตู้คอนเทนเนอร์ขนาดต่างๆที่เหมาะสม, จัดหาสายเรือตามตารางเวลาและข้อกาหนด ของลูกค้า, จัดการด้านเอกสารพิธีการศุลกากร รวมถึงเป็นตัวแทนในการออกสินค้าให้แก่ลูกค้า การขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ (Less than Container Load : LCL) เหมาะสาหรับกลุ่มลูกค้า ที่มีสินค้าไม่มากพอที่จะเช่าตู้คอนเทนเนอร์เพื่อบรรจุสินค้าของตนเพียงรายเดียวได้ ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ผู้ประกอบการในธุรกิจให้บริการจัดการขนส่ง, กลุ่มผู้ผลิตและส่งออกสินค้าซึ่งมีสินค้าไม่คุ้มค่าแก่การ เช่าเหมาตู้
Figure 7 การขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ การขนส่งแบบเต็มตู้คอนเทนเนอร์
INDEPENDENT STUDY BA8900
การขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์
12
Privilege Logistics
1.2) การจัดการขนส่งระหว่างประเทศทางอากาศ : เป็นวิธีการขนส่งระหว่างประเทศที่รวดเร็ว ใช้ระยะเวลา ในการเคลื่อนย้ายสินค้าไปสู่จุดหมายปลายทางที่สั้นกว่าการขนส่งทางทะเล แต่มีต้นทุนสูงกว่า จึงเหมาะ สาหรับการขนส่งสินค้าที่มีอายุในการเก็บรักษาสั้นหรือต้องการรักษาอุณหภูมิ เช่น ผักสดและผลไม้, สินค้าที่ มีมูลค่าสูงหรือต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เช่น อัญมณีและทองคา รวมทั้งสินค้าที่ต้องการความรวดเร็วใน การจัดส่งซึ่งมีน้าหนักและปริมาณไม่มากนัก เช่น เอกสารและสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ สาหรับการให้บริการแก่ลูกค้า ที่ต้องการบริการขนส่งระหว่งประเทศทางอากาศนี้ บริษัทจะให้บริการจัดหายสายการบินตามตารางเวลาและ ข้อกาหนดที่ลูกค้าต้องการ, จัดการด้านเอกสารพิธีการศุลกากร รวมถึงเป็นตัวแทนในการออกสินค้าให้แก่ ลูกค้า 1.3) บริการอื่นๆ : บริษัทมีการให้บริการด้านพิธีการศุลกากรและเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเป็น ตัวแทนในการออกสินค้าให้แก่ลูกค้า ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวต้องอาศัยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านพิธีการ ศุลกากรและกฏระเบียบเกี่ยวกับการนาเข้าส่งออก เพื่อให้ลูกค้าสามารถปฏิบัติตามข้อกฏหมายที่เกี่ยวข้องใน แต่ละประเทศได้อย่างถูกต้องและสามารถรับหรือส่งสินค้าไปยังจุดหมายปลายทางได้ตรงตามกาหนดเวลา นอกจากเพื่อเป็นการขยายขอบเขตการให้บริการแก่ลูกค้ามากยิ่งขึ้น ในปี 2557 บริษัทได้ขึ้นทะเบียนเป็น ตัวแทนขนส่งสินค้าแบบถ่ายลา ซึ่งได้รับมอบอานาจจากทางกรมศุลกากรในการเป็นตัวแทนนาเข้าของที่ นาเข้ามาเพื่อทาการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ เพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศ โดยไม่ต้องเสียค่าภาษีอากรขา เข้า เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการกับลูกค้ากลุ่มที่ต้องการนาเข้าจากต่างประเทศผ่านทางประเทศ ไทยและส่งผ่านออกไปยัง พม่า, เวียดนาม, เขมร และ ประเทศอื่นๆ(ที่ระบุในอนุสัญญาบาเซโลนา, ประเทศที่มี พรมแดนติดทะเล) โดยไม่จาเป็นต้องเสียภาษีอากร ยกเว้นประเทศลาวประเทศเดียวเท่านั้น
2) การให้บริการขนส่งสินค้าในประเทศ บริษัทมีบริการขนส่งส่งสินค้าในประเทศด้วยการจัดหารรถหัวลากและ หางลาก, รถกระบะ, รถหกล้อ และรถสิบล้อ โดยที่บริษัทไม่ได้มีรถชนิดต่างๆดังกล่าวเป็นของตนเอง แต่ จัดหาจากผู้ประกอบการขนส่งตามประเภทรถต่างๆ เพื่อเป็นการขยายขอบเขตการให้บริการแก่ลูกค้าที่ใช้ บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศกับบริษัทอยู่แล้ว
7. การตลาดและภาวะการแข่งขัน กลยุทธ์การแข่งขัน INDEPENDENT STUDY BA8900
13
Privilege Logistics
การมีบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญและมุ่งมั่นในการให้บริการ การให้บริการด้านจัดการขนส่งระหว่างประเทศนั้นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบต่างๆ ที่บังคับใช้ในการส่งออกหรือนาเข้าและกฎหมายของประเทศต่างๆ เพราะแต่ละประเทศอาจมี ข้อบังคับที่แตกต่างกัน ดังนั้น บริษัทจึงได้จัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญในธุรกิจจัดการ ขนส่งระหว่างประเทศไว้คอยให้บริการแก่ลูกค้าโดยมีพนักงานที่ได้รับการอบรมผ่านพิธีการศุลกากร ประจาบริษัทถึง 2 คนคอยให้คาแนะนาแก่พนักงานในส่วนงานต่างๆ เพื่อจะได้นาไปปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้องตามระเบียบและกฏหมายศุลกากรรวมถึงกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง นอกจากบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านกฎระเบียบและกฎหมายดังกล่าวแล้ว บริษัทยังได้จัดอบรม ภายใน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดีของพนักงานในการที่จะสามารถให้คาแนะนาที่ถูกต้องแก่ ลูกค้าต่อไป การให้บริการที่ครบวงจร บริษัทสามารถเสนอบริการที่หลายหลายเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างครอบคลุม ให้มากที่สุด โดยเริ่มตั้งแต่การให้คาปรึกษาแก่ลูกค้าในการวางแผนและจัดหาวิธีการขนส่งที่เหมาะสม กับลักษณะของสินค้าและข้อกาหนดของลูกค้า รวมถึงกฎหมายและกฏระเบียบที่เกี่ยวข้องของ ประเทศต่างๆ, การจัดหาและจองระวางเรือหรือเครื่องบินภายใต้ต้นทุนที่ดีที่สุด, การดาเนินการบรรจุ สินค้า, การจัดการด้านพิธีการศุลกากรและเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถส่งออกหรือนาเข้า สินค้าได้ตามกาหนด และรวมถึงการติดตามประสานงานกับพันธมิตรในต่างประเทศ การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ จากความพยายามที่บริษัทเสนอการบริการที่ครอบคลุมให้กับลูกค้า บริษัทจึงได้มอบหมายให้ ผู้ประกอบการอื่นในระบบโลจิสติกส์ เช่น ผู้ประกอบการรถบรรทุกประเภทต่างๆ, ผู้ประกอบการด้าน คลังสินค้า, ผู้ประกอบการด้านบรรจุภัณฑ์ และ ผู้ประกอบการด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ดาเนินกิจกรรม ย่อยต่างๆให้กับบริษัท โดยบริษัทถือว่าผู้ประกอบการอื่นในระบบโลจิสติกส์เหล่านี้เป็นพันธมิตรทาง ธุรกิจให้กับบริษัทนั่นเอง INDEPENDENT STUDY BA8900
14
Privilege Logistics
นอกจากพันธมิตรในประเทศ บริษัทยังแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจในต่างประเทศ เพื่อทาหน้าที่เป็น ตัวแทน (Agent) ในการดาเนินการจัดการขนส่งตามข้อกาหนดของลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ต้นทุนที่ดีที่สุด ปัจจุบันบริษัทมีพันธมิตรทางธุรกิจในลักษณะดังกล่าวกว่า 50 รายในประเทศหลักแต่ ละทวีป การพัฒนาการทางานร่วมกันกับพันธมิตรในต่างประเทศยังช่วยให้ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโอกาส ทางการตลาดในกลุ่มลูกค้าเปูาหมายต่างๆ เพื่อให้บริษัทสามารถขยายฐานลูกค้าได้อีกด้วย ศักยภาพในการบริหารจัดการต้นทุน บริษัทพยายามที่จะขยายฐานลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อให้เกิดการแชร์ต้นทุนในการ ดาเนินกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด หรือการที่บริษัทนา ลูกค้าที่มีการส่งออกหรือนาเข้าระหว่างประเทศเดียวกัน นาเอาปริมาณมาต่อรองราคากับบริษัทเรือ หรือสายการบิน เพื่อให้ได้ราคาต้นทุนที่ถูกลงอีกด้วย ลักษณะของลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเปูาหมาย กลุ่มลูกค้าของบริษัทสามารถแบ่งตามลักษณะของธุรกิจได้ดังนี้ ธุรกิจบริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศ : กลุ่มผู้ประกอบการเพื่อการส่งออกและนาเข้า (Exporter, Importer) ซึ่งได้แก่โรงงานต่างๆที่เป็นผู้ผลิตสินค้า (Manufacturer) รวมถึงผู้ประกอบการที่เป็นผู้ค้า และจัดจาหน่ายสินค้าต่างๆ (Trader, Distributor) ซึง่ ไม่ได้เป็นผู้ผลิตสินค้าเอง แต่ดาเนินธุรกิจใน การนาเข้าหรือส่งออกสินค้ามาจาหน่าย โดยเป็นตัวแทนสินค้าที่ตนไม่ได้ผลิตขึ้น ธุรกิจบริการจัดการขนส่งในประเทศ : กลุ่มผู้ประกอบการที่มีความต้องการในการเคลื่อนย้ายสินค้า ภายในประเทศจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งเพื่อผลิต, บรรจุ, แปลรูป, เก็บเข้าคลังสินค้า และอื่นๆ ส่วนมากเป็นกลุ่มลูกค้าที่เป็นกลุ่มผู้นาเข้าและส่งออกกับบริษัทอยู่แล้ว การจัดจาหน่ายและช่องทางการจาหน่าย บริษัทใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยช่องทางการจาหน่ายทางตรงได้แก่การ ติดต่อกับลูกค้าโดยตรงผ่านทางเจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดและเว็ปไซต์บริษัท www.pvl.co.th โดยบริษัทได้แบ่ง INDEPENDENT STUDY BA8900
15
Privilege Logistics
ส่วนการดูแลลูกค้าแต่ละรายตามเจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดได้รับมอบหมายไป บริษัทมีช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อมจากการแนะนาลูกค้าโดยพันธมิตรจากต่างประเทศ ดังนั้นการ พัฒนาการทางานร่วมกันกับพันธมิตรให้มีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้บริษัทสามารถขยายฐานลูกค้าได้เพิ่มมาก ขึ้นอีกทาง โดยการพัฒนาการทางานร่วมกับพันธมิตร เช่น การส่งราคาค่าระวางเรือหรือเครื่องบินจากไทยไป ยังประเทศของพันธมิตรอย่างสม่าเสมอ ทาให้สร้างโอกาสในการที่พันธมิตรเองจะนาค่าระวางไปเสนอขายกับ กลุ่มลูกค้าได้อย่างทันท่วงที เป็นการเพิ่มโอกาสในการเพิ่มลูกค้าทางอ้อมให้กับบริษัทต่อไป
8. การจัดหาและแหล่งที่มาของบริการ ธุรกิจรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ในการให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศนั้น ต้นทุนบริการหลักได้แก่ ค่าระวางเรือหรือเครื่องบินซึ่งคิด เป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 80-85 ของต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศของบริษัท โดย บริษัทมีการจัดหาต้นทุนบริการหลักดังนี้ ระวางเรือหรือเครื่องบิน บริษัทมีการจัดหาระวางเรือหรือเครื่องบินจากผู้ประกอบการในประเทศเป็นหลัก คิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 70 – 75 ของต้นทุนค่าระวางรวม ซึ่งต้นทุนดังกล่าวจะมีการจ่ายชาระให้แก่ ผู้ประกอบการขนส่งโดยตรงเป็นสกุลเงินบาท โดยบริษัทจะพยายามเจรจาขอเครดิตในผู้ประกอบการ ขนส่งบางรายได้สูงสุดเป็นเวลา 30 วัน แต่มีปริมาณน้อยราย พันธมิตรในต่างประเทศ (Agent) ในกรณีที่บริษัทจะต้องให้บริการจัดการขนส่งในเขตต่างประเทศ บริษัทจะให้พันธมิตรในต่างประเทศ เป็นผู้ดาเนินการให้ ดังนั้น ต้นทุนค่าระวางจะมีการชาระคืนแก่พันธมิตรเป็นสกุลเงินหลักของ พันธมิตรแต่ละประเทศ โดยพันธมิตรในต่างประเทศจะเรียกเก็บค่าบริการและค่าระวางตาม ระยะเวลาที่ตกลงกันเอาไว้ใน Agency Agreement ธุรกิจรับจัดการขนส่งในประเทศ เนื่องจากบริษัทไม่ได้มีรถบรรทุกเป็นสินทรัพย์ของบริษัทเพื่อประกอบการขนส่ง ดังนั้นต้นทุนการจัดการ ขนส่งภายในประเทศ จึงขึ้นกับผู้ประกอบการรถบรรทุกหัวลากและหางลาก, รถกระบะ, รถหกล้อ และรถสิบ INDEPENDENT STUDY BA8900
16
Privilege Logistics
ล้อ โดยผู้ประกอบการเหล่านี้จะยืนราคาตามระยะทางและภาวการณ์ขึ้นลงของน้ามันเป็นหลัก โดยบริษัทจะ คัดเลือกผู้ประกอบการที่มีขนาดรถที่ใช้ในการบรรทุกสินค้าต่างๆประเภทเดียวกันไว้ในจานวนหนึ่ง เพื่อไม่ให้ ผูกขาดผู้ประกอบการเจ้าใดเจ้าหนึ่งจนเกินไป และเพื่อสารองไว้เมื่อผู้ประกอบการรายใดรายหนึ่งไม่มี ความสามารถรับงานของบริษัทได้
9. ปัจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทมีปัจจัยความเสี่ยงที่ต้องบริหารจัดการคือความเสี่ยงทางอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อเกิดการใช้บริการ เอเย่นต์ในต่างประเทศให้ดาเนินการจัดการขนส่งในเขตต่างประเทศนั้นๆ ทางบริษัทบริหารความเสี่ยงโดยตก ลงค่าบริการกับเอเย่นต์ในสกุลเงินหลักๆ ดังนี้คือ USD, EUR, GBP เป็นต้น และในทางกลับกันบริษัทจะ พยายามทางานกับเอเย่นต์ต่างๆเพื่อนาเอาค่าบริการที่ได้ดาเนินการให้แต่ละเอเย่นต์ไปหักล้างกัน เพื่อลดยอด ที่ต้องโอนออกต่างประเทศ ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร ธุรกิจการให้บริการจัดการขนส่งระหว่างประเทศนั้นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบต่างๆที่ บังคับใช้ในการนาเข้าหรือส่งออกและกฎหมายในประเทศต่างๆ บริษัทมีการให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ ความรู้ความสามารถพนักงาน แต่ด้วยขนาดของบริษัทที่ยังมีพนักงานไม่มาก จึงยังมีความเสี่ยงที่เกิดจากการ พึ่งพิงบุคลากรหลัก ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ บริษัทมีนโยบายในการหากลุ่มลูกค้าเปูาหมายในอุตสาหกรรมเดียวกันพอสมควร เพื่อบริหารต้นทุน และ สามารถใช้ข้อมูลลูกค้าในอุตสาหกรรมเดียวกันในการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ดังนั้นบริษัทจึงมี ความเสี่ยงที่จะเกิดกับกลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมเดียวกันได้ ลูกค้าของบริษัทส่วนใหญ่เป็นลูกค้าของฝุายขาย ซึ่งหากพนักงานฝุายขายไม่ดูแลลูกค้ากลุ่มนี้ให้ดี บริษัทก็มีความเสี่ยงที่อาจจะสูญเสียลูกค้ากลุ่มนี้ไป ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบในการประกอบธุรกิจ เนื่องจากธุรกิจการให้บริการการจัดการขนส่งระหว่างประเทศต้องเกี่ยวข้องกับกฏหมายทั้งในประเทศไทย INDEPENDENT STUDY BA8900
17
Privilege Logistics
เอง และรวมถึงประเทศปลายทางด้วย จึงมีความเสี่ยงในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางกฏระเบียบของ ทางราชการไทยและกฏระเบียบในแต่ละประเทศอีกด้วย บริษัทจึงพยายามจัดการความเสี่ยงนี้ด้วยการส่ง พนักงานเข้าอบรมกับหน่วยงานของกรมศุลกากร เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งบริษัทยังเป็นสมาชิก สมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทยเพื่อจะได้สามารถรับทราบข่าวสารการเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบต่างๆได้ทันท่วงที ในขณะเดียวกันความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงในต่างประเทศ บริษัทต้องอาศัยเอเย่นต์ที่ต่างประเทศในการ แจ้งให้ทราบเพื่อปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบในต่างประเทศยัง สูงกว่าในประเทศ ความเสี่ยงจากการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทาให้มีผู้เล่นรายใหม่มาเพิ่มมากขึ้น จึงทาให้บริษัทมีความเสี่ยงใน การแข่งขันหากไม่บริหารจัดการความเสี่ยงด้านนี้ให้ดี ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเทคโนโลยี เงินลงทุน ศักยภาพ ของพนักงานบริษัทด้านภาษาและความรู้ความเชี่ยวชาญ โดยบริษัทได้ดาเนินการอบรมการใช้ ภาษาต่างประเทศกับพนักงานเมื่อปลายปี 2557 และวางแผนการอบรมด้านความรู้ในการนามาปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญต่อไป ความเสี่ยงจากการบริหารโดยผู้บริหารเพียงคนเดียว เนื่องจากบริษัทมีขนาดเล็กและบริหารโดยผู้บริหารเพียงคนเดียว บริษัทจึงมีความเสี่ยงในนโยบายการ บริหารที่อาจจะไม่ได้มีทางเลือกจากบุคคลอื่นที่มีสิทธิ์ออกเสียงในการบริหารในบริษัทได้
INDEPENDENT STUDY BA8900
18
Privilege Logistics
บทที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก 1. การจาแนกอุตสาหกรรม (Industrial Classification) เนื่องจากกิจการเป็นบริษัทผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลากหลายอุตสาหกรรมที่มีความ ต้องการในด้าน การขนส่งสินค้า การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ซึ่ง หมายความว่าถ้ามีความต้องการใน การขนส่งสินค้า การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และการบริหารจัดการโลจิ สติกส์มากขึ้น จะทาให้เกิดการขยายกลุ่มลูกค้าของบริษัทได้ ประเทศไทยมีต้นทุนโลจิสติกส์ประมาณ 1.711 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.3 ของ GDP ประกอบด้วย 1) ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า 50% ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม 2) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 40% ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม และ 3) ต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ 10% ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม ซึ่งอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ยของประเทศกาลังพัฒนา แต่ถ้าเทียบกับประเทศคู่ค้าสาคัญ ๆ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ จีน และบราซิล ซึ่งมีต้นทุนโลจิสติกส์ไม่เกินร้อยละ 12-13 ต่อ GDP ประเทศไทยก็นับว่ามีศักยภาพในบริการโลจิ สติกส์ที่ต่ากว่า ทัง้ นี้สาเหตุส่วนหนึ่งเป็นเพราะระบบโลจิสติกส์ของไทยยังขาดการบูรณาการในการพัฒนา ขาด ประสิทธิภาพและพัฒนาการของการขนส่งทางราง และยังขาดหน่วยงานรับผิดชอบหลัก [กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ (2555), ธุรกิจบริการ : โลจิสติกส์, กรุงเทพฯ.]
สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์แบ่งตามกิจกรรมหลัก 9% 49% 42%
ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์
Figure 8 แสดงสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์แบ่งตามกิจกรรมหลัก อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ในส่วนของผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทย พบว่าโดยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 เป็นผู้ประกอบการขนาด เล็กที่มีทุนจดทะเบียนต่ากว่า 5 ล้านบาท ผู้ประกอบการต่างชาติแม้จะมีจานวนน้อยกว่าแต่มีทุนจดทะเบียน INDEPENDENT STUDY BA8900
19
Privilege Logistics
รวมกันมากกว่าผู้ประกอบการไทย โดยทุนจดทะเบียนรวมของบริษัทที่ประกอบการในอุตสาหกรรมประเภทนี้ มีทั้งสิ้น 7,586 ล้านบาท เป็นของผู้ประกอบการต่างชาติร้อยละ 52.6 หรือคิดเป็นทุนจดทะเบียนประมาณ 3,996 ล้านบาท ในขณะที่บริษัทของคนไทยมีทุนจดทะเบียนรวมประมาณ 3,593 ล้านบาท ผู้ประกอบการ โล จิสติกส์ไทยโดยส่วนใหญ่ทาธุรกิจดั้งเดิมในลักษณะเจ้าของคนเดียว บริหารงานแบบครอบครัว และส่วนใหญ่ ให้บริการด้านโลจิสติกส์ในกลุ่มที่เป็นการขนส่งเท่านั้น ผู้ประกอบการไทยโดยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และการดาเนินธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน์ ขาดบุคลากรที่สามารถให้คาแนะนา แก่ลูกค้าได้อย่างเหมาะสม มีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ค่อนข้างจากัด รวมทั้งขาดแผนการ ดาเนินงานในระยะยาว ทาให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ใน ส่วนของการเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดการค้าเสรีนั้น พบว่าผู้ประกอบการไทยโดยส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจ และความสนใจเกี่ยวกับการเปิดเสรีการค้า บริการโลจิสติกส์ รวมทั้งไม่มีการประเมินผลกระทบที่คาดว่าจะเกิด ขึ้นกับตนเองถ้ามีการเปิดเสรีการค้าบริการสาขาโลจิสติกส์ขึ้น สาหรับสถานการณ์ตลาดอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ในประเทศไทยที่ผ่านมาพบว่าสถานการณ์ในการแข่งขันที่ มีความรุนแรงมาก เนื่องจากมีคู่แข่งขันในอุตสาหกรรมนี้มีเป็นจานวนมาก ทาให้มีการแข่งขันด้านราคาอย่าง รุนแรง ประกอบกับลูกค้ามีอานาจในการต่อรองสูง ทาให้ผลกาไรที่ได้รับอยู่ในอัตราส่วนที่น้อยลง ทั้งนี้ยังมีผล มาจากปัจจัยภาวะเศรษฐกิจตกต่าและต้นทุนในการดาเนินงานที่สูงขึ้นจากค่าเชื้อเพลิงและค่าแรงขั้นต่า ข้อจากัดในการดาเนินธุรกิจโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการไทย เกิดจากการขาดการสนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนา ด้านบุคลากร และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน รองลงมาคือข้อจากัดในด้านการขาดแคลน บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านโลจิสติกส์อย่างแท้จริง ถัดมาคือ กฎหมาย และโครงสร้างพื้นฐานยังไม่ รองรับกับการขยายตัวของโลจิสติกส์ แนวโน้มการประกอบธุรกิจในอนาคต การเปิดเสรีสาขาบริการด้านโลจิสติกส์และกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Sub-Region: GMS) ถือเป็นปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลให้ธุรกิจโลจิสติกส์ไทยมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งความร่วมมือทางเศรษฐกิจจะส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว ตลอดจนความร่วมมือใน ด้านอื่นๆ ระหว่างกันภายในภูมิภาค โดยการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะการค้ากับประเทศจีน ซึ่งเป็นตลาดการค้าและบริการที่มีขนาดใหญ่ และมีศักยภาพในการเติบโตสูง รวมทั้งการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งที่เชื่อมโยงถึงกันมากขึ้น ตลอดจนความร่วมมือเพื่อการขนส่งระหว่างกัน INDEPENDENT STUDY BA8900
20
Privilege Logistics
ในภูมิภาคจะเอื้ออานวยให้ผู้ให้บริการขนส่งทางถนนที่เกี่ยวเนื่องกับการค้าชายแดน รวมถึงการขนส่งสินค้า ผ่านไปยังจีน เช่น รถบรรทุก การขนส่งด้วยห้องเย็น การขนส่งสินค้าอันตราย มีแนวโน้มที่จะเติบโตมากขึ้น นอกจากนี้ยังได้รับผลบวกจากการลงทุนจากต่างประเทศ การขยายฐานการผลิตและศูนย์กระจายสินค้าสู่ ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งการขยายตัวของความเป็นเมืองและการท่องเที่ยว ทาให้ความต้องการใช้บริการธุรกิจโลจิ สติกส์ปรับตัวสูงขึ้น อีกทั้งการสนับสนุนจากภาครัฐที่มีแผนการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนา โครงข่ายโลจิสติกส์ ซึ่งจะทาให้ธุรกิจโลจิสติกส์ไทยเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงประกอบไป ด้วยอุปสงค์ในตลาดโลกอ่อนแรงลงจากปัญหาวิกฤตหนี้ในยุโรป ประกอบกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนและ อินเดีย รวมถึงค่าเชื้อเพลิงที่ขึ้นอย่างต่อเนื่องและปัญหาค่าแรงขั้นต่าที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งอาจจะมี ผลกระทบกับเศรษฐกิจโดยรวม ในปี 2558 จะมีการเปิดเสรีสาขาบริการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาบริการที่มีการเร่งรัดเปิดเสรี ภายในกรอบ AEC การเปิดเสรีจะทาให้ต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากประเทศไทย อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางอาเซียน ซึ่งจะทาให้การขนส่งสินค้าระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านและ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคโดยใช้เส้นทางผ่านประเทศไทยมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในเส้นทาง R3A และ R9 ที่จะสร้างโอกาสสาคัญให้กับไทยในการเชื่อมต่อแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor) และแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) นอกจากนี้ธนาคาร ADB (Asian Development Bank) ยังได้ขยายแนว GMS Economic corridors ให้ ครอบคลุมพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 9 แนว จากเดิมมีเพียง 3 แนว การขยายแนว GMS Economic corridors ดังกล่าว คาดว่าจะส่งผลดีต่อธุรกิจโลจิสติกส์ของไทย เนื่องจากจะทาให้การค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมี แนวโน้มขยายตัวสูงขึน้ ประกอบกับธุรกิจโลจิสติกส์ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงกว่าเมื่อเทียบกับ ประเทศในกลุ่ม GMS ด้วยกัน จากปัจจัยทั้งในและต่างประเทศที่ช่วยเกื้อหนุนธุรกิจโลจิสติกส์ โดยปัจจัยภายในประเทศ ได้รับผลบวก จากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรม การลงทุนจากต่างประเทศ การขยายฐานการผลิตและศูนย์กระจายสินค้าสู่ ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งการขยายตัวของความเป็นเมือง และการท่องเที่ยวที่มีความคึกคักมากขึ้น ทาให้ความ ต้องการใช้บริการธุรกิจโลจิสติกส์ปรับตัวสูงขึ้น อีกทั้งการสนับสนุนจากภาครัฐที่มีแผนการก่อสร้างโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อพัฒนาโครงข่ายโลจิสติกส์ จะช่วยเสริมให้ระบบโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพและช่วยลดต้นทุนโลจิ
INDEPENDENT STUDY BA8900
21
Privilege Logistics
สติกส์ของประเทศมากยิ่งขึ้นในอนาคต ซึ่งภาครัฐวางแผนที่จะลดต้นทุนโลจิสติกส์ลงให้เหลือร้อยละ 13 ภายในปี 2560 จากร้อยละ 14.3 ในปี 2555 สาหรับแนวทางในการพัฒนาในอนาคตนั้น ภาครัฐและภาคเอกชนควรเร่งพัฒนาเพื่อไปสู่เปูาหมายสาคัญ คือ การเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ภายในอนุภูมิภาคอย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ และการก้าวไปสู่การ เป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ภายในอนุภูมิภาค สาหรับโอกาสในการเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ภายในอนุภูมิภาค นั้น ประเทศไทยมีความเป็นไปได้สูงที่จะประสบความสาเร็จภายในระยะเวลาอันสั้น แต่ต้องเร่งปรับปรุงและ พัฒนาในบางด้าน เช่น การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน การเร่งบังคับใช้กฎระเบียบผ่านแดนตามจุดต่างๆ การ แก้ปัญหาเชิงเทคนิคของรถขนส่งสินค้า การพัฒนาความรู้ของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ เป็นต้น ส่วนโอกาส ในการก้าวไปสู่การเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ภายในอนุภูมิภาคคงต้องใช้ระยะเวลาในการพัฒนาไปสู่ เปูาหมายดังกล่าว ซึ่งต้องเร่งพัฒนาในอีกหลายด้านและต้องได้รับความร่วมมือจากหลายฝุายทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน อย่างไรก็ตามการเปิดเสรีโลจิสติกส์อาเซียนจะส่งผลกระทบในด้านลบเช่นกัน โดยผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ของไทยต้องเผชิญแรงกดดันหลายด้าน ทั้งจากธุรกิจของชาวต่างชาติหรือผู้ประกอบการรายใหญ่ที่อาจมีการ ขยายเครือข่ายและการลงทุนให้บริการโลจิสติกส์ที่ครอบคลุมทั่วประเทศ และมีอานาจการต่อรองมากกว่า รวมทั้งความผันผวนทางเศรษฐกิจ เช่น ต้นทุนพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภาครัฐจึงควรมีมาตรการที่จะ ช่วยบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งการอานวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการ ขณะที่ผู้ประกอบการก็ ต้องเร่งปรับตัวในด้านต่างๆ เพื่อเสริมสร้างจุดแข็งของตน เพื่อรองรับการแข่งขัน และโอกาสที่จะเกิดขึ้นด้วย โอกาสในการให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ระดับความสามารถในการแข่งขันด้านการให้บริการของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics Service Provider: LSP) ที่สามารถให้บริการในกิจกรรมพื้นฐาน เช่นการ ขนส่ง การจัดเก็บและบริหารคลังสินค้า บริการด้านพิธีการศุลกากรนาเข้า-ส่งออก เป็นต้น ความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการมีลักษณะเป็นครั้งคราว ส่วนการให้บริการโลจิสติกส์แบบเบ็ดเสร็จ (Third Party Logistics Provider: 3PL) โดยผู้ประกอบการไทยเองนั้นมีไม่กี่รายที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะ ให้บริการโลจิสติกส์แบบ 3PL ในขณะที่ในประเทศพัฒนาแล้ว ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ส่วนใหญ่จะสามารถ
INDEPENDENT STUDY BA8900
22
Privilege Logistics
ให้บริการแบบ 3PL ได้ สาหรับแนวโน้มและโอกาสที่สาคัญสาหรับการส่งเสริมและพัฒนาการให้บริการโลจิ สติกส์ของไทย สรุปได้ดังนี้ 1) ตาแหน่งที่ตั้งของประเทศไทยทาให้มีความได้เปรียบในเชิงภูมิศาสตร์ โดยมีที่ตั้งติดทะเลทั้งด้านอ่าวไทย และทะเลอันดามัน และมีพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน (พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซียและจีน) 2) เป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้าในภูมิภาคที่เน้นการส่งออกและนาเข้า ทั้งนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้และจีนมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ/การค้าระหว่างประเทศสูง และมีปัจจัยเสริมจากกระแสการทาความ ตกลงการค้าเสรี ทาให้เกิดการไหลเวียนของสินค้า เงินทุนและแรงงานได้อิสระมากขึ้น ซึ่งการขยายตัวทาง ธุรกิจทาให้อุปสงค์บริการโลจิสติกส์เพิ่มขึ้น 3) เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกและอากาศในภูมิภาค ประเทศไทยมีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอานวยความสะดวกทางการค้าที่เชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค 4) รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจบริการโลจิสติกส์ โดยผ่านช่องทางของ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) รวมทั้งงบประมาณของรัฐบาลในโครงการเร่งด่วนด้านการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสาคัญ เพื่อให้เกิดรากฐานที่มั่นคงในการต่อยอดสาหรับการพัฒนาของอุตสาหกรรม รายย่อยในแต่ละประเภทได้ รวมถึงการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 เพื่อพัฒนาให้ ประเทศไทยเป็น Logistics Hub ในภูมิภาค หนึ่งในประเภทกิจการที่ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (BOI) ควรให้การสนับสนุน คือ ศูนย์บริการโลจิสติกส์ อันได้แก่ กิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบที่ ทันสมัย (Distribution Center) ศูนย์กระจายสินค้าระหว่างประเทศด้วยระบบที่ทันสมัย (International Distribution Center ) หรือ IDC กิจการศูนย์จัดหาจัดซื้อชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International Procurement Office) หรือ IPO และ กิจการเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (LOGISTIC PARK) ซึ่งจะทาให้ผู้ประกอบการไทยสามารถช่วงชิงความได้เปรียบในการแข่งขันของตลาดโลกได้ อุปสรรคในการให้บริการโลจิสติกส์ของไทย มีอุปสรรคสาคัญ 4 ด้าน ดังนี้ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับด้านโลจิสติกส์
INDEPENDENT STUDY BA8900
23
Privilege Logistics
กฎหมายและระเบียบข้อบังคับด้านโลจิสติกส์กระจายอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของหลายหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานที่กากับดูแลกฎหมายเหล่านี้ขาดการบูรณาการในด้านการบริหารกฎระเบียบหรือ กฎหมายไปในทิศทางเดียวกัน ไม่มีกฎหมายกากับและส่งเสริมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (LSPs) รัฐบาลควรผลักดันกฎหมายที่ส่งเสริม ผู้ประกอบการไทย เช่น พ.ร.บ.ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย พ.ร.บ.การจัดทาสัญญาการขนส่งระหว่าง ประเทศภาคประชาชน กฎหมายส่วนใหญ่ออกมาเพื่อกากับและควบคุมผู้ประกอบการไทย ไม่ได้ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้ ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน ร่าง พ.ร.บ.หลายๆ ฉบับ เช่น พ.ร.บ.คลังสินค้า (รวมคลังสินค้าประเภทไซโลเข้าไปด้วย), พ.ร.บ. ศุลกากรไม่เอื้ออานวยต่อการทาธุรกิจโลจิสติกส์ กฎระเบียบภาครัฐบางส่วน ต่อเนื่องหลายรูปแบบ
เช่น
ระบบศุลกากรไม่มีการรองรับสถานะของผู้ประกอบการขนส่ง
ระเบียบการของกรมศุลกากรไม่เอื้ออานวยเป็นการขาดการบูรณาการใน
สถานะทางด้านกฎหมายของภาครัฐ ภาครัฐควรจะมีการบูรณาการกฎระเบียบและฐานข้อมูลของกรม ศุลกากรให้การรองรับสถานะของผู้ให้บริการการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบโดยเร็ว กฎหมายและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีการศุลกากร หรือระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการนาเข้า - ส่งออก ยังไม่รองรับการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ประเด็นการโอนสัญชาติของกลุ่มชาติที่ไม่ใช่กลุ่มอาเซียนมาเป็นกลุ่มอาเซียน เพื่อดาเนินธุรกรรมใน กลุ่มประเทศอาเซียน รัฐบาลควรมีมาตรการปูองกันและตรวจสอบการเข้ามาของกลุ่มชาติที่ไม่ใช่กลุ่ม อาเซียนที่มาใช้สิทธิประโยชน์ในการเปิดเสรี กลไกทางกฎหมายยังไม่สามารถตรวจสอบบริษัทที่แฝงตัวเป็นนอมินีได้ กฎหมายด้านการขนส่งล้าสมัย และไม่ได้อิงกฎหมาย/อนุสัญญาระหว่างประเทศ กฎหมายเกี่ยวกับน้าหนักบรรทุกและความสูงของรถบรรทุก เช่น การจากัดน้าหนักรวมสาหรับ รถบรรทุก 10 ล้อ ไว้ไม่เกิน 21 ตัน และความสูงไม่เกิน 4 เมตร ซึ่งผู้ประกอบการต้องการให้มีการ แก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มน้าหนักและความสูงของรถบรรทุก
โดยเห็นว่าจะช่วยลดต้นทุนในการขนส่ง
สินค้า
INDEPENDENT STUDY BA8900
24
Privilege Logistics
โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์หลายด้านใกล้ถึงจุดเต็มกาลังรองรับในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า รัฐบาลควรให้ความสาคัญกับ แผนบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งประกอบไปด้วย โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิขั้น ที่ 2 โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังขั้นที่ 3 โครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกชายฝั่งตะวันตก โครงการ รถไฟฟูาขนส่งมวลชน โครงการรถไฟทางคู่โครงการรถไฟความเร็วสูง และโครงข่ายเชื่อมโยงทางถนน สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (ICD) มีไม่เพียงพอ และไม่รองรับการเชื่อมต่อการขนส่งกับสถานที่ รวบรวมและกระจายสินค้าในภูมิภาคต่างๆ การขนส่งสินค้าทางรถไฟไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร
เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานทางรางไม่มี
ประสิทธิภาพ ขาดการปรบั ปรงุบรกิ ารและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่สามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ ได้อย่างเต็มที่ ในปัจุบันยังมีการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานไม่เต็มที่ การเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งในแต่ละ Mode ยังไม่ดีนัก ช่องทางผ่านเข้า - ออกท่าเรือแหลมฉบังมีความแออัด ไม่สอดคล้องกับปริมาณสินค้าที่มาใช้บริการ และการขยายตัวในอนาคต ถนนทางผ่านเข้า -ออกศูนย์กระจายสินค้าที่ลาดกระบังมีสภาพชารุด การจราจรติดขัด ทาให้สินค้า การขนส่งสินค้าล่าช้า หรืออาจเกิดความเสียหายจากการขนส่ง บุคลากรและองค์ความรู้ทางโลจิสติกส์ ผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ และการนาเทคโนโลยีมาใช้ กับโลจิสติกส์ให้เกิดประโยชน์ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ในด้านการจัดการโลจิสติกส์ที่จะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ผู้ประกอบการทั้งในระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการ ขาดข้อมูลด้านโลจิสติกส์ ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค รวมถึงข้อมูลของทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อ นามาใช้ประโยชน์ในการวางแผน วิเคราะห์และปฏิบัติการด้านโลจิสติกส์ให้มีความเหมาะสม INDEPENDENT STUDY BA8900
25
Privilege Logistics
ขาดความรู้ในการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับการแข่งขันกับธุรกิจข้ามชาติขนาดใหญ่ บุคลากรขาดความรู้ ความชานาญ รวมถึงทักษะที่จาเป็นในการดาเนินงาน ทาให้ไม่สามารถบริหาร จัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาของผู้ให้บริการทางโลจิสติกส์ ภาครัฐมีหลายหน่วยงานที่เข้ามาดาเนินการในเรื่องโลจิสติกส์ ทาให้ขาดเจ้าภาพหลักในการรับผิดชอบ ควรกาหนดหน่วยงานหลักรับผิดชอบเรื่องโลจิสติกส์ให้ชัดเจน เพื่อกาหนดนโยบาย แผนการและ ทิศทางในการพัฒนาผู้ให้บริการทางโลจิสติกส์ที่ชัดเจน ผู้ประกอบการ SMEs ไทยยังไม่มีความพร้อมในการเปิดเสรีโลจิสติกส์ เนื่องจากยังขาดศักยภาพใน ทุกๆ ด้าน เช่น เงินทุน เทคโนโลยี มาตรฐานการบริการ การขยายกิจการ ทาให้ไม่สามารถแข่งขันกับ ผู้ประกอบการต่างชาติได้ ดังนั้นควรที่จะยกเลิกสิทธิพิเศษการส่งเสริมการลงทุน (BOI) กับกลุ่ม ธุรกิจโลจิสติกส์
คลังสินค้าและไซโลจากต่างชาติ
พร้อมกับเสนอให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับผู้
ประกอบไทย เช่น การนาค่าเชื้อเพลิงการขนส่งนามาหักภาษีค่าใช้จ่ายเป็น 2 เท่า รวมถึงการกาหนด มาตรการด้านภาษีอื่นๆ ให้กับผู้ประกอบการไทย เพื่อให้ผู้ประกอบการไทยได้เปรียบผู้ประกอบการ ต่างชาติ ผู้ประกอบการรายเล็กไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนจากธนาคาร เนื่องจากขาดหลักทรัพย์ที่ใช้ในการ ค้าประกัน ประกอบกับธนาคารยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการธุรกิจด้านโลจิสติกส์ที่ดีพอ จึงเป็นอุปสรรคต่อการอนุมัติสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการ
ทาให้เป็นข้อจากัดในการพัฒนา
ทาให้
ผู้ประกอบการรายเล็กขาดเงินทุนในการลงทุนด้านเทคโนโลยี การบริหารจัดการและการตลาดรวมถึง ไม่สามารถพัฒนาด้านบุคลากรได้ ทาให้ศักยภาพในการแข่งขันค่อนข้างต่า ในการแก้ปัญหาภาครัฐ ควรให้การสนับสนุนแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่าแก่ผู้ประกอบการรายเล็ก ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยขาดเครือข่ายในการเชื่อมต่อกับต่างประเทศ การดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ
เนื่องจากไม่มีพันธมิตรใน
ส่งผลให้มีเครือข่ายการจัดการด้านโลจิสติกส์ที่แคบกว่า
ผู้ประกอบการจากต่างประเทศ
INDEPENDENT STUDY BA8900
26
Privilege Logistics
ผู้ประกอบการไทยยังขาดความสามารถและความพร้อมในการออกไปลงทุนในต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์น่าจะมีบทบาทเข้ามาส่งเสริมในการจัดทา
business
matching
โดย ระหว่าง
ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์ในอาเซียนด้วยกัน ขาดกฎหมายที่เอื้อต่อการประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ ทาให้เกิดความไม่ชัดเจนในการดาเนินกิจการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาผู้ประกอบการเป็นอย่างมาก ขาดการส่งเสริมทางด้านสิทธิพิเศษเพื่อช่วยเหลือและจูงใจในการส่งเสริมให้เกิดผู้ให้บริการเพิ่มมากขึ้น ซอฟท์แวร์เฉพาะด้านที่ใช้ในการดาเนินธุรกิจมีราคาสูงมาก และมีคุณสมบัติไม่สอดคล้องเหมาะสมกับ ความต้องการการใช้งานของผู้ประกอบการ สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ของภาครัฐไม่สนับสนุนการทาธุรกิจ ขาดการนาไปปฏิบัติที่ดีและการกาหนดดัชนีชี้วัดผลการดาเนินงานในการประเมินประสิทธิภาพการ ดาเนินงานของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ลูกค้าขาดความรู้ความเข้าใจ
และไม่เห็นประโยชน์ในการใช้บริการด้านโลจิสติกส์จากผู้ให้บริการ
เฉพาะด้านโลจิสติกส์ ซึ่งจะส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว ภาครัฐขาดการกาหนดมาตรฐานในการพัฒนาส่งเสริมระดับการให้บริการด้านโลจิสติกส์ มีผู้ประกอบการขนส่งทางบกจานวนมาก ทาให้มีอุปทานมากกว่าอุปสงค์ เกิดการตัดราคา หน่วยงาน ของรัฐควรออกกฎหมายควบคุมจานวนผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการต้องแบกรับต้นทุนการขนส่งที่สูงขึ้นตามราคาเชื้อเพลิง ขณะที่ลูกค้าต้องการการบริการ ที่ดีขึ้น เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลง ความพร้อมของผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยในการเปิดการค้าเสรี ธุรกิจบริการโลจิสติกส์ของไทยโดยส่วนมากยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขันกับธุรกิจต่างชาติภายใต้การเปิด เสรี มีเพียงผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางเรือ ซึ่งเป็นสาขาย่อยของกลุ่มขนส่งเท่านั้นที่มีความพร้อมมากที่สุด แต่ก็ ยังต้องใช้เวลาเตรียมตัวอีกประมาณ 1-2 ปี เพื่อสร้างความพร้อมให้มากกว่านี้ สาหรับกลุ่มอื่นๆ โดยส่วนมาก ยังต้องการเวลาในการปรับตัวและเตรียมความพร้อมอีกประมาณ 3-5 ปี ภาพรวมความพร้อมของบริการโลจิสติกส์
INDEPENDENT STUDY BA8900
27
Privilege Logistics
สามารถสรุประดับความพร้อมโดยรวมของแต่ละสาขาย่อยบริการโลจิสติกส์ทั้ง 7 สาขา ซึ่งมีรายละเอียด สรุปได้ดังต่อไปนี้ 1) กลุ่มขนส่ง ภาคธุรกิจหลักๆ ในกลุ่มขนส่งประกอบด้วย (1) การขนส่งโดยรถพ่วงและกึ่งพ่วง (2) การขนส่งโดย รถบรรทุก (3) ภาคบริการขนส่งสินค้าทางเรือ (4) ภาคบริการขนส่งสินค้าทางรางหรือรถไฟ และ (5) ภาค บริการขนส่งสินค้าทางอากาศ ในภาคการขนส่งโดยรถพ่วงและกึ่งพ่วง ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น SME มีจานวนรถพ่วงและกึ่งพ่วงจด ทะเบียนมากกว่า 7 แสนคัน ซึ่งโดยภาพรวมมีอัตราการเจริญเติบโตที่ชะลอตัว เนื่องจากมีกาลังการขนส่งที่เกิน ความจาเป็นและมีรถที่ทางานไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้มีการแข่งขันด้านราคาค่าขนส่งอย่างรุนแรงและเมื่อ เปรียบเทียบกับผู้ประกอบการต่างชาติแล้ว พบว่า ผู้ประกอบการไทยไม่มีขีดความสามารถที่จะไปแข่งขันกับ ต่างชาติได้ เพราะไม่สามารถนาเสนอบริการโลจิสติกส์แบบเบ็ดเสร็จที่ต้องใช้การขนส่งหลายรูปแบบและขาด โครงข่ายพันธมิตรทางการค้าเพื่อเชื่อมโยงการให้บริการ จึงทาให้การบริการเหล่านี้ตกอยู่ภายใต้การดูแลของ บริษัทต่างชาติ ในภาคการขนส่งโดยรถบรรทุกพบว่า ผู้ประกอบการไทยส่วนมากเป็นผู้ประกอบการรายย่อย (SME) ยังขาดมาตรฐานทางธุรกิจ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีลักษณะของบุคคลและขาดโอกาสที่จะรับงาน โดยตรงจากลูกค้า ทาให้ต้องเป็นผู้ร่วมกิจการขนส่ง การทางานยังเป็นลักษณะของเจ้าของรถบรรทุกดาเนินการ และเน้นลูกค้าเดิมเป็นหลัก ไม่มีการพัฒนาไปสู่ลูกค้าใหม่ๆ มากนัก นอกจากนี้ยังขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ ทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพและขาดความรู้ความเข้าใจในระบบโลจิสติกส์ ทาให้ผู้ประกอบการภาคการ ขนส่งโดยรถบรรทุกไทยมีแนวโน้มที่จะไม่สามารถแข่งขันกับบรรษัทข้ามชาติที่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ ในภาคขนส่งทางเรือพบว่ามีผู้ให้บริการอยู่น้อยราย (สมาคมเจ้าของเรือไทยมีสมาชิกเพียง 40 ราย)เพราะ การลงทุนในธุรกิจนี้ใช้เงินสูง ค่อนข้างมาก
เช่น
นอกจากนี้ยังพบว่าสภาพแวดล้อมของธุรกิจขนส่งทางเรือไทยยังเป็นอุปสรรค
นโยบายต่อการส่งเสริมกิจกรรมพาณิชยนาวีของรัฐบาลยังไม่ชัดเจน
กฎหมายหรือ
กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับพาณิชยนาวี ยังไม่เอื้อประโยชน์ต่อการดาเนินธุรกิจของเจ้าของเรือไทยเท่าที่ควร และในปัจจุบันการทาธุรกิจขนส่งทางเรือทั้งนาเข้าและส่งออกของไทยยังใช้เรือต่างชาติเป็นหลัก
(ประมาณ
90%) แสดงให้เห็นว่าเครือข่ายในการติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ สาหรับเจ้าของเรือไทยยังอยู่ใน วงจากัด
INDEPENDENT STUDY BA8900
28
Privilege Logistics
ในภาคการขนส่งทางรถไฟ ปัจจุบันมีผู้ประกอบการเอกชนรายใหญ่เพียง 3 ราย (Wyncoast, Profreight และ Transmega) การบริการด้านนี้ยังมีข้อจากัดค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งยังขาดความชัดเจนและมีความซ้าซ้อน การใช้เทคโนโลยียังล้าสมัย และขาดระบบการบริหาร จัดการที่ดี และโครงสร้างพื้นฐานก็ยังไม่ค่อยพัฒนาเท่าที่ควร โดยเฉพาะในเรื่องของหัวรถจักรที่มีไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ ความแออัดของสถานี และความล่าช้าในการขนส่ง ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่ต้องการให้ ภาครัฐเข้ามาปรับปรุงในเรื่องของโครงสร้างพื้นฐานที่รัฐเป็นผู้ดูแลอยู่ให้มีความพร้อมในการให้บริการที่ มากกว่านี้ ในภาคการขนส่งทางอากาศน่าจะเป็นภาคที่ไทยมีความได้เปรียบมากที่สุดเพราะมีที่ตั้งเป็นศูนย์กลางของ อาเซียน จากการจัดอันดับล่าสุด พบว่า ประเทศไทยมีปริมาณสินค้าผ่านท่าอากาศยานทั้งสิ้น 975,426 ตัน ซึ่ง อยู่ในอันดับที่ 19 ของโลก (จากสนามบินนับพันแห่งทั่วโลก) โดยในอาเซียนเป็นรองเพียงสนามบินชางงีของ สิงคโปร์ ซึ่งจัดอยู่ในอันดับที่ 9 ของโลก ทั้งนี้ไทยยังคงมีศักยภาพที่จะพัฒนาขึ้นได้อีกในอนาคต 2) กลุ่มคลังสินค้าและกระจายสินค้า กลุ่มผู้ให้บริการเก็บรักษาและคลังสินค้าของไทยส่วนใหญ่เป็น SMEs ที่ยังมีศักยภาพการแข่งขันในระดับ ต่าเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ให้บริการชาวต่างชาติ คลังสินค้าที่ให้บริการเชิงพาณิชย์แก่สาธารณชนในประเทศไทย ยังไม่มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเท่าใดนัก
โดยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโกดังสินค้าเท่านั้นส่วนศูนย์
กระจายสินค้าก็มักจะเป็นศูนย์ที่ให้บริการเฉพาะสาหรับผู้ผลิตสินค้าหรือผู้ค้าปลีกต่างชาติรายใหญ่ที่มีธุรกิจใน ประเทศไทยเท่านั้น เช่น ศูนย์กระจายสินค้าของเทสโก้-โลตัส เป็นต้น 3) กลุ่มส่งพัสดุและเอกสาร ปัจจุบันมีบริษัทที่จดทะเบียนสาหรับการขนส่งพัสดุและเอกสารมีจานวน 372 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มากกว่า ร้อยละ 90 เป็น SME ซึ่งขาดความรู้ความชานาญในธุรกิจนี้ บริษัทที่เป็นของคนไทยมักจะเป็นผู้รับเหมาช่วง (Subcontractor) ซึ่งมีปัญหาคือ ผู้ใช้บริการอาจต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 2 ต่อโดยไม่จาเป็น และ กลายเป็นอุปสรรคส่วนหนึ่งของการเติบโตของผู้ให้บริการไทยในปัจจุบัน ให้บริการขนส่งทางไปรษณีย์ในประเทศอย่างเป็นทางการ
แม้ว่าจะยังไม่มีการเปิดเสรีการ
แต่ในปัจจุบันก็มีผู้ให้บริการต่างประเทศเข้ามา
ดาเนินธุรกิจในประเทศไทยแล้ว เช่น FedEx, UPS, DHL, TNT ผู้ให้บริการขนส่งพัสดุของไทยที่มีขนาดใหญ่
INDEPENDENT STUDY BA8900
29
Privilege Logistics
และมีศักยภาพที่พอจะแข่งขันได้ปัจจุบันยังมีอยู่น้อยราย
เช่น
บริษัทไปรษณีย์ไทย
ซึ่งมีเครือข่าย
ภายในประเทศที่เข้มแข็ง 4) กลุ่มบรรจุหีบห่อสินค้า ในปัจจุบันธุรกิจให้บริการครบวงจรด้านบรรจุภัณฑ์และขนย้ายในประเทศมีธุรกิจที่เป็นของคนไทย ประมาณ 20-30 รายและบริษัทข้ามชาติประมาณ 10-15 ราย โดยบริษัทต่างชาติมีความได้เปรียบเพราะมี เงินทุนสูงกว่า
ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
มากกว่าผู้ให้บริการคนไทย
นอกจากนี้ผู้ใช้บริการยังมีค่านิยมที่ว่าบริษัทข้ามชาติมีความน่าเชื่อถือ
แม้ว่าความจริงแล้วผู้ประกอบการต่างชาติหลายรายก็ไม่ได้ให้บริการเองทั้งหมด
แต่จะให้บริษัทคนไทยเป็นผู้รับเหมาช่วง ซึ่งก็หมายความว่าผู้ใช้บริการอาจต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 2 ต่อโดยไม่จาเป็น ตรงนี้เป็นอุปสรรคหนึ่งของการเติบโตของผู้ให้บริการไทยในปัจจุบัน อุปสรรคและปัญหาของบริการบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทยที่สาคัญคือ การขาดพนักงานที่มีทักษะ และยังต้อง พึ่งพาวัตถุดิบที่นาเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีต้นทุนสูงและมีคุณภาพที่ไม่เหมาะสม รวมถึงขนาดการผลิตที่ต่า และยังขาดความชานาญในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ
ดังนั้นธุรกิจประเภทนี้ของคนไทยยังคงอยู่ในสถานะที่ยัง
แข่งขันกับต่างชาติไม่ได้ และอาจประสบปัญหาหากมีการเปิดเสรี 5) กลุ่มพิธีการศุลกากร ธุรกิจตัวแทนออกพิธีการศุลกากรของไทยมีศักยภาพโดยรวมในการประกอบธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี สามารถดาเนินการในสภาวการณ์ตลาดที่รุนแรงและมีการแข่งขันที่สูงได้ เนื่องจากผลประกอบการโดยรวมมี อัตราเติบโตขึ้น โดยคาดว่าอุตสาหกรรมนี้ยังมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มขึ้นได้อีกในอนาคต โดยมีปัจจัยที่น่าจะส่ง กระทบต่อการดาเนินธุรกิจ คือ (1) การเพิ่มสูงขึ้นของต้นทุนการดาเนินงาน ทาให้ผู้ประกอบการไทยที่มีเงินทุน น้อยกว่าต่างชาติ อาจทาให้สูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ เพราะในการบริการพิธีการศุลกากรนั้น บริษัทที่ให้บริการต้องออกเงินให้ลูกค้าก่อนในบางขั้นตอน ดังนั้นถ้าผู้ประกอบการที่มีเงินทุนไม่มากพอ ก็จะไม่ สามารถแข่งขันในระยะยาวได้ (2) เงื่อนไขและกฎระเบียบต่างๆ ของทางราชการ โดยเฉพาะกฎระเบียบด้าน พิธีการผ่อนปรนลง ซึ่งเดิมผู้ประกอบการไทยมีความเชี่ยวชาญด้านกฎระเบียบมากกว่าผู้ประกอบการต่างชาติ แต่หากพิธีการศุลกากรมีการผ่อนปรนมากขึ้น ก็อาจทาให้ความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย ลดลง และ (3) สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่ผู้ประกอบการเล็งเห็นว่าเป็นผลกระทบเชิงลบต่อการดาเนินธุรกิจ 6) กลุ่มบริการระบบสารสนเทศสาหรับโลจิสติกส์ INDEPENDENT STUDY BA8900
30
Privilege Logistics
จากการที่ประเทศไทยเป็นผู้นาเข้าเทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์สาเร็จรูปจานวนมาก จึงทาให้เกิดการผูกขาด ทางด้านการตลาดและเทคโนโลยี
และแม้ว่าผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพในการพัฒนาโปรแกรม
แต่
ซอฟต์แวร์ของไทยขาดชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือจากผู้ซื้อ เพราะเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ทาให้ผู้ประกอบการไทย ไม่สามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการต่างชาติได้เพราะขาดทั้งเงินทุนและ
Know
How
นอกจากนี้
ผู้ประกอบการไทยควรเน้นการดาเนินธุรกิจเป็นผู้ให้บริการหลังการขายมากกว่าเป็นผู้ผลิตสินค้า
และผู้
ให้บริการของไทยขาดแรงจูงใจในการคิดค้นและพัฒนาเพื่อการแข่งขันจึงไม่มีสินค้าใหม่ๆ ออกสู่ตลาด มีเพียง ผู้ผลิตซอฟต์แวร์ต่างชาติรายใหญ่เพียงไม่กี่ราย ทาให้สามารถผูกขาดตลาดซอฟต์แวร์ได้อย่างเบ็ดเสร็จจากการ ประเมินพบว่ากว่า ผู้ให้บริการในกลุ่มสารสนเทศขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญเฉพาะด้าน ขาด แคลนเงินทุนหมุนเวียน ขาดความรู้ความชานาญด้านการตลาด มีปัญหาด้านกฎหมาย การละเมิดลิขสิทธิ์ 7) กลุ่มตัวแทนรับจัดการขนส่ง สถานะของผู้ประกอบธุรกิจตัวแทนบริการรับจัดการขนส่งสินค้าของไทยมีศักยภาพโดยรวมในการ ประกอบธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี สามารถดาเนินการในสภาวการณ์ตลาดที่รุนแรงและมีการแข่งขันที่สูงได้ เนื่องจากผลประกอบการโดยรวมมีอัตราเติบโตขึ้น อีกทั้งอุตสาหกรรมนี้ยังมีแนวโน้มของโอกาสในการเติบโต เพิ่มขึ้นได้อีกในอนาคต โดยมีปัจจัยที่น่าจะส่งกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ คือ การเพิ่มสูงขึ้นของต้นทุนการ ดาเนินงาน, เงื่อนไขและกฎระเบียบต่างๆ ของทางราชการ และสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่ผู้ประกอบการ เล็งเห็นว่าเป็นผลกระทบเชิงลบต่อการดาเนินธุรกิจ เช่นเดียวกับธุรกิจตัวแทนออกพิธีการศุลกากร โดยธุรกิจนี้ ยังมีความเหลื่อมล้ากับผู้ให้บริการต่างชาติเป็นอย่างมาก
โดยผู้ประกอบการต่างชาติมีเครือข่ายระบบการ
จัดการที่ทันสมัย มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบมากกว่าผู้ประกอบการไทย ซึ่งผู้ให้บริการส่วนใหญ่ของไทย เป็นผู้รับเหมาเช่าช่วงให้กับผู้ให้บริการต่างชาติอีกทอดหนึ่งและมีเพียงผู้ให้บริการไทยไม่กี่รายที่เข้าข่ายเป็นผู้ ให้บริการงานด้านโลจิสติกส์ประเภทบริการแบบเบ็ดเสร็จ ในส่วนของผลกระทบจากการเปิดเสรีนั้น
คาดว่าผู้ประกอบการโลจิสติกส์แต่ละกลุ่มได้รับผลกระทบใน
ระดับที่แตกต่างกัน สรุปดังนี้ 1)
กลุ่มบริการที่เกี่ยวกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ:
จัดเป็นกลุ่มที่ไม่ได้รับผลกระทบมากนัก
เนื่องจากมีกฎหมายเฉพาะที่ระบุเงื่อนไขที่ตั้งข้อจากัดการถือหุ้นของต่างชาติ อาทิ กฎหมายเรือไทย กฎหมาย การขนส่งทางบก กฎหมายการเดินอากาศ และกฎหมายไปรษณีย์ เป็นต้น บริการในกลุ่มนี้ ได้แก่ การขนส่ง INDEPENDENT STUDY BA8900
31
Privilege Logistics
สินค้าทางทะเล การขนส่งสินค้าทางถนนระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าทางรางระหว่างประเทศ การขนส่ง เอกสารและพัสดุภัณฑ์ 2)
กลุ่มบริการโลจิสติกส์ที่ไม่ใช่ขนส่ง:
เป็นกลุ่มบริการที่เข้าข่ายได้รับผลกระทบจากการเปิดตลาด
เนื่องจากไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ระบุเงื่อนไขที่ตั้งข้อจากัดการถือหุ้นของต่างชาติ การอนุญาตถือหุ้นของต่างชาติ จะเป็นไปตามนัยของกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว (บัญชี 3) บริการในกลุ่มนี้ประกอบด้วย บริการขนถ่ายสินค้าทางทะเล บริการเก็บรักษาสินค้า และคลังสินค้า บริการตัวแทนขนส่งสินค้า และตัวแทน ออกของรับอนุญาต บริการตรวจสอบสินค้า และบริการบรรจุหีบห่อหากต้องเปิดเสรีภายใต้ประชาคมอาเซียน ภาครัฐจะต้องมียุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่ชัดเจน
มีการบูรณาการกันระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีหน่วยงานกลางที่ดูแลวางแผนระบบโลจิสติกส์ สามารถผลักดันให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
และ
เพื่อให้การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ไทยดาเนินไปในทิศทางเดียวกัน
ภาครัฐควรเร่งผลักดันให้มีการใช้บังคับ “กฎหมายส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์” เพื่อให้มีการ พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจบริการโลจิสติกส์ เช่น การให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนโดย การให้สินเชื่อระยะยาว การจัดตั้งศูนย์ให้ความรู้และคาปรึกษาแก่ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ เป็นต้น ควรต้องมีการ ปรับแก้กฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ที่ไม่ชัดเจนและซ้าซ้อน ควรพิจารณาทั้งระบบและควรปรับแก้ เพื่อ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนของไทยควรมีหน่วยงานกลางกากับดูแลภาคบริการโลจิสติกส์ที่มีการ ทางานเชิงรุก และทาหน้าที่เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) ทางธุรกิจ มากกว่าจะเป็นผู้ที่สร้าง กฎเกณฑ์ขึ้นมาควบคุม (Regulator) นอกจากนี้รัฐบาลและองค์กรที่เกี่ยวข้องควรมีการรณรงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ประกอบการโลจิสติกส์ให้ตระหนักถึงโอกาสและความท้าทายที่จะมาพร้อมกับการเปิดเสรี โดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนที่กาลังจะมาถึง ทั้งนี้เพื่อให้มีการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและ หาแนวทางในการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรี รวมทั้งเพื่อหาโอกาสจากการขยายตลาดและการ ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
รวมทั้งการสนับสนุนการรวมตัวของผู้ประกอบการไทยเพื่อสามารถ
ให้บริการได้ครบวงจร การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการไทยเชื่อมโยงกับต่างประเทศ และการสนับสนุนให้ ผู้ส่งสินค้าหันมาใช้บริการโลจิสติกส์ไทยมากขึ้น
ในส่วนของภาคเอกชนผู้ประกอบการจะต้องพัฒนาและ
ปรับปรุงคุณภาพบริการให้มีศักยภาพด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันสมัยต่อเนื่อง
พัฒนาฝีมือแรงงาน
พยายามลดต้นทุนการดาเนินกิจการ และพัฒนาความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ควรผลักดันให้มีการลงทุนในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ในต่างประเทศ โดยเฉพาะ INDEPENDENT STUDY BA8900
32
Privilege Logistics
ประเทศเพื่อนบ้าน โดยให้ธุรกิจรายใหญ่ของไทยที่เป็นผู้ผลิตสินค้าเข้าไปลงทุนในต่างประเทศ และให้ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ของไทยติดตามเข้าไปให้บริการด้วย
INDEPENDENT STUDY BA8900
33
Privilege Logistics
2. โครงสร้างอุตสาหกรรมและวงจรชีวิตสินค้า (Market Structure and Product Life Cycle) ลักษณะโครงสร้างของธุรกิจให้บริการด้านโลจิสติกส์มีโครงสร้างแบบแข่งขันสมบูรณ์ Market)
(Competitive
อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยนี้ มีสภาพการแข่งขันที่มีความรุนแรงมาก คิดเป็นร้อยละ
21 รองลงมาคือ ลูกค้ามีอานาจต่อรองสูง คิดเป็นร้อยละ 20 และคู่แข่งขันในอุตสาหกรรมนี้มีเป็นจานวนมาก คิดเป็นร้อยละ 19 ทาให้อุตสาหกรรมนี้มีกาลังเติบโตและขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้กาไรที่ได้รับในอัตราน่าพึง พอใจค่อนข้างน้อย
3. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factor) KSF ได้มาจากการวิเคราะห์ปัจจัยที่ลูกค้าตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ โดยสามารถจัดได้เป็นสองกลุ่ม คือ ปัจจัยที่เข้าข่าย (Order Qualifier) และ ปัจจัยที่ตัดสินใจเลือก (Order Winner) โดยบริษัทพิจารณา ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการเปรียบเทียบคู่แข่งดังนี้ Variety of service: ความหลากหลายของการให้บริการ Reliability : ความน่าเชื่อถือในการให้บริการ Transit Time: ความรวดเร็วในการให้บริการ Responsibility: ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า Flexibility: ความยืดหยุ่นในการปรับการให้บริการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า Price : ความสมเหตุสมผลของราคาค่าบริการ
INDEPENDENT STUDY BA8900
34
Privilege Logistics
_______________
บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด
_______________
บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด จากัด Figure 9 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
บริษัทได้เปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันกับ บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ปัจจัยที่ ผู้ซื้อต้องการในการตัดสินใจคือ ปัจจัยด้านความหลากหลายของการให้บริการ และปัจจัยด้านความยืดหยุ่น ของการให้บริการ (ถ้าราคาไม่มีความแตกต่างกันมากนัก)
โดยบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัดมีความ
ได้เปรียบคู่แข่ง ด้านความหลากหลาย (3PL : One Stop Services) และด้านความยืดหยุ่น เนื่องจากบริษัทมี ความสามารถที่จะให้บริการลูกค้าแบบ One Stop Services แม้จะไม่ได้ดาเนินการเองทุกกิจกรรม บริษัทมีผู้ ให้บริการโลจิสติกส์เฉพาะสาขากิจกรรมที่ต้องการใช้บริการช่วงต่อได้อย่างทันท่วงที สาหรับด้านความยืดหยุ่น ของการให้บริการนั้น เนื่องจากบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด เป็นบริษัทขนาดเล็กซึ่งการปรับความ ต้องการสาหรับลูกค้าในแต่ละรายทาได้โดยง่ายและทั่วถึง
4. ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)
INDEPENDENT STUDY BA8900
35
Privilege Logistics
การจัดการโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการโซ่อุปทานซึ่ง วางแผนนาไปปฏิบัติ และควบคุมการไหล ทั้งไปและกลับอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของสินค้า
บริการและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในระหว่าง
จุดเริ่มต้นและจุดที่มีการบริโภคเพื่อที่จะให้ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า
Figure 10 การจัดการโลจิสติกส์กับระบบห่วงโซ่อุปทาน
• Inbound Logistics เป็นกิจกรรมที่มีการนาวัตถุดิบหรือส่วนประกอบที่จะใช้สาหรับการผลิต เข้ามาเพื่อทาการเตรียมความพร้อม ประกอบไปด้วยการรับเข้า การจัดเก็บ และการวาง แผนการผลิต ยกตัวอย่างในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ Inbound Logistics คือการรับ ชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้ามาเพื่อประกอบให้เป็นสินค้าต่อไป กิจกรรมโลจิสติกส์ในส่วนนี้สามารถ เป็นการนาสินค้าเข้าจากต่างประเทศ หรือการนาสินค้าจากบริษัทหนึ่งไปส่งอีกยังบริษัทหนึ่ง • Operations เป็นขั้นตอนของการผลิตสินค้าและรวมถึงทุกกระบวนการในการเปลี่ยนสภาพ ของวัตถุดิบหรือส่วนประกอบดังกล่าวเป็นสินค้าหรือ Final Product กิจกรรมดังกล่าวยัง รวมไปถึง
การบรรจุหีบห่อ
การควบคุมคุณภาพของสินค้าให้ตรงตามมาตรฐานและการ
บารุงรักษาเครื่องจักรให้พร้อมใช้งานอย่างสม่าเสมออีกด้วย INDEPENDENT STUDY BA8900
36
Privilege Logistics
• Outbound Logistics คือการจัดเก็บและจัดส่งสินค้าสู่ผู้ซื้อ ไม่ว่าจะเป็นภายในประเทศหรือ ต่างประเทศก็แล้วแต่
Figure 11 วิวัฒนาการจัดการโลจิสติกส์กับระบบห่วงโซ่อุปทาน กิจกรรมหลักตั้งแต่ Inbound Logistics, Operations และ Outbound Logistics ต่างก็มีกิจกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับโลจิสติกส์ทั้งสิ้น และเนื่องจากบริษัทจัดเป็นผู้ให้บริการโลจิสติกส์ประเภท 3PL (Third Party Logistics) ดังนั้นกิจกรรมสร้างคุณค่าของบริษัทจึงสามารถแสดงได้ดังภาพต่อไปนี้ Inbound Logistics
Operations
จัดหา Logistics Provider
Own Operations
Outbound
Logistics
Outbound
Logistics
Marketing & Sales
After Sales Services
Marketing & Sales
After Sales Services
Figure 12 แสดง Value Chain ของบริษัท
INDEPENDENT STUDY BA8900
37
Privilege Logistics
การจัดหา Logistics Provider (LSP) Logistics Provider/ Logistics Service Provider (LSP) : ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในกลุ่มที่เรียกว่า LSP โดยส่วนใหญ่หมายถึงผู้ให้บริการที่เน้นให้บริการโดยมีเปูาหมายที่การลดต้นทุนของผู้ใช้บริการจากการ ประหยัดต่อขนาดของการให้บริการ ขอบเขตของการให้บริการมักจะจากัดอยู่ในบางกิจกรรม และ ผู้ประกอบการจานวนมากจะมีพื้นที่ให้บริการจากัด อย่างเช่น จัดหาการขนส่งเฉพาะการส่งออกทางเรือ, ให้บริการขนส่งทางรถเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล และในบางภาคของประเทศ, ให้บริการรับฝากสินค้า โดยมีคลังสินค้าอยู่ในพื้นที่ให้บริการที่จากัด เป็นต้น ดังนั้นบริษัทซึ่ง position ว่าเป็น 3PL จึงต้องดาเนินการจัดหาผู้ให้บริการในกลุ่มนี้ เช่น สายเรือ, ผู้ ให้บริการระวางเครื่องบิน, สายการบิน, ผู้ให้บริการขนส่งประเภทต่างๆ เช่นรถกระบะ, รถหกล้อ, รถสิบล้อ และรถหัวลาก, คลังสินค้าให้เช่า และผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่มีความถนัดในด้านใดด้านหนึ่งเป็นพิเศษเป็นต้น โดยเปรียบเสมือนการจัดหาซัพพลายเออร์ที่จะนามาทาให้เกิดโซ่คุณค่าของการให้บริการของบริษัทนั่นเอง
Own Operations การปฏิบัติงานในส่วนนี้เปรียบเสมือนการนาวัตถุดิบที่จัดหามาเข้ามาผลิต แต่ในแง่ของบริษัทการ ปฏิบัติงานในส่วนนี้คือการวางแผนการจัดการโลจิสติกส์ตามความต้องการของลูกค้าโดยแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ การจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1) เมื่อทราบข้อกาหนดของลูกค้าว่าต้องการจะส่งสินค้าระหว่างประเทศทางเรือ, อากาศ หรือ รถบรรทุก บริษัทจะทาการขอราคาจากผู้ให้บริการ LSP ที่เกี่ยวข้องเพื่อเลือกให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าเพื่อเสนอ ขายแก่ลูกค้า เมื่อลูกค้าตกลงตามเงื่อนไขและราคากับทางบริษัทแล้ว จะทาการจองระวางเรือ, สายการบิน หรือ รถบรรทุก สาหรับจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศให้ลูกค้าต่อไป 2) ลูกค้าแจ้งข้อมูลสินค้าที่ต้องการนาส่ง พร้อมเอกสารที่จาเป็นในการดาเนินการเกี่ยวเนื่องกับพิธีการ ทางศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้กับบริษัท
INDEPENDENT STUDY BA8900
38
Privilege Logistics
3) บริษัทจะเป็นตัวแทนลูกค้าในการดาเนินการด้านพิธีการศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกันกับ สินค้าที่ต้องการส่ง เช่น การขอ Certificate of Origin, Form A, Form D, Form E และ เอกสารอื่นๆที่มี ความจาเป็นในประเทศที่ส่งสินค้าไป 4) บริษัทจะออกใบตราส่งสินค้า Bill of lading (Sea)/ Air Way Bill (Air) ให้กับทางลูกค้าเพื่อจะได้ส่งต่อ ให้กับผู้รอรับสินค้าในประเทศปลายทาง โดยใบตราส่งจะระบุรายละเอียดของสินค้าอย่างละเอียด, ระบุผู้ส่ง, ระบุผู้รับ, ระบุรายละเอียดของเที่ยวเรือหรือเที่ยวบิน, เงื่อนไขตาม L/C และอื่นๆที่สาคัญในการที่จะนาไปรับ ของที่ประเทศปลายทางต่อไป 5) บริษัทจะติดตามสถานการณ์จัดส่งสินค้าให้กับลูกค้า รวมถึงการให้คาแนะนาในกรณีหากเกิดปัญหา ระหว่างการจัดส่ง เช่นการเกิดความล่าช้าอันนึงมาจากเหตุการณ์ต่างๆ เป็นต้น การจัดการขนส่งสินค้าในประเทศ 1) เมื่อทราบข้อกาหนดของลูกค้าว่าต้องการจะส่งสินค้าไปจุดหมายปลายทางในประเทศตรงจุดไหน และมี ความต้องการพาหนะประเภทใด รวมถึงอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการโหลดสินค้าขึ้นลง ณ จุดรับและจุดส่งสินค้า บริษัทจะทาการขอราคาจากผู้ให้บริการ LSP ที่เกี่ยวข้องเพื่อเลือกให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าเพื่อเสนอ ขายแก่ลูกค้า เมื่อลูกค้าตกลงตามเงื่อนไขและราคากับทางบริษัทแล้ว จะทาการจอง รถบรรทุก และ อุปกรณ์เสริมเช่นเครนยกสินค้า สาหรับจัดส่งสินค้าในประเทศให้ลูกค้าต่อไป 2) ลูกค้าแจ้งข้อมูลสินค้าที่ต้องการนาส่ง พร้อมเอกสารที่จาเป็นที่ต้องส่งมอบพร้อมสินค้าให้กับบริษัท 3) บริษัทจะส่งเอกสารยืนยันการใช้บริการ (Booking confirmation) ซึ่งจะระบุรายละเอียดต่างๆเช่น ชื่อ พนักงานขับรถ, ทะเบียนรถ, หมายเลขโทรศัพท์มือ, จุดหมายปลายทาง, คนรับสินค้าและเบอร์ติดต่อเป็นต้น 4) เมื่อส่งมอบสินค้าถึงผู้รับ ลูกค้าเซ็นต์รับสินค้าในเอกสารส่งสินค้า บริษัทจะนาส่งเอกสารที่ลูกค้าเซ็นต์ รับเรียบร้อยแล้วให้กับลูกค้าที่ว่าจ้างต่อไป Outbound Logistics โดยทั่วไปกิจกรรมโลจิสติกส์ขาออกคือการจัดส่งสินค้าถึงผู้รับปลายทาง แต่ในที่นี้บริการของทางบริษัทก็ คือการจัดส่งสินค้าตามความต้องการของลูกค้า บริษัทมองว่าการนาสินค้าของบริษัทซึ่งก็คือการให้บริการโลจิ สติกส์ส่งมอบลูกค้า คือ การนาเอกสารสาคัญต่างๆนาส่งถึงมือลูกค้า เอกสารสาคัญต่างๆที่ว่าได้แก่ ใบตราส่ง INDEPENDENT STUDY BA8900
39
Privilege Logistics
(Bill of Lading/ Air Way Bill, Import/Export Entry, Form, Certificate of Origin และอื่นๆ) ถือเป็น การส่งมอบสินค้าที่บริษัทได้จัดหาให้ตามลาดับ Marketing and Sales เป็นกระบวนการของการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า และสนองความต้องการเพื่อให้บริษัทสามารถ ขายสินค้าได้ สร้างรายได้ให้กับบริษัท โดยบริษัทแบ่งดังนี้ กลยุทธ์การแข่งขัน การมีบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญ และมุ่งมั่นให้บริการ : ธุรกิจการให้บริการโลจิสติกส์ต้องอาศัย ความรู้ความเข้าใจในกฏระเบียบต่างๆ บริษัทจึงส่งเสริมให้มีการส่งพนักงานเข้ารับการอบรมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูนและอัพเดทความรู้ที่ต้องนามาใช้ต่อไป การพัฒนาคุณภาพในการให้บริการ : บริษัทตระหนักถึงความสาคัญของการบริหารจัดการด้านโลจิ สติกส์เป็นอย่างดี เนื่องจากต้นทุนด้านนี้มีความสาคัญกับลูกค้าเช่นเดียวกัน โดยบริษัทได้นาระบบ ซอฟต์แวร์ Progress Transport System เข้ามาช่วยบริหารระบบสารสนเทศที่สามารถจัดการข้อมูล สาคัญเพื่อจัดทาเอกสาร เช่น ใบตราส่ง ส่งมอบให้แก่ลูกค้าอย่างทันท่วงที การให้บริการที่ครบวงจร : บริษัทมุ่งมั่นในการนาเสนอบริการที่หลากหลายเพื่อให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้อย่างครอบคลุมมากที่สุด โดยเริ่มจากการให้คาปรึกษาแก่ลูกค้าในการ วางแผนและจัดหาวิธีการขนส่งที่เหมาะสมกับลักษณะของสินค้า และข้อกาหนดของลูกค้า รวมถึง กฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ : เนื่องจากความต้องการในการส่งสินค้าของลูกค้ามีหลากหลาย และ บริษัทมุ่งมั่นที่จะให้บริการแบบครบวงจร ดังนั้นบริษัทจึงได้มีการจัดหาพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อรองรับ ความต้องการของลูกค้าทั้งในประเทศ เช่น สายเรือ, สายการบิน, ผู้ให้บริการขนส่งประเภทต่างๆ และในต่างประเทศ เช่น ตัวแทนในประเทศต่างๆในลักษณะ Non-exclusive Ageement Agent โดยแต่ละประเทศจะมีตัวแทนไม่ต่ากว่า 3-5 ราย เพื่อให้เกิดทางเลือกในการทางานตามจุดแข็งของ แต่ละเอเย่นต์ ลักษณะของลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเปูาหมาย
INDEPENDENT STUDY BA8900
40
Privilege Logistics
กลุ่มผู้ประกอบการเพื่อการส่งออกและนาเข้า กลุ่มผู้ให้บริการจัดการขนส่งสินค้าแบบ 4PL (Fourth Party Logistics Service Provider: 4PL) กลุ่มลูกค้าผู้ประกอบการเพื่อส่งภายในประเทศ การจัดจาหน่ายและช่องทางการจาหน่าย บริษัทใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยทางตรงได้แก่ การติดต่อกับลูกค้าโดยตรง ผ่านเจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดและเว็ปไซต์ www.pvl.co.th ของบริษัท โดยแบ่งการติดต่อลูกค้าเป็นรายๆไปต่อ เจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดแต่ละคน ส่วนช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อม เกิดจากการแนะนาลูกค้าผ่านทางตัวแทนของบริษัทที่ต่างประเทศ (เอเย่นต์) ซึ่งเอเย่นต์เหล่านี้จะได้ต้นทุนราคาค่าขนส่งจากบริษัทเพื่อไปขายกับกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการส่ง สินค้ามาประเทศไทย หรือ ออกจากประเทศไทย เมื่อสามารถปิดการขายได้ เอเย่นต์จะแนะนาหรือ มอบหมายให้บริษัทเป็นผู้ดูแลลูกค้าของเอเย่นต์ดังกล่าว ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการจัดจาหน่ายของ บริษัท After Sales Service บริษัทให้บริการติดตามสถานการณ์ขนส่งสินค้ากับลูกค้าไปจนถึงปลายทาง รวมถึงการนาส่งเอกสารยืนยัน การส่งมอบสินค้าที่มีลายเซ็นต์ลูกค้าในอีกประเทศด้วย รวมถึงแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกันกับตัวแทน (เอเย่นต์) ในต่างประเทศในกรณีสินค้าชารุดเสียหาย หรือกรณีอื่นๆ
INDEPENDENT STUDY BA8900
41
Privilege Logistics
5. การวิเคราะห์แรงกดดันทั้ง 5 (Five Forces Analysis) New Entrants
Rivalry among competitor
Power of Supplier
Substitute of Products /Services
Power of Buyer
The Buyer takes benefit In Logistics industry
Figure 13 แรงกดดันทั้ง 5 ของอุตสาหกรรมการให้บริการโลจิสติกส์
- แรงกดดันภายในอุตสาหกรรม แรงผลักดันจากคู่แข่งที่มีอยู่ในอุตสาหกรรม (Internal Rivalry) ตลาดผู้ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันค่อนข้างรุนแรง
เนื่องจากมีผู้ประกอบการทั้งที่เป็นคนไทยและ
ต่างชาติ ทาให้รูปแบบการแข่งขันเปลี่ยนแปลงไปดังนี้ โครงสร้างในการแข่งขัน (Competitive Structure) โครงสร้างทางการแข่งขันในธุรกิจผู้ให้บริการรับ จัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของไทย มีการพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านโลจิสติกส์
ได้รับความ
สนใจจากรัฐบาลจนกลายมาเป็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ระบุถึงเปูาหมายที่จะลดต้นทุนระบบโลจิสติกส์ของไทยลงที่ร้อยละ 14 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังกล่าวทาให้เกิดภาวะการแข่งขันอย่างรุนแรง
ให้บริการต่างหากลยุทธ์และบริการที่หลากหลายตามความต้องการ
INDEPENDENT STUDY BA8900
42
ผู้
Privilege Logistics
ของลูกค้ามาเสนอ ทาให้ลูกค้ามีโอกาสเลือกได้อย่างอิสระ (ลูกค้ามี switching cost ต่ามาก) ถือว่าเป็น อุปสรรคต่อการดาเนินธุรกิจขององค์กร
Figure 14 สัดส่วนโครงสร้างผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทย สภาวะของอุปสงค์ (Demand Condition) เนื่องจากมีผู้ประกอบการรายใหม่ๆเกิดขึ้นในแต่ละปีเป็น จานวนมากตามการเติบโตของธุรกิจส่งออกและนาเข้าของประเทศ ดังนั้นธุรกิจรับจัดการส่งสินค้าระหว่าง ประเทศ จึงเป็นธุรกิจที่มีความต้องการสูง มีแนวโน้มการขยายตัวมาก เพราะเป็นธุรกิจที่มีส่วนช่วยสนับสนุน การผลิตและการค้าให้กับผู้ประกอบการ แต่เมื่อพิจารณาสัดส่วนโครงสร้างผู้ให้บริการในธุรกิจโลจิสติกส์ใน ไทยที่มีเป็นจานวนมาก ซึ่งทาให้ลูกค้าสามารถเลือกใช้บริการจากผู้ให้บริการรายใดก็ได้ จึงถือว่าเป็นอุปสรรค ต่อการดาเนินธุรกิจขององค์กร เมื่อพิจารณาจากภาพโดยรวม สามารถสรุปได้ว่า แรงผลักดันจากคู่แข่งที่มีอยู่ในอุตสาหกรรมมีระดับสูง - แรงกดดันจากผู้เล่นรายใหม่ที่ต้องการเข้ามาในอุตสาหกรรม สาหรับธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์นั้นประกอบไปด้วยคุณสมบัติดังนี้ 1) ความเชี่ยวชาญในการให้บริการแสดงถึงการบริการที่มีคุณภาพ การตรงต่อเวลา และความเป็นมือ อาชีพ 2) มีเครือข่ายที่กว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ INDEPENDENT STUDY BA8900
43
Privilege Logistics
3) ความมั่นคงทางด้านการเงิน 4) มีการพัฒนาให้เป็นผู้ให้บริการแบบครบวงจร (One Stop Services) 5) มีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับลักษณะงานของลูกค้าในประเทศนั้นๆ 6) มีความรู้ด้านระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้า รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งใน และต่างประเทศ ซึ่งคู่แข่งขันรายใหม่จะต้องมีความสามารถอย่างน้อยเท่ากับคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น
รวมถึงความ
จาเป็นที่ต้องใช้เงินลงทุนจานวนมาก ต้องมีเครือข่ายการขนส่งทั่วโลกเพื่อสร้างความสามารถในการให้บริการ และความน่าเชื่อถือให้กับลูกค้า
และต้องมีความชานาญอันเกิดจากประสบการณ์ที่มีมายาวนาน
แรงผลักดันจากคู่แข่งรายใหม่ที่จะเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมถือว่าอยู่ในระดับต่า
ดังนั้น
มองว่าเป็นโอกาสในการ
ดาเนินธุรกิจขององค์กร - แรงกดดันจากอานาจการต่อรองของซัพพลายเออร์ เมื่อพิจารณาสัดส่วนโครงสร้างผู้ให้บริการในธุรกิจโลจิสติกส์ (LSP) ที่มีจานวนมาก ต่อรองของซัพพลายเออร์
เช่น สายเรือ สายการบิน
ดังนั้นอานาจการ
ผู้ประกอบการรถบรรทุก จึงมีสูง
โดยเฉพาะ
ผู้ประกอบการรายใหญ่และผู้ประกอบการที่มีการจัดการด้านเครือข่าย (Agent & Network) ที่ดี ดังนั้น แรงผลักดันซึ่งเกิดจากอานาจการต่อรองของซัพพลายเออร์
จึงอยู่ในระดับที่สูง
ถือว่าเป็นอุปสรรคในการ
ดาเนินธุรกิจขององค์กร - แรงกดดันจากอานาจการต่อรองของลูกค้า เมื่อพิจารณาโครงสร้างผู้ให้บริการโลจิสติกส์ซึ่งมีจานวนมาก
ดังนั้นอานาจการต่อรองของลูกค้าจึงมีสูง
มาก เนื่องจากลูกค้ามีทางเลือกหลายทางในการเลือกผู้ให้บริการรับจัดการขนส่ง ขณะเดียวกันต้นทุนในการ เปลี่ยนผู้ให้บริการ (Switching cost) ก็ต่าเนื่องจากไม่จาเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายใดใด ซึ่งทาให้ลูกค้าตัดสินใจ ง่ายขึ้น ดังนั้นแรงผลักดันที่เกิดจากอานาจการต่อรองของลูกค้าจึงอยู่ในระดับที่สูง ถือว่าเป็นอุปสรรคต่อการ ดาเนินธุรกิจขององค์กร - แรงกดดันจากสินค้าหรือบริการอื่นๆซึ่งสามารถทดแทนได้
INDEPENDENT STUDY BA8900
44
Privilege Logistics
ในปัจจุบันการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศยังต้องใช้บริการการขนส่งทางเรือและอากาศเป็นหลัก
และ
เป็นธุรกิจที่มีแนวโน้มในการเติบโตอย่างต่อเนื่องตามเศรษฐกิจของประเทศและโลก ดังนั้นแรงผลักดันซึ่งเกิด จากสินค้าหรือบริการอื่นๆซึ่งสามารถทดแทนได้อยู่ในระดับต่า ถือว่าเป็นโอกาสต่อการดาเนินธุรกิจขององค์กร
สรุป จากอุตสาหกรรมดังกล่าวผู้ที่เก็บกาไรในอุตสาหกรรมคือลูกค้า
เพราะมีผู้ให้บริการโลจิสติกส์หลายราย
และลูกค้ามี Switching Cost ที่ต่าทาให้ลูกค้ามีทางเลือกในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ของตัวเอง ภาวการณ์แข่งขันของผู้ให้บริการอย่างรุนแรง
ทาให้เกิด
แม้ว่าจะไม่มีสินค้าหรือบริการทดแทนในทางตรงและอุปสรรค
ในการเข้ามาเป็นผู้ให้บริการโลจิสติกส์รายใหม่จะมีอยู่สูง แต่การย้ายถิ่นฐานของผู้ผลิตเข้ามาในประเทศผู้ซื้อ หรือการเข้ามาเป็นผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในลักษณะ LSP (ถนัดด้านใดด้านหนึ่ง) ก็อาจจะมีความสามารถในการ พัฒนากลายมาเป็นผู้ให้บริการแบบ One Stop Service ต่อไปก็ได้
INDEPENDENT STUDY BA8900
45
Privilege Logistics
6. การวิเคราะห์ SPELT • Changing behaviors to social online impact switching cost low • Lack of loyalty (for those who is not perceive the value of services)
Social
• Impact on investment and the speed of economic development • Policy discontinuity problem in the long run
Political
• Currency Fluctuation • Economic Crisis
Economic
• Impact from AEC • Thai has Complicated Law Structure
Law Technology
• New Technology can improve work efficiency • High investment for IT leader (risk to fail)
Figure 15 การวิเคราะห์ SPELT .ในอุตสาหกรรมการให้บริการโลจิสติกส์
- อุปสรรคและแนวทางการรองรับ จากพฤติกรรมโดยรวมในสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปในด้านการแชร์ข้อมูลข่าวสาร กดดันจากการแข่งขันที่ต้องการลดต้นทุนของลูกค้า
รวมไปถึงแรง
ทาให้ลูกค้ามีความรู้และความสามารถในการดาเนิน
กิจกรรมทางโลจิสติกส์บางอย่าง หรือมีความสามารถในการต่อรองให้ได้ต้นทุนโลจิสติกส์ที่ต้องการ รวมถึง ลูกค้าไม่มีต้นทุนการเปลี่ยนแปลง (Switching Cost) จึงทาให้ความภักดีในตัวผู้ให้บริการต่าลง ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง อุตสาหกรรมต่างๆ
ส่งผลกระทบให้การลงทุนในภาครัฐในโครงการใหญ่ๆ
ซึ่งเกี่ยวข้องกับความต้องการในการใช้บริการโลจิสติกส์นั้นลดน้อยลงไป
ในกลุ่ม ความไม่มี
เสถียรภาพทางการเมือง ยังส่งผลให้เกิดความไม่ต่อเนื่องในโครงการที่รัฐบาลได้ลงทุนไว้ รวมถึงภาพรวมการ ลงทุนจากต่างประเทศ
ซึ่งขาดความเชื่อมั่นทางด้านการเมืองของไทย
จึงส่งผลต่ออุตสาหกรรมการ
ให้บริการโลจิสติกส์ด้วย INDEPENDENT STUDY BA8900
46
Privilege Logistics
ปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจ เนื่องการให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ มีกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับหลาย ประเทศทั่วโลก
ทาให้ธุรกิจหนีไม่พ้นต้องเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนของตัวแทนใน
ต่างประเทศ รวมถึงภาวะเศรษฐกิจโลกในภาพรวมก็ส่งผลถึงตัวเลขความต้องการในการส่งออกนาเข้าโดยรวม ด้วย กฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทย มีความซับซ้อนอยู่พอสมควร รวมถึงสินค้าที่มี หน่วยงานเกี่ยวข้องร่วมกันในการนาเข้าส่งออก ยิ่งทาให้เกิดความซับซ้อนต่อผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการโลจิ สติกส์แบบครบวงจรต้องมีความเข้าใจในตัวบทกฎหมายเป็นอย่างดี
รวมถึงหน่วยงานอื่นๆในประเทศไทยที่
เกี่ยวข้อง และกฏหมายในต่างประเทศที่เกี่ยวเนื่องในการขนส่งระหว่างประเทศของสินค้าใดๆอีกด้วย การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลายๆด้าน รวมถึงด้านของกฏ ระเบียบข้อบังคับที่แต่เดิมเคยกีดกันสินค้าจากประเทศสมาชิก ซึ่งมีทั้งด้านที่เป็นข้อดีและข้อเสีย
7. การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ปัจจัยภายในของบริษัท คือการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strenght) และจุดอ่อน (Weakness) ของ บริษัท การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกคือการวิเคราะห์ โอกาส (Opportunity) และ อุปสรรค (Threat) - Flexibility to adjust with customer’s requirement - Customs brokerage license/ Transshipment license - One stop services provider - Strong Hub Oversea Network in 6 continents
- Low barrier to entry for New Entrant - Switching Cost to customer is low -AEC -Government invested to support Logistics Industry to lead the AEC
S
W
O
T
- Lack of English capability staff - Limited source of fund - Rely on experienced people than the system - Lack of high Technology (cost too high)
- Switching cost is low, easy to loose customer - New competitor after AEC is easily to enter the market - AEC impact re-location of manufacture out of Thailand
Figure 16 การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งโอกาสและอุปสรรคของกิจการ INDEPENDENT STUDY BA8900
47
Privilege Logistics
- จุดแข็ง (Strenght) บริษัทมีจุดแข็งทางด้านความยืดหยุ่นในการให้บริการ พิจารณาจากความสามารถให้บริการที่หลากหลาย แม้จะเป็นบริษัทที่มีขนาดเล็กแต่สามารถให้บริการกับลูกค้าได้ครบวงจร
รวมถึงการที่บริษัทมีใบอนุญาตเป็น
ตัวแทนขนส่งสินค้าถ่ายลาให้กับลูกค้าที่มีความประสงค์จะนาสินค้าจากประเทศหนึ่ง ไทยโดยไม่ต้องเสียภาษี
เพื่อส่งต่อไปยังอีกประเทศหนึ่ง
ผ่านเข้ามาในประเทศ
(ยกเว้นประเทศลาวประเทศเดียว)
จาก
ความสามารถตรงนี้ทาให้บริษัทเก็บกาไรจากลูกค้าได้โดยตรงโดยไม่ต้องไปให้ผู้ประกอบการโลจิสติกส์อื่นที่มี ใบอนุญาตประเภทนี้ดาเนินการแทน จุดแข็งด้านการให้บริการแบบครบวงจรนั้นเกิดจาก การกระจายกลุ่ม ฐานลูกค้า
ซึ่งมีความต้องการการรับบริการโลจิสติกส์ต่างกัน
ทาให้บริษัทพัฒนาความสามารถในการ
ให้บริการรวมถึงด้านต้นทุน ทาให้เกิด EOS ในบางกิจกรรมที่ดาเนินการเอง จนสามารถที่จะให้บริการแบบ ครบวงจรได้
จุดแข็งอีกด้านคือบริษัทมีเครือข่ายผู้ให้บริการขนส่งสินค้าประหว่างประเทศ (Agent) ใน
ต่างประเทศครบทุกทวีป ในลักษณะ Hub & Spoke กล่าวคือ บริษัทจะสรรค์หาตัวแทนที่มีสาขาหรือ เครือข่ายในทวีปที่ตัวแทนนั้นอยู่ เพื่อที่จะพัฒนาให้เป็นตัวแทนของบริษัทที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความ ต้องการของลูกค้าต่อไป - จุดอ่อน (Weakness) จุดอ่อนที่ถือว่าเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินธุรกิจและเพิ่มยอดขายคือ
ความสามารถในการใช้
ภาษาต่างประเทศ ในที่นี้คือภาษาอังกฤษของพนักงานมีอยู่อย่างจากัด เนื่องจากการให้บริการจัดการขนส่ง ระหว่างประเทศมีความจาเป็นต้องติดต่อสื่อสารกับเอเย่นต์ในต่างประเทศ ข้อกาหนดของลูกค้า
จึงกลายเป็นจุดอ่อนต่อการดาเนินธุรกิจเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
เพื่อแจ้งความต้องการหรือ จุดอ่อนในด้านเงินทุน
เนื่องจากเป็นบริษัทขนาดเล็ก และมีการดาเนินธุรกิจในลักษณะครอบครัว บริษัทยังขาดการวางแผนด้านการ ลงทุนทาให้เกิดปัญหาด้านเงินทุนที่จะนามาใช้ในการให้บริการลูกค้า
รวมถึงซัพพลายเออร์หลักเช่นสายเรือ
หรือสายการบิน ไม่มีนโยบายให้เครดิตต่อผู้ประกอบการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นต้นทุนหลักในการดาเนินธุรกิจ ทา ให้บริษัทขาดสภาพคล่อง และการให้บริการกับลูกค้านั้นมีความจาเป็นต้องเสนอเครดิตให้เพื่อแข่งขันกับคู่แข่ง รายอื่นให้ได้ ดังนั้นเงินทุนจึงกลายเป็นจุดอ่อนของบริษัทที่สาคัญ จุดอ่อนในด้านการขาดแคลนบุคลากรที่มี ความรู้ความสามารถมีอยู่อย่างจากัด
บริษัทจึงต้องพึ่งพาประสบการณ์ของบุคลากรที่มีความรู้แทนที่จะ
สามารถใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดาเนินการ
INDEPENDENT STUDY BA8900
และจุดอ่อนที่เกี่ยวเนื่องกันคือ
บริษัทไม่สามารถเข้าถึง
48
Privilege Logistics
เทคโนโลยีขั้นสูงเนื่องจากต้นทุนในการจัดซื้อมีราคาแพง
ทาให้จาเป็นต้องพึ่งพาความสามารถในการ
ประสานงานตามความสามารถของบุคลากรที่มีอยู่
8. สรุปการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกอุตสาหกรรม - โอกาส (Opportunities) โอกาสขององค์กรที่วิเคราะห์ได้คือ
คู่แข่งขันรายใหม่สามารถเข้าสู่ธุรกิจได้ยาก
คุณสมบัติของผู้ให้บริการแบบครบวงจรที่จะเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมนี้ เปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ต่าซึ่งมีทั้งโอกาสและอุปสรรค
เมื่อพิจารณาจาก
รวมถึงการที่ลูกค้ามีต้นทุนการ
แต่ในด้านของโอกาสมองว่าทาให้บริษัท
สามารถที่จะขยายฐานลูกค้าใหม่ง่ายขึ้น โดยเพิ่มความสามารถของการดูแลรักษาลูกค้าเพื่อที่จะทาให้เป็นการ เพิ่มรายได้ของบริษัทต่อไป ส่วนการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนั้น มีทั้งโอกาสและอุปสรรค ในมุม ของโอกาสมองว่า
ทาให้มีกลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มมากขึ้น
เคลื่อนย้ายของสินค้ามากขึ้น
การเติบโตของเศรษฐกิจในภาพรวมจะทาให้เกิดการ
และในอีกด้านที่มองว่าเป็นโอกาสคือ
สติกส์ให้มีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับคู่แข่งในต่างประเทศ สติกส์เมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
รัฐบาลสนับสนุนด้านการจัดการโลจิ
เพื่อที่จะให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านโลจิ
วิเคราะห์จากการที่รัฐบาลออกแผนพัฒนาเศรษฐกิจในด้านของ
ต้นทุนโลจิสติกส์ของไทย และนโยบายที่จะลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นร้อยละ 14 ในปี 2558 เพื่อให้สินค้าของไทยแข่งขันกับประเทศอื่นในอาเซียนได้ - อุปสรรค (Threat) อุปสรรคที่เกิดจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนคือ
การแข่งขันของผู้ให้บริการโลจิสติกส์จาก
ต่างชาติจะไหลเข้ามาในไทยเยอะขึ้น กฎหมายที่ใช้เกี่ยวข้องสาหรับการเคลื่อนย้ายสินค้าในอาเซียนลดความ ซับซ้อนลง
ทาให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรง
รวมถึงเกิดการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตไปในประเทศสมาชิก
เนื่องจากไม่มีอุปสรรคด้านกาแพงภาษี ทาให้ผู้ผลิตมองหาแหล่งผลิตที่สามารถทาให้เกิดความได้เปรียบในด้าน ต้นทุนมากขึ้น อุปสรรคด้านต้นทุนการเปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่สูง ทาให้บริษัทสามารถสูญเสีย INDEPENDENT STUDY BA8900
49
Privilege Logistics
ลูกค้าได้ง่ายหากไม่สามารถดูแลความต้องการของลูกค้าได้
และจากการแข่งขันที่รุนแรงทาให้ลูกค้ามีความ
อ่อนไหวด้านราคา และอุปสรรคด้านอานาจการต่อรองกับซัพพลายเออร์หลักเช่นสายเรือ และสายการบินต่า พิจารณาจากการวิเคราะห์ในส่วนแรงกดดันจากซัพพลายเออร์ที่กล่าวไปแล้ว
INDEPENDENT STUDY BA8900
50
Privilege Logistics
บทที่ 3 การวิเคราะห์ปัจจัยภายในของธุรกิจ 1. การตรวจสอบงบการเงิน (จากเอกสารงบการเงินภาคผนวก) - การวิเคราะห์งบกาไรขาดทุนของกิจการ
Figure 17 การวิเราะห์โดยวิธีย่อตามแนวดิ่งของงบกาไรขาดทุน จากการวิเคราะห์ งบกาไรขาดทุนของกิจการ (Figure 17) จะพบว่าบริษัทมีต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการใช้เงินกู้จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ถึง 2555 เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนใน กิจการ โดยดอกเบี้ยเงินกู้จากสถาบันการเงินในปี 2553 มีสัดส่วนร้อยละ 2.54% เพิ่มขึ้นในปี 2554 มีสัดส่วน ร้อยละ 5.17% และเพิ่มขึ้นในปี 2555 มีสัดส่วนร้อยละ 5.33% ในขณะที่คู่แข่งไม่มีต้นทุนทางการเงินเรื่อง ดอกเบี้ยจากสถาบันการเงินอยู่เลย บริษัทมีต้นทุนขายและบริการที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี 2553 มีสัดส่วนร้อย ละ 13.88% ในปี 2554 มีสัดส่วนร้อยละ 16.22% และในปี 2555 มีสัดส่วนร้อยละ 24.78% ซึ่งน้อยกว่า คู่แข่ง 1 รายคือ บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด แต่ก็มากกว่าคู่แข่งอีกรายคือ บริษัท ฟาสท์ โทเทิล INDEPENDENT STUDY BA8900
51
Privilege Logistics
โลจิสติกส์ จากัดเพียงปีเดียวเท่านั้น แต่กาไรสุทธิบริษัทเพิ่มขึ้นจากปี 2553 มีสัดส่วนร้อยละ 3.93% แต่ลดลง ในปีซึ่งเกิดวิกฤติน้าท่วมกรุงเทพและเขตอุตสาหกรรมในปี 2554 มีสัดส่วนร้อยละ 1.55% และเพิ่มขึ้นมาในปี 2555 ร้อยละ 4.56% ดังนั้นจากการวิเคราะห์จะพบว่าต้นทุนที่สูงขึ้นที่เกิดต้นทุนทางการเงินนั้นสามารถสร้าง ยอดขายที่เพิ่มขึ้น แม้ว่าค่าใช้จ่ายทางด้านการขายและบริการจะสูงขึ้นแต่น้อยกว่าคู่แข่งโดยเปรียบเทียบ แต่ ก็ยังส่งผลให้กาไรสุทธิเพิ่มขึ้นกว่าคู่แข่ง แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีความสามารถทากาไรในอัตราที่มากกว่าคู่แข่ง แม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายจากดอกเบี้ยเงินกู้จากสถาบันการเงินสูงกว่าคู่แข่งก็ตาม - วิเคราะห์โดยใช้วิธี Dupont
INDEPENDENT STUDY BA8900
52
Privilege Logistics
Figure 18 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของ ROS, ROA, ROE ของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด และบริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด ตามปี 2553-2555 PVL ROE % ROS (NI/SALES) Asset Turnover Equity Multiplier (EM) (TA/E)
2553 90.94 3.93 2.32 7.62
2554 19.71 1.55 1.47 9.48
2555 47.1 4.56 1.37 6.34
CST ROE % ROS (NI/SALES) Asset Turnover Equity Multiplier (EM) (TA/E)
2553 -26.49 -2.23 4.64 2.56
2554 -0.03 -0.01 1.95 2.68
2555 -27.09 -6.41 1.51 2.96
2553 21.95 3.18 4.82 1.41
2554 1.51 0.27 3.69 1.62
2555 11.4 2.97 2.51 1.46
FAST ROE % ROS (NI/SALES) Asset Turnover Equity Multiplier (EM) (TA/E)
Figure 19 ตารางแสดงที่มาความแตกต่างของ ROS, ROA และ ROE
INDEPENDENT STUDY BA8900
53
Privilege Logistics
จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ROS (Return on Sale) อัตรากาไรสุทธิเมื่อเทียบกับยอดขาย บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด มีอัตรา กาไรต่อยอดขายที่ดีกว่าคู่แข่ง ROA (Return on Asset) อัตรากาไรสุทธิเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม โดยบริษัทมีอัตราที่ต่ากว่าคู่แข่งคือ บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด เนื่องจาก ROA = ROS x Turnover Asset ซึ่งกิจการมี ROS ที่ดีกว่า คู่แข็ง ปัญหาของ ROA ที่ต่ากว่าคู่แข่งจึงเกิดจาก Turnover Asset ซึ่งเป็นอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม ในการสร้างยอดขายที่ต่ากว่า ซึ่งบริษัทมีอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมที่ต่ากว่าคู่แข็ง ส่งผลให้ ROA มีค่า ต่ากว่า แต่ ROA ของบริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัดทีต่ ่า เนื่องจากผลกาไรที่ติดลบและอัตรา หมุนเวียนของสินทรัพย์รวมที่ต่าส่งผลให้ ROA ต่า ROE (Retun in Equity) เนื่องจากค่า ROE สามารถเกิดได้จาก 3 ปัจจัยดังนี้ ROE = (NI/Sale) x (Sale/TA) x (TA/E)
ซึ่งจากสูตรดังกล่าวจะพบว่า ROE ของบริษัทสูงกว่าคู่แข่ง
เนื่องจากการใช้สัดส่วนเงินลงทุนจากหนี้ที่มากกว่าและอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ที่ต่ากว่า
ไม่ได้เกิดจาก
การทากาไรที่ต่ากว่าคู่แข่ง - วิเคราะห์เปรียบเทียบกับคู่แข่งในตลาด จากตารางภาคผนวก A1, A2, A3, B1, B2, B3, C1, C2, C3 Sale Revenue 2553 2554 2555
INDEPENDENT STUDY BA8900
PVL 18,641,653.79 16,502,478.10 19,293,783.30
CST 33,911,018.35 29,165,188.98 21,235,386.27
FAST 73,323,699.06 57,365,883.75 36,475,435.63
54
Privilege Logistics
Figure 20 แสดงยอดขายเปรียบเทียบคุ่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 ยอดขายโดยเปรียบเทียบกับคู่แข่งจากรูปที่ 20 บริษัทมียอดขายที่น้อยกว่าคู่แข่งและน้อยที่สุดในปี 2554 ซึ่งเกิดจากวิกฤตน้าท่วมกรุงเทพและเขตอุตสาหกรรม
ซึ่งมีผลกระทบต่อการนาเข้าส่งออกของลูกค้าใน
ภาพรวม โดยคู่แข่งของบริษัท คือ บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด และ บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิ สติกส์ จากัด มียอดขายที่ลดลงต่อเนื่องจากปี 2553 – 2555 จากกราฟจะเห็นได้ว่า บริษัทมียอดขายที่เพิ่มขึ้น โดยบริษัท พรีวิลเลจ โจจิสติกส์ จากัด มียอดขายในปี 2556 เท่ากับ 33,861,296.48 บาท ซึ่งเกิดการเติบโต อย่างเป็นลาดับ Cost of goods sold
PVL
CST
FAST
2553
78.91%
77.64%
77.00%
2554
76.85%
75.52%
80.78%
2555
64.23%
68.50%
77.76%
INDEPENDENT STUDY BA8900
55
Privilege Logistics
Figure 21 เปอร์เซ็นต์ต้นทุนเมื่อเทียบกับยอดขาย กับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 เปอร์เซ็นต์ต้นทุนเมื่อเทียบกับยอดขายโดยเปรียบเทียบกับคู่แข่งจะพบว่าบริษัทมีต้นทุนถูกกว่าคู่แข่งใน อุตสาหกรรมเดียวกันเนื่องจากบริษัทเลือกดาเนินกิจกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูงเอง ส่วนกิจกรรมที่ไม่ได้สร้าง มูลค่าหรือไม่แตกต่างจะทาการ out source เพื่อจะได้โฟกัสในกิจกรรมที่บริษัทถนัด ทาให้ได้เปรียบด้าน ต้นทุนขายเมื่อเทียบกับคู่แข่ง % Sale and Admin expense
PVL
CST
FAST
2553
13.88%
24.59%
18.80%
2554
16.22%
24.49%
18.75%
2555
24.78%
37.31%
18.58%
INDEPENDENT STUDY BA8900
56
Privilege Logistics
Figure 22 เปอร์เซ็นต์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเมื่อเทียบยอดขายกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 เปอร์เซ็นต์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเมื่อเทียบกับยอดขาย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการมีค่าเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องเหตุผลเนื่องจากยอดขายที่เพิ่มขึ้น
% Total expense
PVL
CST
FAST
2553
92.79%
102.23%
95.80%
2554
93.06%
100.01%
99.53%
2555
89.20%
106.41%
96.33%
INDEPENDENT STUDY BA8900
57
Privilege Logistics
Figure 23 เปอร์เซ็นต์รายจ่ายรวมเมื่อเทียบยอดขาย กับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ
ปี 2553-
2555 เปอร์เซ็นต์รายจ่ายรวมเมื่อเทียบกับยอดขายรายจ่ายรวมของบริษัทเมื่อเทียบกับคู่แข่งบริษัทมีต้นทุนที่ต่า กว่าคู่แข่งทั้งสองราย บริษัทมีเปอร์เซ็นต์ต้นทุนค่าบริการที่ต่ากว่า แต่มีค่าดาเนินการทางด้านงานขายและ บริการทีส่ ูงกว่าคู่แข่งเล็กน้อย
สุดท้ายทาให้มรี ายจ่ายรวมที่ต่ากว่าคู่แข่ง
แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีต้นทุนค่า
สินค้า/บริการในการดาเนินธุรกิจต่ากว่าคู่แข่งค่อนข้างเยอะ % Net Profit
PVL
CST
FAST
2553
3.93%
-2.23%
3.18%
2554
1.55%
-0.01%
0.27%
2555
4.56%
-6.41%
2.97%
INDEPENDENT STUDY BA8900
58
Privilege Logistics
Figure 24 เปอร์เซ็นต์กาไรสุทธิเมื่อเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ปี 2553-2555 กาไรสุทธิของกิจการมีค่าสูงกว่าคู่แข่งและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากการเพิ่มยอดขายและ อัตราผลตอบแทนกาไรสุทธิต่อรายได้รวมที่สูงกว่าคู่แข่ง รวมถึงเปอร์เซ็นต์ต้นทุนค่าสินค้า/บริการ (CGS) ที่มี อัตราส่วนต่ากว่าคู่แข่ง ทาให้เปอร์เซ็นต์ของกาไรสุทธิของบริษัทสูงกว่าคู่แข่ง - วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด (ข้อมูลอ้างอิงจากภาคผนวกตาราง A3, B3, C3)
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) ตัวชีว้ ัดสภาพคล่อง อัตราส่วนทุนหมุนเวียน(เท่า)
2553
2554 0.82
2555 0.29
0.41
Figure 25 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ปี 2553-2555 บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด มีอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) ที่ต่ากว่า 1 หมายถึง ความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้นของกิจการต่า เพราะเมื่อสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีอยู่กลายเป็นเงินสดแล้ว จะไม่เพียงพอในการชาระหนี้หมุนเวียน ซึ่งโดยทั่วไปธุรกิจควรมีอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเท่ากับ 2:1 INDEPENDENT STUDY BA8900
59
Privilege Logistics
เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม Current Ratio
PVL
CST
FAST
2553
0.82
1.43
3.37
2554
0.29
1.39
2.55
2555
0.41
1.33
3.1
Figure 26 เปอร์เซ็นต์อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเทียบกับอุตสาหกรรมและคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 เมื่อเปรียบเทียบคู่แข่งในอุตสาหกรรมจะพบว่าบริษัทมีอัตราส่วนทุนหมุนเวียนที่ต่า
แต่มีแนวโน้มที่ดีขึ้น
อัตราทุนหมุนเวียนที่ต่าเนื่องจากบริษัทใช้เงินทุนจากหนี้สินหมุนเวียนระยะสั้นส่วนหนึ่งในการสร้างสินทรัพย์ หมุนเวียนและจัดสรรค์หนี้สินหมุนเวียนระยะสั้นนี้ไปสร้างสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ก่อให้เกิดรายได้ต่า ทาให้มี ความเสี่ยงทางธุรกิจเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover) เป็นอัตราส่วนทางการเงินที่วิเคราะห์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการใช้สินทรัพย์ทั้งหมดเพื่อ ก่อให้เกิดรายได้แก่กิจการว่ามีมากหรือน้อย
ซึ่งหากต่ากว่าค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมแสดงว่าความสามารถใน
การใช้สินทรัพย์รวมของกิจการเพื่อก่อให้เกิดรายได้ต่ากว่าธุรกิจอื่นในประเภทเดียวกัน
INDEPENDENT STUDY BA8900
60
Privilege Logistics
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
2553
อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม(เท่า)
2554 2.32
2555 1.47
1.37
Figure 27 แสดงอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม ของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ปี 2553-2555 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมมีค่าที่ลดลงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ก่อให้เกิดรายได้ น้อยในปริมาณที่สูง เมื่อเทียบอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม Total Asset Turnover
PVL
CST
FAST
2553
2.32
4.64
4.82
2554
1.47
1.95
3.69
2555
1.37
1.51
2.51
Figure 28 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 เมื่อพิจารณาอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม
จะพบว่าบริษัทมีอัตราการใช้สินทรัพย์รวมในการสร้าง
ยอดขายทีล่ ดลง และคู่แข่งมีอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมที่ต่าลงอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน โดยบริษัท ต้องทาการบริหารประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ให้ดีมากขึ้น
โดยบริษัทไม่ควรจะลงทุนในสินทรัพย์ไม่
หมุนเวียนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นอีก
INDEPENDENT STUDY BA8900
61
Privilege Logistics
อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fix Asset Turnover) แสดงถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ถาวรในการดาเนินงานเพื่อก่อให้เกิดรายได้ยิ่งมีจานวนครั้งของ การหมุนมากเท่าไหร่ยิ่งแสดงถึงความสามารถในการใช้สินทรัพย์ถาวรของกิจการเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ทาง รายได้มากขึ้นเท่านั้นหากอัตราส่วนนี้ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมแสดงถึงการด้อยประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ถาวร อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
2553
2554
2555
2556
อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร
4.12
2.96
3.74
6.56
Figure 29 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรของ บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ปี 2553-2556 อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรของบริษัทเท่ากับ 4.12 เท่าและลดลงในปี 2554 ซึ่งเกิดจากรายได้ ที่ลดลงจากภาวะน้าท่วม และเพิ่มขึ้นในปี 2555 - 2556 หมายถึงสินทรัพย์ถาวรสามารถสร้างยอดขายได้ 4.12 เท่าจากการดาเนินงาน ซึ่งข้อเสียคือสินทรัพย์ถาวรส่วนมากบันทึกในราคาทุน ณ วันที่ซื้อสินทรัพย์มา ซึ่ง มูลค่ามักเปลี่ยนไปเมื่อเวลาผ่านไป ทาให้ไม่สามารถวิเคราะห์อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรได้จริง การ คิดควรใช้ราคาตลาดนามาคานวนเพื่อให้ได้ผลความคุ้มค่าที่แท้จริงที่บ่งบอกถึงความสามารถ ณ ปัจจุบัน และ พยากรณ์ในอนาคตได้แม่นยามากขึ้น Fix Asset Turnover
PVL
CST
FAST
2553
4.12
22.65
275.04
2554
2.96
24.28
192.93
2555
3.74
18
143.14
INDEPENDENT STUDY BA8900
62
Privilege Logistics
Figure 30 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรของบริษัทเมื่อเทียบกับคู่แข่งต่ามากเนื่องจากบริษัทซื้ออาคารเพื่อ ทาเป็นสานักงาน แต่คู่แข่งไม่ได้สินทรัพย์ถาวรเป็นอาคารสานักงานหรือที่ดิน แต่ใช้การเช่าสถานประกอบการ ในการดาเนินกิจการ จึงทาให้อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์ถาวรของคู่แข่งสูงกว่าบริษัท - การวิเคราะห์ความสามารถในการบริหารหนี้สินโดยเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม(ข้อมูลจาก ภาคผนวก A3, B3, C3)
อัตราส่วนของหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม (Debt ratio) เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงสัดส่วนของหนี้สินรวมของกิจการเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวมที่มีอยู่ทั้งหมดจะใช้ ประเมินว่าสินทรัพย์ของกิจการได้มาจากการกู้ยืมเงินจากภายนอกเป็นสัดส่วนเท่าใดและยังแสดงถึง ความสามารถในการชาระหนี้ของกิจการ ถ้ามากกว่า 1
ถ้าอัตราสูงแสดงว่ามีภาระหนี้สูงการบริหารจัดการมีความเสี่ยงสูง
แสดงว่าบริษัทมีภาระหนี้สินรวมมากกว่าสินทรัพย์รวมที่มีซึ่งจะส่งผลให้นักลงทุนขาดความ
เชื่อมั่นต่อบริษัท เนื่องจากถ้ากิจการขายสินทรัพย์ทั้งหมดแล้วยังไม่สามารถชาระหนี้สินรวมได้ทั้งหมด อัตราส่วนโครงสร้างงบแสดงฐานะการเงิน อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม(เท่า)
2553
2554 0.87
2555 0.89
0.84
Figure 31 อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวมของ บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ปี 2553-2555
INDEPENDENT STUDY BA8900
63
Privilege Logistics
ซึ่งสามารถพิจารณาได้ว่าอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อทรัพย์สินรวมในปี 2555 มีค่าประมาณ 0.84 หมายถึงว่า กิจการมีความสามารถในการชาระหนี้สินรวมได้ดีถ้ากิจการเกิดปัญหาโดยใช้สินทรัพย์รวมเกิดจากการใช้หนี้สิน รวม 84% และส่วนของผู้ถือหุ้น 16% ถ้าบริษัทเกิดปัญหายังมีความสามารถในการนาสินทรัพย์รวมมาขาย เพื่อชาระหนี้ได้ เมื่อเทียบอัตราส่วนของหนี้สินต่อสินทรัพย์รวมกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม(เท่า)
PVL
CST
FAST
2553
0.87
0.61
0.29
2554
0.89
0.63
0.38
2555
0.84
0.66
0.31
Figure 32 อัตราหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม จะพบว่าบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์ รวมทีส่ ูงกว่าคู่แข่ง ถือว่าบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด มีปัญหาในเรื่องอัตราหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม เมื่อเทียบกับคู่แข่ง
INDEPENDENT STUDY BA8900
64
Privilege Logistics
อัตราส่วนของหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity ratio) แสดงถึงโครงสร้างของเงินทุนของกิจการว่ามีสัดส่วนของหนี้สินรวมของกิจกรรมเมื่อเปรียบเทียบกับส่วน ของทุนหรือส่วนของกิจการ ซึ่งหนี้สินเป็นแหล่งเงินทุนที่บริษัทมีภาระดอกเบี้ยจ่าย ถ้าอัตราส่วนหนี้สูงก็แสดง ว่าบริษัทมีความเสี่ยงสูงเช่นกัน อัตราส่วนโครงสร้างงบแสดงฐานะการเงิน อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า)
2553
2554 6.62
2555 8.48
5.34
Figure 33 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ปี 2553-2555 จะพบว่าบริษัทมีอัตราส่วนของหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสูง โดยมีอัตราการใช้เงินทุนของหนี้สินต่อผู้ถือ หุ้นเท่ากับ 84:16 เปอร์เซนต์ในปี 2555 เมื่อเทียบอัตราส่วนของหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า)
PVL
CST
FAST
2553
6.62
1.56
0.41
2554
8.48
1.68
0.62
2555
5.34
1.96
0.46
Figure 34 อัตราหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555 INDEPENDENT STUDY BA8900
65
Privilege Logistics
เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กับคู่แข่งในตลาดจะพบว่าคู่แข่งในตลาดมีการใช้ เงินทุนจากหนี้สินที่ต่ากว่าบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ซึ่งทาให้มีความเสี่ยงสูงในการจ่ายดอกเบี้ยที่กู้ยืม มาจากเงินทุนในส่วนของหนี้สิน ซึง่ อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่สูงทาให้บริษัทมีความเสียเปรียบ ทางการแข่งขันเมื่อเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ตัวทวีคูณของผู้ถือหุ้น (Equity Multiplier) เป็นอัตราส่วนทางการเงินที่แสดงโครงสร้างทางการเงินของกิจการว่ามีการใช้เงินกู้มากน้อยเพียงใด การที่ กิจการมีโครงสร้างเงินทุนจากการก่อหนี้มากทาให้กิจกรรมนั้นมีความเสี่ยงทางด้านการเงินเพราะเนื่องจาก ดอกเบี้ยที่ต้องชาระ
ซึ่งถ้าใช้ในส่วนของผู้ถือหุ้นอาจไม่จาเป็นต้องจ่ายปันผลก็ได้แต่ข้อดีของการกู้เงินคือการ
ทาให้มีต้นทุนการเงินที่ต่ากว่ารวมถึงช่วยให้ ROE สูงขึ้น อัตราส่วนโครงสร้างงบแสดงฐานะการเงิน
2553
2554
2555
อัตราส่วนสินทรัพย์รวมต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า) 7.62 9.48 6.34 Figure 35 อัตราส่วนสินทรัพย์รวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด
ปี 2553-2555 จะพบว่าตัวทวีคูณของผู้ถือหุ้นมีอัตราส่วนที่ลดลงแต่มากกว่าคู่แข่งดูได้จาก Figure 42 เพราะอัตราส่วน ของสินทรัพย์รวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นแปรผันตามอัตราส่วนของหนี้สินรวมต่อสัดส่วนของผู้ถือหุ้น
โดยบริษัท
พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด มีหนี้มากกว่าบริษัทคู่แข่งทั้งสอง โดยสามารถดูได้จาก Figure 42 อัตราส่วนสินทรัพย์รวมต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า)
PVL
CST
FAST
2553
7.62
2.56
1.41
2554
9.48
2.68
1.62
2555
6.34
2.96
1.46
INDEPENDENT STUDY BA8900
66
Privilege Logistics
Figure 36 อัตราส่วนสินทรัพย์รวมต่อส่วนของผู้ถืหุ้นเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน ณ ปี 2553-2555
สรุปการวิเคราะห์ทางการเงิน - งบกาไรขาดทุน จากการตรวจสอบทางการเงินของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด พบว่า ต้นทุนสินค้า/บริการ ( Cost of goods sold) ต่ากว่าหรือเท่ากันกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกันเพียงเล็กน้อยแต่มี กาไรสุทธิสูงกว่าคู่แข่ง แม้ว่าในส่วนของค่าใช้จ่ายทางด้านงานขายและบริการ (Sale and Administration Expense)และต้นทุน ทางการเงินคือดอกเบี้ยจ่ายสถาบันการเงินที่สูงกว่าคู่แข่ง
เนื่องจากบริษัทมีความสามารถทากาไรในอัตราที่
มากกว่าคู่แข่งแม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายจากดอกเบี้ยเงินกู้จากสถาบันการเงินสูงกว่าคู่แข่งก็ตาม ซึ่งเมื่อพิจารณาถึง ผลกาไรสุทธิที่บริษัทสามารถสร้างได้ กาไรสุทธิของบริษัทมีเปอร์เซ็นต์สูงกว่าคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน - การวิเคราะห์ Dupont อัตราผลตอบแทนต่อรายได้รวม (Return on Sale) ไม่มีปัญหาเนื่องจากบริษัทมีความสามารถในการสร้าง กาไรที่เหนือกว่าคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (Return on Asset) มีเปอร์เซ็นต์ที่ต่ากว่าคู่แข่ง บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด 2 ปี 2553และ 2555 จาก INDEPENDENT STUDY BA8900
67
Privilege Logistics
ROA = ROS x Total Asset Turnover ซึง่ ROS ของบริษัทมีเปอร์เซ็นต์เหนือกว่าคู่แข่งในกอุตสาหกรรม เดียวกัน
หมายความว่า ROA ที่ต่ากว่านั้นเกิดจากอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Asset
Turnover)
อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมมีค่าเท่ากับ Sale/TA ซึ่งค่าที่ต่อเกิดจากยอดขายที่ต่าหรือ
สินทรัพย์รวมที่มากเกินไป สินทรัพย์รวมที่มีไม่สามารถสร้างยอดขายได้ดีเท่าคู่แข่ง ซึ่งสินทรัพย์รวมของบริษัท แบ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนเท่ากับ 26.21% โดยสินทรัพย์หมุนเวียนคือ ลูกหนี้การค้า และสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนเท่ากับ 73.79% โดยแบ่งเป็น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 35.35% บริษัทต้องจัดการทางด้าน การลดสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพราะมีมูลค่าถึง 38.43% ของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนคือ 73.79% ของสินทรัพย์ รวม และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม คือต้องเพิ่มยอดขายให้มากขึ้น อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return On Equity) มีค่าสูงกว่าคู่แข่งในกิจการเนื่องจาก ROE = ROS x Total Asset Turnover x Equity Miltiplier ซึ่งอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่สูงกว่าเกิด จาก Return on Sale ที่สูงกว่าและ Equity Multiplier ที่สูงกว่าซึ่งเกิดจากการใช้แหล่งเงินทุนจากส่วนของผู้ ถือหุ้นที่น้อยกว่าการกู้ยืมเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก แต่คู่แข่งใช้เงินทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้นแทนเงินทุน จากแหล่งเงินทุนภายนอก - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน และตัวชี้วัดสภาพคล่อง อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) มีค่าต่ากว่าคู่แข่งในอุตสาหกรรมและมีค่าต่ากว่า 2 ซึ่งจาก Current Ratio = Current Asset / Current Liability ซึ่งหมายความว่าบริษัทมีหนี้สินหมุนเวียนมากกว่า สินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งจะมีผลกระทบต่อการจ่ายหนี้ระยะสั้นเนื่องจากสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งหมดเกิดจาก หนี้สินระยะสั้น - อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์(Total Asset Turnover) อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ต่ากว่าคู่แข่งเนื่องจากอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมมีค่าเท่ากับ Sale/TA ซึ่งค่าที่ต่อเกิดจากยอดขายที่ต่าหรือสินทรัพย์รวมที่มากเกินไป สินทรัพย์รวมที่มีไม่สามารถสร้างยอดขายได้ดี เท่าคู่แข่ง ซึ่งสินทรัพย์รวมของบริษัท แบ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนเท่ากับ 26.21% โดยสินทรัพย์หมุนเวียนคือ ลูกหนี้การค้า และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเท่ากับ 73.79% โดยแบ่งเป็น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 35.35% บริษัทต้องจัดการทางด้านการลดสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพราะมีมูลค่าถึง 38.43% ของสินทรัพย์ไม่
INDEPENDENT STUDY BA8900
68
Privilege Logistics
หมุนเวียนคือ 73.79% ของสินทรัพย์รวม และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม คือ ต้องเพิ่มยอดขายให้มากขึ้น
INDEPENDENT STUDY BA8900
69
Privilege Logistics
2. การตรวจสอบด้านการตลาด ( Marketing Audit ) การตรวจสอบสภาพแวดล้อมการดาเนินงาน - ตลาด ในอุตสาหกรรมผู้ให้บริการการจัดการโลจิสติกส์นั้น ตลาดรวมทั้งหมดมียอดขายประมาณ 1,711พันล้าน บาท โดยสามารถผู้เล่นในตลาดมีเป็นจานวนมาก พบว่าในปี 2554 มีผู้ประกอบการในกลุ่มธุรกิจให้บริการโลจิ สติกส์ที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าจานวน 18,399 ราย โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการโลจิ สติกส์ด้านการขนส่ง สาหรับผู้ประกอบการในกลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ที่ประกอบธุรกิจใกล้เคียงกับบริษัทมีทั้งสิ้น 1,099 รายจากข้อมูลจานวนสมาชิกของสมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย - ลูกค้า ประเมินคุณลักษณะสินค้าโดยสามารถจัดได้เป็นสองกลุ่มคือ ปัจจัยที่เข้าข่าย (Order Qualifier) และ ปัจจัยที่ตัดสินใจเลือก (Order Winner) โดยบริษัทพิจารณาปัจจัยแห่งความสาเร็จในการเปรียบเทียบคู่แข่ง ดังนี้ปัจจัยด้าน ราคา, ความหลากหลายของการให้บริการ และปัจจัยด้านความยืดหยุ่นของการให้บริการ เป็น ปัจจัยที่ตัดสินใจเลือก และ ความรวดเร็วในการให้บริการ, ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อความต้องการของ ลูกค้า และ ความน่าเชื่อถือในการให้บริการ เป็นปัจจัยที่เข้าข่าย - คู่แข่ง คู่แข่งในตลาดที่สาคัญ คือ บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด และ บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิ สติกส์ จากัด บริษัทคู่แข่งทั้งสองมีความได้เปรียบทางด้านความน่าเชื่อถือเนื่องจากดาเนินธุรกิจมาก่อน - การจัดจาหน่าย เป็นช่องทางการทาตลาดแบบการขายตรงโดยใช้พนักงานขายขายตรงถึงลูกค้า ซึ่งทุกบริษัทใช้วิธีเดียวกัน หมดในการขายสินค้า/บริการเนื่องจากลักษณะของความต้องการด้านโลจิสติกส์จะเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไข ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ประเทศที่ต้องส่งออกหรือนาเข้า ดังนั้นจึงต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดทั้งก่อนและหลัง การขาย
การบริการตั้งแต่เริ่มต้นการขายเป็นสิ่งที่ทาให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่นมากขึ้น
ซึ่งบริษัทมีการเปิด
ตลาดไปยังต่างประเทศโดยใช้การขายผ่านตัวแทน(เอเย่นต์)ในประเทศต่างๆ
INDEPENDENT STUDY BA8900
70
Privilege Logistics
การตรวจสอบกลยุทธ์การตลาด - วัตถุประสงค์ ( Market Objective) ขยายฐานลูกค้าในประเทศให้กระจายอยู่ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความต้องการการให้บริการโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มยอดขายให้ถึง 100 ล้านบาทในปี 2560 และเกิดการประหยัดต่อขนาด ขยายฐานเอเย่นต์ที่เป็นตัวแทนในต่างประเทศให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ยังมีจานวนเอเย่นต์ไม่มากพอ อย่างน้อย แต่ละประเทศควรจะมี 3-5 เอเย่นต์ และเพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางในการเพิ่มยอดขายผ่านเอเย่นต์ให้ถึง 100 ล้านบาทในปี 2560
- กลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing strategy) ใช้กลยุทธ์การสร้างแบรนด์
การสร้างความแตกต่างในตัวสินค้า
การสร้างพันธมิตรและการปรับปรุง
กระบวนการดาเนินงาน S-T-P Strategy (Segmentation-Targeting –Positioning) การเลือกกลุ่มเปูาหมาย
กลุ่มเปูาหมายหลัก คือ
ผู้ประกอบการที่มีความต้องการการจัดการโลจิ
สติกส์ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ โดยผ่านการขายตรงจากทีมขาย กลุ่มเปูาหมายรอง คือ ผู้ประกอบการที่ได้รับการแนะนาต่อมาจากตัวแทน ในต่างประเทศ (เอเย่นต์) เป็นการขายผ่านเอเย่นต์ในต่างประเทศ
INDEPENDENT STUDY BA8900
71
Privilege Logistics
- การวางตาแหน่งสินค้า (Positioning) คุณภาพการบริการ
การให้ บริการที่ หลากหลายและ ครบวงจร
Figure 37 การวางตาแหน่งสินค้าของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด การตรวจสอบส่วนผสมการตลาด ( Marketing Mix Audit ) - ผลิตภัณฑ์ (Product ) แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 การขนส่งสินค้า (Freight Transportation and Forwarding) ซึ่งครอบคลุมงานทางโลจิสติกส์ที่ เกี่ยวข้องกับการให้บริหารด้านการขนส่งสินค้าทั้งภายในและส่งออกนอกประเทศ ในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางถนน ทางรถไฟ ทางทะเล และทางอากาศ กลุ่มที่ 2 การจัดเก็บสินค้า ดูแล และบริหารคลังสินค้า และการให้บริการติดฉลากสินค้าหรือบริการด้าน บรรจุภัณฑ์ (Warehousing/Inventory Management and Packing) รวมทั้งการกระจายสินค้า กลุ่มที่ 3การให้บริการด้านพิธีการต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส์ (Non-Asset Based LogisticsServices) ครอบคลุมงานพิธีการศุลกากร งานเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าหรือส่งออกสินค้า กลุ่มที่ 4 การให้บริการงานโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการเสริมเช่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ งานที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์ (Information and Communication Technology / Consulting)
INDEPENDENT STUDY BA8900
72
Privilege Logistics
- การโปรโมทสินค้า (Promotion) บริษัทลงโฆษณาในหนังสือ Transportation และบริษัทยังเป็นสมาชิกสมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย - ช่องทางจาหน่ายสินค้า (Place) ทางตรงได้แก่ การติดต่อกับลูกค้าโดยตรงผ่านเจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดและเว็ปไซต์ www.pvl.co.th ของ บริษัท โดยแบ่งการติดต่อลูกค้าเป็นรายๆไปต่อเจ้าหน้าที่ฝุายการตลาดแต่ละคน ทางอ้อม เกิดจากการแนะนาลูกค้าผ่านทางตัวแทนของบริษัทที่ต่างประเทศ (เอเย่นต์) ซึ่งเอเย่นต์เหล่านี้ จะได้ต้นทุนราคาค่าขนส่งจากบริษัทเพื่อไปขายกับกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการส่งสินค้ามาประเทศไทย หรือ ออกจากประเทศไทย เมื่อสามารถปิดการขายได้ เอเย่นต์จะแนะนาหรือมอบหมายให้บริษัทเป็นผู้ดูแลลูกค้า ของเอเย่นต์ดังกล่าว ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการจัดจาหน่ายของบริษัท
สรุปการวิเคราะห์ทางด้านการตลาด จากการพิจารณาเนื่องจากธุรกิจการใหบริการการจัดการโลจิสติกส์ไม่ค่อยมีความแตกต่างกันเรื่องการ ให้บริการ แต่การที่บริษัทสามารถที่จะให้บริการได้ครบวงจรโดยที่ลูกค้าไม่จาเป็นต้องไปจ้างหรือทาเองทาให้ เกิดความต่อเนื่องในการให้บริการ แต่บริษัทมีปัญหาทางด้านการขยายฐานลูกค้าผ่านทางทีมขายที่ยังมีจานวนไม่มากพอ และการดูแลรักษา ลูกค้ายังไม่สม่าเสมอและทั่วถึง
ดังนั้นบริษัทจึงต้องปรับปรุงเรื่องการดูแลลูกค้าเพื่อสามารถรักษาฐานลูกค้า
เก่า และดึงดูดลูกค้าใหม่ให้ได้ด้วยเช่นกัน
INDEPENDENT STUDY BA8900
73
Privilege Logistics
3. การตรวจสอบด้านการปฎิบัติการ (Operating Management Audit)
Figure 38 แสดงกระบวนการปฏิบัติงานการให้บริการโลจิสติกส์ การปฏิบัติงานในส่วนนี้คือการวางแผนการจัดการโลจิสติกส์ตามความต้องการของลูกค้าโดยแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ การจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1) เมื่อทราบข้อกาหนดของลูกค้าว่าต้องการจะส่งสินค้าระหว่างประเทศทางเรือ, อากาศ หรือ รถบรรทุก บริษัทจะทาการขอราคาจากผู้ให้บริการ LSP ที่เกี่ยวข้องเพื่อเลือกให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าเพื่อเสนอ ขายแก่ลูกค้า เมื่อลูกค้าตกลงตามเงื่อนไขและราคากับทางบริษัทแล้ว จะทาการจองระวางเรือ, สายการบิน
INDEPENDENT STUDY BA8900
74
Privilege Logistics
หรือ รถบรรทุก สาหรับจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศให้ลูกค้าต่อไป
Figure 39 แสดง Incoterms คือข้อกาหนดในการส่งมอบสินค้าและวิธีการในการตัดสินใจวางแผน
INDEPENDENT STUDY BA8900
75
Privilege Logistics
2) ลูกค้าแจ้งข้อมูลสินค้าที่ต้องการนาส่ง พร้อมเอกสารที่จาเป็นในการดาเนินการเกี่ยวเนื่องกับพิธีการ ทางศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้กับบริษัท
Figure 40 แสดงใบขนสินค้าขาเข้าสาหรับการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศ 3) บริษัทจะเป็นตัวแทนลูกค้าในการดาเนินการด้านพิธีการศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกันกับ สินค้าที่ต้องการส่ง เช่น การขอ Certificate of Origin, Form A, Form D, Form E และ เอกสารอื่นๆที่มี ความจาเป็นในประเทศที่ส่งสินค้าไป
INDEPENDENT STUDY BA8900
76
Privilege Logistics
Figure 41 แสดง Form Asean-China Free Trade Area (Form E) 4) บริษัทจะออกใบตราส่งสินค้า Bill of lading (Sea)/ Air Way Bill (Air) ให้กับทางลูกค้าเพื่อจะได้ส่งต่อ ให้กับผู้รอรับสินค้าในประเทศปลายทาง โดยใบตราส่งจะระบุรายละเอียดของสินค้าอย่างละเอียด, ระบุผู้ส่ง, ระบุผู้รับ, ระบุรายละเอียดของเที่ยวเรือหรือเที่ยวบิน, เงื่อนไขตาม L/C และอื่นๆที่สาคัญในการที่จะนาไปรับ ของที่ประเทศปลายทางต่อไป
INDEPENDENT STUDY BA8900
77
Privilege Logistics
Figure 42 แสดงใบตราส่งสินค้าทางอากาศ (Air Way Bill) 5) บริษัทจะติดตามสถานการณ์จัดส่งสินค้าให้กับลูกค้า รวมถึงการให้คาแนะนาในกรณีหากเกิดปัญหา ระหว่างการจัดส่ง เช่นการเกิดความล่าช้าอันนึงมาจากเหตุการณ์ต่างๆ เป็นต้น
INDEPENDENT STUDY BA8900
78
Privilege Logistics
การจัดการขนส่งสินค้าในประเทศ 1) เมื่อทราบข้อกาหนดของลูกค้าว่าต้องการจะส่งสินค้าไปจุดหมายปลายทางในประเทศตรงจุดไหน และมี ความต้องการพาหนะประเภทใด รวมถึงอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการโหลดสินค้าขึ้นลง ณ จุดรับและจุดส่งสินค้า บริษัทจะทาการขอราคาจากผู้ให้บริการ LSP ที่เกี่ยวข้องเพื่อเลือกให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าเพื่อเสนอ ขายแก่ลูกค้า เมื่อลูกค้าตกลงตามเงื่อนไขและราคากับทางบริษัทแล้ว จะทาการจอง รถบรรทุก และ อุปกรณ์เสริมเช่นเครนยกสินค้า สาหรับจัดส่งสินค้าในประเทศให้ลูกค้าต่อไป 2) ลูกค้าแจ้งข้อมูลสินค้าที่ต้องการนาส่ง พร้อมเอกสารที่จาเป็นที่ต้องส่งมอบพร้อมสินค้าให้กับบริษัท 3) บริษัทจะส่งเอกสารยืนยันการใช้บริการ (Booking confirmation) ซึ่งจะระบุรายละเอียดต่างๆเช่น ชื่อ พนักงานขับรถ, ทะเบียนรถ, หมายเลขโทรศัพท์มือ, จุดหมายปลายทาง, คนรับสินค้าและเบอร์ติดต่อเป็นต้น 4) เมื่อส่งมอบสินค้าถึงผู้รับ ลูกค้าเซ็นต์รับสินค้าในเอกสารส่งสินค้า บริษัทจะนาส่งเอกสารที่ลูกค้าเซ็นต์ รับเรียบร้อยแล้วให้กับลูกค้าที่ว่าจ้างต่อไป
สรุปการวิเคราะห์ด้านการปฏิบัติการ จากการพิจารณาด้านการปฏิบัติการพบว่าบริษัทมีปัญหาเรื่องการวางแผนลาดับก่อนหลังในการออก เอกสารสาคัญต่างๆ เช่นใบตราส่ง ล่าช้า เนื่องจากแต่ละประเทศจะมีระยะเวลาเดินทางช้าเร็วแตกต่างกัน การ วางแผนการทางานตามลาดับก่อนหลังจึงมีความสาคัญเป็นอันดับแรกๆของการทางาน
แต่พบว่าการ
ปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะเกิดจากการติดตามของลูกค้าที่มีความเร่งรีบที่จะต้องการเอกสารเหล่านี้ รวมถึงความ ถูกต้องของข้อมูลที่ต้องระบุในเอกสารที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีข้อกาหนดและรายละเอียดค่อนข้างเยอะ แตกต่างกัน ไปในแต่ละงาน ทาให้ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบความถูกต้องก่อนออกเอกสารพอสมควร
INDEPENDENT STUDY BA8900
79
Privilege Logistics
4. การตรวจสอบการจัดการด้านบุคคลากร (Human Resources Management Audit) แผนผังองค์กรของบริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด
Figure 43 แผนผังองค์กร บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด เนื่องจากบริษัทไม่มฝี ุายทรัพยากรบุคคลในการทาหน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานด้านการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
การสรรหาคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์จึงมอบหมายให้เป็น
หน้าที่ของผู้จัดการทั่วไปในการคัดเลือก - การสรรหาและคัดเลือก (Recruting and Selection) บริษัทใช้วิธีคัดเลือกทั้งแบบคัดเลือกจากบุคลากรภายนอกและภายใน
การสรรหาจากภายนอก การสรรหาจากภายนอกมีในทุกระดับชั้น
โดยมีวิธีการสรรหาต่างๆเช่น การลงประกาศทาง Website
JobBKK และเว็บไซต์หางานต่างๆ การติดต่อกรมแรงงานหรือสถานศึกษา และเปิดโอกาสให้พนักงานปัจจุบัน INDEPENDENT STUDY BA8900
80
Privilege Logistics
แนะนาเพื่อนหรือบุคคลที่รู้จักเข้ามาสมัครได้ ระดับการศึกษาส่วนใหญของพนักงานออฟฟิสคือระดับปริญญา ตรี การสรรหาจากภายใน การสรรหาจากภายในโดยการโปรโมทพนักงานเก่า ที่มีประสบการณ์การทางานที่มีคุณสมบัติเหมาะสมแก่ การเลื่อนตาแหน่ง
บริษัทจะเปิดโอกาสให้พนักงานที่บริษัทมองเห็นว่ามีคุณสมบัติเพียงพอเข้าสมัครใน
ตาแหน่งที่บริษัทเปิดรับก่อนบุคคลภายนอก - การวางแผนเรื่องบุคคลากร (Human Resource Planning) บริษัทเพิ่งเริ่มมีการกาหนด Job description เพื่อให้พนักงานเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าบริษัทต้องการอะไร จากพนักงาน การสรรหาพนักงานใหม่จะเกิดจากปริมาณงานที่เริ่มเพิ่มมากขึ้นจากแผนกปฏิบัติการ
- ความก้าวหน้าในสายงาน (Career Path) บริษัทไม่มีกาหนดโครงสร้างตาแหน่งงานชัดเจนเพื่อเป็นเส้นทางความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ส่งเสริมให้ พนักงานมีโอกาสเจริญก้าวหน้าตามความสามารถมีการพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพของพนักงาน โดยทั่วไปจะมีเพียงความก้าวหน้าตามสายงาน เช่น พนักงานให้บริการลูกค้า
พนักงานขาย
- การประเมินการทางานและผลงาน (Performance Appraisal) การประเมินผลงานของตัวองค์กรและตัวบุคคล ประเมินผล
ซึ่งกาลังเริ่มทาแผนการประเมินโดยใช้ KPI ในการ
โดยปัจจุบันการประเมินผลขององค์กรโดยรวมดูยอดขายเป็นหลักและเปอร์เซ็นต์กาไรของทาง
บริษัท ซึ่งพนักงานในไลน์การผลิตจะมีการประมินผลเรื่องประสิทธิภาพการทางาน การขาด ลา มาสาย ซึ่ง ปัจจุบันก็ยังคงใช้การประเมินผลแบบเดิมอยู่ จะมีการใช้ฟังก์ชั่นเพิ่มเติมในบางแผนก เช่นแผนกบริการหลัง การขาย
มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้ามาเป็นส่วนประกอบในการวัดการประเมินการทางานและ
INDEPENDENT STUDY BA8900
81
Privilege Logistics
ผลงาน
โดยการประเมินจะเป็นการส่งแบบสอบถามถึงลูกค้าหลังจากการบริการเพื่อสอบถามความพึงพอใจ
อนาคตจะใช้ KPI ในการประเมินผลของทั้งองค์กรและตัวบุคคล - ผลตอบแทน (Compensation and Benefit) ผลตอบแทนบริษัทแบ่งตามวิชาชีพ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน โดยขั้นต่าของวุฒิการศึกษาคือ ปริญญาตรี (ไม่มีประสบการณ์) จะมีฐานเงินเดือน 12,000 – 15,000 บาทขึ้นไป พนักงานขายจะมีฐานคอมมิชชั่นเริ่มจาก 10% - 30% จากกาไรสุทธิ และค่า Entertain & Fuel อัตราการปรับเงินเดือน - ปีละประมาณ
5%สาหรับพนักงานทั่วไปอาจมากกว่าหรือน้อยกว่าเล็กน้อยขึ้นอยู่กับความขยันและ
ประสิทธิภาพในการทางาน
อัตราโบนัส - โบนัส 1 เดือน (* อัตราโบนัสอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเศรษฐกิจ*)
สวัสดิการอื่นๆ - ประกันสังคม - วันหยุดพักผ่อนประจาปี 13 วัน สิทธิลาพักร้อน 7 วัน ลากิจ 7 วัน ลาปุวย 30 วัน - การฝึกอบรมและพัฒนาทักษะในการดาเนินงาน (Training and Development) - ท่องเที่ยวประจาปี
- อัตราพนักงานลาออก (Turn Over Ratio) บริษัทมีอัตราการเข้าออกของพนักงานอยู่ที่ประมาณ
10-13%
ซึง่ พนักงานที่เข้าออกส่วนใหญ่เป็น
พนักงานขายที่ยังไม่มีประสบการณ์มาก่อน แม้ว่าจะยังไม่กระทบกับด้านของการให้บริการลูกค้า แต่กระทบกับ บริษัทในด้านการจ้างงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ INDEPENDENT STUDY BA8900
82
Privilege Logistics
สรุปการตรวจสอบปัญหาของการจัดการด้านบุคคลากร จากกตรวจสอบการจัดการด้านทรัพยากรบุคคลในประเด็นต่างๆของบริษัท เครื่องมือในการคัดกรองพนักงานเข้ามาทางาน
พบว่ามีประเด็นเรื่องของ
เนื่องจากธุรกิจให้บริการการจัดการขนส่งระหว่างประเทศมี
ความซับซ้อน บริษัทจาเป็นต้องจัดสรรค์ให้มีการอบรมให้พนักงานมีความรู้เพื่อที่จะสามารถทางานให้ได้ตาม เปูาหมายที่วางเอาไว้ และบริษัทควรจัดทา Job Description ที่ชัดเจนให้พนักงานทราบถึงหน้าที่ที่มีต่อบริษัท อย่างชัดเจน
INDEPENDENT STUDY BA8900
83
Privilege Logistics
บทที่ 4 การวิเคราะห์อาการ ปัญหา และสาเหตุ
INDEPENDENT STUDY BA8900
84
Privilege Logistics
ROA ต่ากว่าคู่แข่ง
Symptom
ความสามารถในการสร้างรายได้จาก Problem
ขาดสภาพคล่ องทางการเงิน Problem
สินทรัพย์รวมต่ากว่าคู่แข่ง
สินทรัพย์รวมสูงกว่า
Current Ratio ต่ากว่าคู่แข่ง
Symptom
รายได้ไม่สูงพอ
Cause 1
บริหารเครดิตลูกค้าไม่ได้ตาม
Cause 1
Cause 1
ลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่ไม่สร้างรายได้ Cause 2
ขาดสภาพคล่องทางการเงิน Symptom
เงินหมุนเวียนในระบบไม่เพียงพอ Problem
การใช้เงินทุนไม่เหมาะสม Cause 1
บริหารเครดิตลูกค้าไม่ได้ตามกาหนด Cause 1
ไม่มีการวางแผนเตรียมเงินลงทุน
การนาส่งเอกสารล่าช้ากว่ากาหนด
Cause 2
Cause 2
Figure 44 การวิเคราะห์อาการ ปัญหา และ สาเหตุ
INDEPENDENT STUDY BA8900
85
Privilege Logistics
จากการตรวจสอบผลประกอบการทางด้านการเงิน ด้านการตลาด ด้านปฏิบัติการ และด้านทรัพยากร บุคคล พบความเชื่อมโยงของอาการ ปัญหา และสาเหตุ ตามแบบแผนภาพข้างต้น ซึ่งอาการที่พบจากการ วิเคราะห์ทางการเงิน คือ ROA และ Current Ratio ที่ต่ากว่าคู่แข่ง และการขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่ง อาการทั้งหมดส่วนใหญ่มาจากผลทางด้านการปฎิบัติการและตลาดเป็นหลักดังนี้ 1. ROA ต่ากว่าคู่แข่ง พิจารณา ROA = (NI/Sale) x (Sale /TA) ดังนั้น ROA จะสูงหรือต่าขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยนี้ ซึ่งกาไรของ บริษัทจากข้อมูลทางการเงินพบว่า % กาไรของบริษัทอยู่ในเกณฑ์ที่ดีกว่าคู่แข่งดังนั้นปัญหาที่ทาให้ ROA ต่าจึง มาจากความสามารถในการสร้างรายได้จากสินทรัพย์รวม ซึ่งบริษัทสามารถสร้างรายได้จากสินทรัพย์รวมที่มีได้ ต่ากว่าคู่แข่งสาเหตุมาจาก 2 ส่วนคือ ยอดขายที่ไม่เหมาะสมกับสินทรัพย์รวมที่มี และการบริหารสินทรัพย์ รวมไม่ดีซึ่งจากการวิเคราะห์สินทรัพย์พบว่าสินทรัพย์รวมแบ่งออกเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน
26.21%
และ
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 73.79% โดยสินทรัพย์หมุนเวียนประกอบด้วย อาคารสานักงาน 35.35% ลูกหนี้ การค้าและอื่นๆ 38.43% ซึ่งจากการพิจารณาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนคืออาคารสานักงานมีสัดส่วนถึง 35.35% ของสินทรัพย์รวม ซึ่งคู่แข่งที่เปรียบเทียบไม่ได้ลงทุนซื้ออาคารสานักงาน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ได้สร้างรายได้ ในอัตราส่วนที่เหมาะสม ดังนั้นการมีสินทรัพย์รวมสูงจึงเป็นสาเหตุส่วนหนึ่ง และการมีรายได้ไม่มากพอก็เป็น อีกสาเหตุหนึ่ง ที่ทาให้เกิดปัญหาความสามารถในการสร้างรายได้ต่า 2. Current Ratio ต่ากว่าคู่แข่ง พิจารณาจาก Current Ratio พบว่าบริษัทมีค่าอัตราส่วนทุนหมุนเวียนที่ต่า 0.41 และต่ากว่าอุตสาหกรรม 1.55 จะพบว่ามีความแตกต่างกันมาก
โดยในสินทรัพย์หมุนเวียนที่ต่ากว่าหนี้สินหมุนเวียน
สินทรัพย์
หมุนเวียนที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดเพื่อมาชาระหนี้ระยะสั้น มีน้อยกว่าหนี้สินระยะสั้น ทาให้เกิดปัญหาการ ขาดสภาพคล่อง
ซึ่งมาจากสาเหตุคือ นาเงินที่เป็นเงินกู้ระยะสั้นไปลงทุนในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่สร้าง
รายได้ตา่ และอีกสาเหตุคือการไม่สามารถบริหารเครดิตของลูกค้าได้ตามระยะเวลาที่กาหนด ทาให้เกิดปัญหา การขาดสภาพคล่อง 3. การขาดสภาพคล่องทางการเงิน จากอาการขาดสภาพคล่องทางการเงิน เกิดจากปัญหาเงินหมุนเวียนในระบบไม่เพียงพอ เนื่องมาจาก สาเหตุที่เกิดจาก การใช้เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงินไปใช้ไม่ถูกประเภท เพราะไม่มีการวางแผนเตรียม INDEPENDENT STUDY BA8900
86
Privilege Logistics
เรื่องเงินลงทุนไว้ล่วงหน้า และมาจากสาเหตุเรื่องการบริหารเครดิตลูกค้าไม่ได้ตามกาหนดเวลา ลูกค้ามีระยะการวางบิลที่ไม่ยืดหยุ่น
เนื่องจาก
หากไม่สามารถนาส่งเอกสารวางบิลได้ตามวันเวลาที่กาหนด
เอกสารที่วางบิลแม้จะส่งได้ตามเวลาที่กาหนดหากเกิดความผิดพลาดของเอกสาร
หรือ
ก็จาเป็นจะต้องเริ่มต้นวาง
บิลลูกค้าใหม่ในรอบถัดไป ทาให้รอบวางบิลเลื่อนไปอีก 1 เดือน ซึ่งอาจจะกินเวลานานถึง 90 วัน ทาให้ รายได้ที่สมควรได้รับภายใน 30-45 วันต้องเลื่อนออกไปอีกสูงสุด 30-45 วันถัดมา
INDEPENDENT STUDY BA8900
87
Privilege Logistics
บทที่ 5 กลุยุทธ์และแนวทางแก้ไขปัญหา
1. สถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในอนาคต 1.1 Industrial Classification and Industrial Growth อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบริหารจัดการโลจิสติกส์มีอยู่อย่างหลากหลาย แต่รัฐบาลมีนโยบายที่ จะลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ซึ่งสูงกว่าประเทศคู่แข่งในอาเซียนคือ สิงคโปร์ และมาเลเซีย เป็น 14 เปอร์เซ็นต์ ของผลิตภัณฑ์มวลรวม เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันแก่ผู้ประกอบการไทยให้สามารถแข่งขันกับ ประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ที่มีประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางอัตราการเติบโตในธุรกิจการบริหารจัดการโลจิสติกส์จะสูงมาก และก็มีผู้เล่นจากต่างประเทศเข้ามา แบ่งส่วนการตลาดตรงนี้เพิ่มขึ้นไปอีกด้วย 1.2 Industrial Structure อุตสาหกรรมด้านธุรกิจการบริหารจัดการโลจิสติกส์เป็น Competitive Market ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ซึ่ง ความแตกต่างระหว่างบริการหลักๆที่เกี่ยวเนื่องแทบจะไม่มี
ผู้ให้บริการที่ต้องการเข้าแข่งขันในตลาดนี้จึงมี
ความพยายามที่จะให้บริการแบบครบวงจร สร้างแบรนด์ และสร้างความแตกต่างด้วยการสร้างมูลค่าเพิ่มของ บริการ ด้วยการให้บริการด้วยผู้เชียวชาญด้านกฎระเบียบของกรมศุลกากรเฉพาะทาง, การสร้างพันธมิตรใน ธุรกิจให้เกิดอานาจต่อรอง, การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า, การนาเทคโนโลยีใหม่ๆของระบบสารสนเทศ เข้ามาอานวยความสะดวกเพื่อเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารและความถูกต้องให้กับลูกค้า และการสร้างความ ภักดีในตัวแบรนด์สินค้าเป็นต้น การแข่งขันจะเกิดขึ้นอย่างรุนแรงทั้งจากผู้ให้บริการในไทยและประเทศเพื่อน บ้านเอง 2. การกาหนดเปูาหมายที่ธุรกิจต้องทาใน 3 ปี 2.1 เปูาหมายของของบริษัทภายใน 3 ปี
INDEPENDENT STUDY BA8900
88
Privilege Logistics
บริษัทต้องเป็นผู้ให้บริการจัดการโลจิสติกส์ที่เน้นให้บริการด้วยวิธีการที่น่าเชื่อถือ ซื่อสัตย์ และด้วยราคาที่ สมเหตุผล ต่อลูกค้ารายตัวโดยมียอดขายเติบโตที่ 100 ล้านบาทภายใน 3 ปี 2.2 วัตถุประสงค์และเปูาหมาย เพิ่มยอดขายให้ได้ 100 ล้านบาทภายใน 3 ปี โดยการเติบโตจะเฉลี่ยปีละ 30% ตารางประมาณการณ์ยอดขาย
2555
2556
2557
2558F
2559F
2560F
งบกาไรขาดทุน
จานวนเงิน
จานวนเงิน
จานวนเงิน
จานวนเงิน
จานวนเงิน
จานวนเงิน
19,293,783.30
33,861,296.48
45,888,555.72
59,655,122.44
17%
76%
36%
30%
รายได้รวม % การเติบโตของยอดขาย
77,551,659.17 100,817,156.92 30%
Figure 45 แสดงตัวเลขประมาณการณ์ยอดขายตามเปูาหมายที่วางไว้ในอีก 3 ปีข้างหน้า เปูาหมายแรกคือการเร่งขยายตลาดทั้งในเมืองไทยและในกลุ่มประเทศอาเซียนผ่านตัวแทนในแต่ละ ประเทศ โดยเฉพาะสินค้าผ่านแดนและถ่ายลา ซึ่งบริษัทมีใบอนุญาตเป็นตัวแทนขนส่งสินค้าแบบถ่ายลา ส่วน ใบอนุญาตขนส่งสินค้าแบบผ่านแดน บริษัทจะใช้ผ่านพันธมิตรของบริษัท เพื่อรองรับการให้บริการลูกค้ากลุ่ม Cross border สาหรับประเทศในกลุ่ม GMS (Great Mekhong Sub-Region) เปูาหมายที่สองคือขยายจานวนตัวแทนในต่างประเทศให้เพิ่มมากขึ้น
โดยคัดกรองเอเย่นต์ที่มี
ความสามารถครอบคลุมพื้นที่ที่มีต้นทุนที่ถูก และการให้บริการที่ดี อย่างน้อยประเทศละ 3-5ราย เพื่อเป็น ตัวเลือกตามจุดแข็งของแต่ละเอเย่นต์ที่มี ซึ่งสามารถทาให้เกิดโอกาสที่จะได้ลูกค้าผ่านเอเย่นต์ตามมาด้วย เปูาหมายที่สามคือการรักษาสัดส่วนตลาดในประเทศโดยให้ยังมีกาไรที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรม โดย สร้างความรับรู้ในแบรนด์สินค้าแก่ลูกค้าเพิ่มมากขึ้น ขยายตลาด กลุ่ม GMS 20%
เพิ่มตัวแทน ใน ต่างประเทศ 5%
สร้าง Brand รักษาตลาด เก่า 5%
Figure 46 แสดงสัดส่วนการวางเปูาหมายเพิ่มยอดขายในปี 2558 - 2560
INDEPENDENT STUDY BA8900
89
30%
Privilege Logistics
2.3 Gap ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานปัจจุบันและอนาคต
Figure 47 แสดง Gap Analysis ของ บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด 3. กลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหา จากเปูาหมายทางธุรกิจและผลวิเคราะห์จะทราบ อาการ ปัญหา และสาเหตุพบว่า ROA ที่ต่ากว่าคู่แข่ง, Current Ratio ที่ต่ากว่าคู่แข่งอยู่มาก, การขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่งมีสาเหตุหลายปัจจัยและได้ นาเสนอวิธีการแก้ไขดังนี้ 3.1 ประเด็นและปัญหาที่ 1 ROA ต่ากว่าคู่แข่ง จากการพิจารณา ROA ของบริษัทที่ต่ากว่าคู่แข่ง 3.1.1 วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม ROA ให้มอี ัตรากาไรสุทธิเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวมให้มีค่าที่สูงกว่าคู่แข่ง ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยต้องสูงกว่าทั้งทางการกาไร และอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม 3.1.2 สาเหตุ
INDEPENDENT STUDY BA8900
90
Privilege Logistics
เนื่องจาก ROA = (NI/Sale) x (Sale /TA) สาเหตุที่เกิดขึ้นคือประสิทธิภาพในการสร้างยอดขายจาก สินทรัพย์รวมที่มีต่า
โดยสินทรัพย์รวมที่เป็นปัญหาคือสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถึง 73.79% ดังนั้นจึงต้องวาง
แผนการบริหารดังนี้ การแก้ไขปัญหาระยะสั้น - เพิ่มยอดขายให้มากขึ้น โดยควรจะคัดเลือกลูกค้าที่มีเครดิตดี ทาให้เกิดการหมุนเวียนของสินทรัพย์ หมุนเวียนสูงกว่าสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน - ไม่นาเงินออกนอกระบบไปใช้ผิดประเภทหรือไปซื้อสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มอีก การแก้ไขปัญหาระยะยาว - เพิ่มยอดขายทั้งในประเทศและต่างประเทศให้มากขึ้นโดยเฉพาะตลาด GMS (Greater Mekong Sub-Region) ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเป็นเส้นทางการขนส่งเข้า สู่ประเทศจีนซึ่งมีขนาดตลาดและกาลังซื้อสูง -
การขยายจานวนตัวแทนในต่างประเทศให้เพิ่มมากขึ้น
โดยคัดกรองเอเย่นต์ที่มีความสามารถ
ครอบคลุมพื้นที่ที่มีต้นทุนที่ถูก และการให้บริการที่ดี อย่างน้อยประเทศละ 3-5ราย เพื่อเป็นตัวเลือก ตามจุดแข็งของแต่ละเอเย่นต์ที่มี ซึ่งสามารถทาให้เกิดโอกาสที่จะได้ลูกค้าผ่านเอเย่นต์ตามมาด้วย - ขยายฐานลูกค้าให้กระจายอยู่ในหลายกลุ่มอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดความเสี่ยงที่ลดลง
โดยปัจจุบัน
บริษัทมักจะขยายฐานลูกค้ากลุ่มเดิม (แนวดิ่ง) เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาดในการดาเนินกิจกรรม ทางโลจิสติกส์ด้านต้นทุน เช่นกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ, Garment & Textile, Oil & Gas Supplier, Chemical Material for Paper Industry, Pharmaceutical Industry, Rubber Product และ กลุ่มผู้ประกอบการซื้อมาขายไปจากต่างประเทศ 3.2 ประเด็นและปัญหาที่ Current Ratio ต่ากว่าคู่แข่ง & การขาดสภาพคล่องทางการเงิน 3.2.1 วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม Current Ratio ให้สูงขึ้นสูงกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 3.2.2 สาเหตุ จาก Current Ratio = Current Asset / Current Liability โดยที่บริษัทมี Current Asset น้อยกว่า Current Liability ทาให้มีสินทรัพย์หมุนเวียนที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดเพื่อชาระ หนี้สินหมุนเวียนระยะสั้นไม่เพียงพอ ดังนั้นจึงต้องวางแผนการบริหารดังนี้ การแก้ไขปัญหาระยะสั้น INDEPENDENT STUDY BA8900
91
Privilege Logistics
-
บริหารเครดิตของลูกค้าให้ดี
โดยยึดตารางเวลาการรับวางบิลของลูกค้าในการดาเนินงาน และ
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่จะต้องนาไปวางบิล เพื่อไม่ให้เสียเวลาในการที่ต้องแก้ไขเอกสาร ใหม่และต้องรอรอบวางบิลใหม่อีก ทาให้สามารถเก็บเงินได้ตามรอบที่กาหนด -
เพิ่มยอดขายให้มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าที่มีเครดิตที่ตรงเวลา การแก้ไขปัญหาระยะยาว
-
เพิ่มยอดขายทั้งในประเทศและต่างประเทศให้มากขึ้นโดยเฉพาะตลาด GMS (Greater Mekong Sub-Region) และการขยายจานวนตัวแทนในต่างประเทศให้เพิ่มมากขึ้น อย่างน้อยประเทศละ 3-5 ราย เพื่อทาให้เกิดโอกาสที่จะได้ลูกค้าผ่านเอเย่นต์ตามมาด้วย
-
วางแผนเรื่องเงินทุนที่จะนามาหมุนเวียนในบริษัทให้เหมาะสม
INDEPENDENT STUDY BA8900
92
Privilege Logistics
บทที่ 6 Proforma Income Statement
ประมาณการรายได้ จาก 3 ส่วน คือ 1. จากการขยายการให้บริการครอบคลุมกลุ่ม GMS (Great Mekhong Sub-Region)/ Cross border จากที่บริษัทได้ขยายบริการมาครอบคลุมกลุ่มลูกค้าที่ต้องการขนส่งสินค้าถ่ายลา/ผ่านแดนในปี 2557 ทา ให้ยอดขายเติบโตขึ้น 36% (เฉลี่ย 10x40’Container ต่อเดือน) จากปี 2556 (Figure 45) คาดการณ์ว่าในปี 2558 จากการที่บริษัทสามารถให้บริการขนส่งสินค้าผ่านแดน/ สินค้าถ่ายลา ผ่านพม่าและลาวสู่ประเทศจีน ตอนใต้ บริษัทตั้งเปูาที่จะสามารถเพิ่มยอดขายจากบริการตรงนี้เพิ่มขึ้น 20% โดยมีโครงสร้างยอดขาย, ต้นทุน และกาไรขั้นต้นดังนี้ โครงสร้างรายได้จากการขนส่งสินค้าถ่ายลา/ผ่านแดนในกลุ่ม GMS
BHT/40' Container
Sales
120,000.00
CGS
90,000.00
Gross Profit 30,000.00 Figure 47 แสดงประมาณการรายได้ที่เกิดจากการให้บริการขนส่งสินค้าผ่านแดน/ถ่ายลาไปจีน เนื่องจากการให้บริการลูกค้ากลุ่มที่ต้องการขนส่งสินค้าผ่านแดน และถ่ายลา ผ่านพม่าและลาวเข้าสู่ ประเทศจีนนั้น เป็นกลุ่มลูกค้าที่มีความเสี่ยงเรื่องเครดิตสูงและได้ประโยชน์จากการได้รับยกเว้นการเสียภาษี หรือเงินค้าประกันจากการใช้บริการจากบริษัทซึ่งมีใบอนุญาติขนส่งสินค้าถ่ายลาอยู่แล้ว (ส่วนใบอนุญาตขนส่ง สินค้าผ่านแดนนั้น บริษัทใช้บริการต่อจากพันธมิตรรายอื่น) ผู้ให้บริการทุกรายจะไม่ให้เครดิตกับลูกค้าในกลุ่ม นี้เลย ทาให้เกิดกระแสเงินสดหมุนเวียนได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย บริษัทประมาณการณ์จานวนตู้คอนเทนเนอร์ที่ให้บริการต่อเดือนโดยเฉลี่ยในปี 2558 คือ 12-15 x 40’ Container 2. การขยายตัวแทนในต่างประเทศเพิ่มให้ได้ประเทศละ 3-5 ราย ต่อ ประเทศ เพื่อเพิ่มช่องทางในการ จัดจาหน่ายผ่านตัวแทน ณ ปัจจุบันบริษัทมีตัวแทนกว่า 100 รายในต่างประเทศ ซึ่งการเพิ่มตัวแทน ให้ได้ประเทศละ 3-5 รายเฉพาะประเทศหลักๆใน 5 ทวีป ตั้งเปูาว่าจะต้องขยายให้ได้จานวนไม่ต่ากว่า INDEPENDENT STUDY BA8900
93
Privilege Logistics
150 ตัวแทนในปี 2558-2559 นี้ ซึ่งคาดว่าจะเพิ่มยอดขายจากการเพิ่มตัวแทนในต่างประเทศไม่ต่า กว่า 5% 3. จากการสร้าง Brand Awareness เพื่อรักษาตลาดเก่า และเพิ่มลูกค้ารายใหม่ จากการที่บริษัทเข้ามาสู่ธุรกิจได้เพียง 5-6 ปีเท่านั้น ทาให้ไม่เป็นที่รู้จักในหมู่ลูกค้า ดังนั้นบริษัทจึงต้อง สร้าง loyalty จากฐานลูกค้ากลุ่มเดิม ผ่านทางทีมขายของบริษัท จากการที่บริษัทได้ใบอนุญาตเป็นตัวแทนขนส่งสินค้าถ่ายลา
ก็ทาให้บริษัทมีรายชื่ออยู่ในลิสต์ตัวแทน
ขนส่งสินค้าถ่ายลากับทางกรมศุลกากร และด่านขนส่งสินค้าถ่ายลา เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ทาให้ลูกค้ารับรู้ถึง บริการและตราสินค้าของบริษัทอีกทางหนึ่ง บริษัทลงโฆษณาในหนังสือ Transport, และเป็นสมาชิกสมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย ซึ่งคาดว่าจะเพิ่ม ยอดขายจากการสร้างตราสินค้ากับกลุ่มลูกค้าเดิมและกลุ่มลูกค้าใหม่ประมาณ 5% ประมาณการเป็น Proforma Income Statement Year Revenue
2555
2556
2557
2558F
2559F
2560F
19,293,783.30
33,861,296.48
45,888,555.72
59,655,122.44
77,551,659.17
100,817,156.92
16.91%
76%
36%
30%
30%
30%
12,392,378.88
25,448,118.84
36,100,767.09
48,736,035.57
65,793,648.02
88,821,424.83
-2%
105%
42%
35%
35%
35%
6,901,404.42
8,413,177.64
9,787,788.63
10,919,086.86
11,758,011.15
11,995,732.09
81%
22%
16%
12%
8%
2%
SG&A
4,781,944.03
4,303,749.63
4,734,124.59
4,734,124.59
4,734,124.59
4,734,124.59
Interest
1,027,957.59
1,027,957.59
1,027,957.59
1,027,957.59
1,027,957.59
1,027,957.59
EBIT
1,091,502.80
3,081,470.42
4,025,706.45
5,157,004.68
5,995,928.97
6,233,649.91
ภาษีเงินได้
177,070.91
212,485.09
254,982.11
305,978.53
367,174.24
440,609.09
กาไร (ขาดทุน) สุทธิ
914,431.89
2,868,985.33
3,770,724.34
4,851,026.15
5,628,754.73
5,793,040.82
Revenue Growth CGS % CGS Gross Profit % Gross Profit
Figure 48 แสดงประมาณการงบกาไรขาดทุนจากปี 2558 - 2560
INDEPENDENT STUDY BA8900
94
Privilege Logistics
เอกสารอ้างอิง กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ www.dbd.go.th สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=118 สมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย http://www.ctat.or.th/Home/30 กรมศุลกากร http://www.customs.go.th/wps/wcm/jsp/home/index.jsp
INDEPENDENT STUDY BA8900
95
Privilege Logistics
ตาราง A1 งบแสดงฐานะทางการเงิน บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
ตาราง A2 งบกาไรขาดทุน บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
INDEPENDENT STUDY BA8900
96
Privilege Logistics
ตาราง A3 อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท พรีวิลเลจ โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
ตาราง B1 งบแสดงฐานะทางการเงิน บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ INDEPENDENT STUDY BA8900
97
Privilege Logistics
ตาราง B2 งบกาไรขาดทุน บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
ตาราง B3 อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท คริสตัล ชิพปิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ INDEPENDENT STUDY BA8900
98
Privilege Logistics
ตาราง C1 งบแสดงฐานะทางการเงิน บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
ตาราง C2 งบกาไรขาดทุน บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
INDEPENDENT STUDY BA8900
99
Privilege Logistics
ตาราง C3 อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท ฟาสท์ โทเทิล โลจิสติกส์ จากัด ข้อมูลปี 2553-2555 ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์
INDEPENDENT STUDY BA8900
100