พลังงานขยะ

Page 1

พลังงานจากขยะ ขยะ (Waste)

หมายถึง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและการอุปโภค

ซึ่งเสื่อมสภาพจนใชการไมไดหรือไมตองการใชแลว จําแนกตามลักษณะของขยะ มี 2 ประเภท คือ

1. ขยะเปยกหรือขยะสด (Garbage) มีความชืน้ ปนอยูมากกวารอยละ 50 จึงติดไฟไดยาก สวนใหญไดแก เศษอาหาร เศษเนื้อ เศษผัก และผักผลไมจากบานเรือน รานจําหนายอาหารและตลาดสด รวมทัง้ ซากพืชและ สัตวที่ยงั ไมเนาเปอย ขยะประเภทนี้จะทําใหเกิดกลิน่ เนาเหม็น เนื่องจากแบคทีเรียยอยสลายอินทรียสาร นอกจากนี้ ยังเปน แหลงเพาะเชือ้ โรคโดยติดไปกับแมลง หนู และสัตวอื่นที่มา ตอมหรือกินเปนอาหาร

( ภาพ : www.thaiscience.com )

ขยะสด จากเศษอาหารและเศษผัก

2. ขยะแหง (Rubbish) เปนสิง่ เหลือใชที่มีความชื้นอยูน อยจึงไมกอใหเกิดกลิ่นเหม็น จําแนกได 2 ชนิด คือ • ขยะที่เปนเชื้อเพลิง เปนพวกที่ติดไฟ ได เชน เศษผา เศษกระดาษ หญา ใบไม กิ่งไมแหง พลาสติก เปนตน • ขยะที่ไมเปนเชื้อเพลิง ไดแก เศษ โลหะ เศษแกว และเศษกอนอิฐ เปนตน

ขยะแหง -1-


ปริมาณขยะในประเทศไทย ประเทศไทยมี ปริ ม าณขยะชุ ม ชนเกิ ดขึ้ น ในป 2548 จํ า นวน 14.3 ล า นตัน หรื อวั น ละ 38,221 ตัน แยกออกเปนพื้นที่ได ดังนี้ พื้นที่

ปริมาณขยะ (ตัน/วัน)

รอยละ

8,291

21

เขตเทศบาลและเมืองพัทยา

12,635

32

นอกเขตเทศบาล ในเขตองคการบริหารสวนตําบล รวมทั้งประเทศ

18,295

47

38,221

100

กรุงเทพมหานคร

*ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)

จากขอมูลของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พบวา ที่ผานมามีการ ลงทุนกอสรางระบบกําจัดขยะเปนเงิน 22,000 ลานบาท หากไมมีการนําขยะไปใชประโยชนใน สัดสวนที่มากขึ้น ในป 2558 จะมีปริมาณขยะตอวันถึง 49,680 ตัน หรือ 17.8 ลานตันตอป จึงมี หนวยงานที่เกี่ยวของจํานวนมากไดออกมาใชความพยายามจัดการกับปญหาขยะที่นับวันจะเพิ่ม มากขึ้น ตั้งแตการรณรงคลดปริมาณขยะ การแยกขยะ การรีไซเคิล รวมถึงมีการคิดคนเทคโนโลยี ในการแปรรูปขยะเปนพลังงาน

การเก็บขยะชุมชน

การแยกขยะโดยผูทิ้ง ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะ

( ภาพ : www.thaienvimonitor.net )

( ภาพ : www.ktc.co.th)

-2-


เทคโนโลยีการจัดการและกําจัดขยะ ในประเทศไทยมีเทคโนโลยีการจัดการและกําจัดขยะมูลฝอยใหเลือกหลายแบบ โดย เทคโนโลยีกําจัดขยะที่สามารถแปลงขยะเปนพลังงาน และใชผลิตกระแสไฟฟา มีดังนี้

1) เทคโนโลยีการฝงกลบ และระบบผลิตกาชชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะ (Landfill Gas to Energy) • ขยะที่ถูกฝงในหลุมฝงกลบจะเกิดการยอยสลายดวยจุลินทรียซึ่งมีทั้งที่ใชออกซิเจน และไมใชออกซิเจนในการทําปฏิกิริยา ทําใหเกิดกาชชีวภาพ ซึ่งมีกาชมีเทน (CH4) เปนองคประกอบหลัก • ต อ งเก็ บ รวบรวมก า ชชี ว ภาพจากหลุ ม ฝ ง กลบขยะมู ล ฝอยเพื่ อ นํ า มาเปลี่ ย นเป น พลังงาน • เทคโนโลยีนี้ไดรับความนิยม เนื่องจากสามารถใชประโยชนจากกาชชีวภาพจากการ ฝงกลบขยะไดหลากหลาย เชน การนําไปผลิตกระแสไฟฟา ใชเปนเชื้อเพลิงโดยตรง ทดแทนกาชธรรมชาติ ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับหมอไอน้ําในงานอุตสาหกรรม ใชเปน เชื้อเพลิงสําหรับยานพาหนะ โดยผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพกาชและทําให เปนของเหลว เปนตน • เทคโนโลยีนี้ มี ขอดี คื อ คา ใชจ า ยถูก ที่ สุดเมื่ อเทีย บกับ เทคโนโลยีอื่น และไดกา ซ ชีวภาพเปนผลพลอยได สวนขอเสีย คือ หาแหลงสถานที่ฝงกลบยาก เนื่องจากการ ตอตานของชุมชนที่อยูใกลเคียง

บอฝงกลบขยะที่มีการปูพลาสติกรองกนบอ และบดอัดขยะแตละชั้น

-3-


2) เทคโนโลยีเตาเผาขยะ ( Incineration) • เปนการเผาขยะในเตาที่มีการออกแบบเปน พิ เ ศษให ใ ช กั บ ขยะที่ มี ค วามชื้ น สู ง และมี ค า ความรอนที่แปรผันได • การเผาไหม จ ะต อ งมี ก ารควบคุ ม ที่ ดี เพื่ อ ป อ ง กั น ไ ม ใ ห เ กิ ด ม ล พิ ษ แ ล ะ ร บ ก ว น สิ่งแวดลอม เชน กาชพิษ เขมา กลิ่น เปนตน • สิ่งที่ไดจากขยะ ไดแก - พลังงานความรอน : นํามาใชในการ เตาเผาขยะเปยกชื้น ผลิตไอน้ําหรือทําน้ํารอนและผลิตกระแสไฟฟา ( ภาพ : www.inthanon2007.com) - กาช : นําไปกําจัดเขมา กอนสงสูบรรยากาศ - ขี้เถา : นําไปฝงกลบหรือใชเปนวัสดุปูพื้นสําหรับสรางถนน - ขี้เถาที่มีสวนประกอบของโลหะ : อาจถูกนํากลับมาใชใหม • เทคโนโลยีนี้มีขอดี คือ เหมาะกับสถานที่ที่มีพื้นที่จํากัด สวนขอเสีย คือ เงินลงทุนและ คาใชจายการดําเนินงานคอนขางสูง

เตาเผาขยะอุตสาหกรรม ที่ศูนยบริหารจัดการวัสดุ เหลือใชอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมบางปู ( ภาพ : www.atom.rmutphysics.com)

-4-


3) เทคโนโลยีการผลิตกาชเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน (Municipal Solid Waste Gasification: MSW Gasification ) • เป น กระบวนการทํ า ให ข ยะเป น ก า ชโดยการทํ า ปฏิ กิ ริ ย าสั น ดาปแบบไม ส มบู ร ณ (Partial Combustion) โดยสารอินทรียในขยะจะทําปฏิกิริยากับอากาศหรือออกซิเจน ปริมาณจํากัด ทําใหเกิดกาชคารบอนมอนออกไซด ไฮโดรเจน และกาชเชื้อเพลิง ซึ่ง นําไปผลิตไฟฟาหรือใหความรอนโดยตรงตอไป • ขอดีของเทคโนโลยีนี้ คือ การเผาในแกสซิไฟเออรจะมีมลพิษนอยกวาการเผาแบบ ทั่วไป สวนขอเสีย คือ มีขั้นตอนการทํางานคอนขางมาก เงินลงทุนคอนขางสูง ระบบ ยังไมคอยแพรหลาย

เครื่องผลิตกาชเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน (Municipal Solid Waste Gasification: MSW Gasification) ( ภาพ : www.heatxfer.com)

4) เทคโนโลยียอยสลายแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Digestion) • เปนการนําขยะประเภทเศษอาหาร เศษผัก และผลไมไปหมักในบอหมักขยะแบบปด ซึ่งอาจมีรูปแบบถังหมักขยะตางๆ โดยจะตองคัดแยกขยะใชเฉพาะขยะอินทรีย • ผลการยอยสลายดวยจุลินทรียแบบไมใชออกซิเจนจะทําใหสารอินทรียยอยสลาย เปลี่ยนเปนกาชชีวภาพ โดยมีกาชมีเทน(CH4) เปนองคประกอบหลัก และสามารถใช เปนเชื้อเพลิงผลิตพลังงานได • ขอดีของเทคโนโลยีนี้ คือ เหมาะกับขยะที่มีอัตราสวน สารอิ น ทรี ย สู ง และกากที่ เ หลื อ ในการย อ ยสลาย สามารถใชประโยชนเป นปุยหรือวัสดุปรั บปรุงดินได สวนขอเสีย คือ ไมสามารถใชประโยชนจากขยะพวก เศษไม หรือขยะพลาสติกได ตองนํามาฝงกลบแทน

ถังหมักแบบ Anaerobic Digestion ( ภาพ : www.biomatnet.org)

-5-


5) เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) • นําขยะมูลฝอยมาผานกระบวนการคัดแยกวัสดุที่เผาไหมไดออกเปน การฉีกหรือตัด ขยะมูลฝอยออกเปนชิ้นเล็ก ๆ ผานกระบวนการจัดการ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทาง กายภาพและทางเคมี ทํ า ให เ ป น เชื้ อ เพลิ ง ขยะและสามารถนํ า ไปใช ใ นการผลิ ต พลังงานได • ขยะที่ผานกระบวนการเหลานี้จะไดคาความรอนสูง มีคุณสมบัติเปนเชื้อเพลิงที่ดีกวา การนําขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาใชโดยตรง เนื่องจากมีองคประกอบทางเคมีและ กายภาพสม่ําเสมอกวา • เทคโนโลยีนี้มีขอดี คือ สามารถกําจัดขยะไดหลายประเภท และปลอดเชื้อโรค สวน ขอเสียคือ เงินลงทุนสูง และตองหาผูรับซื้อเชื้อเพลิงขยะไปเผาในอุปกรณเผาไหมที่ เหมาะสม

ขยะที่ผานกระบวนการจัดการเพื่อ เตรียมผลิตเปนเชื้อเพลิงขยะ (RDF)

เชื้อเพลิงขยะ (RDF) (ภาพ : www.witholdings.com)

(ภาพ : www.edie.net)

6) เทคโนโลยีพลาสมาอารก (Plasma Arc) • เปนการใชกาชรอนซึ่งมีอุณหภูมิสูงกวา 3,000 องศาเซลเซียส ทําใหขยะเกิดการ หลอมละลาย • สารอนินทรียในขยะจะกลายเปนเศษแกว สวนสารอินทรียและไฮโดรคารบอน เชน พลาสติกหรือยา จะกลายเปนกาช

-6-


• ขอดีของเทคโนโลยีนี้ คือ ความรอนที่มีอุณหภูมิสูงมาก สามารถใชในการเผาทําลาย ขยะมูลฝอยไดอยางมีประสิทธิภาพ แตมีขอเสียคือ ใชเงินลงทุนสูง และยังอยูในขั้น ของการพัฒนา

แบบจําลองเทคโนโลยีพลาสมาอารก (Plasma Arc) ( ภาพ : www.platinumrecoveries.com)

7) เทคโนโลยีการแปรรูปขยะเปนน้ํามันเชื้อเพลิง • เป น การเปลี่ ย นขยะประเภทพลาสติ ก ให เ ป น น้ํ า มั น โดยวิ ธี ก ารเผาในเตาแบบ ไพโรไลซิส (Pyrolysis) ดวยการควบคุมอุณหภูมิและความดัน และใชตัวเรงปฏิกิริยา (Catalyst) ที่ เหมาะสมทํ าให เ กิ ด กา รสลา ยตั ว ของโครงสร า งพลาสติ ก (Depolymerization) • ไดผลิตภัณฑเชื้อเพลิงเปนของเหลว สามารถนําไปผานกระบวนการกลั่นเพื่อใชเปน เชื้อเพลิงเหลวในเชิงพาณิชยได

เตาเผาแบบไพโรไลซิส (Pyrolysis) ทําการเปลี่ยนขยะประเภทพลาสติก ใหเปนน้ํามัน ( ภาพ : www.jnybhy.com)

-7-


ศักยภาพการผลิตไฟฟาจากขยะในประเทศไทย ณ ตนป 2551ประเทศไทย มีโรงไฟฟาขยะกอสรางแลวเสร็จและผานการทดสอบระบบ แลว 3 โรง กําลังผลิตรวม 4.125 เมกะวัตต ไดแก โรงไฟฟาเตาเผาขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองภูเก็ต กํ า ลั ง การผลิ ต จํ า นวน 2.5 เมกะวั ต ต โรงไฟฟ า หลุ ม ฝ ง กลบขยะ ราชาเทวะ จั ง หวั ด สมุทรปราการ กําลังการผลิต จํานวน 1 เมกะวัตตและโรงงานผลิตปุยอินทรียและพลังงาน จังหวัดระยอง กําลังการผลิต จํานวน 625 กิโลวัตต สวนโรงไฟฟาขยะ ที่อยูระหวางการทดสอบระบบ 3 แหง ไดแกโครงการกําจัดขยะ เกาะชาง จ.ตราด กําลังการผลิต จํานวน 70 กิโลวัตต โรงไฟฟาหลุมฝงกลบขยะกําแพงแสน จ.นครปฐม กําลังการผลิต จํานวน 870 กิโลวัตต และศูนยกาํ จัดขยะมูลฝอยรวม จ.ชลบุรี มีกาํ ลัง การผลิต จํานวน 950 กิโลวัตต จากการสํารวจของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ในการศึกษา ขยะชุมชนตางๆ ที่มีปริมาณขยะ 50 – 100 ตันตอวัน และมากกวา 100 ตันตอวันทั่วประเทศ พบวามี 30 แหงที่มีศักยภาพจะนํามาผลิตเปนพลังงานไดเพิ่มเติม

( ภาพ : www.nsm.go.th)

( ภาพ : www.businessthai.co.th)

( ภาพ : www.siamsafety.com)

-8-


แหลงขยะทีม่ ีศักยภาพ ปริมาณขยะ > 100 ตันตอวัน จํานวน 26 แหง ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 ที่มา:

เทศบาล เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครเชียงใหม เทศบาลนครปากเกร็ด เมืองพัทยา เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลเมืองออมนอย เทศบาลนครขอนแกน เทศบาลนครนครปฐม เทศบาลเมืองรังสิต เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองภูเก็ต เทศบาลนครนครศรีธรรมราช เทศบาลเมืองสระบุรี เทศบาลตําบลบางปู เทศบาลนครหาดใหญ เทศบาลเมืองสุราษฏรธานี เทศบาลนครนครสวรรค เทศบาลตําบลบางเมือง เทศบาลตําบลแหลมฉบัง เทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลตําบลสําโรงใต เทศบาลนครลําปาง เทศบาลเมืองลัดหลวง เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา

อําเภอ เมือง เมือง ปากเกร็ด บางละมุง เมือง กระทุมแบน เมือง เมือง ธัญบุรี เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง หาดใหญ เมือง เมือง เมือง ศรีราชา ศรีราชา เมือง เมือง พระประแดง เมือง พระประแดง พระนครศรีอยุธยา

จังหวัด นนทบุรี เชียงใหม นนทบุรี ชลบุรี นครราชสีมา สมุทรสาคร ขอนแกน นครปฐม ปทุมธานี อุดรธานี ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สระบุรี สมุทรปราการ สงขลา สุราษฏรธานี นครสวรรค สมุทรปราการ ชลบุรี ชลบุรี พิษณุโลก สมุทรปราการ สมุทรปราการ ลําปาง สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา

ปริมาณขยะ (ตัน/วัน) 322.22 265.00 224.23 210.26 204.44 166.09 156.25 150.00 149.74 145.00 143.75 142.15 140.46 138.00 136.29 126.32 112.50 112.00 111.11 110.97 107.50 106.73 105.00 104.00 101.00 100.00

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) โครงการศึกษาและสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟา/ความรอนจากขยะชุมชน 2547

-9-


แหลงขยะทีม่ ีศักยภาพ ปริมาณขยะ 50 – 100 ตันตอวัน จํานวน 36 แหง ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

เทศบาล เทศบาลนครระยอง เทศบาลตําบลดานสําโรง เทศบาลสมุทรสาคร เทศบาลนครสงขลา เทศบาลตําบลบานโขลง เทศบาลเมืองชลบุรี เทศบาลนครยะลา เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลเมืองคูคต เทศบาลเมืองแมสอด เทศบาลเมืองราชบุรี เทศบาลนครอุบลราชธานี เทศบาลเมืองปาตอง เทศบาลนครตรัง เทศบาลตําบลสําโรงเหนือ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลเมืองลพบุรี เทศบาลเมืองบางกรวย เทศบาลตําบลคลองหลวง เทศบาลเมืองจันทบุรี เทศบาลตําบลบางเสาธง เทศบาลตําบลเกาะสมุย เทศบาลเมืองหัวหิน เทศบาลเมืองบางบัวทอง เทศบาลเมืองแสนสุข เทศบาลเมืองสิงหบุรี เทศบาลเมืองทาโขลง เทศบาลเมืองปทุมธานี

อําเภอ เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง ลําลูกกา แมสอด เมือง เมือง กะทู เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง บางกรวย คลองหลวง เมือง กิ่งอําเภอบางเสาธง เกาะสมุย หัวหิน บางบัวทอง เมือง เมือง คลองหลวง เมือง

จังหวัด ระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร สงขลา ชลบุรี ชลบุรี ยะลา เชียงราย ปทุมธานี ตาก ราชบุรี อุบลราชธานี ภูเก็ต ตรัง สมุทรปราการ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง ลพบุรี นนทบุรี ปทุมธานี จันทบุรี สมุทรปราการ สุราษฏรธานี ประจวบคีรีขันธ นนทบุรี ชลบุรี สิงหบุรี ปทุมธานี ปทุมธานี

ปริมาณขยะ (ตัน/วัน) 91.25 90.00 88.89 88.15 81.25 80.10 80.00 78.50 78.45 76.25 74.80 72.00 68.75 68.75 68.00 67.50 66.71 66.67 65.00 62.69 61.35 61.25 60.00 59.98 57.75 56.25 55.56 53.35 53.33 53.00

- 10 -


ลําดับ 31 32 33 34 35 36 ที่มา:

เทศบาล เทศบาลเมืองเลย เทศบาลเมืองกําแพงเพชร เทศบาลเมืองบานบึง เทศบาลเมืองชุมพร เทศบาลเมืองสุไหงโกลก เทศบาลเมืองทุงสง

อําเภอ เมือง เมือง บานบึง เมือง สุไหงโกลก ทุงสง

จังหวัด เลย กําแพงเพชร ชลบุรี ชุมพร นราธิวาส นครศรีธรรมราช

ปริมาณขยะ (ตัน/วัน) 52.50 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) โครงการศึกษาและสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟา/ความรอนจากขยะชุมชน 2547

การจัดเก็บขยะชุมชนในพื้นที่ตางๆ ( ภาพ : www.energyfantasia.com)

การแยกสิ่งที่ยังใชประโยขนไดจากขยะชุมชนไปขาย ( ภาพ : media.thaigov.go.th และ www.siamsafety.com)

- 11 -


การสนับสนุนจากภาครัฐ ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป ไดกําหนดเปาหมายการใช พลังงานทดแทน 8% ของการใชพลังงานขั้นสุดทายของประเทศ ภายในป 2554 โดยมีเปาหมาย ผลิตไฟฟาจากขยะ 100 MW กระทรวงพลังงานออกมาตรการจูงใจเอกชนใหผลิตไฟฟาขยะ ไดรับการกําหนดสวนเพิ่ม ราคารับซื้อไฟฟา จากพลังงานขยะ 2.50 บาทตอหนวย และหากเปนโครงการใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต ไดรับอัตราสวนเพิ่มพิเศษอีก 1 บาทตอหนวย เปนระยะเวลา 7 ป สถานภาพการรับซื้อไฟฟาจาก SPP และ VSPP ที่ผลิตไฟฟาจากขยะ (ณ เดือนตุลาคม 2551) ยื่นขอเสนอขายไฟฟาแลว ไดรับการตอบรับซื้อแลว ประเภทเชื้อเพลิง/ เทคโนโลยี SPP

ขายไฟฟาเขาระบบ

จํานวน (ราย) 1

ปริมาณพลังไฟฟา เสนอขาย (MW) 1.00

จํานวน (ราย) 1

ปริมาณพลังไฟฟา เสนอขาย (MW) 1.00

1

1.00

1

1.00

20

99.16

16

84.76

2

1.60

− หลุมฝงกลบ (Biogas)

8

18.06

5

9.06

2

1.60

− เผา (Steam turbine) รวมทั้งสิ้น

12

81.10

11

75.70

0

-

21

100.16

17

85.76

3

2.60

− หลุมฝงกลบ (Biogas) VSPP

จํานวน (ราย) 1

ปริมาณพลังไฟฟา เสนอขาย (MW) 1.00 1.00

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) สงเสริมเทศบาลตาง ๆ ในการ พัฒนาระบบผลิตกาชชีวภาพจากขยะ เริม่ ตนใน 5 พื้นที่ ไดแก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร อําเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ อําเภอทุง สง จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังจัดทําโครงการพัฒนา รวมถึงสาธิตถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียขนาดเล็ก ในชุมชนตางๆ เพื่อผลิตเปนกาซหุงตมใชประกอบอาหาร โดยชวงแรกกระทรวงพลังงานจะใหการ สนับสนุนเงินลงทุนทัง้ หมดแกเทศบาลทีม่ ีศักยภาพ - 12 -


ขอดี – ขอจํากัดของการผลิตไฟฟาจากขยะ ขอดี • • • •

เปนแหลงพลังงานราคาถูก ลดปญหาเรื่องการกําจัดขยะ โรงไฟฟาขยะจากการฝงกลบชวยลดภาวะโลกรอน ภาครัฐใหการสนับสนุนการผลิตไฟฟาจากขยะแกผูผลิตไฟฟารายเล็ก/รายเล็ก มาก โดยกํ า หนดอั ต ราสว นเพิ่มการรับซื้ อไฟฟา ที่ผลิตจากขยะ 2.50 บาทต อ หนวย หากเปนโครงการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ใหอัตราเพิ่มพิเศษอีก 1 บาทตอหนวย เปน 3.50 บาทตอหนวย ระยะเวลา 7 ป ขอจํากัด • เทคโนโลยีบางชนิดใชเงินลงทุนสูง ถาขนาดเล็กเกินไปจะไมคุมการลงทุน • มีคาใชจายในการจัดการขยะใหเหมาะสมกอนนําไปแปรรูปเปนพลังงาน • ตองมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการกับฝุนควันและสารที่เกิดขึ้นจากการเผา ขยะ ตัวอยางเชน ฝุนควันที่เกิดจากโรงไฟฟาเชื้อเพลิงขยะอาจมีโลหะหนัก เชน ตะกั่วหรือแคดเมี่ยมปนอยู หรือการเผาขยะอาจทําใหเกิดไดออกซิน ซึ่งเปนสาร กอมะเร็ง • โรงไฟฟาขยะมักไดรับการตอตานจากชุมชนที่อยูใกลเคียง • ขอจํากัดทางดานการเปนเจาของขยะ เชน ผูลงทุนตั้งโรงไฟฟาอาจไมใชเจาของ ขยะ (เทศบาล) ทําใหกระบวนการเจรจาแบงสรรผลประโยชนมีความลาชา

โรงไฟฟาขยะ

การฝงกลบขยะชุมชน

( ภาพ : www.school.net)

( ภาพ : www.rmutphysics.com)

- 13 -


ตัวอยางการแปรรูปขยะเปนพลังงานในประเทศไทย • โรงงานผลิตปุยอินทรียและพลังงาน เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง - เปนโครงการที่สนับสนุนจากหลายภาคสวน โดยเฉพาะจากกองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงานการอนุรักษพลังงาน จัดสรรงบ 142 ลานบาทใหเทศบาลนคร ระยองในโครงการนํารองผลิตไฟฟาจากขยะ และเปนโครงการตนแบบในการ จัดตั้งศูนยแปรรูปขยะเพื่อผลิตกาชชีวภาพ เพื่อใชผลิตกระแสไฟฟา รองรับขยะ อินทรียวันละ 20 ตันและขยะมูลฝอยทั่วไปที่ผานการรีไซเคิลและขยะพิษวันละ 50 ตัน - ใชเทคโนโลยีระบบยอยสลายแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ซึ่ง เปนกระบวนการยอยสลายทางชีวภาพที่ยอยเศษอาหารโดยมีน้ําเปนตัวกลาง - มีกําลังผลิตติดตั้งทั้งสิ้น 1 เมกะวัตต สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดไมนอยกวาป ละ 5.1 ลานหนวยและผลิตไฟฟาขายเขาระบบไดประมาณปละ 3.8 ลานหนวย หรือประมาณ 5.8 ลานบาทตอป - ผลิตปุยอินทรีย 5,562 ตันตอป หรือ คิดเปนเงินประมาณ 5.6 ลานบาทตอป - ไดรับรางวัลชนะเลิศดานการพัฒนาพลังงานทดแทนยอดเยี่ยมประเภทโครงการ โรงไฟฟาความรอนรวมจากชีวมวล ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และ อนุรักษ พลังงานพลังงาน (พพ) กระทรวงพลังงาน ในการประกวด Thailand Energy Awards 2006

ถังยอยสลายแบบไมใชออกซิเจน และถังเก็บกาซชีวภาพ โครงการผลิตปุยอินทรียและพลังงาน เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง ( ภาพ : www.dede.go.th )

- 14 -


• โรงไฟฟาเตาเผาขยะมูลฝอยเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต - กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย เปนผูดําเนินโครงการ - ปริมาณขยะทีร่ ะบบสามารถรับได 250 ตันตอวัน - ผลิตกระแสไฟฟาที่กําลังผลิตติดตั้ง 2.5 MW ปจจุบันผลิตไฟฟาในโครงการและ จําหนายไฟใหการไฟฟาดวย - ใชเทคโนโลยีเตาเผาชนิดตะกรับแบบเผาไหมตอเนื่อง (Moving Grate Stoker Incinerator)

ถังยอยสลายแบบไมใชออกซิเจน และถังเก็บกาซชีวภาพโครงการ ผลิตปุยอินทรียและพลังงานจังหวัดระยอง เทศบาลนครระยอง ( ภาพ : www.sema.go.th )

โรงไฟฟาขยะเทศบาลนครภูเก็ต ( ภาพ : www.energyfantasia.com)

โรงไฟฟาขยะเทศบาลนครภูเก็ต

เตาเผาขยะเทศบาลนครภูเก็ต

( ภาพ : www.oknation.net)

( ภาพ : www.oknation.net)

- 15 -


• โครงการปรั บ ปรุ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพสํ า หรั บ ผลิ ตไฟฟา จากขยะ จั ง หวั ด นครปฐม - คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนผูดําเนินโครงการ ที่แหลง ฝงกลบขยะกําแพงแสน จ.นครปฐม - ปริมาณขยะที่เขาแหลงฝงกลบ 6,000 ตันตอวัน - ผลิตกระแสไฟฟาที่กําลังผลิตกระแสไฟฟาที่กําลังผลิตติดตั้ง 870 kW - อยูระหวางดําเนินการทดลองเก็บกาชชีวภาพ • โครงการกอสรางศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวม จังหวัดชลบุรี - องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เปนผูดําเนินการ - ใช เ ทคโนโลยี ร ะบบผสมผสานจากเยอรมนี ซึ่ ง ประกอบด ว ยระบบปุ ย หมั ก (Compost) ระบบย อ ยสลายแบบไร อ อกซิ เ จน ผลิ ต ก า ชชี ว ภาพเพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟา เตาเผาขยะติดเชื้อ และระบบฝงกลบ - ปริมาณขยะที่รับได 330 ตันตอวัน ผลิตไฟฟาที่กําลังผลิตติดตั้ง 1 MW

ถังหมักขยะผลิตกาซชีวภาพ เทศบาลศูนยกําจัดมูลฝอยรวม จ.ชลบุรี

• โครงการเปลี่ยนขยะเปนพลังงาน จังหวัดเชียงใหม - เทศบาลนครเชียงใหม รวมกับบริษัท เชปโก จํากัด เปนผูดําเนินการ - ปริมาณขยะที่รบั ได 430 ตันตอวัน มีกําลังผลิตติดตั้ง 10 MW - ใช ร ะบบกํ า จั ด และจั ด การขยะโดยไม ต อ งมี ก ารแยกขยะ ขยะถู ก แปรรู ป เป น เชื้อเพลิง RDF (Refuse Derived Fuel) สามารถนําไปเปนเชื้อเพลิงในการผลิต ปูนซีเมนตและผลิตไฟฟาได

- 16 -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.