N01

Page 1

Magazine Design with

Interactive D-Publishing e-Publishing

InDesign

CC

ณัฐณรงค์ วิทยธาดา

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม Adobe InDesign Creative Cloud 2017


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม

InDesignCC InDesignCC Digital Publishing

Adobe InDesign Creative Cloud 2017

ePubs

Suite PDF

Indesign

Publishing

Interative

In

s e D azi

Mag

Magazine

Design

HTML

Hyperlinks

Alternate Layouts

DigitalPublishing

InDesign DPS

ณัฐณรงค์ วิทยธาดา Nathnarong.v@psu.ac.th นักวิชาการศึกษา สำ�นักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Thailand, 2017

ne D

C C n ig

n esig

with

7 201 ์ C C ฑ sign ลิ ต ภั ณ ็ น e D n ผ ป I รม d เ be Ado ุ ด โ ป ร แ ก e C l o u อ ก แ บ บ ารอ ativ ในช ์ ที่ มี ห นึ่ ง b e C r e ้ สำ � ห รั บ ก สิ่ ง พิ ม พ ิยม A d o ก ร ม ที่ ใ ช ผ ลิ ต สื่ อ ับความน C C ้ร ์ โ ป ร แ ง ส ร ร ค ูง และได D e s i g n น้ า ส า ส ร้ ิทธิภาพ o b e I n ะ ก อ บ ห พับ ประส ที่ สุ ด A d อ ง ค์ ป ร าร แผ่น ine, ม า ก ก า ร จั ด าร นิตยส Magaz ีย... ใ ช้ ใ น ือ วารส ractive ม์ ัลติมีเด หนังส พ์ Inte g สิ่งพิมพ ิม สิ่งพ ublishin E-P


CONTEN

การกำ�เนิดภาษาโพสต์สคริปต์ (PostScript) ของอะโดบีซิสเต็มส์ (Adobe Systems) และการที่แอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) นำ� เครื่องพิมพ์ LaserWriter พร้อมโปรแกรมสำ�เร็จรูปมาใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop publishing) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 ถือ เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาโปรแกรมการออกแบบสิ่งพิมพ์ในปัจจุบัน โปรแกรมที่ใช้ในจัดหน้าหนังสือ หรือโปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ในอดีต มีชื่อเรียกว่า อัลดัส เพจเมกเกอร์ (Aldus PageMaker) พัฒนาโดยบริษัท Aldus Corporation เป็นโปรแกรมที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ Macintosh และระบบปฏิบัติการ Windows 3.1 ต่อมาระบบปฏิบัติการ Windows ได้ปรับปรุงหลายครั้ง มีชื่อเรียก ต่างกันไป เช่น Windows ME , Windows XP, Windows 98 อะโดบี ได้พฒ ั นาโปรแกรม Aldus PageMaker เพือ่ ใช้กบ ั ระบบระบบปฏิบต ั กิ ารดังกล่าว เรียกว่า Adobe PageMaker Version 7.0 และใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ Macintosh ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Mac OS 9.2 ด้วยเช่นกัน การสิ้นสุดของโปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ Adobe PageMaker เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ Macintosh จาก Mac OS Version 9.2 เป็นระบบปฏิบัติการ OS X (10.0) อะโดบี ได้พัฒนาโปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ขึ้นมาใหม่ เรียกว่า Adobe InDesign CS (Creative Suite ) เพื่อใช้กับระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Macintosh และ PC ได้พัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง จนถึงปี พ.ศ. 2558 ได้มีการปรับเปลี่ยน Adobe InDesign CS (Creative Suite ) จากเดิมมาเป็น Adobe InDesign CC (Creative Cloud) เรียกว่า Adobe InDesign CC 2014 , CC 2015 จนถึงปัจจุบันคือ Adobe InDesign CC 2017

01 CHAPTER

Paper : ขนาดกระดาษ ......................2 Document : ไฟล์เอกสาร................... 5 Interface of Adobe InDesignCC ........................ 7 Page : พื้นที่การทำ�งาน ..................... 8

Type

Type : รูปแบบตัวพิมพ์ ................... 10 รูปแบบอักษรไทย ............................... 11 Type Tool : การพิมพ์ตัวอักษร .......13 Place : การนำ�เข้าอักษร ..................15 Adobe Acrobat Pro DC...............16

InDesign

Adobe InDesign Creative Cloud 2017

Ducument

Magazine Design with

DISCOVER

InDesignCC

03 CHAPTER

02 CHAPTER

Image Image:ภาพในการออกแบบสิ่งพิมพ์.18 Image &ภาพPlace ประเภทของไฟล์ ............................18 Bridge CC ........................................ 19 Lightroom CC ................................. 19 Photoshop CC .............................. 22

Color Color : สี​ีในการออกแบบสิ่งพิมพ์... 28 ระบบสี : Color Mode .................... 29 CMY Color Chart ........................ 30 สี​ีในโปรแกรม InDesignCC............. 32 Swatches ....................................... 33 การใช้สีกับอักษร-รูปร่าง .................34

04 CHAPTER


MultiMedia

MultiMedia......................................00 Adobe After Effects CC............00 adobe premiere pro CC.............00

Buttons........................................... 00 HyperLinks.................................... 00 interactive Object States ............................. 00 Page Transition........................... 00 Pdf Interactive.............................. 00 swf shockwave flash................ 00

interactive

08 CHAPTER

ct io n

TE R

Magazine Design with

InDesign

Interactive

CH AP

CHAPTER

CHAPTER

01

07

06

du

Print : การเตรียมการพิมพ์ ........ 00 การตั้งค่าเพื่อการพิมพ์ ................ 00 Export : ไฟล์ Pdf ...................... 00

tro

Print & Export

In

CHAPTER

Pa

CONTEN

05

Design : การออกแบบสิ่งพิมพ์ .... 36 โปรแกรมที ใ ่ ช้ ส ำ �หรั บ การออกแบบ ช้สำ�หรับการ Layout : องค์ประกอบสิ่งพิมพ์ ... 39 การออกแบบปก .............................. 41 ขั้นตอนการออกแบบปก ................. 42 คอลัมน์ ............................................ 45 ตัวอักษรเจาะรูปภาพ....................... 00

In Do pe D In cu r : e Ad terf me ขน sig Pa ob ac nt าดก ge e e o : ไฟ ระ n ด I C ล์เอ าษ : พ nD f C กส 2 ื้นท esi าร ี่กา gn C รท C 5 ำ�ง าน 7 8

Design


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Paper ขนาดกระดาษ

ก ร ะ ด า ษ ที่ ใ ช้ ใ น ผ ลิ ต สิ่ ง พิ ม พ์ เป็ น ไปตามมาตรฐานสากล ISO 216 จุดเด่นของมาตรฐานนีค ้ อื เมือ่ นำ�กระดาษทีม่ ี ขนาดตามที่กำ�หนดไว้มาพับครึ่ง ขนาดของ 22 กระดาษที่พับแล้วยังคงมีสัดส่วน (อัตราส่วน ของด้ า นสู ง กั บ ด้ า นกว้ า ง) เดี ย วกั บ ขนาด ก่อนพับ และหากพับครึ่งไปอีก ขนาดใหม่ก็ ยังคงมีสด ั ส่วนเดียวกันหมด ประโยชน์ทไี่ ด้คอื เมื่ อ นำ � กระดาษไปตั ด แบ่ ง ไปใช้ ง านตาม มาตรฐานนี้ จะไม่เกิดการเสียเศษ หากมีงาน ที่ ต้ อ ง ก า ร ย่ อ ส่ ว น เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล ต า ม ที่ หลักการที่กำ�หนด ได้มีการคำ�นวณและพบ ว่า อัตราส่วนความสูง หารด้วยความกว้าง จะเท่ากับสแควร์รูทของสอง (1.4142)

17

มาตรฐานรหัสชุด A ขนาดกระดาษชุด A เป็นมาตรฐาน ในระบบ ISO ซึ่งเป็นระบบเมตริก จะกำ�หนด รหัส A0 ให้มีขนาดพื้นที่เท่ากับ 1 ตาราง เมตร จากการคำ�นวณจะได้ขนาดของ A0 เท่ากับ 841 x 1189 มิลลิเมตร เมื่อทำ�การ แบ่งครึ่งจากขนาด A0 ดังกล่าว ขนาด ใหม่ที่ได้ตั้งเป็นรหัส A1 หากทำ�การแบ่งไป เรื่อย ๆ ก็จะได้รหัส A2, A3, A4 .... โดยเฉพาะขนาด A4 ซึ่งมีขนาด 210 x 297 มิ ล ลิ เ มตร เป็ น ขนาดของกระดาษ ถ่ายเอกสาร กระดาษหัวจดหมาย หนังสือ นิตยสาร ฯลฯ

2 InDesign InDesignCC CC

มาตรฐานรหัสชุด B มาตรฐานรหั ส ชุ ด B นี้ จะเป็ น ที่ คุ้ น เคย น้อยกว่ารหัสชุด A เริ่มโดยให้รหัส B1 มีขนาดอยู่ ระหว่าง A0 กับ A1 และให้มีระยะด้านสูงเท่ากับ 1 เมตร ทำ�ให้ด้านกว้างเท่ากับ 0.707 เมตร (มาจาก ข้อกำ�หนด ความสูงหารความกว้างเท่ากับสแควร์รูท ของสอง) ดังนั้น ขนาดของรหัสชุด B จะมีด้านใด ด้านหนึ่ง เป็นครึ่งหนึ่งหรือหนึ่งในสี่ หรือหนึ่งในแปด ของ 1 เมตร งานที่ นิ ย มใช้ ม าตรฐานรหั ส ชุ ด นี้ คื อ งานโปสเตอร์ หนังสือ (ใช้ B5) พาสปอร์ต ซองเอกสาร

InDesign InDesignCC CC33


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ มาตรฐานรหัสชุด C

รหัสชุดนี้มีไว้ใช้กำ�หนดขนาดของซองใส่เอกสาร ที่เลข เดียวกัน รหัสของ C จะใหญ่กว่าของ A แต่เล็กกว่าของ B ดังนั้น กระดาษจดหมาย A4 จะสามารถใส่ลงในซองขนาด C4 และซอง ขนาด C4 ก็จะใส่ลงในซอง B4 ได้พอดี

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Document ไฟล์เอกสาร

นอกจากมาตรฐานขนาดของกระดาษที่ ก ล่ า วมาแล้ ว ยังมีมาตรฐานที่จัดทำ�ขึ้นในหลาย ๆ ประเทศ เช่น มาตรฐาน JIS ของประเทศญี่ปุ่น มาตรฐาน SIS ของประเทศสวีเดน อีกทั้งยัง มีชื่อเรียกขนาดมาตรฐานตามการใช้งานต่าง ๆ เช่น ขนาด F4 (Foolscap) ซึ่งมีความกว้างเท่ากับ A4 แต่มีความสูงมากกว่า (210 x 330 mm.) เป็นต้น

PRESETS โปรแกรม InDesignCC กำ�หนดชนิดและขนาดของสือ่ ทีต ่ อ้ งการจะออกแบบ โดยกดที่ Start.... PRESETS ก็จะปรากฏชนิดของสือ่ นัน ้ ๆ เช่น กระดาษขนาด A4 Letter Tabloid โทรศัพท์ iPhone iPad Android Web หรือกำ�หนดขนาดเอง (Custom...)

ขนาดกระดาษชุด A เป็นมาตรฐาน ในระบบ ISO ซึง่ เป็นระบบเมตริก จะกำ�หนด รหัส A0 ให้มีขนาดพื้นที่เท่ากับ 1 ตาราง เมตร จากการคำ�นวณจะได้ขนาดของ A0 เท่ากับ 841 x 1189 มิลลิเมตร เมือ่ ทำ�การ แบ่งครึ่งจากขนาด A0 ดังกล่าว ขนาด ใหม่ที่ได้ตั้งเป็นรหัส A1 หากทำ�การแบ่งไป เรื่อย ๆ ก็จะได้รหัส A2, A3, A4 .... มาตรฐานชุ ด นี้ ถู ก นำ � ใช้ กั น แพร่ ห ลาย โดยเฉพาะขนาด A4 ซึ่งมีขนาด 210 x 297 มิลลิเมตร เป็นขนาดของกระดาษ ถ่ายเอกสาร กระดาษหัวจดหมาย หนังสือ นิตยสาร ฯลฯ

14 InDesign 4 InDesign CC CC

Spread พ้ืนที่ว่างสำ�หรับ วางส่วนประกอบชิ้นงาน

การสร้ า งสรรค์ ง านออกแบบสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ จากโปรแกรม InDesignCC เริ่มต้นโดยการคลิกที่ File> New> Document เพื่อสร้างไฟล์ใหม่ และ กําหนดค่าเริ่มต้น Document Preset ชื่อที่จะกําหนดค่างาน Intent รูปแบบสื่อที่จะสร้าง เช่น Print(งานพิมพ์) Number of Pages จำ�นวนหน้าของ Preset Facing pages การแสดงหน้ากระดาษท้ังหมด Page Size การตั้งค่าขนาดกระดาษ เช่น A4, A5, Letter, Custom Columns การกําหนดจำ�นวนคอลัมม์สําหรับ แบ่งพ้ืนที่การทํางานในหน้าเอกสาร Margins ใช้กําหนดระยะขอบของหน้าเอกสาร Bleed and Slug กําหนดระยะตัด และ ระยะเผื่อเหลือ OK เมื่อกําหนดค่าก็จะได้หน้ากระดาษใหม่

Page พ้ืนที่การทํางาน

InDesign CC 55 InDesign InDesign CC 2 CC


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

1 2

The Primary toolbar in InDesign hosts a wealth of controls from size, transform, fill, stroke, text controls, and alignment

3

A The vertical toolbox houses the common tools used by nearly every document with in the program

B

C

D E F

4

The Pages panel is an intuitive way to manage large, multi-page documents. Reorder pages by menu-driven commands or drag and drop

1 Menu bar : แถบรวบรวมคําสั่งหลัก ประกอบด้วยคำ�สั่ง File Edit Layout Type Object Table View Window Help 2 Toolbox : กล่องเครื่องมือที่ใช้ รูปสัญลักษณ์สื่อความหมายการใช้ งาน ประกอบด้วยกลุ่มต่างๆได้แก่ A กลุ่ม Selection Tools สำ�หรับเลือกวัตถุ B กลุ่ม Drawing & Type Tools สำ�หรับวาดภาพและสร้างอักษร C กลุ่ม Tranformation Tools สำ�หรับปรับแต่งวัตถุ D กลุ่ม Modification Navigation Tools สำ�หรับปรับเปลี่ยนวัตถุและมุมมอง E กลุ่ม Fill & Stroke Color Tools สำ�หรับปรับแต่งสีพื้น เส้น วัตถุและ ข้อความ F กลุ่ม View Mode Tools สำ�หรับปรับมุมมองการทำ�งาน 3 Option Bar : แถบแสดงรายละเอียด คำ�สั่ง ของ Selection Tools Type Tools และ Page Tools 4 Panels : แผงควบคุมคำ�สั่งในการ ปรับแต่งงาน เช่น การปรับเปลี่ยนสี การเพิ่ม-ลดหน้า สามารถใช้ชุดคำ�สั่ง นี้ โดยใช้เมนู Window > Workspace..

Tools panel

Interface of Adobe InDesignCC

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Tools panel

6 InDesign InDesignCC CC

InDesign CC 7


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

HandTool

ng

W

ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น อ อ ก แ บ บ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ บ นหน้ า กระดาษของโปรแกรม InDesignCC จะต้ อ งอาศั ย พื้ น ฐานการ ใช้เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Page Panel, Create new Page, Zoom Tool ใช้เลื่อนมุมมอง (Pan View) ของหน้ากระดาษ Page Panel Zoom Tool

W or

ki

กล่องเครื่องมือ Zoom Tool

Create new Page Delete Selected Pages

Guide Line

TE R

02

แผงควบคุมคำ�สั่งการจัดการหน้ากระดาษ ใช้ย่อ/ขยาย มุมมองการทำ�งานของหน้ากระดาษโดย เช่น Master edit Page Create และ Delete กดทีส่ ัญลักษณ์รูปแว่นขยาย และกด Alt ลดขนาดลง Ruler & Guide Line Create & Delete Selected Pages

Guide Line Zero Point

Ty ith รูป pe Ty แบบ : ร T ex Pl pe อัก ูปแ t Mi ace To ษร บบต Ad cro : ol ไทย ัวพ ob so การ : ก 1 ิมพ e ft W นำ ารพ 1 ์ 1 Ac o �เข ิม 0 า ้ พ ro rd อัก ์ต ba , P ษ ัวอ t P df ร 1 ักษ ro Fil 5 ร 13 DC e 1 6

พื้นที่การทำ�งาน

CH AP

Pages

Hand Tool

การเพิ่ ม และลบหน้ า กระดาษโดยการกดที่ ไม้บรรทัดกำ�หนดระยะแนวตั้งและแนวนอน (เริ่มค่า X=0 สัญลักษณ์ด้านล่างของ Pages Panel Y=0)และการกำ�หนดแนวเส้นออกแบบ (Guide Line)

88 InDesign InDesign CC CC

InDesign CC 9


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Type

รูปแบบอักษรไทย (Thai Font) ตั ว อั ก ษรไทยประกอบ ด้ ว ยความสู ง และขนาดความ กว้าง ความสูงเรียกว่า พอยท์ (POINT) เปรี ย บเที ย บกั บ มาตราวัดเป็นเซนติเมตร ได้คือ 1 พอยท์ = 0.035 เซนติเมตร 72 พอยท์ = 2.543 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว ส่วนความกว้าง ใช้หน่วย เรียกว่า ไพกา (PICA) ขนาด 1 ไพกาเท่ากับ 12 พอยท์ หรือ .423 เซนติเมตร

รูปแบบตัวพิมพ์

รูปแบบตัวพิมพ์ที่ใช้ในผลิตสิ่งพิมพ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. โฟสต์สคริปต์ (Postscript) หรือ PS1 คิดค้นโดยบริษัท Adobe เป็น ฟอนต์ ที่ มี ค วามคมชั ด สู ง ใช้ สำ � หรั บ งาน ที่ ต้ อ งการคุ ณ ภาพ เช่ น หนั ง สื อ หรื อ นิ ต ยสาร วิ ธี ก าร install font แบบ postscript นี้จะต้อง install ผ่านโปรแกรม ATM (Adobe Type Manager) ต่อมา Microsoft ได้ปรับปรุงวิธีการ install นี้ใน Windows OS ทำ�ให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น 2. ทรู ไ ทป์ (TrueType) เป็ น มาตรฐานของฟอนต์ ที่ ถู ก วางรากฐานมา จาก Apple และ Microsoft สนับสนุนการ ทำ�งานทั้งระบบปฏิบัติการ Macintosh และ Windows ทำ�ให้ฟอนต์นี้เป็นมาตรฐานที่ได้ รั บ ความแพร่ ห ลายมากที่ สุ ด เป็ น ฟอนต์ ที่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ทุกขนาด โดยที่จะยัง คงความคมชัดอยู่เสมอ 3. โอเพนไทป์ (OpenType) เกิด จากความร่ ว มมื อ กั น ของ Adobe และ Microsoft มีลักษณะคล้ายกับ TrueType ต่างกันตรงที่ OpenType มี character set ที่กว้างกว่า ทำ�ให้สามารถบรรจุจำ�นวน ตัวอักขระได้มากถึง 65,000 ตัวอักษร ทำ�ให้ OpenType สามารถเก็บตัวอักษรอักขระ พิเศษ ตัวอักษรของภาษาอื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น จีน กลุ่มประเทศอาหรับ สัญลักษณ์ต่าง ๆ เอาไว้ได้มากมายในฟอนต์เดียว และสามารถ ทำ�งานได้กับทุก platform

10 InDesign CC

ฟอนต์มาตรฐานงานราชการไทย

รูปแบบอักษรไทย มีอยู่มากมายหลายแบบ สามารถ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานออกแบบสิ่งพิมพ์นั้นๆ โดย ดูได้จากโปรแกรม Font Preview เช่น Nexusfont

ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐดำ�เนินการติดตั้งฟอนต์ มาตรฐานราชการไทย คือ ฟอนต์สารบรรณ (TH Sarabun PSK) และฟอนต์ที่สำ�นักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ หรือ “Software Industry Promotion Agency” (SIPA) ร่วมกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา จัดให้มีการประกวดและเผยแพร่ จำ�นวน 13 ฟอนต์ เพื่อเป็นการ เสริมสร้างและพัฒนาซอฟท์แวร์ไทย ซึง่ ฟอนต์เหล่านีร้ องรับการใช้งานบนระบบปฏิบต ั กิ ารทัง้ Microsoft Windows , Open source THAI OS Ubuntu และระบบปฏิบัติการ Mac OS ชุดแบบอักษร 13 ฟอนต์ ประกอบด้วย ต่อมาได้มกี ารแก้ไขฟอนต์สารบรรณ ขึน้ ใหม่ เป็น GPL 2.0 1.ไทย Charmonman + Font exception เรียกว่า TH Sarabun New

2. ไทย Krub 3. ไทย Srisakdi 4. ไทย Niramit AS 5. ไทย Charm of AU 6. ไทย Kodchasal 7. ไทย Sarabun PSK 8. ไทย K2D July8 9. ไทย Mali Grade 6 10.ไทย Chakra Petch 11.ไทย Baijam 12.ไทย KoHo 13.ไทยFah Kwang

TH Saraban New Krungthepmahanakhon Amonrattanakosin Mahintharayutthaya Mahadilokphop Noppharatratchathaniburirom Udomratchaniwetmahasathan Amonphimanawatansathit Sakkathattiyawitsanukamprasit

กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิตย์ สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์ InDesign CC 11


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ สถาบันการศึกษาของไทย ได้กำ�หนดรูปแบบตัวอักษรทีเ่ ป็น เอกลักษณ์เฉพาะ เช่น มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร เกษม, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ที่ ใ ช้ ใ น ระบบปฏิ บั ติ MAC OS X Yosemite และ Iphone7 ชื่อว่าสุขุมวิท (Sukhumvit )

TypeTool การพิมพ์ตัวอักษร

เครื่องมือในการสร้างรูปแบบตัวอักษร (Text) ของโปรแกรม InDesignCC คือ Type Tool (T) อยู่ใน Toolbox การเริ่มต้นพิมพ์ตัวอักษร ทำ�โดยการ คลิกที่ TypeTool เลื่อนเมาส์มาวางบนหน้ากระดาษ กดเมาส์ค้างไว้ เป็นรูป แล้วลากลงด้านล่างตามแนว ทะแยงมุม เป็นรูป แล้วปล่อย เคอร์เซอร์จะมีลักษณะ คล้ายอักษรตัวไอ ( I ) กระพริบ จึงเริ่มพิมพ์ตัวอักษร

การกำ�หนดรูปแบบอักษร เปรียบเทียบอักษร Prompe ที่โหลดฟรีได้จาก h t t p s : / / fonts.google.com/

Panel ที่ ใ ช้ ใ นการ กำ � หนดรู ป แบบอั ก ษร ทำ � โ ด ย ก า ร เ ลื อ ก ที่ Menubar : Window > Type & Tables > Character พิมพ์ชื่อ ฟอนต์ที่ต้องการเพียง 2-3 ตั ว อั ก ษรแรก หรือ กำ�หนดจาก A ใน Option Bar

ทศวรรษ

สุขุมวิท แบบฉบับทำ�การปรับปรุงใหม่ เส้นสายสะอาดกว่า

โปรแกรมสร้างรูปแบบตัวอักษร ก า ร ส ร้ า ง รู ป แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ขึ้ น ใหม่ ทำ � ได้ โ ดยใช้ โ ปรแกรม ต่างๆ เช่น FontLab Studio, Fontographer,Font Creator เป็นต้น

12 InDesign CC

การเปลี่ยนขนาดและรูปแบบอักษร การเปลี่ ย นขนาดตั ว อั ก ษร ทำ � โดยการกดเมาส์ ค้ า งที่ ตัวอักษรแรกแล้วลากเมาส์ ไปทางขวาจะเป็นแนวกรอบ สี ดำ � คลุ ม ตั ว อั ก ษร เลื อ ก ขนาดจาก FontSize การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร ทำ�โดยการ กด หลังชื่อ แบบอักษรใน Option Bar

InDesign CC 13


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การกำ�หนดระดับตัวอักษร

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ Master Page

การปรับเปลีย ่ นระดับตัวอักษร ทำ�โดยการนำ� Selection Tool มากดที่ตัวอักษร จะเป็น กรอบสีเ่ หลีย ่ ม กดเมาส์คา้ งไว้แล้วเลือ่ นระดับ

Rotate Tool

Place..

กดเมาส์ค้างแล้วลากจากมุม บนด้านซ้าย อักษรก็จะปรากฎ

การนำ�เข้าอักษร

วิ ธี ก ารนำ � ข้ อ มู ล อั ก ษรและภาพจาก โปรแกรมอื่น ๆ เช่น ไฟล์ Microsoft Word, ไฟล์ Fdf เพื่อนำ�มาใช้ออกแบบจัดวางหน้า สิ่งพิมพ์ในโปรแกรม IndesignCC ทำ�ได้โดย การใช้คำ�สั่ง MenuBar > File > Place.... ไฟล์ Microsoft Word การกำ�หนด Master Page เพื่อให้รูปแบบที่ซํ้ากัน เช่น หัวบท , เลขหน้า , เส้นไกด์ ปรากฏทุกหน้า ทำ�โดยเลือก Window > Pages ใน Option Bar คลิก้ ที่ A-Master

เปลี่ ย นรู ป แบบอั ก ษร โดยการ กดเมาส์ ค้ า งที่ ตัวอักษรแรกแล้วลากเมาส์ไปทางขวาจะเป็นแนวกรอบ สี ดำ � คลุ ม ตั ว อั ก ษร เปลี่ ย นรู ป แบบตั ว อั ก ษรจาก Angsana New เป็น Superspace Light

การกำ�หนดเลขหน้าแบบต่อเนื่อง การกำ � หนดเลขหน้ า ลงใน Master Page โดยใช้ Type tool คลิกลากสร้างกรอบพิมพ์ เคอร์เซอร์ ( I ) กระพริบ แล้วเลือก Type> Insert Special Charecter > Markers > Current Page Number คำ�สั่งควบคุมการหมุนของตัวอักษรและวัตถุ ก็จะปรากฏตัวอักษร A ในตำ�แหน่งทีก่ ำ�หนด การทำ�งาน หมุนได้โดยอิสระ และหมุนโดยกำ�หนดค่าองศา เอกสาร ก็จะปรากฏเลขหน้าต่อเนื่องอัตโนมัติ Rotate 90 ํ Clockwise

การหมุนของตัวอักษรและวัตถุแบบ 90 องศา โดยเลือกจาก Option Bar

14 InDesign CC

เลือกไฟล์ข้อความจากตำ�แหน่งที่จัดเก็บ กดที่ Open เลือก Show Import Options

Tabs

Preserve Styles and Formatting from Text and Tables การคงสภาพรูปแบบ จากไฟล์ต้นฉบับเดิม เช่ น รู ป แบบอั ก ษร ตัวหนา ตัวเอียง

การกำ�หนดระยะแท็บ ทำ�โดยการใช้ Selection tool คลิก้ ทีข่ อ้ ความจะเป็นกรอบสีเ่ หลีย ่ มล้อมรอบข้อความ กำ�หนดไกด์แล้วเลือก Type>Tabs จาก Obtion Bar

InDesign CC 15


การกำ �หนดระดับตัว ไฟล์ Pdf

ใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Pro DC เปิดไฟล์ Pdf สามารถ แ ป ล ง ใ ห้ เ ป็ น ไ ฟ ล์ Microsoft Word โดยเลือก Export

Convert PDF Files Now

รูปแบบอักษรไทย มีอยู่มากมายหลายแบบ สามารถ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานออกแบบสิ่งพิมพ์นั้นๆ โดย ดูได้จากโปรแกรม Font Preview เช่น Nexusfont

10 InDesign CC

12 InDesign CC 16

TE R

รูปแบบตัวพิมพ์

รูปแบบตัวพิมพ์ที่ใช้ในผลิตสิ่งพิมพ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. โฟสต์สคริปต์ (Postscript) หรือ PS1 คิดค้นโดยบริษัท Adobe เป็น ฟอนต์ ที่ มี ค วามคมชั ด สู ง ใช้ สำ า หรั บ งาน ที่ ต้ อ งการคุ ณ ภาพ เช่ น หนั ง สื อ หรื อ นิ ต ยสาร วิ ธี ก าร install font แบบ postscript นี้จะต้อง install ผ่านโปรแกรม ATM (Adobe Type Manager) ต่อมา Microsoft ได้ปรับปรุงวิธีการ install นี้ใน Windows OS ทำให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น 2. ทรู ไ ทป์ (TrueType) เป็ น มาตรฐานของฟอนต์ ที่ ถู ก วางรากฐานมา จาก Apple และ Microsoft สนับสนุนการ ทำงานทั้งระบบปฏิบัติการ Macintosh และ Windows ทำให้ฟอนต์นี้เป็นมาตรฐานที่ได้ รั บ ความแพร่ ห ลายมากที่ สุ ด เป็ น ฟอนต์ ที่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ทุกขนาด โดยที่จะยัง คงความคมชัดอยู่เสมอ 3. โอเพนไทป์ (OpenType) เกิด จากความร่ ว มมื อ กั น ของ Adobe และ Microsoft มีลักษณะคล้ายกับ TrueType ต่างกันตรงที่ OpenType มี character set ที่กว้างกว่า ทำให้สามารถบรรจุจำนวน ตัวอักขระได้มากถึง 65,000 ตัวอักษร ทำให้ OpenType สามารถเก็บตัวอักษรอักขระ พิเศษ ตัวอักษรของภาษาอื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น จีน กลุ่มประเทศอาหรับ สัญลักษณ์ต่าง ๆ เอาไว้ได้มากมายในฟอนต์เดียว และสามารถ ทำงานได้กับทุก platform

ก า ร นำ � เ ข้ า ข้ อ มู ล อั ก ษ ร บ า ง ส่ ว น จ า ก โ ป ร แ ก ร ม Adobe Acrobat Pro DC ทำ � ได้ โ ดยการกดเมาส์ ค้ า งที่ ตั ว อั ก ษรแรกแล้ ว ลากเมาส์ ไปทางขวาจะเป็ น แนวกรอบ สีดำ�คลุมตัวอักษร แล้วใช้คำ� สั่ง Edit > Copy จากนั้นเปิด โปรแกรม InDesignCC ใช้ คำ�สั่ง Edit > Paste เปลี่ยน รู ป แบบอั ก ษรจั ด กั้ น หน้ า หลั ง โดยใช้คำ�สัง่ Window > Type &Tables > Paragraph

CH AP

Type

03

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

W or

ki

ng

W

โปรแกรมที่ใช้ในการนำ�เข้าข้อมูลอักษรจาก ไฟล์ Pdf มาใช้ในโปรแกรม InDesignCC คือ PdfTiger ซึ่งสามารถรองรับการแปลง ไฟล์ Pdf ภาษาไทย ให้เป็นไฟล์ Microsoft Word ได้ค่อนข้างสมบูรณ์

Adobe Acrobat Pro DC

Im ith ปร ag Br ะเภ e : I m ท Ph idg ขอ :ภา ag Illu ot e C งไฟ พใน e Pl str osh C ล์ภ กา ac a o 1 าพ รอ e tor p C 9 : ก C C L 18 อกแบ igh าร C บส 2 นำ 2 2 tr ิ่งพ �เข 4 oo ิมพ ้าภ m ์ 1 าพ CC 7 25 19

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

InDesign CC 13


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Image

ประเภทของไฟล์ภาพ

ภาพในการออกแบบสิ่งพิมพ์

ภาพที่ใชเปนภาพประกอบในการ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สามารถใช้ภาพได ทุกประเภท เพราะเทคโนโลยีทางการพิมพ์ สามารถถ า ยทอดภาพประเภทใดก็ ไ ด้ ลงบนสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็น ภาพวาด ลายเส้น ภาพวาดน้ำ�หนักโทนสีตอเนื่อง ภาพระบายสี ภาพพิมพ์ หรือ ภาพถ่าย

ภาพประกอบโดยทั่วไปที่ได้จากการสืบค้น ข้ อ มู ล จาก www.google มั ก มี คุ ณ ภาพไม่ สู ง มากนัก หากต้องการนำ�ภาพมาประกอบมาใช้ในการ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ขนาด A4 จะต้องเลือกภาพที่มี ขนาด 2468 x 3264 หรือ 8 MP (megapixel) เพือ่ ใช้กบ ั พืน้ ที่ 21 x28 CM ในการพิมพ์คณ ุ ภาพสูง

Pixel per inch การกำ � หนดความละเอี ย ดของ ภาพในระยะความยาว 1 ตร.นี้ว มีหน่วย เป็นพิกเซลต่อนิว้ (PPI : Pixel per inch) Dot per Inch ก า ร กำ � ห น ด ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ของจำ � นวนจุ ด ที่ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ พ่ น หมึ ก สี ลงไปบนกระดาษมี ห น่ ว ยเป็ น จุ ด ต่ อ นิ้ ว ้ ทีก ่ ารพิมพ์ (DPI : Dot per Inch) ภาพพิมพ์ที่มี เปรียบเทียบขนาดของภาพ กับขนาดพืน คมชัด ควรมีความละเอียด 300 DPI.

Bitmap ภาพบิตแมป ประกอบ ขึน้ ด้วยจุดสีตา่ งๆ ทีม่ จี ำ�นวน คงที่ ต ายตั ว ตามการสร้ า ง ภาพหากขยายภาพ Bitmap จะเห็นว่ามีลกั ษณะเป็นตาราง Vector ภาพเวคเตอร์ อ้างอิง ต า ม ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ห รื อ ก า ร คำ � นวณเป็ น ตั ว สร้ า งภาพ หากขยาย ก็ยงั มีความคมชัด

16 InDesign CC 18

ไ ฟ ล์ รู ป ภ า พ มี รู ป แ บ บ แ ล ะ คุณสมบัตทิ หี่ ลากหลาย การนำ�ไปใช้งาน ก็แตกต่างกันออกไปตาม Format ต่างๆ โดยกำ�หนดอักษร 3 ตัว หรือ นามสกุล .JPG เป็ น ไฟล์ ที่ มี ก ารบั น ทึ ก ข้อมูลแบบสูญเสียข้อมูล ภาพที่ได้นำ� มาใช้งานทั่ว ๆ ไป ไฟล์ประเภทนี้จะตัด รายละเอี ย ดของภาพบางส่ ว นออก เหมาะสำ�หรับนำ�ไปใช้กับอินเทอร์เน็ต .GIF เป็นไฟล์ทมี่ กี ารบีบอัดข้อมูล สูง ไฟล์มขี นาดเล็กมาก นิยมนำ�ไปใช้งาน บนอินเทอร์เน็ตมากที่สุด .PSD เป็นไฟล์ทเี่ กิดจากโปรแกรม ตกแต่ ง ภาพคื อ Photoshop ไฟล์ ประเภทสามารถแก้ ไ ขได้ ง่ า ย เพราะมี การทำ�งานเป็นเลเยอร์ เป็นไฟล์ที่มีขนาด ใหญ่ .TIF เป็ น ไฟล์ ที่ ใ ช้ สำ � หรั บ งาน สิ่งพิมพ์เป็นส่วนใหญ่ สามารถแสดงผล ความละเอียดของภาพได้ทุกระดับตั้งแต่ ภาพขาวดำ�ไปจนถึงภาพสี ซึ่งจะนำ�ไปใช้ กับงานทางด้านการพิมพ์ .PNG เป็นรูปแบบของไฟล์ภาพ ที่ถูกพัฒนามาเพื่อใช้สำ�หรับการแสดง ผลบนเว็ บ ไซต์ โ ดยเฉพาะ และเพื่ อ ใช้ แทนรูปแบบของไฟล์ .GIF เป็นไฟล์ที่มี ความยื ด หยุ่ น สู ง ใช้ ง านได้ กั บ เครื่ อ ง ที่มีก ารเปลี่ยนแพลตฟอร์มการทำ�งาน และสามารถทำ � งานอยู่ บ นคนละระบบ ปฏิบัติการ เช่น Linux และ Windows

InDesign CC 19


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ Adobe Bridge CC โ ปรแกรมที่ ใ ช้ ใ นการจั ด หมวดหมู่ การ

ค้นหารูปภาพ (Preview) หรือ จัดเรียงภาพ ที่มีจำ�นวนมาก การโอนข้อมูลจากไฟล์ภาพจาก กล้อง หรือจากการ์ดหน่วยความจำ� เข้ามายัง เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ การตั ด ต่ อ ภาพแบบพาโน รามา จัดการไฟล์ของ Adobe ได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็น Photoshop PSD, Camera RAW, Illustrator AI, InDesign INDD, Acrobat PDF, Flash SWF/FLV และไฟล์สกุลอื่นๆ

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ โดยคำ�สั่ง Menu Bar > File > Import Photo and Video... กำ�หนดฐานข้อมูล (Catalog) ภาพจะถูกเก็บไว้ ใน Drive C: \ Users \ Pictures \ Library Folders ระบุ folders ทีจ่ ด ั เก็บภาพ เช่น 2515-04-01 เป็นต้น

Develop การปรั บ แต่ ง ภาพด้ ว ยพาเนล Develop ประกอบด้ ว ย Preset สำ � หรั บ เก็ บ ค่ า ปรับแต่งรูปแบบต่างๆ , Snapshots เก็บ ขั้นตอนระหว่างการปรับแต่ง, Histogram แสดงกราฟฮิสโตแกรมของภาพ , เครื่องมือ รีทัชภาพ เช่น เครื่องมือกำ�จัดฝุ่น แก้ตาแดง แปรงสำ � หรั บ แก้ ไ ขเฉพาะจุ ด และ Basic Tone Control สำ�หรับแต่งโทน และสีภาพ

White Balance

Adobe Lightroom CC โปรแกรม Adobe Bridge CC แสดงรายละเอียด ของภาพ โดยกดที่ภาพและคำ�สั่ง Preview โ ปรแกรมที่ ใ ช้ ใ นการแก้ ไ ขภาพสี ภาพขาวดำ� ทีไ่ ด้จากการถ่ายภาพด้วยกล้อง ดิจิตอล นำ�ภาพเข้ามาใช้ทำ�โดยการ Import

เลือกภาพทีต ่ อ้ งการปรับแต่งสีจาก Catalog > folders

การแก้ ไ ขภาพที่ ป รากฎโทนสี เ หลื อ ง ทำ�ได้โดยการลดค่า Color : Temp ทางด้านซ้ายหรือปรับ WB ให้เป็น Auto

Preview

20 InDesign CC

InDesign CC 21


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Tone Curve

Resample

การปรั บ แต่ ง ค่ า คอนทราสต์ ข องภาพ ทำ�ได้โดยการเลือกที่ Auto กำ�หนดค่าสี

หรือ กำ�หนดเองโดยการปรับค่า Curve

Adobe Photoshop CC Histogram การเปลี่ ย นภาพสี ใ ห้ เ ป็ น ภาพขาวดำ � โดยการกดที่ B & W ปรับโทนสีของภาพ

22 InDesign CC

เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ เ คราะห์ ค วามสมดุ ล สี ของภาพถ่ า ย ภาพที่ มี ความมืด ค่าฮิสโตแกรมจะ ไปทางด้านซ้ายของกรอบ

โปรแกรมทีใ่ ช้ในการตกแต่งภาพ แก้ไขภาพสี ภาพขาวดำ� ปรับโหมดสี ตัดพื้นหลังภาพ นิยมใช้กัน ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ระดับโลก สามารถแลกเปลีย ่ น ไฟล์ต่างๆ และนําไปใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ ได้ การตรวจสอบ Image size ขนาดของภาพ โดยการใช้ คำ � สั่ ง Image > Image Size.. ขนาดของภาพ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ออกแบบสิ่งพิมพ์ ควรมีขนาด 300 Pixel / Inch

กระบวนการจัดเรียงพิกเซลของ ภาพใช้ สำ � หรั บ การขยายภาพเพื่ อ ใช้ ใ น การออกแบบสิง่ พิมพ์ ประกอบด้วยคำ�สัง่ Automatic การขยายภาพโดย โปรแกรมสร้างพิกเซลใหม่โดยอัตโนมัติ Preserve Details ใช้กับภาพที่มีความ ละเอียดต่ำ�และต้องการขยายใหญ่ขนึ้ เช่น ภาพโปสเตอร์ มีความเปรียบต่างทีเ่ พิม่ ขึน้ ของสีส่วนกลาง (Clarity)ปรับ No Bicubic Smoother การขยายที่เน้น ความเรียบเนียน ความนุ่มนวลของภาพ Bicubic Sharper ใช้ ก ารแก้ ไ ขภาพ Bicubic คงความคมชัดในการลดภาพ Bicubic วิธีการไล่โทนสีได้อย่างนุ่มนวล Nearest Neighbor การรักษาขอบภาพ Bilinear วิ ธี ก ารเพิ่ ม พิ ก เซลด้ ว ยการ สร้างค่าเฉลี่ยของพิกเซลแวดล้อม ภ า พ ที่ มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ต่ำ � เ มื่ อ ขยายขนาดใหญ่ จะปรากฎขอบเป็น ลายเส้นสี่เหลี่ยม

InDesign CC 23


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ Select & Mask.. เครื่องมือที่ใช้ในการตัดพื้นหลังของภาพ ที่ต้องการความปราณีต เช่น เส้นผม หรือขนสัตว์ โดยการกดที่ Rectangular Marquee Tool จากกล่อง Toolbox จะปรากฎคำ�สั่ง Select & Mask.....

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ ใช้ Polygonal Lasso Tool ร่วมกับ Subract form Selection ในการเก็บรายละเอียดขนาดเล็ก

Adobe Illustrator CC โ ป ร แ ก ร ม ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ง า น

เขียนลายขอบภาพและกด Alt ค้างไว้คลิก เมื่อจบปลายเส้น กดที่ Selection tool

กราฟิกส์ประเภท Vector เช่น การเขียนภาพประกอบ การออกแบบลวดลาย โลโก้ ลายเส้นและสือ่ สิง่ พิมพ์

ตั้ ง ค่ า Properties ของภาพ โดย กำ�หนดให้คา่ Transparency : 20 % ใช้ Quick Selection Tool ร่วมกับ Add ปรั บ ค่ า Properties เพื่ อ เก็ บ รายละเอี ย ด เช่ น To Selection ระบายภาพที่ต้องการ Smooth, Feather, Contrast, Edge Detection

ปรับ Stroke Weight เลือก Variable Width จาก Uniform เป็นขนาด3 Point

Opacity ปรับค่า Opacity จาก Menu Bar ลดลง 30 %

ใช้ Quick Selection Tool ร่วมกับ Subtract form Selection ระบาย ส่วนพื้นหลังของภาพที่ไม่ต้องการ กดที​ี่ ok : Commit Selection จะได้ Layer Mask Stroke เลือก stroke สีดำ� และ Pentool จาก MenuBar

24 InDesign CC

InDesign CC 25


Place..

ที่ Selection Tool เลื่อนเมาส์กดที่ตำ�แหน่งกึ่งกลาง ด้านบนของภาพ เมาส์จะปรากฎเป็นรูปลูกศรขึ้นลง แล้วดึงลงเพื่อตัดภาพที่อยู่ด้านบนนอกกรอบออก

การนำ�เข้าภาพ

ng W or

ki

กดเมาส์กึ่งกลางซ้ายขวาตัดขอบภาพด้านซ้ายขวาที่ อยู่นอกกรอบออก และปรับตำ�แหน่งภาพให้เหมาะสม

W

วิธีการนำ�ข้อมูลรูปภาพจากโปรแกรม ตระกูล Adobe ต่างๆ เช่น Adobe Bridge , Lightroom, Photoshop Illustrator ทำ�ได้ โดยเลือกจาก Menu Bar กดที่File > Place เลื อ กไฟล์ ภ าพจากตำ � แหน่ ง ที่ จั ด เก็ บ เลื อ ก Open กด Shift ค้างไว้ขยายตามอัตราส่วน

CH AP

กดที่ Selection Tool แล้วกด Ctrl Shift สร้างกรอบสี่เหลี่ยมโดยใช้ Rectangel Tool จาก เพื่อย่อขยาย กดเมาส์ค้างที่รูปเพื่อเลื่อนภาพ Toolbox กำ�หนดสีพื้นหลังสีเทา กรอบด้านบนสีแสด

TE R

04

Tabs

Co ith ระ lor CM บบส : ส C o สี​ีใ Y ี : ี​ีใน lo Sw นโป Co Co การ r กา at รแก lor lor ออ รใช ch รม Ch Mo กแบ ้สีก es In ar de บส ับอ 3 De t ิ่งพ 2 3 ักษ 3 sig 0 9 ิมพ nC ร์ 2 รูป C 8 ร่า 32 ง 34

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

26 InDesign CC


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Color

สี​ีในการออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การใช้สอี อกแบบสิง่ พิมพ์ นิยมเลือกใช้สใี นกลุม่ ต่างๆ ดังนี้ 1. กลุ่ ม สี แ บบสี เ ดี ย ว (Monochromatic Color) เป็นพื้นฐานการใช้สีที่ง่ายที่สุด การออกแบบ ทำ�โดยการเพิ่มหรือลดความเข้มของสีในระดับต่าง

3. กลุ่ ม สี แ บบโครงสามเหลี่ ย ม (Triadic Color) คือ การใช้สี 3 สี ที่มี การตัดกันลักษณะสามเหลี่ยมในวงล้อสี

สี (Color) มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม รอบๆตั ว เรา สามารถแบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. สีที่เกิดในธรรมชาติ มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ สีที่เป็นแสง ( Spectrum ) คือ สีที่ เกิดจากการหักเหของแสง เช่น สีรุ้ง สีจาก แท่งแก้วปริซึม และ สีที่อยู่ในวัตถุหรือเนื้อสี ( Pigment ) คือ สีที่มีอยู่ในวัตถุธรรมชาติ เช่น สีของพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุต่างๆ 2.สี ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น เรี ย กว่ า สี วิทยาศาสตร์ คือ สีท่ีได้จากการสังเคราะห์ เพื่อใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ เช่น งานศิลปะ อุ ต สาหกรรม การพาณิ ช ย์ และในชี วิ ต 2. กลุ่มสีตรงกันข้าม (Complementary ประจำ�วัน โดยสังเคราะห์จากวัสดุธรรมชาติ Color) คือ การใช้สีที่มีการตัดกันอย่างรุนแรง และจากสารเคมี แต่ ส ามารถสร้ า งความสะดุ ด ตาได้ เ ป็ น อย่ า งมาก ทฤษฎีสี ( Theory of Color) เป็นประโยชน์ในการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบที่ชัดเจน ประมาณปี คศ. 1731 เจ ซี ลี โบลน (J.C.Le Blon) ได้ ทำ � การศึ ก ษา วิเคราะห์ธรรมชาติหรือคุณลักษณะเฉพาะ ของสี และได้กำ�หนดเป็นสีขนั้ ต้น เรียกว่าแม่สี วงจรสี (Color Wheel) คือ สีที่ เกิดจากการผสมกันเป็นคู่ เริม่ ตัง้ แต่แม่สี 3 สี ผสมในอัตราส่วนเท่ากัน เกิดเป็นสีใหม่ วงจร สีแบ่งได้ 3 ขั้น เรียกว่า สีขั้นที่ 1 ได้แก่ สีแดง เหลือง และน้ำ�เงิน สีขั้นที่ 2 คือ สีที่เกิดจาก การผสมกันของแม่สี 3 สี ได้แก่ สีส้ม สีม่วง สีเขียว สีขนั้ ที่ 3 คือ สีทเี่ กิดจากการผสมกัน ของแม่สี 3 สี กับแม่สีขั้นที่ 2 ได้แก่ สีส้มแดง สีม่วงแดง สีเขียวเหลือง สีเขียวน้ำ�เงิน สีม่วงน้ำ�เงิน และ สีส้มเหลือง

28 InDesign CC

4 . กลุม่ สีขา้ งเคียง (Analogous Color) คือ การใช้สีที่เรียงติดกันในวงล้อ สี เช่น สีแสด สีส้ม สีเหลือง สีเขียวอ่อน เป็นต้น

ระบบสี : Color Mode ร ป ู แบบการมองเห็นสี ทีใ่ ช้ในงานด้านกราฟิกมีอยูด ่ ว้ ย กัน 4 ระบบ คือ 1. ระบบสีแบบ RGB เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว (Green) และ น้ำ�เงิน (Blue) เมื่อนำ�มา ผสมกันทำ�ให้เกิดสีตา่ งๆ บนจอคอมพิวเตอร์ได้มากถึง 16.7 ล้านสี จุดที่สีทั้ง 3 สีรวมกันจะกลายเป็นสีขาว เรียกว่าแบบ “Additive” 2. ระบบสีแบบ CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ ประกอบด้วย สีพื้นฐาน คือ สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และเมื่อนำ�สีทั้ง 3 สีมาผสมกัน จะเกิดสีเป็น สีดำ� (Black) โดยเรียกการผสมสีทั้ง 3 สีข้างต้นว่า “Subtractive Color” 3. ระบบสีแบบ HSB เป็นระบบสีพื้นฐานในการมองเห็นสีด้วยสายตา ของมนุษย์ ประกอบด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ คือ - Hue คือ สีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ เข้ามายังตาของเรา ทำ�ให้เราสามารถมองเห็นวัตถุเป็น สีต่างๆ ได้ - Saturation คือ ความสดของสี โดย ค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำ�หนด Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย แต่ถ้ากำ�หนด ที่ 100 สีจะมีความสดมาก - Brightness คือ ระดับความสว่างและความ มืดของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำ�หนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดำ� แต่ถ้า กำ�หนดที่ 100 สีจะมีความสว่างมากที่สุด 4. ระบบสีแบบ Lab ระบบสีแบบ Lab เป็นค่าสีที่ถูกกำ�หนดขึ้นโดย CIE (Commission Internationale d’ Eclarirage) เพื่อให้เป็นสีมาตรฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใช้ได้กับสีที่ เกิดจากอุปกรณ์ทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นจอคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน และอื่นๆ

InDesign CC 29


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

CMY Color Chart YELLOW 0%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 10%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 20%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 30%

0

0

0

0

10

10

10

10

20

20

20

20

30

30

30

30

40

40

40

40

50

50

50

50

60

60

60

60

70

70

70

70

80

80

80

80

90

90

90

90

100

100

100

100

YELLOW 40%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 50%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 60%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 70%

0

0

0

0

10

10

10

10

20

20

20

20

30

30

30

30

40

40

40

40

50

50

50

50

60

60

60

60

70

70

70

70

80

80

80

80

90

90

90

90

100

100

100

100

YELLOW 80%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 90%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

YELLOW 100%

0

0

0

10

10

10

20

20

20

30

30

30

40

40

40

50

50

50

60

60

60

70

70

70

80

80

80

90

90

90

100

100

100

โหมดสีที่ ใช้งานในโปรแกรม InDesign โหมด RGB ใช้หลักการของโมเดล 30 InDesign CC

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

Pantone Color Guide 0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

ระบบการระบุสี PANTONE ในการพิมพ์ เพื่อใช้สำ�หรับตำ�แหน่งของรหัสสีที่ต้องการ Color Setting การตั้ ง ค่ า สี ข องโปรแกรม InDesign CC เป็ น การกำ � หนดค่ า สี ใ ห้ ต รงตามมาตรฐาน ที่โรงพิมพ์ส่วนใหญ่นิยมใช้ ทำ�ได้โดยคลิกที่คำ�สั่ง Edit > Color Settings… ตั้งค่า Settings ให้ เ ป็ น Europe Prepress 3 โปรไฟล์ สี เ ป็ น Coated FOGRA39 (ISO 12647-2:2004)

100

CM Y CO LO R CH A RT Colour Chart คือ ตาราง สี ที่ แ ส ด ง ไ ว้ เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร เปรี ย บเที ย บ หรื อ ใช้ อ้ า งอิ ง แสดงส่วนผสมเปอร์เซ็นต์เม็ดสี ของแม่สีทั้ง สี่สีที่ใช้ในการพิมพ์ Yellow Magenta Cyan และ Black เพิ่มทีละ 10 % จนถึง ช่องขวาและล่าง 100%

InDesign CC 31


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ สีในโปรแกรม InDesignCC โ ห ม ด สี ที่ ใ ช้ ง า น ใ น โ ป ร แ ก ร ม InDesign มี 3 โหมด คือ 1. โหมด RGB กำ�หนดค่าความ เข้มข้นของสีแดง เขียว และน้ำ�เงินทีม่ าผสมกัน ในแต่ละพิกเซล เป็นค่าตั้งแต่ 0-255

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ โหมดสีทั้ง 3 โหมดนี้ โปรแกรม InDesign ได้รวมการ ใช้งานเข้าด้วยกันใน Color Picker โดยการคลิกที่ Fill ใน Toolbox หรือจาก MenuBar Window > Color > Color เลือก Fill ( x ) แล้วดับเบิ้ลคลิก Rotate Tool

เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการ เปลี่ ย นสี Spectrum ของ ColorPicker โดย การใช้ Eyedropper ดู ด สี เ ลื่ อ นสไลด์ ไ ปบน Spectrum

3. โหมด Lab ใช้หลักการของโมเดล Lab ในการผสมสี โดยโปรแกรมจะยึดโหมด นีเ้ ป็นเหมือนตัวกลางในการแปลงจากโหมดสีห นึ่งไปอีกโหมดสีหนึ่ง เนื่องจากหลักการชอง Lab นี้เป็นมาตรฐานที่ไม่ขึ้นอยู่กับโมเดลใดๆ

โหลดไฟล์ ASE(adobe swatch exchange)

Eyedropper Tool

2. โหมด CMYK กำ�หนดค่าสีจาก เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของสีแต่ละสีทมี่ าผสม การกำ�หนดค่าสีใน Color Picker ทำ�โดย การคลิ้กที่อักษร R (Red), G (Green), B (Blue) หรือ L (luminance), a (green-red ), b (blueyellow) การเปลี่ยนค่าสีทำ�ได้โดยการเลื่อนลูกศร ในแถบเล็กขนาดเล็กลงด้านล่างได้สโี ทนเย็น เลือ่ นขึน้ ได้ สีโทนร้อน ค่าสี 5 ตำ�แหน่งคือ A. Original color B. New color C. Color field D. Color slider triangles E. Color spectrum

การเพิ่มเติมสีในพาเนล Swatches จาก โปรแกรม ILLustratorCC ทำ�ได้โดยการใช้คำ�สั่ง Window > Swatches

กดที่ Show Swatche Kinds menu เลือก คำ�สั่ง Show All Swatches จะปรากฏสีทั้งหมด

Swatches เครื่องมือที่ใช้ในการกำ�หนดค่าสี โดย ใช้คำ�สั่ง Window > Color > Swatches พาเนล Swatches มีสีหลักจำ�นวน 9 สี คลิกซ้าย save Swatche Library as ASE....

ค ลิ ก ซ้ า ย ในโปรแกรม InDesignCC ที่ L o a d Swatches... เลือก . ASE

32 InDesign CC

InDesign CC 33


ระบบสี PANTONE ใน พาเนล

การใช้สีกับตัวอักษร

กดเมาส์ค้างที่ตัวอักษรแรก แล้วลากเมาส์ไป ทางขวา จะเป็นแนวกรอบสีดำ�คลุมตัวอักษร แล้วกด เลือกสีที่ต้องการใuพาเนล Swatches

23 InDesign CC 34

TE R

โดยการกดรูปร่างที่ต้องการจากTool box นำ�มา วางบนหน้ากระดาษ กดเมาส์คา้ งแล้วลากให้ Active เลือก Fill โดยดับเบิลคลิกทีช ่ อ่ ง Fill จะปรากฏ Color Picker หรืออาจเลือกใช้สีโดยกดจาก Swatches

CH AP

การใช้สีกับรูปร่าง

05

W or

ki

เปลี่ยน ColorMode:PANTONE Coated

De

ng

W

i

Swatches กำ�หนดค่าสีโดยการใช้คำ�สั่ง Window > Color > Swatches คลิกซ้าย เลือก New Color Swatch.....

th La sig กา yo n De ขั้น รอ ut : กา คอ ตอ อกแ : อ รอ s ig ลัม นก บบ งค อก n น์ ารอ ปก ์ปร แบบ 45 อก 41 ะกอ สิ่ง แบ บส พิม บป ิ่งพ พ์ ก ิมพ 36 42 ์ 3 9

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

InDesign CC 13


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์

Design

สี​ีในการออกแบบสิ่งพิมพ์ การออกแบบ

แต่ เ ดิ ม การผลิ ต งานสื่ อ ส่ิ ง พิ ม พ์ มีจุดประสงค์เพ่ือการนำ�เสนอข่าวสาร การ เผยแพร่ ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ให้ ก ว้ า งขวางและ มีปริมาณมากท่สี ด ุ โดยไม่เน้นความสวยงาม ประมาณ ค.ศ. 1940 (พ.ศ. 2483) วิลเลียม มอริส (William Morris) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ ได้พัฒนาผลงาน ออกแบบสิ่ ง พิ ม พ์ ใ ห้ ส วยงามขึ้ น ด้ ว ยการ ตกแต่งหน้าหนังสือด้วยลวดลายให้เป็นกรอบ ล้อมรอบข้อความ มีการตกแต่งตัวอักษร โดยเฉพาะอั ก ษรตั ว หน้ า ให้ ส วยงามเหมื อ น การตกแต่งอักษรในคัมภีร์ไบเบิลในยุคกลาง

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ พ บเห็ น โดยทั่ ว ไปประกอบด้ ว ย องค์ประกอบสำ�คัญ ได้แก่ ตัวอักษร ภาพประกอบ พืน้ ทีว่ า่ ง การออกแบบสิง่ พิมพ์โดยใช้หลักการออกแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ (Principles of Design) ประกอบด้วย 1. ทิศทางและการเคลื่อนไหว (Direction & Movement) การรั บ รู้ ลำ � ดั บ ตามการมองเห็ น กล่าวคือ เกิดตามการวาดสายตาจากองค์ประกอบ หนึ่งไปยังอีกองค์ประกอบหนึ่ง

3.2 สมดุ ล แบบรั ศ มี (Radial Balance) เป็ น การจั ด วางองค์ ป ระกอบ โดยให้ อ งค์ ป ระกอบแผ่ ไ ปทุ ก ทิ ศ ทางจาก จุดศูนย์กลาง

โดยทั่ ว ไปสายตาของ ผู้ รั บ สารจะมองดู ห น้ า กระดาษทีเ่ ป็นสือ่ สิง่ พิมพ์ ในทิศทางที่เป็นตัวอักษร (Z) ในภาษาอังกฤษ คือ จะเริ่ ม ที่ มุ ม บนด้ า นขวา ตามลำ�ดับ การจัดองค์ ประกอบที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติของการมองนี้ เป็นส่วนช่วยให้เกิดการ รับรูต ้ ามลำ�ดับทีต ่ อ้ งการ

36 InDesign CC

2. เอกภาพและความกลมกลืน (Unity & Harmony) เป็ น การนำ � องค์ ป ระกอบที่ แ ตกต่ า งกั น มาวางไว้ในพื้นที่หน้ากระดาษเดียวกันอย่างกลมกลืน ทำ�หน้าทีส่ อดคล้องและส่งเสริมกันและกันในการสือ่ สาร ความคิดรวบยอด และบุคลิกภาพของสือ่ สิง่ พิมพ์นน ั้ ๆ

3. ความสมดุล (Balance) เป็นการจัดวาง องค์ประกอบในพืน้ ทีห่ น้ากระดาษ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 3.1. สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เป็นการจัดวางองค์โดยให้องค์ประกอบ ในด้านซ้ายและด้านขวาพื้นที่หน้ากระดาษมีลักษณะ เหมือนกันทั้งสองข้าง 3.2 สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) เป็นการจักวางองค์ประกอบไม่เหมือนกัน ในแต่ละด้าน แต่ก็จะถ่วงน้ำ�หนักซึ่งกันและกัน รู้สึกเกิด ความสมดุล

InDesign CC 37


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ 4. สัดส่วน (Proportion) ความ สัมพันธ์กน ั อย่างเหมาะสมระหว่างขนาดของ องค์ประกอบที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ใน รูปทรงเดียวกัน หรือระหว่างรูปทรง

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การที่เน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมา ทำ�ได้หลายวิธี เช่น ความแตกต่างระหว่างอักษรกับภาพ การเพิม ่ หรือลดความเข้มหรือน้ำ�หนักขององค์ประกอบ นั้นให้เข้มหรืออ่อนกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ ที่อยู่รวมกัน ในหน้ากระดาษ

6. จังหวะ ลีลา และการซ้ำ� (Rhythm & 5. ความแตกต่าง (Contrast) Repetition) การจัดวางองค์ประกอบหลาย ๆ ชิน้ โดย เป็นการเน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบ หนึง่ เด่นขึน้ มาด้วยการเพิม่ ขนาด หรือรูปร่าง กำ�หนดตำ�แหน่งให้เกิดมีช่องว่างเป็นช่วง ๆ จะทำ�ให้เกิด ลีลาขึน้ จังหวะแบ่งออก ได้ 2 ลักษณะ คือ 6.1 จังหวะที่สลับกัน คื อ จั ง ห ว ะ ข อ ง ส อ ง สิ่ ง หรื อ มากกว่ า ซึ่ ง สลับกันไปมาเป็นช่วงๆ ไม่ทำ�ให้การซ้ำ�เด่นชัด 6 . 2 จั ง ห ว ะ ที่ ต่ อ เ นื่ อ ง กั น จ ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง รูปทรงไปเรื่อยๆ โดย โดยมี สี กำ � หนดค่ า น้ำ � หนั ก ของสี หรื อ พื้นผิวเป็นตัวแปร

38 InDesign CC

Layout

การจัดวางองค์ประกอบสิ่งพิมพ์

เลย์เอาท์ เป็นการจัดวางองค์ประกอบ ภาพ ตั ว อั ก ษร ในหน้ า สิ่ ง พิ ม พ์ แ ต่ ล ะหน้ า เพื่ อ เป็ น แนวในการจั ด ทำ � ต้ น ฉบั บ งานพิ ม พ์ สิ่ ง ที่ ค วรคำ � นึ ง ถึ ง คื อ เลย์ เ อ้ า ท์ ที่ ดี จ ะต้ อ งมี ความน่าสนใจ ชวนติดตาม รูปแบบเลย์เอาท์ มีหลากหลาย ที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. รูปแบบตาราง (Table Layout) เป็นการวางองค์ประกอบภาพในลักษณะตาราง สี่ เ หลี่ ย มย่ อ ย ๆ โดยมี ข นาดที่ แ ตกต่ า งกั น อาจมีการซ้อนทับกันบางส่วน

3 . แ บ บ ก า ร เ น้ น ภ า พ ( P i c t u r e window Layout) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก โดย มีจุดเด่นอยู่ที่ภาพ เพราะเป็นการใช้ภาพที่มีขนาดใหญ่ เพียงภาพเดียว กินพื้นที่หน้ากระดาษเกือบทั้งหมดและ มีข้อความเล็กน้อยอยู่ด้านบนหรือด้านล่าง ซึ่งคล้าย กับการจ้องมองไปที่หน้าต่าง และมองบนภาพ

2. แบบเข้าโค้งเงาทึบ (Silhouette Layout) การจั ด หน้ า โดยการคำ � นึ ง ถึ ง เงา เค้าโครงของภาพวัตถุที่ต้องนำ�มาวางบนงาน พิมพ์โดยมีสว่ นประกอบอืน ่ ๆ เป็นองค์ประกอบ

InDesign CC 39


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ 4. แบบแถบซ้ อ น (Multipanel layout) มีลักษณะเป็นกลุ่มภาพขนาดเล็ก หลายๆ ภาพที่มีขนาดใกล้เคียงกัน วางซ้อน ทั บ กั น ภาพแต่ ล ะภาพจะเอี ย งไขว้ กั น ไปมา ดูแล้วเกิดความเคลื่อนไหว สนุกสนาน

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ 6. แบบกรอบ (Frame layout) ใช้กันมาก ในโฆษณาตามหน้าหนังสือพิมพ์มากกว่าหน้านิตยสาร เป็นการแบ่งส่วนระหว่างภาพและอักษรอย่างชัดเจน

การออกแบบปก การออกแบบปกหน้าสิ่งพิมพ์ มีลำ�ดับ การออกแบบ 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การทำ�ร่างหยาบ (Rough layout) มีการกำ�หนดตำ�แหน่งตัวอักษรและภาพประกอบ 2. แบบร่างละเอียด (Comprehensive layout) เป็ น การทำ � ร่ า งหยาบให้ ส มบู ร ณ์ ขึ้ น ขนาดเท่าของจริงข้อความและรูปภาพ

ส่วนประกอบปก

5. รูปแบบแถบ (Band layout) เป็ น การวางองค์ ป ระกอบอั น ได้ แ ก่ รู ป ภาพ และข้อความในลักษณะเป็นแถบตามแนวตั้ง ชิดขอบภาพด้านใดด้านหนึง่ การวางเลย์เอาท์ ลักษณะนี้ จะเกิดบริเวณพื้นที่ว่างและอาจเน้น ภาพอีกด้านหนึ่งให้มีความสะดุดตา น่าสนใจ

40 InDesign CC

7. รูปแบบเน้นตัวอักษร (Type Layout) เป็ น การนำ � ตั ว อั ก ษรที่ มี ลั ก ษณะและขนาดต่ า งกั น มาจัดวาง โดยการเน้นตัวอักษรให้มขี นาดใหญ่กว่าภาพ

InDesign CC 41


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ ขัสี​ี้นในการออกแบบสิ ตอนการออกแบบปก ่งพิมพ์ 1. สร้ า งพื้ น ที่ ห น้ า กระดาษโดยใช้ คำ�สั่ง File > New > Document.. กำ�หนด ให้แนว Width 17 cm. และ Height 22 cm. ขอบ Margins ทุกด้าน 0.3cm. แล้วกด OK

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ 3. ลากเส้นไกด์โดยการกดทีข่ อบไม้บรรทัด ด้า นบนลากลงมาเพื่อแบ่งพื้นที่หน้ากระดาษออก เป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ห่างจากขอบบน 2 ซม. ส่วนที่ 2 ห่างจากขอบบน 8 ซม. และ ส่วนที่ 3 ห่างจากขอบบน 19 ซม.

4. ดับเบิลคลิกที่ Fill จาก Tool Box จะปรากฎ Coler Picker กำ�หนดสี C: 51 , M:33 Y:36 และ K:70 แล้วกด OK พื้นที่หน้ากระดาษ จะเกิดเป็นพื้นสีตามที่กำ�หนด

4. ลากเส้ น ไกด์ โ ดยการกดที่ ข อบ ไม้บรรทัดด้านข้างและด้านบน เขียนกรอบขนาด เล็ก เลือกสี Black จาก Swatches

2

8

19

2. จะได้หน้ากระดาษเปล่า Untitled ที่มีขาดกว้าง 17 เซนติเมตร และสูง 22 เซนติเมตร ขอบทุกด้านห่างจากขอบบน 0.3 เซนติเมตร ตามกำ�หนด

5. สร้างกรอบที่ 2 โดยกดที่ Rectangle Tool นำ�เมาส์มากดค้างจากมุมบนด้านซ้ายแบบ เดิมจะปรากฎพืน้ ทีส่ เี่ หลีย ่ มมีจด ุ ขนาดเล็กทัง้ 4 ด้าน

5. นำ�ข้อมูลรูปภาพโดยใช้ Menu Bar กดที่ File > Place.. เลือกไฟล์ภาพจากตำ�แหน่ง ที่จัดเก็บแล้วกด Open

3. กดที่ Rectangle Tool จาก Tool Box นำ�เมาส์มากดค้างจากมุมบนด้านซ้ายแล้วลาก ลงตามแนวทะแยงจนถึงมุมล่างด้านขวา จะปรากฎ พื้นที่สี่เหลี่ยม มีจุดขนาดเล็กสีขาวทั้ง 4 ด้าน 6. ใช้ คำ � สั่ ง Window > Color > Swatches เลือกสี C=15, M=100, K=100 พื้นที่สี่เหลี่ยมจะปรากฎสีโทนแดงตามที่กำ�หนด

6. กำ � หนด กึ่ ง ก ล า ง หน้ า กระดาษ จัดวางภาพให้ ตรงตำ � แหน่ ง ที่ต้องการ

42 InDesign CC

InDesign CC 43


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ Layer ชั้ น งานของการออกแบบสิ่ ง พิ ม พ์ การวางอั ก ษร ทำ � ได้ โ ดยการใช้ คำ � สั่ ง Window > Layer สร้าง Layer ใหม่ จากพาเนล Layer โดยกดที่รูปกระดาษพับ ด้านล่าง จะปรากฎ Create New Layer

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ เปลี่ ย นสี อั ก ษรโดยกดเมาส์ ล ากไปทางขวา เลื อ กสี Paper โดยใช้คำ�สัง่ Window > Color > Swatches

columms Columm การกำ � หนดคอลั ม ม์ ใ นการออกแบบ จัดเนื้อหาสิ่งพิมพ์ นิยมใช้ 4 ลักษณะ ได้แก่ 1. แบบคอลัมม์เดียว (One-column grids) ส่วนใหญ่จะใช้กับเอกสารทางวิชาการ ภาคนิพนธ์ ตำ�ราเรียน 2. แบบ 2 คอลัมม์ (Two-column grids) นิยมใช้กับจดหมายข่าว นิตยสารทั่วไป

4. แบบ 4 คอลัมม์ ( Four - column grids) เป็นการใช้พื้นที่ขนาดเล็กกำ�หนดขึ้นอีก 1 คอลัมม์สำ�หรับการวางข้อความบรรยายภาพ

ปรับตำ�แหน่งและ Place Logo InDesign CC2017

5. แบบการเลือกวางคอลัมม์ตามแนวกริด (Breaking out of the grid) เป็นการเลือกวาง อักษรหรือภาพบนช่องตารางตามความเหมาะสม

Layer 2 ใช้ Type Tool จาก Toolbox กำ�หนดกรอบ เพือ่ พิมพ์อกั ษรด้านบนของปก

เลือกชนิดตัวอักษรโดยพิมพ์ Su เลือกฟอนต์ ชื่อ Superspace Light ขนาด 24 Point

44 InDesign CC

3. แบบ 3 คอลัมม์ (Three-column grids) ข้อความ และขนาดรูปภาพ สามารถขยายได้ โดยไม่จำ�กัดเนื้อที่

InDesign CC 45


สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การวางตำ � แหน่ ง คอลั ม น์ ทำ � ได้ โ ดยใช้ คำ�สั่งจาก Menu bar กดที่ Layout > Margins and Columns ระบุจำ�นวนคอลัมน์ และ ระยะห่าง ระหว่างคอลัมน์ที่ช่อง Gutter เสร็จแล้วกดที่ OK

การนำ�ข้อความจากโปรแกรมอื่นเข้ามาใช้ เช่น Microsoft Word ทำ�ได้โดยใช้คำ�สั่งจาก Menu bar กดที่ File > Place มาวางลงที่ช่องคอลัมน์

สร้างสรรค์งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การแบ่ ง เนื้ อ หาคอลั ม น์ โดยการใช้ คำ � สั่ ง จาก Menu bar เลือกที่ Object > Text Frame Options.... ระบุจำ�นวนคอลัมน์ และระยะห่างระหว่าง คอลัมน์ทช ี่ อ่ ง Gutter ขณะทีก่ รอบอักษร Active

การผสมอักษรและภาพ

Paragraph การจัดตัวอักษรโดยใช้คำ�สั่งจาก Menu bar กดที่ Window > Type & Tables > Paragaph

ใช้เครื่องมือ Selection Tool จาก Tool Box กดที่เครื่องหมาย + มุมล่างด้านขวาของคอลัมน์

ใช้คำ�สัง่ Justification ตัวอักษรชิดขอบซ้ายขวา วางคอลัมน์ที่ 2 โดยการกดเมาส์ค้าง แล้วลาก ลงด้านล่างตามแนวทะแยง จะปรากฎอักษรทีเ่ หลือ

34 InDesign CC 46

InDesign CC 48 13


48 InDesign CC InDesign CC 13

TE R

CH AP

06

W

ith Dr เค aw M Di รื่อง ing u ตัว cut มือ To ว lti Te อัก : ก าด ol m xt ษร าร ภา : Wr เจาะ ตัด ลาย e di ap รูป พื้น เส ้น a .... ภาพ หลัง .... .... .... ภา .... .... .... พ. ... .... .... .... 0 .... .... .... 0 .... .... .. . 0 0 00 0 0

ng

ki

W or


InDesign CC2017

สงวนลิขสิทธิ์

จัดพิมพ์โดย ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำ�นักวิทยบริการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.