HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION ARCH_THESIS_RMUTT.2018
NATSUKAN KUMSIRICHARAS
โรงพยาบาลและศูนย์ฟื้นฟูเฉพาะทางโรคปอด
ณัฐสุกานต์ คาสิริจรัส
วิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
NATSUKAN KUMSIRICHARAS
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018
CONTENTS สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ
หน้า ก ข ค ง
บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงการ 1.1 ความสาคัญของโครงการ 1.2 ปัญหาที่พบ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ 1.4 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ 1.5 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษาโครงการ
หน้า 1 – 02 1 – 02 1 – 02 1 – 03 1 – 05 1 – 07
บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการออกแบบ 2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2.2 ข้อมูลทั่วไปของโรคปอด 2.3 การแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา 2.4 ข้อมูลสถานพยาบาลท้องถิ่น 2.5 ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลเฉพาะทาง 2.6 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.7 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.8 คู่มือออกแบบและมาตรฐานของโรงพยาบาล 2.9 การศึกษาโครงการตัวอย่าง
2 – 01 2 – 04 2 – 07 2 – 09 2 – 12 2 – 19 2 – 20 2 – 28 2 – 56
CONTENTS บทที่ 3 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.1 ความเป็นมาที่ตั้งโครงการ 3.2 กฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี 3.3 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง 3.4 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.5 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ
หน้า 3 – 01 3 – 14 3 – 15 3 – 16 3 – 22
บทที่ 4 รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4.4 โครงสร้างการบริหารโครงการ 4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.6 สัดส่วนผู้ใช้โครงการ 4.7 กิจกรรมโครงการ 4.8 พื้นที่ใช้สอยโครงการ 4.9 งบประมาณที่เกี่ยวข้อง 4.10 รายได้จากโครงการ 4.11 งานระบบและเทคโนโลยีประกอบอาคาร
4 – 01 4 – 02 4 – 02 4 – 03 4 – 04 4 – 08 4 – 10 4 – 11 4 – 19 4 – 20 4 - 21
CONTENTS บทที่ 5 ผลงานการออกแบบ 5.1 แนวความคิดในการออกแบบ 5.2 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ 5.3 ความต้องการของพื้นที่โครงการ 5.4 โครงสร้างที่เหมาะสมกับโครงการและท้องถิ่น 5.5 สรุปแบบทางเลือก 5.6 การพัฒนาแบบร่างสถาปัตยกรรม 5.7 ผลการออกแบบสถาปัตยกรรม
หน้า 5 – 01 5 – 02 5 – 03 5 – 04 5 – 05 5 – 06 5 – 07
บทที่ 6 บทสรุป และข้อเสนอแนะ 6.1 สรุปผลการศึกษา 6.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้จัดทา ภาคผนวก statment ตารางสอบ สรุปผลการประเมิน
6 – 01 6 – 02
List of Illustration
สารบัญรูปภาพ
บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงการ รูปที่ 1 – 1 โถงต้อนรับ รูปที่ 1 – 2 ตรวจโรค รูปที่ 1 – 3 หอพักผู้ป่วยใน รูปที่ 1 – 4 แพทย์ผ่าตัด รูปที่ 1 – 5 ประตูโถง รูปที่ 1 – 6 บรรยากาศโรงพยาบาลในต่างประเทศ
หน้า 1 – 00 1 – 02 1 – 03 1 – 04 1 – 06 1 – 07
บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการออกแบบ รูปที่ 2 – 1 x – ray ปอด รูปที่ 2 – 2 เตียงบาบัดด้วยออกซิเจน รูปที่ 2 – 3 การรักษาด้วย MRI รูปที่ 2 – 4 ผู้ป่วยหนัก รูปที่ 2 – 5 ส่งตัวผู้ป่วย รูปที่ 2 – 6 รับผู้ป่วยหนักเข้ารับการรักษา รูปที่ 2 – 7 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558 รูปที่ 2 – 8 โรงพยาบาลสระบุรี รูปที่ 2 – 9 ห้องผ่าตัด รูปที่ 2 – 10 โถงทางเดิน รูปที่ 2 –11 ถังขยะ
2 – 00 2 – 01 2 – 02 2 – 03 2 – 06 2 – 08 2 – 09 2 – 10 2 – 11 2 – 12 2 – 13
List of Illustration บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการออกแบบ รูปที่ 2 –12 ห้องผู้ป่วยรวม รูปที่ 2 – 13 ออกกาลังกาย รูปที่ 2 – 14 หน้าห้องพักผู้ป่วย รูปที่ 2 – 15 โถงหน้าห้องพักผู้ป่วย รูปที่ 2 – 16 ห้องผ่าตัด รูปที่ 2 – 17 โถงหน้าห้องพักพักแพทย์ รูปที่ 2 – 18 เตรียมยา รูปที่ 2 – 19 ในห้องผ่าตัด รูปที่ 2 – 20 บรรยากาศรอบอาคาร รูปที่ 2 – 21 ผังเมืองสระบุรีสีเขียว
หน้า 2 – 15 2 – 17 2 – 19 2 – 28 2 – 29 2 – 30 2 – 31 2 – 32 2 – 34 2 – 57
List of Illustration
บทที่ 3 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ รูปที่ 3 – 1 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ รูปที่ 3 – 2 อ่างเก็บน้าในสระบุรี รูปที่ 3 – 3 ศึกษาแหล่งธรรมชาติ รูปที่ 3 – 4 ที่พักกลางแจ้ง รูปที่ 3 – 5 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558 รูปที่ 3 – 6 ผังแสดงภูมิประเทศ รูปที่ 3 – 7 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558 รูปที่ 3 – 8 แสดงพื้นที่สุขภาพเขตที่ 4 รูปที่ 3 – 9 น้าตกในสระบุรี รูปที่ 3 – 10 ผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี รูปที่ 3 – 11 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง รูปที่ 3 – 12 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ รูปที่ 3 – 13 แนวคิดขนาดพื้นที่โครงการ รูปที่ 3 – 14 แนวคิดขนาดพื้นที่โครงการ รูปที่ 3 – 15 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง A รูปที่ 3 – 16 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง B รูปที่ 3 – 17 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง C รูปที่ 3 – 18 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ
หน้า 3 – 00 3 – 01 3 – 03 3 – 05 3 – 07 3 – 08 3 – 10 3 – 12 3 – 13 3 – 14 3 – 15 3 – 16 3 – 17 3 – 18 3 – 19 3 – 20 3 – 21 3 – 22
List of Illustration บทที่ 3 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ รูปที่ 3 – 19 การศึกษาด้านกายภาพ รูปที่ 3 – 20 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ รูปที่ 3 – 21 คมนาคม
หน้า 3 – 23 3 – 24 3 – 25
บทที่ 4 รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ รูปที่ 4 – 1 ห้อง isorate รูปที่ 4 – 2 แพทย์อ่านฟิลม์x-ray รูปที่ 4 – 3 กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน รูปที่ 4 – 4 กลุ่มวินิจฉัยและรักษา รูปที่ 4 – 5 กิจกรรมในศูนย์ฟื้นฟู รูปที่ 4 – 6 ผู้ป่วยใน รูปที่ 4 – 7 กลุ่มบริการสนับสนุน รูปที่ 4 – 8 กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ รูปที่ 4 – 9 สรุปพื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ รูปที่ 4 – 10 เตียงผู้ป่วยวิกฤต
4 – 00 4 – 01 4 – 11 4 – 12 4 – 14 4 – 15 4 – 16 4 – 17 4 – 18 4 – 23
List of Illustration
บทที่ 5 ผลงานการออกแบบ 5.1 แนวความคิดในการออกแบบ 5.2 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ 5.3 ความต้องการของพื้นที่โครงการ 5.4 โครงสร้างที่เหมาะสมกับโครงการและท้องถิ่น 5.5 สรุปแบบทางเลือก 5.6 การพัฒนาแบบร่างสถาปัตยกรรม 5.7 ผลการออกแบบสถาปัตยกรรม
หน้า 5 – 01 5 – 02 5 – 03 5 – 04 5 – 05 5 – 06 5 – 07
บทที่ 6 บทสรุป และข้อเสนอแนะ 6.1 สรุปผลการศึกษา 6.2 ข้อเสนอแนะ
6 – 01 6 – 02
ที่มาและความสาคัญของโครงการ 1.1 ความสาคัญของโครงการ 1.2 ปัญหาที่พบ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ 1.4 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ 1.5 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษาโครงการ
รูปที่ 1 – 1 โถงต้อนรับ ที่มา : https://www.archdaily.com
1.1 ความสาคัญของโครงการ จากการทาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ปูนซีเมนต์ ในจังหวัดสระบุรี เป็นเวลาหลาย 10 ปี และยังคงดาเนินการต่อไม่น้อยกว่า 25 ปี ในอนาคต ผลกระทบคือ สุขภาพของในพื้นที่ รวมไปถึงความ เสี่ยงที่มีแนวโน้มมากขึ้น ในโรคที่เกี่ยวกับระบบ ทางเดินหายใจ มีโรคปอด เป็นต้น ได้มีความรุนแรง ขึ้น ใน 5-10 ปี ที่ผ่านมา
รูปที่ 1 – 2 ตรวจโรค https://pixabay.com
1-2
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1.2 ปัญหาที่พบ จานวนผู้เสียชีวิตจากโรคทางระบบ ทางเดินหายใจ 34.66 % ของประชากรใน จังหวัดสระบุรี ในปี2559 สถิติความรุนแรงของฝุ่นละออง PM2..5 เป็นลาดับ1 ในปี 2560
1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ เพื่อศึกษาหลักการออกแบบโรงพยาบาล และสาธารณูปโภค เพื่อศึกษาทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ โรคปอด เพื่อศึกษารูปแบบเทคโนโลยี ระบบ โครงสร้าง งานระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.4 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ 1.4.1 ศึกษาถึงปัญหาและแนวทางการป้องกันผู้ป่วย โรคปอด 1.4.2 ศึกษาถึงการออกแบบโรงพยาบาลเฉพาะทาง 1.4.3 ศึกษารูปแบบความเป็นไปได้ของโครงการ 1.4.4 ศึกษาการเลือกใช้ วัสดุและโครงสร้างอาคารที่ เหมาะสม
รูปที่ 1 – 3 หอพักผู้ป่วยใน ที่มา : https://www.archdaily.com HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1-3
รูปที่ 1 – 4 แพทย์ผ่าตัด https://pixabay.com
1-4
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1.5 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ เหตุผลที่ทาให้เกิดโครงการ
สภาพปัญหา -
คุณภาพอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม สถานพยาบาลไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ประชากร
ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
-
นโยบาย แผนพัฒนาจากภาครัฐ -
กระทรวงสาธารณสุขนโยบายแผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลสระบุรี (งบประมาณปี 2560-2564) ตามนโยบาย ยกระดับศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะโรค และศูนย์ความ เชี่ยวชาญระดับสูง และลดความแออัด ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน
ศึกษาอาคารตัวอย่าง
การสารวจพื้นที่
กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสระบุรี
กลุ่มผู้ใช้โครงการ
-
สถานที่ตั้ง บริบทโดยรอบ ปัญหาทางกายภาพ
กฎหมายผังเมือง
รายละเอียดโครงการและงานระบบที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดในการออกแบบ
วิเคราะห์ สร้างทางเลือก
การออกแบบเบื้องต้น
การพัฒนาแบบ
ทาแบบสถาปัตยกรรม นาเสนอผลงาน
ผังที่ 1-1 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1-5
รูปที่ 1 – 5 ประตูโถง https://pixabay.com
1-6
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาโครงการ 1.6.1 ได้ศึกษาหลักการออกแบบโรงพยาบาลและ สาธารณูปโภค 1.6.2 ได้ศึกษาทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคปอด 1.6.3 ได้ศึกษารูปแบบเทคโนโลยี ระบบโครงสร้าง งาน ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 1.6.4 ได้ศึกษาการใช้วัสดุที่เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด
รูปที่ 1 – 6 บรรยากาศโรงพยาบาลในต่างประเทศ ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
1-7
รูปที่ 2 – 1 x – ray ปอด www.bangkokhospital.com
1-8
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ทฤษฎีและหลักการออกแบบ 2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2.2 ข้อมูลทั่วไปของโรคปอด 2.3 การแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา 2.4 ข้อมูลสถานพยาบาลท้องถิ่น 2.5 ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลเฉพาะทาง 2.6 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.7 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.8 คู่มือออกแบบและมาตรฐานของโรงพยาบาล 2.9 การศึกษาโครงการตัวอย่าง
2.1 ความหมายและคาจากัดความ
โ ร ง พ ย า บ า ล ห ม า ย ถึ ง สถานพยาบาลใด ๆ ซึ่ ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ตั้ ง และ ด าเนิ น การสถานพยาบาลตามพระราชบั ญ ญั ติ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 เพื่ อ ประกอบการ รักษาพยาบาลคนไข้หรือผู้ป่วย ซึ่งมีเตียงรับคนไข้ ไว้ ค้า งคื น และจั ดให้ มีก ารวินิ จฉั ยโรค การศั ลยกรรม ผ่าตัดใหญ่ (major surgery) และให้บริการด้าน พยาบาลเต็มเวลา
รูปที่ 2 – 2 เตียงบาบัดด้วยออกซิเจน ที่มา : https://www.archdaily.com
2-1
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
โรงพยาบาลและ สถานพยาบาลประเภทเฉพาะโรค ได้ แ ก่ โรงพยาบาลและสถานพยาบาลแผนปัจจุบันหรือ แผนโบราณ ซึ่งให้บริการด้านการรักษาพยาบาล แก่คนไข้เฉพาะโรค โดยมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผน ปัจจุบันหรือแผนโบราณในสาขาเฉพาะโรค ทาการ รั ก ษาโรคเฉพาะนั้ น ๆ เช่ น สาขาศั ล ยกรรม อายุรกรรม กุมารเวช สูติ-นรีเวชวิทยา เป็นต้น
รูปที่ 2 – 3 การรักษาด้วย MRI ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2-2
ผู้ ป่ ว ย หมา ยถึ ง ผู้ ที่ เ ข้ า รั บ การรั กษา หรื อ ผู้รั บ บริ การด้ ว ยการพยาบาล ได้จ าแนกไว้ เ ป็ น 2 ประเภท คือ (1) ผู้ ป่ ว ยใน หมายถึ ง ผู้ ที่ ต้ อ งเข้ า รั บ การ รักษาในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลอย่างน้อย 6 – 8 ชั่วโมง หรือ ผู้ที่ต้องเสียค่าห้องและอาหาร ประจ าวั น ในการเข้ า รั ก ษาในโรงพยาบาลและ สถานพยาบาล (2) ผู้ ป่ ว ยนอก หมายถึ ง ผู้ ที่ รั บการบริ ก าร หรือเวชภัณฑ์อันเนื่องมาจากการรักษา พยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกหรือในห้องรักษาฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลและสถานพยาบาล หรือผู้ที่รับการ ศัลยกรรมผ่าตัดเล็ก (minor surgery) โดยไม่เป็น ผู้ป่วยในตามนิยามข้อ (1) รูปที่ 2 – 4 ผู้ป่วยหนัก ที่มา : https://www.archdaily.com
2-3
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.2 ข้อมูลทั่วไปของโรคปอด แม้ว่าจะไม่มีวิธีใดที่สามารถป้องกันโรคปอดติดเชื้อ ได้ทั้งหมด แต่พบว่ามีบางวิธีที่อาจช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ นอกจากนั้นยังมีวิธีการรักษาที่ได้ผลในการรักษาโรคปอดติดเชื้อหลาย ชนิดเมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้วและเนื่องจากโรคนี้มีได้หลายรูปแบบ การ รักษาจึงมีได้หลายวิธี ผู้ป่วยบางคนอาจต้องการเพียงแค่พักผ่อน แต่บาง คนอาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล แพทย์จะเป็นผู้พิจารณา แผนการรักษาที่เหมาะสมกับภาวะของคน ชนิดของโรคความรุนแรง ของโรค อายุ และสุขภาพโดยรวมของคุณ หลังจากนั้น คุณจะทราบว่า จะสามารถกลั บ ไปรั ก ษาที่ บ้ า นได้ ห รื อ ต้ อ งเข้ า รั บ การรั ก ษาใน โรงพยาบาล และจาเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะหรือไม่ โดยทั่ ว ไปแล้ ว หากเป็ น การติ ด เชื้ อ ที่ เ กิ ด จาก แบคทีเรียหรือเชื้อรา แพทย์จะเน้นการรักษาไปที่การติดเชื้อ แต่ถ้าเกิด จากการติ ด เชื้ อ ไวรั ส จะเน้ น รั ก ษาที่ อ าการการให้ ย าปฏิ ชีว นะอย่ า ง รวดเร็วมักได้ผลดีในการติดเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่และมียาบางชนิดที่ สามารถใช้รักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อราได้ แต่ไม่มียาทีสามารถรักษา โรคปอดติดเชื้อจากไวรัสซึ่งโรคนี้มักจะมีอาการรุนแรงน้อยกว่าและ สามารถหายไปได้เองควรติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิดกับแพทย์และ ปฏิบัติตัวตามคาแนะนาเพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูได้เร็ว
การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากแบคทีเรีย โรคปอดติ ด เชื้ อ จากแบคที เ รี ย สามารถรั ก ษาได้ โ ดยการให้ ย า ปฏิชีวนะซึ่งมักจะทาให้อาการดีขึ้นภายใน 3 วัน ในผู้สูงอายุมากๆ เด็กมากๆ หรือมีอาการหายใจลากหรือไข้สูงอาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา หากคุณต้องไปโรงพยาบาล แพทย์อาจ ทาการเก็บเสมหะไปเพาะเชื้อหรือตรวจเลือดเพื่อระบุหาเชื้อแบคทีเรียชนิดที่ ทาให้เกิดโรค ผู้ที่มีอาการรุนแรงอาจได้รับการรักษาด้วยการให้ออกซิเจน ให้ สารน้าและการช่วยหายใจเพื่อช่วยลดอาการ การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากไวรัส โรคปอดติ ด เชื้ อ จากไวรั ส มั ก สามารถรั ก ษาได้ ที่ บ้ า น (หรื อ นอก โรงพยาบาล) หากเป็นโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อไข้หวัดอาจสามารถใช้ยา ชื่อ Tamiflu(Oseltamivir) ในการรักษาได้ แต่การติดเชื้อไวรัสตัวอื่นสามารถ รักษาได้แต่เพียงตามอาการเท่านั้น ซึ่งก็คือการดื่มน้าเยอะๆ รับประทาน อาหารให้เพียงพอ พักผ่อน รับประทานยาแก้ปวดหรือลดไข้ และลดอาการ หายใจลาบาก โรคนี้มักใช้เวลาประมาณ 1-3 สัปดาห์ก่อนที่จะหายขาด เชื้อ Mycoplasma เป็นเชื้อที่อยู่ระหว่างไวรัสและแบคทีเรีย การเกิดปอดติดเชื้อ จากเชื้อตัวนี้มักทาให้มีอาการไม่รุนแรงและมักพบได้ทั่วไปในเด็กและผู้ใหญ่ ตอนต้ น ภาวะนี้ ส ามารถรั ก ษาได้ ด้ ว ยยาปฏิ ชี ว นะหลายชนิ ด และมั ก ไม่ จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาล
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2-4
การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อรา หากอาการของโรคปอดติ ด เชื้ อ ของคุ ณ เกิ ด ขึ้ น ช้ า และ เอกซเรย์มีความผิดปกติ อาจแสดงว่าคุณเกิดการติดเชื้อจากเชื้อรา โรคปอดติดเชื้อชนิดนี้สามารถวินิจฉัยได้จากการเจาะเลือดเพื่อดู ระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา มีเชื้อรามากกว่า 10 ชนิดที่สามารถทา ให้เกิดโรคปอดติดเชื้อได้ และมักจะพบในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ามียาฆ่า เชื้อราหลายชนิดที่สามารถใช้ในการรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อ ราได้ ทั้งทางการกินและให้ทางเส้นเลือดดา การรักษาโรคปอดติดเชื้อที่มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนอาจเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ที่เริ่มมีอาการปอด ติ ด เ ชื้ อจ า ก กา ร ส า ลั ก อ า ห า ร ห รื อที่ เ รี ย ก ว่ า aspiration pneumonia โรคปอดติดเชื้ออีกประเภทหนึ่งที่รุนแรงเรียกว่า necrotizing pneumonia ซึ่งเป็นโรคปอดติดเชื้อจากไวรัสที่มีการ ติดเชื้อแบคทีเรียชนิด staphylococcus ซ้า โรคปอดติดเชื้อที่มี ภาวะแทรกซ้อนเหล่านักทาให้ระบบหายใจล้มเหลวและอาจต้องใช้ เครื่ อ งช่ ว ยหายใจ ในผู้ ป่ ว ยที่ มี อาการรุ น แรงบางรายอาจมี ก าร สะสมของหนองอยู่ภายในปอดเรียกว่า ฝีในปอด (lung abscess) หากมีภาวะดังกล่าวอาจจะต้องไปทาการกรีดระบายหนองออกจาก ปอดหรือตัดเนื้อเยื่อปอดส่วนที่เป็นโรคออก
2-5
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
รูปที่ 2 – 5 ส่งตัวผู้ป่วย ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2-6
2.3 การแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา โรงพยาบาลสระบุรี ได้มีแผนในการลดความ แออัด โดยมีการเปิดศูนย์สุขภาพชุมชน 3 แห่ง เพื่อสกัดผู้ป่วยโรค ทั่ ว ไปไม่ ต้ อ งเดิ น ทางมารั บ บริ ก ารที่ โรงพยาบาลสระบุ รี ดาเนินการมา 3 ปีแล้ว ทั้ง 3 แห่งมีผู้ป่วยโรคทั่วไปเข้ารับบริการ ประมาณวันละ 200-300 ราย แม้ว่าจะลดผู้ป่วยนอกได้บ้างแต่ก็ ไม่ ม ากอยากที่ ค าดการณ์ ไ ว้ แต่ ห ากไม่ มี ศู น ย์ สุ ข ภาพชุ ม ชนนี้ จานวนผู้ป่วยนอกที่ โรงพยาบาลสระบุรีก็จะเพิ่มเป็นกว่า 3,000 คนต่อวัน และที่ผ่านมาแม้ว่า โรงพยาบาลจะมีการจัดระบบนัด ผู้ป่วย แต่ก็จะมีบางส่วนที่ผิดนัดและมาในวันถัดมาทาให้ผู้ป่วยล้น แพทย์ตรวจรักษาไม่ทัน บางวันผู้ป่วยมาตั้งแต่ 6 โมงเช้า แต่กว่า จะได้รับการตรวจก็รอถึง 4-5 โมงเย็น เลยเวลาราชการไปแล้ว ขณะที่ จ านวนผู้ ป่ ว ยและการใช้ บ ริ ก ารเพิ่ ม สูงขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพ ในฐานะคนให้บริการก็อยากให้บริการที่ดี ไม่อยากให้ผู้ป่วยรอนาน และที่ผ่านมา โรงพยาบาลก็พยายาม ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข แต่ ปั ญ หาบางอย่ า งต้ อ งดู ภ าพรวมและแก้ ไ ข ระดับประเทศด้วย
2-7
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
รูปที่ 2 – 6 รับผู้ป่วยหนักเข้ารับการรักษา ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2-8
2.4 ข้อมูลสถานพยาบาลท้องถิ่น โรงพยาบาลรัฐบาล 14 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 4 แห่ง จานวนเตียงปีต่อระชากรจังหวัดสระบุรี 353:1 เตียง/คน ปี 2559 ประชากรจังหวัดสระบุรีต่อแพทย์ 1 คน 2,346:1 ประชากร/แพทย์ ปี 2559
ระดับการให้บริการสถานพยาบาลในจังหวัดสระบุรี ทุติยภูมิ ระดับต้น ทุติยภูมิ ระดับปานกลาง – ระดับสูง ตติยภูมิ
2-9
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
รูปที่ 2 – 7 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558 ที่มา : กฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี พ.ศ.2554
ข้อมูลทั่วไป โรงพยาบาลสระบุรี เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ขนาด 700 เตียง มีเนื้อที่ 36 ไร่ 1 ตารางวา (เฉพาะส่วน ให้บริการ 27 ไร่ 2 งาน 5 ตารางวา) อยู่บนพื้นที่ราบ ริมฝั่งแม่น้าป่าสัก ห่างจากศาลากลางจังหวัดสระบุรี 1 กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนเทศบาล 4 แยกจากถนน พหลโยธิน (ด้านหน้าโรงพยาบาล) ทิศใต้ จดแม่น้าป่าสักทิศตะวันออก จดบ้านพัก ประชาชนทิศตะวันตก จดวิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนีสระบุรี
เป็นส่วนหนึ่งของการรักษาเขตสุขภาพที่ 4 ประกอบด้วย นครนายก ปทุมธานี นนทบุรี ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง มีประชากรในความรับผิดชอบ ประมาณ 5 ล้านคน
รูปที่ 2 – 8 โรงพยาบาลสระบุรี ที่มา : http://www.srbr.in.th/
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 10
รูปที่ 2 – 9 ห้องผ่าตัด ที่มา : https://www.archdaily.com
2 - 11
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.5 ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลเฉพาะทาง โรงพยาบาลเฉพาะทางต้องประกอบด้วยหน่วย บริการและระบบสนับสนุนการให้บริการ ดังต่อไปนี้ (1) แผนกเวชระเบียน (2) แผนกผู้ป่วยนอก (3) แผนกผู้ป่วยใน (4) แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน (5) แผนกเภสัชกรรม (6) แผนกเทคนิคการแพทย์ (7) แผนกรังสีวิทยา (8) ระบบรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน (9) ระบบควบคุมการติดเชื้อ (10) ระบบไฟฟ้าสารอง (11) ระบบน้าสารอง (12) หน่วยบริการหรือระบบสนับสนุนการให้บริการอืน่ ตามที่แจ้งไว้ในการขออนุญาต
รูปที่ 2 – 10 โถงทางเดิน ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 12
การจัดการ มูลฝอยจากสถานบริการการสาธารณสุข 75 - 90 % มูลฝอยทั่วไป 10 - 25 % มูลฝอยอันตราย - มูลฝอยติดเชื้อ ของเสียอันตราย
รูปที่ 2 –11 ถังขยะ ที่มา : pexels.com
2 - 13
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
แผนผังการจัดการมูลฝอยประเภทต่างๆ ของสถานบริการสาธารณสุข มูลฝอยจากสถานบริการสาธารณสุข
มูลฝอยทั่วไป / เศษอาหาร
มูลฝอยติดเชื้อ
มูลฝอยติดเชื้อมีคม
มูลฝอยอันตราย
มูลฝอยกัมมันตรังสี
ทิ้งใส่ถุงดา / ถังเศษอาหาร
ทิ้งใส่ถุงสีแดง เขียนข้างถุงว่า “มูลฝอยติด เชื้อห้ามเปิด”
ทิ้งใส่ภาชนะที่ มิดชิดและทนทาน
ทิ้งใส่ถังสีเทาแสดง และระบุข้างถังว่า “มูลฝอยอันตราย”
เก็บรวบรวม ในที่ชิด
ที่พักมูลฝอยของสถานบริการการสาธารณสุขโดยแยกตามประเภทมูลฝอย
การกาจัดมูลฝอยติดเชื้อที่แหล่งกาเนิด
จัดส่งหรือกาจัด ตามระเบียบสา นักงานพลังงาน ปรมาณูเพื่อสันติ
มูลฝอยรีไซเคิล
แยกเก็บเป็น - แก้ว - กระดาษ - โลหะ - พลาสติก - อื่น ๆ
รวบรวมไว้ เพื่อจาหน่าย
หน่วยงานที่รับผิดชอบทาการเก็บขนไปกาจัด ผังที่2-1 การจัดการมูลฝอยประเภทต่างๆ ของสถานบริการสาธารณสุข ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 14
การจัดการห้องเก็บศพ เป็นตู้เย็นเก็บแบบเปิดท้ายตู้และเป็นห้องควบคุมอุณหภูมิ สาหรับการเก็บรักษาสภาพศพของผู้เสียชีวิตได้ ครั้งละ 2 ศพผู้ใหญ่การออกแบบที่ต้องเตรียมไว้ - ตู้เย็นเก็บศพผู้เสียชีวิตขนาดไม่น้อยกว่า (กว้าง 92.5 x ยาว 240 x สูง 185) เชนติเมตรสูงรวมคอมเพรสเซอร์ 232.5 เซนติเมตร โดยสามารถแยก คอมเพรสเซอร์ออกไปติดตั้งด้านนอกห้องเก็บศพได้ - ระบบไฟฟ้า 220 v 50-60 z พร้อมระบบกราวน์ - ตัวตู้เป็นตู้เย็นเก็บศพแบบ 2 ช่อง พร้อมล้อสามารถเคลื่อนที่และล็อคให้อยู่กับที่ได้ - สามารถเก็บศพผู้เสียชีวิตได้คราวละ 2 ศพผู้ใหญ่ - โรงงานผู้ผลิตได้รับมาตรฐาน ISO 9001 : 2000
รูปที่ 2 –12 ตู้เก็บศพ(เย็น) ที่มา : https://google.com
2 - 15
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
แนวทางการจัดการศพ ข้อปฏิบัติสาหรับการจัดการเกี่ยวกับศพ 1. พยาบาลที่ทาหน้าที่จัดการตกแต่งศพต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคลให้เหมาะสม ป้องกันการปนเปื้อนสารคัดหลั่งปฏิบัติ 2. ห่อหุ้มศพด้วยผ้าพลาสติก 2 ชั้น/ถุงซิปห่อศพ 2 ชั้นและปิดผนึกด้วยแถบกาวด้านหน้า/บริเวณซิปใช้ผ้าชุบน้ายาฆ่าเชื้อเช็ดที่ถุงห่อศพชั้นใน และใช้ผ้าผืน ใหม่ชุบน้ายาฆ่าเชื้อเช็ดที่ถุงห่อศพชั้นนอก 3. ตามพนักงานเคลื่อนย้ายศพมาที่หอผู้ป่วย 4. พนักงานเคลื่อนย้ายศพต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคลขณะทาการขนย้ายศพ 5. เก็บศพในตู้เย็นแช่ศพ เมื่อญาติมารับให้ใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคลก่อนนาศพบรรจุในโลงทีผ่ นึกอย่างแน่นหนาก่อนเคลื่อนย้ายศพออกจาก โรงพยาบาล 6. ให้คาแนะนาญาติ/ผูเ้ กี่ยวข้อง ขณะการเคลื่อนย้ายศพ หรือประกอบพิธีทางศาสนาห้ามเปิดห่อศพเด็ดขาด และดาเนินการเผาหรือฝังศพโดยเร็ว (หาก จาเป็นต้องฝังศพ แนะนาให้ขุดหลุมลึกกว่าเดิมประมาณ1–2 เมตร ไม่อยู่ใกล้แหล่งน้าและไม่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้าท่วมถึง หากเป็นไปได้ควรโรยปูนขาวโดยรอบ ด้านในหลุมศพ 7. อุปกรณ์ชนิดใช้ครั้งเดียวทุกชนิดที่ใช้กับศพ และอุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคลให้ถือเป็นมูลฝอยติดเชื้อ เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจต้องทิ้งในถุงมูลฝอยติดเชื้อ มัดปากถุงให้แน่น เช็ดรอบถุงด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ใส่ถุงแดงชั้นที่ 2 มัดปากถุงมูลฝอยเช็ดรอบถุงด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ และทิ้งลงในภาชนะรองรับภายในห้อง 8. ผ้าทุกชนิดที่ใช้กับศพให้ใส่ในถุงที่ทาจากข้าวโพดหรือถุงมูลฝอยติดเชื้อมัดปากถุงให้แน่น เช็ดรอบถุงด้วยน้ายาฆ่าเชื้อใส่ถุงแดงชั้นที่ 2 มัดปากถุง เช็ดรอบ ถุงด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ และใส่ลงในภาชนะรองรับภายในห้องส่งงานบริการผ้า เพื่อซักตามมาตรฐานการซักผ้าติดเชื้อ 9. หากมีสารคัดหลั่งของผู้ป่วยปนเปื้อนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน หมอน หรือผ้าอื่นๆ ให้ถือเป็นมูลฝอยติดเชื้อ และจัดการตามแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ อันตราย 10. หากมีสารคัดหลั่งของผู้ป่วยปนเปื้อนสิ่งแวดล้อมให้เช็ดทาความสะอาดตามแนวทางการทาความสะอาดสิง่ แวดล้อม โดยใช้น้ายาฆ่าเชื้อ เช่น sodium hypochlorite เข้มข้น 5,000 ppm 11. หากสงสัยว่าศพเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ห้ามส่งศพไปผ่าชันสูตร (autopsy)
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 16
การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด เป้าหมาย 1. เพิ่มการบริการทางกายภาพบาบัดในระบบทางเดินหายใจและปอด 2. ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และฟื้นฟูหรือคงสมรรถภาพทางกาย 3. ผู้ป่วยและญาติ ได้รับความรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการฟื้นฟู
เครื่องมือที่ใช้ การทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที • วัดระยะทางที่เปลี่ยนไป ก่อน และหลัง เข้าร่วมโครงการ Peak Flow ค่า PEFR • Peak Flow ค่า PEFR (peak expiratory flow rate) ค่าที่เปลี่ยนไป ก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการPeak Flow เพิ่มขึ้น 5% จากครั้งแรกที่เข้าร่วม โครงการ คู่มือออกาลังกาย • ฟื้นฟูสมรรถภาพปอดที่บ้าน รูปที่ 2 – 13 ออกกาลังกาย ที่มา : https://www.archdaily.com 2 - 17
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ผู้ป่วยนอกพบแพทย์ ตามนัด แพทย์ส่งผู้ป่วย เข้าร่วมโครงการ เลือกผู้ร่วมโครงการตามเกณฑ์ คัดเลือก และคัดออก
ประเมินและเตรียมสถานที่ เหมาะกับตัว บุคคล อุปกรณ์ช่วยเดิน, O2 Support
ทาแบบประเมิน CCQ อธิบายและสาธิต การการใช้คู่มือออกกาลังกาย
ตรวจประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น แนะนาการเดินทดสอบ 6 นาที
นัดติดตามโปรแกรมออกกาลังกาย เดือนละ 1 ครั้ง ทดสอบซ้า
ทดสอบการเดิน 6 นาที และบันทึก พร้อมทั้งค่า Recovery Time ผังที่2-2 การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 18
2.6 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง - กระทรวงสาธารณสุขนโยบายแผน ยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลสระบุรี (งบประมาณปี 2560-2564) - ตามนโยบาย ยกระดับศูนย์ความ เชี่ยวชาญเฉพาะโรค และศูนย์ความ เชี่ยวชาญระดับสูง และลดความแออัด ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน
รูปที่ 2 – 14 หน้าห้องพักผู้ป่วย ที่มา : https://www.archdaily.com
2 - 19
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.7 กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง กฎหมาย
กฎกระทรวง การใช้ประโยชน์ที่ดิน เมือง สระบุรี พ.ศ. 2548 (ยกเลิกแล้ว)
กฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
ภาพประกอบ
รายละเอียด ผังเมืองรวมเมืองสระบุรี ประกาศใช้บังคับวันที่ 16 พฤศจิกายน 2548 (ยกเลิกแล้ว) ปัจจุบัน ใช้กฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 และกาลังปรับปรุงมีแนวโน้มจะ ประกาศใช้ฉบับใหม่ใน ปี 2562
สีชมพู ที่ดินประเภทชุมชน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้เป็นไปตามที่กาหนด
ตารางที่ 2 – 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 20
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2535 อาคารสูง และอาคารขนาด ใหญ่พิเศษ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
2 - 21
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ภาพประกอบ
รายละเอียด “อาคารขนาดใหญ่พิเศษ” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อ ใช้อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบ กิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภทโดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป ที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษที่มี พื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นไม่เกิน 30,000 ตารางเมตร ต้องมีด้านหนึ่งด้าน ใดของที่ดินนั้นยาวไม่น้อยกว่า 12.00 เมตร ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทาง กว้างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร ยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับ ถนนสาธารณะอื่นที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ใน การชุมนุมคนได้โดยทั่วไปเพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรง มหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนาม กีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่า จอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
ภาพประกอบ
รายละเอียด กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.00 เมตร แต่ทั้งนี้ จะต้องไม่จัดให้ มีทางเข้าออกของรถเป็นทางเดินรถทางเดียว “สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และ คนชรา” หมายความว่า ส่วนของอาคารที่สร้างขึ้นและอุปกรณ์อันเป็น ส่วนประกอบของอาคารที่ติดหรือตั้งอยู่ภายในและภายนอกอาคารเพื่ออานวย ความสะดวกในการใช้อาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา
กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกใน อาคารสาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558
อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี ้ ต้ องจัดให้ มีสงิ่ อานวย ความสะดวกสาหรับผู้พิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราตามที่กาหนดใน กฎกระทรวงนี ้ ในบริ เวณที่เปิ ดให้ บริ การแก่บคุ คลทัว่ ไป (1) โรงพยาบาล สถานพยาบาล ศูนย์บริ การสาธารณสุข สถานี อนามัย อาคารที่ทาการของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐที่จดั ตังขึ ้ ้น ตามกฎหมาย สถานศึกษา หอสมุดและพิพิธภัณฑสถานของรัฐ สถานีขนส่ง มวลชน เช่น ท่าอากาศยาน สถานีรถไฟ สถานีรถ ท่าเทียบเรื อที่มีพืน้ ที่สว่ น ใดของอาคารที่เปิ ดให้ บริ การแก่บคุ คลทัว่ ไปเกิน 300 ตารางเมตร
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 22
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกใน อาคารสาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558
2 - 23
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ภาพประกอบ
รายละเอียด ทางลาดให้มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) พื้นผิวทางลาดต้องเป็นวัสดุที่ไม่ลื่น (2) พื้นผิวของจุดต่อเนื่องระหว่างพื้นกับทางลาดต้องเรียบไม่สะดุด (3) ความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดมีความยาว ของทุกช่วงรวมกันตั้งแต่ 6,000 มิลลิเมตร ขึ้นไป ต้องมีความกว้างสุทธิไม่ น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (4) มีพื้นที่หน้าทางลาดเป็นที่ว่างยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (5) ทางลาดต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไม่เกิน 6,000 มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตร ต้องจัดให้มี ชานพักยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร คั่นระหว่างแต่ละช่วงของทางลาด (6) ทางลาดด้านที่ไม่มีผนังกั้นให้ยกขอบสูงจากพื้นผิวของทางลาดไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร และมีราวกันตกลิฟต์ที่ผ้ พู ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ใช้ ได้ ที่มีลกั ษณะเป็ นห้ องลิฟต์ต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี ้ (1) ขนาดของห้ องลิฟต์ต้องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 1,100 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,400 มิลลิเมตร (2) ช่องประตูลฟิ ต์ต้องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และต้ องมีระบบแสงเพื่อป้องกันไม่ให้ ประตูลฟิ ต์หนีบผู้โดยสาร (3) มีพื ้นผิวต่างสัมผัสบนพื ้นบริ เวณหน้ าประตูลฟิ ต์กว้ าง 300 มิลลิเมตร และยาว 900 มิลลิเมตร ซึง่ อยูห่ า่ งจากประตูลฟิ ต์ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
ภาพประกอบ
รายละเอียด (4) ปุ่มกดเรียกลิฟต์ ปุ่มบังคับลิฟต์ และปุ่มสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกใน อาคารสาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558
(ก) ปุ่มล่างสุดอยู่สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ปุ่มบนสุดอยู่สูงจากพื้นไม่ เกินกว่า 1,200 มิลลิเมตร และห่างจากมุมภายในห้องลิฟต์ไม่น้อยกว่า 400 มิลลิเมตร ในกรณีที่ ห้องลิฟต์มีขนาดกว้างและยาวน้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (ข) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 20 มิลลิเมตร มีอักษรเบรลล์กากับไว้ทุก ปุ่มเมื่อกดปุ่มจะต้องมีเสียงดังและมีแสง (ค) ไม่มีสิ่งกีดขวางบริเวณที่กดปุ่มลิฟต์ (5) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์ โดยราวมีลักษณะตามที่กาหนดในข้อ 8 (7) (ก) (ข) (ค) และ (ง) (6) มีตัวเลขและเสียงบอกตาแหน่งชั้นต่าง ๆ เมื่อลิฟต์หยุด และขึ้นหรือลง (7) มีป้ายแสดงหมายเลขชั้นและแสดงทิศทางบริเวณโถงหน้าประตูลิฟต์และติดอยู่ ในตาแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน (8) ในกรณีที่ลิฟต์ขัดข้องให้มีทั้งเสียงและแสงไฟเตือนภัยเป็นไฟกะพริบสีแดง เพื่อให้คนพิการทางการมองเห็นและคนพิการทางการได้ยินทราบ และให้มีไฟกะพริบสีเขียวเป็น สัญญาณให้คนพิการทางการได้ยินได้ทราบว่าผู้ที่อยูข่ ้างนอกรับทราบแล้วว่าลิฟต์ขัดข้องและกา ลังให้ความช่วยเหลืออยู่ (9) มีโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉินภายในลิฟต์ซึ่งสามารถติดต่อกับภายนอกได้ โดยต้อง อยู่สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร (10) มีระบบการทางานที่ทาให้ลิฟต์เลื่อนมาอยู่ตรงที่จอดชั้นระดับพื้นดินและประตู ลิฟต์ต้องเปิดโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 24
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกใน อาคารสาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558
2 - 25
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ภาพประกอบ
รายละเอียด บันไดที่ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้อย่างน้อยชั้นละ 1 แห่ง โดยต้อง มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (2) มีชานพักทุกระยะในแนวดิ่งไม่เกิน 2,000 มิลลิเมตร (3) มีราวบันไดทั้งสองข้าง โดยให้ราวมีลักษณะตามที่กาหนดในข้อ 8 (7) (4) ลูกตั้งสูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออก แล้วเหลือความกว้างไม่น้อยกว่า 280 มิลลิเมตร และมีขนาดสม่าเสมอตลอดช่วงบันได ใน กรณีที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันหรือมีจมูกบันไดให้มีระยะเหลือ่ มกันได้ไม่เกิน 20 มิลลิเมตร (5) พื้นผิวของบันไดต้องใช้วัสดุที่ไม่ลื่น (6) ลูกตั้งบันไดห้ามเปิดเป็นช่องโล่ง (7) มีป้ายแสดงทิศทาง ตาแหน่ง หรือหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการ มองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นและทางลงของ บันไดที่เชื่อมระหว่างชั้นของอาคาร จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา อย่างน้อยตามอัตราส่วน ดังนี้ ถ้ าจานวนที่จอดรถตังแต่ ้ 51 คัน แต่ไม่เกิน 100 คัน ให้ มีที่จอดรถสาหรับผู้ พิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้ อย 2 คัน ถ้ าจานวนที่จอดรถตังแต่ ้ 101 คัน ขึ ้นไป ให้ มีที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรื อ ทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้ อย 2 คัน และเพิ่มขึ ้นอีก 1 คัน สาหรับทุก ๆ จานวนรถ 100 คันที่เพิ่มขึ ้น เศษของ 100 คัน ถ้ าเกินกว่า 50 คัน ให้ คิดเป็ น ๑๐๐ คัน
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกใน อาคารสาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558
พ.ร.บ. การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
ภาพประกอบ
รายละเอียด ทางเข้าอาคารเพื่อให้ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้โดยมี ลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นพื้นผิวเรียบเสมอกัน ไม่ลื่น ไม่มีสิ่งกีดขวาง หรือส่วนของอาคารยืน่ ล้าออกมาเป็นอุปสรรคหรืออาจทาให้เกิดอันตรายต่อผูพ้ ิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (2) อยู่ในระดับเดียวกับพื้นถนนภายนอกอาคารหรือพื้นลานจอดรถ ใน กรณีที่อยู่ต่างระดับ ต้องมีทางลาดที่สามารถขึน้ ลงได้สะดวก และทางลาดนี้ให้อยู่ ใกล้ที่จอดรถ
“มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษ สินค้า เศษถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมตลอด ถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บ กวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมายความรวมถึง มูลฝอย ติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 26
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) กฎหมาย
ภาพประกอบ
รายละเอียด “โรงพยาบาลเฉพาะทาง” หมายความว่า โรงพยาบาลที่จัดให้มีการ ประกอบวิชาชีพเฉพาะทางด้านเวชกรรม ซึ่งดาเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรม และผู้ประกอบวิชาชีพนั้นต้องได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติจาก แพทยสภา เช่น โรงพยาบาลเฉพาะทางหู ตา คอ จมูก โรงพยาบาลเฉพาะทาง โรคหัวใจ และโรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง เป็นต้น
กฎกระทรวง กาหนดลักษณะของ สถานพยาบาลและลักษณะการ ให้บริการของสถานพยาบาล พ.ศ. 2558
โรงพยาบาลเฉพาะทางต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบ สนับสนุนการให้บริการ ดังต่อไปนี้ (7) แผนกรังสีวิทยา (1) แผนกเวชระเบียน (8) ระบบรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน (2) แผนกผู้ป่วยนอก (9) ระบบควบคุมการติดเชื้อ (3) แผนกผู้ป่วยใน (10) ระบบไฟฟ้าสารอง (4) แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน (11) ระบบน้าสารอง (5) แผนกเภสัชกรรม (12) หน่วยบริการหรือระบบสนับสนุนการ (6) แผนกเทคนิคการแพทย์ ให้ บริ การอื่นตามที่แจ้ งไว้ ในการขออนุญาต โรงพยาบาลเฉพาะทางขนาดเล็กอาจไม่มีหน่วยบริ การตาม (6) หรื อ (7) แต่จะต้ องจัดให้ มีบริ การเท่าทีจ่ าเป็ นได้
2 - 27
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.8 คู่มือออกแบบและมาตรฐานของโรงพยาบาล มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ การเปรียบเทียบหน่วยบริการของโรงพยาบาลกับข้อกาหนด มาตรฐานในการเปรียบเทียบหน่วยบริการของโรงพยาบาลในแต่ละขนาดตาม ระบบ มาตรฐานกับข้อกาหนดมาตรฐาน นั้น แบ่งเป็นรายการการใช้สอยสาคัญ ดังนี้ ก.กลุ่มบริการผู้ป่วยนอก-อุบัติเหตุ 1.ส่วนบริการคนไข้นอก 1.1 ตรวจโรค 1.2 เวชกรรมสังคม - งานรักษาพยาบาลชุมชน - งานส่งเสริมสุขภาพ - งานป้องกันและควบคุมโรค - งานสังคมสงเคราะห์ - งานสุขศึกษา 1.3 ทันตกรรม 1.4 เวชระเบียน ในส่วนนี้ประกอบไปด้วยห้องตรวจโรค และพื้นที่ให้บริการรวมถึง พื้นที่ จัดเก็บเอกสารข้อมูลต่างๆ 2. ส่วนบริการคนไข้ อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ประกอบไปด้วย เตียงตรวจรักษา เตียงสังเกตุอาการ และเตียงช่วยฟื้นคืนชีพ
รูปที่ 2 – 15 โถงหน้าห้องพักผู้ป่วย ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 28
มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ การเปรียบเทียบหน่วยบริการของโรงพยาบาลกับ ข้อกาหนดมาตรฐานในการเปรียบเทียบหน่วยบริการของโรงพยาบาล ในแต่ ล ะขนาดตามระบบมาตรฐานกั บ ข้ อ ก าหนดมาตรฐาน นั้ น แบ่งเป็นรายการการใช้สอยสาคัญ ดังนี้ ข.กลุ่มวินิจฉัย และ รักษา 1.ส่วนวินิจฉัยรักษาด้วยรังสี/CT/MRI (รังสีวินิจฉัย) 1.1 เอ๊กซ์-เรย์ 1.2 อัลตร้าซาวด์ ในส่วนนี้ นั้น ประกอบไปด้วยห้องเอกซ์-เรย์ทั่วไป ห้องอัลตร้าซาวด์ ห้อง CTScan หรือ MRI ตามขนาดของหน่วยบริการ 2.ส่วนวินิจฉัยและรักษาด้วยการชัณสูตร(พยาธิวิทยา) 2.1 พยาธิคลินิก 2.2 พยาธิกายวิภาค - งานศัลยพยาธิ (ตรวจชิ้นเนื้อ) - งานเซลล์วิทยา - งานผ่าตรวจศพวิชาการ (autopsy) 2.3 ธนาคารเลือด
รูปที่ 2 – 16 ห้องผ่าตัด ที่มา : https://www.archdaily.com
2 - 29
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ในส่วนนี้ประกอบไปด้วยหน่วยบริการทั้ง 3 หน่วย คือ พยาธิคลินิก พยาธิกายวิภาค และธนาคารเลือด พร้อมเตียงรับ บริจาคโลหิตและส่วนต้อนรับ มีที่พักหลังบริจาคเลือด มีห้อง/พื้นที่เจาะ เก็บเลือด มีห้อง/พื้นที่สาหรับเตรียมส่วนประกอบของเลือด มีห้อง/พื้นที่ สาหรับตรวจคุณภาพเลือด ห้อง/พื้นที่สาหรับทดสอบความเข้ากันได้ของ เลือด รวมถึงมีพื้นที่ปฏิบัติการ ดังนี้ - พื้นที่ทางานพยาธิแพทย์ 12 ตร.ม./คน - พื้นที่ทางานนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 9 ตร.ม./คน - มีพื้นที่ปฏิบัติการงานเคมีคลินิก - พื้นที่ทางานนักวิทยาศาสตร์เซลล์วิทยา 9 ตร.ม /คน - พื้นที่ทางานพนักงานเซลล์วิทยา ไม่น้อยกว่า 6 ตร.ม /คน งานภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก งานคุ้มครองผู้บริโภค - มีการแยกพื้นที่ปฏิบัติงานที่อาจเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อ หรือ อาจเสี่ยงต่อคุณภาพการวิเคราะห์ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานปกติทั่วไป
รูปที่ 2 – 17 โถงหน้าห้องพักพักแพทย์ ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 30
มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ 3.ส่วนวินิจฉัยรักษาด้วยการผ่าตัด 3.1 ผ่าตัด(ศัลยกรรม) 3.2 วิสัญญี ในส่วนนี้กาหนดให้จานวนห้องผ่าตัดใหญ่ไม่น้อยกว่าสัดส่วน 1 ห้อง : 30 เตียง ขนาดห้องผ่าตัด ไม่น้อยกว่า 25 ตารางเมตร และสูงไม่น้อยกว่า 3 เมตร รวมทั้ง ควรมีการแบ่งพื้นที่เป็น 4 เขต คือ เขตสะอาด เขตกึ่งปลอดเชื้อ เขตปลอดเชื้อ และเขตปนเปื้อนให้ชัดเจน มีห้องน้า-ส้วม 1 ห้อง/เจ้าหน้าที่ 10 คน สาหรับห้องผ่าตัด 4 ห้องแรกให้มีสัดส่วน 1 เตียงพักฟื้น / 1 ห้องผ่าตัด สาหรับ ห้องผ่าตัดตั้งแต่ห้องที่ 5 ขึ้นไปให้มีสัดส่วน 1 เตียงพักฟื้น / 2 ห้องผ่าตัด ส่วนงานวิสัญญีนั้น กาหนดให้มีห้องเตรียมผ่าตัด 1 ห้อง (36 ตร.ม.) ห้องพัก ฟื้น หลังผ่าตัด 1 ห้อง ห้องวิสัญญีแพทย์ 1 ห้อง 4.ส่วนคลอด 4.1 คลอด 4.2 หน่วยทารกแรกเกิด ในส่วนนี้กาหนดให้มีห้องรอคลอด มีห้อง/บริเวณรอคลอด แบ่งเป็นห้องคลอด ปกติ และห้องคลอดติดเชื้อ มีห้องผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน มีห้อง/บริเวณสังเกตอาการ หลังคลอด 5.ส่วนวินิจฉัยและรักษาด้วยการใช้การดูแลแบบผู้ป่วยหนัก / Intensive Treatment/Care (ITCU / ICU)
2 - 31
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
รูปที่ 2 – 18 เตรียมยา ที่มา : https://www.archdaily.com
ในส่วนนี้กาหนดให้มีห้องแยกสาหรับผู้ป่วยโรคติดเชื้อ / ผู้ป่วยที่ จาเป็นต้องแยกเช่น ผู้ป่วย AMI,ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่า อีกทั้งระยะห่าง ระหว่างเตียงไม่ น้อยกว่า 2 เมตร 6.ส่วนบาบัดรักษาผู้ป่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit) - บาบัดผู้ป่วยไฟไหม้รุนแรง 6 เตียง * - หน่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit) 10 เตียง # 7.ส่วนบาบัดรักษาด้วยการฟื้นฟูสภาพร่างกาย (เวชกรรมฟื้นฟู) มีกิจกรรม 4 กิจกรรม 7.1 ตรวจวินิจฉัยและวางแผน บาบัดรักษาฟื้นฟู 7.2 กายภาพบาบัด 7.3 กิจกรรมบาบัด 7.4 กายอุปกรณ์เสริมและเทียม - ออกกาลังกายเพื่อการรักษา - รักษาด้วยไฟฟ้า - รักษาโดยใช้ความร้อน / เย็น - รักษาโดยการใช้เสียง - รักษาโดยการใช้แสง - รักษาโดยการนวด - รักษาโดยการดึง - รักษาโดยการดัด ขยับเคลื่อนข้อต่อ - รักษาโดยการใช้น้า รูปที่ 2 – 19 ในห้องผ่าตัด ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 32
มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ ค. กลุ่มพักผู้ป่วยใน 1.ส่วนผู้ป่วยสามัญ (ผู้ป่วยรวม) ในส่วนนี้กาหนดให้มีจานวนเตียงในหอผู้ป่วยรวมที่ เหมาะสมคือ 24-28 เตียง โดยระยะห่างระหว่างเตียงไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร และมีสัดส่วนห้องน้า-ส้วม:เตียง คือ 1:6 มีห้อง แยกผู้ป่วย โรคติดต่อ / โรคติดเชื้อ หรือ ห้อง Negative pressureroom สัดส่วน อ่างล้างมือ:เตียง คือ 1:6 2.ส่วนผู้ป่วยพิเศษ (ผู้ป่วยเดี่ยว/รวม) ในส่วนนี้กาหนดให้จานวนเตียงในหอผู้ป่วยพิเศษ เดี่ยวไม่มากกว่า 12 เตียงและมีห้องแยกผู้ป่วย โรคติดต่อ/โรคติดเชื้อ หรือ ห้อง Negative pressure room
2 - 33
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ง.กลุ่มสนับสนุนบริการ 1.ส่วนเภสัชกรรม ในส่ ว นนี้ ก าหนดให้ มี ห้ อง/พื้ น ที่ ห้ อ งจ่ า ยยาผู้ ป่ วยนอก พื้ น ที่ ขนาดไม่น้อยกว่า 80 ตร.ม / หน่วยการจ่ายที่ให้บริการไม่เกิน 400 ใบสั่งยาต่อวัน และมีห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน พื้นที่ขนาดไม่น้อย กว่า 50 ตร.ม / หน่วยจ่ายที่ให้บริการไม่เกิน 300 ใบสั่งยาต่อวัน มีห้องจ่ายยานอกเวลาราชการ มีพื้นที่ผลิต เตรียมและผสมยา ( ถ้ า มี ) แ ล ะ มี ห้ อ ง / พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ข้ อ มู ล ท า ง ย า 2.ส่วนจ่ายกลาง (หน่วยจ่ายกลางปราศจากเชื้อ ) ในส่วนนี้ คานวนขนาดพื้ นที่ 7 ตารางฟุต / 1 เตีย งผู้ป่วย โดยแบ่งเขต ส ก ป ร ก ส ะ อ า ด แ ล ะ ป ร า ศ จ า ก เ ชื้ อ และจั ด ระบบสั ญ จรแบบ One Way Traffic 3.ส่ ว นพยาธิ วิ ท ยากายวิ ภ าค(งานตรวจศพวิ ช าการ : autopsy)และเก็บศพ ในส่วนนี้ ประกอบด้วย พื้นที่เก็บรักษาศพ - มีห้องผ่าตรวจศพ - มีห้องฉีดยารักษาศพ - มีห้อง/พื้นที่ธุรการไม่น้อยกว่า 6 ตร.ม
4.ส่วนโภชนาการและโรงอาหาร 5.ส่วนซักฟอก 6.ส่วนพัสดุ 7.ส่วนซ่อมบารุง 7.1 ซ่อมบารุง 7.2 ไฟฟ้า – เครื่องกล 8. ส่วนจัดสวน ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม 8.1 จัดสวน 8.2 แม่บ้าน จ.บริหารจัดการ และสวัสดิการ 1.ส่วนอานวยการ 2.ส่วนพักอาศัย 3.ส่วนที่จอดรถ 4.ส่วนนันทนาการ/ สนามกีฬา
รูปที่ 2 – 20 บรรยากาศรอบอาคาร ที่มา : https://www.archdaily.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 34
มาตรฐานการระบายอากาศ
มา ตร ฐา น กา รร ะ บา ยอากา ศ อ้ า งอิ ง “มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศของวิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทยฯ (2551)” วิศวกรอาจกาหนดอัตราการ นาเข้าอากาศภายนอกไม่น้อยกว่าจานวนเท่าของปริมาตรห้อง ต่อชั่วโมง ดังตารางที่ 2-2 แต่ในกรณีที่มีจานวนคนหนาแน่น กว่าปกติ ควรที่จะใช้อัตราการนาเข้าอากาศภายนอกต่อจานวน คนเพื่อให้เพียงพอกับการใช้งานสูงสุดในเวลานั้น ตามที่ระบุ ใน “มาตรฐานการระบายอากาศเพื่อคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ ยอมรับได้” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (2545) ทั้งนี้ กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 33 ออกตามความใน พระราชบั ญ ญั ติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
2 - 35
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
มาตรฐานการระบายอากาศ
มาตรฐานระบบปรั บ อากาศและ ระบายอากาศของวิศ วกรรมสถาน แห่งประเทศไทยฯ (2551)
ชนิดของห้อง
ห้องประชุม ห้องทาขนมปัง ห้องจัดเลี้ยง ห้องหม้อไอน้า สถานโบลิ่ง ห้องอาหาร ห้องเรียน ห้องเครื่อง โรงงานทั่วไป โรงหล่อ โรงซ่อมรถ ห้องครัว ห้องแลบ ห้องซักรีด ห้องเครื่องมือ ห้องเครื่องบด ห้องบรรจุผลิตภัณฑ์ โรงพิมพ์ ท้องเรือ อุโมงค์
ปริมาตรอากาศเป็นเท่าของปริมาตรห้องที่ควรใช้ต่อ 1 ชั่วโมง 12 20 20 60 12 12 10 30 10 12 10 30 12 20 10 12 20 20 6 6
ตารางที่ 2 – 2 มาตรฐานการระบายอากาศ
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 36
มาตรฐานการระบายอากาศ (ต่อ) มาตรฐานการระบายอากาศ
อัตราการแลกเปลีย่ นอากาศต่อชั่วโมง
2 - 37
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
สถานที่ ห้ างสรรพสินค้ า โรงงาน สานักงาน สถานอาบอบนวด ชันติ ้ ดต่อธุระกับธนาคาร ห้ องพักในโรงแรม หรื ออาคารชุด ห้ องปฏิบตั ิการ โรงมหรสพ (บริ เวณที่นงั่ สาหรับคนดู) ห้ องเรี ยน สถานบริ หารร่างกาย ห้ องประชุม ห้ องน ้า ห้ องส้ วม ห้ องรับประทานอาหาร ห้ องครัว โรงพยาบาล 1) ห้ องคนไข้ 2) ห้ องผ่าตัด และห้ องคลอด 3) ห้ องไอ ซี ยู
ลบ.ม./ชั่วโมง/ตร.ม. 2 2 2 2 2 2 2 4 4 5 6 10 10 30 2 8 5
มาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล สถานพยาบาลให้ความสาคัญกับการตรวจ ประเมินเพื่อรับรองคุณภาพ แสดงให้เห็นว่าโรงพยาบาลนั้น มีนโยบาย ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารการจัดการ และการบริการอย่าง ต่อเนื่องซึ่งจะสะท้อนให้เห็นว่ามีความใส่ใจในการให้บริการแล้ว ยัง ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลให้เกิดความน่าเชื่อถือ ผู้ใช้บริการเกิดความไว้วางใจแต่จะทราบได้อย่างไรว่า การพัฒนา คุณภาพบริการของสถานพยาบาลนั้นๆ มีมาตรฐานจริงๆสามารถ พิจารณาได้จากอะไรบ้าง วิธีง่ายๆ ในเบื้องต้น คือ ปัจจุบัน กระบวนการพัฒนาคุณภาพต่างๆมีด้วยกันหลายแบบ เช่น มาตรฐาน การรับรองกระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล หรือ HA (Hospital Accreditation), NFPA มาตรฐานการตรวจสอบ ระบบความปลอดภัยจากอัคคีภัย รวมไปถึงมาตรฐานสากลอื่นๆ ที่ สาคัญ เช่น มาตรฐาน JCI โดยแต่ละมาตรฐานแม้จะมีรายละเอียดที่ ต่างกันแต่ก็มุ่งเน้นที่การพัฒนากระบวนการบริการและการ รักษาพยาบาล ซึ่งยืนยันได้ว่าสถานพยาบาลนั้นๆมีคุณภาพตาม มาตรฐานจริง และได้พัฒนาจนผ่านการรับรองจากสถาบันที่น่าเชื่อถือ เหล่านี้ ผลลัพธ์ทไี่ ด้ คือ ประชาชนหรือผู้ป่วยที่มารับบริการ จะได้รบั ประโยชน์ด้านความปลอดภัยสูงสุด การเปรียบเทียบ 3 มาตรฐาน และบทสรุป ดังกล่าวตามตารางที่ 2-3
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 38
มาตรฐาน
รายละเอียด
Hospital Accreditation (HA)
เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพทั้งในระดับโรงพยาบาลและในภาพรวมมีจุดมุง่ หมายที่ต้องการสร้าง ระบบคุณภาพเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าให้ความสาคัญกับการประเมินตนเองเพื่อให้เห็นจุดอ่อนแล้วนาไปสู่การพัฒนาการ ป้องกันความเสี่ยง การดูแลโครงสร้างกายภาพและความปลอดภัย การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล การวางแผนดูแล รักษาสาหรับผู้ป่วยแต่ละรายการติดตามเฝ้าระวังดูอาการเปลี่ยนแปลง แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยบนพื้นฐานของความรูท้ ี่ทันสมัย การทางานเป็นทีมและการประสานงานระหว่างวิชาชีพ และระหว่าง หน่วยงานต่างๆโดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางการควบคุมความเที่ยงของทักษะ ของแพทย์พยาบาลต้องอาศัยการฝึกอบรมและการทบทวน ตรวจสอบในกลุ่มเพื่อนร่วมวิชาชีพ
The Joint Commission International (JCI)
ระบุตัวผู้ป่วยถูกต้อง (ถูกคน) เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถมั่นใจได้ว่าจะได้รบั การรักษาที่ถกู ต้องและถูกคนบุคลากรในทีมดูแลผูป้ ่วย จะต้องมีการสื่อสารระหว่างกันที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความผิดพลาดจากการสื่อสารข้อมูลการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยจะ ได้รับการดูแล และเฝ้าระวังหากมีการใช้ยาที่ต้องระมัดระวังสูง ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดที่ถูตาแหน่ง ถูกหัตถการ ถูกคน ผู้ป่วยจะปลอดภัยจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรในทีมดูแล ผู้ป่วย ญาติ และผู้ที่มาเยี่ยมผู้ป่วย ล้างมืออย่างถูกต้องเพื่อป้องกันการนาเชื้อโรคไปสู่ผปู้ ่วย ผู้ป่วยจะได้รับการประเมินความเสียงต่อการพลัดตกหกล้มและได้รบั การเฝ้าระวังในทุกจุดบริการ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายของ ผู้ป่วยจากภาวะพลัดตกหกล้มในโรงพยาบาล
National Fire Protection Association (NFPA)
มาตรฐานป้องกันอัคคีภัย โดยเริ่มต้นที่โครงสร้าง และงานสถาปัตยกรรม อาคารต้องมีเส้นทางหนีไฟ และทางหนีไฟต้องเป็นพื้นที่ ว่างภายในขนาดเพียงพอที่จะรองรับการอพยพ หรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีการจัดเก็บวัสดุที่ติดไฟไว้ในที่ปลอดภัย มีระบบเตือนภัย และ อุปกรณ์ตรวจจับควัน สัญญาณเตือนเมื่อเกิดอัคคีภัย
ตารางที่ 2 – 3 มาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล ที่มา : www.sterileaircondition.com
2 - 39
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
เกณฑ์ประเมินสีเขียว
การออกแบบแบบรักษ์โลกอย่าง Green Architecture และ Sustainable Architecture ที่เป็น เครื่องบ่งชี้ว่าอาคารนี้เป็นอาคารเพื่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ในโลกเรา ยังมี LEED Certificate ไว้รับรองว่าอาคารนั้นๆ ได้มาตรฐาน อาคารสีเขียวจริง ตามที่อวดอ้างหรือเปล่า ปัจจุบัน มีองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมของต่างชาติมากมายได้กาหนด มาตรฐาน และหลักเกณฑ์ในการประเมินอาคารขึ้นมา เพื่อใช้ใน การประเมินอาคารสีเขียว เช่น สหรัฐอเมริกา LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) , ของประเทศไทย TREES (Thai s Rating of Energy and Environmental Sustainability)
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 40
เกณฑ์ประเมินสีเขียว หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ LEED
หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ TREES 1.การบริหารจัดการอาคาร มีการแสดงเจตนารมณ์ในการสร้างอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่สร้างมลพิษ ให้กับบริบทโดยรอบ มีการกาหนดแนวทางการดาเนินการทั้งในส่วนของการก่อสร้างและ การใช้งาน การวางแผนการบริหารจัดการและบารุงรักษาอาคารอย่างเหมาะสมและการ ตรวจสอบและประเมินตลอดช่วงอายุการใช้งานของอาคาร
1. ที่ตั้งและการคมนาคมขนส่ง ลดการใช้พาหนะส่วนตัวในการเดินทาง การบริหารจัดการที่จอดรถอย่างมี ประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากที่ตั้งอย่างยั่งยืน (SS) การสร้างผลกระทบต่อที่ตั้งอาคาร ต่า เพิ่มพื้นที่เปิดโล่งสีเขียว ลดการเกิดน้าท่วมล้น ลดปรากฎการณ์เมืองร้อน และลดการ ก่อมลภาวะทางแสง
2. ผังบริเวณและภูมิทัศน์ การเลือกพื้นที่ก่อสร้างและการพัฒนาพื้นที่ก่อสร้างอย่างเหมาะสมเป็นกระบวนการ ขั้นแรกที่สาคัญอย่างยิ่งต่อการก่อสร้างอาคารใหม่ ในหัวข้อนี้เน้นการคานึงถึง การ หลีกเลี่ยง และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการออกแบบวางผังอาคาร การ ออกแบบและก่อสร้างภูมิทัศน์และพื้นที่ภายนอกอาคาร การเลือกวัสดุและวัสดุพืชพันธุ์ที่ เหมาะสมกับพื้นที่ โดยคานึงถึงผลระยะยาวเพื่อความยั่งยืนของโครงการ
2. ประสิทธิภาพการใช้น้า (WE) ประสิทธิภาพของน้ารวมถึงการลดความต้องการในการจัดหาน้าในแนวนอนล้าง ห้องน้าและการใช้ปัสสาวะและลดการใช้น้าโดยรวมในอาคาร
3. การประหยัดน้า การประหยัดน้าประปาและการใช้น้าประปาอย่างมีประสิทธิภาพเป็นหนทางหนึ่งที่ สามารถช่วยปัญหาการขาดแคลนน้าในอนาคต การเลือกใช้สุขภัณฑ์และก๊อกน้าประหยัด น้า หรือผลิตภัณฑ์ฉลากเขียวทดแทนการใช้ผลิตภัณฑ์แบบทั่วไปจะช่วยลดการใช้ น้าประปาลงได้อย่างมีนัยสาคัญ รวมถึงการกักเก็บน้าฝนเพื่อใช้ในบางส่วนของโครงการ เพื่อทดแทนน้าประปา และ การติดตั้งมาตรวัดน้าย่อย ก็ช่วยให้การบริหารจัดการน้า เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ตารางที่ 2 – 4 เกณฑ์ประเมินสีเขียว
2 - 41
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
เกณฑ์ประเมินสีเขียว (ต่อ) หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ LEED
หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ TREES
3. พลังงานและบรรยากาศ (EA) พลังงานและบรรยากาศรวมถึงการลดการใช้พลังงานการสนับสนุนพลังงาน ทดแทนการสร้างระบบการวัดการใช้พลังงานโดยใช้สารเคมีสารทาความเย็นต่าซื้อไฟฟ้า จากโรงไฟฟ้าที่ได้รบั การรับรองสาหรับการใช้พลังงานหมุนเวียน
4. พลังงานและบรรยากาศ ครอบคลุมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร, ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ประเภทต่างๆ ภายในพื้นที่โครงการ และการเลือกใช้สารทาความเย็นในระบบปรับอากาศ เป็นต้น
4. วัสดุและทรัพยากร (MR) การเลือกใช้วัสดุและทรัพยาการในการก่อสร้าง คือ มีการเตรียมพื้นที่คัดแยกขยะ เพื่อการรีไซเคิล การนาอาคารหรือองค์ประกอบของอาคารมาใช้ใหม่ การลดขยะจากการ ก่อสร้าง การใช้วัสดุรีไซเคิล การใช้วัสดุพื้นถิ่น การใช้วัสดุปลูกทดแทนได้เร็ว และ การใช้ ไม้ที่ผ่านการรับรองว่ามาจากป่าทดแทนที่มีการรับรอง
5. วัสดุและทรัพยากร ส่งเสริมให้มีการจัดการขยะให้ที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมการใช้วัสดุที่ มีส่วนผสมของวัสดุรีไซเคิล ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการใช้สินค้าที่ผลิตใน ประเทศ และส่งเสริมการใช้ฉลากสิ่งแวดล้อมต่างๆ อีกด้วย
5. คุณภาพสภาพแวดล้อมภายในอาคาร (IEQ) คือ การควบคุมสภาวะอากาศภายในอาคารเพื่อสภาวะอยู่สบายและสุขภาพที่ดีของ ผู้ใช้อาคาร โดยพิจารณาในเรื่องการระบายอากาศ การดาเนินการจัดการกับมลภาวะทาง อากาศที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งในระหว่างการก่อสร้างและระหว่างการใช้งานอาคาร การเลือกใช้วัสดุที่มีสารระเหยที่เป็นพิษต่า การส่งเสริมสภาวะอยู่สบายที่ผู้ใช้อาคาร สามารถควบคุมได้เอง การใช้แสงธรรมชาติและการออกแบบอาคารให้มองเห็นบรรยากาศ ภายนอก รวมถึงการป้องกันการเกิดเชื้อราที่อาจจะเกิดขึ้นด้วย
6. คุณภาพสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ทั้งทางด้าน สภาวะน่า สบาย แสงธรรมชาติ และส่งเสริมการเห็นทัศนียภาพนอกอาคาร ตลอดจนคุณภาพอากาศ ภายในอาคารที่ดี เลือกใช้ระบบอาคารที่เหมาะสม การเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพไม่มีการ ปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตราย
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 42
เกณฑ์ประเมินสีเขียว (ต่อ) หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ LEED
หลักเกณฑ์พิจารณาเพื่อประเมินระดับการรับรองของ TREES
7. การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการก่อสร้าง ตั้งแต่ เริ่มกระบวนการออกแบบและก่อสร้าง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบระยะยาวต่อระบนิเวศวิทยา และสุขภาวะและสุขภาพของมนุษย์ 6. นวัตกรรมในการออกแบบ (IN) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการออกแบบอาคารด้วยรูปแบบใหม่ และการมีวิธีการ หรือหลักเกณฑ์ใหม่ๆ มาใช้ในการทาอาคารที่ยั่งยืน (Sustainable Building) ทาได้โดย การนาวิธีการหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีกาหนดในมาตรฐานมาใช้ รวมถึงการทาได้มากกว่าที่ เกณฑ์กาหนด และการมี LEED AP เป็นสมาชิกในทีมด้วย 7. ลาดับความสาคัญของท้องถิ่น (RP) เนื่องจากปัญหาสิ่งแวดล้อมบางอย่างเกิดขึน้ เฉพาะกับท้องถิ่นอาสาสมัครจากบท ของ USGBC และ LEED International Roundtable ได้ระบุลาดับความสาคัญด้าน สิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันภายในพื้นที่ของตนและเครดิตที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเหล่านั้น หน่วยงานด้านความสาคัญระดับภูมภิ าคเหล่านี้สนับสนุนให้ทีมงานโครงการมุ่งเน้นที่ ความสาคัญด้านสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
2 - 43
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
8. นวัตกรรม เป็นหมวดที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาคารที่เข้าร่วมประเมินได้นาเสนอ หัวข้อ คะแนนที่เหมาะกับโครงการของตน เพื่อทาคะแนนในหมวดนี้ นอกจากนี้การทาคะแนนใน หมวด GI ยังสามารถทาได้ด้วยการทาคะแนนพิเศษตามที่ระบุไว้ในแต่ละหัวข้อคะแนน โดยคะแนนพิเศษเหล่านี้จะทาได้เมื่อสามารถแสดงประสิทธิภาพตามหมวดต่างๆ เกินกว่า ที่ระบุไว้ระดับหนึ่ง
รูปที่ 2 – 21 เกณฑ์ LEED ที่มา : https://www. dsignsomething.com
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 44
พื้นที่ใช้สอย แผนกฉุกเฉิน - อุบัติเหตุ 32 พื้นทีก่ ารใช้งานในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วย/ ผู้มารับบริการ และญาติ ได้แก่ 1) รับ-ส่งผู้ป่วย (จอดรถชั่วคราว) 7) ศูนย์พึ่งได้ (OSCC) 2) ศูนย์เปล 8) โถงรับผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน 3) พักรอผู้ป่วย-ญาติ 9) ทาบัตรผู้ป่วย 4) สุขาผู้รับบริการ-ญาติ 10) จ่ายเงิน 5) ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ 11) จ่ายยา 6) หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 12) ซักประวัติ/ คัดกรอง 19) ทางานแพทย์ 13) ตรวจโรค/ ให้คาปรึกษา 20) ล้างตัว-ล้างท้อง 14) ทางานพยาบาล 21) ล้างสารเคมี 15) ช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) 22) ห้องผ่าตัดเล็ก 16) รักษาพยาบาล (Treatment) 23) ห้องเฝือก 17) ทางานหัวหน้าแผนก 24) สังเกตอาการ 18) ประชุม 25) พักศพ ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 26) เก็บผ้าสะอาด 31) นอน จนท. เวร 27) เก็บเครื่องมือ/ วัสดุ-อุปกรณ์การแพทย์ 32) เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด 28) ล้างเครื่องมือ/อุปกรณ์ 33) สุขาเจ้าหน้าที/่ ผู้ให้บริการ 29) เอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 34) ล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร 30) เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม ผังที่ 2-3 แผนกฉุกเฉิน - อุบัติเหตุ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 45
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยนอก 22 พื้นที่การใช้งานในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วยและ/หรือผู้มารับบริการและญาติ ได้แก่ 4) ประชาสัมพันธ์ 1) รับ-ส่งผู้ป่วย (จอดรถชั่วคราว) 5) ซักประวัติ-คัดกรอง 2) ศูนย์เปล (อาจใช้ร่วมกับแผนกฉุกเฉินได้) 6) สุขาผู้รับบริการ 3) พักรอผู้ป่วย-ญาติ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 7) ตรวจโรคทั่วไป/ ตรวจเฉพาะโรค(โรคไม่ติดต่อ) 12) ผ่าตัดเล็ก 13) หัวหน้าแผนก 8) ตรวจโรคติดต่อ 14) พักแพทย์ 9) ตรวจภายใน 15) ประชุม 10) รักษาพยาบาล (Treatment) 11) ให้คาปรึกษา ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 16) เอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 17) เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 18) เก็บอุปกรณ์ทางการแพทย์ 19) เก็บของสะอาด 20) เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด 21) สุขาเจ้าหน้าที่/ ผู้ให้บริการ 22) ล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร ผังที่ 2-4 แผนกผู้ป่วยนอก ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 46
พื้นที่ใช้สอย แผนกเวชระเบียน 10 พื้นที่การใช้งาน ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วย/ ผู้มารับบริการ และญาติ ได้แก่ 1. พักรอผู้รับบริการ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 2. ทาบัตรใหม่/ ยื่นบัตรเก่า 3. ทางานเจ้าหน้าที่ (ตรวจสอบสิทธ์/ บันทึก-วิเคราะห์ข้อมูล/ จัดทาเอกสารรายงาน) 4. เก็บเวชระเบียนผู้ป่วยนอก/ ผู้ป่วยใน 5. ทางานหัวหน้าแผนก ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 6. เอนกประสงค์ (ประชุมย่อย/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่) 7. เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 8. สุขาเจ้าหน้าที่ 9. สุขาผู้รับบริการ 10. ล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร
ผังที่ 2-5 แผนกเวชระเบียน ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 47
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย งานเภสัชกรรม ส่วนจ่ายยา อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน และนอกเวลา ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยรวม 12 พื้นที่ ดังนี้ 1 พักรอผู้รับบริการ 2 รับใบสั่งยา/ พิมพ์ฉลาก 3 เตรียมยา/ จัดยา 4 จ่ายเงิน 5 จ่ายยา 6 ให้คาปรึกษาเรื่องยา 7 คลังยาย่อย 8 ทางานเภสัชกร 9 นอนเวร 10 เอนกประสงค์/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่ 11 เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 12 สุขาเจ้าหน้าที่ (สุขาผู้รับบริการสามารถใช้ร่วมกับแผนกผู้อุบัติเหตุและฉุกเฉิน)
ผังที่ 2-6 งานเภสัชกรรม ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 48
พื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม (ผ่าตัด+วิสัญญี) พื้นทีใ่ ช้สอยที่จาเป็นสาหรับการให้บริการและการปฏิบัติงานของแผนกศัลยกรรม ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิถึงระดับตติยภูมิ ควรมีการแบ่งเขตการใช้พื้นที่ใช้สอยภายใน ออกเป็น 4 เขตให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจนโดยมีประตูกั้นระหว่างเขตที่ปิดแนบสนิท เพื่อป้องกัน การปนเปือ้ นของเชื้อโรคตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค และมีการใช้สอยพื้นที่ ภายในแต่ละเขตอย่างถูกต้อง โดยทั่วไปพื้นที่ใช้สอยภายในแผนกศัลยกรรมประกอบด้วยพื้นที่ใช้ สอยของงานผ่าตัดและงานวิสัญญี เนื่องจากทั้งสองงานต้องปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้บริการผ่าตัด ผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัยตามมาตรฐานที่กาหนด นอกจากนี้ ควรจัดเตรียมพื้นที่พักรอสาหรับญาติ ไว้ภายนอกแผนกศัลยกรรม โดยควรอยู่ใกล้กับพื้นที่ติดต่อสอบถาม สาหรับพื้นที่ใช้สอยภายใน แผนกศัลยกรรม สามารถจาแนกได้เป็น 30-33 พื้นที่การใช้งาน ดังนี้ ส่วนที่ 1: เขตสะอาด ประกอบด้วย 01 ติดต่อสอบถาม 09 ประชุมทีมผ่าตัด 02 ทางานพยาบาลห้องผ่าตัด 10 พักพยาบาลห้องผ่าตัด 03 เปลี่ยนเตียง 11 เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 04 เก็บเตียง/ เก้าอี้เข็น 12 พักเจ้าหน้าที่อยู่เวรงานผ่าตัด 05 เปลี่ยนเสื้อผ้าผู้ป่วย 13 เปลี่ยนเสื้อผ้า/ เก็บของใช้ส่วนตัว (แยกชาย/ หญิง) 06 พักรอผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 14 สุขาเจ้าหน้าที่ 07 ทางานหัวหน้างานห้องผ่าตัด 15 ทางานหัวหน้างานวิสัญญี 08 ทางาน/ พักศัลยแพทย์ 16 ทางานพยาบาลวิสัญญี
2 - 49
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
17 พักพยาบาลวิสัญญี 18 ทางาน/ พักแพทย์วิสัญญี 19 เก็บเวชภัณฑ์/ อุปกรณ์ดมยาสลบ 20 ประชุมทีมวิสัญญี 21 เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 22 พักเจ้าหน้าที่อยู่เวรงานวิสัญญี 23 เปลี่ยนเสื้อผ้า/ เก็บของใช้ส่วนตัว (แยกชาย/ หญิง) 24 พักฟื้น-สังเกตอาการ 25 สุขาผู้ป่วยพักฟื้น-สังเกตอาการ ส่วนที่ 2: เขตกึ่งปลอดเชื้อ ประกอบด้วย 26 โถงกึ่งปลอดเชื้อ (กว้างไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร) 27 เก็บผ้า/ เวชภัณฑ์ปราศจากเชื้อ 28 เก็บอุปกรณ์/ เครื่องมือขนาดใหญ่ 29 ฟอกมือ ส่วนที่ 3: เขตปลอดเชื้อ ได้แก่ 30 ห้องผ่าตัด ทั้งนี้จะต้องมีช่องทางนาส่งสิ่งปนเปื้อนจากเขตปลอดเชื้อ ออกไปสู่ภายนอกโดยตรงแยกจากทางเข้า-ออกของผู้ป่วย และทีมผู้ทาการผ่าตัด ส่วนที่ 4:. เขตปนเปื้อน ประกอบด้วย 31 พักผ้าเปื้อน/ ของสกปรก 32 ล้าง-ทาความสะอาดเครื่องมือ/ อุปกรณ์ 33 ซักล้าง ตาก เก็บพัสดุ-อุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร
พื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม (ผ่าตัด+วิสัญญี)
พื้นทีใ่ ช้สอยที่จาเป็นสาหรับการให้บริการและการปฏิบัติงานของแผนกศัลยกรรม ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิถึงระดับตติยภูมิ ควรมีการแบ่งเขตการใช้พื้นที่ใช้สอย ภายในออกเป็น 4 เขตให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจนโดยมีประตูกั้นระหว่างเขตที่ปิดแนบ สนิท เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โรค และมีการใช้สอยพื้นที่ภายในแต่ละเขตอย่างถูกต้อง โดยทั่วไปพื้นที่ใช้สอยภายใน แผนกศัลยกรรมประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยของงานผ่าตัดและงานวิสญ ั ญี เนื่องจากทั้ง สองงานต้องปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้บริการผ่าตัดผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัยตาม มาตรฐานทีก่ าหนด นอกจากนี้ ควรจัดเตรียมพื้นที่พักรอสาหรับญาติไว้ภายนอกแผนก ศัลยกรรม โดยควรอยู่ใกล้กับพื้นที่ติดต่อสอบถาม สาหรับพื้นที่ใช้สอยภายในแผนก ศัลยกรรม สามารถจาแนกได้เป็น 30-33 พื้นที่การใช้งาน ดังนี้ ส่วนที่ 1: เขตสะอาด ส่วนที่ 2: เขตกึ่งปลอดเชื้อ ส่วนที่ 3: เขตปลอดเชื้อ ส่วนที่ 4:. เขตปนเปื้อน
ผังที่ 2-7 แผนกศัลยกรรม (ผ่าตัด+วิสัญญี) ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 50
แผนกกายภาพบาบัด (เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคปอด) สามารถจาแนกได้เป็น 25 พื้นที่การใช้งาน ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วย/ ผู้มารับบริการ และญาติ ได้แก่ 1. พักรอผู้รับบริการ 2. ติดต่อสอบถาม/ รับ-นัดผู้รับบริการ 3. เปลี่ยนเสื้อผ้าผู้รับบริการ 4. สุขาผู้รับบริการ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/ หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 5. ตรวจ/ ประเมิน/ วางแผนให้การรักษา (กรณีผู้รับบริการมีอาการของโรคระบบทางเดินหายใจ ควรจัด ให้มีห้องที่ออกแบบระบบความดันอากาศเป็นลบโดยเฉพาะและ/หรืออยูใ่ นตาแหน่งท้ายลมอีก 1 ห้อง) 6. ออกกาลังกายเพื่อการรักษา 10. ให้ความรู้/ สอนสุขศึกษา 7. รักษาด้วยเครื่องมือไฟฟ้า 11. ทางานหัวหน้าแผนก 8. รักษาโดยการนวด ประคบด้วยความร้อน/ ความเย็น 12. ทางานเจ้าหน้าที/่ นักกายภาพบาบัด 9. รักษาด้วยพาราฟิน ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 16. เก็บ/ เตรียมวัสดุ+อุปกรณ์ที่ใช้ในการบาบัดรักษา 21. เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 17. เก็บอุปกรณ์ฝึกผู้ป่วย 22. สุขาเจ้าหน้าที/่ ผู้ให้บริการ 18. เก็บเก้าอี้เข็น/ เตียงเข็น 23. พักผ้าเปื้อน/ ขยะ 19. เก็บของส่วนตัว/ เปลี่ยนเสื้อผ้าเจ้าหน้าที่ 24 พัก จนท.ทาความสะอาด 20. เอนกประสงค์ (ประชุมย่อย/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่) 25 ซักล้าง-ตาก- เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร
2 - 51
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ผังที่ 2-8 เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคปอด ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
พื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยหนัก ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วย/ ผู้มารับบริการ และญาติ ได้แก่ 1.1 พักรอ (ญาติรอเยี่ยม) 1.2 เปลี่ยนรองเท้า/ ล้างมือ/ สวมเสื้อคลุมผู้มาเยี่ยม ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/ หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 2.1 ทางานพยาบาล (Nurse Station) 2.2 ทางานหัวหน้าหอผู้ป่วยหนัก 2.3 ให้คาปรึกษา 2.4 พักรวมผู้ป่วยหนัก 2.5 พักแยกผู้ป่วยแพร่เชื้อ (ออกแบบให้มีความดันอากาศต่ากว่าบริเวณโดยรอบ)/ ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่า (ออกแบบให้มีความดันอากาศสูงกว่าบริเวณโดยรอบ) ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 3.1 เก็บยา-เตรียมยา 3.9 เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนเสื้อผ้า จนท. 3.2 เก็บผ้าสะอาด/ ของปราศจากเชื้อ 3.10 ล้าง-ทาความสะอาดเครื่องมือ/ อุปกรณ์ 3.3 เก็บรถเข็นเครื่องมือ/ อุปกรณ์การแพทย์ 3.11 เท-ล้าง-ตาก หม้อนอน/ กระบอกปัสสาวะ 3.4 เก็บวัสดุงานบ้าน/ สนง. 3.12 พักผ้าเปื้อน/ ขยะ 3.5 เอนกประสงค์ (ประชุม/ พักผ่อน) 3.13 สุขา จนท. 3.6 เตรียมอาหาร-เครื่องดื่ม 3.15 พัก จนท. ทาความสะอาด 3.7 พักแพทย์เวร (นอน) 3.16 ซักล้าง-ตาก- เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร 3.8 พักพยาบาลเวร (นอน) ผังที่ 2-9 แผนกผู้ป่วยหนัก ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 52
พื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยใน 28 พื้นที่การใช้งานใน โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการสาหรับผู้ป่วยและญาติ ได้แก่ 1) พักรอผู้ป่วย-ญาติ 2) ให้คาปรึกษาผู้ป่วย-ญาติ 3) สอน/ สาธิต 4) พักผู้ป่วยสามัญ 5) พักผู้ป่วยพิเศษ 6) พักผู้ป่วยแยกโรค-ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่า (Positive pressure) 7) พักผู้ป่วยแยกโรค-ผู้ป่วยโรคติดต่อ/ แพร่เชื้อ (Negative pressure) 8) เตรียมอาหาร--ล้างภาชนะ (ญาติ/ ผู้เฝ้าไข้) 9) สุขาผู้ป่วย-ญาติ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 12) รักษาพยาบาล (Treatment) 10) ทางานหัวหน้าหอผู้ป่วย * 13) เตรียมการพยาบาล 11) ทางานพยาบาล (Nurse Station) ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 14) เก็บยา/ เวชภัณฑ์และวัสดุการแพทย์ 19) เอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 15) เก็บผ้าสะอาด 20) เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 16) เก็บรถเข็นเครื่องมือ/ อุปกรณ์การแพทย์ 21) นอนเวร 17) เก็บเก้าอี้เข็น/ เตียงเข็น 22) เปลี่ยนเสื้อผ้า/ เก็บของใช้ส่วนตัว 18) เก็บวัสดุสานักงาน 23) สุขาผู้ให้บริการ/ เจ้าหน้าที่
2 - 53
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ผังที่ 2-10 แผนกผู้ป่วยใน ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
พื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม สามารถจาแนกได้เป็น 4 ส่วนหลัก 38 พื้นที่การใช้งาน ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ ระดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: ส่วนจ่ายยาผู้ป่วยนอก ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยรวม 12 พื้นที่ ดังนี้ 1.1 พักรอผู้รับบริการ 1.2 รับใบสั่งยา/ พิมพ์ฉลาก 1.3 เตรียมยา/ จัดยา 1.4 จ่ายเงิน 1.5 จ่ายยา 1.6 ให้คาปรึกษาเรื่องยา 1.7 คลังยาย่อย 1.8 ทางานหัวหน้า 1.9 ทางานเภสัชกร 1.10 เอนกประสงค์/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่ 1.11 เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 1.12 สุขาเจ้าหน้าที่ (สุขาผู้รับบริการสามารถใช้ร่วมกับแผนกผูป้ ่วยนอก) ผังที่ 2-11 งานเภสัชกรรม ผู้ป่วยนอก ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 54
พื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม ส่วนที่ 2: ส่วนจ่ายยาผู้ป่วยใน ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยรวม 12 พื้นที่ ดังนี้ 2.1 พักรอผู้รับบริการ 2.2 รับใบสั่งยา/ พิมพ์ฉลาก 2.3 เตรียมยา/ จัดยา 2.4 จ่ายเงิน 2.5 จ่ายยา 2.6 ให้คาปรึกษาเรื่องยา 2.7 คลังยาย่อย 2.8 ทางานเภสัชกร 2.9 นอนเวร 2.10 เอนกประสงค์/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่ 2.11 เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 2.12 สุขาเจ้าหน้าที่ (สุขาผู้รับบริการสามารถใช้ร่วมกับ แผนกผู้อุบัติเหตุและฉุกเฉิน)
ผังที่ 2-12 งานเภสัชกรรม ผู้ป่วยใน ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 55
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม ส่วนที่ 3: คลังยาและเวชภัณฑ์ ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยรวม 6 พื้นที่ ดังนี้ 3.1 ตรวจรับ/ เบิก-จ่ายยา 3.2 ทางานเภสัชกร-จนท. 3.3 เก็บพัสดุ/ อุปกรณ์ 3.4 เก็บยา (อุณหภูมิปกติ) 3.5 เก็บยา (อุณหภูมิต่า) 3.6 เก็บเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา
ผังที่ 2-13 งานเภสัชกรรม คลังยาและเวชภัณฑ์ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 56
พื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม ส่วนที่ 4: ผลิตยา ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยรวม 8 พื้นที่ ดังนี้ 4.1 เปลี่ยนชุด/ เก็บของใช้ส่วนตัว 4.2 ผลิต/ เตรียม/ ผสมยาทั่วไป 4.3 ผลิต/ เตรียมยาปราศจากเชื้อ 4.4 ผลิต/ เตรียมยาที่ให้ทางหลอดเลือดดา 4.5 ผลิต/ เตรียมยาเคมีบาบัด 4.6 เอนกประสงค์/ พักผ่อนเจ้าหน้าที่ 4.7 เตรียมเครื่องดื่ม/ อาหารว่าง 4.8 สุขาเจ้าหน้าที่
สรุปจาแนกได้เป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1: ส่วนจ่ายยาผู้ป่วยนอก ส่วนที่ 2: ส่วนจ่ายยาผู้ป่วยใน/ อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน และนอกเวลา ส่วนที่ 3: คลังยาและเวชภัณฑ์ ส่วนที่ 4: ผลิตยา ผังที่ 2-14 งานเภสัชกรรม ผลิตยา ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 57
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง พื้นที่ใช้สอยภายในออกเป็น 3 เขตให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจน ได้แก่ 1) เขตสกปรก (Dirty zone) 2) เขตสะอาด (Clean zone) 3) เขตเก็บของปราศจากเชื้อ (Sterile storage zone) โดยมีประตูกันระหว่างเขตที่ปิดแนบสนิท เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของ เชื้อโรคตามหลักการ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค และมีการใช้สอยพื้นที่ภายในแต่ละ เขตอย่างถูกต้อง โดยระบบเส้นทางสัญจรภายในระหว่างเขตพื้นที่ต่างๆ ของแผนกจ่ายกลาง ต้องเป็นแบบสัญจรทางเดียว (one way flow) ตามหลักการ ดังนี้ 1. การไหลเวียนของอุปกรณ์เครื่องมือ จากเขตสกปรก ไป เขตสะอาด 2. บุคลากรจากเขตสะอาด ไป เขตสกปรก 3. การไหลเวียนของอากาศจากเขตสะอาด ไป เขตสกปรก โดยแต่ละเขตประกอบด้วยพื้นที่หรือห้องในการท้างาน ซึ่งสามารถจาแนกเป็นพืน้ ทีก่ ารใช้ งานได้ดังต่อไปนี้ 1. เขตสกปรก (Dirty Area) ประกอบด้วย 1.1 บริเวณรับเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้แล้วจากหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย 1.1.1 ห้อง/ บริเวณรับเครื่องมืออุปกรณ์ที่ปนเปื้อน 1.1.2 ห้อง/ บริเวณเก็บรถเข็นสาหรับรับอุปกรณ์ที่ปนเปื้อน 1.1.3 ห้อง/ บริเวณล้างรถเข็น 1.2 บริเวณล้างทาความสะอาดเครื่องมือ ซึ่งประกอบด้วย 1.2.1 ห้อง/ บริเวณล้างท้าความสะอาดเครื่องมือ 1.2.2 ห้อง/ บริเวณเก็บอุปกรณ์งานบ้าน เช่น วัสดุและเครื่องมือเครื่องใช้ในการล้าง ทาความสะอาด
2. เขตสะอาด (Clean Area) ประกอบด้วย 2.1 ส่วนบริหารจัดการและอานวยความสะดวกสาหรับเจ้าหน้าที่ ประกอบด้วย 2.1.1 สานักงาน 2.1.2 ห้องประชุม 2.1.3 ห้องพักเจ้าหน้าที่ 2.1.4 บริเวณเปลี่ยนรองเท้า 2.1.5 ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าและ Locker 2.1.6 ห้องอาบน้า / ห้องสุขา 2.2 ส่วนปฏิบัติงาน 2.2.1 ห้องจัดเตรียมชุดและห่ออุปกรณ์ (Assembly & Packing) 2.2.2 ห้องเก็บสารองผ้าสาหรับจัดเตรียมในการจัดชุดห่ออุปกรณ์ 2.2.3 ห้องเก็บอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์และจัดเก็บวัสดุต่างๆ 2.2.4 บริเวณที่พักชุดอุปกรณ์ก่อนเข้าเครื่องท้าให้ปราศจากเชื้อ 2.2.5 บริเวณที่ติดตั้งเครื่องท้าให้ปราศจากเชือ้ ได้แก่ - บริเวณที่ติดตั้งเครื่องทาให้ปราศจากเชื้อด้วยอุณหภูมิสูง เช่น Autoclave - บริเวณที่ติดตั้งเครื่องท้าให้ปราศจากเชื้อด้วยอุณหภูมติ ่า เช่น Ethylene oxide (ETO),Low temperature steam formaldehyde (LTSF), Hydrogen peroxide, gasplasma และอื่น ๆ หมายเหตุ การจัดเตรียมชุดห่อเครื่องผ้า รวมทั้งการตรวจสอบผ้าทีใ่ ช้ในการ ห่อ ควรจัดท้าที่หน่วยซักฟอกหรือท้าในบริเวณที่เฉพาะเท่านั้น เพื่อป้องกันไม่ให้เศษ ฝุ่นผ้าฟุ้งกระจายไปปนเปื้อนของที่สะอาด
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 58
พื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง 3. เขตเก็บของปราศจากเชื้อ (Sterile Storage Area) ควรจัดพืน้ ทีใ่ ห้ต่อเนื่องจากบริเวณที่ท้าให้ปราศจากเชือ้ และมีการปรับ/ระบาย อากาศแบบระบบปิด เพื่อป้องกันการปนเปื้อนซ้าจากฝุ่นละอองและบุคลากรที่ไม่ เกี่ยวข้อง มีการควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ระหว่าง 18-22 องศา เซลเซียส และมีความชืน้ สัมพัทธ์ที่ 35-70 เปอร์เซ็นต์ และมีความดันอากาศเป็น บวกเมื่อเทียบกับเขตพืน้ ที่ข้างเคียง เขตเก็บของปราศจากเชือ้ ประกอบด้วย 3.1 บริเวณพักห่ออุปกรณ์ปราศจากเชือ้ เพื่อทาให้เย็นก่อนจัดเก็บ (กรณีที่เครื่องท้าให้ปราศจากเชือ้ ไม่ได้เป็นระบบ Double doors) 3.2 บริเวณ/ ห้องจัดเก็บชุดห่ออุปกรณ์ปราศจากเชื้อที่จัดเตรียมในโรงพยาบาล 3.3 บริเวณ/ ห้องจัดเก็บวัสดุปราศจากเชือ้ ชนิดใช้ครั้งเดียวแล้วทิง้ 3.4 บริเวณแจกจ่ายชุดห่ออุปกรณ์ปราศจากเชื้อ
สรุปพื้นที่แบ่งเป็น 3 เขต ให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจน 1) เขตสกปรก (Dirty zone) 2) เขตสะอาด (Clean zone) 3) เขตเก็บของปราศจากเชื้อ (Sterile storage zone) ผังที่ 2-15 แผนกจ่ายกลาง ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 59
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.8 คู่มือออกแบบและมาตรฐานของโรงพยาบาล พื้นที่ใช้สอย แผนกซักฟอก แผนกซักฟอกเป็นหน่วยงานที่สาคัญหน่วยหนึ่งในโรงพยาบาล โดยมีกิจกรรมในงานเกีย่ วกับ เครื่องผ้าทั้งหมดซึ่งได้แก่ - จัดหาและจัดทาชุดเครื่องผ้า ได้แก่ เสื้อผ้าผู้ป่วย เครื่องแบบในการปฏิบัติงาน เครื่อง ผ้าประจาเตียงผู้ป่วย (ผ้าปูเตียง ปลอกหมอน) และอื่น ๆ - การทาความสะอาดเครื่องผ้า ได้แก่ การคัดแยกชุดเครื่องผ้าที่ใช้แล้วตามประเภท ซัก และทาความสะอาดชุดเครื่องผ้า ตลอดจนการทาลายเชื้อ (แบบ high level disinfection) ซึ่งเป็นแบบ pasteurization (ต้มในน้าร้อน 71 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 25 นาที)หรือใช้สารฟอกขาว (sodiumhypochlorite) การทาให้แห้งและรีดผ้า - การจัดเก็บและแจกจ่าย - การบารุงรักษาครุภัณฑ์ สาหรับตาแหน่งที่ตงของแผนกซั ั้ กฟอก ควรตังอยู ้ ไ่ ม่ไกลจากแผนกจ่ายกลาง แผนกผ่าตัด แผนกสูติกรรมแผนกผู้ป่วยหนัก และแผนกผู้ป่วยใน รวมทังมี ้ เส้ นทางการสัญจรที่สามารถ เชื่อมต่อระหว่างหน่วยงานและอาคารต่างๆ ดังกล่าวข้ างต้ นโดยสะดวก และสามารถ ป้องกันแดดและฝนได้ ตลอดเส้ นทาง 3 เขตให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจน ได้แก่ 1) เขตพื้นที่สกปรก (Dirty zone) 2) เขตพื้นที่ขจัดสิ่งปนเปื้อน (Decontamination zone) 3) เขตพื้นที่สะอาด (Clean zone)/ พื้นที่ทั่วไป
1. เขตพื้นที่สกปรก (Dirty Zone) ประกอบด้วย 1.1 บริเวณลงทะเบียนชุดเครื่องผ้าปนเปื้อนจากหน่วยงานต่างๆ 1.2 บริเวณคัดแยกผ้าเปื้อน/ ชั่งน้าหนักผ้า 1.3 บริเวณแช่/ แปรงผ้าเปื้อนด้วยมือ (ถ้ามี) 1.4 บริเวณล้าง/ ตากรถเข็นและภาชนะใส่ผ้าปนเปื้อน 2. เขตพื้นที่ขจัดสิ่งปนเปื้อน (Decontamination zone) ประกอบด้วย 2.1 บริเวณติดตั้งเครื่องซักผ้า 2.2 บริเวณติดตั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้า 2.3 บริเวณล้าง/ ตากรถเข็นและภาชนะใส่ผ้าสะอาด 3. เขตพื้นที่สะอาด (Clean zone)/ 3.1 บริเวณติดตั้งเครื่องอบผ้า 3.2 บริเวณติดตั้งเครื่องรีดผ้า/ โต๊ะรีดผ้า 3.3 บริเวณตรวจสอบสภาพของผ้า 3.4 บริเวณเย็บ/ ซ่อมแซมผ้าชารุด 3.5 บริเวณพับและจัดชุดเครื่องผ้า 3.6 บริเวณลงทะเบียนชุดเครื่องผ้าก่อนจัดเก็บ 3.7 ห้องเก็บชุดเครื่องผ้าที่ผ่านการซักรีดแล้ว 3.8 ห้องเก็บสารองผ้า/ชุดผู้ป่วย/ชุดเจ้าหน้าที่ 3.9 บริเวณลงทะเบียนชุดเครื่องผ้าที่จะแจกจ่าย 3.10 บริเวณจัดชุดเครื่องผ้าใส่รถเข็นเพื่อนาส่งตามหน่วยงานต่างๆ
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 60
พื้นที่ใช้สอย แผนกซักฟอก 4. พื้นที่ทั่วไป (General Zone) ประกอบด้วย 4.1 สานักงาน 4.2 ห้องประชุม 4.3 ห้องเอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 4.4 ห้อง/ บริเวณเตรียมอาหารว่างและเครือ่ งดื่ม 4.5 ห้องเก็บวัสดุอุปกรณ์/เคมีภัณฑ์ที่ใช้ในการทาความสะอาด 4.6 ห้องเปลี่ยนรองเท้า/ เสื้อผ้าผู้ปฏิบัติงาน 4.7 ห้องสุขา (แยกชาย/หญิง) 4.8 ห้องซักล้าง/ เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร
3 เขตให้เป็นสัดเป็นส่วนชัดเจน ได้แก่ 1) เขตพื้นที่สกปรก (Dirty zฟone) 2) เขตพื้นที่ขจัดสิ่งปนเปื้อน (Decontamination zone) 3) เขตพื้นที่สะอาด (Clean zone)/ พื้นที่ทั่วไป ผังที่ 2-16 แผนกซักฟอก ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 61
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย แผนกโภชนาการ 1 พื้นที่เขตปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วย 3 เขตพื้นที่ย่อย คือ 1.3 เขตควบคุมความสะอาดพิเศษ ได้แก่ 1.1 เขตปนเปื้อน ได้แก่ 1.3.1 บริเวณเตรียมและผลิตอาหารทางสายให้อาหาร 1.1.1 บริเวณตรวจรับวัตถุดิบ 1.3.3 บริเวณพักรถขนส่งอาหารพร้อมบริการผู้ป่วย 1.1.2 บริเวณล้าง/ เตรียมวัตถุดิบ 1.3.4 บริเวณจัดอาหารปรุงสุก/ อาหารพร้อมบริโภค 1.1.3 บริเวณล้างภาชนะและอุปกรณ์ 1.1.4 บริเวณล้างรถขนส่งอาหาร 1.1.5 บริเวณที่พักขยะนอกอาคาร 1.2 เขตกึ่งสะอาด ได้แก่ 1.2.1 บริเวณเก็บวัตถุดิบ 1.2.2 บริเวณเก็บ-สารองพัสดุ/ อุปกรณ์/ ภาชนะ 1.2.3 บริเวณปรุงอาหารทั่วไป/ อาหารเฉพาะโรค 2. พื้นที่เขตสานักงาน ประกอบด้วย 2.1 สานักงาน (ปรับอากาศ) 2.2 ห้องสอนและสาธิตอาหารและโภชนาการ/ ประชุม (ปรับอากาศ) 2.3 ห้องเอนกประสงค์ (ประชุมย่อย/ พักผ่อน จนท.) 2.4 ห้องเตรียมเครื่องดื่ม-อาหารว่าง (สาหรับ จนท.) 2.5 ห้องเก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนเสื้อผ้า จนท. (แยกชาย-หญิง) 2.6 ห้องสุขา จนท. (แยกชาย-หญิง) 2.7 บริเวณพัก พนง.ทาความสะอาด 2.8 ห้องซักล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร
ผังที่ 2-17 แผนกโภชนาการ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 62
พื้นที่ใช้สอย แผนกรังสีวินิฉัย 27 พื้นที่การใช้งาน ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วยและ/หรือผู้มารับบริการ ได้แก่ 1) พักรอ 2) เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุดผู้รับบริการ 3) สุขาผู้รับบริการ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการและ/หรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 13) เตรียมสารทึบรังสี * 4) ลงทะเบียน/ รับ-ส่งเอกสาร 14) ล้างฟิล์ม/ พิมพ์ฟิล์ม (ถ้ามี) 5) ถ่ายภาพรังสี X-Ray - ทั่วไป 15) อ่านฟิล์ม/ รายงานผล * 6) ถ่ายภาพรังสี X-Ray – Fluoroscopy 9) Sonography – Ultrasound (โรคหลอดเลือดสมอง) 16) สานักงาน 17) ทางานหัวหน้าแผนก 10) Computed Tomography (CT) 18) ประชุม 11) Magnetic Resonance Imaging (MRI) 12) Angiography/; DSA – Cath. Lab (โรคหัวใจ) ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 19) เก็บฟิล์มผู้รับบริการ (ถ้ามี) 24) นอนเวร 20) เก็บพัสดุ 25) เอนกประสงค์-/ พักเจ้าหน้าที่ 21) ล้าง-ทาความสะอาดเครื่องมือ 26) เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 22) เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด 27) ซักล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร 23) สุขาเจ้าหน้าที/่ ผู้ให้บริการ ผังที่ 2-18 แผนกรังสีวินิฉัย ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
2 - 63
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย แผนกพยาธิวิทยาคลินิก 3 ส่วนหลัก รวม 22 พื้นที่การใช้งาน ดังนี้ ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสาหรับผู้ป่วยและ/หรือผู้มารับบริการ ได้แก่ 1) พักรอ 2) สุขาผู้รับบริการ 3) เจาะเลือด 4) เก็บสิ่งส่งตรวจ ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยเจ้าหน้าที่และ/หรือผู้ให้บริการ ได้แก่ 5) รับสิ่งส่งตรวจ/ บันทึกข้อมูล/ รายงานผล 6) ปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์และโลหิตวิทยา 7) ปฏิบัติการเคมีคลินิกและภูมิคุ้มกันวิทยา 8) ปฏิบัติการจุลชีววิทยา 9) ล้างตา/ ล้างตัว 10) สานักงาน (ธุรการ/ วิชาการ) 11) ทางานหัวหน้าแผนก 12) ประชุม ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 18) เก็บอุปกรณ์สะอาด 13) เอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 19) นอนเวร 14) เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 20) เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด 15) เก็บพัสดุคงคลัง 21) สุขาผู้ให้บริการ 16) เก็บน้ายา/ สารเคมีคงคลัง 22) ล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร 17) ล้าง/ นึ่งอุปกรณ์
ผังที่ 2-19 แผนกพยาธิวิทยาคลินิก ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 64
มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล ห้องตรวจผู้ป่วยนอก (OPD) ตามมาตรฐานแล้วต้องมีการแบ่งออกเป็นกลุ่มคือ - กลุ่มของการตรวจทั่วไป - กลุ่มเสี่ยง ห้องตรวจโรคทั่วไป ควรคานึงถึง - ทิศทางการไหลของ - ควบคุมอุณหภูมิภายในห้องตรวจไว้ที่ 24+/-1 °C และมีความชื้นประมาณ 50+/-10% RH การควบคุมความดันอากาศระหว่างพื้นที่ โดยมีการควบคุมความดันดังนี้ - ควบคุมความดันห้องตรวจให้เป็นบวก - ควบคุมความดันพื้นที่เข้าออกให้มีความดันเป็นบวก - ควบคุมความดันส่วนพื้นที่ซึ่งผู้ป่วยต้องนั่งรอให้มีความดันเป็นลบ - การหมุนเวียนของอากาศมีการเติม Fresh Air ห้องตรวจโรคกลุ่มที่มีความเสี่ยง ควรออกแบบให้เป็น FRESH AIR 100% - ไม่มีการหมุนเวียนอากาศ - ควบคุมอุณหภูมิภายในห้องตรวจไว้ที่ 24+/-1 °C และมีความชื้นประมาณ 50+/-10% RH การควบคุมความดันอากาศระหว่างพื้นที่ โดยมีการควบคุมความดันดังนี้ - ควบคุมความดันห้องตรวจให้เป็นลบ - ควบคุมความดันพื้นที่เข้าออกให้มีความดันเป็นบวก - ควบคุมความดันพื้นที่ซึ่งผู้ป่วยต้องนั่งรอให้มีความดันเป็นลบ
2 - 65
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2.9 การศึกษาโครงการตัวอย่าง สถาบันโรคทรวงอก
Weihai Hospital of Traditional Chinese Medicine
The Christ Hospital Joint and Spine Center
LOCATION
ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี
China
Cincinnati, OH, United States
PROJECT AREA
350 เตียง
7980.0 m2
CASE STUDY
IMAGE
ARCHITECT CONCEPT DESIGN AND TOOLS
GLA โรงพยาบาลรัฐเฉพาะทาง ด้านหัวใจและปอด
โรงพยาบาลเวชศาสตร์
381000.0 ft2
Som ศูนย์กระดูกสันหลัง
RAY - OUT
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
2 - 66
2 - 67
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.1 ความเป็นมาที่ตั้งโครงการ 3.2 กฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี 3.3 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง 3.4 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.5 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ
รูปที่ 3 – 1 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ที่มา : กฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี พ.ศ.2554
3.1 ความเป็นมาที่ตั้งโครงการ 3.1.1 ความเป็นมาของจังหวัดสระบุรี สระบุ รี เ ป็ น เมื อ งส าคั ญ เมื อ ง หนึ่งแต่โบราณ สันนิษฐานว่าตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2092 ในรัชสมัย สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ การตั้งเมืองนี้สันนิษฐานว่า พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ แ บ่ ง เขตพื้ น ที่ บ างส่ ว นของเมื อ งลพบุ รี เมื อ ง นครนายก และเมืองนครราชสีมา มารวมกันตั้งขึ้น เป็นเมืองสระบุรี ทั้งนี้เพื่อต้องการให้เป็นศูนย์ระดม พลเมืองในยามศึกสงคราม เพราะฉะนั้นตั้งแต่สมัย กรุ งศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ต้ น มา จึ งมั ก พบเรื่ อ งราวของ จังหวัดสระบุรีเกี่ยวกับการศึกสงครามอยู่เสมอ
รูปที่ 3 – 2 อ่างเก็บน้าในสระบุรี www.saraburi.go.th
3-1
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ปี 2559 จังหวัดสระบุรี มี ประชากรทั้ ง สิ้ น 640,065 คน เป็ น ชาย 315,959 คน และหญิง 324,106 คน จานวน ผู้ชายคิดเป็นร้อยละ 49.36 และจานวนผู้หญิง คิดเป็นร้อ ยละ 50.63 ของประชากรทั้งหมด ประชากรที่ อ ยู่ อ าศั ย ในเขตเทศบาล จ านวน 234,587 คน และอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล จ านวน 405,478 คน ความหนาแน่ น ของ ประชากรโดยเฉลี่ย 179 คนต่อตารางกิโลเมตร
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3-2
3.1.2 ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบเมือง จังหวั ด สระบุ รี เ ป็ นจั งหวั ด ใน ภาคกลางตั้งอยู่ ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทาง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตามทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิ น ) เป็ น ระยะทาง ประมาณ 108 กิโลเมตร และตามทางรถไฟสาย ตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะทางประมาณ113 กิ โ ล เ ม ต ร มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง ห ม ด 3 , 5 7 6 . 4 8 6 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,235,303.75 ไร่
รูปที่ 3 – 3 ศึกษาแหล่งธรรมชาติ www.saraburi.go.th
3-3
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
และมีอาณาเขตติดจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดอาเภอเมืองลพบุรี อาเภอชัยบาดาล และอาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด อ าเภอปากช่ อ ง จั ง หวั ด นครราชสีมา และอาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ทิศ ใต้ ติ ดอ าเภอหนองเสื อ จังหวั ดปทุม ธานี แ ล ะ อ า เ ภ อ วั ง น้ อ ย อ า เ ภ อ อุ ทั ย จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด อ าเภอภาชี อ าเภอท่ า เรื อ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และอาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3-4
ภูมิ ประเทศและภู มิอ ากาศ พื้นที่เป็นเขาหย่อมหรือที่ราบสูงและภูเขาได้แก่ บริ เ วณทางเหนื อ ของอ าเภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ อาเภอแก่งคอย อาเภอมวกเหล็ก อาเภอพระพุทธบาทและอาเภอวังม่วง ซึ่งในเขต พื้นที่ดังกล่าวส่วนมากเป็นพื้นที่ภูเขาที่มีเนินเขา โดด (Monadnock) สลับกับที่ราบสูง โดยเฉลี่ย พื้นที่ดังกล่าวมีความสูง อ ยู่ ป ร ะ ม า ณ 1 0 0 - 5 0 0 เ ม ต ร จ า ก ระดับน้าทะเลปานกลาง
สภาพอากาศแบบร้ อ นชื้ น อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและยังได้รับ อิทธิพลจากพายุดีเปรสชั่น และพายุใต้ฝุ่น ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึง เดือนพฤษภาคม ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดื อ นตุ ล าคม และฤดู ห นาวเริ่ ม ตั้ งแต่ เ ดื อ น พฤศจิกายนถึง เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ อากาศจะหนาวเย็น สลั บ กั บ ร้อน
รูปที่ 3 – 4 ที่พักกลางแจ้ง www.saraburi.go.th
3-5
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3-6
รูปที่ 3 – 5 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558
3-7
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ขณะที่ลมฤดูฝนพัดผ่าน และถ้าเกิดฝนตก ฝุ่นละอองที่อยู่ในอากาศจะชะล้างไปด้วย น้าฝน
รูปที่ 3 – 6 ผังแสดงภูมิประเทศ
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3-8
3-9
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3.1.3 สถานพยาบาล โรงพยาบาลรัฐบาล 14 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 4 แห่ง
จานวนเตียงปีต่อระชากรจังหวัดสระบุรี 353:1 เตียง/คน ปี 2559 ประชากรจังหวัดสระบุรีต่อแพทย์ 1 คน 2,346:1 ประชากร/แพทย์ ปี 2559
รูปที่ 3 – 7 ที่ทาการปกครองจังหวัดสระบุรี ปี2558
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 10
3 - 11
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
จากประชาชนกร ทั้งเขตสุขภาพที่ 4 = 5,229,767 คน คิดจากสถิติผู้เสียชีวิตจากโรคปอด 1 % = 52,297 คน เป็นกลุ่มเป้าหมาย 365 = 52,297 x 2 เฉลี่ยเป็นผู้ป่วยนอก 2ครั้ง/ปี = 286.56 หรือประมาณ 300 คน/วัน OPD 10 คน/IPD 1คน 1 เดือน = 30คน/วัน IPD สถิติ 3-4 วัน 30 x 3-4 = 90-120 เตียง
รูปที่ 3 – 8 แสดงพื้นที่สุขภาพเขตที่ 4 www.saraburi.go.th
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 12
รูปที่ 3 – 9 น้าตกในสระบุรี www.saraburi.go.th
3 - 13
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3.2 กฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
รูปที่ 3 – 10 ผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี www.saraburi.go.th
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 14
3.3
รูปที่ 3 – 11 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง ที่มา : จาการวิเคราะห์
3 - 15
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3.4 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.4.1 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
รูปที่ 3 – 12 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ www.saraburi.go.th
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 16
รูปที่ 3 – 13 แนวคิดขนาดพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์
3 - 17
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
แนวคิดขนาดพื้นที่โครงการ จากการศึกษา โรงพยาบาล 100 เตียงมี พื้นที่โครงการ ประมาณ 20,000 ตารางเมตร คิดเป็น 4 ชั้น อาคาร 4 ชั้น พื้นที่ 1 ชั้น ประมาณ 5,000 ตารางเมตร = 20,000 ตารางเมตร/5,000 ตารางเมตร พื้นที่ว่างตามกฎหมาย(อาคารขนาดใหญ่พิเศษ) คิดเป็น 10% = 960 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียว(สร้างสภาพแวดล้อมในโครงการ) พื้นที ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ดังนั้น พื้นที่รวม ประมาณ 9,600 ตารางเมตร = 6 ไร่
รูปที่ 3 – 14 แนวคิดขนาดพื้นที่โครงการ
6 ไร่ 82 ตร.ว
6 ไร่ 31 ตร.ว
6 ไร่ 3 งาน 81 ตร.ว
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 18
3.4.2 การวิเคราะห์เพื่อหาพื้นที่ตั้งโครงการ 6 ไร่ 82 ตร.ว
รูปที่ 3 – 15 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง A ที่มา : จากการวิเคราะห์
3 - 19
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
6 ไร่ 31 ตร.ว
รูปที่ 3 – 16 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง B ที่มา : จากการวิเคราะห์
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 20
6 ไร่ 3 งาน 81 ตร.ว
รูปที่ 3 – 17 เกณฑ์การเลือกที่ตั้ง C ที่มา : จากการวิเคราะห์
3 - 21
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3.5 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ
6 ไร่ 82 ตร.ว
6 ไร่ 31 ตร.ว
6 ไร่ 3 งาน 81 ตร.ว รูปที่ 3 – 18 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 22
การศึกษาด้านกายภาพ
รูปที่ 3 – 19 การศึกษาด้านกายภาพ dolwms.dol.go.th
3 - 23
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
รูปที่ 3 – 20 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ที่มา : จากการวิเคราะห์
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
3 - 24
การศึกษาด้านคมนาคม
รูปที่ 3 – 21 คมนาคม ที่มา : จากการวิเคราะห์
3 - 25
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
การกาหนดรายละเอียดของโครงการ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4.4 โครงสร้างการบริหารโครงการ 4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.6 สัดส่วนผู้ใช้โครงการ 4.7 กิจกรรมโครงการ 4.8 พื้นที่ใช้สอยโครงการ 4.9 งบประมาณที่เกี่ยวข้อง 4.10 รายได้จากโครงการ 4.11งานระบบและเทคโนโลยีประกอบอาคาร รูปที่ 4 – 1 ห้อง isorate https://www.pinterest.com
4.1 ความเป็นมาของโครงการ
ปั จ จุ บั น สระบุ รี ป ระสบปั ญ หาคุ ณ ภาพอากาศ จากโรงงานอุตสาหกรรมที่กินพื้นที่กว่าร้อยละ 57 ของพื้นที่ทั้งหมด ของจังหวัดสระบุรี ทาให้ผู้เสียชีวิตจากโรคปอดเป็นลาดับต้นๆของ จังหวัด ขณะที่สถานพยาบาลในจังหวัดสระบุรีไม่มีพื้นที่ เหมาะสมสาหรับการรักษา ฟื้นฟู เฉพาะทางโรคปอด เพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชนและทางโรงพยาบาลสระบุรี มีนโยบาย เพื่ อเป็น ผู้เ ชี่ย วชาญเฉพาะทาง ดังนั้น จึงร่ วมมือ กับ โรงพยาบาล เอกชน ในการออกแบบ ก่อสร้าง ดูแลบริหารโครงการ ในการสร้างโรงพยาบาลและศูน ย์ฟื้น ฟูเฉพาะ ทางโรคปอดในพื้นที่จังหวัดสระบุรี ทั้งนี้เพื่อการเข้าถึงโรงพยาบาล เฉพาะทางของประชากรในเขตสุขภาพที่ 4 อีกด้วย
รูปที่ 4 – 2 แพทย์อ่านฟิลม์x-ray https://www.pinterest.com
4-1
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูร่างกาย ให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคปอด ให้สอดคล้องกับพื้นที่การรักษาในโรงพยาบาลและศูนย์ฟื้นฟู 2. เพื่อสร้างพื้นที่การรักษาให้เพียงพอต่ออัตราผู้ป่วยโรคปอดที่มีมากขึ้น 3. เพื่อลดปัญหาการเดินทางเข้าสู่สถานพยาบาลในกรุงเทพฯ 4. เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สระบุ รี แ ละ ประชากรในเขตสุ ข ภาพที่ 4 ให้ มี โ อกาสเข้ า ถึ ง สถานพยาบาลที่ มี ก าร รักษาเฉพาะโรคอย่างใกล้ชิด และได้รับการดูแลรักษาอย่างครบวงจรและมีประสิทธิภาพสูงสุด 5. เพื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก าร ให้ มี ม าตรฐานเดี ย วกั น และให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การการใช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกั น ลดความแออั ด และ ลด ภาระของโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ทั้งของภาครัฐและเอกชน
4.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้เรียนรู้ทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคปอด 2. ได้เรียนรู้ถึงการออกแบบโรงพยาบาลเฉพาะทางและสาธารณูปโภค 3. ได้เรียนรู้รูปแบบเทคโนโลยี ระบบโครงสร้าง งานระบบวิศวกรรมที่เกี่ยว
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4-2
4.4 โครงสร้างการบริหารโครงการ ผู้อานวยการ (1 คน)
รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์และพยาบาล (1 คน)
ผู้ช่วยผู้อานวยการ ฝ่ายแพทย์ (1 คน)
กลุ่มงานอายุรศาสตร์ปอด กลุ่มงานศัลยศาสตร์ กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา กลุ่มงานพยาธิวิทยา กลุ่มงานเวชปฏิบัติทั่วไป กลุ่มงานนิติเวช กลุ่มงานเทคโนโลยีและ สนับสนุนวิชาการ
ผู้ช่วยผู้อานวยการ ฝ่ายการพยาบาล (1 คน)
ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ห้องผ่าตัด ผู้ป่วยหนัก ห้องฉุกเฉิน จ่ายกลาง อุปกรณ์แพทย์
อ้างอิงจากที่มา : (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2543) 4-3
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
เลขานุการ (1 คน)
รองผู้อานวยการฝ่ายบริหารและธุรการ (1 คน)
ผู้ช่วยผู้อานวยการ ฝ่ายสนับสนุนทางคลินกิ (1 คน)
งานปฎิบัตกิ าร งานรังสีวิทยา งานเภสัชกรรม ศูนย์ฟื้นฟู - เวชศาสตร์ฟื้นฟู - การออกกาลังกาย - โภชนศาสตร์
ผู้ช่วยผู้อานวยการ ฝ่ายบริหารและธุรการ (1 คน)
งานบริหารบุคคล งานธุรการ งานบัญชีและการเงิน งานทะเบียนและสถิติ งานสื่อสารและประชาสัมพันธ์ งานคอมพิวเตอร์ งานการตลาด งานจัดซื้อ
ผู้ช่วยผู้อานวยการ ฝ่ายฝ่ายบริการ (1 คน)
งานโภชนาการ งานซักรีด งานเครื่องกล งานซ่อมบารุง งานภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมอาคาร งานแม่บ้านดูแลความสะอาด งานพัสดุ งานรักษาความปลอดภัย งานยานยนต์รับ-ส่งผู้ป่วย ห้องเก็บศพ
4.5รายละเอียดผู้ใช้โครงการ ก ลุ่ ม ผู้ ใ ช้ โ ค ร ง ก า ร
จา แ น ก จ า ก ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง ข อ ง ก า ร ใ ช้ โ ค ร ง ก า ร
จา แ น ก จ า ก ผู้ ใ ช้ ทั่ ว ไ ป -
บุคลากร/เจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้ติดต่อ
-
ผู้ใช้ประจา ผู้ใช้ชั่วคราว ผู้สังเกต
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4-4
ก ลุ่ ม ผู้ รั บ ก า ร รั ก ษ า
จา แ น ก จ า ก อ า ก า ร -
-
ผู้ป่วยเฉียบพลัน อุบัติเหตุฉุกเฉิน ผู้ป่วยเรื้อรัง ต้องได้รับการรักษาต่อเนื่อง
-
-
4-5
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
จา แ น ก จ า ก ส า เ ห ตุ
จา แ น ก จ า ก ป ร ะ เ ภ ท ผู้ ใ ช้
ป่วยจากการติดเชื้อ (โรคอุบัติใหม่) - เชื้อไวรัส - เชื้อแบคทีเรีย - เชื้อรา ป่วยจากพฤติกรรม - อุบัติเหตุปอดฉีก - มะเร็งปอด - โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ผู้ป่วยนอก - ผู้ป่วยรายใหม่ - ผู้ป่วยรายเก่า - การรักษาต่อเนื่อง - การส่งตัวจากสถานพยาบาลอื่นๆ ผู้ป่วยใน - ผู้ป่วยเฝ้าระวัง - ระดับไม่รุนแรง - ระดับรุนแรงปานกลาง - ระดับรุนแรงมาก
กลุ่มอายุ
ระดับความรุ นแรง
จาแนกโรคจากสาเหตุ
กลุม่ อายุที่พบว่าป่ วยมากที่สดุ คือ - กลุม่ อายุ ต่ากว่า 4 ปี (โรคปอดอักเสบ โรคบวม) - กลุม่ อายุ ต่ากว่า 40 จนไปถึง 75 ปี (มะเร็ งปอด) - กลุม่ อายุ มากกว่า 40 ปี ขึ ้นไป (โรคปอดอุดกันเรื ้ อ้ รัง วัณโรคปอด)
รุนแรงไม่มาก (รักษาได้ หายเสมอ) - โรคหวัด รุนแรงปานกลาง - ปอดอักเสบ - ปอดบวม รุนแรงมาก - (โรคอุบตั ิใหม่) - วัณโรค - โรคติดเชื ้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน - ในผู้ป่วยติดเชื ้อเอชไอวี - โรคมะเร็ งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นๆสูป่ อด ผลข้ างเคียงจากโรคปอด - การติดเชื ้อในกระแสเลือด - การเกิดโรคหัวใจ - ภาวะเนื ้อเยื่อ/อวัยวะทัว่ ร่างกายขาดออกซิเจน - ส่งผลให้ เกิดภาวะหายใจล้ มเหลว
ไวรัส - ไข้ หวัด ไข้ หวัดใหญ่ (โรคอุบตั ิใหม่) - โรคภูมิแพ้ แบคทีเรี ย - เกิดการติดเชื ้อที่ปอด - ปวดบวม - วัณโรค - โรคติดเชื ้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน เชื ้อรา - หลอดลมอักเสบ - โรคหืด หอบ - ในผู้ป่วยติดเชื ้อเอชไอวี - โรคติดเชื ้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน โรคแทรกซ้ อนที่สาคัญและอื่นๆ - โรคปอดอุดกันเรื ้ อ้ งรัง - มะเร็ งปอด - ความดันในปอดสูง - โรคหัวใจจากโรคปอด - เกิดภาวะหายใจล้ มเหลว - การติดเชื ้อในกระแสเลือด
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4-6
รายละเอียดผู้ใช้โครงการ (พฤติกรรมของผู้ป่วยโรคปอด) อาการไอ อาจมีหรือไม่มเี สมหะ ทั้งนี้ขึ้นกับสาเหตุ ไอเป็นเลือด มีเสมหะปนเลือด
หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก อาจหายใจมีเสียงผิดปกติ อาจมีเจ็บหน้าอก ซึ่งมักจะเจ็บตรงตาแหน่งปอดที่เกิด โรค ร้าวไปแขน ใบหน้า
มีไข้หรือไข้สูง อาจมีไข้ มีได้ทั้งไข้สูง เช่น ปอดบวมจากติดเชื้อไวรัส หรือไข้ต่า เช่น จากวัณโรค
4-7
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
เยื่อหุ้มปอดผิดปกติ อาจมีน้าในโพรงเยื่อหุ้มปอด เช่น ในโรคมะเร็ง ปอด ส่งผลให้หายใจลาบาก
ร่างกายจะขาดออกซิเจน เมื่อเป็นมาก ร่างกายจะขาดออกซิเจน ส่งผลให้เกิด อาการเขียวคล้า มักเห็นได้ชัดที่ เล็บ นิ้ว มือ เท้า และ ริมฝีปาก
ส่งผลไปยังการทางานของหัวใจ เมื่อเป็นมากจะส่งผลไปยังการทางานของหัวใจ ก่อให้เกิดโรคหัวใจ และภาวะหัว ใจวาย และเสียชีวิต (ตาย)
4.6 สัดส่วน (ผู้ใช้โครงการต่อวัน)
300
คน
350
คน
ผู้ป่วยนอก (33.93%) - ผู้ป่วยรายใหม่ - ผู้ป่วยรายเก่า - การรักษาต่อเนื่อง - การส่งตัวจาก สถานพยาบาลอื่นๆ บุคลากร (39.59%) - แพทย์ - พยาบาล - เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค - เภสัชกร - พนักงานบริการ
30
คน
204
คน
ผู้ป่วยใน (3.39%) - ผู้ป่วยเฝ้าระวัง - ระดับไม่รุนแรง - ระดับรุนแรงปานกลาง - ระดับรุนแรงมาก ผู้ติดต่อ (23.07%) - ผู้มาเยี่ยมผู้ป่วย - ติดต่อ ธุรกิจ ขายยา
สรุป จานวนคนที่ใช้ในโครงการต่อวัน บุคลากร/เจ้าหน้าที่ 350 คน/วัน ผู้ป่วยนอก 300 คน/วัน ผู้ป่วยใน 30 คน/วัน ผู้มาติดต่อคิดเป็น30% 204 คน/วัน ดังนั้น ผู้ใช้โครงการต่อวัน 884 คน หรือประมาณ 900 คนต่อวัน HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4-8
การจาแนกกลุ่มพื้นที่ใช้สอยของโรงพยาบาล ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทาเกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านอาคารและสภาพแวดล้อม ของสถานบริการสุขภาพ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เบื้องต้นได้จาแนกกลุ่มพื้นที่ใช้สอยอาคารโรงพยาบาล ออกเป็น ๕ กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 1.1 แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 1.2 แผนกผู้ป่วยนอก 1.3 ส่วนสนับสนุนงานบริการผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 1.3.1 แผนกเวชระเบียน 1.3.2 แผนกเภสัชยกรรมและการเงินผู้ป่วยนอก 2. กลุ่มวินิจฉัยและรักษา 2.1 ส่วนบาบัดรักษา และศูนย์ฟื้นฟู 2.1.1 แผนกรังสีวินฉิ ัย 2.1.2 แผนกพยาธิวิทยาคลินิก 2.1.1 แผนกศัลยกรรม 2.1.2 แผนกศูนย์ฟื้นฟู 3. กลุ่มผู้ป่วยใน 3.1 แผนกผู้ป่วยหนัก 3.2 แผนกผู้ป่วยใน
4-9
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4. กลุ่มบริการสนับสนุน 4.1 กลุ่มบริการสนับสนุนทางการแพทย์ 4.1.1 แผนกเภสัชกรรมและการเงินผู้ป่วยใน 4.1.2 แผนกจ่ายกลาง 4.1.3 แผนกโภชนาการ 4.2 กลุ่มบริการสนับสนุนทั่วไป 4.2.1 แผนกซักฟอก 4.2.2 งานกพัสดุกลาง 4.2.3 งานซ่อมบารุง 4.2.4 ห้องเครื่องผลิตและจ่ายสาธารณูปโภค 4.2.5 งานรักษาความปลอดภัย 5. กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ 5.1 งานบริหารจัดการทั่วไป 5.2 ห้องอาหาร 5.3 ส่วนที่จอดรถ 5.4 พื้นที่สีเขียว
สัดส่วนพื้นที่ทั้งโครงการ
พื้นที่สนับสนุนอื่นๆ (33%)
กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุฉุกเฉิน 18% กลุ่มวินิฉัยและรักษา 13%
พื้นที่โรงพยาบาล (67%)
กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ 33% กลุ่มผู้ป่วยใน 22% กลุ่มบริการสนับสนุน 14%
กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
กลุ่มวินิฉัยและรักษา
กลุ่มผู้ป่วยใน
กลุ่มบริการสนับสนุน
กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 10
พื้นที่ใช้สอย 1. กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
รูปที่ 4 – 3 กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน พื้นที่ใช้สอย กลุ่มผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน = 3,288.70 ตร.ม
แผนกเวชระเบียน
แผนกผู้ป่วยนอก พัสดุ/จ่ายกลาง/ซักฟอก/ห้องเก็บศพ
จานวนผู้ใช้งาน ผู้รับบริการ = 300/วัน ผู้ให้บริการ = 80/วัน
แผนกผู้ป่วยใน
แผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน
แผนกเวชระเบียน ทางเข้า
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
แผนกรังสีวินฉิ ัย/จ่ายกลาง/ซักฟอก
แผนกเภสัชยกรรมและ การเงินผู้ป่วยนอก
แผนกที่เกี่ยวข้อง เส้นทางผู้รับบริการ เส้นทางผู้ให้บริการ
4 - 11
แผนกเภสัชยกรรมและการเงินผู้ป่วยนอก
กลับบ้าน ทางออก
แผนกผู้ป่วยนอก
กลุ่มวินิฉัยรักษา
พื้นที่ใช้สอย 2. กลุ่มวินิจฉัยและรักษา
แผนกรังสีวินฉิ ัย
แผนกศัลยกรรม
แผนกพยาธิวิทยาคลินิก
แผนกศูนย์ฟื้นฟู
รูปที่ 4 – 4 กลุ่มวินิจฉัยและรักษา
พื้นที่ใช้สอย กลุ่มวินิจฉัยและรักษา = 2,292.20 ตร.ม
แผนกผู้ป่วยใน,แผนกผู้ป่วยนอก,แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
จานวนผู้ใช้งาน ผู้รับบริการ = 300/วัน ผู้ให้บริการ = 80/วัน หอผู้ป่วยใน
แผนกศัลยกรรม
แผนกพยาธิ วิทยาคลินิก
แผนกศูนย์ฟื้นฟู
แผนกรังสีวินฉิ ัย
แผนกที่เกี่ยวข้อง เส้นทางผู้รับบริการ เส้นทางผู้ให้บริการ
พัสดุ/จ่ายกลาง/ซักฟอก HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 12
4 - 13
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย กิจกรรมในศูนย์ฟื้นฟู
รูปที่ 4 – 5 กิจกรรมในศูนย์ฟื้นฟู
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 14
พื้นที่ใช้สอย 3. กลุ่มผู้ป่วยใน
แผนกผู้ป่วยหนัก พื้นที่ใช้สอย กลุ่มผู้ป่วยใน = 3,316.45 ตร.ม
แผนกผู้ป่วยใน แผนกศัลยกรรม
จานวนผู้ใช้งาน ผู้รับบริการ = >30/วัน ผู้ให้บริการ = 70/วัน แผนกผู้ป่วยหนัก
รูปที่ 4 – 6 ผู้ป่วยใน
แผนกผู้ป่วยนอก,แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
แผนกผู้ป่วยใน
แผนกที่เกี่ยวข้อง เส้นทางผู้รับบริการ เส้นทางผู้ให้บริการ
คลังยา/พัสดุ/จ่ายกลาง/ซักฟอก 4 - 15
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
พื้นที่ใช้สอย 4. กลุ่มบริการสนับสนุน กลุ่มบริการสนับสนุนทางการแพทย์
กลุ่มบริการสนับสนุนทั่วไป แผนกซักฟอก งานกพัสดุกลาง งานซ่อมบารุง ห้องเครื่องผลิตและจ่ายสาธารณูปโภค งานรักษาความปลอดภัย
แผนกเภสัชกรรมและ การเงินผู้ป่วยใน
แผนกจ่ายกลาง
รูปที่ 4 – 7 กลุ่มบริการสนับสนุน
แผนกโภชนาการ
พื้นที่ใช้สอย กลุ่มบริการสนับสนุน = 2,479.28 ตร.ม
แผนกเภสัชกรรมและ การเงินผู้ป่วยใน
จานวนผู้ใช้งาน ผู้รับบริการ = ส่วนติดต่อเภสัชผู้ป่วยในเท่านั้น ผู้ให้บริการ = >63 คน/วัน
แผนกจ่ายกลาง แผนกที่เกี่ยวข้อง เส้นทางผู้รับบริการ เส้นทางผู้ให้บริการ
ห้องเครื่องผลิตและ จ่ายสาธารณูปโภค
กลุ่มผู้ป่วยใน
วัตถุดิบ
แผนกโภชนาการ
งานซ่อมบารุง
แผนกซักฟอก แผนกศัลยกรรม/แผนกผู้ป่วยนอก/ แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน/กลุ่มผูป้ ่วยใน งานกพัสดุกลาง กลุ่มผู้ป่วยใน งานรักษาความปลอดภัย HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 16
พื้นที่ใช้สอย 5. กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ
งานบริหารจัดการทั่วไป
ห้องอาหาร
ส่วนที่จอดรถ
ศัลยกรรม/ กลุ่มผู้ป่วยใน
แผนกที่เกี่ยวข้อง เส้นทางผู้รับบริการ เส้นทางผู้ให้บริการ
4 - 17
รูปที่ 4 – 8 กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ
แผนกผู้ป่วยนอก/ กลุ่มผู้ป่วยใน
พื้นที่ใช้สอย กลุ่มสานักงานและสวัสดิการ = 5,812.95 ตร.ม จานวนผู้ใช้งาน ผู้รับบริการ = >300 คน/วัน ผู้ให้บริการ = >63 คน/วัน
พื้นที่สีเขียว
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
ส่วนที่จอดรถ งานบริหารจัดการทั่วไป
พื้นที่สีเขียว
ห้องอาหาร
แผนกผู้ป่วยนอก/ กลุ่มผู้ป่วยใน
สรุปพื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ
รูปที่ 4 – 9 สรุปพื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 18
4.9 งบประมาณการสร้างโครงการ แหล่งที่มาของเงินทุน กระทรวงสาธารณสุขนโยบายแผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลสระบุรี (งบประมาณปี 2560-2564) ตามนโยบาย ยกระดับศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะโรค และศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง และ ลดความแออัด ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน
ราคาที่ดิน 7,000 บาท / ตร.ว (ถนนเลี่ยงเมืองสระบุร)ี -
5 ไร่ = 8,000 ตร.ม หรือ 2,000 ตร.ว = 14,000,000 ล้านบาท (สิบสี่ล้านบาท)
ราคาก่อสร้าง สถานพยาบาล 8,700 บาท / ตารางเมตร (ในพื้นที่จังหวัดสระบุรี) -
8,700 x8,000 = 69,600,000 ล้านบาท
การลงทุนต่อเตียงสาหรับโรงพยาบาลทั่วไป (ต่อเตียง) -
ค่าก่อสร้างอาคารรวมงานระบบ ค่าเครื่องมือแพทย์ ค่าเครื่องใช้ในสานักงานและเครื่องครัว ค่าตกแต่งภายในอาคาร ค่าที่ดินประมาณ 20% ค่าดาเนินการประมาณ 20%
1.50 0.75 0.50 0.30 0.60 0.60
ล้านบาทต่อเตียง ล้านบาทต่อเตียง ล้านบาทต่อเตียง ล้านบาทต่อเตียง ล้านบาทต่อเตียง ล้านบาทต่อเตียง
รวมค่าลงทุนโรงพยาบาลทั่วไป ประมาณ 4.25 ล้านบาทต่อเตียง
4 - 19
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
โรงพยาบาลขนาด 100 เตียง 425 ล้านบาท + ค่าที่ดิน 14 ล้านบาท + ค่าแรงงานก่อสร้าง 69.6 ล้านบาท แล้วเสร็จ (ไม่รวมค่าออกแบบกับการควบคุมงาน) = 508.6 ล้านบาท
4.10 รายได้โครงการ โครงสร้างรายได้ – ค่าใช่จ่ายโรงพยาบาลทั่วไป โดยเฉลี่ยทั่วไปรายรับและรายจ่ายของโรงพยาบาลจะมีตัวเลขโดยประมาณดังต่อไปนี้ รายรับ รายได้จากค่ารักษาพยาบาล 22 – 27 % รายได้จากค่าตรวจวินิฉัยโรค 10 – 12 % รายได้จากค่าห้องพัก 10 – 14 % รายได้จากค่ายา – เวชภัณฑ์ – วัสดุแพทย์ 35 – 40 % รายได้อื่นๆ 10 – 15 % รวมเฉลี่ยประมาณ 100 % รายจ่าย ต้นทุนค่าธรรมเนียมแพทย์ 20 – 25 % ต้นทุน ค่าแรง เงินเดือนพนักงาน 20 – 22 % ต้นทุนค่ายา เวชภัณฑ์ 20 – 22 % ต้นทุนสาธารณูปโภค 5–8% ต้นทุนอื่นๆ 8 – 10 % รวมเฉลี่ยประมาณ 73 - 87 % ค่าเสื่อมราคา 6–8% ดอกเบี้ย + กาไร + อื่นๆ รวมเฉลี่ยประมาณ 100%
การเทียบอัตราส่วนจากรายได้ของแพทย์ การคิดเทียบรายได้ โดยใช้สมมุติฐานรายได้ของแพทย์ กล่าวคือ แพทย์ 1 คน ถ้าทางานประจา จะมีรายได้ ประมาณ 100,000 บาท/เดือน อัตรารายได้จากแพทย์ของโรงพยาบาล 1 แห่ง จะปราณ 20 % ของรายได้ทั้งหมด ของโรงพยาบาล ดังนั้นรายได้จากแพทย์ 20 บาท จะเป็นรายได้ของโรงพยาบาล 100 บาท รายได้จากแพทย์ 100,000 บาท จะเป็นรายได้ของโรงพยาบาล 100 × 100,00 บาท 20
= 500,000 บาท โรงพยาบาลขนาด 100 เตียง จึงควรจะต้องมีรายได้เข้าก่อนหักค่าใช้จ่าย 10 ล้าน บาทต่อเดือน จึงจะคุ้มรายจ่าย + ดอกเบี้ย
สรุป โรงพยาบาลขนาด 100 เตียง ควรจะต้องใช้แพทย์ทางานตามเวลา 20 คน จึงจะจึงจุดคุ้มรายจ่าย+ ดอกเบื้ย คือประมาณ 10 ล้านบาท (ก่อนหักค่าใช้จ่ายและ ภาษี) / เดือน
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 20
โครงสร้าง งานระบบและเทคโนโลยีประกอบอาคาร
งานวิศวกรรมสุขาภิบาลและป้องกันอัคคีภัย - ระบบจ่ายน้าประปา งานสถาปัตยกรรม - ระบบจ่ายน้าร้อน งานสถาปัตยกรรมภายใน - ระบบระบายน้าเสีย งานภูมิสถาปัตยกรรม - ระบบระบายน้าฝน งานวิศวกรรมโครงสร้าง - ระบบรดน้าต้นไม้ งานวิศวกรรมไฟฟ้ากาลังและไฟฟ้าสื่อสาร - ระบบจัดการมูลฝอย ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง งานวิศวกรรมเครื่องกล ลิฟต์ บันไดเลื่อน งานระบบไฟฟ้ากาลัง งานระบบประกอบอาคารอื่น ระบบไฟฟ้าสารอง ระบบแก๊สทางการแพทย์ ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ระบบระบายอากาศและระบบปรับอากาศ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ การกรองอากาศ ต้องจัดให้มีการกรองอากาศที่หมุนเวียนในระบบปรับอากาศ ระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ เพื่อสุขอนามัยของผู้ใช้อาคาร ระบบเสียงประกาศ เครื่องส่งลมเย็นที่มีอัตราการส่งลมตั้งแต่1,000 ลิตรต่อวินาทีต้องจัดให้มีแผง ระบบโทรทัศน์รวม SMATV กรองอากาศ ระบบสื่อสารความเร็วสูง ที่มีประสิทธิภาพอย่างน้อยMERV 7 ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2 ระบบเรียกพยาบาล nurse call เสียงรบกวนและการสั่นสะเทือน ระบบโทรทัศน์วงจรปิด CCTV เครื่องทาความเย็น ระบบควบคุมการเข้า-ออกประตู Access Control เติมอากาศบริสุทธิ์ ระบบป้องกันฟ้าผ่า งานระบบอัดอากาศและระบายควัน ระบบป้องกันแรงดันและกระแสเกินภายในอาคาร Fire life safety ระบบการต่อลงดิน ช่วยลดการรบกวนจากคลื่นสนามแม่เหล็ก : ห้องผ่าตัด ห้องผ่าตัด ระบบไฟฟ้าแบบ IT เพื่อใ่ ช้ในทางการแพทย์
4 - 21
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
โครงสร้าง งานระบบและเทคโนโลยีประกอบอาคาร งานวิศวกรรมสุขาภิบาลและป้องกันอัคคีภัย - ระบบจ่ายน้าประปา เครื่องสูบน้าเพิ่มแรงดัน การควบคุมระดับน้า ประปาในถังเก็บน้า - ระบบจ่ายน้าร้อน ระบบผลิตน้าร้อนแบบ HEAT PUMP ถังเก็บน้าร้อน ตู้ควบคุม Heat Pump, เครื่องสูบน้า ต้องสามารถเชื่อมต่อกับ ระบบ BAS ได้ เพื่อสั่งควบคุมการทางาน, ดูสถานะการทางานและ สัญญาณแจ้งเตือนเมื่อเกิดความผิดปกติ - ระบบระบายน้าเสีย ถังบาบัดน้าเสีย ตู้ควบคุมระบบบาบัดน้าเสีย/ปั๊มน้าเสีย เครื่องสูบน้าเสีย เครื่องสูบน้าทิ้ง การควบคุมการทางานของเครื่องสูบน้าเสีย/น้าทิ้ง ท่อระบายน้าจากอาคาร เช่น ท่อส้วม ท่อน้าทิ้ง ท่ออากาศ
- ระบบระบายน้าฝน ท่อน้าฝนในแนวดิ่ง ตะแกรงน้าฝนและอื่นๆ - ระบบรดน้าต้นไม้ ระบบน้าหยด ระบบสปริงเกอร์ ตู้ควบคุมเครื่องสูบน้า ต้องสามารถเชื่อมต่อกับระบบ BAS ได้ เพื่อสั่งควบคุมการทางาน ดูสถานะการทางานและสัญญาณแจ้งเตือนเมื่อเกิดความผิดปกติ - ระบบจัดการมูลฝอย - ระบบป้องกันอัคคีภัย ตู้เก็บสายส่งน้าดับเพลิง (Fire Hose Cabinet) เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ - เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมี A-B-C - เครื่องดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ ใช้สาหรับดับเพลิงในห้องเครื่องไฟฟ้า ระบบหัวกระจายน้าดับเพลิงอัตโนมัติ งานวิศวกรรมเครื่องกล ลิฟต์ บันไดเลื่อน งานระบบประกอบอาคารอื่น ระบบแก๊สทางการแพทย์ ระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ การควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น คุณภาพของอากาศ ความดันอากาศทิศทางการไหล การหมุนเวียนของอากาศ และควบคุมการแพร่เชื้อโรคในพื้นที่ปฏิบัติงาน เติมอากาศบริสุทธิ์ งานระบบอัดอากาศและระบายควัน Fire life safety ห้องผ่าตัด HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 22
4.11 โครงสร้าง งานระบบและเทคโนโลยีประกอบอาคาร งานระบบประกอบอาคารอื่น ระบบแก๊สทางการแพทย์ องค์ประกอบหลักของระบบจ่ายแก๊สทางการแพทย์ 1. แหล่งจ่ายแก๊ส - ไนโตรเจน - ออกซิเจน - ไนตรัสออกไซค์ - ระบบสุญญากาศทางการแพทย์ - ระบบกาจัดยาสลบส่วนเกิน 2. ระบบท่อจ่ายแก๊ส 3. จุดใช้งาน - แผนกผู้ป่วยวิกฤต/ผู้ป่วยใน/แผนกศัลยกรรม - อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 4. ระบบตรวจสอบและควบคุม
รูปที่ 4 – 10 เตียงผู้ป่วยวิกฤต
4 - 23
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
HOSPITAL AND CENTER FOR PULMONARY REHABILITATION
4 - 24
Hospital And Center For Pulmonary Rehabilitation ARCH_THESIS_RMUTT.2018