Watermarked ad nsj

Page 1

쏆쎪 1 쎱

39

1 だいいっか ▶ どこへ doko e

いくんですか。 ikundesu

ka


쏆쎪 1 쎱

かいわ

1

チャン

ɿ おはよう

chan

(あさ

ตอนเช้า : 4:00 am - 10:00 am)

きょうしɿ おはよう kyooshi

40

ございます。

ohayoo

チャン

gozaimasu

ございます。おなまえは。

ohayoo

gozaimasu

onamae wa

ɿ チャンです。はじめまして、よろしく おねがいします。 chan

desu

hajimemashite

yoroshiku onegaishimasu

きょうしɿ チャンさんは ちゅうごくじんですか。 chan

チャン

san wa

chuugoku

jin desu ka

ɿ はい、そうです。 hai

soodesu

ʜʜʜ きょうしɿ さようなら。 sayoonara

チャン

ɿ さようなら。 sayoonara

จาง คุณครู จาง คุณครู จาง

: อรุณสวัสดิ์คะ่ : อรุณสวัสดิ์คะ่ คุณชื่ออะไรคะ : ฉันชื่อจางค่ะ ยินดีที่ได้รู้จัก ขอฝากเนื้อฝากตัวด้วยนะคะ : คุณจางเป็นคนจีนใช่ไหมคะ : ใช่คะ่

ʜʜʜ

คุณครู : ลาก่อนค่ะ จาง : ลาก่อนค่ะ


쏆쎪 1 쎱

2

かいわ

(ひる

ตอนเที่ยง : 10:00 am - 7:00 pm)

たなか: こんにちは。 tanaka konnichiwa さとう: satoo

こんにちは。 どこへ

たなか:

konnichiwa

doko e

いくんですか。 ikundesu

ka

がっこうへ いくんです。さとうさんは gakkoo

e ikundesu

satoosan

wa

かいしゃへ kaisha

e

いくんですか。 ikundesu

ka

さとう: いいえ、かいしゃへは いかないんです。かいものに iie kaisha ewa ikanaindesu kaimono ni いくんです。 ikundesu

たなか:

それじゃ、また。 しつれいします。 soreja

さとう:

mata

shitsureeshimasu

しつれいします。 shitsureeshimasu

ทานากะ : สวัสดีครับ ซาโต้ : สวัสดีครับ คุณจะไปไหนครับ ทานากะ : ไปโรงเรียนครับ คุณซาโต้จะไปบริษัทใช่ไหมครับ ซาโต้ : ไม่ครับ ไม่ได้ไปบริษัท จะไปซื้อของ ทานากะ : งั้นเหรอครับ ถ้าอย่างนั้น ไว้เจอกันใหม่ ขอตัวก่อนนะครับ ซาโต้ : ขอตัวก่อนครับ

41


쏆쎪 1 쎱

どうし

คำกริยา

! คำกริยาในภาษาญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่ 3

(กลุ่มยกเว้น)

! กฏการผันรูปของคำกริยาระหว่างกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 มีความแตกต่างกัน 42

! คำกริยาในกลุ่มที่ 3 มีเพียง 2 ตัว คือ くる(มา) และ する(ทำ) ! 6 รูปพื้นฐานคำกริยา いく(ไป) และ くる

(มา)

いく(กลุ่ม 1)

くる(กลุ่มยกเว้น)

かない

こない

きます

きます

くる

けば

くれば

こう

こよう

いって

きて

รูปない

รูปます

รูปพจนานุกรม

รูปเงื่อนไข

รูปตั้งใจ รูปて

เพิ่มเติม : 1) คำกริ ย าแต่ ล ะตั ว ของกลุ ่ ม ที ่ 1 มี แ ถวการผั น รู ป ของตั ว มั น เอง แถวการผั น รู ป ของคำกริ ย า い く คื อ か き く け こ จากนั ้ น ให้ น ำ な い , ま す , ば และ う ในแต่ ล ะรู ป ไปเติ ม หลั ง คำกริ ย าในกลุ ่ ม ที ่ 1 2) くる เป็นคำกริยากลุ่มพิเศษ (กลุ่มยกเว้น)


쏆쎪 1 쎱

! รูปท้ายประโยคบอกเวลาปัจจุบัน/อนาคต

รูปไม่สุภาพ

รูปสุภาพ んです

ประโยคบอกเล่า いきます

いく

いくんです

ประโยคปฏิเสธ

いかない

いかないんです

ประโยคบอกเล่า きます

くる

くるんです

ประโยคปฏิเสธ

こない

こないんです

รูปสุภาพ (รูป ます)

いく

くる

いきません

きません

! การใช้คำกริยา くる

(รูปพจนานุกรม) (รูป ない)

1. ใช้เมื่อผู้พูดกลับมายังสถานที่ที่อยู่ในขณะนั้น แต่ต้องไม่ใช่สถานที่ที่ผู้พูดเป็นเจ้าของ 2. ผู ้ ฟ ั ง หรื อ ผู ้ ท ี ่ ถ ู ก พู ด ถึ ง มายั ง สถานที ่ หรือตำแหน่งของผู้พูด นอกจากนั้นใช้คำกริยา いく

คำเติมท้ายประโยค です (อ้างอิง だい 9 か) ! คำเติมท้ายประโยค だ です

ตัวอย่าง

じょし

チャンです。

そうです。

ใช้ชี้สิ่งของหรือบุคคล ฉันชื่อจาง ถูกต้อง (ตรงข้ามกับ: ちがいます ไม่ถูก / ไม่ใช่ )

คำช่วย

คำช่ว ยจะวางไว้ต ิด กับ คำนาม คำสรรพนาม คำวิเ ศษณ์ และ คำคุณ ศัพ ท์เพื่อบอก หน้าที่ของคำต่างๆ ในประโยค ! คำช่วย は ชี้หัวเรื่อง ตัวอย่าง おなまえは。 ชื่ออะไรคะ チャンさんは ちゅうごくじんですか。 คุณจางเป็นคนจีนหรือเปล่าคะ

43


쏆쎪 1 쎱

! คำช่วย へ ชี้ทิศทางของการเคลื่อนที่

ตัวอย่าง

がっこうへ

! คำช่วย に ชี้จุดประสงค์

ตัวอย่าง

かいものに

いくんです。

ฉันจะไปโรงเรียน

いくんです。

ฉันจะไปซื้อของ

! คำช่วย は แสดงถึงการปฏิเสธ 44

ตัวอย่าง

かいしゃへは

いかないんです。

ฉันไม่ได้ไปบริษัท

นอกจากนี้คำช่วยยังสามารถวางไว้ท้ายประโยคได้อีกด้วย เช่น ! ประโยคคำถามที่ลงท้ายด้วยคำช่วย か

ตัวอย่าง

そのた

どこへ

いくんですか。

(คุณ) จะไปไหนครับ

อื่น ๆ

(คุณ) さんเป็ น คำลงท้ า ยแสดงความยกย่ อ งโดยใช้นามสกุล + さん เพื่อเน้นหรืออ้างถึง บุคคลที่พูดด้วยหรือบุคคลที่พูดถึง ! ∼さん

(ลาก่อน / ขอตัวก่อน) しつれいします สามารถใช้ได้ในหลากหลายสถานการณ์

! さようなら/しつれいします

! はい/いいえ はい

แปลว่า ใช่ (ถูกต้อง) ส่วน

いいえ

แปลว่า ไม่ (ผิด)


쏆쎪 1 쎱

れんしゅう

แบบฝึกหัด

どこ ที่ไหน

ことば (คำศัพท์) がっこう

かいしゃ

ここ

そこ

かいもの

えいが

ゆうびんきょく

45 1

" どこへ いきます かʗいくんですか。

# かいしゃへ いきます ʗ いくんです。

いく

2 " ゆうびんきょくへ いきます か ʗ いくんですか。 # はい、 いきます ʗ いくんです。 いいえ、ʢゆうびんきょくへは ʣ いきません ʗ いかないんです。 3 " えいがに いきます か ʗ いくんですか。 # はい、いきます ʗ いくんです。 いいえ、ʢえいがにはʣ いきませんʗいかないんです。 4 " がっこうへ きます か ʗ くるんですか。 くる # はい、 きます ʗ くるんです。

いいえ、ʢがっこうへはʣきませんʗ こないんです。

5

" ここへ きます か ʗ くるんですか。

いいえ、ʢそこへはʣいきませんʗ いかないんです。

# はい、いきます ʗ いくんです。


쏆쎪 1 쎱

สถานที่

ばしょ

「∼ へ

がっこう

いく」 かいしゃ

ゆうびんきょく

46

もくてき

จุดประสงค์ かいもの

「∼ に

いく」

えいが


くる がっこう

kuru gakkoo

きょうし ここ

koko kyooshi

くる ことば ここ こんにちは

kuru kotoba

ことば

kotoba Satoo konnichiwa sayoonara Satoo aisatsu --san sayoonara asa

คำศัพท์ こんにちは

さとう ことば

さようなら さとう あいさつ ∼さん さようなら あさ しつれいします ∼さん ありがとうございます じょし しつれいします いいえ じょし いく

koko konnichiwa

มา โรงเรียน ทีคุณ นี่ ครู มา พท์ คำศั ทีนสี่ ดี สวั คำศัพ(นามสกุ ท์ ซาโต้ ล)

สวัสดี ลาก่อน (นามสกุล) ทัซาโต้ คุกณทาย ... ลาก่อนา ตอนเช้ shitsureeshimasu ขอตัวก่อน --san คุณ... arigatoogozaimasu ขอบคุณ joshi คำช่ วย shitsureeshimasu ขอตัวก่อน iie ไม่ joshi คำช่วย iku ไป

ばしょ はい

basho hai

はじめまして ひる

hajimemashite hiru

ばしょ ∼へ ひる また

basho --e

∼へ もくてき また ゆうびんきょく もくてき ∼じん よろしく ゆうびんきょく する れんしゅう よろしく そうです れんしゅう そこ

--e mokuteki mata yuubinkyoku mokuteki --jin yoroshiku yuubinkyoku suru renshuu yoroshiku soodesu

そのた

sonota

それじゃ

soreja

だい∼

dai --

1

hiru mata

renshuu soko

สถานที ใช่ ่ กลางวั น นครั้งแรก) สวัสดี (พบกั สถานที่ 쏆쎪 1 쎱 อีกลางวั กครั้งน จุดประสงค์ อีกครั้ง ไปรษณีย์ จุดประสงค์ ยิสันญดีชาติ ที่ได้รู้จัก ไปรษณีย์ ทำ แบบฝึกหัด ถูยิกนต้ดีอทงี่ได้รู้จัก ทีแบบฝึ ่นั่น กหัด

อื่นๆ อย่างนั้น บทเรียน ทานากะ (นามสกุล) จาง (ชื่อคนจีน) ประเทษจีน คำเติมท้ายประโยค คำกริยา ที่ไหน ชื่อ

いっか

ikka

えいが

eega

お∼

o--

たなか

tanaka

おなまえ→なまえ

onamae → namae

チャン

chan

おねがいします

onegaishimasu

ちゅうごく

chuugoku

∼です

--desu

(∼)か

ขอฝากเนื้อฝากตัว ohayoogozaimasu อรุณสวัสดิ์ (--) ka บทเรียน

どうし

dooshi

∼か

--ka

どこ

doko

かいしゃ

kaisha

なまえ

namae

かいもの

kaimono

∼に

--ni

かいわ

kaiwa

บริษัท ซื้อของ บทสนทนา

∼は

--wa

がっこう

gakkoo

はい

hai

ใช่

きょうし

kyooshi

はじめまして

hajimemashite

สวัสดี (พบกันครั้งแรก)

くる

kuru

ばしょ

basho

ここ

koko

ひる

hiru

สถานที่ กลางวัน

ことば

kotoba

∼へ

--e

こんにちは

konnichiwa

また

mata

さとう

Satoo

もくてき

mokuteki

さようなら

sayoonara

ゆうびんきょく

yuubinkyoku

∼さん

--san

โรงเรียน คุณครู มา ทีนี่ คำศัพท์ สวัสดี ซาโต้ (นามสกุล) ลาก่อน คุณ...

よろしく

yoroshiku

しつれいします

shitsureeshimasu

れんしゅう

renshuu

じょし

joshi

ขอตัวก่อน คำช่วย

おはようございます

บทที่หนึ่ง ภาพยนตร์

อีกครั้ง จุดประสงค์ ไปรษณีย์ ยินดีที่ได้รู้จัก แบบฝึกหัด

47


쏆쎪 1 쎱

48


쏆쎪 쎱

2

だいにか ▶ なんじに nanji ni

いけば ikeba

いいですか。 iidesu

ka

49


쏆쎪 쎱

かいわ

1 (よる กลางคืน:7:00p.m. – 2:00a.m. )

チャン

ɿ こんばんは。 konban wa

きょうしɿ こんばんは。おげんきですか。 konban

50

チャン

wa

ogenkidesu

ɿ はい、おかげさまで。せんせいは hai

okagesamade

きょうしɿ はい、ありがとう hai

sensee

ja

arigatoogozaimasu

oyasuminasai

きょうしɿ おやすみなさい。 oyasuminasai

: สวัสดีครับ : สวัสดีค่ะ สบายดีไหมคะ : ครับ สบายดีครับ อาจารย์สบายดีไหมครับ : สบายดีค่ะ ขอบคุณค่ะ

ʜʜʜ

จาง : งั้น ราตรีสวัสดิ์นะครับ คุณครู : ราตรีสวัสดิ์คะ่

wa

ございます。

ʜʜʜ チャン ɿ じゃ、おやすみなさい。

จาง คุณครู จาง คุณครู

ka

おげんきですか。 ogenkidesu

ka


쏆쎪 쎱

2

かいわ

たなか:

こんどの

にちようびに

kondo no

さとう:

ni

dokoka e

いきますか。 ikimasu

ka

プールへ いこうと おもいます。いっしょに いきます か。 puuru

たなか:

nichiyoobi

どこかへ

e

ikoo

to

omoimasu

isshoni

ikimasu

いいですか。

51

iidesuka

さとう:

ええ。まず、わたしの うちへ きてください。 ee

たなか:

なんじに nanji

さとう:

mazu

ni

たなか:

watashi no uchi e

ikeba

じゅういちじに ni

iidesu

: : : : : : :

ka

きてください。 kitekudasai

わかりました。 wakarimashita

ทานากะ ซาโต้ ทานากะ ซาโต้ ทานากะ ซาโต้ ทานากะ

kitekudasai

いけば いいですか。

juuichiji

ka

วันอาทิตย์นี้จะไปไหนหรือเปล่าครับ คิดว่าจะไปสระว่ายน้ำครับ ไปด้วยกันไหมครับ ไปได้หรือครับ ได้ครับ ก่อนอื่นกรุณามาที่บ้านผมนะครับ ไปกี่โมงดีครับ มา 11 โมงแล้วกันนะครับ เข้าใจแล้วครับ


쏆쎪 쎱

どうし

คำกริยา  くる    こない

いく

52

かない  いきます  いく  いけば  いこう

รูปない รูปます รูปพจนานุกรม รูปเงื่อนไข รูปตั้งใจ รูปて

きます    くる    くれば    こよう    きて

いって

! รูปเงื่อนไข + いいですか : ถามความคิดเห็น

ตัวอย่าง

なんじに いけば いいですか。

ควรไปกี่โมงดีครับ

いつ

いけば

いいですか。

ควรไปเมื่อไหร่ดีครับ

なんようびに

(อ้างอิง れんしゅう)

くれば

いいですか。

ควรไปวันไหนดีครับ ! รูปตั้งใจ + と おもいます

ตัวอย่าง

プールへ

: พูดถึงแผน/ความคิด/ข้อเสนอของผู้พูด

いこうと

おもいます。

คิดว่าจะไปสระว่ายน้ำ

げつようびに

いこうと

おもいます。

คิดว่าจะไปวันจันทร์

げつようびに こようと おもいます。

คิดว่าจะมาวันจันทร์ ! รูป て

ตัวอย่าง

(อ้างอิง れんしゅう)

+ ください : การขอร้อง/การให้คำแนะนำ わたしの

うちへ

きてください。

กรุณามาที่บ้านของฉันนะคะ

じゅう いちじに

きてください。

กรุณามาเวลา 11 นาฬิกานะคะ

いま いってください。

กรุณาไปตอนนี้เลยนะคะ

(อ้างอิง れんしゅう)


쏆쎪 쎱

คำช่วย

じょし

! คำช่วย に

ตัวอย่าง

ชี้เวลาของการกระทำ/เหตุการณ์

こんどの

にちようびに

どこかへ

いきますか。

วันอาทิตย์นี้จะไปไหนหรือเปล่าคะ

なんじに

いけば

いいですか。

ควรไปกี่โมงดีคะ

! คำช่วย の เชื่อมคำนามเข้าด้วยกัน

ตัวอย่าง

こんどの

วันอาทิตย์นี้ わたしの

53

にちようび。 うち。

บ้านของฉัน だいめいし

คำสรรพนาม

เมื ่ อ กล่ า วถึ ง ผู ้ พ ู ด わたし (ผู ้ ห ญิ ง ) และ ぼく (ผู ้ ช าย) ใช้ เ มื ่ อ จำเป็ น เท่ า นั ้ น นอกจากนี้คำสรรพนามจะถูกละเอาไว้เมื่อเป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่าผู้พูดคือใครในบทสนทนาทั่วไป ผู้ชายก็สามารถใช้คำแทนตัวเองว่า わたし ได้เหมือนกัน れんしゅう

いつ

1

เมื่อไหร่ いま

きょう

こんしゅう

(1)

A:

いつ ぎんこうへ

B:

いま

いけば いいですか。

いってください。

あした

らいしゅう


쏆쎪 쎱

(2)

A:

いつ

くれば

いいですか。

なんようび

วันอะไร B:

あした

もういちど

きてください。

しゅうสัปดาห์ にちようび

(3)

54

A:

なんようびに

いきます か / いくんですか。

B:

げつようびに

いこうと

おもいます。

げつようび  かようび すいようび

(4)

A:

なんようびに げつようびに

れんしゅう

こようと

A:

にちようびに

どようび

いきます か / いくんですか。

B:

はい、いきます / いくんです。 いきません / いかないんです。

A:

あした

きます か / くるんですか。

B:

はい、きます / くるんです。 いいえ、あしたは

おもいます。

2 (คำช่วย は สำหรับคำตอบที่เป็นปฏิเสธ)

いいえ、にちようび には

(2)

もくようび きんようび

B:

(1)

きます か / くるんですか。

きません / こないんです。


쏆쎪 쎱

かず ตัวเลข

1

いち

11

じゅういち

30

さんじゅう

2

12

じゅうに

40

よんじゅう

3

さん

13

じゅうさん

50

ごじゅう

4

よん し

14

じゅうよん じゅうし

60

ろくじゅう

5

15

じゅうご

70

ななじゅう しちじゅう

6

ろく

16

じゅうろく

80

はちじゅう

7

しち なな

17

じゅうしち じゅうなな

90

きゅうじゅう

8

はち

18

じゅうはち

100

9

きゅう

19

10 じゅう れんしゅう (1)

(2)

A:

20

じゅうきゅう じゅうく

1,000

55

ひゃく せん いっせん

10,000 いちまん

にじゅう

3 ぺ

なんページですか。

B:

A:

なんぎょうめですか。

B:

なんページ

)ページです。

ɿหน้าที่เท่าไหร่

なんぎょうめɿบรรทัดที่เท่าไหร่

)ぎょうめです。


쏆쎪 쎱

2

ことば

56

いい

ii

ดี

すいようび

suiyoobi

วันพุธ

いいですか

iidesuka

ดีไหม/ได้ไหม

せん

sen

หนึ่งพัน

いち

ichi

หนึ่ง

∼せん・ぜん

—sen/zen

พัน

いつ

itsu

เมื่อไหร่

せんせい

sensee

คุณครู

いっしょに

isshoni

ด้วยกัน

だいめいし

daimeeshi

คำสรรพนาม

いま

ima

ตอนนี้

どこか

dokoka

ที่ไหนสักแห่ง

うち

uchi

บ้าน

どようび

doyoobi

วันเสาร์

ええ

ee

ใช่

なな

nana

เจ็ด

おかげさまで

okagesamade

ขอบคุณครับ/ค่ะ

なん(∼)

nan (--)

อะไร

おげんき→げんき

ogenki→genki

なんようび

nanyoobi

วันอะไร

ni

สอง

おもいます→おもう omoimasu→omou

おもう

omou

คิด

∼に

--ni

おやすみなさい

oyasuminasai

ราตรีสวัสดิ์

にちようび

nichiyoobi

かようび

kayoobi

วันอังคาร

∼の

--no

きゅう

kyuu

เก้า

はち

hachi

แปด

きょう

kyoo

วันนี้

ひゃく

hyaku

หนึ่งร้อย

(∼)ぎょう(め)(--) gyoo (me)

บรรทัดที่...

ひゃく・びゃく・ぴゃく

-- hyaku/byaku/pyaku

ร้อย

ぎんこう

ginkoo

ธนาคาร

プール

puuru

สระว่ายน้ำ

きんようび

kinyoobi

วันศุกร์

(∼)ページ

(--) peeji

หน้า...

ku

เก้า

ぼく

boku

ผม

ください

kudasai

まず

mazu

ก่อนอื่น

げつようび

getsuyoobi

วันจันทร์

(∼)まん

(--) man

...หมื่น

げんき

genki

สบายดี/แข็งแรง

∼め

-- me

ที่...

go

ห้า

もういちど

mooichido

อีกครั้ง

こんしゅう

konshuu

สัปดาห์นี้

もくようび

mokuyoobi

วันพฤหัสบดี

こんど

kondo

คราวหน้า

よる

yoru

กลางคืน

こんばんは

konbanwa

สวัสดีตอนบ่าย

よん

yon

สี่

さん

san

สาม

らいしゅう

raishuu

สัปดาห์หน้า

shi

สี่

ろく

roku

หก

∼じ

-- ji

…โมง

わかりました→わかる wakarimashita→wakaru

しち

shichi

เจ็ด

わかる

wakaru

เข้าใจ

じゃ

ja

งั้น

わたし

watashi

ฉัน

(∼)じゅう(∼)(--) juu (--)

สิบ

วันอาทิตย์


まえがき 特許取得学習法とは ◎従来の日本語教授法とその問題点 これまで外国人に日本語を教えてきて、初級レベルの日本語学習者の大多数が共通した問題を 抱えていることに気がついた。即ち、学習者はある程度自分の考えていること は話せるのに、 日本人が話している会話がほとんど聞きとれないということである。なぜなら彼ら学習者が言う には、我々日本人は、彼らが教科書を通じて習ったような話し方をしていないからである。この ことは裏を返せば、従来の日本語教育では初心者に、日本人が日常話すような話し方を教えず、 少し特殊な話し方を教えているということで ある。 日本語について考える時、まず特徴的なことは動詞の活用である。日本語の動詞は、時制以外 に意味によって活用変化するのが特色である。従って、日本語を学習する上で最も重要な要素は 動詞の活用をマスターすることだと言ってよい。ちょうどフランス語やドイツ語を学習する上で、 性による冠詞、形容詞等の活用をマスターするのと同じように重要なのである。そしてフランス 語やドイツ語の学習課程で、それらは最も初期に強調され教えられているのである。ところが、 従来の日本語教育課程では、動詞を教えるとき、最初に polite の「ます形」のみを教え、nonpolite(辞書形、ない形等)やその他の形(仮定形等)は後に段階的に教えているのである。こ の結果、学習者は、「ます形」のみが強く印象に残り、頭に固定してしまっている為、後になっ て non-polite やその他の形を覚えるのに大変苦労する。そして最も不都合なことは、それら全 てを覚えるまでは、先に述べたような問題、即ち日本人が日常話す会話が聞きとれないというこ とである。というのは、日本人は常に会話に様々な動詞の形を混ぜて使っているからである。例 えば、初心者が日本人の簡単な会話の中で「いこう」という音を聞いても、これが「行きます」 と同じ動詞だということがわからないのである。

◎全く新しい教授法について このテキストでは全く新しい試みとして、初心者に最初から動詞をいくつかの活用とともに説 明し、覚えさせるという方法をとっている。英語を学習する時にも、be 動詞を習う時、「I am, you are, he is,---」等と種々の形を最初から総合的に習うはずである。日本語の学習・教授も同 様にすべきである。「行く」という動詞を「行かない/行きます/行く/行けば/行こう/行っ て」というように総合的に教えれば、どんな形が耳に入っても、ある一つの動詞として認識でき るようになるのである。 又、上記の一環として polite を「ます-pattern」と「んです(のです)-pattern」の二本立て とし並行して教えることである。「んです-pattern」は non-polite の形の後に「んです」を付け 加えるわけだから、学習者は polite と non-polite を同時に覚えていくことになる。 ここで二つの反論が予想されるだろう。一つは、従来の教授法で初心者に「ます形」のみを始 めに教える理由は、「ます形」はどんな場合でも使え、一番役に立つという観点から、初級段階 ではそれで充分だという考え。もう一つは、初心者に始めから polite(ます形)と non-polite (辞書形及びない形)を同時に教えると学習者に混乱を招く、まして「行かない/行きます/行 く/行けば/行こう/行って」などと種々の形を教えたら大混乱をひき起こすのではないかとい う考えである。 まず第一の点を考えてみると、なるほど「ます形」はどんな状況ででも使えるだろう。しかし、 「ます形」を使って話をすることはできても、日本人がいろいろな動詞の形を使って話す会話は ほとんど聞きとれないのである。なぜなら、「ます形」はていねいな文(またはある種の句)の 最後にしか使えないから、使用頻度はそう高くないのである。また、ていねいな文といっても 「んです」の形を使わなければならない場合もかなり多いので、そのような時に代わりに「ます 形」を使って会話をすると大変不自然な文になるのである。例えば、道で会った時「どこへ行く んですか。」と聞かなければならないのに「どこへ行きますか。」と言うことになる。日本人は絶 対にこのようには話さないのである。 第二の点については、人間の頭の働きについて少し考えてみれば容易にわかることであるが、 人間は始めに習ったことほどよく覚えているのである。我々自身が英語を学び始めたとき、「I am a student .」と「Are you a student?」をわけなく覚えられたはずである。もし始めに

1


คํานํา วิธีการเรียนที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

8

ปัญหาการเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบเดิม จากประสบการณ์ส อนภาษาญี่ป ุ่น ให้แ ก่ช าวต่างชาติ ทำให้ท ราบถึงปัญ หาของผู้เรีย นภาษาญี่ป ุ่น ในระดับเบื้องต้นหลายประการ ได้แก่ การที่ผู้เรียนบางส่วนที่คิดว่าตนเองสามารถพูดได้แต่ส่วนมากยังไม่ สามารถฟังจับใจความการสนทนากับชาวญี่ปุ่นได้ อาจมีสาเหตุมาจากการที่ผู้เรียนยังไม่อาจเรียนรู้วิธีการ สนทนาตามที่เรียนผ่านแบบเรียนนัน้ ๆ ได้ หากมองย้อนกลับไปพบว่า การเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบเดิมนั้นสอน วิธีการพูดสนทนาที่ไม่ค่อยเป็นธรรมชาติซึ่งไม่ใช่วิธีการสนทนาของคนญี่ปุ่นในชีวิตประจำวันทั่วไป เมื่อ พูด ถึง ภาษาญี่ป ุ่น แล้ว ลัก ษณะพิเศษเฉพาะ คือ การผัน คำกริย า คำกริย าในภาษาญี่ป ุ่น มีลักษณะเฉพาะ คือ นอกจากเป็นการบอกรูปกาลแล้ว การผันเป็นรูปต่าง ๆ ยังมีความหมายที่แตกต่างกัน ออกไป ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยสำคัญที่สุดในการเรียนภาษาญี่ปุ่นคือ การฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ เรื่อ งการผัน คำกริย านั่น เอง เช่น เดีย วกับ การเรีย นภาษาฝรั่งเศสหรือ ภาษาเยอรมัน ที่ม ีล ัก ษณะการผัน รูป คำนำหน้านามและคำคุณ ศัพ ท์ตามเพศโดยเน้น สอนให้ผู้เรียนเข้าใจตั้งแต่ในระดับ เบื้องต้น อย่างไรก็ตาม การเรีย นภาษาญี่ป ุ่น แบบเดิม มีก ารสอนคำกริย ารูป สุภ าพ (masu) ก่อ นแล้ว จึง ค่อ ยสอนรูป ไม่ส ุภ าพ (รูปพจนานุกรมและรูปปฏิเสธ (nai)) และรูปอื่น ๆ ตามลำดับ มีผลทำให้ผู้เรียนเคยชินกับกับการใช้เพียงแค่ รูป masu จนติดเป็นนิสัย และทำให้ยากต่อการจำรูปไม่สุภาพแลละรูปอื่น ๆ ไปด้วย ซึ่งกว่าจะจำรูปทั้งหมด ได้ทำให้ต้องใช้เวลานาน จากปัญหาที่กล่าวมาทำให้ผู้เรียนไม่สามารถฟังจับใจความการสนทนาของคนญี่ปุ่น ทั่วไปในชีวิตประจำวันได้ เนื่องจากคนญี่ปุ่นใช้คำกริยารูปต่าง ๆ ในการสนทนาปกติทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนที่ไม่เข้าใจคำศัพท์ที่แม้จะได้ยินเสียงคำว่า ikoo ในบทสนทนาอย่างง่ายได้ แต่ก็คิดว่าเป็นคำกริยาที่มี ความหมายเหมือนกันกับคำว่า ikimasu เป็นต้น วิธีการเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบใหม่ แบบเรียนเล่มนี้ได้นำเสนอวิธีการเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบใหม่ โดยได้อธิบายรูปแบบการผันคำกริยา รูปต่าง ๆ ให้กับผู้เรียนตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น ซึ่งเป็นวิธีที่ทำให้สามารถจำได้ง่าย เช่นเดียวกับการเรียน ภาษาอังกฤษที่เมื่อเราเรียนคำกริยาคำว่า be ต้องเรียนตามรูปแบบที่ว่า I am , You are, He is เป็น ต้น และเรียนรูปต่าง ๆ ตามลำดับ ซึ่งการเรียนภาษาญี่ปุ่นก็ควรจะเป็นไปในแนวทางนั้นเช่น ยกตัวอย่าง เช่น การสอนคำกริยาคำว่า iku จำเป็นต้องสอนรูปอื่น ๆ ด้วย ทั้ง ikanai/ikimasu/iku/ikeba/ikoo/itte เป็นต้น แม้ว่าผู้เรียนจะได้ยินเป็นเสียงใดก็ตามก็สามารถนึกได้ว่าเป็นคำเดียวกัน นอกจากนี้การสอนรูป สุภาพที่ไม่ใช่แค่เพียงรูป masu สามารถใช้คำว่า -ndesu หรือ -nodesu เติมท้ายรูปไม่สุภาพก็จะทำให้ ผู้เรียนจดจำรูปสุภาพและรูปไม่สุภาพไปพร้อมกันได้อีกด้วย สาเหตุที่มีการสอนเพียงแค่รูป masu ในช่วง แรกของวิธีก ารสอนแบบเดิม นั้น อาจมีเหตุผ ล 2 ประการ ได้แ ก่ ประการที่ 1 อาจเพราะจากรูป masu สามารถใช้ได้หลายกรณีและอาจเป็นประโยชน์กับผู้เรียนมากที่สุด ดังนั้นจึงคาดว่าเพียงพอแล้วสำหรับการ


เรียนในระดับเบื้องต้น และประการที่ 2 คือ หากสอนรูปไม่สุภาพ (รูปพจนานุกรมและรูป nai ) และรูปอื่น ไปพร้อมกับรูปmasu อาจทำให้ผู้เริ่มเรียนรู้สึกสับสน ยิ่งไปกว่านั้นหากสอนการผันรูป ikanai/ikimasu /iku/ikeba/ikoo/itte ก็จะยิ่งทำให้รู้สึกสับสนเพิ่มมากขึ้นด้วย เมื่อพิจารณาจากประเด็นแรกพบว่า คำกริยารูป masu สามารถใช้ได้ในหลายกรณีจริง แต่แม้จะ สามารถสนทนาโดยใช้ร ูป masu ได้ แต่ก ็ไ ม่อ าจช่ว ยให้ส ามารถฟัง จับ ใจความการสนทนาที่ค นญี่ป ุ่น ใช้ค ำกริย ารูป อื่น อีก ได้ เนื่อ งจากรูป masu สามารถใช้ได้เพีย งแค่ก ารเติม หลังรูป ประโยค (หรือ บางวลี เท่านั้น) ซึ่งไม่ได้ใช้บ่อยเท่าไหร่นัก นอกจากนี้ถึงแม้ว่าจะเป็นรูปประโยคสุภาพก็มีกรณีที่ใช้รูปไม่สุภาพ ตามด้วยคำว่า –ndesu ค่อนข้างมาก โดยในหลายกรณีถ้าหากใช้รูป masu ในบทสนทนาก็จะกลายเป็น ประโยคที่ไม่เป็นธรรมชาติเท่าที่ควร ยกตัวอย่างเช่น ในสถานการณ์พบกันที่ถนนที่ต้องใช้ประโยคคำถาม ว่า Doko e ikundesuka ? แทนประโยค Doko e ikimasuka ? ซึ่งเป็นประโยคที่คนญี่ปุ่นจะไม่พูดอย่าง เด็ดขาด และอีกประเด็นถัดมาซึ่งเมื่อหากพิจารณาเกี่ยวกับหลักการทำงานของสมองมนุษย์ก็อาจเข้าใจได้ แต่ก็ยังเป็นเพียงแค่การเรียนรู้เพื่อการจำมากกว่าการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้น เปรียบเทียบกับกรณีการเรียน ภาษาอัง กฤษที่ไ ด้เ ริ่ม เรีย นรู้ป ระโยค I am a student และ Are you a student? แล้ว ทำให้ผ ู้เ รีย น สามารถจำได้อย่างแน่นอน เพราะถ้าหากสอนเพียงแค่คำว่า am ก็จะสามารถใช้ได้เพียงแค่คำว่า am และ ถึงแม้จะได้ยินเสียงคำว่า are ก็ไม่อาจเข้าใจได้ว่าคืออะไร เพราะหากเรียนรู้คำว่า am/are is ไปพร้อม ๆ กัน ก็จะสามารถจดจำคำกริยาที่มีความหมายเหมือนกันกับคำว่า be ได้ทั้งหมด และสามารถนำไปใช้ได้ อย่างถูกต้องต่อไป ดัง นั้น วิธ ีก ารสอนการผัน รูป ต่า ง ๆ ได้แ ก่ ikanai/ikimasu/iku และอื่น ๆ ให้ผ ู้เรีย นได้เข้า ใจ ตั้งแต่เริ่มต้นนั้นไม่ใช่เป็นการทำให้ผู้เรียนเกิดความสับสนแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามนอกจากจะทำให้ เกิดความชำนาญการใช้คำกริยารูปต่าง ๆ แล้วยังเป็นวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการ พัฒนาความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นเพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพการเรียน ผลจากการนำเอาวิธีการสอนนี้ไปใช้กับห้องเรียนจริงโดยใช้ระยะเวลาทำการศึกษาประมาณครึ่งปี สามารถยืนยันประสิทธิภาพได้อย่างชัดเจน ผลพบว่านักเรียนกลุ่มที่มีการใช้วิธีการสอนแบบใหม่สามารถจำ วิธีการผันคำกริยารูปพื้นฐานได้ภายในระยะเวลาเพียง 2-3 สัปดาห์ ซึ่งเร็วกว่า 5-10 เท่า ต่างจากนักเรียนที่ ใช้วิธีการสอนแบบเดิมที่ต้องใช้เวลาหลายเดือน อีกทั้งหากมีการฝึกอย่างต่อเนื่องร่วมกับการเปลี่ยนรูปคำกริยา กลุ่มที่ 1 ตามตารางฝึก 50 เสียง (การผัน 5 วรรค) พบว่ามีประสิทธิภาพมากขึ้น และทำให้ผู้เรียนไม่เกิดความ สับสนอีกด้วย นอกจากนี้ยังพบว่า มีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนในระดับความเข้าใจเบื้องต้นของผู้เรียนจาก ผลการเปรีย บเทีย บกัน ระหว่า งนัก เรีย นกลุ่ม ที่ใช้ว ิธ ีก ารสอนแบบใหม่แ ละแบบปกติท ั่ว ไป โดยกำหนด ระยะเวลาเรียนประมาณ 3 เดือน (36 ชั่วโมง) เท่ากัน โดยพบว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบ

9


สารบัญ Maegaki คำนำ Magic Verb Sheet รูปการผันคำกริยาและวิธีการใช้ 1 รูปการผันคำกริยาและวิธีการใช้ 2 การผันรูปอดีตและปัจุบันคำกริยา คำลงท้ายประโยค และคำคุณศัพท์ i การใช้คำช่วย 1 การใช้คำช่วย 2 การใช้คำเชื่อม การทักทายและมารยาท

1 8 17 18 19 20 21 32 34 35

Dai ikka บทที่ 1 ● คำกริยากลุ่มที่ 1 iku และคำกริยายกเว้น kuru ● ikundesu/ikimasu (ประโยคบอกเล่าปัจจุบัน) ● wa (หัวเรื่อง) ● e/ewa (ทิศทาง) ● คำเติมท้ายประโยค desu ● doko [ที่ไหน]

39

● คำกริยารูป nai, รูป masu และรูปพจนานุกรม ● ikanaindesu/ikimasen (ประโยคปฏิเสธปัจจุบัน) ● ni/niwa (จุดประสงค์) ● ka (คำถาม)

Dai nika บทที่ 2 49 ● คำกริยารูปเงื่อนไข รูปตั้งใจ และรูป te ●--- ikeba iidesuka? (ถามความเห็นของผู้ฟัง) ● ikooto omoimasu (ความคิด/แผนการ/แนวคิดของผู้พูด) ● ittekudasai (ขอร้อง/ให้คำแนะนำ) ● ni/niwa (เวลาของการกระทำ) ● no (เชื่อมคำนาม) ● itsu [เมื่อไหร่] ●จำนวนนับ 1-10,000 Dai sanka บทที่ 3 ● คำกริยากลุ่มที่ 2 okiru และคำกริยากลุ่มยกเว้น suru ● o/wa (กรรมของสกรรมกริยา) ● mo [ด้วย] ● nani [อะไร] ● nanji [กี่โมง] ● dooshite [ทำไม] ● --- karadesu [เพราะว่า] ●การบอกเวลาเป็นชั่วโมงและนาที

57

Dai yonka บทที่ 4 ● คำกริยากลุ่ม 1 และคำกริยารูป te (1) ● ikanaidekudasai (ขอร้อง/แสดงความเห็นในเชิงปฏิเสธ) ● ga/wa (ประธาน) ● de/dewa (สถานที่ที่เกิดการกระทำ) ● to [และ] ● yo/ne (ท้ายประโยค) ● kara [จาก] ● dare [ใคร] ● nan [อะไร] ● nannichi [วันอะไรของเดือน] ● ชื่อเดือนและวัน ● คำที่ขึ้นต้นด้วย ko/so/a/do

69


Dai goka บทที่ 5 ● คำกริยากลุ่ม 1 และคำกริยารูป te (2) ● to/towa (กับ]) ● made [ถึง]

● ikimashoo ([ไปกันเถอะ]) ● de/dewa (วิธีการ) ● ikutsu [กี่อัน] ● ikura [เท่าไหร่] ● การนับเงิน

79

Dai rokka บทที่ 6 ● คำกริยากลุ่ม 2 ● ikimasenka? (เชื้อเชิญ [ไมไปเหรอ] ● ya [และอื่นๆ] ● ka (ยืนยัน) ● donna [แบบไหน] ● donogurai [เป็นเวลาเท่าไหร่] ● yoku [บ่อย]/tokidoki [บางครั้ง]

91

Dai nanaka บทที่ 7 ● คำกริยารูปสามารถ ● koraremasuka? ([มาได้ไหม]) ● ga/wa (กรรมของคำกริยารูปสามารถ) ● คำลงท้ายประโยคปฏิเสธ dewa arimasen ● yoku [บ่อย]/ sukoshi [นิดหน่อย]

103

Dai hachika บทที่ 8 ● คำกริยา iru/irassharu/oru/aru ● mo + รูปปฏิเสธ [ไม่เลย] ● nannin [กี่คน]

113

Dai kyuuka บทที่ 9 ● คำกริยารูป te + iru/inai (สภาพ) ● ni/niwa (สถานที่แสดงสภาพ) ● na-adjectives

● ni/niwa (สถานที่ที่แสดงความมีอยู)่ ● คำคุณศัพท์ i ● nanban [เบอร์อะไร] ● นับจำนวนคน ● --- ni sundeiru (อาศัยอยู่ท)ี่ ● shitteiru [รู้] ● shika + negative form (เพียงแค่.....เท่านั้น)

Dai jikka บทที่ 10 ● คำคุณศัพท์รูปปฏิเสธ Dai juuikka บทที่ 11 ● คำกริยารูป ta ● o (การเคลื่อนที่ออกจากสถานที)่ Dai juunika บทที่ 12 ● คำกริยารูป nakatta ● ni (การเคลื่อนที่ไปยังสถานที)่

125

135

● คำกริยารูปบอกเล่าอดีต ittandesu/ikimashita ● คำเติมท้ายการนับจำนวน satsu, sai... ● คำกริยารูปปฏิเสธอดีต ikanakattandesu/ikimasendeshita ● moo (หลังการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็น)

Dai juusanka บทที่ 13 ● คำลงท้ายประโยคบอกเล่าอดีต dattandesu/deshita

● คำคุณศัพท์ na

suki [ชอบ]

145

157

167


● ga(กรรมของคำคุณศัพท์)

● คำเติมท้ายการนับจำนวน hon, hiki, ...

Dai juuyonka บทที่ 14 ● คำลงท้ายประโยครูปปฏิเสธอดีต janakattandesu/jaarimasendeshita ● คำคุณศัพท์ na joozu [เก่ง] และ heta [ไม่เก่ง]

177

Dai juugoka บทที่ 15 ● คำคุณศัพท์ i รูปบอกเล่าอดีต ---katta/kattadesu ● คำคุณศัพท์ i hoshii [ต้องการ] ● ประโยค + kara[เพราะว่า---,---] ● คำเติมท้ายการนับจำนวน kai, ki...

187

Dai juurokka บทที่ 16 ● คำคุณศัพท์ i รูปปฏิเสธอดีต ---kunakatta/kunakattadesu

199

● คำกริยารูป tai ---tai [ต้องการ (ทำ)]

Dai juunanaka บทที่ 17 ● คำกริยารูป te + iru/ita (ความต่อเนื่องและการเกิดขึ้นซ้ำ ๆ , ปัจจุบัน/อดีต) ● ประโยค + kedo [---, แต่ ---] ● คำเติมท้ายการนับจำนวน mai, bu, etc.

209

Dai juuhachika บทที่ 18 219 ● คำกริยารูป te + inai/inakatta (รูปปฏิเสธของคำกริยารูป te + iru/ita) ● ---njanaidesuka (ความไม่แน่นอน) ● o (เคลื่อนที่ผ่าน) ● mada (ก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็น) Dai juukyuuka บทที่ 19 ● การขยายคำนาม (1) hito [คน] ---hito [คนที่ ---]

● คำกริยา kiru และ haku [สวมใส่]

229

Dai nijikka บทที่ 20 ● การขยายคำนาม (2) คำนามอื่น ๆ --- (คำนาม) [ (คำนาม) ที่ ---] ● การเชื่อมคำและประโยค ---te, --- [---, และ/จากนั้น ---]

237

ดัชนี

245



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.