อุทยานแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 1

อุทยานแห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


อุทยานแห่งชาต แิ ก่งตะนะ อุทยานแห่งชาต เิ ขาพระว หิ าร อุทยานแห่งชาต เิ ขาใหญ่ อุทยานแห่งชาต ทิ บั ลาน อุทยานแห่งชาต ิไทรทอง อุทยานแห่งชาต นิ าย งู - นํา้ โสม อุทยานแห่งชาต ปิ ่าห นิ งาม อุทยานแห่งชาต นิ าํ้ พอง อุทยานแห่งชาต ผิ าแต้ม อุทยานแห่งชาต ภิ กู ระด งึ อุทยานแห่งชาต ภิ เู ก้า - ภ พ ู านคำ� อุทยานแห่งชาต ภิ จู องนายอย อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าเท บิ อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าม่าน อุทยานแห่งชาต ภิ ผู ายล อุทยานแห่งชาต ภิ ผู ายา อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าเหล ก็ อุทยานแห่งชาต ภิ พ ู าน อุทยานแห่งชาต ภิ เู ร อื อุทยานแห่งชาต ภิ ลู งั กา

1 9 14 20 27 37 45 53 63 77 83 95 105 115 125 131 151 161 174 183

อุทยานแห่งชาต ภิ แู ลนคา อุทยานแห่งชาตภ เู ว ยี ง อุทยานแห่งชาต ภิ สู ระดอกบ วั อุทยานแห่งชาต ภิ สู วนทราย อุทยานแห่งชาต ติ าดโตน อุทยานแห่งชาต นิ าย งู - นํา้ โสม อุทยานแห่งชาต ติ าพระยา

193 203 212 217 223 37 231


หน้ า 1

หน้ า 2

อัตราค่าบริการ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท / เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 200 บาท / เด็ก 100 บาท สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ตู้ ปณ. 6 อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี 34220 โทรศัพท์ : 0 4525 2722 - 3 โทรสาร : 0 4525 2723 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่หมายเลขนี้) อีเมล : kaeng_tana2012@hotmail.com, somchaikurmanee@hotmail.com หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายปรียะพงษ์ นามโส ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ

หมายเหตุ : เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้ว กรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัวขณะท่อง เที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ


หน้ า 3

หน้ า 4

สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบ เป็นเขาเตี้ยๆ มี แม่น้ำ�มูล แม่น้ำ�โขง และ ลำ�โดมน้อย ซึ่งเป็น แม่น้ำ�ขนาดเล็ก ไกล้เคียงกับแม่น้ำ�มูล ไหล ผ่าน เขื่อนสิรินธร มาบรรจบกับแม่น้ำ�มูล ที่ หน้าเขื่อนปากมูล ความสูงโดยเฉลี่ยของพื้นที่ ประมาณ 200 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล ยอด เขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาบรรทัด สูงประมาณ 543 เมตร สภาพป่าทั่วไปเป็น ป่าเต็งรัง ป่าแพะหรือป่าแดง จะมีป่าดิบเฉพาะบริเวณริม ห้วยขนาดใหญ่เท่านั้น สภาพพื้นที่ส่วนมาก เป็นป่าสลับพลาญหินทราย และหินศิลา ส่วน ดินเป็นดินลูกรัง ดินบรบือ และดินตะกอน จะมี ทรายปะปนในดิน

ด้วยพื้นที่อุทยานอยู่ในเขตมรสุม ฤดูร้อนจะไม่ร้อนจนเกินไป ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคม อุณหภูมิประมาณ30 -35 ฤดูหนาวก็ไม่หนาวจัด ระหว่างเดือน ตุลาคม-มกราคม อุณหภูมิประมาณ 18 - 22 และฝนค่อนข้างตกชุกในฤดูฝน ระหว่างเดือน มิถุนายน-กันยายน อุณหภูมิประมาณ 25 -30 จึงทำ�ให้นักท่องเที่ยวนิยมเข้าไปเที่ยวในช่วง ปลายฤดูฝนเพราะอากาศจะร่มรื่นเย็นสบาย และพันธุ์ไม้ดอกขึ้นเป็นจำ�นวนมาก


หน้ า 5

หน้ า 6

อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ สามารถสำ�แนกประเภทของสังคมพืชออกได้เป็น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้งในบริเวณอุทยานแห่งชาติมีอยู่เพียงเล็กน้อย ประมาณ 6.96 ตาราง กิโลเมตร หรือ 8.354 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ทั้งหมด โดยขึ้นปกคลุมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ของ อุทยานแห่งชาติบริเวณห้วยกระดิน และห้วยหัวเจ้า ป่าชนิดนี้มีลักษณะโครงสร้างทางด้านตั้งประกอบ ด้วยไม้ที่ขึ้นอยู่ 4 ชั้นระดับด้วยกัน โดยชั้นสูงสุด ประกอบด้วยไม้ชนิดต่างๆ ที่มีความสูงตั้งแต่ 21 เมตร ขึ้นไป ได้แก่ ยางนา ตะเคียนหิน กะบก ตะแบก และชนิดอื่นๆ ไม้ชั้นกลาง ซึ่งมีเรือนยอดปกคลุมต่อเนื่อง ประกอบด้วยไม้ขนาดกลางที่มีความสูงตั้งแต่ 15-20 เมตร ไม้ที่พบเห็นโดยทั่วไป ได้แก่ ติ้ว ประดู่ และ มะค่าโมง ไม้ชั้นล่าง ประกอบด้วยไม้ขนาดเล็กที่มีความสูงระหว่าง 4-14 เมตร ชนิดไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ เหมือด ตีนนก และหว้า ป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังในบริเวณอุทยานแห่งชาติปกคลุมเป็นบริเวณกว้าง กล่าวคือ ครอบคลุม เนื้อที่ 69.97 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 84 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด โดยขึ้นปกคลุมพื้นที่ของ อุทยานแห่งชาติอยู่ทั่วๆ ไป โครงสร้างตามแนวดิ่ง ประกอบด้วยไม้สามชั้น ชั้นบนสุด (Upper Layer) ประกอบด้วย ไม้ที่มีความสูงตั้งแต่ 16 เมตรขึ้นไป เป็นไม้ขนาดใหญ่ ลำ�ต้นค่อนข้างเปล่าตรงขึ้นกระจัด กระจายห่างๆ พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ รกฟ้า ประดู่ ไม้ชั้นกลาง ประกอบดด้วยไม้ขนาดกลางที่มีความสูง ระหว่าง 15-20 เมตร ขึ้นรวมกันหนาแน่นกว่าชนิดอื่นๆ ไม่ที่เด่นและพบเห็นทั่วไป ได้แก่ เต็ง รัง พลวง แดง เป็นต้น ส่วนไม้ล่าง เป็นไม้ขนาดเล็กที่มีความสูงต่ำ�กว่า 5 เมตร ลงมา ประกอบด้วย รักทะนง ยอ ป่า เหมือด เป็นต้น ส่วนไม้พื้นล่าง เป็นพวกลูกไม้ต่างๆ ปรงป่า สัตว์ป่าที่พบในเขตอุทยานแห่งชิแก่งตะนะ สามารถจำ�แนกเป็น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ขนาดกลางและขนาดเล็กมีอยู่ชุกชุมทางด้านทิศ ตะวันออกของอุทยานแห่งชาติบริเวณเทือกเขาบรรทัด เช่น กวาง หมีหมาหรือหมีคน อีเก้งหรือฟาน หมูป่า กระต่ายป่า สัตว์จำ�พวกกระรอก กระแต ตัวลิ่นหรือนิ่ม สัตว์จำ�พวกแมวป่า ขนาดเล็ก จำ�พวก อีเห็นอีกหลายชนิด เป็นต้น สัตว์ปีก จากการสำ�รวจของคณะเจ้าหน้าที่อุทยาแห่งชาติแก่งตะนะ ร่วมกับมหาวิทยาลัย มหิดล สำ�รวจเบื้องต้น พบนกในอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ มีจำ�นวน 48 ชนิด ประกอบด้วย เหยี่ยวแดง นกกระปูดใหญ่ นกเค้าโมง นกนางแอ่น นกแซงแซวหงอกขน นกแซงแซวสีเทา นกกระจี๊ดธรรมดา นก กระจี๊ดสีคล้ำ� นกจับแมลงหัวเทา นกจับแมลงคอแดง นกอุ้มบาตร์ นกเด้าดินสวน นกกินปลี นกปรอด ทอง นกพญาไฟสีกุหลาบ เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลาน ที่พบโดยทั่วไป ตะกวดหรือแลน ตุ๊กแก แย้ งูจงอาง งูเห่า และงูอื่นๆ ทั้งที่มี พิษและไม่มีพิษอีกหลายชนิด ตลอดจนดพบพวกจิ้งจก จิ้งเหลน และกิ้งก่า กะท่าง กิ่งก่าอีก หลายชนิด สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก ที่พบได้แก่ กบ คางคก อึ่งอ่าง ปาด และเขียดหลายชนิดแต่ยังมิได้มี การสำ�รวจแจกแจงชนิดอย่างละเอียด ปลา เนื่องจากอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะมีอาณาเขตติดต่อกับแม่น้ำ�ใหญ่ถึง 2 สาย คือแม่น้ำ� โขงและแม่น้ำ�มูล จึงมีพันธ์ปลาจำ�นานมากอาศัยอยู่ พบรวบรวมได้ 139 ชนิด จัดอยู่ใน 23 วงศ์ 10 อันดับ เป็นวงศ์ปลาตะเพียน 68 ชนิด วงศ์ปลาสวาย 10 ชนิด วงศ์ปลาเนื้ออ่อน 9 ชนิด วงศ์ปลากด 9 ชนิด และวงศ์ปลาอื่นๆอีก 43 ชนิด ปลาส่วนใหญ่เหมือนกับปลาที่มีอยู่ในภาคอื่นๆ เช่น ปลาตะเพียน ขาว ปลากระสูบ ปลาเทโพ ปลากราย ปลายี่สก ปลากระโห้ ปลาโกก แต่มีปลาหลายชนิดที่ไม่พบใน แหล่งน้ำ�อื่น เช่น ปลาหมากยางหรือปลามงโกรย และปลาบึก ปลาดุกมูล ปลาช่อนกั้ง และสัตว์น้ำ� ที่ เป็นสัตว์ที่พบในพื้นที่ เช่น ปูภูเขา กระตาม ปูสีส้ม เป็นต้น


หน้ า 7

หน้ า 8

รถยนต์ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ อยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานีประมาณ 90 กิโลเมตร และสามารถ เดินทางมาได้ 2 เส้นทาง คือ • จากจังหวัดอุบลราชธานีไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217 ผ่านอำ�เภอวารินชำ�ราบ กิ่ง อำ�เภอสว่างวีระวงศ์ ถึงอำ�เภอพิบูลมังสาหาร แยกเข้าทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2173 ผ่านอำ�เภอสิ รินธร ถึงสามแยกตลาดนิคม 2 เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2296 สุดทางจะถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ • จากจังหวัดอุบลราชธานีไปตามเส้นทางเดียวกับเส้นทางแรก เมื่อถึงอำ�เภอพิบูลมังสาหาร เลี้ยวซ้ายข้ามสะพานพิบูลมังสาหาร 200 ปี เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2222 (ถนน พิบูลมังสาหาร-โขงเจียม) 1. ก่อนถึงอำ�เภอโขงเจียม ประมาณ 4 กม. เลี้ยวขาวผ่านสันเขื่อนปากมูล ประมาณ 1.2 กม. ถึงสามแยก เลี้ยวซ้าย ถึงด่านแก่งตะนะ 2. ผ่านเข้าตัวอำ�เภอโขงเจียม ข้ามสะพานโขงเจียมไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2173 ถึง บ้านหนองชาด ซึ่งห่างจากอำ�เภอโขงเจียม 6 กิโลเมตร เลี้ยวขวาเข้าสู่เส้นทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2296 สุดเส้นทางถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติแก่ง


หน้ า 9

หน้ า 10

ข้อมูลทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัดคือ อำ�เภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และกิ่งอำ�เภอน้ำ�ขุ่น กับอำ�เภอน้ำ�ยืน มีหน้าผาทอดยาวติดต่อกับปราสาทเขาพระวิหาร และมีผามออีแดงเป็น แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร เป็นอุทยานฯ ลำ�ดับที่ 83 ของประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณแนวชายแดนไทย-กัมพูชา มี เนื้อที่ประมาณ 81,250 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อำ�เภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และอำ�เภอ น้ำ�ขุ่น อำ�เภอน้ำ�ยืน จังหวัดอุบลราชธานี สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและ เนินเขา ปกคลุมด้วยผืนป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นถิ่นที่อยู่ของสัตว์นานาชนิด อุทยานฯ แห่งนี้ นอกจากจะมีทัศนียภาพธรรมชาติที่สวยงามแล้ว ยังเป็นที่ตั้งของโบราณสถานสำ�คัญอีก หลายแห่ง ถือได้ว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ภายในเขตอุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร มีสถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจมากมาย

เช่น ผามออีแดง ตั้งอยู่ด้านหลังศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นผืน ป่าเขียวขจีได้ไกลสุดสายตา และจากจุดนี้ยังสามารถมองเห็นปราสาทเขาพระวิหารได้อีก ด้วย ภาพสลักนูนต่ำ� อยู่บริเวณหน้าผาใต้มออีแดง เป็นภาพเทพ 3 องค์ขนาดเท่าคนจริง อายุไม่ต่ำ�กว่า 1,000 ปี เชื่อว่าเป็นภาพที่สลักขึ้นเพื่อซ้อมมือก่อนเริ่มแกะสลักจริงที่ ปราสาทเขาพระวิหาร -สถูปคู่ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่าพระธาตุ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ ผามออีแดง เป็นสถูปหินทราย 2 องค์ ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ มียอดมนคล้ายตะปู หัวเห็ด ข้างในเป็นโพรงสำ�หรับบรรจุสิ่งของ ปราสาทโดนตวล เป็นปราสาทหินแบบขอม สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 ตั้ง อยู่บริเวณบ้านภูมิซรอล ตำ�บลบึงมะลู อำ�เภอกันทรลักษ์ มีถนนลาดยางเข้าถึง และมีลาน จอดรถไว้รองรับนักท่องเที่ยว

ประเภท สถานที่ท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ ดอยและภูเขา ข้อมูลติดต่อ เบอร์โทร :+66 4581 6071

ค่าธรรมเนียมเข้าชม ผู้ใหญ่ - 40.00 เด็ก - 20.00 เวลาทำ�การ - ทุกวัน เวลา 06.00-18.00 น. ที่อยู่ - กันทรลักษ์, ศรีสะเกษ


หน้ า 11

หน้ า 12

เขื่อนห้วยขนุน เป็นอ่างเก็บน้ำ�ชลประทาน และ เป็นที่ตั้งหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ อยู่ห่างจาก ที่ทำ�การอุทยานฯ ประมาณ 25 กิโลเมตร บริเวณ อ่างเก็บน้ำ�มีทิวทัศน์ที่สวยงามเหมาะแก่การเที่ยว ชมธรรมชาติ สระตราว หรือ ห้วยตราว เป็นธารน้ำ�อยู่บริเวณ ลานหินเชิงเขาพระวิหาร มีสายน้ำ�ไหลผ่านถ้ำ�ใต้เพิง หินลงสู่บริเวณที่ลุ่มต่ำ� ซึ่งมีแนวหินซ้อนกั้นสายน้ำ� ให้ไหลไปตามต้องการ น้ำ�ตกขุนศรีและถ้ำ�ขุนศรี ใกล้เส้นทางเดินขึ้น ปราสาทเขาพระวิหารน้ำ�ตกขุนศรีจะอยู่เหนือถ้ำ�ขุน ศรีขึ้นไป มี 3 ชั้น ส่วนถ้ำ�ขุนศรีภายในมีขนาดกว้าง

ใช้เส้นทาง จังหวัดศรีสะเกษ - อำ�เภอ กันทรลักษ์ - ที่ทำ�การอุทยานฯ หรือเส้น ทางจังหวัดอุบลราชธานี - อำ�เภอน้ำ�ยืน - ที่ทำ�การอุทยานฯ ระยะทางแต่ละสาย ประมาณ 100 กิโลเมตร วันและเวลาทำ�การ : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น. ค่าเข้าชม : ชาวไทย ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท / ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ 400 บาท เด็ก 200 บาท อัตราค่าบริการสำ�หรับนักท่องเที่ยวชาว ไทยลด 50 เปอร์เซ็นต์ วันจันทร์-วัน ศุกร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม-31 ธันวาคม 2558 ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาทอุทยานฯ มี บ้านพักและสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ ราคา ราคา 800-6,000 บาท


หน้ า 13

หน้ า 14

อุทยานแห่งชาต เิ ขาใหญ่

อุทยานแห่งชาต เิ ขาใหญ่

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งแรกของประเทศไทย ที่มีความสำ�คัญทั้งใน ระดับโลก และภูมิภาค ด้วยสภาพพื้นที่เป็นเขาสูงที่เป็นขอบของที่ราบสูงอีสาน ทำ�ให้ อุทยานเป็นแนวดักน้ำ�ฝน ก่อเกิดเป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารหลายสาย ที่กำ�เนิดความ หลากหลายของพันธุ์พืช และสัตว์ป่า อุทยานจึงเปรียบเหมือนบ้าน และโรงเรียนให้ นักท่องเที่ยวได้เข้ามาพัก และเรียนรู้ที่จะรักษ์ และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ ช่วยกันปกป้อง “บ้าน” ของพวกเราทุกคน


หน้ า 15

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีพื้นที่ ครอบคลุม 4 จังหวัด คือ จังหวัด ปราจีนบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครนายก และจังหวัดสระบุรี ตั้งอยู่ ระหว่างเส้นละติจูด ที่ 14°00’ - 14°33’ เหนือ และระหว่างเส้นลองจิจูด ที่ 101°05’ - 103°14’ ตะวันออก ในขณะ จัดตั้งมีขนาดพื้นที่ ประมาณ 2,168.75 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,468.75 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่กว่า 11 อำ�เภอของ 4 จังหวัด คือ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด นครราชสีมา จังหวัดนครนายก และ จังหวัดสระบุรี ดังนี้

หน้ า 16

จังหวัดปราจีนบุรี ตำ�บล เนินหอม ตำ�บลดงขี้เหล็ก อำ�เมืองปราจีนบุรี ตำ�บล โพธิ์งาม ตำ�บลหนองแก้ว ตำ�บลบุฝ้าย ตำ�บลคำ�โตนด อำ�เภอประจันตคาม ตำ�บล นนทรี ตำ�บลนาแขม อำ�เภอ กบินทร์บุรี ตำ�บลสะพาน หิน ตำ�บลนาดี ตำ�บลทุ่งโพธิ์ ตำ�บลบุพราหมณ์ อำ�เภอ นาดี จังหวัดนครนายก ตำ�บลเขาเพิ่ม อำ�เภอบ้านนา ตำ�บลหนองแสง ตำ�บลนา หินลาด อำ�เภอปากพลี ตำ�บลสาริกา ตำ�บลหินตั้ง ตำ�บลเขาพระ อำ�เภอเมือง นครนายก

เขาใหญ่ เป็นอุทยานแห่งชาติแห่ง แรกของประเทศไทย มีอาณาเขต ครอบคลุม 11 อำ�เภอ ของ 4 จังหวัด คือ จังหวัดสระบุรี จังหวัด นครราชสีมา จังหวัดปราจีนบุรี และ จังหวัดนครนายก เป็นพื้นที่ผืนใหญ่ ตั้งอยู่ในเทือกเขาพนมดงรัก ในส่วน หนึ่งของดงพญาเย็นหรือดงพญาไฟ ในอดีต ประกอบด้วยขุนเขาน้อย ใหญ่สลับซับซ้อนหลายลูก เป็นแหล่ง กำ�เนิดของต้นน้ำ�ลำ�ธารที่สำ�คัญ หลายสาย เช่น แม่น้ำ�นครนายก และ แม่น้ำ�มูล อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ ไม้และสัตว์ป่านานาชนิด เช่น ช้างป่า กวางป่า เก้ง กระทิง เสือ ตลอดจนมี ลักษณะทางธรรมชาติที่สวยงาม

จังหวัดนครราชสีมา ตำ�บลหมูสี ตำ�บลโป่งตาล อง ตำ�บลพญาเย็น อำ�เภอ ปากช่อง ตำ�บลวังหมี ตำ�บล วังน้ำ�เขียว อำ�เภอวังน้ำ� เขียว จังหวัดสระบุรี ตำ�บลมวกเหล็ก ตำ�บล มิตรภาพ อำ�เภอมวกเหล็ก ตำ�บลชะอม อำ�เภอแก่งคอย

ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ตั้งอยู่ในท้องที่จังหวัดปราจีนบุรี คือ ประมาณ 721,260 ไร่ หรือ 53 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ทั้งหมด รองลงมาอยู่ในท้องที่จังหวัดนครนายก ประมาณ 364,600 ไร่ หรือ 27 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ทั้งหมด ส่วนท้องที่จังหวัด นครราชสีมา มีประมาณ 197,000 ไร่ หรือ 15 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ทั้งหมด และตั้ง อยู่ในท้องที่จังหวัดสระบุรีน้อยที่สุด คือ ประมาณ 70,570 ไร่ หรือ 5 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ทั้งหมด


หน้ า 17

หน้ า 18 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีลักษณะเป็น ป่าดิบรกทึบ และได้รับอิทธิพลจากลม มรสุม ทำ�ให้เกิดฝนตกชุกตามฤดูกาล อากาศไม่ร้อนจัดและหนาวจัดจนเกินไป จัด อยู่ในประเภทเย็นสบายตลอดทั้งปี เหมาะ แก่การท่องเที่ยวและประกอบกิจกรรม นันทนาการชนิดต่างๆ อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 21 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดอยู่ระหว่าง เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม โดย อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดประมาณ 26-27 องศาเซลเซียส และในช่วงเดือนธันวาคม และเดือนมกราคม เป็นช่วงที่อากาศเย็น ที่สุด อุณหภูมิอาจลดลงต่ำ�กว่า 10 องศา เซลเซียส อากาศแห้งและมีลมแรง

ช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม แม้ว่า อากาศจะร้อนอบอ้าวกว่าในที่อื่น แต่ที่เขา สูงบนเขาใหญ่อากาศเย็นสบายเหมาะแก่ การพักผ่อน เล่นน้ำ�ในลำ�ธาร

ช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน เป็น ช่วงที่สภาพธรรมชาติชุ่มชื่น ป่าไม้และทุ่ง หญ้าเขียวขจี สวยงาม น้ำ�ตกต่างๆ ไหล แรงและเชี่ยวกราก ส่งเสียงดังก้องป่าให้ ชีวิตชีวาแก่ผู้ไปเยือน

ช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศค่อนข้างเย็น โดยเฉพาะบริเวณ เขาสูงและในเวลากลางคืน ท้องฟ้าสีคราม แจ่มใสตัดกับสีเขียวขจีของป่าไม้ หมอกที่ ลอยเอื่อยไปตามทิวเขา ดวงอาทิตย์กลม โตอยู่เบื้องหน้าไกลโพ้น เป็นช่วงที่มีนักท่อง เที่ยวนิยมมาพักผ่อน


หน้ า 19

หน้ า 20

อุทยานแห่งชาต ทิ บั ลาน มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำ�เภอปักธงชัย อำ�เภอวังน้ำ�เขียว อำ�เภอครบุรี อำ�เภอ เสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา และอำ�เภอ นาดี จังหวัดปราจีนบุรี สภาพป่ามีความ อุดมสมบูรณ์และมีป่าลาน ซึ่งหาดูได้ยาก ที่มีเฉพาะบางท้องที่เท่านั้น มีต้นลานขึ้น ตามธรรมชาติ เป็นแหล่งกำ�เนิดของแม่น้ำ� ลำ�ธารต่างๆ และมีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น หุบผา หน้าผา น้ำ�ตก เป็นอุทยาน แห่งชาติที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับสองของ ประเทศ คือ มีเนื้อที่ประมาณ 1,397,375ไร่ หรือ 2,235.80 ตารางกิโลเมตร

อุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่ส่วนหนึ่งอยู่ในเขตเทือกเขาพนมดงรัก สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปประกอบด้วยภูเขาใหญ่น้อยสลับซับซ้อนต่อเนื่องกันเป็นบริเวณ กว้างขวาง โดยมีเขาที่สำ�คัญหลายลูก เช่น เขาละมั่ง เขาภูสามง่าม เขาภูสูง เขาใหญ่ เขาวง เขาสลัดได เขาทิดสี เขาไม้ปล้อง เขาทับเจ็ก และเขาด่านงิ้ว ซึ่งยอดเขาละมั่งเป็นยอดเขาที่ สูงสุด มีระดับความสูงประมาณ 992 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล เป็นเทือกเขายาวต่อเนื่องกัน ทำ�ให้มีหุบเขาตามธรรมชาติ เหว และน้ำ�ตก เป็นแหล่งกำ�เนิดของต้นน้ำ�หลายสาย เช่น ห้วย ขมิ้น ห้วยปลาก้าง ห้วยคำ�แช ห้วยคำ�ขี้แรด ห้วยมูลสามง่าม ห้วยภูหอม ห้วยกระทิง ห้วยลำ� เลย ห้วยกุดตาสี ห้วยลำ�ดวน เป็นต้น ลำ�ห้วยแต่ละสายไหลรวมกันเป็นแม่น้ำ�มูล ส่วนลำ�ห้วย สวนน้ำ�หอม ห้วยหินยาว ห้วยชมพู ห้วยสาลิกา ห้วยวังมืด ห้วยลำ�ไยใหญ่ ฯลฯ ลำ�ห้วยเหล่า นี้จะไหลรวมกันเป็นแม่น้ำ�บางปะกง


หน้ า 21

หน้ า 22

เขามะค่า อยู่ในท้องที่ตำ�บลอุดมทรัพย์ อำ�เภอวังน้ำ�เขียว จังหวัดนครราชสีมา ห่างจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 304 ประมาณ 5 กิโลเมตร เส้นทางเป็น ทางขึ้นเขา ชมทัศนียภาพได้ตลอดเส้นทางที่เดิน ทาง เหมาะสำ�หรับคณะนักศึกษา นักเรียนที่จะมา ทัศนศึกษานอกโรงเรียน มีสถานที่กางเต็นท์มีเส้น ทางศึกษาธรรมชาติชมทิวทัศน์บนภูเขาที่สวยงาม

ส่วนภูมิอากาศที่ อุทยานแห่งชาติทับลาน ในช่วงฤดูลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ความชุ่มชื้นจะถูก พัดมาจากทะเลอันดามันและอ่าวไทย จนทำ�ให้พื้นที่บริเวณนี้ได้รับปริมาณ น้ำ�ฝนมาก เฉลี่ยตลอดปี 1,070 มิลลิเมตร ฝนจะตกชุกที่สุดในเดือน กันยายน ซึ่งเทือกเขาพนมดงรักจะปะทะลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และ ทำ�ให้ฝนตกในบริเวณด้านรับลมมากกว่าด้านไม่รับลม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมากราคม อากาศจะหนาวเย็นมากในเดือน ธันวาคม ซึ่งเป็นเดือนที่มีค่าเฉลี่ยอุณหภูมิต่ำ�สุด 22.8 องศาเซลเซียส ฟ ดูร้อนเริ่มตั้งแต่กุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศจะร้อนอบอ้าวมาก ในเดือนเมษายนซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 29.3 องศาเซลเซียส สำ�หรับ อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.7 องศาเซลเซียส

เขื่อนลำ�ปลายมาศ ระยะทางห่างจากตัวอำ�เภอเสิงสาง ประมาณ 17 กิโลเมตร มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม คือ หาด ชมตะวัน ความยาวประมาณ 300 เมตร อุทยาน แห่งชาติทับลานได้ร่วมกับอำ�เภอเสิงสาง จัดทำ� แหล่งท่องเที่ยวในปีอะเมชซิ่งไทยแลนด์ มีกิจกรรม ล่องเรือ ล่องแพ บริเวณหาดทรายสามารถเล่น น้ำ�ได้ เหมาะสำ�หรับที่จะท่องเที่ยวแบบครอบครัว แบบหมู่คณะ ทางอุทยานแห่งชาติมีบ้านพักรับรอง และสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ สามารถติดต่อ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมโดยโทรมาที่หมายเลข 08 1097 9895 เขื่อนลำ�มูลบน อยู่ในเขตอำ�เภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา แยก จากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 บริเวณ กิโลเมตรที่ 92 เข้าไปประมาณ 20 กิโลเมตร เป็น เขื่อนดินสูงประมาณ 30 เมตร ได้มีการพัฒนา บริเวณของเขื่อนเป็นแหล่งท่องเที่ยวทำ�เป็นหาด บริเวณท้ายเขื่อน เรียกว่า หาดจอมทอง เหมาะ สำ�หรับเป็นที่พักผ่อน นั่งตากอากาศ ลงเล่นน้ำ� ล่องแพ และขึ้นไปชมทิวทัศน์บนเขาจอมทอง


หน้ า 23

หน้ า 24

น้ำ�ตกบ่อทอง อยู่ในท้องที่ตำ�บลบุพราหมณ์ อำ�เภอ นาดี จังหวัดปราจีนบุรี ระยะทางห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ประมาณ 6 กิโลเมตร และต้องเดินเท้าเข้าไปอีก ประมาณ 500 เมตร เป็นน้ำ�ตกที่มีความ สวยงามมากในช่วงฤดูฝน (ประมาณเดือน กรกฎาคม-เดือนกันยายน) ในฤดูแล้ง น้ำ�จะ ค่อนข้างน้อย

น้ำ�ตกสวนห้อม ห้วยขมิ้น ห้วยใหญ่ใต้ อยู่ในท้องที่ตำ�บลวังน้ำ�เขียว อำ�เภอวังน้ำ� เขียว จังหวันครราชสีมา ห่างจากถนน สาย 304 ประมาณ 6 กิโลเมตร น้ำ�ตก มีลักษณะเป็นหน้าผา สูงประมาณ 50 เมตร กว้างประมาณ 30 เมตร น้ำ�ตกมี ความสวยงามมากในฤดูฝนประมาณเดือน กรกฎาคม – กันยายน ในฤดูแล้งน้ำ�จะ ค่อนข้างน้อย บริเวณใกล้เคียงน้ำ�ตกทาง อุทยานแห่งชาติทับลาน ได้จัดสถานที่กาง เต็นท์อยู่บนเนินเขาไว้บริการนักท่องเที่ยว จากจุดกางเต็นท์นี้สามารถมองเห็นน้ำ�ตก ทิวทัศน์ที่สวยงามของอุทยานแห่งชาติได้ อย่างดี นับเป็นสถานที่กางเต็นท์ที่นักท่อง เที่ยวน่าไปสัมผัสอีกแห่งหนึ่ง

น้ำ�ตกห้วยคำ�ภู อยู่ในท้องที่ตำ�บลแก่ง ดินสอ อำ�เภอนาดี จังหวัด ปราจีนบุรี ระยะทางห่างจาก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ประมาณ 20 กิโลเมตร ลักษณะเป็นลำ�ธารที่มีน้ำ�ไหล ลดหลั่นกันมาเป็นชั้นๆ ด้าน ล่างเป็นฝายน้ำ�ล้นเหมาะ สำ�หรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

น้ำ�ตกห้วยใหญ่ เป็นน้ำ�ตกขนาดใหญ่ สวยงาม สูงประมาณ 50 เมตร กว้าง ประมาณ 30 เมตร หน้าผา ตรงบริเวณน้ำ�ตกโค้งเป็น มุม 150 องศา น้ำ�ตกแห่งนี้ อยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 304 (กบินทร์บุรีปักธงชัย) ตรงหลักกิโลเมตร ที่ 79 ประมาณ 6 กิโลเมตร

ป่าลาน เป็นป่าลานผืนใหญ่แห่งสุดท้าย ของประเทศไทย มีต้นลานซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ ดึกดำ�บรรพ์ในวงศ์ปาล์ม มีใบใหญ่เป็นรูป พัดคล้ายใบตาล ซึ่งช่อดอกจะออกที่ยอด เมื่อมีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป มีดอกเป็น จำ�นวนมากกว่าล้านดอกในแต่ละช่อ และใช้ เวลา 1 ปีกว่า ช่อดอกจะบานและติดผลกลม สีเขียว เมื่อผลแก่ร่วงลงพื้นจะงอกเป็นต้น ใหม่ ปล่อยให้ต้นแม่ตายลง ต้นลานเป็นไม้ โตช้าและแพร่กระจายอยู่ไม่มาก ปัจจุบันจึง พบเห็นต้นลานได้ค่อนข้างยาก

น้ำ�ตกเหวนกกก อยู่ในเขตอำ�เภอนาดี มี ทางเข้าอยู่ก่อนถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติ 3 กิโลเมตร เลี้ยวขวาเข้าไป 4 กิโลเมตร และต้องเดินเท้าขึ้นเขาต่อไป อีก 5 กิโลเมตร เป็นน้ำ�ตก ขนาดใหญ่ที่ไหลลงมาจาก ลานผากว้าง สูง 20 เมตร แล้วไหลลดหลั่นต่อไปตาม ลานหินอย่างสวยงาม แต่มีน้ำ� เฉพาะช่วงหน้าฝนเท่านั้น


หน้ า 25

หน้ า 26

ผาเก็บตะวัน ตั้งอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่ง ชาติที่ 11 (ไทยสามัคคี) ตำ�บลไทยสามัคคี อำ�เภอวังน้ำ�เขียว จังหวัดนครราชสีมา ห่างจากถนนหมายเลข 304 ประมาณ 13 กิโลเมตร ซึ่งเป็นจุดชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม สามารถชมพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าในยาม เย็น และเป็นที่ตั้งของหลักแบ่งเขตจังหวัด ปราจีนบุรีและจังหวัดนครราชสีมา ที่ใหญ่ ที่สุด และยังเป็นแหล่งโอโซนอันดับ 7 ของ โลกอีกด้วย

โดยรถยนต์ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ทับลาน อยู่ติดกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 304 ห่างจากกรุงเทพฯ เพียง 197 กิโลเมตร จากสี่แยกกบินทร์บุรีใหม่ ตามถนนสายกบินทร์บุรี – โคราช เดินทาง ประมาณ 32 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การอุทยาน แห่งชาติทับลาน รถโดยสารประจำ�ทาง จากกรุงเทพฯ ขึ้น รถโดยสารที่สถานีหมอชิต (สถานีขนส่ง สายเหนือ) สายกรุงเทพฯ – กบินทร์บุรี ลง ที่กบินทร์บุรี จากนั้นต่อรถโดยสารสาย กบินทร์บุรี – โคราช ไปอีก 32 กิโลเมตร ก็ จะถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ซึ่งอยู่ติดกับ ถนนใหญ่ ลำ�แปรง ห่างจากอำ�เภอครบุรี ประมาณ 35 กิโลเมตร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ มีสัตว์ป่า ดูนก เข้าค่ายของ นักเรียน นักศึกษา มีบ้านพักรับรอง มี สถานที่กางเต็นท์ เส้นทางสามารถเดิน ทางไปอุทยานแห่งชาติปางสีดาได้

ติดต่ออุทยานแห่งชาติทับลาน 520 หมู่ที่ 1 ต.บุพราหมณ์ อ. นาดี จ. ปราจีนบุรี 25220 โทรศัพท์ 0 37486771,0 3721 9408 อีเมล reserve@dnp.go.th


หน้ า 28

หน้ า 27

อุทยานแห่งชาต ิไทรทอง

สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติไทรทอง 81 ม.10 ต.วังตะเฆ่ อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ 36250 โทรศัพท์ : 089 282 3437 (ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว) อีเมล : saithongnp7@gmail.com หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายวรพล ดีปราสัย ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ ขนาดพื้นที่ : 199,375.00 ไร่

อัตราค่าบริการ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 40 บาท / เด็ก 20 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 200 บาท / เด็ก 100 บาท หมายเหตุ : เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้ว กรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัวขณะท่อง เที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ


หน้ า 30

หน้ า 29

ผาหำ�หด

จุดชมทิวทัศน์เขาพังเหย

น้ำ�ตกไทรทอง

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ -> ทางเดินป่า -> เที่ยวน้ำ�ตก -> ชมหน้าผา -> ชมทุ่ง ดอกกระเจียว(ดอกบัวสวรรค์) -> ดูนก/ดูผีเสื้อ

ร้านค้าสวัสดิการ เปิดให้บริการเวลา วันจันทร์ - วันศุกร์ 08.30 - 16.30 น.

บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ AIS, TRUE, DTAC


หน้ า 32

หน้ า 31

หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทท.1 (เขาวง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทท.2 (ห้วยเสือดาว) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทท.3 (บ้านใหม่สามัคคี) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทท.4 (สำ�นักตูมกา) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทท.5 (คลองไทร) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทบ.6 (ราษฎร์ภักดี)


หน้ า 33

หน้ า 34

อุทยานแห่งชาติไทรทองอยู่ในเขต เทือกเขาพระยาฝ่อ และเทือกเขาพังเหย มี ลักษณะภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงต่ำ� หลายลูกเรียงรายสลับซับซ้อน มีระดับความสูง ตั้งแต่ 300 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล ถึงสูงสุด ที่ยอดเขาพังเหย 1,008 เมตร เป็นพื้นที่ป่า ต้นน้ำ�ของลำ�ห้วยโป่งขุนเพชร ลำ�ห้วยเชียงทา ลำ�ห้วยแย้ ลำ�ห้วยยาง ล้ำ�น้ำ�เจา ลำ�น้ำ�เจียง ซึ่ง เป็นสาขาของแม่น้ำ�ชี

พื้นที่ป่าแห่งนี้จัดอยู่ในภูมิอากาศประเภทฝน เมืองร้อนเฉพาะฤดู อยู่ภายใต้อิทธิพลของลม มรสุม สามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือน ตุลาคม ลักษณะของฝนที่ตกส่วนมากจะเป็น พายุฝนฟ้าคะนอง อิทธิพลของพายุดีเปรสชั่น จะได้รับไม่มากนัก ฝนตกมากในช่วงเดือน กันยายน ฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคมถึง เดือนกุมภาพันธ์ และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม


หน้ า 36

หน้ า 35

รถยนต์ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติไทรทอง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ชัยภูมิ ประมาณ 70 กิโลเมตร ห่างจากอำ�เภอหนองบัวระเหว ประมาณ 37 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 สายชัยภูมิ - นครสวรรค์ จะ มีทางแยกขวามือเข้าไปน้ำ�ตกไทรทองอีก 7 กิโลเมตร เครื่องบิน นั่งเครื่องบินจากดอนเมือง ไปลงขอนแก่น และก็ต่อรถ โดยสารสาย นครสวรรค์ - ขอนแก่น มาลงที่บ้านท่าโป่ง กิโลเมตรที่ 123 รถไฟ มีรถด่วนและรถเร็วสายกรุงเทพฯ - อุดร - หนองคาย ผ่าน เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ลงที่สถานีจัตุรัส นั่งสามล้อไป บขส.จัตุรัส ต่อรถไปหนองบัว ระเหว เมื่อถึงระเหวแล้วต่อรถ สายชัยภูมิ-บึงสามพันหรือสายขอนแก่น นครสวรรค์ ลงที่ป้อมยามตำ�รวจบ้านที่โป่ง แล้วขึ้นมอร์เตอร์ไซค์รับจ้างเข้าไปที่ อุทยานแห่งชาติ

สภาพป่าของอุทยานแห่งชาติไทรทองสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง พบทางตอนเหนือของเทือก เขาพระยาฝ่อ และตอนกลางของเทือกเขาพังเหย พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ ตะแบก กระบาก ตะเคียนหิน มะค่าโมง มะม่วงป่า ประดู นนทรีป่า สาธร และเขล็ง ฯลฯ ป่าเต็งรัง พบมากบริเวณพื้นที่สันเขาและพื้นที่ลอนลาดตอนล่างในเทือกเขาพังเหย พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ ก่อ พะยอม เต็ง รัง พลวง ตีนนก กว้าว แดง รัก กระบก ส้าน ไผ่ และหญ้าชนิดต่างๆ และ ป่า เบญจพรรณ พบไม่มากนัก พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ ประดู่ แดง ตะแบก มะค่าโมง และไผ่ชนิดต่างๆ สัตว์ป่า ที่พบเห็นได้ใน เขตอุทยานแห่งชาติไทรทอง ได้แก่ หมูป่า อ้น อีเห็น ชะมด เก้ง กระจง กระรอก กระแต กระต่ายป่า นกตะขาบทุ่ง นกกระ ปูด อีกา เหยี่ยว ไก่ป่า ตะกวด แย้ ตุ๊กแก กิ้งก่า งู กบ ปาด เขียด อึ่งอ่าง ฯลฯ และพบปลาบางชนิดตามแหล่งน้ำ�ต่างๆ


หน้ า 38

หน้ า 37

อุทยานแห่งชาต นิ าย งู - นําโสม ้

สถานที่ติดต่อ : หมู่ 2 บ้านสว่าง ต.นายูง อ.นายูง จ.อุดรธานี 41380 โทรศัพท์ : 085 646 1352 อีเมล : yungthong.wf@gmail.com หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายธรรมศิษฐ์ ชารู ตำ�แหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้ชำ�นาญงาน ขนาดพื้นที่ : 246,334.92 ไร่

ยังไม่ค่าบริการ


หน้ า 40

หน้ า 39

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ -> เที่ยวน้ำ�ตก

ร้านค้าสวัสดิการ (น้ำ�ดื่ม กาแฟ ขนม) เปิดบริการทุกวันเวลา 08.30 น. - 16.30 น.

บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ AIS, TRUE, DTAC


หน้ า 41

หน้ า 42

อุทยานแห่งชาตินายูง-น้ำ�โสม เป็นพื้นที่รอย ต่อ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี เลย และ หนองคาย มีสภาพภูมิประเทศประกอบด้วย ภูเขาสูงชันสลับซับซ้อนที่ความสูงจากระดับ น้ำ�ทะเลประมาณ 200-500 เมตร ภูเขาที่สูง ที่สุดคือ ภูย่าอู่ สูงประมาณ 588 เมตร สภาพ ป่าส่วนใหญ่ยังอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งต้นน้ำ� ลำ�ธารที่สำ�คัญ เช่น ห้วยน้ำ�โสม ห้วยตาดโตน ลักษณะดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทรายตาม ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณและดินลูกรัง ตามป่าเต็งรัง หินที่พบในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็น หินทราย

สภาพภูมิอากาศเป็นแบบ มรสุม ฤดูร้อนอากาศร้อนมาก อุณหภูมิ ประมาณ 40 องศาเซลเซียล ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ฤดูฝนระหว่างเดือน มิถุนายน-ตุลาคม และฤดูหนาวระหว่างเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็น อุณหภูมิประมาณ 10-20 องศาเซลเซียล ปริมาณน้ำ�ฝนตลอดปีประมาณ 1,000-1,500 มิลลิเมตร


หน้ า 43

สภาพป่าเป็นป่าเต็งรังกระจายตามเชิงเขา และสันเขา พันธุ์ไม้สำ�คัญคือ เต็ง รัง เหียง พลวง ฯลฯ พืชพื้นล่างเป็นหญ้าเพ็ก กระเจียว ตามหุบเขา เป็นป่าเบญจพรรณ มีชิงชัน แดง ประดู่ มะค่าแต้ และไผ่หลายชนิด เช่น ไผ่ซาง ไผ่ข้าวหลาม ไผ่ไร่ ไผ่ ป่า ตามริมห้วยเป็นป่าดิบแล้ง พบยาง กระบาก ตะเคียน ตะแบก มะค่าโมง ฯลฯ พืชอิงอาศัยจะมี กล้วยไม้ต่างๆ และเฟินกระเช้าสีดา ขึ้นเกาะอยู่ตาม คาคบไม้อยู่มากมาย พืชพื้นล่างเป็นพวกหวาย ปาล์ม สมุนไพรต่างๆ สัตว์ป่าที่พบเห็นได้แก่ หมูป่า เก้ง กระจง ลิง ค่าง กระรอก ตะกวด งู และนกชนิดต่างๆ ส่วนสัตว์ป่าขนาดใหญ่ เช่น กวาง ป่า เสือ ช้างป่า หมีควาย ถูกล่าหมดไปแล้ว สัตว์ป่าที่เหลือก็อยู่ในสถานภาพถูกคุกคาม เนื่องจากราษฎรรอบพื้นที่ยังมี การล่าสัตว์อยู่เป็นประจำ�

หน้ า 44

รถยนต์ จากอำ�เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (บริเวณห้าแยกน้ำ�พุ) ไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2 (อุดรธานี-หนองคาย) ระยะทาง ประมาณ 13 กิโลเมตร ถึงทางแยกไปอำ�เภอ บ้านผือ ให้เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2021 (ดงไร่-บ้านผือ) ระยะทาง ประมาณ 43 กิโลเมตร ผ่านอำ�เภอบ้านผือ ถึง สามแยกไฟแดงข้างปั้ม PT สาขาบ้านผือ ให้ เลี้ยวขวาไปทางอำ�เภอน้ำ�โสม ตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 2348 (บ้านผือ-น้ำ�โสม) ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ถึงสี่แยกไฟแดง ข้างโรงพยาบาลบ้านผือ ให้เลี้ยวซ้ายไปทาง อำ�เภอน้ำ�โสม ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2348 (บ้านผือ-น้ำ�โสม) ระยะทางประมาณ 29 กิโลเมตร ถึงบ้านน้ำ�ซึมหรือบ้านสามเหลี่ยม ให้ เลี้ยวขวาไปทางอำ�เภอนายูง ตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 2376 (บ้านสามเหลี่ยม-นา ยูง) ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ถึงเทศบาล ตำ�บลนายูง ให้เลี้ยวขวาเข้าไปตามถนนคอนกรีต ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาตินายูง-น้ำ�โสม รวมระยะทาง ประมาณ 103 กิโลเมตร


หน้ า 46

หน้ า 45

อุทยานแห่งชาต ปิ ่าห นิ งาม อยู่ในพื้นที่อำ�เภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ มีสภาพป่าสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารของลุ่มน้ำ�ชี และแม่น้ำ�ป่าสักมีจุด เด่นทางธรรมชาติ ที่สวยงามหลายแห่งโดยเฉพาะทุ่งดอกกระเจียว มีเนื้อที่ประมาณ 62,437.50 ไร่ หรือ 99.9 ตาราง กิโลเมตร

เป็นเทือกเขา ประกอบไปด้วยภูเขาต่างๆ เช่น เขาพังเหย มีความสูงประมาณ 200 – 800 เมตร ทางธรณีวิทยาของพื้นที่เป็นหมวดหินภูพานหมวดหินพระ วิหาร และหมวดหินภูกระดึง เป็นหินในระหว่างช่วงเวลาประมาณ 180 – 230 ล้านปี ยุคจูแลสสิกและไทรแอสสิก เป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารลุ่มน้ำ�ชี (แม่น้ำ�ชี) ลำ�น้ำ�สนธิซึ่งไหลลงแม่น้ำ�ป่าสัก


หน้ า 48

หน้ า 47

โดยทั่วไป อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จากลักษณะ ของแนวเทือกเขาพังเหยกั้นอยู่ในแนวเหนือ–ใต้ ลม มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ที่พัดพาเอาความชุ่มชื้น จากทะเลมาตกเป็นฝนในพื้นที่เป็นปริมาณมาก จากข้อมูลของสถานีตรวจอากาศอุทยานแห่งชาติ ป่าหินงามในระหว่าง พ.ศ. 2543–2546 พบว่ามี ปริมาณน้ำ�ฝนตลอดปีเฉลี่ย 1,782.6 มิลลิเมตร มี จำ�นวนวันที่ฝนตก 109 วัน/ปี โดยมีฝนตกชุกมาก ที่สุดในเดือนสิงหาคม วัดได้ 338.3 มิลลิเมตร ส่วน อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือนเมษายน วัดได้ 33 องศาเซลเซียส และเฉลี่ยต่ำ�สุดในเดือนธันวาคม วัด ได้ 18.3 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอด ปี วัดได้ 24.8 องศาเซลเซียส สำ�หรับฤดูกาลเมื่อ พิจารณาตามลักษณะอุณหภูมิ ประมาณน้ำ�ฝน และ ความชื้นสัมพัทธ์แล้ว สามารถแบ่งฤดูกาลได้ดังนี้

ฤดูฝน อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม – กันยายน ปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ย 278.5 มิลลิเมตร ฤดูหนาว อยู่ระหว่างเดือนตุลาคม – มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ย 23.2 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน อยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 25.9 องศาเซลเซียส

เขาพนมโดม เขาพนมโดม เป็นแหล่งท่องเที่ยว อีกแห่งหนึ่งของอุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติ และบนยอดเขายัง มีจุดชมวิวทิวทัศน์อยู่หลายแห่ง ด้วยกัน

จุดชมวิวสุดแผ่นดิน เป็นหน้าผาสูงชันและเป็นจุดที่สูงสุด ของเทือกเขาพังเหย ซึ่งอยู่ในเขต ของอุทยานแห่งชาติป่าหินงาม (846 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลปาน กลาง) ซึ่งเกิดจากการยกตัวของ พื้นที่เป็นที่ราบสูงภาคอีสานจึงเป็น รอยต่อระหว่างภาคกลางกับภาค อีสาน ทำ�ให้เรียกบริเวณนี้ว่า “สุด แผ่นดิน” ณ จุดนี้จะเห็นทิวทัศน์ของ สันเขาพังเหยและเขตพื้นที่ป่าของเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา จุดชุมวิว นี้อยู่ทางด้านทิศเหนือของที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติ นักท่องเที่ยวนิยม ขึ้นไปสัมผัสสายหมอกตอนเช้าและ ชมพระอาทิตย์ตกตอนเย็น ระยะทาง ประมาณ 2 กิโลเมตร


หน้ า 50

หน้ า 49

น้ำ�ตกเทพพนา เป็นน้ำ�ตกขนาดกลางเกิดจากลำ�ห้วย กระจวนที่ไหลจากเทือกเขาพังเหย โดยแบ่งออกเป็นชั้นสามชั้นลดหลั่น กัน ชั้นบนสุดมีความสงประมาณ 3-4 เมตร ชั้นที่สองมีความสูง ประมาณ 2-3 เมตร และชั้นสุดท้าย มีความสูงประมาณ 6 เมตร อยู่ทาง ด้านทิศตะวันออกของที่ทำ�การอุทยา นฯ ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร จะ มีน้ำ�ในช่วงฤดูฝนเท่านั้น

ทุ่งดอกกระเจียว กระเจียวเป็นพืชล้มลุกประเภทหัว พบเป็นพันธุ์ไม้ประจำ�ถิ่นที่ขึ้นมาก ที่สุดในประเทศไทย ณ แห่งนี้ ปกติ จะพบขึ้นกระจายทั่วไปตั้งแต่ลาน หินงามจนถึงจุดชมวิวสุดแผ่นดิน 1 กิโลเมตร ดอกกระเจียวจะขึ้นและ บานเป็นสีชมพูอมม่วงในช่วงต้นฤดู ฝนเท่านั้น คือ เดือนมิถุนายนถึง เดือนสิงหาคมของทุกปี

น้ำ�ตกเทพประทาน น้ำ�ตกเทพประทาน เป็นน้ำ�ตกขนาด กลาง ที่ยังคงความสมบูรณ์ของ ธรรมชาติ อยู่ก่อนถึงอุทยานแห่ง ชาติป่าหินงามประมาณ 7 กิโลเมตร อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของบ้านไร่ ตำ�บนบ้านไร่ อำ�เภอเทพสถิต

ลานหินงาม เป็นลานหินที่มีรูปร่างแปลกในพื้นที่ กว่า 10 ไร่ เกิดจากการกัดเซาะเนื้อ ดิน และหินในส่วนที่จับตัวกันอย่าง เบาบางหลุดออกไป นานวันเข้าจึง เกิดโขดหินที่มีรูปลักษณ์แตกต่างกัน มองดูสวยงามเป็นที่อัศจรรย์ สำ�หรับ ลานหินงามนี้อยู่ทางด้านทิศตะวันตก ของพื้นที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติมี ทางรถยนต์เข้าถึง ี

ลานหินหน่อ เป็นลานหินราบพื้นที่มากกว่า 200 ไร่ แต่มีปุ่มหินสูงประมาณ 1-2 เมตร กระจายอยู่ ตามลานหินมีพืชกินแมลง เช่น หม้อข้าวหม้อ แกงลิง หยาดน้ำ�ค้าง ขึ้นอยู่ทั่วไป ลานหินหน่ออยู่ทางทิศใต้ของที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ใกล้กับวัดเขาประตูชุมพล


หน้ า 52

หน้ า 51

การเดินทางรถยนต์ จากกรุงเทพฯ มาตามทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 1 ผ่านสระบุรีจนถึง บ้านพุแค เลี้ยวขวามาตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 21 จนถึงอำ�เภอ ชัยบาดาล แล้วใช้ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 205 ผ่านกิ่งอำ�เภอลำ�สนธิ ก่อนถึงอำ�เภอเทพสถิตประมาณ 1 กิโลเมตร ให้เลี้ยวซ้ายไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2354 ระยะทางประมาณ 17 กิโลเมตรแล้ว เลี้ยวซ้ายไปตามถนนลาดยางระยะ ทางประมาณ 13 กิโลเมตร ก็จะ ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติป่าหิน งาม รวมระยะทางประมาณ 270 กิโลเมตร จากจังหวัดนครราชสีมา ใช้เส้น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 ผ่านอำ�เภอโนนไทย บ้านหนองบัวโคก บ้านคำ�ปิง เมื่อเลยอำ�เภอเทพสถิต มาประมาณ 1 กิโลเมตร ให้เลี้ยวขวา ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2354 ระยะทางทางประมาณ 17 กิโลเมตร ให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนน ลาดยางระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำ�การอุทยานแห่ง ชาติป่าหินงาม ระยะทางประมาณ 140 กิโลเมตร ี


หน้ า 54

หน้ า 53

อุทยานแห่งชาต นิ าพอง ํ้

สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง ต.บ้านผือ อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น 40240 โทรศัพท์ : 096 739 7920 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่ หมายเลขนี้) อีเมล : namphong_np@hotmail.com หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายเสกสรรค์ เที่ยงพลับ ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ

อัตราค่าบริการ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท / เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 100 บาท / เด็ก 150 บาท

หมายเหต :ุ เมื่อชำ�ระค่าบริการ เข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณา พกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะ ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ เพื่อการตรวจสอบ


หน้ า 56

หน้ า 55

ร้านค้าสวัสดิการ (กาแฟ น้ำ�ดื่ม ขนม) เปิดให้บริการทุกวันเวลา เวลา 08.30 น. - 16.30 น.

บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ AIS, TRUE, DTAC

อุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง เป็นชื่อเรียกตาม ต้นกำ�เนิดลำ�น้ำ�พองที่ไหลมารวมกับอ่าง เก็บน้ำ�เขื่อนอุบลรัตน์ (เดิมชื่ออ่างเก็บน้ำ� น้ำ�พอง) เป็นอุทยานแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้น ตามข้อเสนอของจังหวัดขอนแก่น แต่เดิม มีชื่อเรียกว่า “น้ำ�พอง-ภูเม็ง” เพราะมี พื้นที่บางส่วนอยู่ในเทือกเขาภูเม็ง อุทยาน แห่งชาติน้ำ�พองตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ของจังหวัดขอนแก่นติดกับเขื่อนอุบลรัตน์ ครอบคลุมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าโสก แต้ ป่าภูเม็ง ป่าโคกหลวง ป่าโคกหลวง แปลงที่สาม ป่าภูผาดำ� ป่าภูผาแดง ในเขต อำ�เภออุบลรัตน์ อำ�เภอบ้านฝาง อำ�เภอ หนองเรือ อำ�เภอมัญจาคีรี และ กิ่งอำ�เภอ โคกโพธิ์ไชย จังหวัดขอนแก่น รวมทั้ง พื้นที่บางส่วนของ อำ�เภอบ้านแท่น อำ�เภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ประมาณ 197 ตารางกิโลเมตร หรือ 123,125 ไร่


หน้ า 58

หน้ า 57 จังหวัดขอนแก่น ได้มีหนังสือลงวัน ที่ 30 มีนาคม 2538 ขอให้กรมป่าไม้ พิจารณากำ�หนดพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ป่า สงวนแห่งชาติป่าภูเม็ง ป่าโคกหลวง ป่าโคกหลวงแปลงที่สาม ในท้องที่ จังหวัดขอนแก่น ให้เป็นอุทยานแห่ง ชาติ ซึ่งเป็นป่าอนุรักษ์ตามมติคณะ รัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 เป็นป่าต้นน้ำ�ลำ�ธาร มีทิวทัศน์ และจุดเด่นที่สวยงาม โดยจังหวัด ขอนแก่นได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ทำ�การสำ�รวจปรับปรุงแนวเขตให้เป็น ที่ยอมรับของประชาชนในพื้นที่ทุกฝ่าย แล้ว ไม่มีปัญหาเรื่องแนวเขตและที่ทำ� กินของราษฎรในพื้นที่ป่าดังกล่าว

กรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปดำ�เนิน การสำ�รวจพื้นที่ป่าดังกล่าวปรากฏ ว่า พื้นที่ป่ายังมีความสมบูรณ์ หาก พิจารณาตามความหมายของอุทยาน แห่งชาติแล้วยังไม่เข้าหลักเกณฑ์ แต่ สมควรอนุรักษ์ไว้สำ�หรับประชาชน จังหวัดขอนแก่น โดยเห็นสมควร กำ�หนดพื้นที่ป่าอนุรักษ์ใกล้เคียง เพิ่มเติม ได้แก่ ป่าโคกหลวง ป่าภูผา ดำ� และป่าภูผาแดง จังหวัดชัยภูมิ และป่าโสกแต้ รวมพื้นที่อ่างเก็บน้ำ� เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เป็น อุทยานแห่งชาติด้วย เนื่องจากยังมี สภาพป่าสมบูรณ์ มีจุดเด่นและจุดชม ทิวทัศน์ที่น่าสนใจ

อุทยานแห่งชาติน้ำ�พองได้มีพระราช กฤษฎีกากำ�หนดที่ดินป่าโสกแต้ใน ท้องที่ตำ�บลเขื่อนอุบลรัตน์ ตำ�บลทุ่ง โป่ง ตำ�บลโคกสูง อำ�เภออุบลรัตน์ ตำ�บลนาหว้า ตำ�บลหนองกุงเซิน อำ�เภอภูเวียง ตำ�บลโคกงาม ตำ�บล ป่าหวายนั่ง ตำ�บลบ้านฝาง อำ�เภอ บ้านฝาง และตำ�บลบ้านผือ อำ�เภอ หนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ป่าภูเม็ง และป่าโคกหลวง ในท้องที่ตำ�บลบ้าน เม็ง ตำ�บลยางคำ� อำ�เภอหนองเรือ ตำ�บลคำ�แคน ตำ�บลนางาม อำ�เภอ มัญจาคีรี ตำ�บลป่ามะนาว อำ�เภอ บ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น และตำ�บล สระพัง ตำ�บลบ้านเต่า ตำ�บลหนองคู อำ�เภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ และป่า โคกหลวง ป่าภูผาดำ� ป่าภูผาแดง และ ป่าโคกหลวง แปลงที่สาม ในท้องที่ ตำ�บลนางาม อำ�เภอมัญจาคีรี ตำ�บล บ้านโคก ตำ�บลซับสมบูรณ์ กิ่งอำ�เภอ โคกโพธิ์ไชย อำ�เภอมัญจาคีรี จังหวัด ขอนแก่น และตำ�บลหนองสังข์ ตำ�บล บ้านแก้ง ตำ�บลช่องสามหมอ อำ�เภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนที่ 105ก ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2543 สถานที่ท่องเที่ยว จุดชมทิวทัศน์หินช้างสี คำ�โพน พลาญชาด ผาฝ่ามือแดง น้ำ�ตกห้วยเข ผาจันได อ่างเก็บน้ำ�เขื่อนอุบลรัตน์ ผาเสียว หินก้อนทั่ง


หน้ า 59

ขนาดพื้นที่ 123125.00 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง ที่ นพ.1 (หนองสองห้อง) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ (ชั่วคราว) ที่ นพ.2 (หินช้างสี) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ (ชั่วคราว) ที่ นพ.3 (น้ำ�ตกห้วยเข) สวนป่าโสกแต้

หน้ า 60

สภาพพื้นที่โดยทั่วไป มีลักษณะสัณฐานธรณี เป็นภูเขาหินทรายได้แก่ หินชุดเขาวิหาร หิน ชุดภูกระดึง และหินชุดเสาขัว สภาพทางปฐพี เป็นดินร่วนปนทราย ได้แก่ ดินชุดโคราช ดิน ชุดสตึก ดินชุดบรบือ และดินชุดน้ำ�พอง โดย ประกอบด้วยเทือกเขาที่สำ�คัญๆ ได้แก่ เทือก เขาภูพานคำ� ภูเม็ง และภูผาดำ�ภูผาแดง มี ความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลางโดยเฉลี่ย ประมาณ 200-600 เมตร คล้ายกับเทือกเขา ทั่วๆ ไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเทือก เขา เหล่านี้ทอดตัวเป็นแนวยาวจากทิศเหนือสู่ ทิศใต้ ขนานกับอ่างเก็บน้ำ�เขื่อนอุบลรัตน์ เป็น แหล่งกำ�เนิดต้นน้ำ�ลำ�ธารส่วนหนึ่งของลำ�น้ำ� ที่สำ�คัญหลายสาย เช่น ลำ�น้ำ�พอง ลำ�น้ำ�เชิญ ลำ�น้ำ�ชี เป็นต้น แบ่งพื้นที่ได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่ในเทือกเขาภูพานคำ� ด้านทิศเหนือ และด้านทิศใต้อยู่ในเทือกเขาภูเม็ง และภูผาดำ� ภูผาแดง พื้นที่ด้านทิศตะวันตกมีสภาพลาดชัน สลับกับหน้าผาในบางช่วงจรดที่ราบอ่างเก็บน้ำ� ด้านล่าง ส่วนพื้นที่ด้านทิศตะวันออกเป็นที่ราบ เชิงเขา อาณาเขตติดต่อด้านทิศเหนือ:อำ�เภอ อุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น อาณาเขตติดต่อด้านทิศใต้:อำ�เภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ อาณาเขตติดต่อด้านทิศตะวันออก:อำ�เภอ บ้านฝาง อำ�เภอมัญจาคีรี และอำ�เภอโคกโพธิ์ ไชย จังหวัดขอนแก่น อาณาเขตติดต่อด้านทิศตะวันตก: อำ�เภอ ภูเวียง อำ�เภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น อำ�เภอบ้านเเท่น และอำ�เภอแก้งคร้อ จังหวัด ชัยภูมิ


หน้ า 62

หน้ า 61

ฤดูกาลของอุทยานแห่งชาติน้ำ�พองแบ่งออก เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคมเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ยจะร้อนจัดใน เดือนเมษายน ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายนเดือนตุลาคม ปริมาณน้ำ�ฝนจะตกมากช่วง เดือนสิงหาคม-ตุลาคม ฤดูหนาว ระหว่างเดือน พฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำ�สุดในเดือนมกราคม ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ร่องความกดอากาศสูงทางตอนใต้ของประเทศ จีน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี ต่ำ�สุด 23.8 องศาเซลเซียส สูงสุด 30.7 องศาเซลเซียส มี ปริมาณน้ำ�ฝนโดยเฉลี่ยทั้งปี ประมาณ 1,145.3 มิลลิเมตร

พื้นที่ประมาณร้อยละ80 ของอุทยานแห่งชาติน้ำ�พองปกคลุม ไปด้วยป่าเต็งรังโดยมีป่าเบญจพรรณ ป่าทุ่งหญ้า และป่าไผ่ขึ้น กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในบางพื้นที่ ลึกเข้าไปบริเวณตอนกลางของ อุทยานแห่งชาติ ทั้งในเทือกเขาภูพานคำ�และเทือกเขาภูเม็งมีสภาพ เป็นป่าดิบแล้งที่สมบูรณ์ จัดเป็นป่าต้นน้ำ�ลำ�ธารที่ไหลลงสู่เขื่อน อุบลรัตน์ บริเวณนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและแหล่งสมุนไพร ที่สำ�คัญของอุทยานอีกด้วย พันธุ์ไม้มีค่าและพบเห็นได้ทั่วไป เช่น เต็ง รัง เหียง กระบก มะพอก ตะเคียนหิน พืชพื้นล่างจำ�พวกปรงป่า เถาวัลย์ ไม้หนามชนิดต่างๆ รวมทั้งสมุนไพรนานาพันธุ์อีกมากมาย สำ�หรับสัตว์ป่าส่วนใหญ่มักอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งบริเวณเทือกเขาภู เม็ง เพราะเป็นแหล่งหากินที่อุดมสมบูรณ์และถูกรบกวนจากมนุษย์ น้อยมาก สัตว์ป่าที่พบเห็นเป็นสัตว์ขนาดกลางและขนาดเล็ก อาทิ หมูป่า เก้ง สุนัขจิ้งจอก เม่น นิ่ม กระต่ายป่า ไก่ป่า งู และนกชนิดต่าง ๆ เป็นต้น

แผนที่เส้นทาง

รถยนต์ อุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง ตั้งอยู่บริเวณริมเขื่อนอุบลรัตน์ ตำ�บลบ้านผือ อำ�เภอ หนองเรือ เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ใกล้กับตัวเมืองขอนแก่นมากที่สุด ปัจจุบัน การคมนาคมเข้าถึงอุทยานแห่งชาติค่อนข้างสะดวกสบาย จึงเหมาะสำ�หรับการ เดินทางมาพักผ่อนหย่อนใจทั้งในระยะสั้นเช้ามา-เย็นกลับ หรือค้างแรมโดยเฉพาะ ในช่วงฤดูหนาวที่อากาศเย็นสบาย สำ�หรับการเดินทางมาอุทยานแห่งชาติน้ำ�พอง สามารถเดินทางได้ 2 ทาง คือ •จากตัวเมืองขอนแก่นตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ไปอำ�เภอชุมแพ) ถึง กม.30 กลับรถแล้วจะมีแยกเลี้ยวซ้าย (บ้านดอนดู่) เดินทางตามทางหลวงชนบท หมายเลข ขก.2015 มาอีกประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีสามแยก(หนองแสง) เลี้ยว ขวาไปเขื่อนอุบลรัตน์ตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก.4014 เดินทางผ่านบ้าน หนองผือ และบ้านดอนกอก ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติ ซึ่งตั้งอยู่บนเชิงเขาด้านขวามือ รวมระยะทางประมาณ 49 กิโลเมตร • จากขอนแก่น-อำ�เภออุบลรัตน์ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ไปจังหวัด อุดรธานี) แยกซ้ายเข้า อำ�เภออุบลรัตน์ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2109 ถึงตัวอำ�เภอจะมีแยกเลี้ยวซ้ายตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก.4014 (หนอง แสง- ท่าเรือ) เดินทางเลาะริมเขื่อนอุบลรัตน์มาอีกประมาณ 20 กิโลเมตร ก็จะ ถึงที่ทำ�การอุทยานฯ รวมระยะทางประมาณ 65 กิโลเมตร ผู้ที่เดินทางโดยใช้เส้นทางสายแรก (ขอนแก่น-ชุมแพ) สามารถเดินทาง ไปท่อง เที่ยวที่อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ก่อนที่เดินทางย้อนกลับมาแวะชมไดโนสาร์ที่ อุทยานแห่งชาติภูเวียง หลังจากนั้นท่านเดินทางต่อมาพักผ่อนหย่อนกายชมวิว ทิวทัศน์อันงดงามของอ่างเก็บน้ำ� หรืออาจเดินทางขึ้นไปนอนชมฝนดาวดูฟ้าสาง ที่จุดชมวิวหินช้างสีของอุทยานแห่งชาติน้ำ�พองก็จะได้รับบรรยากาศที่แตกต่างกัน ออกไป ในช่วงการเดินทางกลับควรใช้เส้นทางสายที่สอง (ขอนแก่น-อุบลรัตน์) ขับรถ ลัดเลาะชมธรรมชาติของเขื่อนอุบลรัตน์ หรือแวะทานอาหารชิมปลาน้ำ�จืดอัน เลิศรสก็มีร้านอาหารตลอดเส้นทาง เขื่อนอุบลรัตน์ตั้งอยู่ห่างจากอุทยานแห่ง ชาติน้ำ�พองประมาณ 20 กิโลเมตร เสร็จจากชมเขื่อนฯ ขับรถไปอีกประมาณ 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางอำ�เภอโนนสัง ก็จะถึงอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ� หาก เดินทางจากขอนแก่น-อุบลรัตน์ หรือใช้เส้นทางสายที่สองก็สามารถท่องเที่ยว ในลักษณะที่เป็นรูปวงกลมนี้ได้ อาจเริ่มที่อุทยานแห่งชาติภูเก้าภูพานคำ�–เขื่อน อุบลรัตน์-น้ำ�พอง-ภูเวียง-ภูผาม่าน ก่อนที่จะเดินทางกลับทางด้าน อำ�เภอชุมแพ


หน้ า 64

หน้ า 63

อุทยานแห่งชาต ผิ าแต้ม

อุทยานแห่งชาติผาแต้ม มีเนื้อที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อำ�เภอโขงเจียม อำ�เภอศรีเมืองใหม่ และอำ�เภอโพธิ์ไทร จังหวัด อุบลราชธานี ประกอบด้วย สภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่านานาชนิด มีจุดเด่นที่สวยงามตามธรรมชาติมากมาย เช่น ผา ชัน น้ำ�ตกสร้อยสวรรค์ เสาเฉลียง ถ้ำ�ปาฏิหารย์ ภูนาทาม เป็นต้น อีกทั้งยังได้มีการค้นพบภาพเขียนสีโบราณ สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ อายุราว 3,000-4,000 ปี ที่บริเวณผาขาม ผาแต้ม ผาเจ็ก ผาเมย และถือได้ว่าเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรก ในประเทศไทยที่มีแม่น้ำ�โขง ซึ่งเป็นเส้นกั้นพรมแดน ระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวเป็นแนวเขตอุทยานแห่งชาติที่ยาวที่สุด ทำ�ให้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ป่าเขา ทางฝั่งประเทศลาวได้เป็นอย่างดี

ในอดีต ชาวบ้านท้องถิ่นที่ทำ�กินในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ป่าภูผา น้อยคนนักที่จะเดินทางเข้าไปในป่าดังกล่าว เนื่องจากมีความเชื่อว่า “ผาแต้มเป็นเขตต้องห้าม ภูผาเหล่านี้มีความศักดิ์สิทธิ์นักเป็นภูผาแห่งความตาย ใคร ล่วงล้ำ�เข้าไปมักมีอันเป็นไป อาจเจ็บไข้หรือเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ” พื้นที่ป่าภูผาบริเวณผาแต้มได้ถูกเปิดเผย จนเป็นที่รู้จักกันทั่วไป เมื่อคณะอาจารย์และนักศึกษาจากภาควิชามนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากรได้มา ทำ�การสำ�รวจและค้นพบภาพเขียนสีโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ผาแต้ม ท้องที่บ้านกุ่ม ตำ�บลห้วยไผ่ อำ�เภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ประกอบกับสภาพป่าในบริเวณใกล้เคียงยังอุดมสมบูรณ์ จึงได้ทำ�หนังสือบันทึก จากภาควิชาฯ ลงวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2524 เสนอต่อ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ขอให้จัดตั้งป่าภูผา ในบริเวณผาแต้มเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งกองอุทยานแห่งชาติได้ให้ นายเสงี่ยม จันทร์แจ่ม นักวิชาการป่าไม้ 4 ทำ� หน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติดงหินกอง (ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ) ไปทำ�การสำ�รวจหา ข้อมูลเพิ่มเติม ปรากฏว่าพื้นที่บริเวณที่ขอให้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ อยู่ในบริเวณพื้นที่ป่าภูผา ปรากฏภาพ เขียนสีโบราณซึ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ที่ผาแต้ม สภาพป่าบริเวณใกล้เคียงยังไม่ถูกทำ�ลาย และมีจุดเด่นตาม ธรรมชาติที่สวยงามการคมนาคมสะดวก เหมาะที่จะตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเห็นสมควร


หน้ า 65

ผนวกกับบริเวณดังกล่าว เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอุทยาน แห่งชาติดงหินกอง กรม ป่าไม้ จึงมีคำ�สั่งกรมป่า ไม้ ที่ 1162/2524 ลงวัน ที่ 13 กันยายน พ.ศ.2524 ให้ นายเสงี่ยม จันทร์แจ่ม นักวิชาการป่าไม้ 4 หัวหน้า อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ (ดงหินกอง)ไปดำ�เนินการ ควบคุมดูแลรักษาป่าภูผา โดยให้พิจารณาผนวกเข้ากับ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ โดย ได้ประกาศรวมกับบริเวณป่า ใกล้เคียงให้เป็นป่าสงวนแห่ง ชาติป่าดงภูโหล่น และประกาศ ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 90 ตอนที่ 153 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2526ต่อ มากรมป่าไม้ได้พิจารณาเห็น ว่าพื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็น พืน้ ทีค่ นละส่วนและอยูห่ า่ งไกล กับอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ตลอดจนมีอาณาเขตกว้าง ขวางเกรงว่า อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ จะดูแลไม่ทั่วถึงและ เพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบาย ของรัฐบาลตามโครงการ อีสานเขียว และกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

หน้ า 66

และป่าไม้เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการศึกษาหาความรู้ทางวิชาการ จึงมีคำ�สั่งกรมป่าไม้ ที่ 991/2532 ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2532 ให้นายวรพล รันตสุวรรณ นักวิชาการป่าไม้ 5 กองอุทยานแห่งชาติ ไปดำ�เนิน การสำ�รวจเพื่อจัดตั้งพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดง ภูโหล่นท้องที่อำ�เภอโขงเจียม อำ�เภอศรีเมืองใหม่ และอำ�เภอ โพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษหน้า 90-92 เล่ม 108 ตอนที่ 245 ลงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2534 มีเนื้อที่ประมาณ 340 ตารางกิโลเมตร หรือ 212,500 ไร่ นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 74 ของประเทศไทย


หน้ า 68

หน้ า 67

สภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงและเนินเขาสูงชัน ลักษณะสูงๆ ต่ำ�ๆ สลับกันไปทั่วพื้นที่ลักษณะ ทางธรณีวิทยาเกิดจากการแยกตัวของผิว โลก เป็นเทือกเขาเดียวกับเขาพนมดงรักหรือ ดงเร็กซึ่งเขาพระวิหาร ตั้งอยู่ตามแผนที่ทาง ธรณีวิทยาใช้ชื่อหน่วยภูพานและพระวิหาร เป็นภูเขาหินทราย มีที่ราบอยู่บ้างแถบริมห้วย และตามแนวแม่น้ำ�โขงในส่วนของที่ราบสูงแต่ละ แห่งมีเนื้อที่ประมาณ 800 – 1,300 ไร่ ห่างจาก ลำ�น้ำ�ประมาณ 1-2 กิโลเมตร จะเป็นหน้าผา สูงชัน พื้นที่ทั่วไปมีหินทรายโผล่เป็นลานหิน กระจัดกระจายทั่วพื้นที่ดินที่พบในแถบที่ราบ ลุ่ม เป็นดินร่วนปนทรายและดินเหนียวแถบ ริมแม่น้ำ�มีตะกอนและฮิวมัสมาก ส่วนบริเวณ ที่ราบสูงเป็นพวกดินทราย ดินลูกรัง มีลำ�ห้วย น้อยใหญ่เป็นจำ�นวนมาก ที่สำ�คัญเช่น ห้วย ใหญ่ ห้วยสร้อย ห้วยหละหลอย ห้วยพอก ฯลฯ ห้วยต่างๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่จะไหลสู่แม่น้ำ� โขง

สภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนายน – กันยายน ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ตุลาคม – กุมภาพันธ์ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม – พฤษภาคม อุณหภูมิในแต่ละฤดูแตกต่างกันอย่างมาก ใน ฤดูฝนจะมีพายุฝนฟ้าคะนองอยู่บ่อยๆ ในฤดู หนาวอากาศเย็นอย่างแห้งแล้งความชื้นใน บรรยากาศมีน้อยในฤดูร้อน อากาศร้อนจัด ต้นไม้ใบหญ้าแห้งแล้ง


หน้ า 70

หน้ า 69

สภาพป่าโดยทั่วไปเป็นป่าเต็งรังเสียส่วนใหญ่ ตามพื้นที่ที่มีหิน โผล่ลักษณะเป็นป่าโปร่งต้นไม้แคระแกรน แต่มีความสวยงามตาม ธรรมชาติ พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง ประดู่ และเหมือด ต่าง ๆ ไม้พื้นล่างเป็นพวกไผ่ป่า หญ้าต่าง ๆ ข่อยหินและยังมีไม้ดอก ที่สวยงามขึ้นอยู่ตามซอกลานหินทั่วไป เช่น หยาดน้ำ�ค้าง แดงอุบล เอนอ้า เหลืองพิสมร ตลอดจนมีทุ่งดอกไม้จำ�พวกดุสิตา สร้อย สุวรรณ ทิพยเกษร กระดุมเงิน ขึ้นอยู่เป็นจำ�นวนมากกระจายทั่ว พื้นที่ สภาพป่าจะเปลี่ยนเป็นป่าดิบแล้งในบริเวณที่ราบลุ่มแถบริม ห้วย หรือริมแม่น้ำ�เนื่องจากมีความชุ่มชื้นพอประมาณตลอดปี พันธุ์ ไม้ที่สำ�คัญได้แก่ ยาง กะบาก รกฟ้า ตะแบกเลือด เขล็ง แดง ไม้พื้น ล่างเป็นพวกไม้เถา ไม้เลื้อยต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังพบป่าสนสองใบ ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ กระจัดกระจายในส่วนที่เป็นพื้นราบบนภู ต่าง ๆ ทั่วพื้นที่สัตว์ป่าประเภทเลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ยังไม่พบ แต่ขนาดเล็กลงมาที่พบได้ทั่วไป เช่น อีเห็น สุนัขจิ้งจอก กระต่ายป่า อีเก้ง ชะมด บ่าง ในฤดูแล้งเมื่อระดับน้ำ�ในแม่น้ำ�โขงลดลงมากจะ พบเห็นสัตว์ประเภทหมูป่า เลียงผา ว่ายน้ำ�ข้ามมาจากฝั่งประเทศ ลาวอยู่เสมอ ๆ เนื่องจากอาณาเขตบางส่วนอยู่ในลำ�น้ำ�โขงมีปลาน้ำ� จืดชนิดต่าง ๆ มากมาย นกนานาชนิดที่พบเห็น เช่น นกขุนทอง นก ยูง เหยี่ยว อีกา นกขุนแผน นกกระเต็น เป็นต้น

ผาแต้ม เมื่อดูจากแม่น้ำ�โขงจะเห็นเป็นหน้าผาสูงที่สวยงามตามธรรมชาติใน บริเวณที่เป็นหน้าผา จะปรากฏภาพเขียนสีโบราณโดยฝีมือมนุษย์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เรียงรายตามความยาวของหน้าผาติดต่อกัน ยาวประมาณ 180 เมตร มีไม่ต่ำ�กว่า 300 ภาพ ซึ่งเป็นจำ�นวนภาพ เขียนสีโบราณที่มากที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ ในประเทศไทยและในต่าง ประเทศ ผาเจ็ก-ผาเมย จากน้ำ�ตกสร้อยสวรรค์เดินไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร ตลอดเส้น ทางจะพบทุ่งดอกไม้งามหลายแห่ง ผาเจ็ก-ผาเมย เป็นหน้าผาหินที่ มีลักษณะเหมือนบริเวณ ผาแต้ม และปรากฏภาพเขียนสีโบราณเช่น เดียวกัน ถึงแม้ว่าภาพเขียนจะมีจำ�นวนน้อยกว่าก็ตาม แต่ลักษณะภาพเขียน สีที่พบแตกต่างกัน ผู้สนใจเดินป่าจากน้ำ�ตกสร้อยสวรรค์มาผาเจ็ก ควรติดต่อเจ้าหน้าที่นำ�ทาง เนื่องจากเส้นทางไม่ชัดเจน


หน้ า 72

หน้ า 71 ภูผาขาม ภูเขาหินทราย ข้างบนเป็นลานหินเรียบด้านล่างเป็นบริเวณที่ปรากฏภาพเขียนสี โบราณ เมื่อยืนดูอยู่ด้านบนจะเห็นทิวทัศน์ตามริมแม่น้ำ�โขงสุด สายตาเป็นทิวทัศน์ของป่าเขาและลำ�น้ำ�สวยงามมาก เสาเฉลียง เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการกัดเซาะของน้ำ� สายลม และแสงแดดมีลักษณะเป็นแท่งหินตั้งขึ้น มีส่วนบนเป็นแผ่นหินวางอยู่ โดยไม่ติดกันมองดูคล้ายดอกเห็ด เสาเฉลียง ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลห้วยไผ่ อำ�เภอโขงเจียม การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 217 จากจังหวัด อุบลราชธานี ไปอำ�เภอพิบูลมังสาหาร แล้วใช้ทางหลวงหมายเลข 2222 ไปอำ�เภอโขงเจียม จากอำ�เภอโขงเจียมใช้เส้นทางสาย 2134 (โขงเจียม – ศรีเมืองใหม่) ประมาณ 5 กิโลเมตร แยกขวา เข้าเส้น ทางสาย 2112 อีกประมาณ 9 กิโลเมตร มีทางแยกขวาไปผาแต้ม จะ ถึงเสาเฉลียงประมาณ 1.5 กิโลเมตรก่อนถึงผาแต้ม ซึ่งเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดอุบลราชธานี เสาเฉลียงเป็น ลักษณะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สืบเนื่องมาจากกระบวนการกัดเซาะ และกัดกร่อนด้วยอิทธิพลของน้ำ�และลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการ สึกกร่อนโดยแม่น้ำ�หรือธารน้ำ�ไหลกัดเซาะเป็นเวลาชั่วนาตาปี เกิด ขึ้นในชั้นหินที่วางตัวอยู่ในแนวราบหรือเกือบราบและในแต่ละชั้นมี ส่วนประกอบของแร่ที่แตกต่างกัน จึงทำ�ให้มีความแข็งและทนทาน ที่ไม่เหมือนกันประติมากรรมชิ้นเอกร่วมกันของหินทราย 2 ยุค คือ หินทรายยุค ครีเตเซียส ซึ่งมีอายุประมาณ 130 ล้านปี เป็นส่วนดอก เห็ดอยู่ท่อนบน และหินทราย ยุคไดโนเสาร์ มีอายุประมาณ 180 ล้าน ปี เป็นส่วนต้น เสาหินท่อนล่างโดยผ่านการถูกชะล้างพังทลายอันเกิด จากสภาพอากาศ ฝนและลมพายุเป็นเวลาหลายล้านปี ซึ่งคุณสมบัติ ทางธรณีวิทยาของหินทรายนั้นง่ายต่อการสึกกร่อนกว่าหินชนิดอื่นที่ จัดอยู่ในกลุ่มหินชึ้นเดียวกัน และเมื่อผ่านการสึกกร่อนไปได้ระยะหนึ่ง ก็มีสิ่งที่เรียกว่า กระบวนการต้านทานทางธรรมชาติและแรงกดทับ ของเม็ดฝนทำ�ให้หินทรายแข็งยิ่งขึ้น เป็นผลให้สามารถรักษาสภาพให้ คงรูปได้ดังที่เห็นอยู่ในรูปข้างๆนี้ “เสาเฉลียง” แผลงมาจาก “สะเลียง” แปลว่า “เสาหิน”


หน้ า 73

หน้ า 74 ภูกระบอ เป็นภูผาหินทราย ที่มีเสาเฉลียงเป็นจำ�นวนมากตั้งเรียงรายกระจาย ทั่ว พื้นที่ดูลักษณะคล้ายสวนหิน ภูโลง ได้มีการค้นพบโลงศพของมนุษย์อยู่ภายในซอกหินซึ่งไม่ถูกแดดถูก ฝนอยู่บนภูโลง เข้าใจว่าเป็นโลงศพของมนุษย์สมัยก่อน ส่วนของ กระดูกและสิ่งของภายในโลงหายไปก่อนที่จะค้นพบ ลักษณะของ โลงใหญ่มาก ไม้ที่ใช้ทำ�โลงบางส่วนผุพังไปตามธรรมชาติ แต่ยัง คงสภาพส่วนใหญ่อยู่ ถ้ำ�ปาฏิหารย์ โดยปกติภูเขาหินทรายจะไม่ปรากฏถ้ำ�ที่แบ่งเป็นหลืบเป็นห้อง แต่ ปรากฏว่าถ้ำ�ปาฏิหารย์แบ่งเป็นหลืบเป็นห้องและมีความยาวมาก ภูนาทาม เป็นป่าสนสองใบตามธรรมชาติที่ขึ้นอยู่บริเวณหน้าผา เมื่อมองทะลุ ป่าสนสองใบนี้ไปจะเห็นภูเขาทมึนสลับซับซ้อนของประเทศลาวเป็น ฉากอยู่ข้างหลัง ตัดกับท้องฟ้าที่อยู่ด้านบนและลำ�น้ำ�โขงที่อยู่ด้าน ข้างน้ำ�ตกสร้อยสวรรค์ น้ำ�ตกสร้อยสวรรค์ อยู่บริเวณห้วยสร้อย จากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติผาแต้มไปตาม ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2112 อีกประมาณ 15 กิโลเมตร ก็จะ ถึงน้ำ�ตกสร้อยสวรรค์ เป็นน้ำ�ตกที่สวยงามมาก เกิดจากลำ�ธาร 2 สาย คือ แซสร้อย และแซไผ่ ไหลตกลงมาบรรจบกันดูลักษณะ คล้ายสายสร้อย บริเวณริมลำ�ธารมีพลาญหินซึ่งในช่วงปลายฝน ต้นหนาว จะมีดอกไม้หลากสีสันออกดอกงดงามเต็ม น้ำ�ตกแสงจันทร์ อยู่ห่างจากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติตามหมายเลขทางหลวงที่ 2112 ประมาณ 30 กิโลเมตร มีทางแยกเข้าไปน้ำ�ตกทุ่งนาเมือง น้ำ�ตกแห่งนี้มีลักษณะพิเศษคือ เมื่อสายน้ำ�ตกจากผาลงมาแล้ว จะ ไหลลับหายไปในซอกหิน ชาวบ้านเรียก น้ำ�ตกลอดรู ส่วนน้ำ�ตก แสงจันทร์มีทางเดินเท้าไปอีกไม่ไกลนัก สายน้ำ�ตกลงมาจากช่อง โพรงของเพิงผา บางคนเรียกว่า น้ำ�ตกลงรู


หน้ า 75 น้ำ�ตกทุ่งนาเมือง น้ำ�ตกทุ่งนาเมือง ตั้งอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ 4 (คันท่าเกวียน) สามารถไปท่องเที่ยวได้โดยเดินทางไปตามเส้นทาง บ้านทุ่งนาเมือง ต.นาโพธิ์กลาง ห่างจากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม ประมาณ 40 กิโลเมตร เส้นทางรถยนต์สามารถเข้าถึงได้ โดยสะดวก ลานหินแตก อยู่ถัดจากเสาเฉลียงขึ้นไปบนเนินเขาลานหินแตกเป็นลักษณะที่เกิด ขึ้นตามธรรมชาติ สืบเนื่องมาจากกระบวนการกัดเซาะและกัดกร่อน ด้วยอิทธิพลของน้ำ�และลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการสึกกร่อน โดยน้ำ�หรือธารน้ำ�ไหลกัดเซาะเป็นเวลาชั่วนาตาปี ทุ่งดอกไม้งาม ตามรอยเสด็จ ที่ทุ่งดอกไม้ป่าหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติผาแต้ม หน่วยที่ 1 สร้อยสวรรค์นอกจากนี้การนั่งเรือล่องไปตามแม่น้ำ�โขง จะทำ�ให้เห็นทัศนียภาพที่แตกต่างกันไปของสภาพภูมิประเทศ และ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่ยังทิ้งร่องรอยไว้ให้เห็นทั้งสองฝั่ง ของลำ�น้ำ�ด้วยหากท่านใดที่สนใจไปท่องเที่ยวที่ผาแต้ม ก็จะต้องเดิน ทางไปที่จังหวัดอุบลก่อน จากนั้นก็เดินทางไปยังอำ�เภอโขงเจียม ระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร แล้วเดินทางไปตามเส้นทาง ยุทธศาสตร์สายโขงเจียม-เขมราฐ อีก 15 กิโลเมตรเลี้ยวขวาต่อ ไปอีก 5 กิโลเมตร จะถึงภูผาขาม ท้องที่บ้านหนองผือน้อย ตำ�บล ห้วยไผ่ อำ�เภอโขงเจียม ซึ่งที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติผาแต้มตั้งอยู่ ปัจจุบันเส้นทางนี้เป็นถนนลาดยางไปสิ้นสุดอยู่บนลานภูผาขาม

หน้ า 76


หน้ า 78

หน้ า 77

อุทยานแห่งชาต ภิ กู ระด งึ เป็นของคนไทยทุกคน โปรดช่วยกันรักษาไว้ให้ลูกหลานของเรา

ข้อมูลทั่วไป ปิดฤดูกาลท่องเที่ยวตั้งแต่ 1 มิถุนายน - 30 กันยายน ของทุกปี อุทยานแห่งชาติภูกระดึง เปิดฤดูกาลท่องเที่ยวตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม

อุทยานแห่งชาติภูกระดึงได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลำ�ดับที่ 2 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2505 ตั้งอยู่ในท้องที่ตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 348.13 ตารางกิโลเมตร (217,576.25 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมีที่ราบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) ภูกระดึงมีระดับความสูงอยู่ระหว่าง 400 – 1,200 เมตร จุด สูงสุดอยู่ที่บริเวณคอกเมย มีความสูง 1,316 เมตร สภาพทั่วไปของภูกระดึงประกอบไปด้วยพรรณไม้นานา ชนิด พันธุ์สัตว์ป่านานาพันธุ์ หน้าผา ทุ่งหญ้า ลำ�ธาร และน้ำ�ตก อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ต้นน้ำ�ของลำ�น้ำ�พองซึ่ง เป็นลำ�น้ำ�สายสำ�คัญสายหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยความสูง บรรยากาศ และสภาพอากาศที่เย็น สบายตลอดปีบนยอดภูกระดึง โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิอาจลดต่ำ�จนถึง 0 องศาเซลเซียส จึงเป็น แรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวปรารถนาที่หวังจะเป็นผู้พิชิตยอดภูกระดึงสักครั้งหนึ่งในชีวิต นักท่องเที่ยวที่ประสงค์ จะเข้าไปท่องเที่ยวและพักแรมบนยอดภูกระดึง ขอให้ติดต่อ สอบถาม หรือสำ�รองการเข้าไปใช้บริการล่วง หน้า ทั้งที่พักประเภทเต็นท์ของอุทยานแห่งชาติและพื้นที่กางเต็นท์สำ�หรับนักท่องเที่ยวที่นำ�เต็นท์มาเองตาม แผนผังจุดพักแรม ก่อนเดินทางได้โดยตรง ณ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง โทรศัพท์หมายเลข 0-42810-833 และหมายเลข 0-42810-834 ในเวลาราชการ (08.00 น.-16.30 น.) ในกรณีที่นักท่องเที่ยวจะเดินทางมาท่อง เที่ยวพักแรมบนยอดเขาที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึงนั้น ให้มาติดต่อซื้อค่าบริการบุคคลก่อนเวลา 13.30 น. และในเวลา 14.00 น. ของทุกวันจะทำ�การปิดไม่ให้นักท่องเที่ยวเดินขึ้นเขาและลงเขาในแต่ละวัน


หน้ า 79

สภาพทั่วไปของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง เป็น ภูเขาหินทรายยอดตัดอยู่ทางตะวันตกเฉียง เหนือของที่ราบสูงโคราช ใกล้กับด้านลาดทิศ ตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ลักษณะ โครงสร้างทางธรณีของภูกระดึงเกิดขึ้น ในมหายุค Mesozoic เป็นหินในชุดโคราช ประกอบด้วยชั้นหินหมวดหินภูพานหมวด หินเสาขัว หมวดหินพระวิหาร และหมวดหิน ภูกระดึง พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูเขาอยู่ที่ความ สูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลางระหว่าง 4001,200 เมตร มีพื้นที่ราบบนยอดเขากว้าง ใหญ่คล้ายรูใบบอน ประกอบด้วยเนินเตี้ยๆ ยอดสูงสุดคือ ภูกุ่มข้าว สูงจากระดับน้ำ�ทะเล ประมาณ 1,350 เมตร สภาพพื้นที่ราบบน ยอดภูกระดึงมีส่วนสูงอยู่ทางด้านตะวันตกและ ตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่ค่อยๆ ลาดเทลงมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทำ�ให้ลำ�ธารสาย ต่างๆ ที่เกิดจากแหล่งน้ำ�บนภูเขาไหลไปรวมกัน ทางด้านนี้ เป็นแหล่งต้นน้ำ�ของลำ�น้ำ�พอง ซึ่ง หล่อเลี้ยงเขื่อนอุบลรัตน์และเขื่อนหนองหวาย ในจังหวัดขอนแก่น

หน้ า 80

ภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติภูกระดึงบริเวณที่ระดับต่ำ�ตามเชิงเขา มีสภาพโดยทั่วไปใกล้เคียงกับบริเวณอื่นๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดู ฝนเริ่มตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ฝนตกชุกที่สุดระหว่างเดือนสิงหาคม-กันยายน อุณหภูมิเฉลี่ยรายปี 26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำ�สุดในเดือนมกราคม และอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน สภาพอากาศทั่วไปบนยอด ภูกระดึง แตกต่างจากสภาพอากาศในที่ราบต่ำ�เป็นอย่างมาก โดยปริมาณน้ำ�ฝนจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณไม่ต่ำ�กว่า ร้อยละ 30 ของปริมาณน้ำ�ฝนบนที่ต่ำ� เนื่องจากอิทธิพลของเมฆ/หมอกที่ปกคลุมยอดภูกระดึงเป็นเนืองนิจ ในช่วง เดือนธันวาคม-มกราคมอุณหภูมิต่ำ�สุดเฉลี่ยระหว่าง 0-10 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 21-24 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน อุณหภูมิต่ำ�สุดเฉลี่ยระหว่าง 12-19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 23-30 องศาเซลเซียส อากาศบนยอดภูกระดึงมักจะแปรปรวน มีเมฆหมอก ลอย ต่ำ�ปกคลุมบ่อยครั้ง อากาศจึงค่อนข้างเย็นตลอดปี ในช่วงฤดูฝน มักเกิดภัยธรรมชาติ เช่น เกิดการพังทะลาย ของภูเขาและมีน้ำ�ป่า ทางอุทยานแห่งชาติจึงกำ�หนดให้ปิด-เปิดการท่องเที่ยวเฉพาะบนยอดเขาภูกระดึง เพื่อความ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยว และให้สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อมได้มีการพักฟื้นตัว หลังจากนักท่องเที่ยวไป เยี่ยมชมอย่างมากในแต่ละปี ดังนี้ ปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน - 30 กันยายน ของทุกปี เปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม ของทุกปี อุณหภูมิประจำ�วันที่ 6 ตุลาคม 2557 บน ยอดเขาภูกระดึง ต่ำ�สุด 16.0 องศาเซลเซียส สูงสุด 24.5 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำ�ฝน 1.6 มิลลิเมตร 1 - 2 วันที่ผ่านมาตอนเช้ามีฝนตกเล็กน้อยเวลาประมาณ 06.00 น.


หน้ า 82

หน้ า 81

สังคมพืชของภูกระดึงเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดป่าหนึ่ง มีทั้ง ป่าผลัดใบ และป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงต่างๆ จำ�แนกออกได้เป็น ป่าเต็งรัง พบบนที่ราบเชิงเขาและบนที่ลาดชันจนถึงระดับความสูง จากระดับน้ำ�ทะเล ประมาณ 600 เมตร ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด รกฟ้า อ้อยช้าง กว้าว มะกอกเลื่อม มะค่าแต้ ช้างน้าว ติ้วขน ยอป่า ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วย หญ้า เพ็ก ขึ้นเป็นกอหนาแน่น แทรกด้วยไม้พุ่มและพืชล้มลุก ป่าเบญจพรรณ พบตั้งแต่บนพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ลาดชันตามไหล่ เขารอบภูกระดึง จนถึงระดับความสูงจากน้ำ�ทะเลประมาณ 950 เมตร พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญได้แก่ แดง ประดู่ป่า กระบก ตะแบกเลือด ยม หิน มะกอก งิ้วป่า แสมสาร มะค่าโมง ตะคร้ำ� สมอไทย สำ�โรง โมกมัน ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยหญ้าและกอไผ่ของไผ่รวก ไผ่ไร่ ไผ่ หลวง ไผ่ซางหม่น ไม้พุ่ม เช่น หนามคณฑา กะตังใบ สังกรณี ไผ่หวาน บ้าน ฯลฯ ไม้เถา เช่น แก้วมือไว สายหยุด นมวัว ตีนตั่ง หนอนตาย หยาก กลอย ฯลฯ พืชล้มลุก เช่น บุกใหญ่ ผักปราบ แห้วกระต่าย ฯลฯ พืชกาฝากและอิงอาศัย เช่น ข้าวก่ำ�นกยูง ดอกดิน ชายผ้าสีดา เป็นต้น ป่าดิบแล้ง พบตามฝั่งลำ�ธารของหุบเขาที่ชุ่มชื้นทางทิศตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตก ตั้งแต่เชิงเขาจนถึงระดับความ สูงประมาณ 950 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล พันธุ์ไม้สำ�คัญได้แก่ ก่อ ตะเคียนทอง ยางแดง ยมหอม ตะแบกเปลือกบาง หว้า มะม่วงป่า สัตตบรรณ มะหาด คอแลน เชียด ฯลฯ พืชพื้นล่างแน่น เป็นพวกไม้ พุ่ม ไม้เถา เช่น สร้อยอินทนิล กระทงลาย เถามวกขาว เล็บมือนาง กระไดลิง ฯลฯ พืชล้มลุก เช่น ข่าคม ก้ามกุ้ง ฯลฯ หวายและเฟิน หลายชนิด ป่าดิบเขา พบตั้งแต่ระดับ 1,000 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเลขึ้นไป ทาง ทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือ พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญได้แก่ ก่วมแดง ทะโล้ สนสามพันปี พะอง จำ�ปีป่า พญาไม้ ก่อเดือย ก่อหนาม ก่อหมู ส้านเขา รัก เหมือดคนดง เฉียงพร้านางแอ พะวา เดื่อหูกวาง ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยไม้พุ่ม เช่น กุหลาบแดง มือพระนารายณ์ ฮ อมคำ� จ๊าฮ่อม ฯลฯ ตามหน้าผาริมขอบภูพบปาล์มต้นสูงขึ้นห่างๆ ได้แก่ ค้อดอย ไม้เถา เช่น กระจับเขา เครือเขาน้ำ� แก้มขาว หนามไข่ปู ใบก้นปิด ย่านหูเสือ เป็นต้น

ป่าสนเขา พบเฉพาะบนที่ราบยอดภูกระดึงที่ระดับความสูงประมาณ 1,200-1,350 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ สน สองใบ ก่อเตี้ย ทะโล้ สารภีดอย มะเขื่อเถื่อน รัก ฯลฯ พืชพื้นล่าง ประกอบด้วย สนทราย ส้มแปะ กุหลาบขาว เม้าแดง พวงตุ้มหู นาง คำ� ฯลฯ ตามลานหินมีพืชชั้นต่ำ�พวกไลเคน ประเภทแนบกับหินเป็น แผ่น และประเภทเป็นฟองเรียก ฟองหิน ปกคลุมทั่วไป นอกจากนี้จะ พบเอื้องคำ�หิน ม้าวิ่ง และเขากวาง ซึ่งเป็นกล้วยไม้ที่ออกเป็นกอหนา แน่น พืชล้มลุก เช่น ดาวเรืองภู ว่านคางคก ต่างหูขาว เนียมดอกธูป แววมยุรา หญ้าข้าวก่ำ�ขาว โสภา เทียนภู เปราะภู ดอกหรีด ขนนกยูง หญ้าเหลี่ยม น้ำ�เต้าพระฤาษี กูดเกี๊ยะ เป็นต้น บนพื้นดินที่ชุ่มแฉะ มอ สจำ�พวกข้าวตอกฤาษีหลายชนิดขึ้นทับถมแน่น คล้ายผืนพรม บาง แห่งมีพืชล้มลุกขนาดเล็กหลายชนิดขึ้นปะปนกันแน่น เช่น กระดุมเงิน สาหร่ายข้าวเหนียว ดุสิตา และหญ้าข้าวก่ำ� ภูกระดึง ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งที่มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างชุกชุม เนื่องจาก ลักษณะภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ทุ่งหญ้าและลำ�ธาร ซึ่งเป็น แหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่าภูกระดึงมีหลายชนิดที่พบเห็น ทั่วไป ได้แก่ ช้างป่า เก้ง กวางป่า หมูป่า ลิงกัง ลิงลม บ่าง กระรอก หลากสี กระแต หนูหริ่งนาหางยาว ตุ่น เม่นหางพวง พังพอน อีเห็น เหยี่ยวรุ้ง นกเขาเปล้า นกเขาใหญ่ นกกระปูดใหญ่ นกเค้ากู่ นก ตะขาบทุ่ง นกโพระดกคอสีฟ้า นกตีทอง นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง นกนางแอ่นสะโพกแดง นกเด้าดินสวน นกอุ้มบาตร์ นกขี้เถ้าใหญ่ นก กระทาทุ่ง นกพญาไฟใหญ่ นกกางเขนดง นกจาบดินอกลาย นกขมิ้น ดง ตุ๊กแก จิ้งจกหางแบนเล็ก กิ้งก่าสวน จิ้งเหลนบ้าน เต่าเหลือง งู ทางมะพร้าว งูลายสอบ้าน งูจงอาง งูเก่า งูเขียวหางไหม้ อึ่งอี๊ดหลัง ลาย เขียดหนอง คางคก กบหูใหญ่ ปาดแคระ และมีเต่าชนิดหนึ่งซึ่ง หาได้ยาก คือ เต่าปูลู หรือ “เต่าหาง” เป็นเต่าที่หางยาว อาศัยอยู่ตาม ลำ�ธารในป่าเขาระดับสูงของประเทศไทย กัมพูชา และ ลาว


หน้ า 84

หน้ า 83

อุทยานแห่งชาต ภิ เู ก้า - ภ พ ู านคำ�

อัตราค่าบริการ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท

หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการ เข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณา พกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะ ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ เพื่อการตรวจสอบ

สถานที่ติดต่อ : หมู่ที่ 6 ต.บ้านค้อ อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำ�ภู 39140 หรือ ตู้ ปณ.2 ปทจ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น 40250 โทรศัพท์ : 063 648 4821 อีเมล : Phukao.np50@gmail.com Facebook : อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ� Phu Kao Phu Phan Kham National Park หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายธงชัย นาราษฎร์ ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ


หน้ า 86

หน้ า 85

1. บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : TRUE, DTAC,AIS 2. บริเวณพื้นที่บริการนักท่องเที่ยว (โซนภูพานคำ�) : AIS, TRUE, DTAC 3. บริเวณแหล่งท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติ (โซนภูเก้า) : AIS

แต่เดิม กรมป่าไม้ ได้พิจารณากำ�หนดให้พื้นที่ป่าบริเวณภูเก้า เป็นป่าโครงการ ไม้กระยาเลย เพื่อใช้สอย ตามหนังสือกรมป่าไม้ ที่ กษ 0703/38 ลงวันที่ 5 มกราคม 2513 ซึ่งต่อมา ป่าภูเก้า แห่งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศ ให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ “ป่าภูเก้า” ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 490 (พ.ศ.2515) ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2515 และเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2524 นายสุพรรณ สุ ปัญญา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี ได้มีหนังสือกราบเรียนต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ให้พิจารณาจัดป่าสงวนแห่งชาติภูเก้า ท้องที่จังหวัด อุดรธานี เป็นอุทยานแห่งชาติ สำ�นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีจึงมีหนังสือ สร .0107(งสส)/3782 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2524 ให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ พิจารณาเรื่อง ซึ่งรองอธิบดีกรมป่าไม้ (นายจำ�นงค์ โพธิสาโร) ปฏิบัติ ราชการแทนอธิบดีกรมป่าไม้ มีบันทึกท้ายหนังสือกองอุทยานแห่งชาติ ที่ กส 0708/1198 ลงวันที่ 8 เมษายน 2524 ให้ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำ�รวจ กองอุทยานแห่ง ชาติ

กรมป่าไม้จึงได้มีคำ�สั่งที่ 571 / 2524 สั่งให้นายวินัย ชลา รักษ์ เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 ไปสำ�รวจหาข้อมูลเบื้องต้น ซึ่งจาก การสำ�รวจพบว่าป่าสงวนแห่งชาติภูเก้า ประกอบด้วยพันธุ์ พืช สัตว์ป่า และจุดเด่นคือมีทิวทัศน์ที่สวยงามตามธรรมชาติ เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือรายงาน การสำ�รวจเบื้องต้น ที่ กส 0708(ภพ)/257 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2524 และทางสภาตำ�บลโนนสัง จังหวัดอุดรธานี ได้มีหนังสือลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2526 สนับสนุนให้ดำ�เนิน การจัดตั้งพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ มีมติในคราว ประชุม ครั้งที่ 2/2526 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2526 ให้ กำ�หนดพื้นที่ดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติได้ ต่อมา อุทยานแห่งชาติภูเก้า (นายพิชา พิทยขจรวุฒิ) ได้ มีหนังสือ ที่ กษ 0713(ภก)/8 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2527 ขอผนวกพื้นที่เทือกเขาภูพานคำ� บริเวณด้านทิศตะวันตก เฉียงเหนือของเขื่อนอุบลรัตน์ ซึ่งมีสภาพป่าเต็งรังค่อนข้าง สมบูรณ์ และมีทิวทัศน์ที่สวยงามรอบอ่างเก็บน้ำ�เข้าเป็น อุทยานแห่งชาติด้วย เพื่อให้เกิดประโยชน์สมบูรณ์ในการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งได้มีการดำ�เนินการประกาศพื้นที่ดัง กล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยมีพระราชกฤษฎีกากำ�หนด บริเวณที่ดินป่าภูเก้า ในท้องที่ตำ�บลหัวนา ตำ�บลนามะเฟือง อำ�เภอเมือง ตำ�บลบ้านถิ่น ตำ�บลโคกม่วง ตำ�บลพัฒนานิคม ตำ�บลโนนเมือง ตำ�บลหนองเรือ อำ�เภอโนนสัง จังหวัด หนองบัวลำ�ภู และที่ดินป่าภูพาน ในท้องที่ตำ�บลกุดดู่ ตำ�บล โนนสัง ตำ�บลบ้านค้อ ตำ�บลหนองเรือ ตำ�บลโคกใหญ่ อำ�เภอ โนนสัง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู และป่าโคกสูง ป่าบ้านดง ใน ท้องที่ตำ�บลศรีสุขสำ�ราญ ตำ�บลนาคำ� ตำ�บลบ้านดง จังหวัด ขอนแก่น เป็นอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2528 ซึ่งประกาศไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 102 ตอนที่ 130 ลงวันที่ 20 กันยายน 2528 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 50 ของประเทศไทย


หน้ า 88

หน้ า 87

สถานที่ท่องเที่ยว ถ้ำ�น้ำ�ลอด สุสานหอยหิน รอยเท้าไดโนเสาร์ น้ำ�ตกตาดโตน น้ำ�ตกตาดหินแตก น้ำ�ตกตาดฟ้า เสาหินหามต่าง ผาหินมะลึกคึกคัก จุดชมทิวทัศน์หอสวรรค์ จุดชมทิวทัศน์ช่องเขาขาด อ่างเก็บน้ำ�เขื่อนอุบลรัตน์ แหลมสำ�ราญ ผาหินฝ่ามือแดง ผาหินเรขาคณิต พิพิธภัณฑ์แหล่งซากดึกดำ�บรรพ์ ถ้ำ�มึ้ม รอยเท้านายพราน ถ้ำ�สามตา


หน้ า 90

หน้ า 89 ขนาดพื้นที่ 198973.00 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ� หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 1 (วังมน) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 2 (นามะเฟือง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 3 (โนนตาล) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 4 (หนองแสง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 5 (ถ้ำ�กกดู่) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ ที่ ภก. 6 (ปางกู่) ด่านตรวจชั่วคราว (ตาดโตน) ด่านตรวจชั่วคราว (ตาดไฮ) จุดสกัดหัวนา จุดสกัดกุดดู่

เทือกเขาภูเก้าเป็นภูเขาหินทราย ซึ่งมีชั้นของ หินทรายอยู่ด้านบนระดับผิวดิน โดยมีชั้น ของหินดินดานปนหินทรายเป็นพื้นฐานด้าน ล่าง มีดินประเภท ดินลูกรัง และดินร่วนปน ทราย (Sandy Loam) กระจัดกระจายอยู่ ทั่วไป มีลักษณะเป็นเทือกเขาสองชั้น ชั้นนอก เป็นภูเขาสูงลาดชันมาก ขณะที่ไหล่เขาด้านใน ไม่ชันมากนัก ส่วนภูพานคำ�เป็นแนวทิวเขายาว ต่อเนื่องกัน ของเทือกเขาภูพาน เรียงตัวกัน ตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันตก เฉียงใต้ มีความลาดชันสูงในแนวทิศตะวันตก เฉียงเหนือ(ในเขตจังหวัดอุดรธานี) และลาด ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ที่มีความชันต่ำ� กว่า(ในเขตจังหวัดขอนแก่น) มีลักษณะคล้าย ช้อน บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็นอ่าง ที่ราบต่ำ�ลุ่มน้ำ�พอง ซึ่งกลายเป็นทะเลสาบหลัง สร้างเขื่อนอุบลรัตน์ และเป็นที่ตั้งของที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ�

ฤดูกาลของอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ� แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ระหว่างเดือน มีนาคม-เดือนพฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ยจะ ร้อนจัดในเดือนเมษายน ฤดูฝน ระหว่างเดือน มิถุนายน-เดือนตุลาคม ปริมาณน้ำ�ฝนจะตก มากช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ - อุณหภูมิ สูงสุด 41 องศาเซลเซียส (ช่วง เดือน มีนาคม – เมษายน ของทุกปี) - อุณหภูมิ ต่ำ�สุด 12 องศาเซลเซียส (ช่วง เดือน ธันวาคม – มกราคม ของทุกปี) - จำ�นวนปริมาณน้ำ�ฝน ประมาณปีละ 1,295.5 ลูกบาศก์มิลิเมตร ลักษณะภูมิอากาศที่ผิดปกติ สภาพการ แปรปรวนของดินฟ้าอากาศ ทำ�ให้เกิดผลก ระทบทั้งทางกายภาพและชีวภาพของอุทยาน แห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� แต่ไม่ปรากฏภัย ธรรมชาติร้ายแรง ยกเว้นพายุตอนต้นและ ตอนปลายฤดูฝน ทำ�ให้มีกระแสลมแรง กระแส คลื่นในทะเลสาบเหนือเขื่อนอุบลรัตน์มีความ สูงสันคลื่น ประมาณ 30 เซนติเมตร (เป็น อันตรายต่อเรือขนาดเล็ก) หากฝนตกหนัก ติดต่อกัน อาจมีน้ำ�ไหลบ่า การระบายน้ำ�ในบาง พื้นที่ช้า โดยเฉพาะบริเวณถนนถูกน้ำ�ชะ กัด เซาะ ไหล่บ่าไปตามถนน ทำ�ให้เส้นทางการเดิน ทางยากลำ�บากมากโดยเฉพาะเส้นทางลูกรังทั้ง ส่วนภูเก้า และส่วนภูพานคำ� อีกประการหนึ่ง คือ หินทรายขนาดใหญ่ พังถล่ม (ช่วงถนน ช่องเขาขาดหน้าที่ทำ�การฯ) ทำ�ให้เกิดการแตก ชำ�รุด อุดตัน ทางระบายน้ำ� ริมถนน


หน้ า 92

หน้ า 91

พันธุ์พืชในเขตอุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� สามารถจำ�แนก ประเภทสังคมพืชออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.) ป่าดงดิบแล้ง ( Dry Evergreen Forest ) ป่าประเภทนี้จัดเป็น ป่าประเภทที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดในเขตอุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพาน คำ� มีอยู่บริเวณริมฝั่งห้วยและริมฝั่งลำ�ธาร ไหล่เขา และ หุบเขา บางบริเวณ ที่ราบต่ำ�ระหว่างภูขอบด้านนอกและภูขอบด้านในทาง ทิศเหนือของส่วนภูเก้า ระหว่าง บริเวณเหนือหมู่บ้านวังมนและภู ขอบด้านใน บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่บ้านดงบากไปทาง วัดพระพุทธบาทภูเก้า ส่วนภูพานคำ� มีป่าดงดิบแล้งบริเวณต้นน้ำ� ลำ�ห้วยคุมมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของส่วนภูพานคำ� ป่า ประเภทดงดิบแล้งนี้มีเนื้อที่ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยาน แห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สำ�คัญ ได้แก่ : ตะแบก ตะเคียนหิน ยางนา มะค่าโมง กระบาก เขล็ง และ เถาวัลย์หลายชนิด 2.) ป่าเบญจพรรณ ( Mixed Deciduous Forest ) มีอยู่บริเวณที่แห้งแล้งกว่าป่าดงดิบแล้ง แต่ชุ่มชื้นกว่าป่าเต็งรัง ป่า เบญจพรรณที่มีปรากฏอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� คือ บริเวณที่ราบภายในวงเขาขอบใน ของส่วนภูเก้าและบริเวณที่ราบ ไหล่เขาช่องภูเมย และ ขอบภูด้านนอก โดยเฉพาะบริเวณทิศเหนือ ของภูขอบ บริเวณลาดไหล่เขาใกล้วัดพระพุทธบาทภูเก้า สำ�หรับส่วน ภูพานคำ� จะพบป่าเบญจพรรณนี้เป็นบริเวณหย่อมเล็กๆ บริเวณ ที่มีความลาดชันน้อยด้านจังหวัดขอนแก่น มีเนื้อที่ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� ประกอบด้วย พันธุ์ไม้สำ�คัญ ได้แก่ : แดง ประดู่ มะค่าโมง มะค่าแต้ กระบก ตะคร้อ ตีนนก ยอป่า งิ้วป่า และไม้พื้นป่าประกอบด้วย ไผ่ไร่ หญ้าคา เป็นต้น 3.) ป่าเต็งรัง(Dry Dipterocarpus Forest) ป่าประเภทนี้ ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ในพื้นที่ทั้งหมดของอุทยาน แห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� โดย มีเนื้อที่ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ เกิด ขึ้นโดยทั่วไปโดยเฉพาะในที่ลาดเขา ที่มีหินทรายโผล่พ้นผิวดินและใน ที่ราบซึ่งมีความชุ่มชื้นน้อย บริเวณที่พบว่าเป็นป่าเต็งรังเป็นบริเวณ กว้าง ได้แก่ พื้นที่ภูเขาของภูขอบด้านนอก และบริเวณสันเขาภูพาน คำ� ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สำ�คัญ ได้แก่ :เหียง พลวง พะยอม กระโดน กว้าว ส้มกบ มะกอก มะขามป้อม และไม้พื้นป่า ประกอบด้วย ปรงป่า หญ้าเพ็ก เป้ง ลาน เถาวัลย์หลายชนิด และพุ่มไม้หนามบางพันธุ์รวม ทั้ง ผักหวาน

สำ�หรับสัตว์ป่า ตามสภาพที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน มีพันธุ์สัตว์ที่หลง เหลืออาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ�น้อย มาก เนื่องจากสาเหตุที่สำ�คัญ 2 ประการคือ * การทำ�ลาย หรือ ล่าสัตว์ * การทำ�ลายถิ่น/แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ เท่าที่หลงเหลืออยู่ ปรากฏร่องรอยของสัตว์ และคำ�บอกเล่าว่าพันธุ์ สัตว์ที่เคยมีปรากฏอยู่ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� มี ดังนี้ 1.) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ประกอบด้วย : หมูป่า อีเห็นหลายชนิด ชะมด หลายชนิด กระรอก กระแตหลายชนิด หนูป่าหลายชนิด เก้งกระต่าย ป่า ตุ่น บ่าง ลิงลม 2.) นก ประกอบด้วย : ไก่ป่า นกยูง นกแก้ว นกแขกเต้า นกเขาหลาย ชนิด นกแซงแซวหลายชนิด นกตะขาบดง นกเค้าป่า นกเอี้ยงสาริกา นกหัวขวานหลายชนิด เหยี่ยวหลายชนิด นกเป็ดแด นกเป็ดคับแค นกยางเปีย 3.) สัตว์เลื้อยคลาน ประกอบด้วย : เต่าหก เต่าเหลือง กิ้งก่าหลาย ชนิด ตุ๊กแกหลายชนิด จิ้งเหลนหลายชนิด จิ้งจกหลายชนิด และงู หลายชนิดทั้งมีพิษและไม่มีพิษ 4.) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ� ประกอบด้วย : กบ เขียด ปาด คางคก อึ่ง อ่าง 5.) ปลา อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� มีพื้นที่ส่วนน้ำ�ทะเลสาบ เหนือเขื่อนอุบลรัตน์ ประมาณ 85 ตารางกิโลเมตร หรือ 53,125 ไร่ และตามลำ�ห้วยลำ�ธารทั้งส่วนภูเก้า - และส่วนภูพานคำ�ประกอบด้วย :พันธุ์ปลาที่เกิดขึ้นทั้งตามธรรมชาติและการเพาะเลี้ยง


หน้ า 93

หน้ า 94

จาก จังหวัดขอนแก่นไปตามทางหลวงหมายเลข 2 (ขอนแก่น - อุดรธานี) ถึง บ้านคำ�แก่นคูณเลี้ยวซ้ายไปเขื่อนอุบลรัตน์ตามแนวทางหลวงหมายเลข 2109 ถึง อ.อุบลรัตน์ แยกไปทางขวาตามทางหลวงหมายเลข 2146 ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่ง ชาติภูเก้า – ภูพานคำ� รวมระยะทาง 63 กิโลเมตร จาก จังหวัดหนองบัวลำ�ภูเลี้ยวซ้ายที่บ้านวังหมื่น ไปตามทางหลวงหมายเลข 2146 (หนองบัวลำ�ภู – อำ�เภออุบลรัตน์) แยกซ้ายที่บ้านโสกจาน ถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติภูเก้า – ภูพานคำ� รวมระยะทาง 57 กิโลเมตร


หน้ า 96

หน้ า 95

อุทยานแห่งชาต ภิ จู องนายอย

สถานที่ติดต่อ : ที่ทำ�การอุทยานฯ หมู่ 3 ต.นาจะหลวย อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี 34280 โทรศัพท์ : 0 4521 0706 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่หมายเลขนี้) อีเมล : phuchong2550@hotmail.com หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายจิณณะ สามศรี ตำ�แหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้อาวุโส ขนาดพื้นที่ : 428,750.00 ไร่

อัตราค่าบริการ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 400 บาท เด็ก 200 บาท

หมายเหตุ : เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้ว กรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ


หน้ า 97

หน้ า 98


หน้ า 99

หน้ า 100


หน้ า 102

หน้ า 101

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ -> ทางเดินป่า -> เที่ยวน้ำ�ตก -> เที่ยวถ้ำ�/ศึกษาสภาพธรณี -> ชม ประวัติศาสตร์/วัฒนธรรม -> ชมพรรณไม้

ร้านค้าสวัสดิการ (กาแฟ น้ำ�ดื่ม และขนม) เปิดให้บริการทุกวันเวลา 08.30 น.-16.30 น.

บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ AIS, TRUE, DTAC


หน้ า 103

หน้ า 104

ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.2 (พลาญสูง) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.3 (คำ�บาก) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.4 (จันลา) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.5 (มดง่าม) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.6 (แก้งเรือง) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.7 (พลาญเสือตอนบน) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.8 (ยอดลำ�โดมน้อย) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.9 (ถ้ำ�เสือ) หน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ภจ.10 (ภูต่าง)


หน้ า 105

อุทยานแห่งชาติภูจองนายอย มีเนื้อที่ ครอบคลุมบางส่วนของอำ�เภอบุณฑริก อำ�เภอนาจะหลวย และอำ�เภอน้ำ�ยืน จังหวัด อุบลราชธานี มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ ประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย พื้นที่ป่าอยู่ใน ส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรักพื้นที่ส่วน ใหญ่เป็นที่ราบ และเนินเขาซึ่งลาดไปทางทิศใต้ ประกอบด้วยภูเขาเล็ก ๆ สลับซับซ้อนมากมาย เช่น ภูจองนายอย ภูจองน้ำ�ซับ ภูจันทร์แดง ภู พลาญยาว มีความสูงเฉลี่ยประมาณ 300 – 600 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลสภาพป่าโดย ทั่วไปเป็น ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่า เต็งรัง มีพรรณไม้ขึ้นอยู่หนาแน่น ประมาณ 75 % ของพื้นที่ อุทยานแห่งชาติภูจองนายอยมี สภาพธรรมชาติที่งดงาม มีสภาพป่าสมบูรณ์ ในพื้นที่พบ “ ต้นจอง ” หรือต้นสำ�รองจำ�นวน มากอันเป็นที่มาของชื่ออุทยาน ฯ ส่วน “ นา ยอย ” มาจากคำ�ว่า น้ำ�ย้อย ที่แสดงถึงความ อุดมสมบูรณ์ของแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธาร มีน้ำ�ไหล ย้อยลงมาตามเพิงผาที่อยู่ใกล้น้ำ�ตก และมี ลำ�น้ำ�สายน้ำ�สำ�คัญต่าง ๆ เช่น ลำ�โดมน้อย ลำ�โดมใหญ่และห้วยหลวง เป็นต้น ภายใน อุทยานแห่งชาติภูจองนายอยนอกจากยังคง สภาพเป็นป่าทึบและมีสัตว์ป่าชุกชุมแล้ว ยังมี สภาพภูมิประเทศและแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ มากมาย

หน้ า 106

อุทยานแห่งชาติภูจองนายอยอยู่ในเขตภูมิ อากาศแบบ Tropical Savannah คือมีช่วง ความแตกต่างของฤดูฝนและฤดูแล้งอย่างเห็น ชัดเจน มีช่วงกลางวันยาวในภาคฤดูร้อน และ มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงตลอดปีประมาณ 35.9 C ปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,125.6 มม. ปริมาณ น้ำ�ฝนเฉลี่ยสูงสุดในเดือนสิงหาคม ประมาณ 322.6 มม. ความชื้นสัมพัทธ์โดยเฉลี่ยทั้งปี 72.9 %


หน้ า 107

หน้ า 108

สภาพป่าของอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย สามารถแบ่งออกเป็นป่า ชนิดต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยทางสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ลักษณะดินและลักษณะเด่นของพืชพรรณได้ ดังนี้ สังคมพืชประเภทผลัดใบ (Decidouous Forest) (1) ป่าเต็งรัง (Dry Diperocarp Forest) ลักษณะ ทั่วไปของป่าเป็นป่าโปร่ง ดินไม่ค่อยสมบูรณ์ หน้าดินตื้น ต้นไม้มีขนาด เล็ก ยกเว้นบางพื้นที่มีหน้าดินหนาและไม่ถูกรบกวนมากนัก ต้นไม้จึง จะมีขนาดใหญ่และขนาดกลางผสม พันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ เต็ง รัง พะยอม เหียง กราด (2) ป่าเบญจพรรณ (Mixed Decidouous Forest) หรือ เรียกป่าผสมผลัดใบ สังคมพืชประเภทไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ประกอบ ด้วย (1) ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) พันธุ์สัตว์ (Fauna) เนื่องจากสภาพป่าของอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย ยังมี ความอุดมสมบูรณ์อยู่มาก มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชา จึงเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าเป็นจำ�นวนมาก (1) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น เลียงผา กวางป่า เก้ง กระจงเล็กหมูป่า ชะมด หมีขอ หมาใน หมูหริ่ง กระต่ายป่า ชะนี กระทิง ฯลฯ (2) นก พบว่ามีจำ�นวนประมาณ 150 ชนิด ที่สำ�คัญ ได้แก่นกเป็ดก่า (3) สัตว์เลื้อยคลาน เช่น ตุ๊กแกบ้าน กิ้งก่า เต่าเหลือง แย้ขีด งูหลาม งูจงอาง งูเห่า ฯลฯ (4) สัตว์สะเทิ้นน้ำ�สะเทิ้นบก เช่น คางคกบ้าน เขียด หลังขีด กบนา เขียดตะปาด ฯลฯ

รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ได้ทั้งทางรถไฟ รถยนต์ สายเก่า-สายใหม่ เมื่อถึงจังหวัด อุบลราชธานีแล้ว เดินทางโดยรถยนต์ประจำ�ทาง จังหวัดอุบลราชธานี อำ�เภอ นาจะหลวย ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร ถ้าหากจะเดินทางโดยรถยนต์ส่วน ตัว แนะนำ�ให้ใช้เส้นทาง อุบลราชธานี-อำ�เภอวารินชำ�ราบ อำ�เภอเดชอุดม อำ�เภอ น้ำ�ยืน อำ�เภอนาจะหลวย ระยะทางรวม 140 กิโลเมตร ก่อนถึงอำ�เภอนาจะหลวย ประมาณ 10 กิโลเมตร จะถึงบ้านแก้งเรืองซึ่งมีทางแยกเข้าอุทยานแห่งชาติ


หน้ า 110

หน้ า 109

อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าเท บิ


หน้ า 111

หน้ า 112

สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขา สูงชันหลายเทือกเขาติดต่อกัน คือ ภูนางหงษ์ ภูถ้ำ�พระ ภูหลังเส ภูหินเทิบ ภูหมากยาง ภูโป่ง ภูมโน มียอดเขาภูจอมศรีเป็นยอดเขาที่สูงที่สุด คือ สูงประมาณ 420 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล มี สภาพเป็นภูเขาหินตลอดทั้งมีหินกว้างยาวและ หินทับซ้อนกันในรูปต่างๆ หน้าผาสูงชัน และ ดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย เป็นแหล่งกำ�เนิด ของแม่น้ำ�หลายสาย เช่น ห้วยตาเหลือก ห้วย สิง ห้วยสะพาย ห้วยเรือ ห้วยบอน ห้วยช้างชน ห้วยไค้ และห้วยมะเล เป็นต้น

อุทยานแห่งชาติมีสภาพภูมิอากาศแบ่งออก เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน - เดือนพฤศจิกายน ฤดูหนาว ระหว่างเดือน ธันวาคม - เดือนมกราคม ฤดูร้อน ระหว่าง เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนพฤษภาคม


หน้ า 114

หน้ า 113

สภาพป่าประกอบด้วย ป่าเต็งรังประมาณ ร้อยละ 60 ของพื้นที่ ไม้ เด่นในป่านี้ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พยอม กระบก เป็นต้น ร้อยละ 30 ของพื้นที่ เป็นป่าเบญจพรรณ ไม้เด่นในป่านี้ ได้แก่ แดง พะยูง ประดู่ มะค่าโมง และตะแบกเป็นต้น และอีกร้อยละ 10 ของพื้นที่ เป็นป่าดิบ แล้งไม้เด่นได้แก่ เขลง ตะเคียนหิน โมกขาว ติ้วขาว ติ้วขน และลำ�ดวน ดง เป็นต้น สัตว์ป่าที่พบเห็นโดยส่วนใหญ่เป็นสัตว์ขนาดเล็ก ได้แก่ หมูป่า กระต่าย กระรอก กระแต เก้ง หมาจิ้งจอก อีเห็น ลิง ไก่ป่า และ นกนานาชนิด

รถยนต์ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ ตั้ง อยู่บริเวณภูผาเทิบ อยู่ห่างจากอำ�เภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 17 กิโลเมตร โดย เดินทางไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 2034 สายมุกดาหาร-อำ�เภอดอนตาล ประมาณ 14 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง แล้วเลี้ยวขวาอีก 2 กิโลเมตร จะถึงอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ


หน้ า 116

หน้ า 115

อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าม่าน สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ต.นาหนองทุ่ม อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 40290 E-mail : Phu_phaman@hotmail.com โทรศัพท์ : 0 4300 1753 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่ หมายเลขนี้) หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายอุดรพัฒน์ จันทร์ธิมา ตำ�แหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้ชำ�นาญงาน อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการ ติดตัว ขณะท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ ร้านค้าสวัสดิการ ร้านค้าสวัสดิการ (กาแฟ น้ำ�ดื่ม ขนม) เปิดบริการทุกวันเวลา 08.00 น. - 16.30 น. สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE, DTAC

เรียกตามชื่อของภูเขาเทือกหนึ่งทางตอนใต้ของอุทยานแห่งชาติที่มีหน้าผาสูงชันคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มองดูเหมือนกับผ้าม่านผืนใหญ่ มี พื้นที่อยู่ในเขตของอำ�เภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และอำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย มีเนื้อที่ประมาณ 350 ตารางกิโลเมตร หรือ 218,750 ไร่ สำ�หรับพื้นที่ท่องเที่ยวในส่วนของอำ�เภอขอนแก่นนั้นมีจุดท่องเที่ยวหลายจุด นักท่องเที่ยวนิยมมาชมบรรยากาศในส่วนของพื้นที่ทำ�การอุ ทยานฯและลานกางเต้นท์ ที่สามารถชมวิวทิวเขาของภูผาม่าน รวมทั้งพื้นที่ในส่วนของร้านสวัสดิการที่มีการจัดทำ�ระเบียงชมวิวที่มองเห็น ผืนป่ากว้างไกลและวิวของภูเขาหินปูนของภูผาม่านอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีจุดท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง คือ น้ำ�ตกพลาญทอง และถ้ำ� ค้างคาวที่สามารถเดินทางไปท่องเที่ยวได้ ซึ่งในช่วงสถานการณ์โควิดทางอุทยานเปิดให้เที่ยวแบบไปเช้าเย็นกลับเท่านั้น ตั้งแต่เวลา 5.30 ถึง 17.00 น. สำ�หรับการเปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวสามารถเข้าไปอัพเดทได้ทางเพจของอุทยาน https://www.facebook.com/phuphaman72/ลานกางเต้นท์ในช่วงเช้าฤดุฝน หลังฝนตกใหม่ๆ มีโอกาสได้เห็นสายหมอกลอยคลอเคลียภูเขาด้วย


หน้ า 118

หน้ า 117 อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ตั้งอยู่ บริเวณพื้นที่ป่าดงลาน ท้องที่ ตำ�บลนาหนองทุ่ม อำ�เภอชุมแพ ตำ�บลห้วยม่วง ตำ�บลวังสวาบ ตำ�บลนาฝาย ตำ�บลภูผาม่าน อำ�เภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น และป่าภูเปือย ท้องที่ตำ�บลภูกระดึง ตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย เนื้อที่ประมาณ 350 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 218,750 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้ง ที่ 16 ํ 38’ 48 “ ถึง 16 ํ 50’ 56” เหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 101 ํ 42 ‘14” ถึง 102 ํ 1’ 20” ตะวัน ออก

เทิศเหนือ : จดตำ�บลวังกวาง อำ�เภอน้ำ�หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ ตำ�บลศรีฐาน ตำ�บลผานก เค้า ตำ�บลภูกระดึง อำ�เภอกระดึง จังหวัดเลย ทิศใต้ : จดตำ�บลนาหนองทุ่ม อำ�เภอชุมแพ ตำ�บลห้วยม่วง ตำ�บลนาฝาย ตำ�บลภูผาม่าน อำ�เภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น และตำ�บลทุ่ง พระ อำ�เภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ ทิศตะวันออก : จดตำ�บลภูหาน อำ�เภอสีชมพู และตำ�บลนาหนองทุ่ม อำ�เภอชุมแพ จังหวัด ขอนแก่น ทิศตะวันตก : จดแนวเขตอำ�เภอน้ำ�หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์

อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน เรียกตามชื่อของ ภูเขาเทือกหนึ่งทางตอนใต้ของอุทยานแห่งชาติ ที่มีหน้าผาสูงชันคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มองดู เหมือนกับผ้าม่านผืนใหญ่ อยู่ในท้องที่อำ�เภอ ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และอำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย มีเนื้อที่ประมาณ 350 ตาราง กิโลเมตร หรือ 218,750 ไร่ อุทยานแห่งชาติ ภูผาม่าน แต่เดิมเคยเป็นพื้นที่ที่สมบูรณ์ไป ด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนิด ปัจจุบัน ผลจากการทำ�สัมปทานป่าไม้ทำ�ให้พื้นป่าและ จำ�นวนสัตว์ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว กรมป่า ไม้จึงได้มีคำ�สั่งที่ 1473/2532 ลงวันที่ 27 กันยายน 2532 มอบหมายให้ นายพนม พงษ์สุวรรณ นักวิชาการป่าไม้ 4 ให้สำ�รวจ เพิ่มเติมและจัดตั้งพื้นที่ป่าดงลาน อำ�เภอ ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และป่าภูเปือย อำ�เภอ ภูกระดึง จังหวัดเลย และพื้นที่ป่าใกล้เคียงเป็น อุทยานแห่งชาติ จากการสำ�รวจพื้นที่พบว่า เป็นพื้นที่แหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารและมีจุดเด่นทาง ธรรมชาติหลายแห่ง โดยเฉพาะถ้ำ�และน้ำ�ตก

ทางราชการจึงมีประกาศกฤษฎีกา กำ�หนดให้รวมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติภูเปือย อำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย เข้ากับพื้นที่ป่าสงวนแห่ง ชาติดงลาน ท้องที่อำ�เภอชุมแพ กิ่งอำ�เภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ในปี พ.ศ.2534 โดยได้พระราช กฤษฏีกากำ�หนดบริเวณที่ดินป่าดงลานในท้องที่ตำ�บลนาหนองทุ่ม อำ�เภอชุมแพ และตำ�บลห้วยม่วง ตำ�บลวังสวาบ ตำ�บลนาฝาย ตำ�บล ภูผาม่าน กิ่งอำ�เภอภูผาม่าน อำ�เภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และป่าภูเปือยในท้องที่ตำ�บลภูกระดึง ตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอภูกระดึง จังหวัด เลย เนื้อที่โดยประมาณ 218,750 ไร่ หรือ 350 ตารางกิโลเมตร เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 215 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2534 จัดเป็นอุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 72 ของประเทศ

สถานที่ท่องเที่ยว ถ้ำ�พญานาคราช ถ้ำ�ลายแทง ถ้ำ�ภูตาหลอ ถ้ำ�เกล็ดแก้ว ถ้ำ�ผาพวง ถ้ำ�ค้างคาว น้ำ�ตกพลาญทอง น้ำ�ตกตาดฟ้า น้ำ�ตกตาดใหญ่ ถ้ำ�ปู่หลุบ


หน้ า 120

หน้ า 119

อุทยานแห่งชาติภูผาม่านมีสภาพภูมิประเทศ ส่วนใหญ่ เป็นเทือกเขาหินปูนที่มีความสูงชัน สลับซับซ้อนกันเป็นแนวยาวสลับกับที่ราบลุ่ม เชิงเขาสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 200 - 1,000 เมตร เป็นแนวเทือกเขาทอดยาว จากอุทยานแห่งชาติน้ำ�หนาวเปรียบเสมือน ปราการธรรมชาติกั้นแดนระหว่างอำ�เภอ ภูกระดึง จังหวัดเลย และอำ�เภอผาม่าน อำ�เภอ ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โดยมี “ภูฮี” เป็นยอด เขาที่สูงที่สุดในพื้นที่โดยมีความสูงจากระดับ น้ำ�ทะเลปานกลางประมาณ 1,000 เมตร ด้าน ทิศเหนือมีลำ�ห้วยที่สำ�คัญหลายสายไหลลง สู่ลำ�น้ำ�พองทางทิศเหนือ และไหลลงสู่ลำ�น้ำ� เชิญทางด้านทิศใต้ บริเวณท้องที่ป่าสงวนแห่ง ชาติป่าภูเปือย ท้องที่อำ�เภอภูกระดึง จังหวัด เลย มีสภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูงชัน และติดต่อกัน เป็นเทือกเขายาวบางแห่งเป็นที่ราบกว้างและมี น้ำ�ซึมตลอดปี บริเวณท้องที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงลาน ท้อง ที่อำ�เภอชุมแพ และอำ�เภอภูผาม่าน จังหวัด ขอนแก่น พื้นที่ส่วนมากเป็นภูเขาหินปูน และ ภูเขาขนาดเล็กติดต่อกันหลายเทือก และมีบริเวณบางแห่งเป็นที่ราบ

ขนาดพื้นที่ 218750.00 ไร่

หน่วยงานในพื้นที่ หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ภม.1 (ถ้ำ�ผาพวง) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ภม.2 (นายางใต้)

หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ภม.3 (ซำ�ภูทอง) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ภม.4 (เขาวง) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ภม.5 (ซำ�ผักหนาม)


หน้ า 121

สภาพภูมิอากาศ ของอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน แบ่งออกเป็น 3 ฤดูกาล ได้แก่ 1)ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลมาจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดมาจากมหาสมุทร อินเดีย และพายุดีเปรสชั่นจากทะเลจีนใต้ นำ�พาเอาความชุ่มฉ่ำ�ของฝนมาสู่พื้นที่ 2)ฤดูหนาว จะเริ่มจากเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลม มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดมาจาก ประเทศจีน นำ�พาเอาความหนาวเย็น และ แห้ง แล้ง มาสู่พื้นที่ 3)ฤดูร้อน จะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคมโดยได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวัน ออกเฉียงใต้ ซึ่งลมนี้จะพัดเอาลมเข้ามาสู่พื้นที่ ในฤดูร้อน - ปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ยต่อปี 100.722 มิลลิเมตร - อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี 27.5 องศาเซลเซียส - ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่อปี 71.8 เปอร์เซ็นต์ - ความยาวของแสงเฉลี่ยต่อปี 7.6 ชั่วโมงต่อ วัน - แรงลมเฉลี่ยต่อปี 4.0 น็อต

หน้ า 122


หน้ า 124

หน้ า 123

พืชพรรณประกอบด้วย ชนิดพันธุ์พืชพรรณตามประเภทของ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และสวนป่า มีพันธุ์ไม้ที่สำ�คัญ ได้แก่ ประดู่ แดง ตะแบก มะค่าโมง เต็ง รัง เหียง พลวง ยาง สัก ไผ่ ชนิดต่าง ๆ และพรรณไม้พื้นล่างที่สำ�คัญได้แก่ ต้นลาน หวาย พืช สมุนไพร และกล้วยไม้ต่างๆ ส่วนสัตว์ป่าที่พบได้แก่ เลียงผา เก้ง หมูป่า ลิง กระต่ายป่า นิ่ม ตะกวด และอื่นๆ ประมาณ 60 ชนิด นก ชนิดต่าง ๆประมาณ 50 ชนิด แมลงและผีเสื้อชนิดต่างๆ กว่า 200 ชนิด

อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ตั้งอยู่ระหว่างทางหลวง หมายเลข 12 และหมายเลข 201 หรือระว่างเส้น รุ้งที่ 16 ํ 38’ 48” ถึง 16 ํ50 ‘ 56” เหนือ และ ระหว่างเส้นแวงที่ 101 ํ 42’ 14 ถึง 102 ํ 1’ 20” ตะวันออก ที่ทำ�การอุทยานฯ ใช้เส้นทางหมายเลข 201 บริเวณหลัก กม. ที่ 112-113 ห่างจากตัว เมืองจังหวัดขอนแก่นประมาณ 117 กิโลเมตร สามารถเดินทางได้ 2 เส้นทางคือ เส้นทางที่ 1 จากกรุงเทพฯ โดยรถยนต์หรือ รถยนต์โดยสารประจำ�ทางและรถยนต์โดยสาร ประจำ�ทางปรับอากาศสาย กรุงเทพฯ-เลย ตาม ทางหลวงหมายเลข 201 บริเวณหลัก กม.ที่ 112113 เลี้ยวซ้ายเข้าตามทางลาดยางประมาณ 5 กิโลเมตร ถึงทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน เส้นทางที่ 2 จากจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยรถยนต์ หรือ รถยนต์โดยสารประจำ�ทาง และรถโดยสาร ประจำ�ทางปรับอากาศสายเพชรบูรณ์- ขอนแก่น ตามทางหลวงหมายเลข 12 และเดินทางตาม ทางหลวงหมายเลข 201 ถึงหลัก กม. ที่ 112113 เลี้ยวซ้ายไปตามทางลาดยางประมาณ 5 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน


หน้ า 126

หน้ า 125

อุทยานแห่งชาต ภิ ผู ายล เดิมเรียกว่าอุทยานแห่งชาติห้วยหวด มีเนื้อที่ประมาณ 517,850 ไร่ หรือ 828.56 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำ�เภอเมือง อำ�เภอโคกศรีสุพรรณ อำ�เภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร อำ�เภอนาแก จังหวัดนครพนม และอำ�เภอ ดงหลวง อำ�เภอคำ�ชะอี จังหวัดมุกดาหาร เป็น 1 ใน 5 ของโครงการจัดตั้ง อุทยานแห่งชาติเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 นับเป็น อุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 57 ของประเทศ สภาพภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบสูงสลับกับเทือกเขาหินทราย มีความสูง ประมาณ 300-600 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล บริเวณเทือกเขามีที่ราบหลังเต่า ยาวประมาณ 10 กิโลเมตร รายล้อมด้วยภูเขาสูงชัน และเป็นต้นน้ำ�ลำ�ธาร สำ�คัญของแม่น้ำ�หลายสายที่ไหลลงสู่แม่น้ำ�พุง ห้วยบางทราย ห้วยหวด ห้วย เลา และอ่างเก็บน้ำ�ต่างๆ ที่มีมากถึง 19 แห่ง ทั้งอ่างเก็บน้ำ�ห้วยหวด อ่างเก็บ น้ำ�ตาน้อย เป็นต้น สำ�หรับคนชอบเดินป่า ชมพรรณไม้งาม และชอบส่องสัตว์ป่า ภายในพื้นที่ของ อุทยานฯ ภูผายล คุณจะพบกับสภาพป่าหลากหลาย ทั้งป่าเบญจพรรณ ป่า เต็งรัง และป่าดิบแล้ง มีพันธุ์ไม้สำ�คัญหายาก และสำ�หรับสัตว์ป่าหากโชคดีคุณ จะได้พบเห็น เก้ง กวางป่า หมูป่า หมาไน และนกชนิดต่างๆ ได้ไม่ยาก


หน้ า 128

หน้ า 127 อุทยานฯ ภูผายล ไม่ได้มีเพียง ธรรมชาติสวยงามให้คุณได้เลือก ชมเท่านั้น ที่นี่ยังมีน้ำ�ตก ถ้ำ� หน้าผา ลานหิน อ่างเก็บน้ำ� และ จุดเด่นที่สุดของอุทยานฯ ที่คุณ ไม่ควรพลาดชมเลยนั่นก็คือ ภูผา ยล หรือผาลาย ที่ตั้งอยู่ห่างจาก ที่ทำ�การอุทยานฯ ภูผายลประมาณ 35 กิโลเมตร ไปตามทางหลวง หมายเลข 2339 (เต่างอย-ศรีวิชา) ประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีทาง เลี้ยวซ้ายเข้าถนนบ้านม่วงคำ� ขับ ไปจนถึงบ้านนาผางจะมีป้ายบอก ทางไปภูผายล ก่อนจะขึ้นไปชมภาพเขียน สลักหินประวัติศาสตร์ คุณ ต้องเดินขึ้นบันไดประมาณ 287 ขั้น บนยอดภูนอกจาก สามารถชมทิวทัศน์ได้ สวยงามมากแล้ว บน ผนังผายังมีศิลปะหินและ เป็นเอกลักษณ์ทางศิลป วัฒนธรรมของคนโบราณ นักโบราณคดีคำ�นวณอายุ ศิลปกรรมภาพแกะสลักลาย เส้นบนผาหินเป็นรูปคน กวาง วัว ควาย ลายเรขาคณิต และฝ่ามือว่ามีอายุไม่ต่ำ�กว่า 3,000 ปีเลยทีเดียว

จุดเด่นอีกอย่างของอุทยานฯ ภูผายล คือมีเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะ ทางประมาณ 2 กิโลเมตรที่สวยงาม มาก โดยจุดเริ่มต้นเดินเท้าอยู่ที่อ่างเก็บ น้ำ�ห้วยหวด ห่างจากที่ทำ�การอุทยานฯ ประมาณ 700 เมตร เพียงเดินเท้าเข้า มาประมาณ 150 เมตร จะมีทางตัดลง เขามายังน้ำ�ตกรากไทรย้อย เป็นน้ำ�ตก ชั้นเดียวสูงประมาณ 5 เมตร โดดเด่น ด้วยมีรากไทรมากมายไหลย้อยลงมา ตลอดหน้าผา จนเป็นที่มาของชื่อน้ำ�ตก รากไทรย้อย เดินต่อมาอีกประมาณ 100 เมตร จะถึง ลานดอกไม้ป่าที่ขึ้นอยู่บนลานหิน มีทั้ง ดุสิตา กระดุมเงิน กระดุมทอง สร้อย สุวรรณนา ฯลฯ จะบานเต็มที่ในช่วงต้น ฤดูหนาว ถัดเข้ามาอีกประมาณ 400 เมตร จะถึงน้ำ�ตกผาผึ้ง บนน้ำ�ตกผา ผึ้งสามารถชมวิวอ่างเก็บน้ำ�ห้วยหวด ได้สวยงาม เดินต่อไปอีก 400 เมตร จะถึงน้ำ�ตกคำ�น้ำ�สร้าง เป็นน้ำ�ตกที่สูง ที่สุดของอุทยานฯ สูงประมาณ 25 เมตร หากคุณต้องการชมสายน้ำ�ที่ไหล ผ่านหน้าผาหินลงสู่อ่างเก็บน้ำ� ด้านล่าง ของน้ำ�ตกผาผึ้งและน้ำ�ตกคำ�น้ำ�สร้าง คุณต้องอาศัยการพายเรือแคนูมา เที่ยวชมเท่านั้น เป็นกิจกรรมที่ไม่เหมือน ที่ไหนเลย ยามเย็นคุณต้องไม่พลาดเฝ้า รอชมความงามยามพระอาทิตย์อัสดง ที่จุดชมวิวหน้าผาหินริมอ่างเก็บน้ำ� ห้วยหวด ใกล้กับปากทางเข้าเส้นทาง เดินศึกษาธรรมชาติ รับรองว่าความ งามนั้นจะทำ�ให้คุณประทับใจไปอีกนาน แน่นอน


หน้ า 129

หน้ า 130

ที่ตั้ง : บ้านห้วยหวด ตำ�บลจันทร์เพ็ญ อำ�เภอเต่างอย ห่างจาก ตัวเมืองจังหวัดสกลนคร ประมาณ 35 กิโลเมตร การเดินทาง : จากตัวเมืองจังหวัดสกลนคร ขับรถไปตาม ทางหลวงสายสกลนคร-ธาตุพนม ก่อนถึงจังหวัดนครพนม ประมาณ 14 กิโลเมตร จะมีทางเลี้ยวขวาไปตามถนนลูกรังอีก ประมาณ 12 กิโลเมตร จนถึงอำ�เภอเต่างอย ขับรถต่อไปอีก 6 กิโลเมตร จะถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผายล ช่วงเวลาท่องเที่ยว : ตลอดปี ฤดูหนาวสวยที่สุด สิ่งอำ�นวยความสะดวก : ที่อุทยานฯ ภูผายลมีบ้านพักไม้เดี่ยว แยกหลัง 3 หลัง โดดเด่นที่บ้านหลังใหญ่ ออกแบบให้เป็นบ้าน เรือลอยอยู่กลางบึงน้ำ�สวยงาม มีสถานที่กางเต็นท์ในพื้นที่ใกล้ เคียงกับบ้านพัก คุณยังสามารถติดต่อขอเช่าเรือแคนู และคัน เบ็ดพายเรือมานั่งตกปลาในอ่างเก็บน้ำ�ห้วยหวดได้ด้วย ในส่วน ของอาหารการกิน ที่อุทยานฯ ยังไม่มีร้านอาหารเปิดบริการ ทางที่ดีควรซื้ออาหารเครื่องดื่มขนมคบเคี้ยวเตรียมเข้ามาให้ เพียบพร้อมก่อนมาค้างแรมที่อุทยานฯ


หน้ า 132

หน้ า 131

อุทยานแห่งชาต ภิ ผู ายา

สถานที่ติดต่อ : หมู่ที่ 11 ตำ�บลกุดจับ อำ�เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 41250 E-mail : Phupaya.nationalpark@gmail.com โทรศัพท์ : 098 102 3231 หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายกิตติชัย คะอังกุ ตำ�แหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้ชำ�นาญงาน อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ --ยังไม่เสียค่าบริการ-ร้านค้าสวัสดิการ ไม่มีร้านค้า ร้านอาหาร นักท่องเที่ยวควรจัดเตรียมไป สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE, DTAC

แหล่งโบราณคดีภูผายา ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของบ้านนาเจริญ ตำ�บลดงมะไฟ อำ�เภอสุวรรณคูหา จังหวัด หนองบัวลำ�ภู บริเวณวัดภูผายาธรรมสถิต เป็นถ้ำ�ที่ปรากฏภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ 2 ส่วน คือ ส่วนด้านล่าง พบกลุ่มภาพเขียนสีแดงเป็นลวดหลายเลขาคณิต ปรากฏเป็นภาพสัตว์ ภาพฝ่ามือ ส่วนด้านบนพบภาพเขียนสีแดงเป็น รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ภาพมนุษย์ ภาพสัตว์เลื่อยคลาน และภาพโครงสัตว์ขนาดใหญ่ มีอายุราว 2,000-3,000 ปี ซึ่งอายุใกล้เคียงกับภาพเขียนที่พบในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทบัวบก อำ�เภอบ้านผือ และวนอุทยานภูหินจอมธาตุ อำ�เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี


หน้ า 134

หน้ า 133

1สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 10 (อุดรธานี) ได้รับรายงาน จากหัวหน้าโครงการพัฒนาป่า เก่ากลอยนากลาง (2) จังหวัด หนองบัวลำ�ภู เสนอความเห็นร่วม กับหน่วยงานของกรมป่าไม้ใน พื้นที่ ว่ามีการตรวจยึดไม้สักในป่า สงวนแห่งชาติป่าเก่ากลอยและป่า นากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เห็น สมควรมีมาตรการในการคุ้มครอง พื้นที่ โดยการกำ�หนดพื้นที่ให้เป็น เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วนอุทยาน หรือ อุทยานแห่งชาติตามความเหมาะ สมต่อไป ต่อมาสำ�นักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ได้มีคำ�สั่งสำ�นัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ที่ 214/2554 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เรื่อง ให้ข้าราชการออกสำ�รวจ พื้นที่เพื่อกำ�หนดให้เป็นอุทยานแห่ง ชาติ โดยหมอบหมายให้ นายชัยวัตต์ หัสกรรจ์ นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ หัวหน้าวนอุทยานภูหินจอมธาตุ จังหวัด อุดรธานี (ขณะนั้น) ออกไปดำ�เนินการ สำ�รวจในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่า กลอย-นากลาง และพื้นที่บริเวณใกล้ เคียง เพื่อเสนอกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช ในการกำ�หนดเป็น เขตอุทยานแห่งชาติ ตามระเบียบต่อไป นายชัยวัตต์ หัสกรรจ์ หัวหน้าวนอุทยาน ภูหินจอมธาตุ จึงได้จัดทำ�รายงานการ สำ�รวจพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่า กลอยและป่านากลาง และพื้นที่บริเวณ ใกล้เคียง

เพื่อเสนอกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธ์พืช ในการกำ�หนดเป็น เขตอุทยานแห่ง ชาติ ตามระเบียบต่อไป นายชัยวัตต์ หัสกรร จ์ หัวหน้าวนอุทยานภูหินจอมธาตุ จึงได้จัด ทำ�รายงานการสำ�รวจพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเก่ากลอยและป่านากลาง และพื้นที่บริเวณ ใกล้เคียง ประกอบด้วย ป่าสงวนแห่งชาติป่า เขือน้ำ� จังหวัดอุดรธานี ป่าสงวนแห่งชาติ ป่ากุดจับ จังหวัดอุดรธานี และป่าสงวนแห่ง ชาติ ป่าโคกผาดำ� ป่าโคกหนองข่า และป่าภู บอบิด จังหวัดเลย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีแนว เขต ใกล้เคียงกัน และเป็นพื้นที่แหล่งต้นน้ำ� ลำ�ธารมีทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และความ หลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมีแหล่งท่อง เที่ยวทางธรรมชาติที่โดดเด่นสวยงามหลาย แห่ง เหมาะสำ�หรับการจัดตั้งเป็นเขตอุทยาน แห่งชาติอย่างยิ่ง ซึ่ง1.2 สำ�นักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ได้รายงานข้อมูล เบื้องต้นดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า และพันธุ์พืช ทราบ ตามหนังสือสำ�นัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ที่ ทส 0920.6/5685 ลงวันที่ 28 กันยายน 255

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ แจ้งกรมป่าไม้เพื่อโปรดพิจารณาให้ความเห็น ชอบในการกำ�หนดพื้นที่เป็นอุทยานแห่งชาติ และโปรดใช้อำ�นาจตามมาตรา 19 แห่งพระราช บัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 สั่งเป็น หนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สามารถเข้า ควบคุม ดูแล รักษา หรือบำ�รุงป่าสงวนแห่ง ชาติในระหว่างการจัดตั้งพื้นที่ดังกล่าวเป็น อุทยานแห่งชาติตามกฎหมายต่อไป ตาม หนังสือกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช ที่ ทส 0910.502/8361 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 กรมป่าไม้ ได้ให้ความเห็นชอบในการใช้อำ�นาจ ตามมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติ ป่าสงวน แห่งชาติ พ.ศ. 2507 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ดำ�เนินการกำ�หนดเขตพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขือน้ำ� อำ�เภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เนื้อที่ 21,600 ไร่ ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ อำ�เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี เนื้อที่ 17,300 ไร่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่ากลอย-นากลาง อำ�เภอนากลาง อำ�เภอนาวัง และอำ�เภอ สุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เนื้อที่ 91,000 ไร่ และป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกผาดำ� ป่าโคกหนองข่าและป่าภูบ่อบิด อำ�เภอนาด้วง จังหวัดเลย เนื้อที่ 46,800 ไร่ รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 176,700 ไร่ ให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติ โดยขอ ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กันเขตพื้นที่ที่กรมป่าไม้อนุญาต ให้ภาครัฐ และเอกชนเข้าทำ�ประโยชน์พื้นที่ป่าสงวนแห่ง ชาติออกก่อนที่จะกำ�หนดเป็นเขตอุทยานแห่ง ชาติ โดยประสานกับกรมทรัพยากรธรณีซึ่ง ได้มีการออกอาชญาบัตรสำ�รวจแร่ อาชญา บัตรพิเศษสำ�รวจแร่อยู่ก่อนแล้ว และกรมเชื้อ เพลิงธรรมชาติเกี่ยวกับสัมปทานปิโตรเลียม ทั้งนี้ไม่ให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหาร จัดการอุทยานแห่งชาติในภายภาคหน้าต่อไป ตามหนังสือกรมป่าไม้ ที่ ทส 1610.2/5224 ลง วันที่ 28 มีนาคม 2556


หน้ า 135

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มีคำ�สั่งให้ข้าราชการสังกัดสำ�นักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธานี) ไปดำ�เนินการ สำ�รวจพื้นที่เพื่อประกาศจัดตั้งอุทยานแห่ง ชาติภูผายา จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำ�ภู และจังหวัดอุดรธานี และควบคุมพื้นที่มิให้มี การบุกรุก แผ้วถาง และทำ�ลาย ตามคำ�สั่ง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 333/2559 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 2.4 นายธงชัย นาราษฎร์ นักวิชาการ ป่าไม้ปฏิบัติการ สังกัดส่วนอุทยานแห่งชาติ สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๐ (อุดรธานี) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่วนอุทยานภูหิน จอมธาตุ ได้ไปดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่ เพื่อ จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติภูผายา จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำ�ภู และจังหวัดอุดรธานี และ ควบคุมพื้นที่ มิให้มีการบุกรุก แผ้วถาง และ ทำ�ลาย ประสานงานร่วมกับเจ้าหน้าที่กรมป่า ไม้ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมดำ�เนิน การสำ�รวจพื้นที่ ที่พิจารณาแล้วเห็นว่ามี ความเหมาะสมที่จะกำ�หนดเป็นเขตอุทยานแห่ง ชาติ หรือผนวกเข้าเป็นอุทยานแห่งชาติ พร้อม ทั้งจัดทำ�แผนที่ 1 : 50,000 และจัดทำ�ข้อมูล การสำ�รวจเบื้องต้นเป็นรูปเล่ม พร้อมแผ่น บันทึกข้อมูล รายงานผลให้กรมอุทยานแห่ง ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ผ่านสำ�นักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๐ (อุดรธานี) เพื่อโปรด พิจารณาต่อไป

หน้ า 136

พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขือน้ำ� จังหวัด อุดรธานี กำ�หนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ โดย กฎกระทรวงฉบับที่ 745 (พ.ศ. 2518) เพื่อ รักษาสภาพป่า ของป่า และทรัพยากรธรรม ชาติอื่นๆ ไว้จากผลการจำ�แนกเขตการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ตาม มติคณะรัฐมนตรี (Zoning) มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 321,975 ไร่ เป็นพื้นที่ป่า เพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) เนื้อที่ 289,875 ไร่ และพื้นที่ป่าเพื่อการ อนุรักษ์ (โซน C) เนื้อที่ 31,200 ไร่ สำ�หรับ พื้นที่โซน E ได้ส่งมอบให้ ส.ป.ก. ทั้งผืน จึงคง เหลือพื้นที่ โซน C เนื้อที่ 31,200 ไร่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ จังหวัด อุดรธานี กำ�หนดให้เป็นเขตป่าสงวนแห่ง ชาติ โดยกระทรวงฉบับที่ 199 (พ.ศ.2510) เพื่อรักษาสภาพป่า ของป่าและทรัพยากร ธรรมชาติอื่นๆ ไว้จากการจำ�แนกเขตการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรที่ดิน และป่าไม้ ตาม มติคณะรัฐมนตรี (Zoning) มีพื้นที่รวมทั้ง สิ้น 121,500 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าเพื่อเกษตรกรรม (โซน A) เนื้อที่ 83,850 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าเพื่อ เศรษฐกิจ (โซน E) เนื้อที่ 18,400 ไร่ และพื้นที่ ป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) เนื้อที่ 19,250 ไร่ สำ�หรับพื้นที่โซน A และโซน E ได้ส่งมอบ ให้ ส.ป.ก.ทั้งผืน จึงคงเหลือพื้นที่โซน C เนื้อที่ 19,250 ไร่

พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่ากลอย-นากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู กำ�หนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติโดยมีกฎกระทรวงฉบับที่ 942 (พ.ศ.2524) เพื่อรักษา สภาพป่าไม้ ของป่า และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ไว้จากผลการจำ�แนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ตามมติคณะรัฐมนตรี (Zoning) มี พื้นที่รวมทั้งสิ้น 846,075 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าเพื่อเกษตรกรรม (โซน A) เนื้อที่ 146,300 ไร่ พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) เนื้อที่ 561,725 ไร่ และพื้นที่ป่าเพื่อการ อนุรักษ์(โซน C) เนื้อที่ 138,050 ไร่ ต่อมารัฐบาลมีนโยบาย ส่งมอบพื้นที่ป่า โซน E และ โซน A ให้ ส.ป.ก. นำ�ไปปฏิรูปที่ดินทั้งผืน จึงคงเหลือเฉพาะพื้นที่โซน C รวมเนื้อที่ 138,050 ไร่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกผาดำ� ป่าโคกหนองข่า และป่าภูบอบิด จังหวัดเลย กำ�หนดให้เป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 353(พ.ศ.2511) เพื่อรักษาสภาพป่าไม้ ของป่าและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ไว้จากผลการจำ�แนกเขตการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ตามมติคณะรัฐมนตรี (Zoning) มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 414,700 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) เนื้อที่ 267,175 ไร่ และพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) เนื้อที่ 147,525 ไร่ สำ�หรับพื้นที่ป่าโซน E ได้ส่งมอบให้ ส.ป.ก.ทั้งผืน จึงคงเหลือพื้นที่โซน C เนื้อที่ 147,525 ไร่


หน้ า 137

หน้ า 138

จุดที่ตั้งของพื้นที่และขอบเขตการสำ�รวจ เนื้อที่ประมาณ 147,000 ไร่ (ปรับปรุง ปี 2560) จำ�แนกพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ ดังนี้ 1) บริเวณภูพระบาทบัวบก เนื้อที่ประมาณ 7,445 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 7,137 ไร่) 2) บริเวณภูพระบาทบัวบาน เนื้อที่ประมาณ 19,895 ไร่ (เดิมสำ�รวจปี 2554 เนื้อที่ 14,111 ไร่) 3) บริเวณภูผาแดง เนื้อที่ประมาณ 13,106 ไร่ (เดิมเนื้อที่ประมาณ 11,750 ไร่) 4) บริเวณภูหินจอมธาตุ ภูพานน้อย เนื้อที่ ประมาณ 36,470 ไร่ (เดิมเนื้อที่ประมาณ 25,284 ไร่) 5) บริเวณภูผากูบ (ถ้ำ�สุวรรณคูหา) เนื้อที่ ประมาณ 1,365 ไร่ (เดิมเนื้อที่ประมาณ 1,561 ไร่ 6) บริเวณภูผายา เนื้อที่ประมาณ 4,950 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 6,453 ไร่) 7) บริเวณภูผาเวียง ภูแปลก และภูซางใหญ่ (โครงการพัฒนาป่าเก่ากลอย-ป่านากลาง 1, 2, 3) เนื้อที่ประมาณ 52,910 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 101,968 ไร่) 8) บริเวณภูรัง ภูข้าว (ถ้ำ�เอราวัณ) เนื้อที่ ประมาณ 10,859 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 10,887 ไร่) รวมเป็นเนื้อที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 147,000 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 176,700 ไร่) จำ�แนกพื้นที่ตามขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ ดังนี้ 1) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่ากลอย-นากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เนื้อที่ 84,234 ไร่ 2) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขือน้ำ� จังหวัด อุดรธานี เนื้อที่ 28,664 ไร่ 3) ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ จังหวัด อุดรธานี เนื้อที่ 18,382 ไร่ 4) ป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกผาดำ� ป่าโคก หนองข่าและป่าภูบอบิด จังหวัดเลย เนื้อที่ 8,961 ไร่ 5) ป่าสงวนแห่งชาติป่านายูงและป่าน้ำ�โสม จังหวัดอุดรธานี เนื้อที่ 3,531 ไร่ 6) นอกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เนื้อที่ 3,228 ไร่ รวมเป็นเนื้อที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 147,000 ไร่ (เดิมเนื้อที่ 176,700 ไร่)


หน้ า 140

หน้ า 139

สถานที่ท่องเที่ยว ถ้ำ�เอราวัณ ถ้ำ�ผาเวียง รอยพระบาท ภูแปลก หินจอมธาตุ จุดชมทิวทัศน์ผาแดง น้ำ�ตกตาดน้อย ขนาดพื้นที่ 147193.82 ไร่

บริเวณพื้นที่สำ�รวจ มีลักษณะภูมิประเทศเป็น ภูเขาและเนินเขาสลับซับซ้อน เป็นบริเวณกว้าง มีความลาดชันค่อนข้างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณพื้นที่ที่มีภูเขาตั้งอยู่เพียงลูกเดียว ได้แก่ ภูผากูก ภูผายา ภูผาเวียง และภูรัง เป็นต้น มี ความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง บริเวณ ภูแปลก 607 เมตร ภูรัง (ถ้ำ�เอราวัณ) 455 เมตร ภูซาง 569 เมตร ภูผาแดง 524 เมตร และมีค่าความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 205 – 607 เมตร สำ�หรับบริเวณ เนินเขามีความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง 200 – 400 เมตร ส่วนใหญ่ดินเป็นดินร่วน ปนทราย และดินลูกรัง สลับกับหินทรายโผล่ กระจัดกระจายทั่วพื้นที่ ชนิดหินเป็นหินทราย ได้แก่ บริเวณภูพระบาทบัวบาน ภูผาแดง และ ภูหินจอมธาตุ เป็นต้น และสำ�หรับบริเวณเนิน เขามีความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง 400 เมตร ขึ้นไป ส่วนใหญ่ดินเป็นดินร่วนปนทราย สลับกับหินปูนโผล่กระจัดกระจายทั่วพื้นที่ ชนิดหินเป็นภูเขาหินปูน ได้แก่ ภูผากูก (ถ้ำ� สุวรรณคูหา) ภูผายา ภูผาเวียง และภูรัง (ถ้ำ� เอราวัณ)


หน้ า 141

ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไป ค่อนข้างร้อน อุณหภูมิต่ำ�สุดระหว่าง 15-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดระหว่าง 25-32 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 25 องศา เซลเซียส มีปริมาณน้ำ�ฝนโดยเฉลี่ย 1,650 มิลลิเมตรต่อปี มีฤดูกาล 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน พฤศจิกายนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม-เมษายน

หน้ า 142


หน้ า 144

หน้ า 143

ชนิดของสัตว์ป่า จากการสำ�รวจและสอบถามชาวบ้านรอบเขตป่า พบว่ายังมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ป่าขนาดเล็ก เนื่องจากสภาพป่าส่วนใหญ่เป็นป่าตังรัง ซึ่งเป็นป่าที่มีความหลาก หลายของชนิดพันธุ์พืชค่อนข้างน้อย สภาพป่าโปร่งอยู่ใกล้ชุมชน ซึ่ง อาจเหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของสัตว์ป่าเพียงบางชนิดเท่านั้น 1 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สำ�รวจโดยวิธีการสอบถามข้อมูลจากราษฎร ในพื้นที่ ที่พบกว่า 20 ชนิดเช่น หมูป่า , หมาจิ้งจอกทอง , อีเห็นข้าง ลาย, อีเห็นธรรมดา ,พังพอนธรรมดา , ลิงแสม , เก้ง, กระจงเล็ก , กระรอกหลากสี ,พญากระรอกดำ� , อ้นเล็ก , ตัวนิ่ม, ลิ่น และ เม่น ใหญ่แผงคอยาว เป็นต้น 2 สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก สำ�รวจโดยวิธีการสอบถามข้อมูลจาก ราษฎรในพื้นที่ ที่พบกว่า 10 ชนิด เช่น กบนา, กบหนอง ,กบหงอน , อึ่งปากขวด , อึ่งอ่างบ้าน ,อึ่งลาย, อึ่งแว่น, อึ่งแดง , คางคกบ้าน ,เขียดจะนา , เขียดทราย, เขียดอีแว๊ด และ ปาดบ้าน เป็นต้น 3 สัตว์เลื้อยคลาน สำ�รวจโดยวิธีการสอบถามข้อมูลจากราษฎร ในพื้นที่ ที่พบมากกว่า 20 ชนิด เช่น กิ้งก่าคอแดง , กิ้งก่าหัวฟ้า , จิ้งเหลนบ้าน ตุ๊กแกบ้าน , ตะกวด , แย้เส้น , เต่าหับ , เต่านาอีสาน , ตะพาบสวน , งูหลาม , งูเหลือม ,งูจงอาง , งูเห่าหม้อ , งูสิงธรรมดา , งูกะปะ และ งูสามเหลี่ยม เป็นต้น 4 สัตว์น้ำ� สำ�รวจโดยวิธีการสอบถามข้อมูลจากราษฎรในพื้นที่ ที่ พบกว่า 20 ชนิด เช่น กุ้งฝอย , ปูนา , ปูหิน , ปลากดคัง , ปลาชะโด ,ปลาช่อน ปลาก้าง หรือ ปลากั้ง , ปลาสร้อยขาว , ปลาซิวแก้ว , ปลา บู่ทราย หรือ ปลาบู่ทอง , ปลากระทิง ,ปลาหลดจุด , ปลากระดี่หม้อ , ปลาหางนกยูง , และหอยขม, เป็นต้น 5 นก สำ�รวจโดยวิธีการสอบถามข้อมูลจากราษฎรในพื้นที่ ที่พบกว่า 40 ชนิด เช่น นกกระปูดใหญ่ , นกกาเหว่า , นกกะรางหัวขวาน ,นก กางเขนบ้าน , นกเอี้ยงถ้ำ� , นกแซงแซวหางปลา , นกแซงแซวหางบ่วง ใหญ่ , นกเด้าดินทุ่งเล็ก , นกขมิ้นน้อยธรรมดา , และนกปรอดหัวสี เขม่า เป็นต้น

ชนิดของป่า สภาพป่า และพันธุ์พืช 1 ป่าเบญจพรรณหรือป่าผสมผลัดใบ (MIXED DECIDUOUS FOREST) สังคมพืชป่าเบญจพรรณบริเวณที่สำ�รวจพบพรรณไม้ในวงศ์ LEGUMMINOSAE ซึ่งพบมากที่สุด ได้แก่ ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz) แดง (Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub.) สาธร (Millettia leucantha Kurz var.) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib) และทองหลางป่า (Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr.) เป็นต้น รองลงมาคือวงศ์ RUBIACEAE ได้แก่ หมักหม้อ (Rothmannia eucodon (K.Schum.) Bremek.) ยอป่า (Morinda coreia Ham.) กระทุ่มบก (Anthocephalus chinensis (Lam.)) ขว้าว (Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale) และส้ม กบ (Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb.) เป็นต้น และวงศ์ EUPHORBIACEAE ได้แก่ เปล้าใหญ่ (Croton poilanei Gagnep.) ขันทองพยาบาท (Suregada multiflorum (A.Juss.) Baill.) เป็นต้น ไผ่ที่พบขึ้นกระจายในพื้นที่ ได้แก่ ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis Gamble) และไผ่ซางนวล (Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees) เป็นต้น พืชพื้นล่างและพืชล้มลุกที่พบ ได้แก่ สาบเสือ (Chromolaena odoratum (L.) R.M. King & H.Rob.) หนอนตายอยาก (Stemona tuberosa Lour.) คนทา (Harrisonia perforata (Blanco) Merr.) หนามเล็บแมว (Capparis tenera Dalzell) ลิเภาหางไก่ (Lygodium circinatum (Burm. f.)) เร่ว (Amomum uliginosum K.D. Koenig) ผักแว่นผีเสื้อ (Oxalis corniculata L.) และบุกอีรอก (Amorphophallus brevispatus Gagnep.) เป็นต้น ป่าเบญจพรรณสามารถ พบได้บริเวณที่ราบเชิงเขา และตามไหล่เขา ที่มีสภาพดินค่อนข้างลึก และมีดินขลุยไผ่กระจายอยู่ทั่วไป ซึ่งสามารถพบไผ่กระจายทั่วพื้นที่ เป็นจำ�นวนมาก


หน้ า 145

2 ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก (DECIDUOUS DIPTEROCARP FOREST) สำ�รวจพบตามที่ราบเชิงเขาและบนที่ลาดชันจนถึงระดับความสูงจาก ระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง 500 เมตร สภาพพื้นที่มีลักษณะแห้งแล้ง หน้าดินตื้น มีก้อนหินและกรวดปะปนเป็นจำ�นวนมาก ระบายน้ำ�ดี มี หินโผล่กระจายอยู่ทั่วไป มีพันธุ์ไม้เด่นที่สำ�คัญ คือ วงศ์ไม้ยาง (DIPTEROCARPACEAE) ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume) รัง (Shorea siamensis Miq.) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) และกระบาก (Anisoptera costata Korth.) เป็นต้น ไม้เด่นดังกล่าว จะพบได้ทุกพื้นที่ โดยมีเรือนยอดเด่นปกคลุมไม่น้อยกว่า 60 - 80 % ของพื้นที่ ส่วนไม้ในวงษ์อื่น พบกระจายทั่วไปในพื้นที่ เช่น ประดู่ ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata Kurz) มะพอก (Parinari anamense Hance) ติ้วขน (Cratoxylum formosum (Jack)) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum Guillaumin) แสลงใจ (Strychnos nux-vomica L.) ยอป่า (Morinda coreia Ham.) กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.) ก่อแพะ (Quercus kerrii Craib) และ รักใหญ่ (Gluta usitata (Wall.) Ding Hou) เป็นต้น พืชพื้นล่างและพืชล้มลุก ต่างๆ ในป่าเต็งรังประกอบด้วย เพ็ก (Vienamosasa pusilla (A. Chev. & A. Camus) T. Q. Nguyen) กระเจียวแดง (Curcuma sp.) กระเจียวขาว (Curcuma parviflora Wall.) กราวเครือแดง (Butea superba Roxb.) กลอยข้าวเหนียว (Dioscorea hispida Dennst.) หนามเล็บแมว (Capparis tenera Dalzell) เถาส้มกุ้ง (Illigera trifoliata (Griff.) Dunn cucullata (Merr.) Kub) ดุสิตา (Utricularia delphinioides Thorel ex Pellegr.) สาบเสือ (Chromolaena odoratum (L.) R.M. King & H.Rob.) ส้มลม (Aganonerion polymorphum Pierre ex spire) และกระดูกอึ่ง (Dendrolobium lanceolatum (Dunn) Schindl.) เป็นต้น ในฤดูแล้ง พืชพื้นล่างและ พืชล้มลุกต่างๆ จะแห้งและทิ้งใบจนหมดทำ�ให้เป็นเชื้อเพลิง และเกิดไฟ ไหม้ป่าเป็นประจำ�ทุกปี

หน้ า 146

3 ป่าดิบแล้ง (DRY EVERGREEN FOREST) สำ�รวจพบตามสองฝั่งของลำ�ห้วยตามหุบเขาที่มีความชุ่มชื้นสูง สภาพดินค่อนข้างลึกพื้นที่ส่วนใหญ่ของป่าดิบแล้ง ติดต่อกันกับพื้นที่ ป่าเบญจพรรณ บ่อยครั้งพรรณไม้ในป่าดิบแล้ง มักไม่ทนไฟ ดังนั้น หากไม่สามารถป้องกันไฟป่าในป่าดิบแล้งได้ จะทำ�ให้สภาพป่าดิบแล้ง เหลือน้อยลง เพราะพรรณไม้ในป่าเบญจพรรณจะแพร่ขยายเข้าไปใน ป่าดิบแล้งมากขึ้น เพราะพรรณไม้ในป่าเบญจพรรณ จะสามารถทน ไฟได้ดีกว่า เมื่อไม้ใหญ่ตายลง จะพบไม้พลัดใบ หญ้าและไผ่ชนิดต่างๆ แพร่พันธ์เข้ามาแทนที่ ลักษณะต้นไม้ในป่าดิบแล้ง ลำ�ต้นมักตรงและ เปลือกค่อนข้างเรียบ ไม่ทนไฟ สังคมพืชป่าดิบแล้งบริเวณที่สำ�รวจ พบพรรณไม้ในวงศ์ LEGUMMINOSAE ซึ่งพบมากที่สุด ได้แก่ มะค่า โมง (Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib) แดง (Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub.) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr.) และ เขลง (Dialium cochinchinense Pierre) รองลงมาคือ วงศ์ MELIACEAE ได้แก่ ตาเสือ (Aglaia gigantea (Pierre) Pellegr.) ยมหิน (Chukrasia tabularis A. Juss.) และกัดลิ้น (Walsura trichostemon Miq.) เป็นต้น ส่วนไม้ในวงษ์อื่น พบกระจายทั่วไปใน พื้นที่ เช่น ยางโดน (Polyalthia asteriella Ridl.) ปอขี้แฮด (Goniothalamus laoticus (Finet & Gegnep.) Ban) ตะเคียนหิน (Hopea ferrea Laness) กระบาก (Anisoptera costata Korth.) นางดำ� (Diospyros venosa Wall. ex A.DC.) มะเกลือ (Diospyros mollis Griff.) กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.) กระโดน (Careya arborea Roxb.) และตะคร้อ (Schleichera oleosa (Lour.) Oken) เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบพรรณไม้ขนาดเล็กในป่าดิบ แล้งที่ขนาดความสูงน้อยกว่า 15 เมตร เช่น ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius (Vidal) Corner) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata (Munro) Munro) ปอหูช้าง (Firmiana colorata (Roxb.) R.Br.) อบเชย (Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet) พลับพลา (Microcos paniculata L.) และขี้หนอน (Schoepfia fragrans Wall.) เป็นต้น พืชพื้นล่างและพืชล้มลุกที่พบในป่าดิบแล้งบริเวณที่ สำ�รวจ เช่น ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius (Vidal) Corner) ข่าป่า (Alpinia malaccensis (Burm.) Roscoe) เปราะหอม (Kaempferia galanga L.) บุกอีรอก (Amorphophallus brevispatus Gagnep.) และกระชายป่า (Globba Sp.)


หน้ า 147

หน้ า 148

4 ป่าละเมาะเขาต่ำ� (LOWER MONTANE SCRUB) สำ�รวจพบตามลานหิน โขดหิน ที่มีหน้าดินตื้น หรือพบตามซอกหิน สภาพเป็นป่าโล่งไม้ยืนต้นแคระแกรน มีความสูง 3 – 8 เมตร ขึ้นอยู่ ห่างๆ สลับกับไม้พุ่มที่มีความสูงระหว่าง 0.3 – 3 เมตร บางแห่งพบ ไม้พุ่มขนาดเดียวกันขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น ขึ้นเป็นย่อมๆ กระจายอยู่ ทั่วไป เป็นสังคมพืชทดแทน เนื่องจากอิทธิพลของป่าไม้ หรืออิทธิพล ของสภาพพื้นดิน หินที่เกิดจากการกัดเซาะ ทัศนียภาพโดยทั่วไปของ ป่าละเมาะเขาต่ำ� คล้ายกับสวนประดิษฐ์ หรือสวนหิน พรรณไม้ที่พบ ในป่าละเมาะเขาต่ำ� เช่น เหมือดหอม (Symplocos racemosa Roxb.) เหมือดแอ (Memecylon pauciflorum Blume) ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) เหมือดหลวง (Symplocos cochinchinensis (Lour.)) ก่อตลับ (Quercus ramsbottomii A.Camus) และหนามแท่ง (Catunaregam tometosa (Blume ex DC.) Tirveng.) เป็นต้น บนพื้นดินที่ชื้นแฉะ จะพบมอส ขึ้นปกคลุม ตามก้อนหินและเปลือกของต้นไม้ พืชพื้นล่างและพืชล้มลุกที่พบใน บริเวณที่สำ�รวจ เช่น ดุสิตา (Utricularia delphinioides Thorel ex Pellegr.) จอกบ่อวาย (Drosera burmanni Vahl) ดอกดินแดง (Aeginetia indigo L.) เปราะหอม (Kaempferia galanga L.) เฟิน ก้านดำ� (Adiantum stenochlamys Baker) หนอนตายหยาก (Stemona tuberosa Lour.) หญ้าไข่เหา (Cyrtococcum patens (L.) A. Camus) และหญ้าข้าวก่ำ� (Burmannia distica L.) เป็นต้น 5 ป่าเต็งรัง – ไม้สน (PINE- DECIDUOUS DIPTEROCARP FOREST) สำ�รวจพบบริเวณภูเขาสูงที่ระดับความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปาน กลาง 500 – 600 เมตร บริเวณที่สำ�รวจพบในพื้นที่ได้แก่บริเวณ ภูแปลก ท้องที่บ้านสนามชัย ตำ�บลกุดแห่ อำ�เภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำ�ภู ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง 500 – 600 เมตร พบไม้สนสองใบ (Pinus merkusii Jungh. & De Vriese) ขึ้นอยู่ปะปนในชั้นเรือนเด่นกระจัดกระจายและมีความสูง เด่นกว่าเรือนยอดชั้นบนของป่าเต็งรัง พรรณไม้เด่นได้แก่ สนสองใบ (Pinus merkusii Jungh. & De Vriese) ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) ยางพลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) ก่อแพะ (Quercus kerrii Craib) ก่อตลับ (Quercus ramsbottomii A.Camus) เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blumea) รัง (Shorea siamensis Miq.) เหมือดหอม (Symplocos racemosa Roxb.) เหมือดเกลี้ยง (Aporusa stellifera Hook. f.) ทะโล้ (Schima wallichii (DC.) Korth.) รักใหญ่ (Gluta usitata (Wall.) Ding Hou) และ ตีนนก (Vitex pinnata L.) เป็นต้น


หน้ า 150

หน้ า 149

การเดินทางจากกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัด ขอนแก่น ถึงจังหวัดอุดรธานี ระยะทางประมาณ 600 กิโลเมตร 1. เส้นทางเข้าสู่ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ จากจังหวัดอุดรธานีตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2263 (อุดรธานี–อำ�เภอกุดจับ) ระยะ ทาง 24 กิโลเมตร ถึงอำ�เภอกุดจับเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 2314 (อำ�เภอกุดจับ–อำ�เภอหนองวัวซอ) ระยะทาง 8 กิโลเมตร ถึงบ้านดงบังเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงชนบท (ดงบัง–ดง ธาตุ) ระยะทาง 3 กิโลเมตร ถึงบ้านดงธาตุเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวง ชนบท (ดงธาตุ–ห้วยยางคำ�) ระยะทาง 4 กิโลเมตร ถึงบ้านห้วยยาง คำ� เลี้ยวขวาผ่านหมู่บ้านแล้วเลี้ยวซ้าย ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภู หินจอมธาตุ-ภูพระบาท รวมระยะทาง 40 กิโลเมตร 2. เส้นทางเข้าสู่ภูผาเวียง (ภูซางใหญ่) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่ากอย และป่านากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู จากจังหวัดอุดรธานี เดินทาง ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 210 ผ่านตัวจังหวัดหนองบัวลำ�ภู ถึง บ้านไทยนิยม ตำ�บลนาเหล่า อำ�เภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เลี้ยว ขวาไปทางบ้านนาแก ต.นาแก อ.นาวัง แล้วเลี้ยวขวาไปทางบ้านผา เวียง ต.นาแก อ.นาวัง จ.หนองบัวลำ�ภู ถึงพื้นที่ภูผาเวียง (ภูซางใหญ่) ระยะทางประมาณ 120 กม.

3. เส้นทางเข้าสู่ภูรัง (ถ้ำ�เอราวัณ) ป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกผาดำ� ป่าโคกหนองข่า และป่าภูบอบิด ท้องที่ตำ�บลนาดอกคำ� ตำ�บล นาด้วง อำ�เภอนาด้วง จังหวัดเลย จากจังหวัดอุดรธานี เดินทางตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 210 ผ่านตัวจังหวัดหนองบัวลำ�ภู ถึงบ้าน โนนภูทอง ตำ�บลวังทอง อำ�เภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เลี้ยวขวา เข้าวัดถ้ำ�เอราวัณ ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร 4. เส้นทางเข้าสู่ภูผาแดง และภูพระบาทบัวบาน ป่าสงวนแห่งชาติป่า เขือน้ำ� จังหวัดอุดรธานี จากจังหวัดอุดรธานี เดินทางตามเส้นทาง หมายเลข 2263 ถึงตัวอำ�เภอกุดจับเดินทางต่อโดยใช้เส้นทางเดิม ถึง อบต.หนองแวง เลี้ยวซ้ายไป อ.สุวรรณคูหา ถึงบ้านกุดผึ้ง อำ�เภอ สุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เดินทางไปยังบ้านนาอ่าง ตำ�บล จำ�ปาโมง อำ�เภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นที่ตั้งของวนอุทยาน ภูผาแดง ประมาณ 80 กม. 5. เส้นทางเข้าสู่ภูผากูก (ถ้ำ�สุวรรณคูหา) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเก่า กอยและป่านากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู จากจังหวัดอุดรธานี เดิน ทางตามเส้นทางหมายเลข 2263 ถึงตัวอำ�เภอกุดจับเดินทางต่อโดย ใช้เส้นทางเดิม ถึง อบต.หนองแวง เลี้ยวซ้ายไป อ.สุวรรณคูหา ถึง อำ�เภอสุวรรณคูหา แล้วเดินทางต่อไปตามทางหลวงชนบาทเลขที่ 2352 เลยวัดถ้ำ�สุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ก็จะเข้าสู่ภูผากูก ระยะ ทางประมาณ 85 กิโลเมตร 6. เส้นทางเข้าสู่ภูผายา (แหล่งโบราณคดีภูผายา) ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเก่ากอยและป่านากลาง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู จากจังหวัดอุดรธานี เดินทางตามเส้นทางหมายเลข 2263 ถึงตัวอำ�เภอกุดจับเดินทางต่อ โดยใช้เส้นทางเดิม ถึง อบต.หนองแวง เลี้ยวซ้ายไป อ.สุวรรณคูหา ถึงอำ�เภอสุวรรณคูหา แล้วเดินทางต่อไปตามทางหลวงชนบาทเลข ที่ 2352 ถึงบ้านวังหินเหนือ ต.ดงมะไฟ อ.สุวรรณคูหา เลี้ยวซ้าย ไป ทางบ้านโชคชัย ต.ดงมะไฟ อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำ�ภู ถึงภูผายา ระยะทางประมาณ 95 กิโลเมตร


หน้ า 152

หน้ า 151

อุทยานแห่งชาต ภิ ผู าเหล ก็

สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก บ้านท่าวัด ต.ปทุมวาปี อ.ส่องดาว จ.สกลนคร 47190 E-mail : phuphalek_np@hotmail.com โทรศัพท์ : 088 552 4538 หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายรังสรรค์ เหลาภา ตำ�แหน่ง : เจ้าพนักงานป่าไม้ชำ�นาญงาน อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการ ติดตัว ขณะท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ ร้านค้าสวัสดิการ ไม่มีร้านค้าร้านอาหาร นักท่องเที่ยวควรจัดเตรียมไป สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : TRUE, DTAC


หน้ า 154

หน้ า 153

อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กมีมี เนื้อที่ประมาณ 252,898 ไร่ หรือประมาณ 404 ตาราง กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำ�เภอ ส่องดาว อำ�เภอวาริชภูมิ อำ�เภอ นิคมน้ำ�อูน อำ�เภอกุดบาก อำ�เภอ ภูพาน จังหวัดสกลนคร อำ�เภอ วังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี และอำ�เภอสมเด็จ อำ�เภอคำ�ม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในพื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติป่าดงพันนา ป่าดงพระเจ้า ป่าภูวง ป่ากุดไห ป่านาใน ป่าโนน อุดม ป่าบะยาว ป่าหัวนาคำ� ป่า หนองหญ้าไชย และป่าแก้งกะอาม ในปี 2538 กรมป่าไม้ได้มีคำ�สั่ง ให้เจ้าหน้าที่ออกมาสำ�รวจข้อมูล เบื้องต้นในพื้นที่ ซึ่งต่อมาได้มีคำ� สั่งกรมป่าไม้ที่ 1162/2539 ลง วันที่ 14 มิถุนายน 2539 เรื่อง ให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการ ได้ให้นายพนม พงษ์สุวรรณ นัก วิชาการป่าไม้ 7 ว. ส่วนอุทยาน แห่งชาติ ไปดำ�เนินการสำ�รวจ หาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดตั้งพื้นที่ ป่าอนุรักษ์บางส่วนของพื้นที่ป่า สงวนแห่งชาติ ป่าดงพันนา ป่าดง พระเจ้า ท้องที่อำ�เภอส่องดาว ป่า ภูวง ท้องที่อำ�เภอวาริชภูมิ อำ�เภอ นิคมน้ำ�อูน อำ�เภอกุดบาก ป่า แก่งแคน ท้องที่อำ�เภอกุดบาก ป่าหนองหญ้าไซ ท้องที่อำ�เภอ วังสามหมอ จังหวัดอุดธานี ผนวก ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าภูพาน ท้อง ที่อำ�เภอคำ�ม่วง อำ�เภอสมเด็จ ป่า แก้งกะอาม ท้องที่อำ�เภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้เป็นอุทยาน แห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติ อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 นั้น

นายพนม พงษ์สุวรรณ ไปสำ�รวจหาข้อมูล และประวัติดั้งเดิมในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ดัง กล่าวข้างต้นพร้อมกับหาข้อมูลเพิ่มเติมจาก ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่า พื้นที่แห่งนี้เป็น พื้นที่ป่ารักน้ำ� เป็นแห่งแรกของประเทศไทย อันเป็นโครงการพระราชดำ�ริของสมเด็จ พระนางเจ้าฯพระบรม ราชินีนาถ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2525 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2537 นายผ่อง เล่งอี้ อธิบดีกรมป่าไม้ ได้มาตรวจ ราชการและเห็นความสำ�คัญของพื้นที่ดัง กล่าว จึงมีบัญชาให้สำ�รวจเป็นอุทยานแห่ง ชาติ โดยใช้ชื่อว่า อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กภูผาหัก ต่อมาในปีพ.ศ. 2539 ได้อนุมัติให้ตัด คำ�ว่า ภูผาหัก ออกใช้ชื่อว่า “อุทยานแห่งชาติ ภูผาเหล็ก” เป็นต้นมา จากการสำ�รวจพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพื่อจัดตั้ง เป็นเขตอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ได้พื้นที่ รวมประมาณ 404 ตารางกิโลเมตร หรือ 252,898 ไร่ มีรายละเอียดดังนี้

จังหวัดสกลนคร ได้ดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่ ป่าอนุรักษ์บางส่วนของป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงพันนา ป่าดงพระเจ้า ท้องที่ตำ�บลท่า ศิลา ตำ�บลปทุมวาปี ตำ�บลส่องดาว อำ�เภอ ส่องดาว พื้นที่ 37,250 ไร่ ผนวกป่าสงวนแห่ง ชาติป่าภูวง ท้องที่ตำ�บลคำ�บ่อ ตำ�บลวาริชภูมิ ตำ�บลค้อเขียว อำ�เภอวาริภูมิ พื้นที่ 67,600 ไร่ ผนวกป่าสงวนแห่งชาติ ป่ากุดไห ป่านาไน ป่าโนนอุดม ท้องที่ตำ�บลนิคมน้ำ�อูน ตำ�บล สุวรรณคาม อำ�เภอนิคมน้ำ�อูน และตำ�บลกุด ไห อำ�เภอกุดบาก พื้นที่ 22,575 ไร่ ผนวก ป่า สงวนแห่งชาติป่าแก่งแคน ท้องที่ตำ�บลกุดบาก อำ�เภอกุดบากตำ�บลโคกภู อำ�เภอภูพาน พื้นที่ 32,325 ไร่ พื้นที่รวมทั้งสิ้น 159,750 ไร่ หรือ ประมาณ 255.6 ตารางกิโลเมตร

จังหวัดอุดรธานี ได้ดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่ ป่าอนุรักษ์บางส่วนของป่าสงวนแห่งชาติ ป่า บะยาว ป่าหัวนาคำ� ป่านายูง ป่าหนองกุง ทับม้า ป่าหนองหญ้าไซ ท้องที่ตำ�บลผาสุข อำ�เภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี พื้นที่รวม 10,315 ไร่ (16.5 ตารางกิโลเมตร) จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ดำ�เนินการสำ�รวจพื้นที่ ป่าอนุรักษ์บางส่วนของป่าสงวนแห่งชาติ ป่า ภูพาน ท้องที่ตำ�บลนาทัน ตำ�บลดิบจี่ อำ�เภอ คำ�ม่วง พื้นที่ 86,185 ไร่ ผนวกป่าสงวนแห่ง ชาติป่าแก้งกะอาม ท้องที่ตำ�บลนาบอน ตำ�บล แซงบาดาล อำ�เภอสมเด็จ พื้นที่ 5,625 ไร่ พื้นที่รวมทั้งสิ้น 91,810 ไร่ (146.9 ตาราง กิโลเมตร)


หน้ า 156

หน้ า 155

สถานที่ท่องเที่ยว น้ำ�ตกเก้าชั้น น้ำ�ตกแม่คำ�ดี น้ำ�ตกแก่งกุลา ถ้ำ�นกกก ถ้ำ�ทอง ผาสุริยันต์ ภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ผาผักหวาน หอส่องดาว ลานอุษาสวรรค์ ผาดงก่อ ขนาดพื้นที่ 252737.00 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ภล.1 (อ่างเก็บน้ำ�ห้วย กระเฌอ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ภล.2 (โคกสนาม)


หน้ า 157

หน้ า 158

อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กตั้งอยู่บริเวณเส้น รุ้ง 17o 15’ – 16o 49’ เหนือ และเส้นแวง 103o 15’ – 103o 50’ ตะวันออก เป็นส่วน หนึ่งของเทือกเขาภูพานที่ทอดยาวในแนวทิศ ตะวันออก-ตะวันตก มีความยาวประมาณ 54 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่มีความสูงจากระดับ น้ำ�ทะเล 200-600 เมตร ภูเขาที่สูงที่สุดใน พื้นที่คือ ภูอ่างสอ ที่ระดับความสูง 695 เมตร พื้นที่ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กเป็น แหล่งกำ�เนิดลำ�ห้วยน้อยใหญ่ที่สำ�คัญ ได้แก่ แม่น้ำ�สงคราม ลำ�น้ำ�ยาม ลำ�น้ำ�อูม ลักษณะดิน โดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทรายตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณและดินลูกรังตามป่าเต็งรัง หินที่พบในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินทราย

บริเวณอุทยานฯมีภูมิอากาศแบบมรสุม ฤดู ร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม อากาศ ร้อนมาก อุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส มักมีไฟป่าเกิดขึ้นทั่วพื้นที่ ฤดูฝนระหว่าง เดือนมิถุนายน-ตุลาคม และฤดูหนาวระหว่าง เดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ อากาศหนาว เย็น อุณหภูมิประมาณ 15-20 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำ�ฝนตลอดปีประมาณ 1,000-1,300 มิลลิเมตร


หน้ า 159

สังคมพืชในเขตอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กเป็นป่าที่มีสภาพอุดม สมบูรณ์ ประกอบด้วย ป่าเต็งรัง พบบนพื้นที่ราบเชิงเขาและบนที่ ลาดชันจนถึงระดับความสูงประมาณ 500 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง ประดู่ป่า ตะแบกเลือด รกฟ้า มะค่าแต้ ติ้ว ยอป่า ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยหญ้าเพ็กแทรก ด้วยไม้พุ่มและพืชล้มลุก ป่าเบญจพรรณ ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ในอุทยานแห่งชาติ พบตั้งแต่บนพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ลาดชันตาม ไหล่เขาจนถึงระดับความสูง 600 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล พันธุ์ไม้ที่ พบได้แก่ ชิงชัน แดง ประดู่ กระบก มะกอก งิ้วป่า มะค่าโมง กระโดน โมกมัน มะขามป้อม ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยไผ่รวก ไผไร่ ไผ่ซาง หม่น หนามคณฑา สังกรณี ผักหวานป่า เป็นต้น และ ป่าดิบแล้ง พบ ตามฝั่งลำ�ธารของหุบเขาที่มีความชุ่มชื้น พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ยางแดง หว้า มะม่วงป่า สัตตบรรณ ตาเสือ มะไฟ ก้านเหลือง ฯลฯ พืชพื้น ล่างเป็นพวกหวาย ปาล์ม และสมุนไพรต่างๆ ตามบริเวณลานหินทาง ขึ้นภูผาเหล็กความสูงประมาณ 400-550 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล จะ มีสภาพเป็นป่าโปร่ง ไม้ยืนต้นที่ขึ้นจะแคระแกร็น ส่วนใหญ่มีใบหนา ที่ พบทั่วไปได้แก่ สารภีดอย ทะโล้ สะเม็ก ก่อ ไม้พุ่มเช่น ส้มแปะ เม้าแดง ตามลานหินมีพืชพวกจำ�พวกไลเคน ฟองหิน เอื้องคำ�หิน ม้าวิ่ง เขา กวาง ดาวเรืองภู ต่างหูขาว เนียมดอกธูป หญ้าหัวเสือ หางเสือลาย แววมยุรา หญ้าข้าวก่ำ� กระดุมเงิน ส่าหร่ายข้าวเหนียว และดุสิตา สัตว์ป่าที่พบเห็น ได้แก่ เก้ง ลิงกัง กระต่ายป่า กระแต หนูหริ่ง ตุ่น เม่น พังพอน อีเห็น เหยี่ยวรุ้ง นกเขาเปล้า นกกระปูด นกตะขาบทุ่ง นกโพระดก นกขมิ้น นกปรอดก้นแดง นกแซงแซวสีเทา นกจาบดินอก ลาย ตุ๊กแก จิ้งจกป่าสีจาง เต่าเหลือง งูทางมะพร้าว งูเห่า งูจงอาง งู เขียวหางไหม้ อึ่งอี๊ดหนังลาย อึ่งอี๊ดเทาจุดดำ� เขียดท้ายทอยดำ� เขียด หนอง คางคก กบหมื่น และปาดนิ้วแยกลาย เป็นต้น

หน้ า 160

รถยนต์ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ตั้งอยู่ในพื้นที่อำ�เภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร ซึ่งคล้อยมาทางจังหวัดอุดรธานี ฉะนั้น เส้นทางที่ สะดวกที่สุดที่จะเข้าสู่พื้นที่คือ เริ่มจากจังหวัดอุดรธานี • เส้นทางจังหวัดอุดรธานี-สกลนคร มาตามเส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 22 จนถึงทางแยกหลัก กม. ที่ 95 (ที่ตั้งเรือนจำ�จังหวัด สว่างแดนดิน) ให้เลี้ยวขวาไปตามถนน รพช. สายบ้านต้าย-ดอนส้ม โฮง ถึงทางแยกบ้านโพนสว่าง หลัก กม. 17 ให้เลี้ยวขวาไปตามถนน รพช. สายบ้านโพนสว่าง – ภูผาเหล็ก อีก 6 กม. ก็จะถึงที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก • เส้นทางจังหวัดอุดรธานี-สกลนคร เมือถึงหลักกิโลเมตรที่ 95 ให้ ตรงมาอีก 20 กิโลเมตร จะถึงตลาดของอำ�เภอสว่างแดนดิน จึงเลี้ยว ขวาเข้าเส้นทางอำ�เภอสว่างแดนดิน-อำ�เภอส่องดาว ผ่านตัวอำ�เภอ ให้เลี้ยวซ้ายเข้าถนน รพช. สายบ้านต้าย-ดอนส้มโซม แล้วแยกเข้า ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติบริเวณกิโลเมตรที่ 17 เช่นกัน รวมระยะทาง จากจังหวัดอุดรธานี ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ประมาณ 82 กม.


หน้ า 162

หน้ า 161

อุทยานแห่งชาต ภิ พ ู าน

สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติภูพาน ต.ห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร 47000 E-mail : phuphan2554@hotmail.com โทรศัพท์ : 086 459 5600, 081 263 5029 หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายสุวิทย์ จันทร์เรือง ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะ ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ

ร้านค้าสวัสดิการ - ค่ายเยาวชนรักเรารักษ์โลก (ร้านอาหาร) เปิดให้บริการทุกวันเวลา 08.00 น. 16.30 น. สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ 1. บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE, DTAC 2. บริเวณผานางเมิน : AIS, TRUE, DTAC 3. บริเวณน้ำ�ตกคำ�หอม : AIS, TRUE, DTAC 4. บริเวณปรีชาสุขสันต์ : AIS, TRUE 5. บริเวณถ้ำ�เสรีไทย : AIS, TRUE 6. บริเวณสะพานหินธรรมชาติ (ผีผ่าน) : AIS, TRUE 7. บริเวณผาเสวย : AIS, TRUE 8. บริเวณพระธาตุภูเพ็ก : AIS


หน้ า 164

หน้ า 163

จังหวัดกาฬสินธุ์ได้มีหนังสือที่ กส 09/598 ลงวันที่ 12 มกราคม 2516 รายงานว่า ตามประกาศ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 244 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 กำ�หนดให้ ที่ดินป่าภูพานเป็นอุทยานแห่งชาติ นั้น ปรากฏว่ามีพื้นที่บางส่วนใน บางตำ�บลของจังหวัดกาฬสินธุ์เป็น เขตอุทยานแห่งชาติแต่ไม่ได้ระบุชื่อ ตำ�บลลงไว้ กรมป่าไม้จึงได้ดำ�เนิน การตรวจสอบแนวเขตอุทยานแห่ง ชาติใหม่ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกา ยกเลิกประกาศคณะปฏิวัติ และ กำ�หนดบริเวณที่ดินป่าภูพานใน ท้องที่ตำ�บลนาใน ตำ�บลไร่ ตำ�บล นาหัวบ่อ อำ�เภอพรรณานิคม ตำ�บลพังขว้าง ตำ�บลห้วยยาง อำ�เภอเมือง ตำ�บลนาม่อง ตำ�บล โคกภู อำ�เภอกุดบาก จังหวัด สกลนคร และตำ�บลแซงบาดาล อำ�เภอสมเด็จ ตำ�บลคำ�บง อำ�เภอ กุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้ เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน ที่ 106 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2518

ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กำ�หนดป่าเขาภูพานหรือที่เรียก กันโดยทั่วไปว่า “ป่าเขาชมภูพาน” จังหวัด สกลนคร และจังหวัดกาฬสินธุ์ และป่าอื่นๆ ใน ท้องที่จังหวัดต่างๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยาน แห่งชาติเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเอา ไว้เป็นการถาวรเพื่อประโยชน์ส่วนรวม กรม ป่าไม้ได้เสนอจัดตั้งป่าภูพานเป็นอุทยานแห่ง ชาติ โดยได้มีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 244 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 กำ�หนดบริเวณ ที่ดินป่าภูพานในท้องที่ตำ�บลนาใน ตำ�บลไร่ ตำ�บลนาหัวบ่อ อำ�เภอพรรณานิคม ตำ�บล โคกภู ตำ�บลนาม่อง อำ�เภอกุดบาก และตำ�บล ห้วยยาง ตำ�บลพังขว้าง อำ�เภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร และตำ�บลแซงบาดาล อำ�เภอ สมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เนื้อที่ 418,125 ไร่ หรือ 669 ตารางกิโลเมตร เป็นอุทยานแห่ง ชาติ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 89 ตอนที่ 170 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2515 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 7 ของประเทศ

อุทยานแห่งชาติภูพาน ปัจจุบันมีพื้นที่ ครอบคลุมท้องที่อำ�เภอพรรณานิคม อำ�เภอ เมือง อำ�เภอกุดบาก อำ�เภอภูพาน จังหวัด สกลนคร อำ�เภอสมเด็จ อำ�เภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วยป่าที่อุดม สมบูรณ์และมีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำ�ตก ถ้ำ� หน้าผาทิวทัศน์ตามธรรมชาติ ตลอดจน พื้นป่าแห่งนี้ในอดีตได้ชื่อว่าเป็นปัญหาทาง ด้านการเมือง และในสมัยสงครามโลกครั้ง ที่ 2 ก็ยังเป็นแหล่งสะสมอาวุธยุทธภัณฑ์ที่ใช้ สำ�หรับต่อต้านทหารกองทัพญี่ปุ่นซึ่งนับเป็น ประวัติศาสตร์ มีเนื้อที่ประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร

กรมป่าไม้ดำ�เนินการรังวัดแนวเขตของพื้นที่อุทยาน แห่งชาติภูพาน เพื่อทำ�การขอเพิกถอนแนวเขต อุทยานแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2520 ซึ่งอนุมัติในหลักการให้เพิกถอนพื้นที่ บริเวณบ่อหิน เนื้อที่ไม่เกิน 5 ไร่ คณะกรรมการ อุทยานแห่งชาติได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2521 เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2521 ให้กรมป่าไม้ดำ� เนินการเพิกถอนพื้นที่พระตำ�หนักภูพานราชนิเวศน์ สำ�นักสงฆ์ถ้ำ�ขาม (หลวงปู่ฝั้น) และอ่างเก็บน้ำ�ห้วยแข้ ออกจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน แต่เนื่องจาก แนวเขตอุทยานแห่งชาติตามแผนที่ท้ายพระราช กฤษฎีกากำ�หนดบริเวณที่ดินป่าภูพานให้เป็นอุทยาน แห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2518 ไม่ได้ระบุชื่อตำ�บลบาง ตำ�บลไว้ จึงไม่สามารถดำ�เนินการเพิกถอนได้ กรม ป่าไม้จึงเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติได้มีมติ ในคราวประชุม ครั้งที่ 3/2523 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2523 ดำ�เนินการตามที่คณะกรรมการกฤษฎีกาให้ แนวทางปฏิบัติ โดยให้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกาขึ้น ไปใหม่และกันพื้นที่ดังกล่าวออกเสียและเพิ่มตำ�บล ที่ตกหล่นให้สมบูรณ์ เป็นการเปลี่ยนแปลงแนวเขต อุทยานแห่งชาติ ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลง เขตอุทยานแห่งชาติป่าภูพาน ในท้องที่ตำ�บลนาใน ตำ�บลไร่ ตำ�บลห้วยบ่อ อำ�เภอพรรณานิคม ตำ�บล พังขว้าง ตำ�บลห้วยยาง อำ�เภอเมือง ตำ�บลนาม่อง ตำ�บลโคกภู ตำ�บลสร้างค้อ อำ�เภอกุดบาก จังหวัด สกลนคร และตำ�บลแซงบาดาล ตำ�บลมหาไชย ตำ�บล ผาเสวย อำ�เภอสมเด็จ ตำ�บลคำ�บง กิ่งอำ�เภอห้วยผึ้ง อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2525 ซึ่ง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 161 ลง วันที่ 29 ตุลาคม 2525 รวมเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร (คือระบุ ตำ�บลเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงแนวเขตตำ�บลและเพิก ถอนสำ�นักสงฆ์ถ้ำ�ขาม บ่อหิน พระตำ�หนักภูพานราช นิเวศน์ อ่างเก็บน้ำ�ห้วยแข้ ออกจากเขตอุทยานแห่ง ชาติ)


หน้ า 166

หน้ า 165

สถานที่ท่องเที่ยว น้ำ�ตกคำ�หอม ผานางเมิน พระธาตุภูเพ็ก สะพานผีผ่าน น้ำ�ตกปรีชาสุขสันต์ ผาเสวย ถ้ำ�เสรีไทย


หน้ า 167

หน้ า 168

อุทยานแห่งชาติภูพานตั้งอยู่ในเขตเทือกเขา ภูพาน มีลักษณะโครงสร้างทางธรณีเป็น หินทราย โดยมีความสูงอยู่ระหว่าง 200-567 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ประกอบด้วย ภูนางงอย ภูมะแงว ภูน้อย ภูเพ็ก โดยมีภูเขียว ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจุดสูงสุดใน เขตอุทยานแห่งชาติ มีความสูง 567 เมตรจาก ระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง เป็นแหล่งกำ�เนิดต้นน้ำ� ลำ�ธารและห้วยต่างๆ เช่น ห้วยเลา ห้วยอีโคก ห้วยยาง ห้วยเวียงไพร ห้วยขี้นก ห้วยโคก ห้วยวังถ้ำ� ห้วยผึ้ง ห้วยอีดอน น้ำ�อูนตอนบน ห้วยทราย และห้วยนาจาน ซึ่งจะไหลลงสู่แม่ น้ำ�อูน ห้วยแข้ ห้วยแสนกง และน้ำ�พุงตอนบน ไหลลงแม่น้ำ�พุง ห้วยสะทด ห้วยแก้งหว้า ห้วย แก้งโคก และห้วยหลัก ไหลลงลำ�น้ำ�ยัง ห้วย พริกไหลลงลำ�ปาว ห้วยทรายและห้วยเดียก ไหลลงสู่หนองหาร

ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของอุทยาน แห่งชาติภูพาน จะมีอากาศเย็นสบาย โดยมี อุณหภูมิต่ำ�สุดช่วงเดือนธันวาคมประมาณ 11.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี ประมาณ 26.3 องศาเซลเซียส มีช่วงฤดูกาล เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ตุลาคมถึงเดือนมกราคม ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน สำ�หรับ ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือน กันยายน ปริมาณน้ำ�ฝนประมาณปีละ 1,353.40 มิลลิเมตร


หน้ า 169

หน้ า 170

สภาพป่าในอุทยานแห่งชาติภูพานประกอบด้วยชนิดป่าที่สำ�คัญ 3 ชนิด คือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังพบขึ้น อยู่ตั้งแต่ตอนกลางของอุทยานแห่งชาติขึ้นไปจนถึงด้านทิศเหนือ ใน ระดับความสูง 200-400 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง พันธุ์ไม้ ที่สำ�คัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง ตีนนก กว้าว แดง ส้าน ช้างน้าว กระโดน มะพอก ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วย หญ้าเพ็ก ตะโกหิน ปอหู ปรง พวงประดิษฐ์ รางจืด เป็นต้น ป่าดิบแล้ง พบขึ้นอยู่เป็นผืน ใหญ่ตอนกลางค่อนไปทางทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ และเป็นหย่อม เล็กๆ กระจายอยู่ทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ ในระดับความสูงตั้งแต่ 400 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลางขึ้นไป ชนิดไม้ที่สำ�คัญได้แก่ เข ล็ง นางดำ� ก่อ กะพี้เขาควาย หว้า เปล้าหลวง ขนุนป่า แคหางค่าง เหมือด หมากมุ้ย ฯลฯ พืชพื้นล่างส่วนใหญ่เป็นลูกไม้และกล้าไม้ของ ไม้ชั้นบน เช่น ตีนตั่ง นางดำ� รวมทั้ง เข็มขาว เข็มแดง เฟิน ไม้เถา เป็นต้น และป่าเบญจพรรณ พบขึ้นอยู่ทางตอนใต้ของอุทยานแห่ง ชาติ ชนิดไม้ที่สำ�คัญได้แก่ ตีนนก ติ้ว คางฮุ่ง แดง มะกอกเลื่อม แสน คำ� ประดู่ โมกมัน ตะแบก ฯลฯ ส่วนพืชพื้นล่างประกอบด้วย ลูกไม้ ของไม้ชั้นบน มะเม่า ไผ่ หญ้าคา ไม้เถา เป็นต้น

สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในอุทยานแห่งชาติภูพานมีไม่น้อยกว่า 162 ชนิด ประกอบด้วย ช้างป่า กวางป่า เก้งธรรมดา หมูป่า ค่างแว่นถิ่น เหนือ หมีหมา ชะมดแผงสันหางดำ� ลิงกัง อ้นเล็ก นากใหญ่ขนเรียบ กระจ้อน ค้างคาวขอบหูขาวกลาง นกยางไฟ เหยี่ยวรุ้ง นกกระทาทุ่ง นกกระปูดใหญ่ นกตะขาบทุ่ง นกปรอดสวน นกแซงแซวสีเทา นกเด้า ดินทุ่ง ไก่ป่า คางคกบ้าน เขียดจะนา กบอ่อง อึ่งอ่างบ้าน จิ้งจกหาง หนาม ตุ๊กแกบ้าน กิ้งก่าหัวแดง แย้ จิ้งเหลนหลากหลาย งูเขียวดอก หมาก งูสายม่านธรรมดา งูปล้องฉนวนลาว เป็นต้น และในบริเวณ แหล่งน้ำ�พบปลาน้ำ�จืดหลายชนิดเช่น ปลาซิว ปลาตะเพียนทราย ปลาสร้อยนกเขา ปลากระสูบจุด ปลาก้าง ปลาดุกด้าน และปลากริม เป็นต้น


หน้ า 171

หน้ า 172

รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านจังหวัดสระบุรี เลี้ยวเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนน มิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมา จนถึงขอนแก่น ต่อด้วย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ขอนแก่น-กาฬสินธุ์) และทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 213 (กาฬสินธุ์-สกลนคร) อีกประมาณ 115 กิโลเมตร จะถึงบริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติซึ่งอยู่ริมทางหลวง หากมาจากอำ�เภอเมือง จังหวัดสกลนครไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 213 ประมาณ 25 กิโลเมตร ผ่านพระตำ�หนักภูพานราช นิเวศน์ จะถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูพาน


หน้ า 174

หน้ า 173

อุทยานแห่งชาต ภิ เู ร อื

มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำ�เภอภูเรือ และอำ�เภอท่าลี่ จังหวัดเลย อาณาเขตด้านทิศเหนือ อยู่ติดกับประเทศลาว รูปพรรณสันฐานของภูเรือมีรูปร่างลักษณะเหมือนเรือใหญ่บน ยอดดอยสูงเป็นภูผาสีสันสะดุดตาหินบางก้อนมีลักษณะเหมือนถูกปั้นแต่งไว้ ชาวบ้าน เรียกว่า “กว้านสมอ” โดยรอบๆ จะเห็นยอดดอยเป็นขุนเขาน้อยใหญ่ใกล้เคียงเป็นฝ้าขาว ด้วยละอองน้ำ� หมอก ปกคลุมไว้ท่ามกลางป่าอันอุดมสมบูรณ์ มีเนื้อที่ประมาณ 120.84 ตารางกิโลเมตร


หน้ า 175

ด้วยอุทยานแห่งชาติภูเรืออยู่ที่จังหวัดเลย ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีอากาศหนาวเย็นที่สุดของ ประเทศไทย และอยู่บนยอดเขาสูง จึงทำ�ให้มี อากาศเย็นตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว จะหนาวเย็นมาก จนกระทั่งน้ำ�ค้างบนยอดหญ้า จะแข็งตัวกลายเป็นเกล็ดน้ำ�แข็ง ซึ่งมีภาษาพื้น เมืองเรียกว่า “แม่คะนิ้ง” ผู้ที่จะไปพักผ่อนควร เตรียมตัวให้พร้อมที่จะผจญกับความหนาวเย็น

หน้ า 176

ซับหนองหิน เป็นแหล่งน้ำ�ซับที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ มีลักษณะเป็นแอ่งน้ำ�ไหลลงสู่ร่อง น้ำ�บริเวณหลังศูนย์บริการนักท่องเที่ยวที่ 1(ที่ทำ�การ) ในช่วงที่มีน้ำ�ปริมาณมากสามารถ ลงเล่นน้ำ�ได้ และมีนกนานาชนิดอาศัยหากินอยู่ โดยรอบบริเวณ

น้ำ�ตกห้วยเตย เป็นน้ำ�ตกขนาดเล็กมีลักษณะ เป็นลำ�น้ำ�สองสายมาบรรจบกัน แล้วไหลลงสู่ แอ่งน้ำ�เดียวกัน แต่จะมีความสวยงามในเฉพาะ หน้าฝนเท่านั้นเพราะมีปริมาณน้ำ�มาก อยู่ใกล้ กับศูนย์บริการนักท่องเที่ยวที่ 2 (ภูสน) ด้วยอุทยานแห่งชาติภูเรืออยู่ที่จังหวัดเลย ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีอากาศหนาวเย็นที่สุดของ ประเทศไทย และอยู่บนยอดเขาสูง จึงทำ�ให้มี อากาศเย็นตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว จะหนาวเย็นมาก จนกระทั่งน้ำ�ค้างบนยอดหญ้า จะแข็งตัวกลายเป็นเกล็ดน้ำ�แข็ง ซึ่งมีภาษาพื้น เมืองเรียกว่า “แม่คะนิ้ง” ผู้ที่จะไปพักผ่อนควร เตรียมตัวให้พร้อมที่จะผจญกับความหนาวเย็น

น้ำ�ตกห้วยไผ่ เป็นน้ำ�ตกขนาดกลาง สูง ประมาณ 30 เมตร ตั้งอยู่บริเวณลำ�ห้วยไผ่ ใน ฤดูฝนปริมาณน้ำ�จะมาก จะมีสายน้ำ�ที่ใสสะอาด พุ่งแรงลงมาจากบริเวณเป็นลำ�น้ำ�สายเดียว ลงสู่แอ่งน้ำ�ด้านล่าง ซึ่งแอ่งนี้สามารถที่จะลง เล่นน้ำ�ได้ แต่ถ้าเป็นฤดูแล้งปริมาณน้ำ�จะน้อย แต่จะเห็นสายน้ำ�ไหลลงสู่แอ่งน้ำ�ข้างล่างเช่น กันและมีลักษณะของความสวยงามที่แตกต่าง กัน น้ำ�ตกห้วยไผ่อยู่ห่างจากที่ทำ�การอุทยาน แห่งชาติ ประมาณ 2,000 เมตร เป็นแหล่งน้ำ�ที่ สำ�คัญในการใช้ทำ�น้ำ�ประปาในอำ�เภอภูเรือ


หน้ า 178

หน้ า 177

น้ำ�ตกหินสามชั้น เป็นน้ำ�ตกขนาดเล็ก ลักษณะ ของตัวน้ำ�ตกเป็นชั้นหินลดหลั่นกันไป 3 ชั้น จนถึงตัวแอ่งน้ำ�ด้านล่าง น้ำ�ตกหินสามชั้น สามารถลงเล่นได้ โดยตั้งอยู่ห่างจากศูนย์ บริการนักท่องเที่ยวที่ 2 (ภูสน) ประมาณ 300 เมตร ในฤดูฝนจะมีปริมาณน้ำ�มากทำ�ให้เกิดเป็น ทิวทัศน์ที่สวยงามยิ่ง ในช่วงที่มีหมอกปกคลุม จะทำ�ให้สวยงามไปอีกแบบ

ผาซำ�ทอง หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ผากุหลาบขาว เป็นหน้าผาสูงชันและ เป็นแหล่งน้ำ�ซับ ประกอบกับมีไลเคน ที่มีสีเหลืองคล้ายสีทอง ซึ่งเรียกว่า “ผาซำ�ทอง” เป็นจุดชมทิวทัศน์อีก จุดหนึ่ง อยู่ห่างจากที่ทำ�การอุทยาน แห่งชาติตามเส้นทางที่จะไปผา โหล่นน้อยประมาณ 2.5 กิโลเมตร และเป็นแหล่งชมพระอาทิตย์ตกที่ สวยงามอีกที่หนึ่ง ผาโหล่นน้อย เป็นจุดชมพระอาทิตย์ ขึ้นที่สวยงาม สามารถมองเห็นภู หลวง ภูผาสาด ภูครั่งและทะเลภูเขา อยู่ห่างจากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ประมาณ 3 กิโลเมตร

ยอดภูเรือ เป็นจุดที่สูงที่สุดในเขตอุทยานแห่ง ชาติ อยู่สูงประมาณ 1,365 เมตรจากระดับน้ำ� ทะเลปานกลาง เป็นหน้าผาสูงชัน พื้นที่โดยรอบ ปกคลุมด้วยป่าสนเขา ทั้งสนสองใบและสนสาม ใบ สลับกับลานหินธรรมชาติ ต้องเดินขึ้นเขา จากผาโหล่นน้อยมาประมาณ 700 เมตร จาก จุดนี้สามารถมองเห็นทัศนียภาพที่สวยงามได้ รอบด้านกระทั่งเห็นแม่น้ำ�เหือง และแม่น้ำ�โขง ซึ่งกั้นพรมแดนไทย – ลาว บนยอดเรือยังเป็น ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปนาวาบรรพต ซึ่งชาว ภูเรืออัญเชิญมาจากอยุธยาด้วย จากยอด ภูเรือมีเส้นทางเดินป่าผ่านบริเวณที่มีดอกไม้ เล็กๆ เช่น กระดุมเงิน ดาวเรืองภู เปราะภู ซึ่ง ออกดอกสวยงามในช่วงหน้าหนาว ที่ป่าสน บริเวณ ทุ่งกวางตาย มีดอกกระเจียวบานใน ช่วงต้นฤดูฝนราวเดือนพฤษภาคม นอกจาก นั้นยังมี ลานหินพานขันหมาก เป็นลานหินแตก เป็นรอยตื้นๆ ที่จะพบดอกไม้ที่ชอบขึ้นตามลาน หิน เช่น เอื้องม้าวิ่ง อยู่ทั่วไป เส้นทางเดินป่า จะวกกลับไปลานกางเต็นท์ในบริเวณที่ทำ�การ อุทยานแห่งชาติ


หน้ า 179

หน้ า 180

ลานสาวเอ้ มีลักษณะเป็นทุ่งหญ้ากว้าง สลับ กับป่าเต็งรัง เป็นจุดที่สามารถชมทัศนียภาพได้ กว้างไกลของพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูเรือได้อีก ด้วย บริเวณนี้ทางอุทยานแห่งชาติภูเรือได้จัด สร้างศาลาพักผ่อนไว้ให้นักท่องเที่ยวสามารถ พักชมวิวเมื่อเวลาเดินมาถึงบริเวณลานสาวเอ้

สวนหินพาลี เป็นลานหินกว้างใหญ่ เต็มไปด้วย ก้อนหินรูปทรงแปลกตาตั้งอยู่เรียงราย บาง ก้อนคล้ายเสาหินสูง บางก้อนคล้ายดอกเห็ด สวนหินพาลีอยู่ใกล้บริเวณลานกางเต็นท์ หินค้างหม้อ ตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณหินวัวนอน หินค้างหม้อมีลักษณะเป็นก้อนหิน 3 ก้อน มา วางเรียงกันและมีหินก้อนใหญ่อีกก้อนหนึ่งวาง อยู่ข้างบนมีลักษณะเป็นหม้อที่วางไว้บนก้อน หินทั้ง 3 ก้อน เหมือนกับการประกอบอาหารใน สมัยโบราณ หินพานขันหมาก มีลักษณะเป็นก้อนหินก้อน เดียวที่ตั้งอยู่บริเวณลานหินพานขันหมากรูป ร่างลักษณะเหมือนกับพานขันหมากแต่กำ�ลัง พลิกคว่ำ�อยู่ห่างจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ที่ 2 (ภูสน) ประมาณ 200 เมตร

ที่ตั้ง อุทยานแห่งชาติภูเรือ ต.หนองบัว อ. ภูเรือ จ. เลย 42160 โทรศัพท์ 08 85095299 โทรสาร 0 4281- 0965 อีเมล phurua1@hotmail.com


หน้ า 181

หน้ า 182

โดยรถยนต์ อุทยานแห่งชาติภูเรือ อยู่ห่างจากจังหวัดเลย ประมาณ 48 กิโลเมตร โดยเดินทางไปโดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 203 ถึงอำ�เภอภูเรือ จะมีป้ายอุทยานแห่งชาติอยู่ปากทางเข้าซึ่งอยู่ข้างที่ว่าการอำ�เภอภูเรือ (มา จากจังหวัดเลย ป้ายจะอยู่ทางด้านขวามือ มาจากจังหวัดเพชรบูรณ์ ป้ายจะ อยู่ทางด้านซ้ายมือ) จากปากทางเข้าเดินทางต่อไปอีก ประมาณ 4 กิโลเมตร ก็ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ถนนภายในอุทยานแห่งชาติเป็นถนนลาดยาง เป็นถนนบนภูเขา บางช่วงมีความลาดชัน นักท่องท่องเที่ยวควรขับขี่ด้วย ความระมัดระวัง ใช้เกียร์ต่ำ� มิฉะนั้นจะทำ�ให้เบรคไหม้ได้ การเดินทางโดยเครื่องบิน 1) เส้นทางกรุงเทพฯ-อุดรฯ และนั่งรถประจำ�ทาง สายอุดรฯ-เมืองเลย 2) เส้นทางกรุงเทพฯ-ขอนแก่น นั่งรถประจำ�ทางสาย ขอนแก่น-เมืองเลย เมื่อมาถึงจังหวัดเลยสามารถนั่งรถประจำ�ทางประมาณ 50 กิโลเมตร ถึงอำ�เภอภูเรือ 3)กรุงเทพฯ-เพชรบูรณ์ รถโดยสารประจำ�ทาง เดินทางจากกรุงเทพฯ มี 2 เส้นทาง คือ 1.รถสาย กรุงเทพฯ-ภูเรือ 2.รถสายกรุงเทพฯ-เมืองเลย และนั่งรถประจำ�ทาง ดังนี้ 1) สายเมืองเลย-ภูเรือ 2) นครพนม-เชียงราย 3) อุดรฯ-พิษณุโลก 4) อุดรฯเชียงใหม่


หน้ า 184

หน้ า 183

อุทยานแห่งชาต ภิ ลู งั กา

สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติภูลังกา ต.ไผ่ล้อม อ.บ้านแพง จ.นครพนม 48140 E-mail : pLK_np@hotmail.com โทรศัพท์ : 0 4253 0766 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่หมายเลขนี้) หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายพันธ์ยศ กีรติพงศ์ศักดา ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการพิเศษ อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะ ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ


หน้ า 186

หน้ า 185

ร้านค้าสวัสดิการ ร้านค้าสวัสดิการ เปิดบริการทุกวันเวลา 08.30 น. - 16.30 น. สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE, DTAC, MY by CAT (สัญญาณไม่ เสถียร)

นายไมตรี อนุกูลเรืองกิตติ เจ้าพนักงานป่าไม้ 3 กองอุทยานแห่งชาติได้บันทึกเสนอผู้อำ�นวย การกองอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือลงวัน ที่ 27 เมษายน 2527 พร้อมส่งรายงานการ สำ�รวจพื้นที่บริเวณป่าภูลังกา ท้องที่อำ�เภอ บ้านแพง จังหวัดนครพนม ตามคำ�สั่งกรมป่า ไม้ที่ 55/2527 ลงวันที่ 12 มกราคม 2527 ที่ ให้ออกไปสำ�รวจจัดตั้งเป็นวนอุทยาน โดย นายไมตรีฯ ได้รายงานเสนอความเห็นว่ามี สภาพที่เหมาะสม สมควรจัดตั้งเป็นวนอุทยาน ฝ่ายจัดการวนอุทยานได้พิจารณาแล้วเห็น ว่า เนื่องจากบริเวณป่าภูลังกาที่ทำ�การสำ�รวจ มีพื้นที่ประมาณ 31,250 ไร่ หรือประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำ�เภอ บ้านแพง จังหวัด นครพนมและอำ�เภอเซกา จังหวัดหนองคาย สภาพป่าโดยทั่วไปเป็น ป่าดิบเขา ป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ และ ป่าแดงที่สมบูรณ์ มีสัตว์ป่าชุกชุม เป็นต้น กำ�เนิดของลำ�ห้วยหลากสาย และมีจุดเด่นทาง ธรรมชาติ เช่น หน้าผา ถ้ำ� น้ำ�ตก อยู่หลาย แห่ง ซึ่งอยู่ในหลักเกณฑ์ที่สามารถจัดตั้งเป็น อุทยานแห่งชาติได้ ทั้งเป็นการสนองนโยบาย ของรัฐบาล ในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ไว้ใน รูปแบบอุทยานแห่งชาติ จึงเห็นสมควรจัด ตั้งบริเวณป่าภูลังกา ท้องที่อำ�เภอบ้านแพง จังหวัดนครพนมและอำ�เภอเซกา จังหวัด หนองคายให้เป็นอุทยานแห่งชาติ และเห็น สมควรพิจารณาจัดหาเจ้าหน้าที่ออกไปทำ� หน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ เมื่อดำ�เนินการ ให้มีประสิทธิ์ภาพต่อไป

กรมป่าไม้ ได้มีคำ�สั่งที่ 642/2539 เรื่อง ให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการ ลงวันที่ 1 เมษายน 2539 ให้นายวัชรินทร์ ปิยะสุทธิ เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 ส่วนอุทยานแห่งชาติ สำ�นักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ไปทำ� หน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติภูลังกา และ สำ�รวจเพิ่มเติมเพื่อจัดตั้งอุทยานแห่งชาติภู ลังกา เพื่อกำ�หนดพื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็น อุทยานแห่งชาติตามนัยมาตรา 6 แห่งพระ ราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 โดย บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ภูลังกา ออกตามความในพระราชบัญญัติ ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พื้นที่ประมาณ 44,031 ไร่ แต่ได้ถูกบุกรุกไปแล้วในพื้นที่งาน คงเหลือพื้นที่โดยประมาณ 31,250 ไร่ หรือ ประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีสภาพป่า ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธาร มีสัตว์ ป่าหลายชนิด มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่สวยงาม และยังมีความหลากหลายทาง ชีวภาพและสิ่งแวดล้อม มีอาณาเขตทิศเหนือ จดห้วยทรายและห้วยซ่าน ท้องที่ตำ�บลดง บัง ตำ�บลโพธิหมากแข้ง อำ�เภอบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย ทิศใต้จดทางเกวียน ที่ทำ� กินราษฎร ท้องที่ตำ�บลโพนทอง ตำ�บลหนอง ซน อำ�เภอบ้านแพง นาทม จังหวัดนครพนม ทิศตะวันออก จดที่ทำ�กินราษฎร ท้องที่ตำ�บล นางัว ตำ�บลไผ่ล้อม อำ�เภอบ้านแพง จังหวัด นครพนม ทิศตะวันตก จดที่ทำ�กินราษฎร ท้องที่ตำ�บลโพธิหมากแข้ง อำ�เภอบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย

กรมป่าไม้พิจารณาแล้ว เพื่อ เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม เพื่อรักษาสมดุลทางธรรมชาติของ ระบบนิเวศน์ของพื้นที่ดังกล่าว ให้ คงไว้ในรูปของอุทยานแห่งชาติ เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาและ รื่นรมย์ของประชาชนสืบไป จึงเห็น ควรกำ�หนดพื้นที่บริเวณดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติตามนัยมาตรา 6 แห่ง พระราชบัญญัติอุทยาน แห่งชาติ พ.ศ. 2504


หน้ า 188

หน้ า 187

สถานที่ท่องเที่ยว น้ำ�ตกตาดโพธิ์ น้ำ�ตกตาดขาม น้ำ�ตกตาดวิมานทิพย์ ถ้ำ�นาคา ขนาดพื้นที่ 31250.00 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ภก.1 (น้ำ�ตกตาดขาม)


หน้ า 189

หน้ า 190

มีลักษณะเป็นภูเขาเรียงซ้อนกันตามแนวแม่น้ำ� โขง คือ ภูลังกาเหนือ ภูลังกากลาง และภูลังกา ใต้ ทอดยาวตามแนวทิศเหนือกับทิศใต้และ สลับด้วยเทือกเขาขนาดเล็กหลายลูกสลับซับ ซ้อนกันพร้อมทั้งทอดยาวตามแนวลำ�น้ำ�โขง มีความสูงจากระดับน้ำ�ทะเล ที่จุดสูงสุดบนภู ลังกาเหนือ สูง 563 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล สภาพโดยทั่วไปของพื้นที่เป็นภูเขาหินทราย โดยแบ่งชั้นหินที่สำ�คัญออกเป็น 3 หมวด คือ หมวดหินโคราช หมวดหินภูพาน และหมวดหิน ภูกระดึง ลักษณะดินจะเป็นดินทรายมีการพัง ทลายปานกลาง ภูลังกาเป็นต้นกำ�เนิดของห้วย ต่างๆ หลายสาย เช่น ห้วยทรายเหนือ ห้วย ซ่าน ห้วยยางนกเหาะ หวยลังกา ห้วยขาม และ ห้วยทรายใต้ ซึ่งมีความสำ�คัญมากสำ�หรับ ราษฎรในที่ราบที่อยู่ใกล้เคียงในการทำ�การ เกษตรกรรม และไหลลงสู่แม่น้ำ�โขง ที่อำ�เภอ บ้านแพง จังหวัดนครพนม

ในพื้นที่มีสภาพภูมิอากาศ โดยทั่วๆ ไปแล้วจะ มีสภาพอากาศใกล้เคียงกับบริเวณอื่นๆของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนสภาพอากาศ บนยอดเขาจะมีลักษณะเป็นหิน ฤดูหนาว จะมีอากาศหนาวจัด ประมาณ 0-5 องศา เซลเซียส โดยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 25-36 องศาเซลเซียส ฤดูฝนมีปริมาณน้ำ�มาก ประมาณ 1,860 มิลลิเมตรต่อปี


หน้ า 191

หน้ า 192

พื้นที่อุทยานแห่งชาติภูลังกาปกคลุมด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ดอกไม้ป่าที่มีอยู่โดยทั่วไป โดยเฉพาะกล้วยไม้ป่า รองเท้าแตะนารี เท่าที่พบในปัจจุบันส่วนมากจะเป็นกล้วยไม้ตระกูล หวายและแดงอุบล นอกจากนั้นภูลังกายังเป็นแหล่งสมุนไพรต่างๆ และว่านนานาชนิด ภูลังกาในปัจจุบันเท่าที่พบและได้ข้อมูลจากชาวบ้าน ปรากฏว่ายังมี สัตว์ป่าประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น หมูป่า ลิง อีเห็น เก้ง อยู่เป็น จำ�นวนมาก พร้อมทั้ง กระรอก กระแต บ่าง และนอกจากนี้ยังมีสัตว์ ปีกจำ�พวกนกต่างๆ หลายชนิด ที่เด่นๆ อีกจำ�พวกหนึ่งคือ สัตว์เลื้อย คลาน ได้แก่ กระท่าง และงู อีกหลายๆ ชนิด

รถยนต์ ภูลังกาตั้งขนานกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (นครพนม-บ้านแพงหนองคาน) ประมาณ 105 กิโลเมตร ห่างจากก้าวจังหวัดหนองคาย 220 กิโลเมตร ห่างจากตัวอำ�เภอบ้านแพงประมาณ 6 กิโลเมตร การเดินทางไปภู ลังกาสะดวกสบายทุกฤดูกาล ถ้าตั้งต้นจากกรุงเทพฯ สามารถใช้เส้นทางได้ หลายเส้นทาง คือ กรุงเทพ-อุดร-พังโคน-วานรนิวาส-เซกา-บ้านแพง หรือ จะใช้เส้นทาง กรุงเทพ-สกลนคร-นครพนม-บ้านแพง


หน้ า 194

หน้ า 193

อุทยานแห่งชาต ภิ แู ลนคา ที่ตั้งและข้อมูลทั่วไป สถานที่ติดต่อ : อุทยานแห่งชาติภูแลนคา ต.ห้วยต้อน อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ 36000 E-mail : phulaenkha_dnp@hotmail.com โทรศัพท์ : 093 093 9193, 0 4410 9786 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่หมายเลขนี้) หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายเด่น รัตนชัย ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ

อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะท่องเที่ยวใน อุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ ร้านค้าสวัสดิการ ร้านสวัสดิการ (อาหารและเครื่องดื่ม) เปิดให้บริการทุกวันเวลา 08.00 - 18.00 น. สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ 1. บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE 2. บริเวณผาหัวนาค : AIS, TRUE, DTAC


หน้ า 195

อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบคลุม อยู่ในท้องที่ ตำ�บลบ้านหัน ตำ�บลสระโพนทอง ตำ�บลโนนกอก ตำ�บลซับสีทอง ตำ�บลบ้านเดื่อ อำ�เภอเกษตรสมบูรณ์ ตำ�บลกุดชุมแสง ตำ�บล คูเมือง อำ�เภอหนองบัวแดง ตำ�บลท่ามะไฟ หวาน อำ�เภอแก่งค้อ ตำ�บลห้วยต้อน อำ�เภอ เมืองชัยภูมิ ตำ�บลภูแลนคา อำ�เภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ สภาพป่าเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ ป่าหลายชนิด มีจุดเด่นทางธรรมชาติที่น่า สนใจ เช่น จุดชมวิวภูแลนคา ผากล้วยไม้ หิน ปราสาท ประตูโขลง มอหินขาว เป็นต้น และ การเดินทางเข้าไปเที่ยวชมก็สะดวก มีเนื้อที่ ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่ ความเป็นมา : สภาพพื้นที่ป่าที่กำ�หนดเป็น เขตป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 7 มีนาคม 2535 ในเขตพื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าสงวน แห่งชาติภูแลนคาด้านทิศใต้ของท้องที่อำ�เภอ เมือง อำ�เภอบ้านเขว้า อำ�เภอหนองบัวแดง และอำ�เภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ตาม คำ�สั่งกรมป่าไม้ที่ 2262/2539 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2539 ได้ให้นายสุรชัย นายจำ�เริญ เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 ส่วนอุทยานแห่งชาติ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติตาดโตน ให้ไปดำ�เนิน การสำ�รวจ เบื้องต้นป่าสงวนดังกล่าว เพื่อจัด ตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้เข้าไปประสาน งานกับทางจังหวัด ชัยภูมิ และจากการสำ�รวจ เจ้าหน้าที่ได้ประสานงานกับหน่วยงาน ทั้งภาค รัฐและเอกชน องค์กรต่าง ๆ ประชาชน และ รวมถึงหน่วยงานป่าไม้ประจำ�จังหวัดชัยภูมิ และป่าไม้เขตนครราชสีมาที่เกี่ยวข้อง

อุทยานแห่งชาติตาดโตน โดยหัวหน้าชุดสำ�รวจและศึกษา ได้ส่ง ข้อมูลการรายงานการสำ�รวจดังกล่าว ให้สำ�นักงานป่าไม้จังหวัด ชัยภูมิทราบและพิจารณา ตามหนังสืออุทยานแห่งชาติตาดโตน ที่ กษ 0712.320/89 ลง วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2539 ซึ่งสำ�นักงาน ป่าไม้จังหวัดชัยภูมิได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นพ้องกับเจ้า หน้าที่ของอุทยานแห่งชาติตาดโตน และได้นำ�เรื่องราวเสนอคณะ อนุกรรมการป้องกันการ ลักลอบทำ�ลายทรัพยากรป่าไม้ ประจำ� จังหวัดชัยภูมิ เพื่อพิจารณาต่อไป ตามหนังสือสำ�นักงานป่าไม้ จังหวัดชัยภูมิ ที่ ชย. 0009.2/720 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2539

หน้ า 196


หน้ า 198

หน้ า 197 ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2539 ลงวันที่ 23 กันยายน 2539 ของคณะอนุกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการลักลอบทำ�ลาย ทรัพยากรป่าไม้ พิจารณาเห็นชอบในการ กำ�หนดประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์บางส่วน ใน เขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้านทิศ เหนือ และป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้าน ทิศใต้ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 92,500 ไร่ เพื่อ จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือกอง อุทยานแห่งชาติ ที่ กษ. 0712/พิเศษ ลงวัน ที่ 20 ธันวาคม 2539 ได้มีมติเห็นชอบและ ให้การสนับสนุนที่กรมป่าไม้จะประกาศพื้นที่ป่า อนุรักษ์ดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร็ว และมีมติแนวความคิดเห็นตรงกัน โดยให้ชื่อ หน่วยงานใหม่นี้ว่า “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” ด้วยเหตุผลที่ว่าแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของ อุทยานแห่งชาติแห่งใหม่นี้ตั้งอยู่ในเทือกเขาภู แลนคา และเป็นที่รู้จักกันดีของประชาชนโดย ทั่วไป ซึ่งนายสถิตย์ สวินทร อธิบดีกรมป่าไม้ อนุมัติให้ใช้ชื่อ “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” เมื่อ วันที่ 20 มกราคม 2540

ต่อมาปี 2550 ได้มีพระราชกฤษฎีกากำ�หนด บริเวณที่ดินป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่า ภูแลนคาด้านทิศใต้ ในท้องที่ตำ�บลบ้านหัน ตำ�บลสระโพนทอง ตำ�บลโนนกอก ตำ�บลซับ สีทอง ตำ�บลบ้านเดื่อ อำ�เภอเกษตรสมบูรณ์ ตำ�บลกุดชุมแสง ตำ�บลคูเมือง อำ�เภอ หนองบัวแดง ตำ�บลท่ามะไฟหวาน อำ�เภอแก่ง ค้อ ตำ�บลห้วยต้อน อำ�เภอเมืองชัยภูมิ ตำ�บล ภูแลนคา อำ�เภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เนื้อที่ ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่ง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอน ที่ 37 ก ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2550 จัดเป็น อุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 108 ของประเทศ

สถานที่ท่องเที่ยว จุดชมทิวทัศน์ภูแลนคา น้ำ�ตกพานทอง ผาหัวนาค หินปราสาท จุดชมทิวทัศน์หินประตูโขลง ผากลัวยไม้


หน้ า 200

หน้ า 199

ลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่สำ�รวจ เป็นเทือกเขาภูแลนคา ภูเขียว ภูคำ�น้อย พื้นที่ เป็นภูเขาสลับซับซ้อน และที่ราบสูง ซึ่งจะมี ระดับความสูงตั้งแต่ประมาณ 200 ถึง 1,038 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล จะมียอดภูคี ซึ่งเป็น ยอดเขาที่มีความสูง สูงสุดของพื้นที่ โดยมี ความสูงประมาณ 1,038 เมตร จากระดับน้ำ� ทะเล พื้นที่ทางด้านทิศใต้จะเป็นพื้นที่ลาด ซึ่ง จะอยู่สูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ประมาณ 200 ถึง 700 เมตร และพื้นที่ทางด้านทิศเหนือ จะเป็นพื้นที่ลาดชันมาก มีหน้าผาหุบเขาเป็น ส่วนใหญ่

จัดอยู่ในภูมิอากาศฝนเมืองร้อนมี 3 ฤดู ได้รับ อิทธิพลจากมรสุมประจำ�ฤดู อุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ 27.66 องศาเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ เฉลี่ยทั้งปี 60 % ปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,155.36 ขนาดพื้นที่ 125312.50 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูแลนคา หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.1 (ภูคี) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.2 (พานทอง)


หน้ า 201

ลักษณะพันธุ์พืช จากสภาพพื้นที่เทือกเขาภูแลนคาที่มีระดับความสูงประมาณ 300 1,000 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง จึงก่อให้เกิดสภาพป่าไม้ที่ หลากหลายถึง 4 ประเภท ดังนี้ 1. ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าผสมผลัดใบ พบโดยทั่วไปบริเวณหน้าผา ด้านทิศเหนือของพื้นที่ ในระดับความสูงประมาณ 300 - 800 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 96 ตาราง กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 48 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ ตะแบก ประดู่ มะค่าโมง ตีนนก ไม้ไผ่ ฯลฯ 2.ป่าดิบแล้ง เป็นป่าไม้ผลัดใบ พบโดยทั่วไปตามร่องเขาและลำ�ห้วย ใน ระดับความสูงประมาณ 400 - 1,000 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลปาน กลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 30 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ไทร ตะแบก ประดู่ ตะเคียน ฯลฯ สำ�หรับ ไม้พื้นล่างจะพบไม้พุ่มและลูกไม้ป่าขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น 3. ป่าเต็งรัง เป็นป่าโปร่งผลัดใบ พบบริเวณทางตอนใต้ของพื้นที่ของ อุทยานแห่งชาติฯ ขึ้นอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 - 700 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 40 ตาราง กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ เหียง เต็ง รัง พะยอม รักใหญ่ ส้าน ฯลฯ ไม้พื้นล่างจะพบไผ่เพ็ก กระเจียวขาว ซึ่งเป็นไม้ประจำ�ถิ่นขึ้นอยู่เป็นกลุ่มๆ ทั่วไป 4. ป่าทุ่งหญ้า เป็นป่าทุ่งหญ้าคาและท่งหญ้าเพ็ก พบโดยทั่วไปในพื้นที่ คลอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4 ตาราง-กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 2 ลักษณะสัตว์ป่า เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่มีความหลากหลายของชนิดป่าถึง 4 ประเภท ประกอบกับมีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติตาดโตน และ อุทยานแห่งชาติไทรทอง ซึ่งเหมาะสมกับการดำ�รงชีวิตของสัตว์ ป่ามากมาย จากการสำ�รวจทรัพยากรสัตว์ป่าในพื้นที่ของอุทยาน แห่งชาติภูแลนคา ได้แก่ สัตว์จำ�พวกนก จำ�นวน 57 ชนิด และสัตว์ จำ�พวกเลี้ยงลูกด้วยนม จำ�นวน 3 ชนิด เช่น หมูป่า สุนัขจิ้งจอก อีเห็น เป็นต้น

หน้ า 202

รถยนต์ จากกรุงเทพฯ เดินทางโดยใช้เส้นทางตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ผ่านจังหวัดปทุมธานี อยุธยา จนถึงสระบุรี ระยะทางประมาณ 107 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่อโดยใช้เส้น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ผ่านอำ�เภอมวกเหล็ก อำ�เภอปากช่อง จนถึงแยกเข้าอำ�เภอสีคิ้ว ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่อโดยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ผ่านอำ�เภอสีคิ้ว อำ�เภอด่านขุนทด อำ�เภอจัตุรัส ถึงจังหวัดชัยภูมิ ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร รวมระยะทางเส้นทางหลักทั้งสิ้นประมาณ 312 กิโลเมตร หลังจาก นั้นสามารถเดินทางจากจังหวัดชัยภูมิ ใช้ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2051 (ชัยภูมิ-ตาดโตน) ไปประมาณ 6 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าทางหลวง จังหวัดหมายเลข 2159 (ชัยภูมิ-หนองบัวแดง) ไปจนถึง กม.ที่ 26 มีทางแยก ซ้ายมือเข้าที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ


หน้ า 204

หน้ า 203

อุทยานแห่งชาต ภิ เู ว ยี ง

ครอบคลุมพื้นที่ 380 ตารางกิโลเมตร ในเขตอำ�เภอเวียงเก่า อำ�เภอภูเวียง อำ�เภอ สีชมพู และอำ�เภอชุมแพ เมื่อพูดถึงอุทยานแห่งชาติภูเวียงนักท่องเที่ยวก็ต้องนึกถึง ไดโนเสาร์ ไม่เคยมีใครคาดคิดมาก่อนว่าบริเวณที่ราบสูงที่อยู่ในเขตประเทศไทยปัจจุบัน นั้นจะเคยเป็นบ้านของไดโนเสาร์มาก่อนจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2519 มีการสำ�รวจแหล่ง แร่ยูเรเนียมในบริเวณอุทยานแห่งชาติภูเวียง ระหว่างการสำ�รวจนักธรณีวิทยาได้ค้นพบ ซากกระดูกชิ้นหนึ่งเข้า และเมื่อส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญชาวฝรั่งเศสวิจัยผลปรากฏออกมา ว่าเป็นกระดูกหัวเข่าข้างซ้ายของไดโนเสาร์ จากนั้นนักสำ�รวจก็ได้ทำ�การขุดค้นกันอย่าง จริงจังเรื่อยมากระทั่งปัจจุบัน


หน้ า 205

บนยอดภูประตูตีหมา หลุมขุดค้นที่ 1 ได้พบฟอสซิลไดโนเสาร์พันธุ์หนึ่งมีลำ�ตัวสูงใหญ่ประมาณ 15 เมตร คอยาว หางยาว เป็นพันธุ์กินพืชซึ่งไม่เคยพบที่ใด มาก่อน จึงได้อัญเชิญพระนามของสมเด็จพระเทพฯ มาตั้ง ชื่อ ไดโนเสาร์ พันธุ์นี้เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติว่า “ภูเวียง โกซอรัส สิรินธรเน่” (Phuwianggosauras Sirindhornae) และในบริเวณหลุมขุดค้นเดียวกันนั้นเอง นักสำ�รวจได้พบฟัน ของไดโนเสาร์ประเภทกินเนื้อปะปนอยู่มากกว่า 10 ซี่ ทำ�ให้ สันนิษฐานได้ว่าโซโรพอดตัวนี้อาจเป็นอาหารของเจ้าของฟัน เหล่านี้แต่ในกลุ่มฟันเหล่านี้มีอยู่หนึ่งซี่ที่มีลักษณะแตกต่าง กันออกไป เมื่อนำ�ไปศึกษาปรากฎว่าฟันชิ้นนี้เป็นลักษณะฟัน ไดโนเสาร์พันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยค้นพบมาก่อนเช่นกัน จึงตั้งชื่อเป็น เกียรติแก่ผู้ค้นพบ นายวราวุธ สุธีธร ว่า “ไซแอมโมซอรัส สุธี ธรนี่” (Siamosaurus Suteethorni) ผู้สนใจสามารถเดินไป ชมได้ หลุมขุดค้นที่ 1 นั้นอยู่ไม่ไกลจากที่ทำ�การอุทยานและยัง สามารถเดินไปชมหลุมขุดค้นที่ 2 และที่ 3 ซึ่งอยู่บริเวณใกล้ เคียงด้วย ฟอสซิล “ไซแอมโมไทรันนัส อีสานเอ็นซิส” (Siamotyrannus Isanensis) เป็นสิ่งที่ชี้ว่าไดโนเสาร์จำ�พวกไท รันโนซอร์มีต้นกำ�เนิดในทวีปเอเชียเพราะฟอสซิลที่พบที่นี่เป็น ชิ้นที่เก่าแก่ที่สุด(120-130 ล้านปี) แต่กระดูกชิ้นนี้ได้นำ�ไปจัด แสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์ในกรมทรัพยากรธรณี กรุงเทพฯ

หน้ า 206

บริเวณหินลาดป่าชาด หลุมขุดค้นที่ 8 พบรอยเท้าไดโนเสาร์ จำ�นวน 68 รอยอายุประมาณ 140 ล้านปี เกือบทั้งหมดเป็น รอยเท้าไดโนเสาร์กินเนื้อพันธุ์เล็กที่สุดในโลกเดิน 2 เท้า แต่ หนึ่งในรอยเท้าเหล่านั้น มีขนาดใหญ่ผิดจากรอยอื่น คาด ว่าเป็นของคาร์โนซอรัส การไปชมควรเดินทางด้วยรถขับ เคลื่อน 4 ล้อ ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ห่างจากที่ทำ�การ 19 กิโลเมตร ส่วนฟอสซิลดึกดำ�บรรพ์อื่นๆ ที่ขุดพบ เช่น ซาก ลูกไดโนเสาร์ ซากจระเข้ขนาดเล็ก ซากหอย 150 ล้านปี จะอยู่ กระจัดกระจายกันอยู่ตามหลุมต่างๆ


หน้ า 207

ความน่าสนใจของที่นี่ไม่ได้มีเพียงแต่ไดโนเสาร์เท่านั้นยังมีการ พบร่องรอยอารยธรรมโบราณด้วย โดยพบ “พระพุทธรูป ปางไสยาสน์” ประติมากรรมนูนสูงสลักบนหน้าผาของยอดเขา ภูเวียง สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 14 ลักษณะท่านอน ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย พระเศียรหนุนแนบกับต้นแขนขวา แขนซ้ายทอดไปตามลำ�พระองค์ นอกจากนี้”ถ้ำ�ฝ่ามือแดง” ที่ บ้านหินร่องมีงานศิลปะของมนุษย์ถ้ำ�โบราณ ลักษณะของภาพ เกิดจากการพ่นสีแดงลงไปในขณะที่มือทาบกับผนังถ้ำ�ก่อให้ เกิดเป็นรูปฝ่ามือขึ้น ส่วนแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ในบริเวณอุทยานฯจะมี น้ำ�ตกอยู่สองสามแห่ง “น้ำ�ตกทับพญาเสือ” เป็นน้ำ�ตกเล็กๆ ตั้งอยู่ใกล้กับถ้ำ�ฝ่ามือแดง “น้ำ�ตกตาดฟ้า” เป็นน้ำ�ตกขนาด ใหญ่ สูงประมาณ 15 เมตร สามารถเข้าถึงได้โดยรถยนต์ อยู่ห่างจากอำ�เภอภูเวียง 18 กิโลเมตร และขึ้นเขาไปอีก 6 กิโลเมตร ตรงต่อไปจากน้ำ�ตกตาดฟ้าอีก 5 กิโลเมตร จะ ถึง”น้ำ�ตกตาดกลาง” นอกจากน้ำ�ตกก็ยังมีแหล่งท่องเที่ยว ประเภททุ่งหญ้าและลานหิน ซึ่งจะมีดอกไม้ป่านานาพันธุ์บานใน ช่วงหลังฤดูฝนได้แก่”ทุ่งใหญ่เสาอาราม” “หินลาดวัวถ้ำ�กวาง” และ”หินลาดอ่างกบ”

หน้ า 208


หน้ า 209

หน้ า 210

อุทยานแห่งชาติภูเวียงอยู่ห่างจากจังหวัดขอนแก่น 86 กิโลเมตร จากจังหวัด ขอนแก่น ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ขอนแก่น-ชุมแพ) ผ่านอำ�เภอ บ้านฝาง อำ�เภอหนองเรือ ถึงทางแยกไปอำ�เภอภูเวียง ระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร จึงแยกตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2038 ไปประมาณ 38 กิโลเมตร ผ่านตัวอำ�เภอภูเวียง และหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ภว.1 (ปากช่องภูเวียง) ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติภูเวียงที่ภูประตูตีหมา ค่าเข้าชม คนไทยผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท /ชาวต่างชาติผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท อัตราค่าบริการ สำ�หรับนักท่องเที่ยวชาวไทยลด 50 เปอร์เซ็นต์ วันจันทร์-วันศุกร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม-31 ธันวาคม 2558 ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท อุทยานฯ มีบ้านพักและสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ ราคา ราคา 1,200 – 3,000 บาท สิ่งอำ�นวยความสะดวก มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร บ้านพัก ลาน กางเต็นท์ สามารถติดต่อได้ที่ อุทยานแห่งชาติภูเวียง ตู้ ปณ.1 ต.ในเมือง อ. ภูเวียง จ. ขอนแก่น 40150 โทรศัพท์ 08 5852 1771 สำ�นักอุทยานแห่ง ชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช โทร. 0 2562 0760 เว็บไซต์ www.dnp.go.th


หน้ า 212

หน้ า 211

อุทยานแห่งชาต ภิ สู ระดอกบ วั

ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 75 ของประเทศไทย มีเนื้อที่อยู่บนแนวเขต รอยต่อ 3 จังหวัด คือ อำ�เภอนิคมคำ�สร้อย อำ�เภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อำ�เภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร อำ�เภอชานุมาน และอำ�เภอเสนางคนิคม จังหวัดอำ�นาจเจริญ มี เนื้อที่ประมาณ 144,375 ไร่ หรือ 231 ตารางกิโลเมตร ในอดีตประมาณปี พ.ศ. 2508 – 2525 ที่นี่เคยเป็นพื้นที่แทรกซึมของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.) มาก่อน หลังจาก เหตุการณ์คลี่คลายลงในปี พ.ศ. 2525 จึงได้จัดสรรพื้นที่ให้เป็นที่ทำ�กินของชาวบ้าน แต่ ก็มีการบุกรุกจนเกิดปัญหา จึงได้มีการจัดตั้งเป็นอุทยานมาจนถึงทุกวันนี้ และด้วยสภาพ ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน ที่อุดมด้วยป่าหลายชนิด โดยเฉพาะป่าดิบแล้งที่มี ต้นเต็งรังอยู่เป็นจำ�นวนมากสลับกับลานหินขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป นอกจากจะมี สัตว์ป่าอาศัยอยู่มากแล้ว ยังมีธรรมชาติที่งดงามด้วยดอกไม้ป่าต้นเล็กๆ ที่อวดดอก สวยงามในช่วงกลางฤดูฝน ทำ�ให้อุทยานแห่งนี้น่าเที่ยวไม่แพ้ที่ใดของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ


หน้ า 213

ภูสระดอกบัวมีความโดดเด่นของป่าเต็งรัง และลานหิน ทำ�ให้สถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ อยู่บนยอดภูสูง การเดินทางท่องเที่ยวจึงเป็น เส้นทางเดินป่าที่เหมาะกับนักนิยมไพร และ การกางเต็นท์พักแรมกลางป่า นอกจากนี้ ยังเหมาะกับนักเดินป่าสมัครเล่นด้วย เพราะ เส้นทางไม่ยากจนเกินไป โดยคุณสามารถเดิน เที่ยวแบบไปกลับในวันเดียว โดยเริ่มต้นที่ด้าน หลังที่ทำ�การอุทยาน เป็นเส้นทางเดินขึ้นไปชม ทิวทัศน์บนยอดเขาไปสิ้นสุดที่ลานภูวัด โดย ระหว่างทางจะผ่านที่เที่ยวให้คุณได้แวะชมด้วย เช่น ภูผาแต้ม อยู่ก่อนถึงสันเขาเพียง 200 เมตร ลักษณะเป็นเพิงผาที่มีทางเดินลอดไปชม ภาพเขียนสีของมนุษย์ยุคโบราณที่มีอายุอยู่ ในช่วงเดียวกับที่อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ และ ผาแต้ม บริเวณที่พบภาพเขียนนี้ยาวประมาณ 60 เมตร

หลังจากที่คุณเดินชมภาพเขียนที่ภูผาแต้มแล้ว เดินขึ้นเขาอีกไม่นานก็จะมีทางแยกไปยังจุดชม ทิวทัศน์ผามะเกลือ ที่ผามะเกลือเป็นลานหิน โล่ง ที่มองเห็นทิวทัศน์ได้อย่างกว้างไกล มอง เห็นสันเขาที่ทอดตัวอยู่เบื้องหน้าและอ่างเก็บ น้ำ�บริเวณที่ทำ�การอุทยานได้ถนัดตา จากผา มะเกลือ เดินย้อนกลับไปทางทิศตะวันตกจะพบ กับภูผาแตก ซึ่งเป็นลานหินโล่งมีรอยแยกของ แผ่นหิน ที่ภูผาแตกนี้เคยเป็นจุดยุทธศาสตร์ ที่เรียกว่า เนิน 420 ที่มีการต่อสู้ของลัทธิ คอมมิวนิสต์กับรัฐบาลในปี พ.ศ. 2508-2525 นอกจากความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์แล้ว ยังเป็นจุดชมวิวที่สวยงาม มองเห็นได้ไกลถึง อุทยานแห่งชาติมุกดาหารด้วย หากขยันเดิน ต่อไปอีกหน่อยยังมีผืนป่าเต็งรังแคระและทุ่ง หญ้าให้คุณได้ชมความงามของป่าดิบแล้งด้วย และที่พลาดไม่ได้คือการได้มาชมความงาม ของทุ่งดอกไม้ป่าบนลานภูวัด ซึ่งเป็นลานหิน โล่งกว้างมองเห็นวิวได้สวยงาม ในช่วงเดือน สิงหาคม-กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่มีฝนตกลงมา ดอกไม้ต้นเล็กๆ บนลานหินจะผลิดอกกระจาย เต็มทุ่ง ทั้งดอกกระดุมเงิน กระดุมทอง ดุสิตา สรัสจันทร และกล้วยไม้เอื้องม้าวิ่ง

หน้ า 214


หน้ า 215 การเดินขึ้นมาชมทุ่งดอกไม้ป่าบนลานภูวัดถือว่าเป็น ไฮไลท์ของเล่นทางเดินป่าสายนี้ แต่สำ�หรับคุณที่ชอบ การเดินป่าจริงๆ ยังมีเส้นทางพิชิตยอดภูหมู เป็นจุด ชมทิวทัศน์ที่นักท่องเที่ยวนิยมขึ้นไปเที่ยวอีกแห่งหนึ่ง เพราะมีอากาศเย็นสบายตลอดปี ในสมัยสงคราม เวียดนาม บนยอดภูหมูยังเป็นที่ตั้งสถานีสื่อสารของ ทหารอเมริกันด้วย หรือจะเลือกเส้นทางพิชิตยอด ภูผาหอม เป็นจุดชมวิวที่สวยงามมากของเทือกเขา ภูผาแต้ม จุดนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้ในระยะไกล มีความสูงประมาณ 386 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล จึงมองเห็นยอดเขาภูหมู ภูแผงม้า ภูไม้ซาง ภูของ ภู อัครชาดที่อยู่เบื้องหน้าได้ ในยามเย็นที่จุดนี้มีผู้นิยม มาชมพระอาทิตย์ตก เพื่อเก็บภาพอันน่าประทับใจ และพักค้างแรมกันมากอีกด้วย และสิ่งที่บ่งบอกว่าที่นี่คือภูสระดอกบัว คือการได้ เดินป่าพิชิตยอดภูสระดอกบัว ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ อุทยานนี้ ภูสระดอกบัวมีความพิเศษอยู่ที่ภูมิประเทศ ที่แปลก เป็นภูเขาที่มีความสูงประมาณ 423 เมตร บนรอยต่อเขต 3 จังหวัด ที่ยอดภูสระดอกบัวมีแอ่ง น้ำ�ที่ลึกลงไปในหินขนาดกว้างประมาณ 2-3 เมตร ลึก 1 เมตร อยู่ 5-6 แอ่ง มีน้ำ�ขังตลอดปี มีบัวพันธุ ข์นาดเล็กขึ้นอยู่เต็มสระ เมื่อออกดอกจะสวยงาม มาก ชาวบ้านเล่ากันว่ามีบัวขึ้นอยู่อย่างนี้มาตั้งแต่ อดีตแล้วและเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จึงได้ชื่อว่า “ภูสระดอกบัว” บริเวณเดียวกันยังมีถ้ำ�ขนาดใหญ่ ที่เป็นฐานกำ�ลังพลของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ด้วย ภายในถ้ำ�สามารถจุคนได้ถึง 100 คน การเดิน ป่าในเส้นทางนี้เป็นการเดินป่าระยะไกลที่ท้าทายพอ สมควร ซึ่งมีการค้างแรมกลางป่า โดยคุณสามารถ ติดต่อให้เจ้าหน้าที่นำ�ทางได้ที่ศูนย์บริการนักท่อง เที่ยว และเตรียมอุปกรณ์แค้มป์ปิ้งมาให้พร้อมก็จะ สะดวกในการเดินทางสู่ภูสระดอกบัวด้วย ซึ่งหากมา เที่ยวที่นี้แล้ว ไม่ได้พิชิตยอดภูสระดอกบัว เหมือนมา ไม่ถึง

หน้ า 216

ที่ตั้ง : บ้านหนองเม็ก ตำ�บลป่าไร่ อำ�เภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร การเดินทาง : จากจังหวัดมุกดาหารใช้ทางหลวงหมายเลข 2034 เป็นถนนเลียบแม่น้ำ�โขง ก่อนถึงอำ�เภอดอนตาลจะ เจอป้ายอุทยานอยู่ด้านขวามือ ตั้งอยู่บริเวณอ่างเก็บน้ำ�หิน ข้อ บ้านหนองเม็ก ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 60 กิโลเมตร


หน้ า 218

หน้ า 217

อุทยานแห่งชาต ภิ สู วนทราย เป็นของคนไทยทุกคน โปรดช่วยกันรักษาไว้ให้ลูกหลานของ เรา

อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย (นาแห้ว) ตั้งอยู่ในเขตอำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 3 ตำ�บล ได้แก่ ตำ�บลนาแห้ว ตำ�บลแสงภา ตำ�บเหลล่ากอหก อำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย มีเนื้อที่ประมาณ 73,225 ไร่ หรือ 117.16 ตารางกิโลเมตร ด้วยสภาพขุนเขาที่สูงสลับซับซ้อนกันในพื้นที่ อำ�เภอนาแห้ว ประกอบกับ เป็นผืนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ สภาพป่าโดยส่วนใหญ่เป็นป่าดิบชื้น ซึ่งมีที่ราบน้อย จุดที่สูงที่สุดประมาณ 1,408 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล สภาพอากาศค่อนข้างเย็นสบายตลอดปี เนื่องจากความสมบูรณ์ของป่า ธรรมชาติซึ่งมีพันธุ์ไม้อยู่หนาแน่น ในช่วงฤดูหนาวอากาศค่อนข้างจะหนาวเย็น


หน้ า 219 ป่าผืนนี้เป็นส่วนหนึ่งของป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเปือย ป่าภูขี้เถ้า และป่าภูเรือ ตามกฎกระทรวงที่ 1041 (พ.ศ. 2527) ออกตามความในพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2507 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 101 ตอนที่ 69 วันที่ 30 พฤษภาคม 2527 เป็นป่า โครงการไม้กระยาเลย บ้านนาท่อน-บ้านบุ่ง (ลย.8) ตอนที่ 7 และ 8 ผ่านการคัดเลือกเพื่อให้ตัดฟันไม้ ออกแล้ว แต่ราษฎรตำ�บลแสงภา ได้รวมตัวกันเมื่อ เดือนธันวาคม 2530-มกราคม 2531 คัดค้านมิให้ ทำ�ไม้ออกทางราชการได้พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องนี้ แล้วเห็นชอบตามราษฎรจึงระงับการทำ�ไม้ไว้ก่อน ต่อ มาเมื่อปี พ.ศ. 2532 ได้มีพระราชกฤษฎีกายกเลิก การทำ�ไม้ตามสัมปทานเสียทั้งหมด จึงเป็นการยุติ การทำ�ไม้ออกตามสัมปทานโดยสิ้นเชิง การจัดตั้งป่าผืนนี้ให้เป็นป่าอนุรักษ์ในรูปอุทยาน แห่งชาติ เนื่องจากกองอำ�นวยการพัฒนาพื้นที่ เพื่อความมั่นคง อำ�เภอนาแห้ว ฝ่ายทหาร เริ่มแรก ต้องการให้เป็นปอดของสมาชิกราษฎรอาสาป้องกัน ชายแดน แต่เมื่อตระหนักถึงประโยชน์ในการพักผ่อน ในลักษณะป่าเขาลำ�เนาไพรแล้ว เห็นว่าน่าจะอำ�นวย ประโยชน์แก่ราษฎรโดยทั่วกันอีกด้วย จึงตัดสินใจ หาลู่ทางกำ�หนดให้ป่านาแห้วเป็นอุทยานแห่งชาติ ประกอบกับเนื่องในโอกาสครบ 3 รอบ หรือ 36 พระชนมพรรษาของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2534 ซึ่งกรมป่าไม้เห็นชอบด้วยเป็นอย่างยิ่ง และตอบ สนองความต้องการอนุรักษ์ป่าผืนนี้อย่างจริงจัง การสำ�รวจเบื้องต้นบนส่วนหนึ่งของพื้นที่จึงเริ่มขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลต่างๆ มาประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติและคณะกรรมการ ชุดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกาศเป็นอุทยานแห่ง ชาติโดยได้พระราชกฤษฎีกากำ�หนดบริเวณที่ดินป่า ภูเปือย ป่าภูขี้เถ้า และป่าภูเรือ ในท้องที่ตำ�บลแสงภา ตำ�บลเหล่ากอหก และตำ�บลนาแห้ว อำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย ตามราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนที่ 52ก หน้า 54-56 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2537 โดยใช้ชื่อว่า อุทยานแห่งชาตินาแห้ว นับเป็นอุทยาน แห่งชาติลำ�ดับที่ 79 ของประเทศ ต่อมาเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้พิจารณา ชื่ออุทยานแห่งชาติให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับ จุดเด่น และศักยภาพที่สำ�คัญของพื้นที่ที่จัดตั้งเป็น อุทยานแห่งชาติ จึงเปลี่ยนชื่ออุทยานแห่งชาตินาแห้ว เป็นอุทยานแห่งชาติอุทยานแห่งชาติภูสวนทราย

หน้ า 220

ภูมิประเทศของอุทยานแห่งชาติเป็นเทือกเขา สลับซับซ้อนตามแนวชายแดนไทย-ลาว สันเขา มีลักษณะเป็นที่ราบสูง มีความลาดเท ตั้งแต่ 2 เปอร์เซ็นต์ จนถึงมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ด้านตะวันตกซึ่งเป็นพื้นที่ป่าผืนใหญ่ จะมีความ ลาดชันมาก พื้นที่ราบเชิงเขาเกือบจะไม่มี ด้าน ตะวันออกจะมีความลาดชันน้อย ลาดเทลงไป ทางด้านตะวันออกมีที่ราบเชิงเขาอยู่บ้าง พื้นที่ สูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ตั้งแต่ 600 1,408 เมตร มีภูสันทรายเป็นยอดเขาสูงสุด เป็นแหล่งน้ำ�น้ำ�ลำ�ธารของแม่น้ำ�เหือง และ แม่น้ำ�แพร่

สภาพอากาศค่อนข้างเย็นสบายตลอดปี เนื่องจากความสมบูรณ์ของป่าธรรมชาติซึ่ง มีพันธุ์ไม้อยู่หนาแน่น ในช่วงฤดูหนาวอากาศ ค่อนข้างจะหนาวเย็น


หน้ า 221

หน้ า 222

อุทยานแห่งชาติปกคลุมไปด้วยผืนป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่า เบญจพรรณ และป่าเต็งรัง มีสัตว์ป่ามากมายหลายชนิดดังนี้ 1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ เลียงผา เก้ง กระจง หมูป่า หมี เสือ โคร่ง หมาไน อีเห็น บ่าง กระรอก ในป่านี้มีสัตว์ชนิดหนึ่ง ชาวบ้าน เรียกว่า “ตัวหอน” มีลักษณะคล้ายเม่นอยู่เป็นกลุ่มหากินกลางคืน อาศัยตามหลืบหิน โพรงหิน ไม่ขุดรูอยู่ด้วยตนเองเหมือนเม่น 2. นก ประกอบด้วย นกเหยี่ยว นกกระจิบ นกโพระดก นกกาเหว่า ไก่ป่า ไก่ฟ้า พญาลอไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าหลังเทา นกกก นกแซงแซว เป็นต้น และมีนกชนิดหนึ่งเรียกว่า “นกกองกอด” ลักษณะเด่น คือ ที่ ขามีเดือยมากกว่า 1 เดือย หางคล้ายนกยูง 3. สัตว์เลื้อยคลาน มี เต่าปูลู กิ้งก่า กะท่าง แย้ จิ้งเหลน ตะกวด แลน และงูชนิดต่างๆ ทั้งมีพิษและไม่มีพิษ ประเภทงูมักพบในป่า เบญจพรรณ 4. ปลา พบในลำ�น้ำ�เหืองและแม้แต่ลำ�ห้วยเล็กๆ ก็มีปลาน้ำ�จืดอาศัย อยู่ในลำ�ห้วย มีพวกปลาประเภทที่มีเกล็ด เช่น ตะเพียน ปลากะสูบ ปลาช่อน ปลาช่อนงูเห่า ปลาซิวและปลาขนาดเล็กอื่นๆ ปลาไม่มีเกล็ด คือ ปลาไหล ปลาหลด ไม่มีปลาขนาดใหญ่


หน้ า 224

หน้ า 223

อุทยานแห่งชาต ติ าดโตน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำ�คัญของจังหวัดชัยภูมิ เป็นน้ำ�ตกที่สวยงาม ที่ตั้งอยู่ ในอุทยานแห่งชาติตาดโตน มีน้ำ�ไหลตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูฝนจะสวยงาม เป็นพิเศษ ด้านบนเป็นธารน้ำ�ไหลผ่านลานหินสองฝั่งธารร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ เหมาะที่จะนั่งพักผ่อนชมธรรมชาติและเล่นน้ำ� ด้านบนน้ำ�ตกมีสภาพเป็นลาน หินกว้างประมาณ 50 เมตร และยาวไปตามลำ�น้ำ�ประมาณ 300 เมตร ทำ�ให้ น้ำ�ไหลลาดมาตามลานหิน มีแอ่งน้ำ�ที่สามารถเล่นน้ำ�ได้เป็นจุดๆ และไหลลงมา ตกที่หน้าผาเป็นน้ำ�ตกตาดโตนซึ่งมีความสูงประมาณ 6 เมตร และกว้าง 50 เมตร เมื่อมาถึงบริเวณทางเข้าต้องเดินเท้าเข้าไปน้ำ�ตกประมาณ 200 เมตร

ฤดูกาลท่องเที่ยว เที่ยวได้ตลอดทั้งปีแต่จะมีน้ำ�เยอะในช่วงฤดูฝน ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือน ตุลาคม ค่าธรรมเนียมเข้าชม – คนละ 40 บาท – รถยนต์ 30 บาท สิ่งอำ�นวยความสะดวก มีบ้านพักและสถานที่กางเต้นท์ไว้บริการนักท่องเที่ยว และร้านค้า อาหาร บริเวณทางเข้าน้ำ�ตก เบอร์ติดต่ออุทยานแห่งชาติตาดโตน : 044-853-333, 044-853-293


หน้ า 225

โดยรถยนต์ส่วนตัว จากตัวเมืองทางหลวงหมายเลข 2159 และแยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2051 ระยะทางจากตัวเมืองถึงที่ทำ� การอุทยานฯ ระยะทางประมาณ 21 กิโลเมตร หรืออาจใช้เส้นทางหมายเลข 201 ทางไปอำ�เภอภูเขียว จะมีเส้นทาง แยกซ้ายอีก 21กิโลเมตรไปน้ำ�ตกตาดโตนได้เช่นกัน โดยรถโดยสารประจำ�ทาง สำ�หรับผู้ที่เดินทางโดยรถโดยสาร สามารถใช้บริการรถสองแถวสายชัยภูมิท่าหินโงม ลงที่ด่านเก็บค่าธรรมเนียม แล้วเดินเท้า อีก 1 กิโลเมตรถึงที่ตั้ง อุทยานเดินเข้าน้ำ�ตกตาดโตนประมาณ 500 เมตร ตามถนนราดยาง หรือเดิน ลัดเลาะตามโขด

หน้ า 226


หน้ า 227

หน้ า 228


หน้ า 229

หน้ า 230


หน้ า 232

หน้ า 231

อุทยานแห่งชาต ติ าพระยา อัตราค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติ ชาวไทย : ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ : ผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท **หมายเหตุ เมื่อชำ�ระค่าบริการเข้าอุทยานแห่งชาติแล้วกรุณาพกบัตรค่าบริการติดตัว ขณะท่องเที่ยวใน อุทยานแห่งชาติเพื่อการตรวจสอบ

สถานที่ติดต่อ : 72 หมู่ 5 ตำ�บลทัพราช อำ�เภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 27180 E-mail : tapraya_np@outlook.com โทรศัพท์ : 081 178 8119,037 247933 (สอบถามข้อมูลทั่วไปและการเปิดแหล่งท่องเที่ยวได้ที่หมายเลขนี้) หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ: นายคมสัน มณีกาญจน์ ตำ�แหน่ง : นักวิชาการป่าไม้ชำ�นาญการ


หน้ า 233

หน้ า 234 อุทยานแห่งชาติตาพระยาเป็นส่วนหนึ่งในเทือก เขาพนมดงรัก ตั้งอยู่ในแนวทิศตะวันออกยาวไป ทางทิศตะวันตก ระหว่างเส้นรุ้งที่ 14 องศา 5 ลิบ ดาเหนือถึง 14 องศา 22 ลิบดาเหนือ และเส้นแวง ที่ 102 องศา 30 ลิบดาตะวันออก ถึง 103 องศา 14 ลิบดาตะวันออก หรือบริเวณของด้านทิศใต้ของ ที่ราบสูงโคราช มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 371,250 ไร่ หรือ 594 ตารางกิโลเมตร โดยครอบคลุมเนื้อที่ 2 จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว และบุรีรัมย์ อยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 380 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา

ร้านค้าสวัสดิการ ไม่มีร้านค้าร้านอาหาร นักท่องเที่ยวควรจัดเตรียมไป สัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่ 1. บริเวณที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : AIS, TRUE, DTAC 2. บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติตาพระยาที่ ตย.4 (กลางดง) : AIS

ความเป็นมา : เนื่องด้วยกรมป่าไม้ได้รับแจ้งจาก กองทัพภาคที่ 1 ขอให้พิจารณาประกาศจัดตั้ง ป่าบริเวณเทือกเขาบรรทัด รอยต่อ 3 จังหวัด คือ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครราชสีมาและ จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งมีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์เป็นป่า เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ให้เป็นอุทยาน แห่งชาติ กรมป่าไม้ได้พิจารณาแล้วจึงให้นายอภิ ศักดิ์ จัตตุพรพงษ์ นักวิชาการป่าไม้ 5 ปฎิบัติงาน ประจำ�อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ในขณะนั้น ไปดำ�เนิน การสำ�รวจ และจัดตั้งพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่า ตาพระยา ป่าดงใหญ่ ป่าบ้านกรวด แปลงที่ห้า และ ป่าใกล้เคียง ในท้องที่จังหวัดสระแก้ว และจังหวัด บุรีรัมย์ เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามคำ�สั่งกรมป่าไม้ ที่ 1640/2534 ลงวันที่ 2 กันยายน 2534 เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำ�คัญ แห่งหนึ่งในอดีต (ปี 2515 - 2531) เคยอยู่ภายใต้ อิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย มี การต่อสู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอย่างรุนแรง เกิดความ เสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างมากจนกระทั่งปี พ.ศ. 2525 ใช้การเมืองนำ�การทหารจนกองกำ�ลัง ติดอาวุธของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ยอมเข้ามอบตัว แปรสภาพฐานะเป็นผู้ร่วมพัฒนา ชาติไทยในที่สุดความสงบสุขในพื้นที่แห่งนี้จึงกลับมา เยือนอีกครั้ง


หน้ า 236

หน้ า 235

อุทยานแห่งชาติตาพระยาได้ประกาศให้เป็นอุทยาน แห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฏีกากำ�หนดบริเวณ ที่ดินป่าบ้านกรวด แปลงที่ห้า และป่าดงใหญ่ ในท้อง ที่ตำ�บลบึงเจริญ ตำ�บลจันทบเพชร ตำ�บลสายตะกู ตำ�บลหนองไม้งาม ตำ�บลปราสาท อำ�เภอบ้านกรวด ตำ�บลโนนดินแดง ตำ�บลลำ�นางรอง กิ่งอำ�เภอโนน ดินแดง อำ�เภอละหานทราย ตำ�บลสำ�โรงใหม่ ตำ�บล หนองแวง ตำ�บลตาจง อำ�เภอละหานทราย จังหวัด บุรีรัมย์ และป่าตาพระยา ในท้องที่ตำ�บลทัพราช ตำ�บลทัพไทย อำ�เภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอนที่ 65 ก ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 เป็นอุทยานแห่งชาติ ลำ�ดับที่ 8

สถานที่ท่องเที่ยว เขายักษ์ ป่าสลัดได จุดชมวิวเทือกเขาบรรทัด จุดทิวทัศน์ผาแดง รอยจารึกพระบรมราชโองการ ศาล ร.5 ละลุ ลานหินตัด กลางดง


หน้ า 237

หน้ า 238

ขนาดพื้นที่ 371250.00 ไร่ หน่วยงานในพื้นที่ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติตาพระยา หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.1 (ทัพไทย) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.2 (โนนดินแดง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.3 (อ่างเมฆา) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.4 (กลางดง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.5 (บาระแนะ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตย.6 (หนองผักแว่น)

อุทยานแห่งชาติตาพระยา ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกเฉียงใต้ของที่ราบสูงโคราช มีลักษณะ พื้นที่ค่อนข้างยาว วางตัวในแนวทิศตะวันตก– ตะวันออก จากเทือกเขาบรรทัดจนไปถึงเทือก เขาพนนมดงรัก สูงจากระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ประมาณ 206–579 เมตร ความลาดชันเฉลี่ย ทั้งพื้นที่ร้อยละ 35 ยอดเขาที่สูงที่สุดในบริเวณ อุทยานแห่งชาติตาพระยาอยู่ทางด้านทิศตะวัน ตก ได้แก่เขาพรานนุช ซึ่งสูง 579 เมตรจาก ระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง ทางด้านเหนือของ เทือกเขาบรรทัดมีลักษณะลาดยาวไปทางทิศ เหนือ ส่วนทางด้านใต้เป็นผาชัน ลงไปสู่ที่ราบ ต่ำ� จากลักษณะภูมิประเทศดังกล่าว จึงมีลำ�น้ำ� ลำ�ห้วยหลายสายไหลจากเทือกเขาในอุทยาน แห่งชาติไปทางด้านทิศเหนือ ได้แก่ ลำ�นางรอง ลำ�จังหัน ลำ�ปะเทีย ห้วยซับกระโดน (ไหลลงลำ� นางรอง) ห้วยตรุมะเมี่ยง และห้วยแห้ง (ไหลลง ลำ�จังหัน) ห้วยหิน ห้วยดินทราย และห้วยนา เหนือ (ไหลลงลำ�ปะเทีย) รวมทั้งห้วยพลู ห้วย เมฆา ห้วยโอบก และห้วยไฟไหม้ และมีลำ�น้ำ�ที่ ไหลจากทิศตะวันตกของอุทยานแห่งชาติไปทาง ตอนใต้ของอุทยานแห่งชาติ 1 สายหลัก ได้แก่ ลำ�สะโตน


หน้ า 239

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของภูมิภาคนี้ อยู่ ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียง ใต้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงฤดู ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งแต่กลางเดือน พฤษภาคม-เดือนตุลาคม ความชุ่มชื้นจะถูก พัดพามาจากทะเลอันดามันและอ่าวไทย จน ทำ�ให้พื้นที่บริเวณนี้ได้รับปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ย ต่อเดือนวัดได้ระหว่าง 100 มิลลิเมตร ถึง 140 มิลลิเมตร ในฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เทือกเขาพนมดงรักจะปะทะกับลมมรสุม และ ทำ�ให้ฝนตกในบริเวณด้านที่รับลมมากกว่าด้าน ไม่รับลม ฤดูกาลมี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน เริ่ม ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดู ฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาวตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน มกราคม สำ�หรับอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปี สูงสุดประมาณ 39.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ต่ำ�สุดประมาณ 14.3 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ตามปริมาณฝนในพื้นที่ยังขึ้นอยู่กับ ว่าอยู่ทางทิศใดของเทือกเขาพนมดงรักด้วย หากอยู่ในแนวปะทะของเทือกเขาพนมดงรัก จะทำ�ให้ฝนตกในบริเวณด้านที่รับลมมากกว่า ด้านไม่รับลม สำ�หรับฤดูหนาวเป็นช่วงที่ได้รับ อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิ เท่ากับ 24.9-27.7 องศาเซลเซียส

หน้ า 240

ลักษณะทางพืชพรรณ พื้นที่อุทยานแห่งชาติตาพระยามีพื้นที่ป่าไม้ประมาณ 77 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 300,000 ไร่ ซึ่ง ยังไม่รวมพื้นที่ที่เป็นทุ่งหญ้าและไม้เล็กๆโดยได้จำ�แนกพื้นที่ป่าออกเป็น 4 ชนิด ดังนี้ 1. ป่าดิบชื้น กระจายอยู่บริเวณตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 49 ของพื้นที่ ป่าไม้ ชนิดพรรณไม้ที่พบส่วนใหญ่เป็นไม้ในวงศ์ไม้ยาง เช่น ยางกล่อง ยางขน ยางเสียน ทะโล้ เป็นต้น 2. ป่าดิบแล้ง พบกระจายในพื้นที่ราบทางด้านทิศตะวันตกและด้านใต้ ส่วนทางด้านตะวันออกพบ กระจายอยู่เล็กน้อย มีพื้นที่ร้อยละ 20 ของพื้นที่ป่าไม้ ชนิดไม้ที่สำ�คัญ เช่น ยางแดง ยางนา ตะเคียน หิน ตะเคียนทอง ตะแบก มะค่าโมง สมพง เป็นต้น 3. ป่าเบญจพรรณ กระจายอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ มีพื้นที่ร้อยละ 2 ของ พื้นที่ป่าไม้ ชนิดไม้ที่สำ�คัญ เช่น ตะแบก ประดู่ แดง ตะเคียนหิน มะค่าแต้ มะค่าโมง เป็นต้น 4. ป่ารุ่นสอง / ไร่ร้าง / ป่าละเมาะ เป็นสภาพป่าที่ขึ้นทดแทนพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกแผ้วถางและปล่อยทิ้ง ร้าง พบทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือและด้านใต้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ทรัพยากรสัตว์ป่า ผลการสำ�รวจข้อมูลภาคสนาม พบสัตว์ป่าทั้งหมด 327 ชนิด โดยมีสัตว์ป่าชนิดที่ชุกชุมมาก 14 ชนิด ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2 ชนิด นก 10 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 1 ชนิด และสัตว์สะเทินน้ำ� สะเทินบก 1 ชนิด สัตว์ป่าที่ชุกชุมมาก เช่น กระรอกหลากสี นกเขาใหญ่ จิ้งจกหางแบน และกบหนอง เป็นต้น ชุกชุมปานกลาง จำ�นวน 68 ชนิด ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 8 ชนิด นก 48 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 7 ชนิด และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก 5 ชนิด สัตว์ป่าที่มีความชุกชุมปานกลาง เช่น กระแตเหนือ นกแขกเต้า กิ้งก่าหัวแดง และอึ่งน้ำ�เต้า เป็นต้น สัตว์ป่าสวนใหญ่มีความชุกชุมน้อย มี จำ�นวน 245 ชนิด ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 32 ชนิด นก 169 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน 29 ชนิด และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก 15 ชนิด สัตว์ที่มีความชุกชุมน้อย เช่น ลิงกัง งูลายสาบคอแดง และ ปลาจิ๋วลายแต้ม


หน้ า 241

หน้ า 242

รถยนต์ การเดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติตาพระยา สามารถเดินทางโดยรถยนต์ คือ จากกรุงเทพฯไปยังอำ�เภออรัญประเทศ ระยะทาง 245 กิโลเมตร แล้วใช้เส้น ทาง อรัญประเทศ – นางรอง เส้นทางหลวงหมายเลข 3068 ผ่านอำ�เภอ ตาพระยา ถึงบ้านช่องเขาตะโก รวมระยะทาง 77 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การอุทยาน แห่งชาติตาพระยา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.