ภาพเกา - เลาอดีต :
วาวไทย
คำว่า “ว่ า ว” ในภาษาไทย หรื อ ที่ ภ าษา อังกฤษเรียกว่า “Kite” มีความหมายคล้ายกันคือ เป็ น เครื่ อ งเล่ น รู ป ต่ า ง ๆ มี ไ ม้ เ บา ๆ เป็ น โครง แล้วปดด้วยกระดาษหรือผ้าบาง ๆ ปล่อยให้ลอย ตามลมขึ้นไปในอากาศ โดยมีสายเชือกหรือป่าน ยึดไว้ ๑
บุศยารัตน คูเทียม*
ว่ า วเป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ท ี่ ม นุ ษ ย์ ท ำขึ ้ น มา เป็ น การละเล่ น เพื่ อ ความบั น เทิ ง และอาจเพื่ อ ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น มานานนั บ พั น ปี แ ล้ ว โดย ไม่ ท ราบต้ น กำเนิ ด ที่ แ น่ ชั ด ว่ า เริ่ ม มี ค รั ้ ง แรก ณ ที่แห่งใด เพราะเป็นการละเล่นทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ของคนทั่ ว ไปเกื อ บทุ ก ชาติ แต่ น ิ ย มเล่ น กั น มาก ในแถบเอเชีย
* นักจดหมายเหตุชำนาญการ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร. ๑ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ ๑ ; กรุงเทพมหานคร, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕) หน้า ๗๔๐.
78
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
การเล่นว่าวของประเทศในภูมิภาคเอเชีย มี ม าแต่ โ บราณ และยั ง นิ ย มเล่ น กั น อยู่ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น นี ้ เพื่ อ ความบั น เทิ ง และสนุ ก สนาน เป็ น อั น ดั บ แรก ซึ่ ง ในแต่ ล ะชาติ ม ี จุ ด มุ่ ง หมาย ในการเล่ น ว่ า วแตกต่ า งกั น ไป โดยมากมั ก จะ เป็ น ด้ า นของความเชื่ อ ทางศาสนา ประเพณี
หรื อ การใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ด้ ว ย แต่ ต่ อ มา การใช้ประโยชน์ด้านนี้ค่อย ๆ หายไป ทำให้การ เล่นว่าวในปัจจุบันเป็นเพียงการละเล่น หรือกีฬา เพื่อความสนุกสนาน และเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เท่านั้น แม้ว่าบางชาติยังมีเรื่องราวของความเชื่อ เก่า ๆ แอบแฝงอยู่บ้าง ก็ไม่ถือเป็นเรื่องจริงจัง เช่นในอดีต ในประเทศไทย ว่าวเป็นสิ่งที่คนไทยคุ้นเคย และรู ้ จั ก กั น ดี ม าแต่ เ ด็ ก เพราะเป็ น การละเล่ น และกี ฬ าที่ น ิ ย มเล่ น กั น อย่ า งแพร่ ห ลายทั่ ว ไป เล่ น ได้ ทั ้ ง เด็ ก และผู ้ ใ หญ่ ราคาไม่ แ พง และ สามารถทำเองได้จากวัสดุพื้นบ้าน แม้คนที่ไม่เคย เล่นเองก็คงจะเคยเห็นผู้อื่นเล่นกัน แต่น้อยคนนัก ที่จะทราบเรื่องราวความเป็นมาและความสำคัญ ของว่ า วในด้ า นวั ฒ นธรรมและประวั ต ิ ศ าสตร์ ว่าการเล่นว่าวนับแต่โบราณมามิได้เป็นแต่เพียง การเล่ น สนุ ก ที่ ป รากฏในวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของคนไทย นับตั้งแต่ชาวบ้านจนถึงพระมหากษัตริย์เท่านั้น แต่ยังเป็นพระราชพิธีในราชสำนักอีกด้วย รูปร่างลักษณะและวิธีการทำว่าว รวมทั้ง การเล่นว่าวของไทยเป็นสิ่งที่น่าสนใจ ทั้งในด้าน การค้นคิด ประดิษฐ์รูปแบบของว่าว ทำให้เกิด
๒
ลั ก ษณะเฉพาะที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องว่า วไทย ที่ แตกต่า งไปจากรู ป ลั ก ษณ์ว่า วของชนชาติ อ ื่ น ๆ วิ ธ ี ก ารทำว่ า วและการเล่ น ว่ า วของไทยนั ้ น ต้ อ งอาศั ย ความชำนาญและศิ ล ปะที่ เ กิ ด จาก ประสบการณ์ ม าประกอบกั บ ฝี ม ื อ ที่ ป ระณี ต จึงจะทำให้ว่าวมีรูปร่างสวยงามและสามารถขึ้นไป ลอยอยู่ในอากาศได้ดี นอกจากรูปแบบและวิธีการ ทำว่าวที่ต่างไปจากว่าวของชาติอื่นแล้ว คนไทย ยั ง มี ว ิ ธ ี ก ารเล่ น ว่ า วที่ ไ ม่ เ หมื อ นชาติ ใ ด ๆ ด้ ว ย สิ่งเหล่านี้เป็นมรดกที่สืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษ ไทยแต่โบราณ ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าศึกษา
ความเป็นมาของการเล่นว่าวไทย
การเล่ น ว่ า วของไทยนั ้ น เริ่ ม มาแต่ เ มื่ อ ใด ไม่ ส ามารถหาหลั ก ฐานที่ แ น่ น อนได้ เนื่ อ งจาก ตั ว ว่ า วซึ่ ง ทำจากไม้ ไ ผ่ กระดาษ และป่ า นว่ า ว ล้ ว นเป็ น สิ่ ง ที่ เ สี ย หายเสื่ อ มสลายได้ ร วดเร็ ว
ไม่ ค งทนเช่ น ศิ ล ปโบราณวั ต ถุ ท ี่ ท ำด้ ว ยไม้ หิ น
หรือโลหะ อีกทั้งเมื่อเลิกเล่นก็พังพอดี หรือทิ้งกัน ไปไม่ได้เก็บรักษากันไว้ แต่ตามหลักฐานที่ปรากฏ คนไทยรู้จักการเล่นว่าวมาตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัย เมื่อ ๗๐๐ กว่าปีมาแล้ว เริ่มจากพงศาวดารเหนือ กล่ า วถึ ง พระร่ ว ง ๒ ว่ า โปรดทรงว่ า ว ๓ และใน หนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์เล่าถึงพระราชพิธี บุ ษ ยาภิ เ ษกในเดื อ นยี่ ว่ า เป็ น วั น นั ก ขั ต ฤกษ์
ที่นางสนมกำนัล ได้ดูการชักว่าวหง่าวซึ่งมีเสียง ไพเราะเสนาะโสตยิ่ง ๔
พระร่วง ในตำนานหรือพงศาวดารนั้น เราไม่อาจจะสรุปได้แน่ชัดว่า หมายถึงพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยพระองค์ใด เพราะ ตำนานหรือพงศาวดารมักกล่าวชื่อ “พระร่วง” ปนกันไปหมดจนแยกไม่ออก. ๓ ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๑, พงศาวดารเหนือ (พิมพ์ครั้งที่ ๑ ; พระนคร. โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๖), หน้า ๑๕. ๔ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (ธนบุรี : โครงการพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๐๕), หน้า ๖๕.
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
ในสมัยอยุธยาการเล่นว่าวคงจะเป็นที่นิยม กั น แพร่ ห ลาย จนเลยเถิ ด ไม่ ร ะมั ด ระวั ง จึ ง มี กฎมณเที ย รบาลห้ า มชั ก ว่ า วข้ า มพระราชวั ง หากละเมิดมีโทษถึงตัดมือ๕ สมเด็จพระนารายณ์ มหาราชเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ อ ี ก พระองค์ ห นึ่ ง ซึ่ ง โปรดการทรงว่ า วมาก จนชาวต่ า งประเทศ ที่ เ ข้ า มาเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี กั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในขณะนั้นได้บันทึกเรื่องราวนี้ไว้หลายท่าน เช่น เมอซิ เ ออร์ เดอลา ลู แ บร์ (M.de la Loubère) อัครราชทูตจากราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ประเทศฝรั่ ง เศส ที่ เ ข้ า มาในกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเมื่ อ พุทธศักราช ๒๒๓๐ ได้เขียนไว้ในจดหมายเหตุ การเดิ น ทางของท่ า นว่ า “ว่ า วของสมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง สยามปรากฏในท้ อ งฟ้ า ทุ ก คื น
๗๙
ตลอดระยะเวลา ๒ เดื อ นของฤดู ห นาว และทรงแต่งตั้งขุนนางให้คอยผลัดเปลี่ยนเวร กั น ถื อ สายป า นไว้ ” ๖ บาทหลวงตาชาร์ ด (Père Qui Tachard) บาทหลวงในคณะบาทหลวง เยซูอิตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ส่งเข้ามาเผยแพร่ คริ ส ต์ ศ าสนาในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราชเช่นกัน ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับว่าวเพิ่มเติม คื อ ว่ า วเป น กี ฬ าที่ เ ล่ น กั น อยู่ ทั่ ว ไปในหมู่ ชาวสยาม...ที่ ท ะเลชุ บ ศรและที่ เ มื อ งลพบุ ร ี ขณะที่ ส มเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชเสด็ จ ประทับอยู่นั้น ในเวลากลางคืนรอบพระราช นิ เ วศน์ จ ะมี ว่ า วรู ป ต่ า ง ๆ ลอยอยู่ ว่ า วนี้ ติ ด โคมส่ อ งสว่ า งและลู ก กระพรวนส่ ง เสี ย ง ดังกรุงกริ๋ง ๗
การแขงขันวาวที่สนามหนาพระราชวังดุสิต ปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ ๕
กฎหมายตราสามดวง (พิมพ์ครั้งที่ ๒ ; นครหลวงฯ , โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๑๕), หน้า ๙๙. สันต์ ท.โกมลบุตร, จดหมายเหตุลาลูแบร์ ฉบับสมบูรณ์ เล่ม ๑ (พิมพ์ครั้งที่ ๑, พระนคร, สำนักพิมพ์ก้าวหน้า, ๒๕๑๐), หน้า ๒๑๖. ๗ บาทหลวง ตาชาร์ด, จดหมายเหตุการเดินทางครั้งที่ ๒ ของบาทหลวงตาชาร์ด แปลโดย สันต์ ท.โกมลบุตร (กรมศิลปากร, ๒๕๑๙), หน้า ๑๘๑. ๖
80
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา ว่าวมิได้ใช้ เฉพาะเพื่อความสนุกสนานเท่านั้น แต่มีการใช้ว่าว ในการสงคราม คือตอนที่พระยายมราช (สังข์) เจ้ า เมื อ งนครราชสี ม าเป็ น กบฏ พระเพทราชา
ส่งกองทัพไปปราบตีเมืองไม่สำเร็จ ในครั้งที่สอง แม่ทัพกรุงศรีอยุธยาคิดอุบายเผาเมือง อุบายหนึ่ง นั ้ น ใช้ ห ม้ อ ดิ น บรรจุ ด ิ น ดำผู ก สายป่ า นว่ า วจุ ฬ า
ล่ามชนวนชักข้ามกำแพงเมืองเข้าไป แล้วจุดชนวน ไหม้ ไ ปถึ ง หม้ อ ดิ น ดำเกิ ด ระเบิ ด ตกไปไหม้ บ ้ า น เมือง ราษฎรระส่ำระสาย จึงเข้าตีเมืองได้สำเร็จ ๘ จากประวั ต ิ ศ าสตร์ ต อนนี ้ ป รากฏชื่ อ ว่ า วจุ ฬ า เป็นครั้งแรก ในหนังสือลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ มีที่กล่าว ถึงหน้าที่ของตำรวจสมัยกรุงศรีอยุธยา ในขณะที่ พระมหากษัตริย์เสด็จไปทรงว่าว ณ สวนกระต่าย (ปั จ จุ บั น คื อ บริ เ วณหลั ง พระวิ ห ารพระมงคล บพิ ต ร) นอกจากมี ห น้ า ที่ ถ วายอารั ก ขาแล้ ว
ยังเป็นผู้วิ่งรอกและคอยค้ำสายป่านว่าว ถ้าพาน ว่ า วปั ก เป้ า ติ ด เข้ า มานั ้ น ได้ เ อาบั ญ ชี ก ราบทู ล
พระกรุ ณ าตามชื่ อ ทุ ก ครั ้ ง ๙ ว่ า วที่ ท รงคงเป็ น
ว่าวจุฬา เพราะคอยคว้าว่าวปักเป้าอยู่ นับเป็น ครั้งแรกที่ปรากฏชื่อ ว่าวปักเป้า
๘
ว่ า วนอกจากจะเล่ น เพื่ อ ความสนุ ก แล้ ว
ยังมีความเกี่ยวข้องกับพระราชพิธีในราชสำนัก ดังในตำราพระราชพิธีเก่ากล่าวถึงไว้ดังนี้ “ให้ ชีพ่อพราหมณ์เชิญพระอิศวร พระนารายณ์ มาตั้ ง ยั ง ที่ แล้ ว ให้ เ จ้ า พนั ก งานเตรี ย มว่ า ว มาเตรี ย มไว้ ใ นโรงราชพิ ธ ี ครั้ น ได้ ฤ กษ์ ด ี ใ ห้ ประโคมปี่พาทย์ฆ้องไชย เชิญเสด็จออกทรง ชักว่าว พราหมณ์ เจ้าพนักงานเอาว่าวถวาย ให้ ท รงชั ก ตามบุ ร าณประเพณี เ พื่ อ ทรงพระ เจริ ญ แล” ๑๐ และในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตอน ปลายมี ก ารกล่า วถึ ง ว่า ในเดื อ นอ้ า ยมี พ ระราช พิ ธ ี ค ลิ ม (ในเอกสารบางเล่ ม เรี ย กพระราชพิ ธ ี แคลง) คือ พิธีชักว่าวเรียกลม ๑๑ ครั้นถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การเล่นว่าว ยั ง ค ง เ ป็ น ก า ร ล ะ เ ล่ น แ ล ะ ก ี ฬ า ท ี่ น ิ ย ม กั น
อยู่ แ พร่ ห ลาย ในตำนานวั ง หน้ า กล่ า วไว้ ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย และ สมเด็ จ กรมพระราชวั ง บวรมหาเสนานุ รั ก ษ์
พระอนุ ช าธิ ร าช ทรงโปรดการทรงว่ า วมาก
ดังมีคำกล่าวคล้องจองกันว่า “วังหลวงทรงจุฬา วั ง หน้ า ทรงปั ก เป้ า ” ๑๒ ซึ่ ง การเล่ น ว่ า วจุ ฬ า และปักเป้า ต่อมาในสมัยหลัง ๆ เป็นการเล่นว่าว
กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๒ (พิมพ์ครั้งที่ ๗ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์คลังวิทยา, ๒๕๑๖), หน้า ๑๓๘ - ๑๓๙. ๙ กรมศิลปากร, ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ เล่ม ๒ (พิมพ์ครั้งที่ ๕ ; นครหลวงฯ , สำนักพิมพ์บรรณาคาร, ๒๕๑๕), หน้า ๖๙ – ๗๐. ๑๐ ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์. ประชุมวรรณคดีไทยภาคพิเศษ ทวาทศมาสโคลงดั้นฯ, (พระนคร : ศิริมิตรการพิมพ์, ๒๕๑๒), หน้า ๒๑๖. ๑๑ กรมศิลปากร, คำให้การชาวกรุงเก่า คำให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ (พิมพ์ครั้งแรก ; พระนคร, สำนักพิมพ์คลังวิทยา, ๒๕๑๐), หน้า ๒๖๘. ๑๒ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ตำนานวังหน้า : ประชุมพงศาวดารเล่ม ๑๑ (พิมพ์ครั้งที่ ๑ ; พระนคร, โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๗), หน้า ๗๑.
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เจาของวาวปกเปาที่ชนะการแขงขันวาวพนัน ในการฉลองสมโภชการตั้งกรมสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาเยาวมาลยนฤมล พ.ศ. ๒๔๔๘
8๑
8๒
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จฯ เปนองคประธานการแขงขันวาวพนัน ณ สนามพระราชวังดุสิต
พนันกัน คือ ฝ่ายจุฬาฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายปักเป้าฝ่าย หนึ่ง โดยต่างฝ่ายต่างโฉบกัน ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งตกตามกติกาที่ตั้งไว้ก็จะเป็นฝ่าย ชนะ การเล่นว่าวและการเล่นว่าวพนัน ในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์นี้เล่นอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะใน รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงโปรดกีฬาว่าวเป็นอันมาก เพราะเป็น กีฬาที่สนุกสนานครึกครื้นถึงกับโปรดเกล้าฯ ให้ เล่นว่าวถวายหน้าพระที่นั่งหลายครั้ง การเล่นว่าว พนันครั้งสำคัญของว่าวจุฬาและปักเป้าคือ การ เล่นถวายหน้าพระที่นั่งใน พุทธศักราช ๒๔๔๘ ณ สนามพระราชวังดุสิต โดยพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ พ ระราชทานรางวั ล เป็ น
พวงมาลัยเปยสะพายแล่งมีอุบะห้อย พวงมาลัย สรวมคอมีอุบะห้อยและพวงมาลัยสรวมคอไม่มี อุ บ ะสำหรั บ ผู ้ ช นะที่ ห นึ่ ง ที่ ส องและที่ ส ามตาม ลำดับ ในการเล่นว่าวหน้าพระที่นั่งครั้งนั้นดูจะ ครึ ก ครื ้ น มากเป็ น พิ เ ศษ เพราะมี พ ิ ณ พาทย์ พระราชทานมาประกอบการเล่นว่าวถึง ๒ วง คือ ทางฝ่ายว่าวจุฬาวงหนึ่ง ฝ่ายว่าวปักเป้าวงหนึ่ง วง พิณพาทย์ทั้งสองวงนี้จะทำเพลงเชิดฉิ่ง เมื่อว่าว ทั ้ ง สองกำลั ง ต่อ สู ้ กั นติ ด พั น กั น และจะทำเพลง ต่ า ง ๆ เพื่ อ เป็ น การบอกอากั ป กิ ร ิ ย าของว่ า วที่ กำลังต่อสู้กันอยู่ ซึ่งนับว่าการเล่นว่าวพนันหน้า พระที่นั่งครั้งนั้นถือได้ว่าเป็นยุคทองของการเล่น ว่าวไทย
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
8๓
หลังจากการเล่นว่าวหน้าพระที่นั่งครั้งนั้นแล้ว พระองค์ทรงพอพระราชหฤทัยมาก จากนั้นทรงเห็น ชอบให้มีการแข่งขันว่าวพนัน จุฬาและปักเป้า ในคราวฉลองสมโภชการตั้งกรมของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลยนฤมล ในการแข่งขันครั้งนี้ได้มอบหมายให้พระยาอนุชิตชาญไชย เป็นนายสนาม และโปรดเกล้าฯ ให้ตรากติกาสำหรับการเล่นว่าวขึ้น เรียกว่า กติกาเล่นว่าวที่สวนดุสิต ในการตั้ง กรมสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลยนฤมล รัตนโกสินทร์ศก๓๘๑๒๔๑๓ ทั้งนี้เพื่อให้การแข่งขัน ยุติธรรมและสนุกสนานยิ่งขึ้น
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหตรากติกาการเลนวาวขึ้น ในคราวฉลองสมโภชการตั้งกรมสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาเยาวมาลยนฤมล พ.ศ. ๒๔๔๘
๑๓
กติ ก าเล่ น ว่ า วที่ ส วนดุ ส ิ ต ในการตั ้ ง กรมสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า เยาวมาลยนฤมล รั ต นโกสิ น ทร์ ศ ก ๓๘ ๑๒๔ (ร๕.รล.๙๙/๒๙).
8๔
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
พระยาสีหราชฤทธิไกร (ทองคำ สีหอุไร) เปนนายสนามในการแขงขันวาวพนัน ในป พ.ศ. ๒๔๔๙
พระยาเวียงในนฤบาล (เจ็ก เกตุทัต) เปนผูชวยจัดการในสนามวาวทั่วไป พ.ศ. ๒๔๔๙
ในพุทธศักราช ๒๔๔๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรารภถึงการแข่งขันว่าว เมื่อคราวสมโภชตั้งกรมว่า สนุกสนานครึกครื้นมาก จึงมีพระราชประสงค์ให้จัดการแข่งขันว่าวพนัน ชิงถ้วยทองของหลวงขึ้น โดยมอบหมายให้พระยาสีหราชฤทธิไกร (ทองคำ สีหอุไร) เป็นนายสนาม พระยาเวียงในนฤบาล (เจ็ก เกตุทัต) เป็นผู้ช่วยจัดการในสนามว่าวทั่วไป และมอบหมายให้กรมพระยา ดำรงราชานุภาพพิมพ์ข้อบังคับการเล่นว่าวขึ้นเป็นเล่ม แจกจ่ายแก่นักเล่นว่าว โปรดเกล้าฯ เรียก ข้อบังคับนี้ว่า กติกาเล่นว่าว ที่สนามสวนดุสิต รัตนโกสินทร์ศก๓๙ ๑๒๕
ประชาชนมาชมการแขงขันวาว
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
ในการแข่งขันชิงถ้วยทองนี้ พระองค์เสด็จฯ เป็นองค์ประธานพร้อมทอดพระเนตรการแข่งขัน และพระราชทานรางวั ล ในการแข่ ง ขั น ด้ ว ย พระองค์ เ อง ซึ่ ง ถ้ ว ยทองนี ้ จ ะพระราชทาน แก่ฝ่ายว่าวจุฬาตัวชนะยอดเยี่ยม ๑ ถ้ว ย และ ว่าวปักเป้าตัวเก่งที่สุด ๑ ถ้วย แต่ต้องชนะติดกัน ๓ ป ซ้ อ น จึ ง จะพระราชทานถ้ ว ยทองนั ้ น เป็ น กรรมสิทธิ์ นอกจากรางวัลถ้วยทองแล้ว ยังทรง โปรดเกล้าฯ ให้จัดรางวัลเป็นผ้าแพรห้อยปักดิ้น เลื่อม เป็นอักษรพระนาม จ.ป.ร. มี ๓ สี ๓ ชั้น รางวัล พระราชทานแก่ว่าวจุฬาตัวเก่ง และรางวัล
8๕
เป็นผ้าแพรปักดิ้นเลื่อมเป็นอักษร จ.ป.ร. รูปกลม ดอกจัน ๓ สี ๓ ชั้นรางวัล พระราชทานแก่ว่าว ปักเป้า ติดตัวว่าวตามลำดับชั้น ซึ่งในการแข่งขัน แต่ละครั้งมีผู้มาลงทะเบียนแข่งขันเป็นจำนวนมาก ประชาชนที่ ม าเข้ า ชมล้ น หลาม มี ทั ้ ง ชาวกรุ ง ชาวชนบท และต่างเมือง หลังจากการเล่นว่าว ในครั้งนี้แล้ว การเล่นว่าวก็มีเล่นกันเรื่อยมาทุก สมั ย จนถึ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง นั บ ว่า คนไทยได้ รั บ ความ สนุกสนานจากการเล่นว่าว จนถือเป็นกีฬาชนิด หนึ่งที่มีการแข่งขันกันอย่างเป็นทางการเสมอมา
พระยาภิรมยภักดี (ชม เศรษฐบุตร) กับวาวปกเปา ที่ชนะการแขงขันวาวพนัน ในสมัยรัชกาลที่ ๕
8๖
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
พระยาภิรมยภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร) บุตรของพระยาภิรมยภักดี (ชม เศรษฐบุตร) ผูเรียบเรียง หนังสือ ตำนานวาวพนัน กับตำราทำและวิธีการชักวาว
ส่ ว นสนามที่ ใ ช้ เ ล่ น ว่ า วกั น ในกรุ ง เทพฯ แห่ ง แรก คื อ หน้ า โรงหวยแถวสามยอดใน ปัจจุบัน เมื่อเล่นไปนาน ๆ เข้ามีการสร้างบ้าน เรื อ นในบริ เ วณนั ้ น มากขึ ้ น ไม่ ส ะดวกจึ ง ย้ า ย ที่ เ ล่ น กั น เรื่ อ ยไป หลั ง จากนั ้ น จึ ง มาเล่ น กั น ที่ ท้ อ งสนามหลวง หรื อ “ทุ่ ง พระเมรุ ” โดยใน พุทธศักราช ๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้ า เจ้ า อยู่หั ว ทรงโปรดเกล้ า ฯ ให้ ร ื ้ อ กำแพง
ด้านเหนือของพระราชวังบวรออกให้หมด แล้ว โปรดเกล้าฯ ให้ปลูกต้นมะขามไว้รอบ ๆ สนาม และทรงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้เล่นว่าวที่สนามหลวงได้ ตั ้ ง แต่ ป ๒๔๔๒ และเล่ น กั น สื บ ต่ อ มาจนถึ ง ทุกวันนี้ ส่วนในต่างจังหวัดนิยมเล่นกันตามที่โล่ง กว้าง หรือตามท้องนาทั่วไป
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เจาของวาว นำวาวเขารวมแขงขัน
ประชาชนมานั่งรอดูการเลนวาว บริเวณทองสนามหลวง
8๗
88
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
ประชาชนมาชมการแขงขันวาวอยางลนหลามทั้งชาวพระนครในเมือง และตางเมือง ที่สนามหนาพระราชวังสวนดุสิต
ประชาชนมาชมการแขงขันวาวที่สนามหนาพระราชวังสวนดุสิต
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
การแขงขันวาว ณ สนามวาวพนัน ในสมัยรัชกาลที่ ๕
เจาของวาวจุฬา เตรียมวาวเขาแขงขัน
8๙
๙0
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เจาของวาวปกเปาเตรียมวาวเขาแขงขัน
นายตำรวจกับเสมียนยืนถือวาวจุฬา ที่ชนะการแขงขันวาวพนัน ในสมัยรัชกาลที่ ๕
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เจาของวาวจุฬาที่ชนะการแขงขัน
๙๑
๙๒
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เจาของวาวปกเปาที่ชนะการแขงขันวาวพนัน ในสมัยรัชกาลที่ ๕
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
๙๓
เจาของวาวปกเปาที่ชนะการแขงขันวาวพนัน ในสมัยรัชกาลที่ ๕
ปัจจุบัน สภาพในเมืองหลวงหรือตัวเมือง ในจังหวัดอื่น ๆ มีชุมชนแออัด สิ่งก่อสร้าง อาคาร และสายไฟต่ า ง ๆ เป็ น สิ่ ง กี ด ขวางการเล่ น ว่ า ว หรือแข่งขันว่าว จะหาสถานที่โล่งบริเวณกว้างที่ จะชุมนุมเล่นว่าวนั้นหายาก เด็ก ๆ จึงไม่ค่อยได้ เล่นว่าวเหมือนดังแต่ก่อน ส่วนว่าวพนันนั้นก็หา ตั ว ผู ้ ค ว้ า ว่ า วที่ ช ำนาญจริ ง ๆ ยาก และสภาพ เศรษฐกิ จ ทำให้ ค นต้ อ งดิ ้ น รนทำมาหากิ น ไม่ม ี จิตใจที่จะคิดสนุกสนานไปชมการเล่นว่าวได้ดัง แต่ก่อน จึงทำให้วงการกีฬาว่าวซบเซาไปทุกที แต่
เป็นที่น่ายินดี ในพุทธศักราช ๒๕๒๖ ได้มีหน่วย งานทั้งราชการและเอกชนร่วมมือกัน ฟ นฟูกีฬา ว่าวขึ้น โดยจัดงาน “มหกรรมว่าวไทย” เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๒๖ บริเวณท้องสนามหลวง มีการ ประกวดว่าวชนิดต่าง ๆ ทั้งว่าวแผง ว่าวประเภท สวยงาม ความคิ ด และตลกขบขั น โดยสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธาน ในงานนี้มีการแข่งขัน ว่าวจุฬาและปักเป้าด้วย
๙๔
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
เด็ก ๆ เลนวาวบริเวณทองสนามหลวง จากภาพประกวดชุด Face of Bangkok ครั้งที่ ๒ พุทธศักราช ๒๕๓๓ ของมูลนิธิ ฌอง เอมีล การโรซ
ในพุทธศักราช ๒๕๒๗ กรุงเทพมหานคร ได้ จั ด “งานประเพณี ว่ า วไทย ๒๕๒๗” ณ บริเวณท้องสนามหลวง โดยสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ ประธานในพิธีเปด ในงานนี้นอกจากมีการแสดง กี ฬ าไทยประเภทต่ า ง ๆ แล้ ว จุ ด สำคั ญ คื อ การประกวดว่ า วภาพ และการแข่ ง ขั น ว่ า วจุ ฬ า ว่ า วปั ก เป้ า ตลอดจนมี น ิ ท รรศการว่ า วในสมั ย รัชกาลที่ ๕ ให้ประชาชนชมด้วย ในพุทธศักราช ๒๕๒๙ กองพิพิธภัณฑสถาน แห่ง ชาติ กรมศิ ล ปากร ได้ จั ด นิ ท รรศการพิ เ ศษ เรื่อง “ว่าวไทย” ขึ้น ณ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร เพื่ อ เป็ น การฟ น ฟู แ ละอนุ รั ก ษ์ ศ ิ ล ปะการประดิ ษ ฐ์ ว่ า ว และการเล่นว่าวของไทย
ในปั จ จุ บั น มี ก ารจั ด การแข่ ง ขั น ว่ า วจุ ฬ า และปั ก เป้ า ขึ ้ น เป็ น ประเพณี ข องกี ฬ าไทย โดยใช้ ช ื่ อ ว่า “งานประเพณี ก ี ฬ าไทย” จั ด ขึ ้ น ที่ ท้องสนามหลวง จัดการแข่งขันกีฬาของไทย อาทิ ตะกร้อ หมากรุก กระบี่กระบอง และที่สำคัญคือ การแข่ง ขั น ว่า วจุ ฬ าและปั ก เป้ า จั ด โดยสมาคม กีฬาไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ โดยได้รับความ ร่ ว มมื อ จากการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนอื่น ๆ ร่วมกัน การเล่ น ว่ า วและการแข่ ง ขั น ว่ า วนี ้ ถื อ เป็ น กี ฬ า เก่ า แก่ ข องไทยที่ ม ี คุ ณ ค่ า ทั ้ ง ในด้ า นฝ ก ให้ ผู ้ เ ล่ น ได้ใช้ความพยายาม ไหวพริบ การสังเกต การ ตัดสินใจ อยู่ตลอดเวลา ด้านสุขภาพคือเป็นการ ออกกำลั ง กายและใช้ เ วลาว่ า งให้ เ ป็ น ประโยชน์ ทั้งการเล่นว่าวไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ยิ่งไป กว่านั้นยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมและศิลปะ พื้นบ้าน คือการเล่นว่าวและการทำว่าวให้คงอยู่ ต่อไปอีกด้วย
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒
บรรณานุกรม
95
กรมศิลปากร. ว่าวไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๙. พระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร). ตำนานว่าวพนัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด, ๒๕๒๐. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. มรดกไทย กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๑. สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ ๕ สำนักราชเลขานุการ ร.๕ รล.๙๙/๒๙ เรื่อง ว่าว (๑๕ เม.ย. – ๒๓ พ.ค. ๑๒๕) สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (๒) สร.๐๒๐๑.๒๙/๕ เรื่อง การแข่งขัน ว่าว (๒ มี.ค. ๒๔๗๖ – ๑๔ มี.ค. ๒๔๙๖) สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ภาพจดหมายเหตุ ภ.๐๐๔ หวญ. ๓๐/๒ เรื่อง การแข่งขันว่าว