อีเเสบ แมกกาซีน

Page 1

volume 16 number 1 february 2016

ราคา 80 บาท

stu dio

1


นี่คือแมกกาซีนฉบับแรกที่มีโอกาสได้ลองทำ� คิดอยู่นานเหมือนกันว่า จะทำ�เกีย่ วกับอะไรดี ความคิดแว๊บแรกทีโ่ ผล่ขน้ึ มาเลย นัน่ คือ ความไทย ไทยบ้านๆ โดยให้ธีมของแมกกาซีนเป็นการแสดงความเป็นไทยบ้านๆ เหล่านี้ที่ทุกคนละเลยหรือมองข้ามไปให้หันกลับมามองมันซะและ ภูมิใจในความเป็นไทยเองไม่มากก็น้อย พอเริ่มได้ลองวางคอลัมน์ ความสนุกสนานสุนทรียก์ บั การตัง้ ชือ่ คอลัมน์ดว้ ยคำ�ว่า ไทย ต่างๆนานา ก็บังเกิด สรรหามาสารพัดร้อยแปดพันเก้าชื่อตลอดจนเอาเนื้อเพลง สุภาษิต คำ�พ้อง คำ�อังกฤษ ยกโขยงกันมาเป็นชือ่ คอลัมน์ตา่ งๆในแมกกาซีน มีหลายชื่อเหมือนกันที่ถูกปัดตกไปเพราะหาเนื้อหามาใส่ไม่ได้ หรือ แพ้ชอ่ื อืน่ ด้วยก็ดี แต่ชอ่ื คอลัมน์ทไ่ี ด้มานัน้ ก็เป็นทีพ่ งึ ใจอย่างมากเช่นกัน จึงไม่รอช้ารีเสิร์จเนื้อหามาใส่ในคอลัมน์ต่างๆ ในเรื่องของอาร์ต ก็ใช้เวลาเซตอยูน่ านเหมือนกันกว่าจะออกมาเป็นรูปแบบทีเ่ ห็นๆกันอยูน่ ี้ ส่วนชื่อของแมกกาซีนนั้นได้แรงบันดาลใจมาจากหนังสือ “ผู้ชายคนที่ตามรักเธอไปทุกชาติ(พิมพ์ครั้งที่ 85)” ของวินทร์ เลียววาริณ อ่านแค่ชอ่ื หนังสือก็ตดั สินใจหยิบมันกับบ้านมาแล้ว พอได้อา่ นก็รสู้ กึ สะดุด กับชือ่ ๆนึงเข้าจังเบ้อเร่อและคิดว่าชือ่ นีต้ อ้ งได้เอาไปทำ�อะไรสักอย่างแน่ๆ จนแล้วจนรอดก็กลายมาเป็นชื่อของแมกกาซีนเล่มนี้นี่แหละ “อีแสบ แมกกาซีน”

2


ไว้อาลัยให้ดี ไซน์ไทย เปิดโลกใหม่ที่ ใครหลายคนยังไม่รู้จักอีกแง่มุมของ ดีไซน์ไทย / ณัฐนันทน์ ทองเปล่งศรี

ฝรั่งมองไทย ตอน ดื่มน้ำ�ถุง / ฟิลิป คอร์นเวล-สมิธ

กราฟิกงานแสดงศิลปนิพนธ์ ”รวมเลขเด็ด 2015” / น้ำ�ใส ศุภวงศ์ ”SON TA NA” / ชนิกานต์ การก่อกุล

ทำ�ความรู้จักสตูดิโอไทยสไตล์แสบๆ 56 th STUDIO

เพลงไทยกลิ่นอายไทยๆที่มีเสน่ห์ ชวนหลงใหลจนต้องฟัง เดอะชราภาพ

ที่มาของนิทรรศการเรียนรู้วิถีชีวิต “คนอีสานในกรุงเทพฯ” / Khachonyot Yaempradit

3


4 3


น่าเสียดายแทนดีไซน์ไทยที่หลายคนละเลยเสียจริงๆ หลังจากได้ลองสอบถามคนรอบตัว ถึงศิลปะไทยของแต่ละคนว่าคืออะไรกันบ้าง คำ�ตอบที่ได้แทบจะเป็นเสียงเดียวกันเลยว่า ศิลปะไทย คือ สิ่งที่เกิดจากวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมอันดีงามไม่ว่าจะเป็นวัด ลายกนก ไปจนถึงนาฏกรรมมหรสพไทยทั้งหลายทั้งปวง ไม่มี ใครรู้ว่าความเป็นไทยถูกตีกรอบ ตั้งแต่เ มื่อไหร่ แต่ตอนนี้มันกำ�ลังเกิดขึ้นแล้ว กรอบที่ถูกกำ�หนดให้คนไทยคิดว่า ศิลปวัฒนธรรมไทยนัน้ ดีงาม แต่ออกจะน่าเบือ่ และตกสมัยไปหน่อยสำ�หรับยุคแห่งเทคโนโลยีโลกาภิวฒ ั น์อย่างนี้ บทความนีค้ งไม่หวังจะเรียกร้องหรือกอบกูศ้ ลิ ปะไทย มันคงยิง่ ใหญ่เกินไป หากบทความบทนี้หวังเพียงอยากหยิบยื่นทัศนคติ มุมมองใหม่ๆเกี่ยวกับความเป็นไทย ให้กับคนไทยทั้งหลายที่ได้อ่านบทความบทนี้อยู่เท่านั้นเอง จริงๆแล้วความเป็นไทยไม่ได้มีเพียงแค่ที่กล่าวไปในข้างต้น แต่หากลองนึกเล่นๆจะแบ่ง ได้คร่าวๆดังนี้ คลาสสิกไทย (classic-thai), ไท๊ยไทย (very thai), โพสต์ไทย (post-thai) คลาสสิกไทย ความเป็นไทยความงดงามทั้งหลายทั้งปวงที่กล่าวไปในข้างต้น หากนึกภาพไม่ออก ให้ลองนึกถึงโฆษณารีเจนซี่บรั่นดีไทย (หากแต่ไม่ได้เป็นการไทอินให้สินค้าแต่อย่างใด) ความวิจิตรบรรจง งดงามตาทั้งหลายทั้งปวง จัดอยู่ในหมวดคลาสสิกไทยนี้แหละ ไท๊ยไทย ความเป็นไทยหมวดนี้แหละที่แมกกาซีนเล่มนี้ต้องการจะหยิบยกขึ้นมาและพูดถึงมัน นั่นคือความไทยบ้านๆทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็น ลิเก วินมอเตอร์ไซค์ สติ้กเกอร์รถสิบล้อ สามล้อ เก้าอี้ชายหาด ฯลฯ ถ้าหากให้พูดคงพูดได้ไม่หมด เอาเป็นว่าท่านผู้อ่านคงต้องคอยติดตาม“อีแสบ แมกกาซีน” นี้ไปเรื่อยๆ หากต้องการความกระจ่างสำ�หรับความไทย หมวดนี้ที่มากขึ้น (มิได้ต้องการไทอินแต่อย่างใดเช่นกัน) หรือ ลองเสิร์ชอินเตอร์เน็ต ว่า very thai ท่านก็จะพบคำ�ตอบเช่นกัน โพสต์ไทย คือ ความคลาสสิกไทยหรือความไท๊ยไทยที่นำ�มาลดทอนตัดทอน และออกแบบใหม่ เพื่อให้เกิดความโมเดิร์น เรียบหรูนั่นเอง * ความเป็นไทยสามประเภทนีไ้ ม่ได้องิ จากหนังสือหนังหาตำ�ราใดหรอก เพียงแต่เป็นการนัง่ วิเคราะห์ความเป็นไทยในวันที่ทุกคนอาจจะค่อยๆหลงลืมความไทยไปทีละน้อยแล้วก็ได้

4


Quenching thirst with coffee, tea, soda, juice and herbal tinctures

5

“Waiter, there’s salt in my drink!” No mistake, salt is often added to drinks in Thailand, especially fruit juice. One gulp from freshly squeezed and salted orange and many a foreigner sputters. Some, though, find they like the heady mix of citrus and sodium chloride. Many other drinks in Thailand have distinct character, whether coffee filtered through a sock, water tinted with herbs, syrups spritzed througha rocke shaped sodafountain,orcold beverages served in a bag, and dangled from an elastic band. Just as in Thai cooking, where condiments balance out the principal flavours – sweet vs sour, salty vs bitter – so with drinks. Salt softens water, and so counteracts tartness from the lime.In this climate, minerals need replenishment, so Thais take all they need (glucose, salt, water, vitamin C) in one go. Or they reach for nature’s all-in-one rehydration pack: the coconut.

The outer husk is hacked off with a machete to leave a pentagon shape with a ‘lid’, so you can scoop out the coconut lining with a spoon. Most other drinks get the sugar treatment.And how.No drink is deemed too sweet, thanks to lashings of palm water, granules or condensed milk. Instead of by the spoonful or lump, you could measure the sugar by its depth: “One centimetre or two?” Though Thai tea is brick red, the sock filter is stained black with many inundations of powdered tea, brewed earlier in a tin. Most tea vendors also have apparatus for coffee.


Since the 1997 economic crash rekindled fashion for things traditional, herbal drinks have joined the plastic bag parade. They’re ladled from enormous glass jars, or more authentically from unvarnished, decoratively scored Mon pottery in the shape of a lotus bud. Lift the pointed lid and use the coconut shell scoop to retrieve the herbal nectar. It may be the diluted, sweetened residue of boiling ambrosially smooth bael fruit, lemon grass stalks, chrysanthemum flowers or rozelle buds, which resemble currants in taste and colour.

www.verythai.com

Same drill, whether sweet black Chinese oliang or sweet brown gafae. Ordered hot, it comes in a cup. Decanted over ice, it can be taken away in a bag with handles or in a cup dangled from loops on a plastic sleeve. Shaved ice gets shovelled into the bag, the hot tea or coffee is then poured on top, plus a further slick of sweetened milk from a can. The resulting swirl of white on orange adds an essential touch of beauty. Stick in a straw – plus another for your friend – and you’re off. Same goes for juices, shakes, Coke and saccharine soft drinks flavoured red or green. Unlike spill-prone plastic cups, the pendulous bag makes a steady mobile vessel. Just don’t try to sit it down... look for a hook!

6


ออกแบบกราฟิกในงานเเสดง ศิลปนิพนธ์นักศึกษาคณะมัณฑณศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากรปีการศึกษา2558

น.ส.น�ำ้ ใส ศุภวงศ์

7

ศิลปะศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย cknida@gmail.com


การสัง่ ก๋วยเตีย๋ วไทยนัน้ ยากเย็นเเสนเข็นมากสำ�หรับ ฝรัง่ ต้องสัง่ ทัง้ เส้น, เครือ่ ง, น�ำ้ , พิเศษหรือธรรมดา เผลอๆกว่าจะสั่งกันเสร็จสั่งกันรู้เรื่องก็หมดอารมณ์ อยากกินไปแล้ว หนังสือเล่มนีจ้ งึ ถูกออกแบบขึน้ เพือ่ แก้ไขปัญหาเหล่านัน้ ในรูปแบบของหนังสือคูม่ อื การอ่าน เมนูอาหารโดยองค์ประกอบกราฟิกที่ใช้ถูกสร้างขึ้น จากการสร้างภาพของเสียงเพื่อให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น หลังจากนี้ชาวฝรั่งทั้งหลายก็จะไม่ต้องยุ่งยากกับ การสั่งก๋วยเตี๋ยวอีกต่อไป

น.ส.ชนิกานต์ การก่อกุล ศิลปะศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย cknida@gmail.com

8


9


10


เมื่อพูดถึงงานไทยดีไซน์แสบๆ มีหนึ่งสตูดิโอ ที่ไ ม่พูดถึงไม่ได้เลย ก็คือ 56 th studio นั่นเอง หากจะพูดถึงงานของสตูดิโอแห่งนี้ อาจพูดได้ว่า บ้า แปลก แสบ และ น่าสนใจในเวลาเดียวกัน งานที่ทำ�นั้นก็มีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ภาพพิมพ์ เฟอร์นิเจอร์ ออกแบบตกแต่งภายใน ฯลฯ นอกจากที่กล่าวมานี้ยังมีอีกมากมายจนไม่สามารถ หาคำ�เจาะจงเฉพาะเกี่ยวกับการออกแบบของ สตูดิโอแห่งนี้ได้ จึงขอนิยามพวกเขาสั้นๆ ว่า “นักเล่าเรื่อง หรือ story teller” นั่นเอง และด้วย เอกลักษณ์ของการนำ�วัสดุพื้นๆบ้านๆของไทยมา สร้างสรรค์จนเกิดเป็นงานสไตล์ทแ่ี สบสันถึงใจขนาดนัน้ จึงพลาดไม่ได้ทจ่ี ะนำ� โอ ศรัณย์ เย็นปัญญา ผูก้ อ่ ตัง้ 56 th studio มานั่งให้สัมภาษณ์ถึงแนวคิด และ ทัศนคติของเขาในการทำ�สตูดโิ อไทยแสนแสบแห่งนี้ จากการศึกษางานของคุณศรันย์พบว่า งาน ออกแบบหนึง่ ชิน้ เกิดจากการผสมผสานของชิน้ งาน ทีม่ คี วามแตกต่างกันทางด้านความหมาย อะไรคือทีม่ า ของแนวคิดนั้น จริงๆแล้วเกือบทุกงานเลยนะ ที่มีแนวคิด แบบนั้น จะว่าไปแล้วมันเป็นเรื่องของรสนิยม ผมเป็นคนที่ชอบล้อเล่นกับความหมาย เช่น สูงต่ำ� รสนิยมไม่ดีกับรสนิยมดี ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว มันไม่มีหรอกครับ ว่ารสนิยมดีจะต้องเป็นอย่างไร หรือ รสนิยมไม่ดีจะต้องถูกตีกรอบไว้ตรงไหน ตัวผมเองชอบงานพื้นๆ บ้านๆ แบบสไตล์ลูกทุ่ง หลายๆครัง้ ทีผ่ มเรียนดีไซน์ เขาก็บอกให้ผมโยนความ เห่ยๆเหล่านี้ทิ้งไป ตำ�ราเรียนที่บอกว่ารสนิยมดี เป็นอย่างไรก็แทบไม่มีงานที่เขาว่าเห่ยรวมอยู่ แต่ยิ่ง ผมเอามันออกไป ผมกลับยิ่งชอบมันมากขึ้น ดังนั้น เวลาทำ�งานผมจึงพยายามที่จะสอดแทรกเสียดสี สิ่งที่ถูกมองว่าเทอะทะ ดูไม่ดี ผนวกเข้ากับชิ้นงาน ที่ทุกคนมองว่าสูงค่า สร้างเป็นชิ้นงานที่มีสองคู่ ความหมายเสมอ

11

เพราะฉะนัน้ งานออกแบบผลิตภัณฑ์หรือผลงานชิน้ อืน่ ๆของคุณศรัณย์ไม่ได้ท�ำ หน้าทีเ่ พียงแค่ตอบสนอง ประโยชน์ใช้สอยเท่านัน้ แต่ตอ้ งสือ่ สารความหมายด้วย บางชิ้นก็ ไม่ตอบสนองเรื่องประโยชน์ ใช้สอยเลยครับ (ฮา) อยากทราบว่ามันเป็นผลที่ได้มาจากการเรียน


อยากทราบว่ามันเป็นผลที่ได้มาจากการเรียนด้าน Visual Communication ที่ Konstfack กรุงสตอกโฮล์ม สวีเดน หรือเปล่า ใช่ครับ เพราะที่นั่น ผมได้เรียนคอร์ส เกี่ยวกับ Story Telling และเค้าก็ไม่ได้สอนเกี่ยวกับ เรื่องเฟอร์นิเจอร์เลย แต่ด้วยความที่ตนเองเรียน ทางด้าน ID (Industrial Design) มา เราก็เลยคิดว่า Story Telling สามารถจะทำ�ด้วยอะไรก็ ได้ เราก็ เลยเริม่ ต้นจากการทำ�งานกระดาษ แต่พอเรากลับมา อยูท่ เ่ี มืองไทย เราพบว่าทีน่ ม่ี แี หล่งงาน Craft มากมาย เวลาผมต้องการสื่อสารผมจึงหยิบยกงาน Craft มา ผสมผสานเป็น Object ที่จับต้องได้ ผลงานที่ผ่านมาสามารถผลิตในระบบอุตสาหกรรม ได้หรือไม่ งานบางชิ้นก็สามารถผลิตเป็นระบบ อุตสาหกรรมได้แต่ดว้ ยสไตล์ดว้ ยวิธกี ารนำ�เสนอผลงาน จึงเหมาะกับการทำ�เป็น Limited มันก็เลยกระเดียด ไปทางงานศิลปะมากกว่า ซึ่งจริงๆแล้ว Philosophy ของผมกับพาร์ทเนอร์ทเ่ี ปิด 56th Studio แห่งนีก้ ค็ อื Form Follow Story ซึ่งตอกย้ำ�ให้เห็นว่าเราให้ ความสำ�คัญกับเรื่องราวมากๆ ขอให้มีเรื่องมาเล่า เราก็สามารถสร้างของขึ้นมาได้

จะให้นิยามว่า ศรัณย์ เย็น ปัญญา คืออะไร (ฮา) เกรียนๆดีมั๊ยครับ ผมไม่ถนัดนิยาม ตัวเองเลย ถ้านิยามก็จะแอบเอาใจตัวเองให้ดูเท่ห์ ไว้ก่อน เพราะฉะนั้นผมไม่รู้ครับ ผมบอกไม่ได้จริงๆ ให้คนอื่นนิยามตัวผมดีกว่า จบการศึกษาจากKonstfackสตอกโฮล์มมากีป่ แี ล้วครับ ผมจบมา 4 ปีแล้วครับ จบมาก็มาเปิด 56th Studio แห่งนี้เลย เหตุผลที่กลับมา เพราะ ผมเริ่มทำ�ชิ้นงานที่ใช้การสื่อสารเป็นตัวนำ� ผลงานเริม่ มีชาวต่างชาติให้ความสนใจ ผมจึงปรึกษา พาร์ทเนอร์อีกคน โดยร่วมกันเปิดสตูดิโอแห่งนี้ พร้อมสร้างสรรค์ผลงานทีละเล็กทีละน้อย

นอกจากผลงานที่ทางคุณศรัณย์ทำ�เองแล้ว ทาง 56th Studio ที่ให้บริการอย่างอื่น บ้างหรือไม่ เริ่มต้นผมอยากให้ 56th Studio เป็น พื้นที่ขายของนะ แต่พอทำ�ไปแล้วเราเริ่มรู้สึกว่ามัน ไม่ใช่ Channel ในการขาย งานที่เราทำ�จะขายได้ เวลาไปอยูใ่ นแกลอรี ในขณะทีเ่ วลาออกงานเทรดแฟร์ ไม่ต้องพูดถึง เพราะขายไม่ได้เลย นอกจากผลงานศิลปะจากการสื่อสารเรื่องราวแล้ว เรายังมี ให้บริการงานออกแบบ (Design Service) เชิงพาณิชย์ด้วย เช่น งานออกแบบภายใน งานมีอะไรในวัยเด็ก ไม่ว่าจะเป็นของเล่น ของใกล้ตัว ออกแบบโลโก้ งานออกแบบ Corporate ขององค์กร ฯลฯ ที่ทำ�ให้เกิดแนวคิดที่เป็นคุณศรัณย์ในวันนี้ ฯลฯ ซึ่งงานเชิงพาณิชย์เป็นสิ่งที่ผมชอบด้วยนะ ในวัยเด็กมีหลายอย่างที่คิดว่ามีอิทธิพล มันเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องโน้มน้าวลูกค้า กับงานออกแบบ อย่างแรกเลยคือตัวต่อ LEGO คือ ผ่านงานออกแบบและการสื่อสาร ผมเป็นเซียนตัวต่อ LEGO เลย ขอให้เทตัวต่อลงมา เป็นถัง ผมก็สามารถเนรมิตเป็นเรือสุพรรณหงษ์ได้ ผลงานศิลปะของตัวเองชิ้นไหนที่ชอบมากที่สุด อย่างที่สองก็คือ สิ่งแวดล้อมที่ผมอยู่ในวัยเด็ก ชิ้นที่มีความหมายสำ�หรับผมที่สุด ก็คือ ผมโตในสภาพบ้านๆแบบนนทบุรี ผมก็จะเจอพวกสวน งานชิน้ แรกเลยครับ เป็นงานทีช่ อ่ื Cheap Ass Elites ไร่นา ผ้าถุงตากอยู่บนรา ถังซีเ มนต์ข้างทาง เป็นงานชิน้ แรกทีบ่ ง่ บอกถึงทิศทางการทำ�งานของผม บ้านผนังสังกะสี กระดานไม้ทพ่ี าดตามทาง สิง่ เหล่านี้ ว่าจะพูดผ่านชิ้นงานอย่างไร ผลงานเกิดจากการ มีความหมายที่มากคุณค่าที่สะท้อนตัวตนส่วนหนึ่ง นำ�ตะกร้าใส่ผา้ พลาสติกมาทำ�เป็นทีน่ ง่ั ตัง้ อยูบ่ นขาเก้าอี้ ของผม และท้ายทีส่ ดุ คือผมไม่ได้อยากเป็นนักออกแบบ รูปทรงสวยสไตล์หลุยส์ เป็นการนำ�สองความแตกต่าง จริงๆแล้วผมอยากเป็น Animator จะว่าไปแล้วผม ระหว่างความจน และความร่ำ�รวย มาผสมผสาน ดู Lion King ประมาณร้อยกว่ารอบ และนัน่ เป็นอีกหนึง่ เป็นชิ้นงานเดียวกัน ซึ่งความรู้สึกเหล่านี้เป็นสิ่งที่ แรงบันดาลใจที่ผมทำ� Animation จากงานกระดาษ คนทั่วไปตั้งให้ ทั้งๆที่ตะกร้าพลาสติกอาจมีคุณค่า ในสมัยเรียน มากกว่าขาเก้าอี้ทรงหลุยส์ก็เป็นได้

12


แล้วถ้าพูดถึงผลงานเชิงพาณิชย์ มีชิ้นไหนที่ภูมิใจ มีงาน Joint – Cafe & Workspace เป็น Coworking Space ที่มีคนพูดถึงเยอะ ข้อดีของมันคือลูกค้าเชือ่ เราและปล่อยให้เราเล่นกับมัน ได้เยอะมาก ทั้งนี้ พื้นที่ของ Joint จะถูกใช้เป็น ที่สอนพิเศษเป็นหลัก เราก็เลยเอากระดานขาวมา กั้นพื้นที่ มีการเพิ่มแนวคิด Work & Play เข้าไป ดังนั้นเวลาเราไปเช่าพื้นที่ทาง Joint ก็จะกั้นพื้นที่ โต๊ะทำ�งานด้วยเนตปิงปอง พอเวลาเราเหนื่อยจาก การทำ�งานก็สามารถเปลีย่ นโต๊ะให้กลายเป็นโต๊ะปิงปอง ได้ทันที เร็วๆนี้ก็จะมีผลงานใหม่ออกมาอีก เช่น ร้านอาหาร Signature ในเครือHot Pot งานจะออกมา น่ารักมาก ส่วนอีกที่ก็จะเป็นร้านอาหารเช่นเดียวกัน ชื่อ Pantry ซึ่งน่าจะเปิดราวเดือนสิงหาคม ถ้าพูดถึงกรุงเทพฯ ปัญหามันอยู่ที่ไหน ปัญหาของกรุงเทพฯ คือความเป็น กรุงเท้พ กรุงเทพ (เสียงสูง) สิ่งที่ผมไม่ชอบคือ มันมีทุกอย่าง มันเป็นการกระจุกตัวของความเจริญ โดยไม่กระจายไปตามจังหวัดรอบข้างเลย ในขณะที่ ต่างประเทศเช่น เมือง Brooklyn ในเมืองมันมีนนู้ นีน่ น่ั ให้เราเที่ยวชมได้หมด เป็นความเจริญที่ไม่ต้องจบ อยู่ที่แมนฮัตตันที่เดียว ถ้ามีโอกาสได้ออกแบบ คุณศรันย์อยากออกแบบอะไร ให้กรุงเทพ ผมอยากออกแบบถังขยะนะ แม้ว่า กรุงเทพฯ จะมีถังขยะหลายรุ่น แต่ผมกลับมองว่า ถังขยะบ้านเรายังไม่มตี วั ตนอยู่ เพราะเขาอาจมองว่า มันต้องถูกซ่อนไม่ให้เห็น ในขณะที่ต่างประเทศมัน กลับถูกออกแบบให้มีความเท่ห์ แม้กระทั่งไม้กวาด ก็ถกู ออกแบบให้มคี วามสวยงาม ผมจึงคิดว่าเราน่าจะ ออกแบบถังขยะทีม่ คี วามสวยงามมากประโยชน์ใช้สอย โดยไม่ต้องไปซ่อนมัน

13

กระบวนการออกแบบของ 56th Studio เป็นอย่างไร โดยทั่วไปก็จะมีขั้นตอนการทำ�งานคล้าย บริษัทออกแบบทั่วไป แต่เราจะให้ความสำ�คัญมากๆ กับการพูดคุยกับลูกค้าเพื่อให้ได้ข้อมูลมากที่สุด เราจะรูว้ า่ สิง่ ไหนเก๋ สิง่ ไหนไม่เก๋ในสายตาของลูกค้า ซึ่งนั่นจะเป็นความต้องการการที่เราสามารถพลิก

Ass Elites “ heap เป็นงานชิ้นแรก ที่บ่งบอกถึงทิศทาง

การทำ�งานของผมว่าจะพูดผ่านชิน้ งานอย่างไร เป็นแนวคิดในการออกแบบงาน ยิง่ เข้าใจลูกค้า มากเท่าไหร่ งานก็จะตอบโจทย์ได้ตรงความ ต้องการมากขึ้น ความสุขของงานออกแบบคืออะไร ความสุขของมันคือ การได้ทำ� อาชีพออกแบบทีต่ นเองรัก สามารถหาเลีย้ งชีพ จากมันได้ด้วย ถือว่าเป็นพรอันประเสริฐ


ช่วยฝากแนวคิดในการทำ�สตูดิโอออกแบบ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ลูกค้าคือพระเจ้า จริงๆ ผมพบว่าสตูดิโอออกแบบที่ประสบความสำ�เร็จ คือการมี AE (Account Executive) ที่สามารถ ประสานงานกั บ ลู ก ค้ าได้ ด ี นั บ เป็ นความโชคดี ที่ผมกับพาร์ทเนอร์เป็นเหมือน หยินกับหยาง ผมเองมีความเป็นศิลปินนิดๆ แต่กพ็ ยายามสะกดตัวเอง ก่อนการประชุมทุกครั้ง ในขณะที่พาร์ทเนอร์ผม จะมีความใจเย็นมากกว่า ดังนัน้ การสือ่ สารระหว่าง สตูดโิ อกับลูกค้าจึงเป็นสิง่ จำ�เป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ม่สามารถ มองข้ามได้

ดในการออกแบบงาน ยิง่ เข้าใจลูกค้ามากเท่าไหร่ “งานก็แนวคิจะตอบโจทย์ ได้ตรงความต้องการมากขึ้น “

และนีค่ อื อีกหนึง่ มุมมองของนักออกแบบทีใ่ ช้การสือ่ สาร เป็นตัวเล่าเรื่องราวผ่านผลงานการออกแบบ แม้ว่า ตัวตนของศรัณย์จะชืน่ ชอบการสร้างผลงานทีเ่ กิดจาก การนำ�วัสดุสองชิ้นที่มีความหมายตรงข้ามกันจน กลายเป็นงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์ แต่ศรัณย์ก็ยังมี อีกมุมหนึ่งที่สามารถทำ�งานเชิงพาณิชย์ได้ หรือ อาจกล่าวได้วา่ ศรัณย์ เย็นปัญญา คือส่วนผสมของ สองคูต่ า่ งระหว่างศิลปินและนักออกแบบทีผ่ สมผสาน กันอย่างลงตัว

14


วงดนตรีคอนเซปแก่ๆที่มาพร้อมเพลงกลิ่นอายไทยๆของวัยชรา

เดอะชราภาพวงดนตรีทบ่ี อกเล่าเรือ่ งราวของเพลงผ่าน มุมมองวัยชราออกมาได้อย่างอบอุน่ ครัง้ แรกทีไ่ ด้ฟงั หลงเชือ่ ซะสนิทใจเลยว่าวงนีม้ สี มาชิกเป็นผูส้ งู วัยทัง้ หมด ในใจก็คดิ ว่าผูส้ งู วัยเหล่านีค้ งมีความวัยรุน่ อยูไ่ ม่นอ้ ยเลย เพลงที่ออกมาบอกเล่าในมุมมองของคนชราก็จริง แต่ดนตรีกลับมาความขีเ้ ล่น และ สนุกสนานเกินกว่า จะเป็นคนชราธรรมดาๆ ภายหลังมารู้ว่าวงนี้ก็คอื พวกวัยรุน่ อย่างเราๆทีต่ ง้ั วงคอนเซ็ปแบรนด์ “ผูส้ งู วัย”ขึน้ ด้วยชือ่ เดอะ ชราภาพ นัน่ เอง ตอนนีม้ เี พลงออกมา 2 ซิงเกิ้ล คือ เพลงศาลาคนเศร้า และ ตรวจสุขภาพประจำ�ปี

15

ซิงเกิล้ แรก “ศาลาคนเศร้า” ถึงแม้ชอ่ื เพลงจะดูเศร้า แต่การเล่านัน้ ไม่ธรรมดาเลย เพลงนีพ้ ดู ถึงวัยชรากับ การไปงานศพ แต่กลับเล่าด้วยจังหวะที่สนุกสนาน ด้วยเหตุผลทีว่ า่ คนชรานัน้ ไปงานศพบ่อยจนรูส้ กึ ชิน และ ปลงกับการจากไปเสียแล้ว จึงไม่มีเหตุผลใด ที่จะเศร้าไปกับงานพิธีนี้อีกต่อไป เพลงนี้สร้างความ ฮือฮาเป็นอย่างมากจากการทำ�มิวสิควีดีโอเพลงเป็น งานอาร์ตเอ็กฮิบิชั่น โดยพวกเขาได้ทำ�การจำ�ลอง ศาลาคนเศร้าขึน้ ชักชวนเหล่าคนรูจ้ กั มาทำ�พวงหลีด ให้แก่ศาลาแห่งนี้ และ เปิดศาลาแห่งนีใ้ ห้คนเข้ามาชม แอบติดกล้องไว้ ถ่ายทอดปฏิกิริยา อิริยาบถต่างๆ ของผู้ชมงานออกมาเป็นมิวสิควีดีโอสำ�หรับเพลงนี้

ซิงเกิ้ลที่สองก็ไม่น้อยหน้า “ตรวจสุขภาพประจำ�ปี” ที่ในช่วงแรกของเพลงเป็นการบอกเล่าการไปตรวจ สุขภาพประจำ�ปีด้วยเสียงของชายชรา ด้วยสำ�เนียง การเล่าที่ฟังแล้วก็อดอมยิ้มไม่ได้ถึงความน่ารักของ คุณลุงคนนี้ จึงกลายเป็นเสน่ห์ของเพลงๆนี้


จากทีเ่ ล่ามาทัง้ หมด แต่ละเพลงนัน้ ยังแฝงกลิ่นอายไทยๆอยู่ ถึงแม้จะพูดถึงผูส้ งู วัย แต่มนั ให้ความรูส้ กึ ถึงผู้สูงวัยไทยเอามากๆ ทั้งด้วยการหยิบยกเอาวัฒนธรรม ประเพณีของไทย และ ทีน่ บั ถือเลย คือ การถอดความเป็นผูส้ งู วัยไทย และ ถ่ายทอดออกมาเป็นเพลง ได้อย่างดี หากใครอยากลองฟังเพลงของ พวกเขา สามารถติดตามได้ทาง เพจเฟซบุ๊ค The Charapaabs

16


ขอเล่าที่มาของการทำ�งานชิ้นนี้ เรามีความคิดว่า หนังสือที่ดีมาจากเนื้อหาท่​่ี น่าสนใจและเนือ้ หาทีน่ า่ สนใจนัน้ ต้องเกิดมาจาก ความสนใจต่อเนือ้ หา หรือความกระหายทีจ่ ะ เล่าเรื่องอะไรสักอย่างของผู้ประกอบร่าง หนังสือเล่มนั้น ตลอดระยะเวลาเรียน 4 ปี ส่วนมากเริ่มจากการอยากสบถความคิดเห็น อะไรบางอย่างลงไป มันจึงถูกพูดด้วยน�ำ้ เสียง ของเรามาโดยตลอด เราเห็นแบบนี้ เราคิด แบบนี้ เรารู้สึกแบบนี้

17

แตกต่างกันกับ “อีสานกรุงเทพ” มันเป็น project ทีเ่ ราเริม่ รับฟัง จากประเด็น ที่เราสนใจ เราคุ้นเคยกับอาหารอีสาน, เพลงลูกทุ่งหมอลำ� และรูปแบบของวิถีชีวิต จากสื่อต่างๆในกรุงเทพ แต่น้อยครั้งที่เราจะ ได้ทำ�ความรู้จักกับมุมมองความคิดของเขา วิถีในการทำ�หนังสือของเรา จึงกระโดดข้ามฝัง่ ปรับเปลี่ยนวิธีเล่าเรื่อง

ตั้งใจหยิบยื่นให้เขาพูดในสิ่งที่เป็น มุมมองความคิด อัตลักษณ์ของเขา และอีสานในกรุงเทพมีความน่าสนใจในตัวเอง อีสานในกรุงเทพมีบาง อย่างที่ในอีสานอาจจะไม่มี ทำ�ให้เราสนใจมันเป็นพิเศษเพิ่มขึ้นไปอีก มีประโยคนึงในหนังสือ กันดารคือสินทรัพย์: อีสาน จัดทำ�โดย TCDC หลายปีกอ่ น โดยพูดถึงประเด็นทีว่ า่ “ มาวันนี้ คนอีสานยึดครอง พื้นที่กรุงเทพฯ และทำ�งานในสารพัดวงการอย่างที่หลายคนคิดไม่ถึง น่าคิดว่าชีวิตคนกรุงเทพทุกวันนี้จะเป็นเช่นไร ถ้าไม่มีคนอีสาน “ วิธีการให้ได้มาของ เนื้อหา ที่เราอยากนำ�มาเล่าในหนังสือจึงเกิดขึ้น เราเห็นคนอีสานกรุงเทพอยูท่ กุ วัน อาจเป็นส่วนนึงในการใช้ชวี ติ ประจำ�วัน ของเราด้วยซ้ำ� แต่เราอาจไม่เคยสังเกตเห็น


ช่วยกระชับ และ ยืนยันมุมมอง ความคิดเห็นในตัวรูปถ่าย

เราอาจยังไม่เคยได้ทำ�ความรู้จักกับมุมมอง ความคิดของเขามาก่อนจึงเกิดเป็นความคิดทีว่ า่ งัน้ ลอง ยืน่ กล้องฟิลม์ให้คนอีสานกรุงเทพถ่าย ให้เขาเป็นคน เล่าเรื่อง โดยเล่าผ่านการ ถ่ายภาพฟิลม์ ฟิลม์ 1 ม้วนบรรจุได้จำ�นวน 36 รูป ทุกคนมีจำ�นวนรูปเท่ากัน แต่อาจ ถ่ายทอดออกมาไม่เท่ากัน ขึน้ อยูก่ บั สิง่ ทีอ่ ยาก จะเล่าไปจนถึงประสบการณ์การถ่ายรูป ด้วยกล้องฟิลม์ไม่เท่ากัน มุมมองที่เขาเห็น ต่อกรุงเทพ วิถีชีวิตประจำ�วัน สิ่งที่เขาทำ� ความชืน่ ชอบหรือความคิดเห็นมันถูกพูดผ่าน รูปถ่าย พร้อมมีบทสัมภาษณ์ซึ่งทำ�หน้าที่

ทุกคนที่เราขอสัมภาษณ์เป็นบุคคลที่ เรารู้สึกว่าเขาเหล่านั้นมีส่วนร่วมใน ชีวิตประจำ�วันของเรา อาจเป็นทั้ง โดยตรงหรือโดยอ้อม และอยากให้ คนอ่านหนังสือเล่มนี้ ทำ�ความรู้จัก ไปด้วยกัน ทุกครั้งที่เรากลับมาจาก การสัมภาษณ์ หัวใจมันจะพองโต ทุกครั้งไปจริงๆ มันเหมือนได้แง่คิด วิธีการมีชีวิตอยู่ วิธีการใช้ชีวิตอยู่ หลายคนทีส่ มั ภาษณ์ ภาพลักษณ์ถกู ระบุ ว่าเป็นบุคคลทีป่ ระสบความสำ�เร็จแล้ว แต่จากการพูดคุยเรากลับได้มุมมอง ของการสร้างชีวิตตัวเองให้อยู่ในจุด มันแอบแทรกซึมติดมาในจำ�นวน ที่ทุกคนยอมรับ และยังคงถ่อมตน 300 กว่ารูปจาก12 อีสานกรุงเทพนี้ ต่อคำ�ชื่นชมที่ถาถมมาให้โดยตลอด เพราะมันเป็นงานที่ยาวนานมาก เลยอยากจะเล่าให้ได้มากที่สุด ทั้ง 12 อีสานกรุงเทพที่มาอยู่ใน เท่าที่เราจะเล่าได้ หนังสือนั้นทุกคนต่างยังคงมีความ เป็นอีสานที่พกติดตัวมาตั้งแต่วันแรก เราเริม่ งานนีด้ ว้ ยจิตใจและความอาจมีการผสมกลมกลืนกับสิ่งแปลก หวังทีด่ ี ขอบคุณทีม่ นั ลงเอยด้วยดี ใหม่ที่เข้ามา ที่แต่ละคนพบเจอ แตกต่างกันออกไปตามระยะเวลาที่ เข้ามาอยู่ ตั้งแต่ 3 ปีจนถึง 40 กว่า ปีนั้น มันถูกพูดอยู่ในรูปที่เขาถ่าย อาจจะเป็นสิ่งที่ตั้งใจถ่าย หรือ ไม่ได้ Khachonyot Yaempradit ตั้งใจถ่ายก็ตาม

18


20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.