คู่มือวิทยาลัยทักษิณาบริหารธุรกิจ

Page 1

STUDENTS STUDENTS ¡ÅØ‹ÁÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÍÒªÕÇÈÖ¡ÉÒà¤Ã×Íä·Â-à·¤ THAI TECH GROUP TECHNOLOGICAL COLLEGE HANDBOOK HANDBOOK

STUDENTS STUDENTS HANDBOOK HANDBOOK



¡ÒÃÈÖ¡ÉÒã¹Ãкº ʋǹãËÞ‹ ¼ÙŒÈÖ¡ÉÒä´ŒÃѺ¤ÇÒÁÃÙŒ¶‹Ò·ʹ¨Ò¡¤ÃÙºÒÍÒ¨ÒàáÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¤Œ¹¤ÇŒÒ໚¹ÊíÒ¤ÑÞ áμ‹ÁÔä´ŒàÃÕ¹ÃÙŒ¨Ò¡¡ÒáÃзíÒËÃ×Í¡ÒþºàËç¹´ŒÇÂμ¹àͧâ´Âμç¡ÒÃÈÖ¡Éҹ͡ÃкºÀÒÂËÅѧ·ÕèÊíÒàÃ稡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ËÃ×Í¡ÒÃÈÖ¡ÉÒã¹ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѪÕÇÔμ¨Ö§ÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞÁÒ¡ 㹡Ò÷Õè¨ÐÊÌҧàÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒ¼‹Ò¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒã¹ÃкºÁÒáÅŒÇ à¡Ô´¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁà©ÅÕÂÇ©ÅÒ´ ÊÒÁÒö»ÃѺμ¹ãˌࢌҡѺÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐÊÒÁÒö´íÒçμ¹ãËŒÍÂÙ‹ã¹Êѧ¤ÁÍ‹ҧÁÑ蹤§à»š¹ÊØ¢ 1


ดร.ชาติชาย พุคยาภรณ ผูรับใบอนุญาตวิทยาลัยในเครือไทย – เทค เขารับ พระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องใน โอกาสที่วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจไดรับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให เปนสถานศึกษาที่ไดรับรางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา ปการศึกษา 2545 ในวันที่ 4 สิงหาคม 2546 ณ ศาลาผกาภิรมยโรงเรียนจิตรดา 2


ทูลกระหมอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จพระราชทานประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง แดผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยในเครือไทย-เทค ประจําป 2557 ณ .หองบัวหลวงแกรนดรูม มหาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร วันเสารที่ 28 มีนาคม พศ. 2558

3


พิธีรับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) วิทยาลัยในเครือไทย-เทค สถาบันการศึกษาเอกชน ปการศึกษา 2557 จาก นายอภัย จันทนจุลกะรอง วันจันทรที่ 30 มีนาคม 2558 ณ หองบัวหลวงแกรนดรูม อาคารดร.สุข พุคยาภรณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 4


ขอตอนรับสูการเปนนักศึกษา

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ชื่อนักศึกษา………………………………………………………………………………… ระดับชั้น ปวช. …………… ปวส. …………… รอบ. …………… สาขาวิชา ……………………………………………………………………………………… 5


ดร.สุข พุคยาภรณ

ผูกอตั้งมหาวิทยาลัยปทุมและสถานศึกษาในเครือไทย-เทค ผมลงทุนธุรกิจอื่น ลงทุนนอยกวาการสรางสถานศึกษา ผ ล ต อ บ แ ท น ร ว ด เ ร็ ว ก ว  า ก า ร ศึ ก ษ า แ ต  ผ ม รั ก ที่ จ ะ ทํ า การศึ ก ษามากกว า คงเป น เพราะผมมี โ อกาสเรี ย น น อ ย… ประเทศชาติ จ ะพั ฒ นาไม ไ ด … คนในประเทศต อ ง มี ก ารศึ ก ษาอย า งทั่ ว ถึ ง และเพี ย งพอ… ถ า องเอาที่ ดิ น ที่ เ ป  น ส ถ า น ศึ ก ษ า ทุ ก แ ห  ง ข อ ง ผ ม ไ ป พั ฒ น า เ ป  น ธุ ร กิ จ ก า ร ค  า มู ล ค  า ค ง ม ห า ศ า ล เ พ ร า ะ ทุ ก แ ห  ง ติ ด ถ น น ใ ห ญ  แ ล ะ ใ น ป  จ จุ บั น อ ยู  ใ น เ ต ชุ ม ช น ที่ เ จ ริ ญ แล ว แต ผ มภู มิ ใ จที่ จ ะทํ า เป น สถานศึ ก ษามากกว า ถึ ง แม ว  า จะเที ย บกั บ ผลตอบแทนทางการค า ไม ไ ด เ ลย แต ผ มได ผ ล ตอบแทนทางใจ แต ล ะป มี เ ด็ ก สํ า เร็ จ การศึ ก ษาออกไป ผม ภู มิ ใ จมากที่ ไ ด มี ส  ว นสร า งทรั พ ยากรบุ ค คลแก ป ระเทศชาติ ความภู มิ ใ จตรงนี้ มี ค  า มากกว า ผลตอบแทนทางการเงิ น หลายพันเทา เพราะเปนสิ่งที่ผมไดชวยพัฒนาบานเมืองและ ตอบแทนแกสังคมสวนรวม

6


ดร.มาลินี พุคยาภรณ ผูสืบสอดเจตนารมณ

การจัดการศึกษาที่มีทุนทรัพยนอยและธนาคารทวงถาม ตลอดเวลา โอกาสที่จะจัดการศึกษาไดเปนผลเลิศนั้นไมงายเสียแลว การศึกษาเปนงานละเอียดออน ทุกอยางเปนกฎระเบียบ สําหรับดิฉนั ไมมี ประสบการณ แต มี ค วามตั้ ง มั่ น ในจุ ด หมาย เป  า หมาย ทํ า อย า งไรจึ ง จะจั ด การศึ ก ษาให เ ป น ผลสํ า เร็ จ อาจเป น ก า ร ท  า า ท า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ห รื อ จ ะ ต  อ ง มี ค ว า ม อ ด ท น ของผู  ที่ ดํ า เนิ น กิ จ การ ความอดทนจึ ง เป น พลั ง ให เ กิ ด เป น กระทําเรือ่ ยมา ฝงจิตฝงใจ ตัง้ มัน่ ทําการศึกษาใหไดดี วิชาการใหเปนเลิศ วัฒนธรรมไทยตองอยูค กู บั โรงเรียน โรงเรียนเปนทีห่ ลอหลอมเยาวชน ใหเปนคนมีสัมมาทิฐิ ใหรักชาติศาสนา พระมหากษัตริย ปลูกฝงใหรัก ความเปนไทย รักวัฒนธรรมไทย ประหยัดซือ้ ประหยัดใช ประหยัดเงินตรา ซื้อสินคาไทย อบรมใหนักเรียนรักวิชาที่ไดรํ่าเรียน เพื่อนําไปปฏิบัติ มีความมุง มัน่ ขยัน แข็งแรง ในการทํางานสวนรวมใหมคี วามรับผิดชอบมี ความรูส รางสรรค มีนาํ้ ใจ กาวไปเพือ่ สังคม มุง เนนในการบริการ ยึดมัน่ มีคุณธรรม ใหเกิดประโยชนสูงสุด การทําการศึกษาดิฉันยึดมั่นในคุณธรรม มีความเมตตา มี ความอดทน เอือ้ เฟอ เปนแนวทางปฏิบตั ติ ลอดมา ซึง่ เปนความภาคภูมใิ จ และยึดถือปฏิบตั ติ ลอดไป การทีเ่ ราไดจดั การศึกษามาถึงปจจุบนั ดิฉนั ไดอบรมบุตรใหมคี ณ ุ ธรรม มีเมตตา เอือ้ เฟอ จะเปนตราประทับชีวติ ของ ผูถือปฏิบัติอันดีงามไปตลอด 7


ดร.ชาติชาย พุคยาภรณ

ผูรับใบอนุญาตกลุมวิทยาลัยในเครือไทยเทค

8


ความคาดหวังกลุมวิทยาลัยในเครือไทย-เทค ดวยวิสัยทัศนอันกวางไกล ของผูรับใบอนุญาต กลุมวิทยาลัยในเครือไทย-เทค ที่พยายามศึกษาวิเคราะหปจจัย ตางๆ แลวกําหนดกลยุทธในการพัฒนาผูบริหารทุกระดับ ใหเปนผูที่มีคุณลักษณะผูนําเชิงกลยุทธและพัฒนาครูให เปนผูส อนทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพือ่ ใหนกั ศึกษา ของไทย-เทคเปนคนเกง กาวลํา้ นําสมัย รวมทัง้ เพือ่ ใหการบริหารและการจัดการ วิทยาลัยเปนไปเพื่อพัฒนาคนใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจัก พึ่งตนเองมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง จึงกําหนดใหดําเนินการตามเหมาะสมดัง ตอไปนี้ 1. พันธกิจ 7 ประการ อาจารยทุกคนตองใชเทคนิค ในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ และตอง จัดใหมี RESEARCH (งามวิจัย) CASE STUDY (กรณีศึกษา) PRESENT (การใหนักศึกษารายงานหนาหอง) GAMES OR ACTIVTIES (การจัดเกมสหรือกิจกรรม) GUEST SPEAKER (เชิญวิทยากร) STUDY TOUR (การศึกษาดูงาน) MEDIA (สื่อการสอน) 2. P.E.C. นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาตองมีความรู ความสามารถเดนชัด 3 ประการ คือ PROFESSIONAL (ความเปนมืออาชีพ) ENGLISH (ภาษาอังกฤษ) COMPUTER (คอมพิวเตอร) 3. S.E.L.F. แนวทางที่นักศึกษาจะตองเรียนรูที่จะใชชีวิตอยางเหมาะสม และมีความตระหนักถึง SOCIAL (การชวยเหลือชุมชน-สังคม) ENVIRONMENT (การอนุรักษสิ่งแวดลอม) LIFE (การดํารงชีวิตอยางมีความสุข) FAMILY (การสรางสานสัมพันธครอบครัว) 4. SSR (STUDENT SOCIAL RESPONSIBILITY) โครงการความเปนเลิศทางวิชาการทีต่ อบสนองความตองการ และเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือสังคม 5. โครงการผูนํา เปนการจัดโครงการใหกรรมการนักศึกษา 5 กลุม คือ คณะกรรมการนักศึกษา คณะกรรมการ ชมรม คณะกรรมการสาขาวิชา คณะกรรมการหองเรียน และคณะกรรมการยุวทูต เปนผูที่รูจักคิดเปน ทําเปน แกปญหาได โดยใชความรูที่เรียนและบูรณาการตามความเหมาะสม 6. โครงการ 5,000 สรางสรรคความคิด เนรมิตปญญา ทางชีวิต วิทยาลัยจัดสรรงบประมาณใหนักศึกษา เพื่อลงทุนฝกหัดทางธุรกิจหองเรียนละ 5,000 บาท โดยมีอาจารยเปนผู ใหคําปรึกษา ทั้งนี้เพื่อใหนักศึกษาได มีความคิดริเริ่มสรางสรรค คิดเปน ทําเปน แกปญหาได สามารถนําหประสบการณมาปรับประยุกต ทําธุรกิจได 7. นโยบาย 10 ประการ นักเรียน-นักศึกษาทีจ่ บหลักสูตรตองมีประกาศนียบัตร เกียรติบตั ร 10 ใบ คือจบหลักสูตร โครงการ CEFE โครงการลักษณะผูนํา คอมพิวเตอร ชมรมตางๆ SELF ภาษาอังกฤษ ฝมือแรงงาน คายอาสา และ ใบขับขี่รถยนต 9


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

Thaksina Business Technological College ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ตั้งอยูเลขที่850 กม.12 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 เปนสถานศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน ซึ่งเปดทําการสอนและกอตั้งโดย ดร.สุข พุคยาภรณ เดิม เปดสอนวิชาชางอุตสาหกรรมและชางอื่นๆ ตอมาในป พ.ศ. 2511 ไดเปดสอนวิชาบัญชี แผนวิชาธุรกิจทั่วไป จนในป พ.ศ. 2548 ไดเปดทําการเรียนการสอนในระดับ ปวช. และ ปวส. สายวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กิจ สาขาวิชาการบัญชี และสาขาการตลาดเพือ่ ตอบสนองการ ขยายกิจการทางดานเศรษฐกิจของประเทศไทย ทีม่ กี ารพัฒนางานดานธุรกิจการทองเทีย่ ว การคาขาย การประกอบธุรกิจSME โดยมี ดร.ชาติชาย พุคยาภรณ เปนผูรับใบอนุญาต ตั้งแต 14 ธันวาคม 2549 และไดรับการรับรองมาตรฐานการศึกษา และนาง นงลักษณ ตระกูลวงศ เปนผูอ าํ นวยการคนปจจุบนั มีนโยบายและความมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางวิทยาลัยใหมรี ะเบียบวินยั และมีคณ ุ ลักษณะ พึงประสงค สถานที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียน สะอาดรมรื่น อุปกรณการเรียนที่ทันสมัย กาวทันเทคโนโลยีใหม ให เรียนรูจ ากประสบการณตรง และใหฝก งานในสถานประกอบการ สงเสริมใหนกั เรียน จัดกิจกรรมเสริมทักษะรวมกับหนวยงาน และสถาบันทีม่ ชี อื่ เสียงของเอกชนและรัฐบาล เสริมสรางศักยภาพการเรียนรูข องนักศึกษาใหมปี ระสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการ ที่เปนระบบ ครู-อาจารยเปนผูมีคุณวุฒิ ใหการดูแล นักเรียน-นักศึกษาอยางใกลชิด เนนคุณภาพและคุณธรรมตามปรัชญา วิสัยทัศนและพันธกิจ 10


ชื่อสถานศึกษา

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ รหัส 10100910

ที่ตั้ง

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ THAKSINA BUSINESS TECHNOLOGICAL COLLEGE (TSN) 850 กม.12 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท 0-2517-3999 โทรสาร 0-2517-6737 www.thaksina.net Id Line.thaksina_99 : E-mail.thaksina9@gmail.com

แดง ขาว สีประจําวิทยาลัย สัญลักษณ

สังกัด

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

วิสัยทัศน วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ เปนสถานศึกษาสมัยใหมที่มุงจัดการศึกษาเพื่อผลิตนักศึกษาใหเปน

นักธุรกิจรุนใหมที่มีความรู ความสามารถ ทักษะวิชาชีพและประสบการณ พรอมที่จะกาวเขาสูตลาดแรงงานอยางมีคุณภาพได มาตรฐาน ดํารงตนอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

ปรัชญา “คุณภาพ คุณธรรม”

คุณภาพ หมายถึง นักศึกษาจะตองมีความรูเปนเลิศทั้งวิชาสามัญและวิชาชีพ จึงไดนําเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช ในการ เรียนการสอน ใหนักศึกษาไดเรียนรู ตรงตามความตองการของสถานประกอบการและสังคม คุณธรรม หมายถึง การใหความรู และฝกนักศึกษาทุกคนใหเปนผูมีวินัยและความรับผิดชอบ เพื่อนําไปใชประโยชน ในชีวิต ประจําวัน ซึ่งจะเปนสวนชวยในการแกปญหาทางสังคม 11


เอกลักษณ “CSR”

College วิทยาลัย Social สังคม Responsibility ความรับผิดชอบ

1.พันธกิจ 7 ประการ ครูทุกคนตองใชเทคนิค ในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ และตองจัดให RE-

SEARCH(งานวิจัย) CASE STUDY (กรณีศึกษา)PRESENTATION (การใหนักเรียน นักศึกษารายงานหนาหอง) GAMES OR ACTIVITIES (การจัดเกมสหรือกิจกรรม) GUESTSPEAKER (เชิญวิทยากร) STUDY TOUR (การศึกษาดูงาน) MEDIA (สื่อการ สอน) 2. P.E.C. นักเรียน นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาตองมีความรู ความสามารถเดนชัด 3 ประการ คือ PROFESSIONAL (ความเปนมืออาชีพ) ENGLISH (ภาษาอังกฤษ ) COMPUTER (คอมพิวเตอร ) 3. S.E.L.F./T.F.L. แนวทางทีน่ กั เรียน นักศึกษาจะตองเรียนรูท จี่ ะใชชวี ติ อยางเหมาะสม และมีความตระหนักถึง SOCIAL( การชวยเหลือชุมชน-สังคม) ENVIRONMENT ( การอนุรักษสิ่งแวดลอม) LIFE (การดํารงชีวิตอยางมีความสุข) FAMILY (การ สรางสานสัมพันธครอบครัว) TECHNOLOGY (เทคโนโลยี) FOR LIFE (สําหรับการดํารงชีวิต) 4.SSR (STUDENT SOCIAL RESPONSIBILITY) โครงการความเปนเลิศทางวิชาการที่ตอบสนองความตองการ ของสังคม 5.โครงการผูน าํ เปนการจัดโครงการใหคณะกรรมการยุวทูตและกรรมการนักเรียน นักศึกษา 5 กลุม คือ คณะกรรมการ นักศึกษา คณะกรรมการชมรม คณะกรรมการสาขาวิชา และคณะกรรมการหองเรียนเปนผูท รี่ จู กั คิดเปนทําเปน แกปญ  หาได โดย ใชความรูที่เรียนและบูรณาการตามความเหมาะสม 6. โครงการ 5,000 สรางสรรคความคิด เนรมิตปญญา ทางชีวติ วิทยาลัยจัดสรรงบประมาณใหนกั เรียน นักศึกษา เพือ่ ลงทุนฝกหัดทางธุรกิจหองเรียนละ 5,000 บาท โดยมีอาจารยเปนผู ใหคาํ ปรึกษา ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหนกั เรียน นักศึกษาไดมคี วามคิด ริเริ่มสรางสรรค คิดปน ทําเปน แกปญหาได สามารถนําประสบการณมาปรับประยุกต ใช ในชีวิตประจําวันได 7. นโยบาย 10 ประการ นักเรียน นักศึกษาที่จบหลักสูตรตองมีประกาศนียบัตร เกียรติบัตร วุฒิบัตร 10 ใบ คือ จบ หลักสูตร โครงการ CEFE โครงการลักษณะผูนํา คอมพิวเตอร ชมรมตางๆ ภาษาอังกฤษ ผีมือแรงงาน คายอาสา และใบขับขี่ รถยนต

ชื่อสถานศึกษา

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ รหัส 10100910

12


อัตลักษณ แตงกายดี มีจิตอาสา ดอกไมประจําวิทยาลัย : ราชพฤกษ

ผูบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ป พ.ศ. 27 พย. 2549-28 พค.2550 29 พค.2552-12 กค.25520 13 กค. 2550-3 ตค.2550 4ตค. 2550-31พค.2553 1มิย.2553-31มค.2555 1กพ.2555-1กพ.2557 13 มีค.2557-ปจจุบัน

ผูอํานวยการ นางสายพิน มณีศรี นางสาวประไพศรี วิศัยจร นายวีระ วงศประดิษฐ นางเยาวลักษณ เพ็งอิ่ม นางสาววนิดา สกุลเจริญไพโรจน นางรังษิณี คอทอง นางนงลักษณ ตระกูลวงศ

ผูรับใบอนุญาต นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ

เพลงมารช วท.ทักษิณาบริหารธุรกิจ

ราชพฤกษงามเดนเปนสงา ทักษิณาเลิศวิชากาวไกล ถึงยามเรียนมุงเรียนเพียรมั่นใจ ถึงยามเลนเราเลนเปนเวลา ทักษิณาบริหารธุรกิจ เลือดแดงขาวพราวเดนเปนศักดิ์ศรี ใตรมเงาราชพฤกษเลิศศึกษา สรางคุณคาเสริมคุณธรรมนําชีวรรณ

รูปสถานศึกษาทันสมัย สรางปญญามีวินัยใฝพัฒนา เพื่ออนาคตสดใสในวันหนา มีนํ้าใจนักกีฬารูสามัคคี รวบรวมจิตรผูกผันฉันพี่นอง รวยนํ้าใจไมตรีมีตอกัน ทักษิณาควรคุณคาเปนมิ่งขวัญ รวมสรางสรรคสังคมไทยใหยั่งยืน… 13


Thaksina Business Technological College นางเยาวลักษณ เพ็งอิ่ม ประธานกรรมการบริหาร 14


Thaksina Business Technological College นางนงลักษณ ตระกูลวงศ ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ 15


Thaksina Business Technological College นางสาวจิตินันท อิสโม ผูชวยผูอํานวยการ ผูบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

16

อ. นิรัชดา พรหมวงศ อ. นําโชค ผุยแพง

อ.อังคณา ปนแกว อ. พัชรินทร พิมพศรี

อ. ยุพา จันทรภิรมย อ.วีรพล สินทอง

อ.จารุณี อาจหาร อ.ไทยรัฐ ฤทธิไกรพิชญ


คณะวิชาการตลาด อ.อาคม สะเล็ม อ.อังคณา ปนแกว อ.ขนิษฐา อุทุมภา

คณะวิชาการบัญชี อ. ธิติพร เผือกฉุย อ. นิรัชดา พรหมวงศ อ..นรีรัตน ไชโย

17


คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

อ. อนุชา อ. สุวิมล อ .รัตนากรณ อ. นาตยา อ. บุษบา อ. จิตราภา อ. ยุพา อ. สุภิชญา อ. นฤมล อ. ศุภานิช

สะเล็ม แขกซอง ใสหมี สุกทองคํา พวงพันสาย เสนาขันธ จันทรภิรมย สมบัติ สลาม แสงผา

ฝายสํานักมาตรฐานการศึกษา อ. ศิวนาถ ทองงาม อ. ศิริรัตน บัววิเชียร อ.จารุณี อาจหาร อ. กานดา ทิวะกะลิน อ. วรรณณี ดวงทอง 18


หมวดวิชาพื้นฐาน อ. สุวิทย

วัฒนานคร

อ. วาสนา

สังขมณี

อ. สุนทร

รื่นเลี้ยง

อ. พรทิพย

สนิทโกสัย

หมวดวิชาภาษาตางประเทศ MR. RAFAEL

MARFIL JR.

อ. ธารารัตน

มาลาพงษ

อ. พรรธิวา

บุตรนํ้าเพชร

อ. พัชรินทร

พิมพศรี

19


สํานักบริการ อ. คฑาวุธ สะอาดโฉม อ. นําโชค ผุยแพง อ. อรวรรณ ชัดชวงโชติ

อ. นิภาพร บิณฑสูตร อ. สุภรณ อมาตยกุล อ. นันทภัค นิลบางขวาง อ. วิภา อาจหาญ อ. ทิพยสุดารัตน ผูปรึกษา

อ. นันทิญา กลาหาญ อ. สุจิตรา คงชาตรี

งานกิจการนักศึกษา อ.มงคล ศรีสวย อ.นัฐวุฒิ ปานมณี อ.อานนท ปวงคํา อ.ปภาเทพ หิรัญวรภัทร อ.สิริกาญจน อารัมภวุฒิ อ.วีรพล สินทอง อ.อรวรรณ ขุนบุญจันทร 20


โครงสรางผูบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

ดร.ชาติชาย พุคยาภรณ ผูรับใบอนุญาต

นางเยาวลักษณ เพ็งอิ่ม ประธานผูบริหารสถานศึกษาวิทยาลัย ในเครือไทย – เทค

นายเชาวรัตน เชาวนชวานิล นายยกสภาวิทยาลัยกลุมอาชีวศึกษา เครือไทย – เทค

นางนงลักษณ ตระกูลวงศ ผูอํานวยการ นางสาวจิตินันท อิสโม ผูชวยอํานวยการ

นางสาวจารุณี อาจหาร หัวหนาสํานักมาตรฐานการศึกษา

นางสาวนําโชค ผุยแพง หัวหนาสํานักบริการ

นายไทยรัฐ ฤทธิไกรพิชญ หัวหนาสํานักการศึกษา ภาคพิเศษ

นางสาวยุพา จันทรภิรมย คณบดีคณะวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ

นางสาวนิรัชดา พรหมวงศ คณบดีคณะวิชาการบัญชี

นางสาวอังคณา ปนแกว คณบดีคณะวิชาการตลาด

นางสาวพัชรินทร พิมพศรี คณะ E-Learning

นายวีรพล สินทอง สํานักธุรกิจ

21


ดร.ชาติชาย พุคยาภรณ ผูรับใบอนุญาต

นายเชาวรัตน เชาวนชวานิล นายยกสภาวิทยาลัยกลุมอาชีวศึกษาเครือ ไทย – เทค

ประธานที่ปรึกษากลุมวิทยาลัยในเครือไทย – เทค อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

คณะกรรมการวิทยาลัยกลุมอาชีวศึกษาเครือไทย – เทค

ประธานบริหารกลุมวิทยาลัยในเครือไทย – เทค

นายสมาน เปรมตั้งธนา ประธานที่ปรึกษาดานกีฬา

นางเยาวลักษณ เพ็งอิ่ม ประธานผูบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยในเครือไทย – เทค

ดร.นฤมล เพ็ชรสุวรรณ

ประธานผูบริหารองคกรสารณะกุศล

22

นายมนู สิทธิประศาสน กรรมการสภาวิทยาลัย

ดร.วีรพงษ ชุติภัทร กรรมการสภาวิทยาลัย

นายเกรียงไกร พุคยาภรณ กรรมการสภาวิทยาลัย

นายสาธร อุพันวัน กรรมการสภาวิทยาลัย

นางพรรณี ตันตระกูล กรรมการสภาวิทยาลัย

นางเยาวลักษณ เพ็งอิ่ม เลขากรรมการสภาวิทยาลัย

นางพรรณี ตันตระกูล ประธานคณะกรรมการกํากับและ ติดตามการบริหารกิจการในสถานศึกษา

นางวันวิสาข กาญจนศรีกุล นางสุมนา เสือเอก ประธานผูบริหารการสถานศึกษา ประธานผูบริหารการสถานศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานในเครือไทย – เทค การศึกษาทางเลือกในเครือไทย – เทค

นางสาววนิดา สกุลเจริญไพโรจน ประธานผูบริหารการศึกษารูปแบบใหม

ในเครือไทย – เทค

นางสาวอัปสรฤดี จันทหิรัญ ประธานผูบริหารการจัดการ

งานบัญชีและการเงิน ในเครือไทย – เทค


23


สารบัญ

ประวัติวิทยาลัยโดยยอ วิสัยทัศน ปรัชญา คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย และคณาจารย แผนภูมิการบริหารงาน ปฏิทินการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ วิชาการ หลักสูตรที่เปดสอน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ประเภทวิชาบริหารธุกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส การบริการหองสมุด กิจการนักศึกษา ระเบียบขอบังคับของวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ระเบียบทั่วไป ขั้นตอนการพิจารณาลงโทษ ระเบียบวาดวย การแตงกายของนักศึกษา ระดับ ปวช. ระเบียบวาดวย การแตงกายของนักศึกษา ระดับ ปวส. ระเบียบวาดวย การลาของนักศึกษา ระเบียบวาดวย นักศึกษาวิชาทหาร 24

10 11 16 21 26 37 39 47 57 67 77 83 88 93 95 101 103 105 106


สารบัญ ธุรการ ระเบียบการขอการจบการศึกษา แนวปฏิบัติในการขอกูยืมเงิน กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา เงินประกันอุบัติเหตุ สงเสริมการศึกษาและบริการ สิทธิประโยชนที่นักศึกษาไดรับ คณะกรรมการจัดทําหนังสือคูมือนักศึกษา

113 114 121 122 123 127 128

25


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

ผูรับผิดชอบ

ตลอดภาคเรียน โครงการจัดซื้อหนังสือ/ตออายุสมาชิกวารสารนิตยสาร

สํานักมาตรฐานการศึกษา/งานหองสมุด

ตลอดภาคเรียน โครงการยอดนักอานประจําเดือนของหองสมุด

สํานักมาตรฐานการศึกษา/งานหองสมุด

ตลอดภาคเรียน โครงการกายบริหารยามเชา ทุกวันพุธ

ฝายกิจการนักศึกษา

ตลอดภาคเรียน โครงการพัฒนาผูเรียน(เครือไทย - เทค)

ฝายกิจการนักศึกษา

ตลอดภาคเรียน โครงการกีฬาเพื่อประชาสัมพันธ

ฝายกิจการนักศึกษา

ตลอดภาคเรียน โครงการประเมินนักเรียนเพื่อรับรางวัลพระราชทาน

ฝายกิจการนักศึกษา

ตลอดภาคเรียน โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ

ฝายสงเสริมการศึกษา

ตลอดปการศึกษา โครงการธนาคารโรงเรียน

คณะวิชาการบัญชี

ตลอดปการศึกษา โครงการแขงขันภายนอก

คณะวิชาการบัญชี

ตลอดปการศึกษา โครงการครูนอกหองเรียน

คณะวิชาการบัญชี

ตลอดปการศึกษา โครงการสรางสุขภาพชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

คณะวิชาการบัญชี

ตลอดปการศึกษา โครงการสงเสริมจิตอาสา สงตอความรูสูนองในโรงเรียนเครือขาย

คณะวิชาการตลาด

ตลอดปการศึกษา โครงการสงเสริมจิตอาสา นําความรูสูการพัฒนาชุมชนและสถานประกอบการ คณะวิชาการตลาด ตลอดปการศึกษา โครงการนิเทศการฝกปฏิบัติงานในสถานประกอบการของนักศึกษาฝกงานระบบทวิภาคี คณะวิชาการตลาด ตลอดปการศึกษา โครงการสงเสริมศักยภาพดานวิชาการสูสนามการแขงขัน

คณะวิชาการตลาด

ตลอดปการศึกษา โครงการปลูกจิตอาสาพัฒนาศาสนสถาน

หมวดวิชาพื้นฐาน

26


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 งาน / โครงการ / กิจกรรม

วัน/เดือน/ป

ผูรับผิดชอบ

1 -31 พ.ค. 58 ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม ขอรหัสผานลวงหนา

กยศ. / สํานักบริการ

1 -31 พ.ค. 58 ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม ที่ไดสถานศึกษาแลว ยื่นแบบคําขอกูยืมเงิน

กยศ. / สํานักบริการ

6-8 พ.ค. 58 โครงการคายผูนํา (คณะกรรมการ นร.)

ฝายกิจการนักศึกษา

7 พ.ค. 58

ผูบริหารเยี่ยมคาย

ฝายกิจการนักศึกษา

23 พ.ค. 58

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม

ฝายกิจการนักศึกษา

25 พ.ค. 58

เปดภาคเรียนที่ 1 / 2558 ระดับชั้น ปวช.2 , ปวช. 3 และ ปวส. 2

สํานักมาตรฐานการศึกษา

25 พ.ค. - 5 มิ.ย. 58 นักเรียน ระดับ ปวช. ติดตอขอแก 0 / มส. / มผ.

สํานักมาตรฐานการศึกษา

25 พ.ค. - 5 มิ.ย. 58 นักศึกษา ระดับ ปวส. ติดตอขอแก มส.

สํานักมาตรฐานการศึกษา

25 พ.ค. 58

ประชุมครู

25 พ.ค. - 5 มิ.ย. 58 ระดับชั้น ปวช.1-3 รับคาอุปกรณการเรียนและรับหนังสือเรียน 31 พ.ค. 58

โครงการวันงดสูบบุหรี่โลก

สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา/บริการ ฝายกิจการนักศึกษา

27


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม ขอรหัสผานลวงหนา ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม ที่ไดสถานศึกษาแลว ยื่นแบบคําขอกูยืมเงิน ปวช. 3/1 และ ปวช. 3/2 (คณะวิชาคอมพิวเตอร) ออกฝกงาน โครงการผูบริหารเยี่ยมบานนักศึกษาดีเดน ตรวจนับ-ถายรูป คุรุภัณฑ ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม/รายเกายืนยันการลงทะเบียนผานระบบ e-Studentloan เปดภาคเรียนที่ 1 / 2557 ระดับชั้น ปวช.1 และ ปวส. 1 ผูบริหารพบนักศึกษา ระดับ ปวช.1, ปวส.1 กิจกรรม Morning Talk คายหัวหนาหอง ผูบริหารเยี่ยมคาย สํารวจรายชื่อนักศึกษาขอเงินอุดหนุน กิจกรรม Morning Talk คายชมรม ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูดานการตลาด ระดับ ปวช. 1 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ประชุมคณะกรรมการบริหาร/กรรมการรวม 4 ฝาย พิธีประดับเข็มนักเรียนแกนนํา โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม(พิธีไหวครู) 18 มิ.ย.58 กิจกรรม Morning Talk 19 มิ.ย. 58 โครงการอบรมการดําเนินธุรกิจขนาดยอมในสถานศึกษา 25 มิ.ย.58 กิจกรรม Morning Talk 26 มิ.ย. 58 โครงการรําลึกครูกลอนสุนทรภู 26 มิ.ย. 58 โครงการรณรงคตานยาเสพติด 27 มิ.ย.58 โครงการสานสัมพันธรุนพี่สูรุนนอง 27 มิ.ย. 58 โครงการสานสัมพันธรุนพี่รุนนอง 27 มิ.ย. 58 โครงการสายรหัสสัมพันธ พี่ดูแลนอง นองเคารพพี่ 28-30 มิ.ย. 58 โครงการคายสานรักเสริมวินัย(สัตหีบ) 29 มิ.ย. 58 ผูบริหารเยี่ยมคาย 30 มิ.ย. 58 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา 21 มิ.ย. 58 โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข 23 มิ.ย. 58 ประชุมครู 28 1 -30 มิ.ย. 58 1 -30 มิ.ย. 58 1 มิ.ย. - 31 ก.ค. 58 2 มิ.ย. - 31 ก.ค. 58 2-12 มิ.ย. 58 2-30 มิ.ย. 58 2 มิ.ย. 58 2 มิ.ย. 58 4 มิ.ย.58 4-6 มิ.ย.58 5 มิ.ย.58 5 มิ.ย. 58 11 มิ.ย.58 11-13 มิ.ย.58 12 มิ.ย.58 12 มิ.ย. 58 16 มิ.ย. 58 16 มิ.ย. 58 18 มิ.ย. 58

ผูรับผิดชอบ กยศ. / สํานักบริการ กยศ. / สํานักบริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักงานสงเสริมการศึกษา สํานักงานบริการ สํานักงานบริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักบริการ หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการตลาด หมวดวิชาพื้นฐาน สํานักบริการ ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด หมวดภาษาตางประเทศ หมวดวิชาพื้นฐาน ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

1 -31 ก.ค. 58 1 -31 ก.ค. 58 2 ก.ค.58 2-4 ก.ค.58 3 ก.ค.58 3 ก.ค. 58 9 ก.ค.58 9 ก.ค.58 9-11 ก.ค.58 10 ก.ค.58 10 ก.ค. 58 15 ก.ค. 58 15-31 ก.ค. 58 16 ก.ค.58 16-18 ก.ค.58 17 ก.ค.58 17 ก.ค. 58 17 ก.ค. 58 19 ก.ค. 58 20-29 ก.ค. 58 21 ก.ค. 58 22 ก.ค 57 24 ก.ค. 58 24 ก.ค. 58 28 ก.ค. 58 29 ก.ค. 58 22 ก.ค. 58 23 ก.ค.58 24 ก.ค. 57 31 ก.ค.58 31 ก.ค.58

ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม ขอรหัสผานลวงหนา สถานศึกษาบันทึกรอบวงเงิน ประกาศรายชื่อผู ไดรับสิทธิการกูยืม กิจกรรม Morning Talk โครงการคายคุณธรรมจริยธรรม(คายพุทธบุตร) ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูดานการตลาด ระดับ ปวช. 2 กิจกรรม Morning Talk โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนแผนธุรกิจ โครงการคายคุณธรรมจริยธรรม(คายพุทธบุตร) ผูบริหารเยี่ยมคาย สงบัญชีเรียกชื่อ ครั้งที่ 1 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต กิจกรรม Morning Talk โครงการคายคุณธรรมจริยธรรม(คายพุทธบุตร) ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการรําลึก ดร.สุข พุคยาภรณ โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูดานการตลาด ระดับ ปวช. 3 ประชุมผูปกครองเครือขาย ตรวจเช็คยอดคุรุภัณฑ /จัดทํารูปเลม โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข ประชุมครู โครงการ TSN Freshy Diamond 2015 โครงการประกวดการพูดสุนทรพจนเนื่องในวันภาษาไทย โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมพิธีถวายเทียนจํานําพรรษา โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา โครงการแขงขันเรื่องสรางการตูนแอนิเมชั่น โดยใชโปรแกรม Flash หัวขอ คานิยม 12 ประการ กิจกรรม Morning Talk โครงการเสริมสรางความรูและทักษะในการความเสี่ยงในการใชเทคโนโลยีในปจจุบัน โครงการอบรมบุคลิกภาพที่ดีของนักบัญชีรุนใหม โครงการ SSR

ผูรับผิดชอบ กยศ. / สํานักบริการ กยศ. / สํานักบริการ หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการตลาด หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา สํานักบริการ ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี 29


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป 1 - 31 ส.ค. 58 3 ส.ค. - 30 ก.ย. 58 3 - 7 ส.ค. 58 3 - 31 ส.ค. 57 1-30 ส.ค. 58 1-31 ส.ค. 58 4 ส.ค 58 6 ส.ค.58 7 ส.ค.58 7 ส.ค.58 7-9 ส.ค.58 8 ส.ค.58 10 ส.ค. 57 11 ส.ค. 58

30

งาน / โครงการ / กิจกรรม

สถานศึกษาตรวจสัญญาและยืนยันใบลงทะเบียนกูยืม ปวช. 3/3 และ ปวช. 3/4 (คณะวิชาคอมพิวเตอร) ออกฝกงาน สอบกลางภาคเรียนที่ 1 /2558 โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต โครงการกีฬาเฉลิมพระเกียรติวันแมสูวันพอ สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันใบลงทะเบียนกูยืมเงิน กยศ. 1/58 โครงการแขงขันออกแบบโปสเตอรโดยใชโปรแกรม Illustrator หัวขอ “แมในดวงใจ” กิจกรรม Morning Talk โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน-นักศึกษา ช.3 สํานักกษาปณ โครงการประกวดการเขียนเรียงความ หัวขอ “พระแมของแผนดิน” โครงการคายสานรักเสริมวินัย(สัตหีบ) ผูบริหารเยี่ยมคาย สงบัญชีเรียกชื่อ ครั้งที่ 2 โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม (พิธีถวายพระพรสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ) 11 ส.ค.58 โครงการ Essay Writing Competition 11 ส.ค.58 โครงการเชิญวิทยากรบรรยายพิเศษ เนื่องในวันแมแหงชาติ 13 ส.ค.58 กิจกรรม Morning Talk 14 ส.ค. 58 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา 18 ส.ค 58 โครงการสัปดาหวันวิทยาศาสตร 22 ส.ค. 58 โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูดานการตลาด ระดับ ปวส.1 9-30 ส.ค 58 โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนนักศึกษา ที่ IDC (Internet Data Center) 11 ส.ค. 57 โครงการมอบเกียรติแมตัวอยาง 14 ส.ค. 58 โครงการ อบรมโปรแกรม Photoshop ใหกับนักเรียนโรงเรียน 14 ส.ค.58 โครงการเปดโลกกวางสูการสรางเสนทางอาชีพ (สบูแฟนซี) 14 ส.ค.58 โครงการ SSR 14 ส.ค. 58 โครงการอบรมการพัฒนาศักยภาพนักการตลาดรุนใหมกาวไกลสู AEC 18 ส.ค 58 โครงการแขงขันการสรางโมเดล 3 มิติ บูธแสดงสินคาโดยใชโปรแกรม Google Sketup 20 ส.ค.58 ประชุมครู 20 ส.ค.58 กิจกรรม Morning Talk 28 ส.ค. 58 ประชุมระดับชั้น ปวส.1 ปวส.2 27 ส.ค. 58 กิจกรรม Morning Talk 28 ส.ค 58 โครงการอบรมเสริมสรางความรูและทักษะในดาน “IT Technology Trends 2015” ระดับปวช.3 ,ปวส 28 ส.ค.58 โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน - นักศึกษา ส.1,2 ธนาคารแหงประเทศไทย 28 ส.ค.58 โครงการ SSR 28 ส.ค. 58 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา

ผูรับผิดชอบ กยศ. / สํานักบริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักงานกิจการนักศึกษา สํานักงานบริการ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดวิชาพื้นฐาน คณะวิชาการตลาด คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ฝายสงเสริมการศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการตลาด คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี หมวดวิชาพื้นฐาน


วัน/เดือน/ป

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 งาน / โครงการ / กิจกรรม

1 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-30 ก.ย. 58 1-18 ก.ย. 58 3 ก.ย. 58 4 ก.ย. 58 5 ก.ย. 58 10 ก.ย. 58 11 ก.ย.58 11 ก.ย.58 11 ก.ย.58 14-18 ก.ย. 58 15 ก.ย. 58 17 ก.ย. 58 18 ก.ย.58 18 ก.ย. 58 21 ก.ย. 58 21 ก.ย. 58 21-25 ก.ย. 58 20 ก.ย. 58 26 ก.ย. 58

โครงการแขงขันออกแบบและพัฒนาเว็บไซต โดยใชโปรแกรม Joomla หัวขอ คานิยม 12 ประการ สถานศึกษาสงเอกสารสัญญาและใบลงทะเบียนใหผูบริหารและจัดการเงินใหกูยืม ผูกูยืมยื่นแบบคํายืนยันการขอกูยืมเงินผานระบบ e-Studention โครงการแขงขันภายนอก (NSC) สถานศึกษาสงเอกสารใบลงทะเบียนใหผูบริหารและจัดการเงินใหกูยืม 1/58 ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม/รายเกายืนยันการลงทะเบียนผานระบบ e-Studentloan สถานศึกษาสงเอกสารใบลงทะเบียนใหผูบริหารและจัดการเงินใหกูยืม 2/58 โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต กิจกรรม Morning Talk โครงการแขงขันการออกแบบตราสินคา โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูดานการตลาด ระดับ ปวส.2 กิจกรรม Morning Talk โครงการแขงขันภายใน”กระปุกออมสินจากวัสดุธรรมชาติและสมุดบัญชีครัวเรือน” โครงการ TSN Idol Singing Contest3 โครงการทักษิณาเกมส สอบปลายภาคเรียนที่1/2556 (ปฏิบัติ/นอกตาราง) โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk โครงการสรางสรรคงานวิจัย โครงการนักวิจัยตลาดรุนเยาว โครงการเยาวชนดีเดน โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข สอบปลายภาคเรียนที่1/2557 (ทฤษฏี/ในตาราง) โครงการจิตอาสาพัฒนาคูคลอง เนื่องในวันอนุรักษคูคลองแหงชาติ โครงการอบรม Internet เบื้องตน ใหกับชุมชน

ผูรับผิดชอบ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ กยศ. / สํานักบริการ กยศ. / สํานักบริการ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สํานักบริการ สํานักบริการ สํานักบริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด คณะวิชาการตลาด หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการบัญชี หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการตลาด ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา คณะวิชาการตลาด คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

31


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

ผูรับผิดชอบ

2 ต.ค. 58 1-3 ต.ค. 58 2 ต.ค. 58 1-30 ต.ค. 58 1-30 ต.ค. 58 1-31 ต.ค. 58 21 ต.ค. 58 13 ต.ค. 58 14 ต.ค. 58 15 ต.ค. 58 18 ต.ค. 58

โครงการสรางผลิตภัณฑใหม ภายใตแบรนด TSN โครงการคายพัฒนาคุณภาพชีวิต ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการพัฒนาบุคลากร ผูกูยืมเงิน กยศ. รายใหม/รายเกายืนยันการลงทะเบียนผานระบบ e-Studentloan โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ / ประชาสัมพันธรับสมัครนักศึกษาใหม 2/58 โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข ประกาศผลการเรียนพรอมลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 2/2558 ปวช. 1 , ปวส. 1 ประกาศผลการเรียนพรอมลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 2/2558 ปวช. 2 , ปวส. 2 ประกาศผลการเรียนพรอมลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 2/2558 ปวช. 3 ประกาศผลการเรียนพรอมลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 2/2558 ทุกระดับชั้น รอบบาย

คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักบริการ ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา/บริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา/บริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา/บริการ สํานักมาตรฐานการศึกษา/บริการ

1-30 พ.ย. 58 2 พ.ย. - 30 ธ.ค. 58 2 พ.ย. 58 5 พ.ย. 58 5 พ.ย. 58 10 พ.ย. 58 12 พ.ย. 58 17 พ.ย. 58 19 พ.ย. 58 19 พ.ย. 58 21 พ.ย. 58 25 พ.ย. 58 25 พ.ย. 58 26 พ.ย. 58

โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ ภาคเรียนที่ 1/2559 ปวช. 3/5 และ ปวช. 3/6 สาขาการบัญชี ออกฝกงาน เปดภาคเรียนที่ 2 / 2558 ทุกระดับชั้น รอบเชา กิจกรรม Morning Talk โครงการแบงปนประสบการณฝกงานในสถานประกอบการ โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk ประชุมคณะกรรมการบริหาร/กรรมการรวม 4 ฝาย กิจกรรม Morning Talk โครงการอบรมการดําเนินธุรกิจขนาดยอมในสถานศึกษา โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกะทง โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk

32

ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ สํานักบริการ หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ


วัน/เดือน/ป

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 งาน / โครงการ / กิจกรรม

1-31 ธ.ค. 58 1-31 ธ.ค. 58 1-31 ธ.ค. 58 1-31 ธ.ค. 58 1-31 ธ.ค. 58 1-31 ธ.ค. 58 1 ธ.ค. 58 1-4 ธ.ค. 58 3 ธ.ค. 58 3 ธ.ค. 58 5 ธ.ค. 58 9 ธ.ค. 58 17 ธ.ค. 58 18 ธ.ค 58 18 ธ.ค 58 22 ธ.ค 58 24 ธ.ค. 58 24 ธ.ค 58 11-25 ธ.ค 58 25 ธ.ค.58 25 ธ.ค.58 25 ธ.ค.58 25 ธ.ค.58 25 ธ.ค.58 14 - 30 ธ.ค. 58 14 - 30 ธ.ค. 58 11 ธ.ค. 58 17-19 ธ.ค. 58 18 ธ.ค. 58 18 ธ.ค. 58 18 ธ.ค.58 21 ธ.ค. 58 25 ธ.ค.58

สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันใบลงทะเบียนกูยืม สถานศึกษาสงเอกสารใบลงทะเบียนใหผูบริหารและจัดการเงินใหกูยืม กีฬาฟุตซอลภายใน(ทักษิณาคลับ) โครงการคนหาดาวกาวสูศิลปน สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันใบลงทะเบียนกูยืมเงิน กยศ. 2/58 โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ ภาคเรียนที่ 1/2559 โครงการวันเอดสโลก โครงการกีฬาเฉลิมพระเกียรติวันแมสูวันพอ กิจกรรม Morning Talk โครงการประกวดวาดภาพเทิดพระเกียรติ “ธ ทรงเปนมิ่งขวัญของแผนดิน” โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมพิธีถวายพระพรวันพอ ณ สวนอัมพร โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk โครงการอบรมเพิ่มประสิทธิภาพในการวางตัวดวยหัวขอ “ดูดีไดดวย IT” โครงการสรางผลิตภัณฑใหม ภายใตแบรนด TSN โครงการแขงขัน ตัดตอวีดิโอ โดยใชโปรแกรม Ulead หัวขอ คานิยม 12 ประการ กิจกรรม Morning Talk โครงการแขงขันการเขียนโปรแกรมโดยใช VB 2010 หัวขอ “ใบบันทึกสินคา” โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนนักศึกษา ที่ Art Paradise โครงการ Story - telling Contest โครงการ Christmas Day โครงการแขงขันภายใน “Santa Santy Contest” โครงการแขงขันภายใน “Christmas Card Contest” โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต โครงการผูบริหารเยี่ยมบานนักศึกษาดีเดน ประชุมระดับชั้น ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 โครงการคายเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ผูบริหารเยี่ยมคาย ประชุมระดับชั้น ปวส.1 ปวส.2 โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน - นักศึกษา ช.2 ศูนยการเรียนรูตันแลนด โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข โครงการ SSR

ผูรับผิดชอบ กยศ. / สํานักบริการ กยศ. / สํานักบริการ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักบริการ ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ หมวดวิชาพื้นฐาน ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการตลาด คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดภาษาตางประเทศ หมวดภาษาตางประเทศ หมวดภาษาตางประเทศ หมวดภาษาตางประเทศ หมวดวิชาพื้นฐาน สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการบัญชี ฝายสงเสริมการศึกษา คณะวิชาการบัญชี 33


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

ผูรับผิดชอบ

ตลอดเดือนมกราคม 1-31 ม.ค. 59 1-31 ม.ค. 59 1-31 ม.ค. 59 2-31 ม.ค. 59 8-22 ม.ค 59 7 ม.ค. 59 8 ม.ค. 59 8 ม.ค. 59 9 ม.ค. 59 11 - 15 ม.ค. 59 14 ม.ค. 59 14 ม.ค. 59 14-16 ม.ค. 59 15 ม.ค. 59 15 ม.ค. 59 15 ม.ค.59 15 ม.ค.59 16 ม.ค. 59 20 ม.ค. 59 21 ม.ค. 59 21 ม.ค. 59 21 ม.ค. 59 21-23 ม.ค. 59 22 ม.ค. 59 22 ม.ค. 59 22 ม.ค.59 22 ม.ค.59 22 ม.ค.59 28 ม.ค. 59 29 ม.ค. 59 29 ม.ค.59 29 ม.ค.59 34

โครงการแขงขันภายนอกการแขงขันทักษะวิชาชีพ สช. โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ ภาคเรียนที่ 1/2559 โครงคายอาสาพัฒนาสังคม โครงการปลูกปาชายเลน โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนนักศึกษา ที่ นิทรรศรัตนโกสินทร กิจกรรม Morning Talk ประชุมระดับชั้น ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา โครงการวันเด็กแหงชาติ สอบกลางภาคเรียนที่ 2 /2558 กิจกรรม Morning Talk โครงการอบรมการทําธุรกิจออนไลน “ทําอยางไรใหขายแลวรวย” โครงการคายสานรักสานสัมพันธ(ไพรภูวา) ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม(พิธีคารวะครู) โครงการแขงขันภายใน”หนังสือนิทาน(Pop Up)และโมเดลตามแนวเศรษฐกิจฯ โครงการ SSR โครงการครูในดวงใจ โครงการสงเสริมทักษะวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาเยาวชนสูความเปนเลิศ โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข กิจกรรม Morning Talk โครงการเลือกตั้งประธานนักศึกษา โครงการคายสานรักสานสัมพันธ(ไพรภูวา) ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการแนะแนว เสนทางสายอาชีพ โครงการแขงขันภายใน”การตูนบัญชี(แอนนิเมชั่น) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน - นักศึกษา ช.1 บริษัทอายิโนโมะโตะ โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk โครงการซอมบํารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอรใหกับ สถานประกอบการ โครงการ SSR โครงการเตรียมกาวสู AEC กับอาชีพนักบัญชี

คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ฝายสงเสริมการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา หมวดวิชาพื้นฐาน ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการตลาด ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ ปฏิทินการศึกษาประจําปการศึกษา 2558 วัน/เดือน/ป

งาน / โครงการ / กิจกรรม

ผูรับผิดชอบ

เดือนกุมภาพันธ เดือนกุมภาพันธ 1-29 ก.พ. 59 1-12 ก.พ. 58 4 ก.พ. 59 4 ก.พ.59 4-6 ก.พ.59 5 ก.พ.59 5 ก.พ.59 5 ก.พ.59 5 ก.พ.59 9 ก.พ 59 9 ก.พ 59 11 ก.พ. 59 12 ก.พ. 59 12 ก.พ.59 12 ก.พ. 59 18 ก.พ. 59 19 ก.พ. 59 21 ก.พ. 59 21 ก.พ. 59 22 - 26 ก.พ. 59 1-31 มี.ค. 59 1-31 มี.ค. 59 14 มี.ค 59 21 มี.ค. 58 มีนาคม 1-30 เม.ย. 59 21 เม.ย. 59

สอบมาตราฐานฝมือแรงงาน ปวช.3, ปวส.2 สอบมาตรฐานวิชาชีพ ปวช. 3 , ปวส.2 (ทุกคณะวิชา) โครงการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพ ภาคเรียนที่ 1/2559 โครงการ 5000 สรางสรรคความคิดเนรมิตปญญาทางชีวิต กิจกรรม Morning Talk โครงการจุดเริ่มตนของการเปนนักบัญชี โครงการคายสานรักสานสัมพันธ(ไพรภูวา) ผูบริหารเยี่ยมคาย โครงการแขงขันภายใน”ตอบปญหาบัญชี” โครงการแลกเปลี่ยนการเรียนรูจากพี่สูนอง โครงการ Guest Speaker โครงการแขงขันพัฒนาโปรแกม หัวขอ “เมนูอาหาร” โครงการปลูกจิตสํานึกอนุรักษและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา กิจกรรม Morning Talk โครงการรูทันโลกเพศศึกษา(วัยรักวัยเรียน) โครงการสรางสรรคงานวิจัย โครงการนักวิจัยตลาดรุนเยาว กิจกรรม Morning Talk ประชุมระดับ ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 ประชุมผูปกครองเครือขาย โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข สอบปลายภาคเรียนที่ 2 / 2558 ทุกระดับชั้น พิธีซอมใหญรับประกาศนียบัตร งานปจฉิมนิเทศ และงานCongratulations โครงการเยาวชนตนแบบเกงและดี(To Be Number One Ido) โครงการ อบรมโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟกสําหรับครู-อาจารย โรงเรียน….. โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข โครงการบายศรีสูขวัญ โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีสงกรานต โครงการแบงปนรอยยิ้มเสริมสรางความสุข

คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาการบัญชี ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการบัญชี หมวดภาษาตางประเทศ คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาการบัญชี คณะวิชาการตลาด หมวดภาษาตางประเทศ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ฝายสงเสริมการศึกษา คณะวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายสงเสริมการศึกษา 35


36


สํานักมาตรฐานการศึกษา Educational Standards

37


38


หลักสูตรที่เปดสอน

วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ เปดสอนตามหลักสูตรของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรที่เปดสอนมีดังนี้ 1.หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1.1สาขาวิชาการบัญชี 1.2สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 1.3สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก 2.หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 2.1สาขาวิชาการบัญชี 2.2สาขาวิชาการตลาด 2.3สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 2.4สาขาวิชาการจัดโลจิสติกส 3.การรับสมัครนักศึกษาใหม เปดรับสมัครปละ 2 ครั้ง 3.1 ภาค 1 ตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง เมษายน เวลา 08.30-17.30 น. ทุกวันไมเวนวันหยุดราชการและ เสาร-อาทิตย 3.2 ภาค 2 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 ตุลาคม เวลา 08.30-17.30 น. ทุกวันไมเวนวันหยุดราชการและ เสาร-อาทิตย 4.คุณสมบัติของผูสมัคร 4.1 รับทั้งชาย-หญิง 4.2 ระดับ ปวช. รับผูจบ ม.3 หรือเทียบเทา 4.3 ระดับ ปวส. รับผูจบ ปวช. ม.6 หรือเทียบเทาเขาเรียนในระดับ ปวส.

39


5.หลักฐานการสมัครเรียน 5.1 ใบ รบ. 5.2 รูปถายขนาด 1 นิ้ว 2 รูป 5.3 สําเนาทะเบียนบาน (ถายเอกสาร) 1 ฉบับ 5.4 สําเนาบัตรประชาชน (ถายเอกสาร) 1 ฉบับ 6. กําหนดเวลาชําระคาธรรมเนียมการเรียน 6.1 ภาคเรียยนที่ 1 เดือนพฤศจิกายน สําหรับนักศึกษาใหม ชําระในวันมอบตัว 6.2 ภาคเรียนที่ 2 เดือนตุลาคม 6.3 ภาคฤดูรอนถือปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการเก็บคาหนวยกิตภาคฤดูรอน ( ประมาณเดือนมีนาคม ) 6.4 คาธรรมเนียมการเรียน เมื่อชําระแลวจะไมคืนให ไมวากรณีใดๆ ทั้งสิ้น 7. เวลาเรียน 7.1 เปดสอนสัปดาหละ 5 วัน วันจันทร ถึง วันศุกร 7.2 เปดสอนสัปดาหละ 35 ชั่วโมง ทั้งระดับ ปวช. ปวส. 7.3 รอบเชา เปดเรียนระหวางเวลา 08.00-14.20 น. 7.4 รอบบายพิเศษ เปดเรียนระหวาง 08.00-17.30 น. 8. กําหนดวันเปด – ปดภาคเรียน ดวยสถานศึกษาไดพิจารณาสมควรเปลี่ยนแปลงกําหนดวันเปด – ปดภาคเรียนโดยอาศัยคําสั่งของกระทรวง ศึกษาธิการ ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1 วันเปดภาคเรียน วันที่ 2 มิถุนายน วันปดภาคเรียน วันที่ 1 ตุลาคม ภาคเรียนที่ 2 วันเปดภาคเรียน วันที่ 2 พฤศจิกายน วันปดภาคเรียน วันที่ 28 มีนาคม 40


การประเมินผลการเรียน 1. ใหสถานศึกษา สถานฝกงานอาชีพ และสถานประกอบการ มีหนาที่และรับผิดชอบในการประเมิน ผลการเรียน 2. ใหประเมินผลการเรียนเปนรายวิชาตามระบบหนวยกิต จํานวนหนวยกิตของแตละรายวิชาใหถือตามที่ กําหนดไวในหลักสูตร 3. ใหสถานศึกษา และสถานประกอบการทําการประเมินผลการเรียนรายวิชา เมื่อสิ้นภาคเรียน หรือเมื่อ สิ้นสุดการเรียนหรือการปฏิบัติงานในทุกรายวิชา 4. ใหหนวยงานตนสังกัดรวมกับสถานศึกษาในสังกัดดําเนินการสงเสริมคุณภาพและควบคุมมาตรฐาน การอาชีวศึกษา

วิธีประเมินผลการเรียน 5. การประเมินผลการเรียนเปนรายวิชา ใหดําเนินการประเมินตามสภาพจริงตอเนื่องตลอดภาคเรียน ดาน ความรูความสามารถและเจตคติจากกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานที่มอบหมาย ซึ่งครอบคลุมจุดประสงค และเนื้อหาวิชาโดยใชเครื่องมือและวิธีการ หลากหลายตามความเหมาะสม ใหมกี ารประเมินเพือ่ พัฒนาและประเมินสรุปผลการเรียนโดยพิจารณาจากการประเมินแตละกิจกรรม และงานที่ มอบหมายในอัตราสวนตามความสําคัญของแตละกิจกรรมหรืองานที่มอบหมาย ใหดําเนินการประเมินผลการเรียนนักเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จากการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบ การ ตามวิธีการที่ครูฝกและอาจารยนิเทศกําหนด 6. ใหใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนในแตละรายวิชา ดังตอไปนี้ 4.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีเยี่ยม 3.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีมาก 3.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดี 2.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีพอใช 2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑพอใช 1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑออน 1.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑออนมาก 0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑขั้นตํ่า 41


7. รายวิชาใดที่แสดงระดับผลการเรียนตามขอ 12. ไมได ใหใชตัวอักษรตอไปนี้ ข.ร. หมายถึง ขาดเรียน ไมมีสิทธิเขารับการประเมินสรุปผลการเรียน เนื่องจากมีเวลาเรียนตํ่ากวา รอยละ 80 โดยสถานศึกษาพิจารณาแลวเห็น วาไมใชเหตุสุดวิสัย ข.ป. หมายถึง ขาดการปฏิบัติงาน หรอปฏิบัติงานไมครบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแลวเห็นวาไมมี เหตุสมควร ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมินสรุปผลการเรียน โดยสถานศึกษาพิจารณาแลวเห็นวาไมมีเหตุ สมควร ถ.ล. หมายถึง ถอนรายวิชาภายหลังกําหนด โดยสถานศึกษาพิจารณาแลวเห็นวาไมมีเหตุผล สมควร ถ.น. หมายถึง ถอนรายวิชาภายในกําหนด ถ.พ. หมายถึง ถูกสั่งพักการเรียนในระหวางที่มีการประเมินสรุปผลการเรียน ท. หมายถึง ทุจริตในการสอบหรืองานที่มอบหมายใหทํา ม.ส. หมายถึง ไมสมบูรณ เนื่องจากไมสามารถเขารับการประเมินครบทุกครั้ง และหรือไมสงงานอัน เปนสวนประกอบของการเรียนรายวิชาตามกําหนดดวยเหตุเปนอันสุดวิสัย ม.ท. หมายถึง ไมสามารถเขารับการประเมินทดแทนการประเมินสวนที่ขาดของรายวิชาที่ไมสม บูรณ ภายในภาคเรียนถัดไป ผ. หมายถึง ไดเขารวมกิจกรรมตามกําหนด และผลการประเมินผาน ม.ผ. หมายถึงไมเขารวม กิจกรรม หรือผลการประเมินไมผาน ม.ก. หมายถึง การเรียนโดยไมนับจํานวนหนวยกิตมารวมเพื่อการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และ ผลการประเมินผาน 8. ในกรณีตอไปนี้ใหตัดสินผลการเรียนเปนระดับ 0 (ศูนย) เฉพาะรายวิชา (1) มีผลการเรียนตํ่ากวาเกณฑขั้นตํ่า (ไมผาน) (2) ได ข.ร. (3) ได ข.ป. (4) ได ข.ส. (5) ได ถ.ล. (6) ได ถ.พ. (7) ได ท. (8) ได ม.ท.

42


9. นักศึกษาทีท่ าํ การทุจริตหรือสอเจตนาทุจริตในการสอบ หรืองานทีม่ อบหมายใหทาํ ในรายวิชาใด ใหพจิ ารณาโทษ ตามสถานความผิด ดังนี้ (1) ให ไดคะแนน 0 (ศูนย) เฉพาะครั้งนั้น หรือ (2) ให ไดระดับผลการเรียนเปน 0 (ศูนย) ในรายวิชานั้น หรือ (3) ให ไดระดบผลการเรียนเปน 0 (ศูนย) ในรายวิชานั้น และตัดคะแนนความประพฤติตามระเบียบ วาดวยการตัดคะแนนความประพฤติที่สถานศึกษากําหนด 10. การคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ย ใหปฏิบัติดังนี้ (1) ใหนําผลบวกของผลคูณระหวางจํานวนหนวยกิตของแตละรายวิชากับระดับผลการเรียน หารดวย ผลบวกของจํานวนหนวยกิตของแตละรายวิชา คิดทศนิยมสองตําแหนงไมปดเศษ (2) ใหคาํ นวณคาระดับคะแนนเฉลีย่ จากรายวิชาที่ไดระดับผลการเรียนตามขอ 14. และขอ 15. รายวิชาทนักศึกษา เรียนซํ้า เรียนแทน ใหใชระดับผลการเรียนสุดทายและนับจํานวนหนวยกิตมาเปนตัวหารเพียงครั้งเดียว (3) ใหคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ (ก) คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคเรียน คํานวณจากรายวิชาที่ไดระดับผลการเรียนตาม (2) เฉพาะในภาค เรียนหนึ่งๆ (ข) คาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม คํานวณจากรายวิชาที่เรียนมาทั้งหมดและไดระดับผลการเรียนตาม (2) ตั้งแตสองภาคเรียนขึ้นไป 11. ผูท ี่ได ม.ส. เนือ่ งจากไมสามารถเขารับการประเมินครบทุกครัง้ ตองรับการประเมินทดแทนสวนทีข่ าดภายใน 10 วัน นับแตวนั ประกาศผลการเรียนรายวิชา หากพนกําหนดนีใ้ หถอื วาไมสามารถเขารับการประเมินทดแทน (ม.ท.) ยกเวนมีเหตุจาํ เปน อันสุดวิสัย ใหสถานศึกษาหรือสถานประกอบการพิจารณาเปนราย ๆ ไป ทั้งนี้ ใหประเมินทดแทนในรายวิชาที่ไมสมบูรณใหแลว เสร็จภายในภาคเรียนถัดไป ผูที่ได ม.ส. เนื่องจากไมสามารถสงงานอันเปนสวนประกอบของการเรียนรายวิชาตามกําหนดสงงานนั้นใหสมบูรณ ภายใน 10 วัน นับแตวันประกาศผลการเรียนรายวิชา หากพนกําหนดใหสถานศึกษาหรือสถานประกอบการทําการตัดสินผล การเรียน ยกเวนมีเหตุจําเปนอันสุดวิสัย ใหสถานศึกษาหรือสถานประกอบการพิจารณาเปนราย ๆ ไป ในกรณีนี้ ใหผูสอนหรือครูฝกรายงานใหหัวหนาสถานศึกษาหรือผูควบคุมการฝกทราบทุกราย 12. นักเรียนตองรับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมื่อนักเรียนไดลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสราง หลักสูตรสถานศึกษาแตละประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน หรือตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เห็นสมควร 13. ใหระดับผลการประเมิน ในการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ดังนี้ ผาน หมายถึง ผลการประเมินผานเกณฑ ไมผาน หมายถึง ผลการประเมินไมผานเกณฑ 43


การตัดสินผลการเรียน

14. การตัดสินผลการเรียนใหเปนไปตามนัย ดังนี้ (1) ตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชา (2) รายวิชาที่มีผลการเรียนตั้งแตระดับ 1 ขึ้นไป ถือวาประเมินผานและใหนับจํานวนหนวยกิตของรายวิชา นั้น เปนจํานวนหนวยกิตสะสม (3) เมื่อไดประเมินผลการเรียนแลว ปรากฏวาผลการเรียนไมผานเกณฑขั้นตอนตามขอ 14 ใหรับการประเมิน ใหมได 1 ครั้ง ภายในเวลาที่สถานศึกษาหรือสถานประกอบการกําหนดไมเกิน 10 วันหลังจากประกาศผลการเรียนเวนแต มีเหตุ จําเปนอันสุดวิสัยหากประเมินใหมไมผานถาเปนรายวิชาบังคับที่กําหนดใหเรียนในแตละประเภทวิชาและสาขาวิชาให เรียนซํ้า รายวิชานั้น ถาเปนรายวิชาเลือกจะเรียนซํ้า หรือเรียนรายวิชาอื่นแทนก็ ได (4) การประเมินใหม ใหระดับผลการเรียนได ไมเกิน 1 (5) เมื่อไดประเมินผลการเรียนแลว นักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 0 (ศูนย) ตามที่กําหนดไวในขอ 14 (2) ถึง 14 (8) ขอ 15 (2) และขอ 15 (3) ถาเปนรายวิชาบังคับที่กําหนดใหเรียนในแตละประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน ใหเรียน ซํ้ารายวิชานั้น ถาเปนรายวิชาเลือก จะเรียนซํ้า หรือเรียนรายวิชาอื่นแทนก็ ได ในกรณีที่ใหเรียนรายวิชาอื่นแทนใหลงหมายเหตุใน ปพ. 1 ปวช. วาใหเรียนแทนรายวิชาใด 15. การตดสนใจผลการเรียนเพื่อสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ให ถือตามเกณฑตอไปนี้ (1) ประเมินผานรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรีครบตามที่กําหนดไวใน หลักสูตรสถานศึกษาแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา (2) ไดจาํ นวนหนวยกิตสะสมครบถวนตามโครงสรางทีก่ าํ หนดไวใหหลักสูตรสถานศึกษาแตละประเภทวิชาและ สาขาวิชา (3) ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา 2.00 (4) ไดเขารวมกิจกรรมในสถานศึกษาไมนอยกวา 2 ชั่วโมงตอสัปดาห โดยมีเวลาเขารวมปฏิบัติกิจกรรม ไมนอยกวารอยละ 60 ของเวลาที่จัดกิจกรรมในแตละภาคเรียน และตองผานจุดประสงคสําคัญของกิจกรรม หากนักเรียนมีเวลาเขารวมปฏิบัติกิจกรรมตํ่ากวารอยละ 60 ของเวลาที่จัดกิจกรรมในภาคเรียนใด และตองผาน จุดประสงคสําคัญของกิจกรรม หากนักเรียนมีเวลาเขารวมปฏิบตั กิ จิ กรรมตํา่ กวารอยละ 60 ของเวลาทีจ่ ดุ กิจกรรมในภาคเรียนใดโดยเหตุสดุ วิสย ใหสถานศึกษาพิจารณาผอนผันเปนรายๆ ไป เมื่อนักเรียนไดเขารวมปฏิบัติกิจกรรมครบถวนในภาคเรียนใด ใหบันทึกชื่อกิจกรรม และตัวอักษร “ผ” ในระเบียบ 44


แสดงผลการเรียนของภาคเรียนนัน้ ซึง่ หมายถึง “ผาน” หากนักเรียนไดเขารวมปฏิบตั กิ จิ กรรมโดยไมครบถวน หรือไมไดเขา รวมปฏิบัติกิจกรรมเลยใหสถานศึกษาพิจารณามอบงานหรือกิจกรรมในสวนที่นักเรียนผูนั้นไมไดเขารวมปฏิบัติ ใหปฏิบัติ ให ครบถวนภายในเวลาทีส่ ถานศึกษาพิจารณาเห็นสมควรสําหรับนักเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี การเขารวมกิจกรรม ที่สถานประกอบการจัดขึ้นถือวามีผลตามความใน (4) 16. ใหหวั หนาสถานศึกษา เปนผูอ นุมตั ผิ ลการเรียนและการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร สําหรับรายวิชาที่ เรียน หรือ ฝกปฏิบัติในสถานประกอบการใหผูควบคุมการฝกและอาจารยนิเทศรวมกันประเมินผลการเรียน 17. นักเรียนผูใดประสงคจะเรียนซํา้ รายวิชาที่ไดระดับผลการเรียน 1 หรือเลือกเรียนรายวิชาอืน่ แทนถาเปน รายวิชา เลือก เพือ่ ประเมิน ปรับคาระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมใหสงู ขึน้ ใหสถานศึกษาหรือสถานประกอบการดําเนินการใหเรียน ซํา้ หรือ เรียนแทนภายในเวลาที่เห็นสมควร การเรียนซํ้ารายวิชา ใหนับจํานวนหนวยกิตสะสมเพียงครั้งเดียว สวนการเรียนแทนใหนับเฉพาะหนวยกิตของ รายวิชา ที่เรียน แทนเปนจํานวนหนวยกิตสะสม การนับจํานวนหนวยกิตสะสมในกรณีนี้ จะกระทําเมื่อนักเรียนไดระดับผลการเรียนตั้งแต 2 ขึ้นไปเทานั้น รายวิชาทีเ่ รียนซํา้ หรือเรียนแทนแลวไดระดับผลการเรียน 0 ใหถอื ระดบผลการเรียนตํา่ กวา 2 ตามเดิม ยกเวนการ ไดระดับ ผลการเรียน 0 ตามขอ 9(2) และ 9 (3) 18. ตามนัยแหงขอ 17 การคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ถาเปนกรณีเรียนซํ้าใหนับจํานวนหนวยกิตเปนตัว หาร เพียง ครั้งเดียว สวนการเรียนรายวิชาอื่นแทน ใหนับเฉพาะจํานวนหนวยกิตของรายวิชาที่เรียนแทนมาเปนตัวหาร 19. เมื่อนักเรียนไดลงทะเบียนรายวิชาครบ 2 ภาคเรียน หรือไมนอยกวา 40 หนวยกิตและไดรับการประเมิน ใหม แลว หากไดคา ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมตํา่ กวา 1.50 ใหสถานศึกษาพิจารณาวาควรใหเรียนตอไปหรือใหพน สภาพนักเรียน เมื่อไดลงทะเบียนรายวิชาครบ 4 ภาคเรียน หรือไมนอยกวา 75 หนวยกิต และไดรับการประเมินใหมแลว หากไดคา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา 1.75 ใหสถานศึกษาพิจารณาวาควรใหเรียนตอไปหรือใหพนสภาพนักเรียน เมือ่ ไดลงทะเบียนรายวิชาครบ 6 ภาคเรียน หรือไมนอ ยกวา 100 หนวยกิต และไดรบั การประเมินใหมแลว หากไดคา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา 1.90 ใหสถานศึกษาพิจารณาวาควรใหเรียนตอไปหรือใหพนสภาพนักเรียน 20. นักเรียนที่ไดเรียนหรือฝกอาชีพตามปกติ ประเมินใหมหรือเรียนซํ้า หรือเรียนแทนรายวิชาที่ไดระดับผล การ เรียน 0 (ศูนย) และระดับผลการเรียนตํ่ากวา 2 หรือเทียบโอนผลการเรียนรูมาเปนเวลารวม 8 ภาคเรียนแลว แตยังไมเขา เกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรที่กําหนดไวในขอ 21. ใหสถานศึกษาพิจารณาวาควรใหเรียนตอไปหรือใหพนสภาพ นักเรียน ทั้งนี้ตองไมเกิน 6 ปการศึกษา นับ ตั้งแตวันขึ้นทะเบียนเปนนักเรียน โดยไมนับภาคเรียนที่ลาพักการเรียน หรือถูกสั่ง พักการเรียน 45


46


ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี (ปวช.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี (ปวส.) 47


48


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี

หมวด

ภาคเรียนที่ 1 รหัส ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ชื่อวิชา หมวดวิชาทักษะชีวิต 2000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2 0 2 2 0 2 2000-1401 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2000-1601 พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ 0 2 1 หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2001-1001 ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ 2 0 2 1 2 2 2200-1002 การบัญชีเบื้องตน 1 2 0 2 2000-1004 การขายเบื้องตน 1 1 2 2 2200-1006 พิมพดีดไทยเบื้องตน ทักษะวิชาชีพเฉพาะ ทักษะวิชาชีพเลือก หมวดวิชาเลือกเสรี กิจกรรม

2308-2007 กราฟกแอนิเมชั่น 2000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร Self รวม

ภาคเรียนที่ 2

รวมหนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป 2 0 2 10 2 0 2 1 0 1

รหัส ชื่อวิชา 2000-1202 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 2000-1402 คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ 2000-1607 เพศวิถีศึกษา ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2201-2001 คอมพิวเตอรสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 1 1 2200-1003 การบัญชีเบื้องตน 2 1 2200-1005 การขายเบื้องตน 2 1 2200-1007 พิมพดีดอังกฤษเบื้องตน ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

2 2 2 2

2 2 2 2

0

ทักษะวิชาชีพเลือก 1 4 0 2 11 12

3 2000-1219 ภาษาอังกฤษสําหรับงานบัญชี 0 0 2000*2002 กิจกรรมอาชีพอิสระ 0 16 รวม 9

16

0 2 2 12

1 0 14

4 0 30

49


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี

หมวด

ภาคเรียนที่ 3 รหัส ชื่อวิชา หมวดวิชาทักษะชีวิต 2000-1101 ภาษาไทยพื้นฐาน 2000-1203 ภาษาอังกฤษฟง–พูด 1 2000-1601 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

การบัญชีสําหรับกิจการซื้อขายสินคา

การบัญชีหางหุนสวน การใชคอมพิวเตอรในงานบัญชี ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดากับการบัญชี ทักษะวิชาชีพเลือก 2201-2106 การบัญชีปฏิบัติการภาษาอังกฤษ

50

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต 2 0 2 0 2 1 1 2 2

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2201-2001 2201-2002 2201-2007 2201-2005

หมวดวิชาเลือกเสรี กิจกรรม

ภาคเรียนที่ 4

2001-1002 การเปนผูประกอบการ 2000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตรแอโรบิค รวม

2 2 2 3 2

2 2 2 0 2

2 0 0 2 16 14

3 3 3 3

รวม หน วยกิต รหัส ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป ชื่อวิชา 2000-1105 การเขียนในงานอาชีพ 1 0 1 10 2000-1204 ภาษาอังกฤษฟง–พูด 2 0 2 1 2000-1303 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ 1 2 2 2000-1506 วัฒนธรรมอาเซียน 1 0 1 ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2 2200-1001 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 2 0 2 ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2201-2004 การบัญชีตนทุนบื้องตน 2 2 3 18 2201-2006 ภาษีเงินไดนิติบุคคลกับการบัญชี 3 0 3

3 2201-2103 2201-2104 2201-2107 2 2200-1008 0 2000*2004 22

ทักษะวิชาชีพเลือก การประยุกตโปรแกรมตารางงงานเพื่องานบัญชี การบัญชีรวมคาและระบบใบสําคัญ การบัญชีตั๋วเงิน กฎหมายพาณิชย กิจกรรมเสริมหลักสูตรพัฒนาบุคลิกภาพ รวม

2 2 3 2 0 9

2 2 0 0 2 12

3 3 3 2 0 24

12 4 0 46


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี

หมวด

ภาคเรียนที่ 5 รหัส ชื่อวิชา หมวดวิชาทักษะชีวิต 2000-1501 หนาที่พลเมืองและศีลธรรม หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 6 ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต 2 0 2

รหัส

ชื่อวิชา

2

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

2201-2008 กระบวนการจัดทําบัญชี 2201-2003 การบัญชีบริษัทจํากัด ทักษะวิชาชีพเลือก 2201-2101 การบัญชีสินคาและระบบบัญชีเดี่ยว 2201-2102 การบัญชีเชาซื้อและฝากขาย 2201-2105 การบัญชีกิจการพิเศษ ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2201-8501 โครงการ หมวดวิชาเลือกเสรี 2204-2106 โปรแกรมสําเร็จรูปในงานสถิติ 2204-1208 ภาษาอังกฤษสําหรับงานพาณิชย 2000-1205 การอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน กิจกรรม 2000*2005 กิจกรรมเสริมหลักสูตรขับรถเบื้องตน รวม

1 2

4 2

3 3

รวม หน วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

6

ทักษะวิชาชีพเลือก 3 2 3

0 2 0

3 3 3

9 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 2201-8001 ฝกงาน โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ

*

1 0 0 0

*

2 2 2 2

14 16

4 2 1 1 0 2000*2006 กิจกรรมขับรองประสานเสียง ขั้นพื้นฐาน 25 รวม

*

*

4

4 4 4 0

0

2

0 4 29 รวมทั้งสิ้นตลอดหลักสูตร 105 นก.

51


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี

โครงสรางหลักสูตร 1.หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร(ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต)

รหัส

ภาคเรียนที่ 3

ชื่อวิชา

ภาคเรียนที่ 4

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส

ชื่อวิชา

รวมหนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

3000-1201 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สารทางธุรกิจและสังคม 3 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน 3

0 0

3 3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ 3 3

0

3

3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองคกร 3

0

3 3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3 3901-2002 การบัญชี์ชั้นกลาง2 3 3201-2004 การบัญชีตนทุน2

2 3 2 2

2 0 2 2

3 3 3 3

0

3 3 3201-2110 การบัญชีบริหาร

3

0

3

0 2

3

2

3000-9202 กฎหมายธุรกิจ 3 0 3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตรขับรถเบื้องตน 0

0

18 8

21

9

2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน(15 หนวยกิต)

3201-2001 3201-2003 3201-2005 2.3กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 3201-2104 2.2กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ(21 หนวยกิต)

2

2 2 3

2

2 2

30

2.4ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

4.กิจกรรมเสริมหลักสูตร( 2ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตรบริการวิชาชีพสูสังคม 0

รวมไมนอยกวา 83 หนวยกิต

52

18 8

21

รวม

3 42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี

โครงสรางหลักสูตร

รหัส

ภาคเรียนที่ 3

ชื่อวิชา

1.หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร(ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ

ภาคเรียนที่ 4

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส

3 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพเพือ่ ภาวะผูน าํ 3

ชื่อวิชา

รวมหนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

0 0 0

3 3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 3 3

0

3

0 2

3 3200-1002 หลักการจัดการ 3 3201-2007 การบัญชีภาษีอากร 3201-2105 วางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ 3201-2102 โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานบัญชี 3201-8001 ฝกงาน

2 3 2 2 -

2 0 2 2 -

3 3 3 3 4

12

2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน(15 หนวยกิต) 2.2กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ(21 หนวยกิต)

3200-1003 หลักการตลาด 3201-2006 การบัญชีชั้นสูง2

3 2

2.3กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

3201-8501 โครงการ

-

-

4

3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน

2

0

2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับการทํางาน 3

0

3

4.กิจกรรมเสริมหลักสูตร( 2ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตรธุรกิจขนาดยอม (SMEs) 0

2

0 3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL (Technology for Life) 0

2

0

15 6

21

รวมไมนอยกวา 83 หนวยกิต

16 4

21

รวม

26

4

42

53


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวส.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี

โครงสรางหลักสูตร รหัส ปรับพื้นฐานวิชาชีพ (15 หนวยกิต)

1.หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการศึกษา(ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ( 15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต)

ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

รวม หนวยกิจ ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

3200-0001 หลักการบัญชีเบื้องตน 1 3200-0002 หลักการขาย 3200-0003 การเปนผูประกอบการ

2 3 3

2 0 0

3 3200-0004 หลักการบัญชีเบื้องตน 2 3 3

2

3200-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจและสังคม 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน 3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3 3 3

0 0 0

3 3000-1208 ภาษาอังกฤษธุ​ุรกิจในงานอาชีพ 3 3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3 3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพเพื่อภาวะผูนํา

3 3 3

0

3001-1001 การบริหารงานคุณภาพในองคการ 3200-1002 หลักการจัดการ

3 3

0 0

3 3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 3 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3200-1003 หลักการตลาด

2 3 3

2 0 0

2.3.กลุมทักษะวิชาชีพเลือก(ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4.ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ( 4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ( 4 หนวยกิต)

3. หมวดวิชาเลือกเสรีไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร( 2ชั่วโมงตอสัปดาห) 3000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตรบริการวิชาชีพสูสังคม รวม 99 หนวยกิต

54

รหัส

ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา

2

3 12

0 0

3 3 3

18

3 3 3 15

0 23

2 2

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ 0 3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตรขับรถเบื้องตน 24 รวม

3 0 20

0 2 4

3 0 21

3 48


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวส.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี

โครงสรางหลักสูตร ปรับพื้นฐานวิชาชีพ (15 หนวยกิต)

ภาคเรียนที่ 3 รหัส ชื่อวิชา 3000-1101 การบัญชีหางหุนสวน

1.หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร(ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต)

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต 2 2 3 3

0

3

2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน(15 หนวยกิต) 2.2กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ(21 หนวยกิต) 3201-2001 การบัญชีชั้นกลาง 1 3201-2003 การบัญชีตนทุน 1 2.3กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 3201-2005 การบัญชั้นสูง 1 3201-2007 การบัญชีภาษีอากร 2.4ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 3201-2104 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน

2 2 2 2 3

2 2 2 2 0

3 3 3 3 3

3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 3201-8501 โครงการ 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 4.กิจกรรมเสริมหลักสูตร( 2ชั่วโมงตอสัปดาห) 3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตรธุรกิจขนาดยอม(SMEs) รวม 99หนวยกิต

- 2 0 0 2 18 12

รหัส

ภาคเรียนที่ 4 ชื่อวิชา

รวม หนวยกิจ ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

3 3

3201-2006 การบัญชีชั้นสูง2 3201-2002 การบัญชีชั้นกลาง2 3201-2004 การบัญชีตนทุน2

2 2 2

2 2 2

3 3 3

3201-2105 วางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ 3201-2110 การบัญชีบริหาร 3201-2102 โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานบัญชี 3201-8001 ฝกงาน

3 3 2 -

0 0 2 -

3 3 3 4

2 0 0 2 16 10

2 0 24

4 2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับการทํางาน 0 3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตรTFL(Technology for Life) รวม 27

41

4 51

55


56


ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก (ปวช.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด (ปวส.) 57


58


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก สาขางานธุรกิจคาปลีกทั่วไป (ทวิภาคี)

ภาคเรียนที่ 1 รหัส ทฤษฎี ชื่อวิชา หมวดวิชา 2000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2 ทักษะชีวิต 2000-1401 2 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2000-1601 พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ 0 หมวด

หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2 ทฤษฎี หนวยกิต รหัส ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ชื่อวิชา 0 2 2000-1202 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 2 0 2 0 2 2000-1402 คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ 2 0 2 2 1 2000-1607 เพศวิถีศึกษา 1 0 1

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 1

2

2200-1004 การขายเบื้องตน 1 2200-1006 พิมพดีดไทยเบือ้ งตน

2 1

0 2

2 2200-1005 การขายเบื้องตน 2 2 2200-1003 การบัญชีเบื้องตน 2 2 2200-1007 พิมพดีดอังกฤษเบื้องตน

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ ธุรกิจคาปลีก 1

ทักษะวิชาชีพเลือก

ทักษะวิชาชีพเลือก 2211-5101 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 1

1

2

1 1 *

*

2 2

2 2 2

12

*

5

5

5

5

*

2

0

2 2001-1002 การเปนผูประกอบการ

2

0

2

กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร Self 0

2

0 2000*2008 กิจกรรมสถานประกอบการ 1 0

2

0

11 10

23

รวม

10

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน

2200-1002 การบัญชีเบื้องตน 1

หมวดวิชาเลือกเสรี 2200-1008 กฏหมายพาณิชย

รวม หนวยกิต ตลอดป

10 10

13

รวม

4

36 59


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก สาขางานธุรกิจคาปลีกทั่วไป (ทวิภาคี)

ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 3 รหัส ทฤษฎี ทฤษฎี หนวยกิต รหัส ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ชื่อวิชา ชื่อวิชา หมวดวิชา 2000-1101 ภาษาไทยพื้นฐาน 2 0 2 2000-1104 การพูดในงานอาชีพ 1 0 1 ทักษะชีวิต 2000-1203 ภาษาอังกฤษฟง – พูด 1 0 2 1 2000-1204 ภาษาอังกฤษฟง – พูด 2 0 2 1 2000-1301 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 2 2000-1303 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจ - 1 2 2 และบริการ 2000-1506 วัฒนธรรมอาเซียน 1 0 1 หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพ 2001-1001 ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ 2 0 2 2201-2001 คอมพิวเตอรและสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 1 2 2 2200-1001 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 2 0 2 ทักษะวิชาชีพเฉพาะ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2211-2002 ธุรกิจคาปลีก 2 * * 5 2211-2003 ธุรกิจคาปลีก 3 5 * * หมวด

ทักษะวิชาชีพเลือก 2211-5102 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 2 * วิชาเลือกเสรี 2001-1003 พลังงานและสิ่งแวดลอม 1 กิจกรรม 2000*2009 กิจกรรมสถานประกอบการ 2 0

2 2

ทักษะวิชาชีพเลือก 5 2211-5103 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 3 * 2 2001-1004 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 0 2000*2010 กิจกรรมสถานประกอบการ 3 0

8

8

21

เสริมหลักสูตร

รวม

60

*

รวม

*

5 2

รวม หนวยกิต ตลอดป

10

6

10 10

2 2

0

4

5 10

19

40


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก สาขางานธุรกิจคาปลีกทั่วไป (ทวิภาคี)

หมวด หมวดวิชา ทักษะชีวิต

รหัส

2000-1208 ภาษาอังกฤษสําหรับงานพาณิชย 0 2000-1205 การอานสือ่ สิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน 0 2 2000-1501 หนาที่พลเมืองและศีลธรรม

2 2 0

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2211-2004 ธุรกิจคาปลีก 4

*

*

*

*

4

5

*

*

5

10

3

ทักษะวิชาชีพเลือก 2211-5105 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 5

*

*

3

6

*

*

4

8

โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2211-8501 โครงการ

*

*

4

2000-1610 การพัฒนาคุณภาพชีวิต

1

2

2

0

2

0

3

8

18

กิจกรรม 2000*2011 กิจกรรมสถานประกอบการ 4 เสริมหลักสูตร รวม

รวม หนวยกิต ตลอดป

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2211-2005 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 5

ทักษะวิชาชีพเลือก 2211-5104 ธุรกิจคาปลีกทั่วไป 4

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

1 1 2

หมวดวิชา

วิชาเลือกเสรี

ภาคเรียนที่ 6 ชื่อวิชา

ภาคเรียนที่ 5 ทฤษฎี ทฤษฎี หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา

ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 2211-8001 ฝกงาน

2 2000*2012 กิจกรรมสถานประกอบการ 5 รวม

0

2

0

2

0

12 30 รวมทั้งสิ้นตลอดหลักสูตร 106 นก.

61


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

โครงสรางหลักสูตร

รหัส

ภาคเรียนที่ 3 ชื่อวิชา

ภาคเรียนที่ 4

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

รหัส

ชื่อวิชา

รวม หนวยกิจ ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

1.หมดววิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร(ไมนอยกวา9หนวยกิต) 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา6หนวยกิต) 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต(ไมนอยกวา6หนวยกิต) 2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2กลุมทักษะวิชาชีพเ ฉพาะ(21 หนวยกิต)

2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก(ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ 3 3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3 3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพเพื่อภาวะผูนํา 3

3202-2005 การวิจัยตลาด

3202-2104 สัมมนาการตลาด

0

3

0

3

2

2

12

3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3

0

3

3

0

3

3

0

3

3

0

3

3

0

3

3202-8001 ฝกงาน

-

-

4

3200-1002 หลักการจัดการ 3 3202-2004 การสื่อสารการตลาด 3202-2006 กลยุทธทางการตลาด 3202-2006 การจัดชองทางการจัดจําหนายและหวงโชอุปทาน

26

3

-

4

2

0

2

3000-9202 การสนทนาภาษษจีนสําหรับการทํางาน

2

0

2

3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตรธุรกิจขนาดยอม(SMEs) 0

2

0

3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตรT FL(Technology for Life) 0

2

0

15

6

21

17

2

21

รวมไมนอยกวา 85 หนวยกิต

62

2

3

-

3202-2104 โครงการ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

2

0

รวม

4

42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

โครงสรางหลักสูตร

1.หมดววิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร(ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 1.2กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2กลุมทักษะวิชาชีพเ ฉพาะ(21 หนวยกิต)

ภาคเรียนที่ 4

ภาคเรียนที่ 3 รหัส

ชื่อวิชา

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

3000-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจและสังคม

3

0

3

3000-1317 การวิจัยเบื้องตน

3

0

3

3001-1001 การบริหารคุณภาพในองคการ 3200-1003 หลักการตลาด 3202-2001 การจัดขาย

3

0

3

3

0

3

0

รหัส

ชื่อวิชา

3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ

รวม หนวยกิจ ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป 3

0

3 9

3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 2 3 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3 3 3202-2003 นโยบายผลิตภัณฑและราคา 3

2

3

0

3

0

3 30

2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก(ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

3202-2101 การบริหารธูรกิจขนาดยอม 3202-2102 การตลาดบริหาร

3000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตรบริการวิชาชีพสูสังคม

รวมไมนอยกวา 85 หนวยกิต

3202-2002 พฤติกรรมผูบริโภค

3

0

3

2

2

3

3

0

3

3202-2103 การตลาดอิเล็กทรอนิกส

2

2

3

3

0

3

0

2

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ 0 3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตรขับรถเบื้องตน

0

2

0

20

4

21

19

6

21

รวม

3

42

63


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประจําปการศึกษา 2558 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด

ภาคเรียนที่ 1

โครงสรางหลักสูตร ปรับพื้นฐานวิชาชีพ (15 หนวยกิต)

รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา 3200-0001 หลักการบัญชีเบื้องตน 1 2 2 3 3200-0006 การพัฒนาบุคลิกภาพ นักการตลาด 3200-0002 หลักการขาย 3 0 3 3200-0007 การคาปลีกและการคาสง 3200-0003 การเปนผูประกอบการ 3 0 3

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร 3000-1201 ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การ (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) สื่อสารทางธุรกิจและสังคม 1.2 กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารงชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

64

ภาคเรียนที่ 2

3

0

3

3

0

3

3001-1001 การบริหารงานคุณภาพ ในองคการ 3200-1003 หลักการตลาด 3202-2001 การจัดการขาย

3

0

3

3 3

0 0

3 3

3202-2101 การบริ ห ารธุ ร กิ จ ขนาด ยอม 3202-2102 การตลาดบริการ

2

2

3

3

0

3

3000*2001 กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร 0 บริการวิชาชีพสูสังคม รวม 99 หนวยกิต 20

2

0

4

21

"รวม หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" 3 0 3

3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจ ในงานอาชีพ

3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการอาชีพ 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3202-2003 นโยบายผลิตภัณฑ และราคา 3202-2002 พฤติกรรมผูบริโภค 3202-2103 การตลาดอิเล็กทรอนิกส

3

0

3

3

0

3

15

9

2

2

3

3 3

0 0

3 3

3 2

0 2

3 3

30

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ

3

0

3

3

3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ขับรถเบื้องตน รวม

0

2

0

19

6

21

42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประจําปการศึกษา 2558 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 "รวม โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" 1. หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร 3000-1101 ภาษาไทยเพื่อ 3 0 3 (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) สื่อสารในงานอาชีพ 1.2 กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา 12 3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อ 3 0 3 (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) พัฒนาทักษะการคิด 1.3 กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต 3000-1602 การบริหารจัดการ 3 0 3 3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญา 3 0 3 (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) สุขภาพเพือ่ ภาวะผูน าํ ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 3200-1002 หลักการจัดการ 3 0 3 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 3202-2005 การวิจัยตลาด 2 2 3 3202-2004 การสื่อสารการตลาด 3 0 3 3 0 3 3202-2006 กลยุทธการตลาด 3202-2007 การจัดชองทางการจัด 3 0 3 26 จําหนายและหวงโซอุปทาน 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 3202-2104 สัมมนาการตลาด 2 2 3 (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 3202-8001 ฝกงาน 4 (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 3202-8501 โครงการ 4 (4 หนวยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรม 2 0 2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับ 2 0 2 4 จีน การทํางาน

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2003 กิจกรรมเสริม หลักสูตรธุรกิจขนาด ยอม (SMEs) รวม 99 หนวยกิต

0

2

0

3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL (Technology for Life)

0

2

0

15

6

21

รวม

17

2

21

42

65


66


ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ (ปวช.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ (ปวส.) 67


68


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ภาคเรียนที่ 1 รหัส ชื่อวิชา หมวดวิชา 2000-1201 ภาษาอั ง กฤษในชี วิ ต ทักษะชีวิต จริง 1 2000-1401 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2000-1601 พลศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นา สุขภาพ หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพ 2200-1002 การบัญชีเบื้องตน 1 2200-1006 พิมพดีดไทยเบื้องตน ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2204-2004 คณิตศาสตร คอมพิวเตอร 2204-2002 ระบบปฏิบตั กิ ารเบือ้ งตน หมวด

ภาคเรียนที่ 2 รวมหนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต ตลอดป 2 0 2 2000-1202 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 2 0 2 2 0

0 2

2 1

1 1

2 2

2 2

2200-1003 2200-1007

1

2

2

2204-2005

2

2

3

2204-2006

1 2204-2101 องคประกอบ ศิลปสําหรับงาน คอมพิวเตอร 2204-2108 โปรแกรมประมวลผลคํา 1

2

2

2

2

2308-2007 กราฟกแอนิเมชั่น

1

4

2000*2001 กิจกรรม Self รวม

0 12

2 20

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน การบัญชีเบื้องตน 2 พิมพดีดอังกฤษเบื้องตน ทักษะวิชาชีพเฉพาะ คอมพิวเตอรและ การบํารุงรักษา พื้นฐานการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร ทักษะวิชาชีพเลือก

2 1

0 0

2 1

10

1 1

2 2

2 2

8

2

2

3

2

2

3

2204-2103 โปรแกรม ตารางคํานวณ

2

2

3

2

2

3

3

2204-2106 โปรแกรมมัลติมีเดีย เพื่อการนําเสนอ 2308-2006 กราฟกวิดิทัศน

1

3

2

0 21

2000*2002 กิจกรรมอาชีพอิสระ รวม

0 16

2 17

0 23

ทักษะวิชาชีพเลือก

หมวดวิชา เลือกเสรี กิจกรรม

2000-1402 คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ 2000-1607 เพศวิถีศึกษา

11

10

5 0 44

69


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ภาคเรียนที่ 3 รหัส ชื่อวิชา หมวดวิชา 2000-1101 ภาษาไทยพื้นฐาน ทักษะชีวิต 2000-1203 ภาษาอังกฤษฟง – พูด 1 2000-1301 วิทยาศาสตร เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หมวด

หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพ 2001-2001 2200-1004 2200-1001 2204-2007 2204-2008 2204-2104

ภาคเรียนที่ 4 รวมหนวยกิต ปฏิบตั ิ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต ตลอดป 0 2 2000-1105 การเขียนในงานอาชีพ 1 0 1 2 1 2000-1204 ภาษาอังกฤษฟง – พูด 2 0 2 1 2 2 2000-1303 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนา 1 2 2 10 อาชีพธุรกิจและบริการ 2000-1506 วัฒนธรรมอาเซียน 1 0 1 ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน คอมพิวเตอรและสารสนเทศ 1 2 2 2001-1001 ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ 2 0 2 10 เพื่องานอาชีพ การขายเบื้องตน 1 2 0 2 2200-1005 การขายเบื้องตน 2 1 2 2 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 2 0 2 ทักษะวิชาชีพเฉพาะ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ การเขียนโปรแกรมบน 2 2 3 2204-2003 เครือขาย 1 2 2 8 มาตราฐานเปด คอมพิวเตอรเบื้องตน โปรแกรมจัดการฐานขอมูล 2 2 3 ทักษะวิชาชีพเลือก ทักษะวิชาชีพเลือก 2 2 3 การผลิตสื่อสิงพิมพ 2 2 3 2204-2107 การเขียนโปรแกรม โดยใชเครื่องมือ 8 กราฟฟกโหมด ทฤษฎี 2 0 1

หมวดวิชา เลือกเสรี กิจกรรม

2000*2003 กิจกรรมแอโรบิค รวม

70

0

2

0

14

14

20

2204-2109 โปรแกรมสําเร็จ 1 รูปทางสถิติ 2901-2107 การใชงานโปรแกรม 1 ประยุกตบนอุปกรณ คอมพิวเตอรพกพา 2000*2004 กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพ 0 รวม

11

2

2

2

2

2

2

0

0 0

16

18

38


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

หมวด หมวดวิชา ทักษะชีวิต หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพ

รหัส

ภาคเรียนที่ 5 ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน

ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

ทักษะวิชาชีพเฉพาะ

2204-2001 คอมพิวเตอรในงานธุรกิจ ทักษะวิชาชีพเลือก

1

2

2

ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 2204-8001 ฝกงาน โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ

*

*

4

หมวดวิชา เลือกเสรี

กิจกรรม

ภาคเรียนที่ 6 รวมหนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต ตลอดป 2000-1501 หน า ที่ พ ลเมื อ งและศี ล 2 0 2 ธรรม 2

2000*2006 กิจกรรม ขับรองประสานเสียงขั้นพื้นฐาน รวม

2204-2009 การสรางเว็บไซต ทักษะวิชาชีพเลือก 2204-2105 โปรแกรมกราฟก ฝกประสบการณ ทักษะวิชาชีพ โครงการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ 2204-8501 โครงการ

0

2

0

2200-1008 กฎหมายพาณิชย 2000-1205 การอานสื่อสิ่งพิมพ ในชีวิตประจําวัน 2000-1208 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานพาณิชย 2000*2005 กิจกรรมขับรถเบื้องตน

1

4

6

รวม

0 2

2

3

2

2

3

5 3 4

*

*

4

2 0

0 2

2 1

0

2

1

0

2

0

8

10

16

4

4

0 22

71


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

โครงสรางหลักสูตร

รหัส 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร 3000-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อ (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) การสื่อสารทางธุรกิจ 1.2 กลุม ทักษะการคิดและการแกปญ หา และสังคม (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 3000-1317 การวิจัยเบือ้ งตน 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารงชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

72

3

0

3

3

0

3

3001-1001 การบริหารงานคุณภาพ ในองคการ

3

0

3

3204-2003 การสื่อสารขอมูล และเครือขาย 3204-2005 การออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต 3204-2101 การออกแบบ และพัฒนาโปรแกรม 3204-2103 การประยุกต ใชโปรแกรมสื่อประสม

2

2

3

2

2

3

2

2

3

2

2

3

3000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร บริการวิชาชีพสูสังคม รวม 84 หนวยกิต

0

2

0

17

10

21

รหัส

"รวม ภาคเรียนที่ 2 หนวยกิต ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป"

3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ

3

0

3 9

3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการอาชีพ 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3204-2001 การประกอบคอมพิวเตอร และติดตั้งซอฟตแวร 3204-2004 ระบบจัดการฐานขอมูล

2

2

3

3 2

0 2

3 3

2

2

3

3204-2108 การใชระบบประมวลผล แบบกลุมเมฆ

2

2

3

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ

3

0

3

3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ขับรถเบื้องตน รวม

0

2

0

17

10

21

30

3 42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

โครงสรางหลักสูตร

รหัส

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษา และการสื่อสาร (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 1.2 กลุมทักษะการคิด และการแกปญหา (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารงชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอ ย กวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทกั ษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

ภาคเรียนที่ 3 ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสาร ในงานอาชีพ

3

0

รหัส

ภาคเรียนที่ 4 "รวม ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต หนวยกิต ตลอดป"

3

3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพ เพื่อภาวะผูนํา

3

0

3

3000-1401 คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3000-1503 มนุษยสัมพันธ กับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

3

0

3

3

0

3

3200-1003 หลักการตลาด

3

0

3

3200-1002 หลักการจัดการ

3

0

3

3204-2006 การวิเคราะห และออกแบบระบบ 3204-2007 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร

2

2

3

3204-2002 การใชโปรแกรม สํานักงานขั้นสูง

2

2

3

2

2

3

3204-2107 การใชโปรแกรมสําเร็จ รูปบนอุปกรณพกพา 3204-8001 ฝกงาน

2

2

3

-

-

4

3204-8501 โครงการ

-

-

4

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน

2

0

2

3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับ การทํางาน

2

0

2

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ธุรกิจขนาดยอม (SMEs) รวม 84 หนวยกิต

0

2

0

2

0

15

6

21

3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL 0 (Technology for Life) รวม 15

6

21

12

26

4 42

73


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 "รวม โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" ปรับพื้นฐานวิชาชีพ 3200-0001 หลักการบัญชีเบื้องตน 1 2 2 3 3200-0010 คอมพิวเตอรและการบํารุงรักษา 2 2 3 (15 หนวยกิต) 3200-0002 หลักการขาย 3 0 3 3200-0011 คอมพิวเตอรและสารสนเทศ 2 2 3 15 ในงานธุรกิจ 3200-0003 การเปนผูประกอบการ 3 0 3 1. หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 3 0 3 3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ 3 0 3 3000-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อ 1.1 กลุมทักษะภาษา การสื่อสารทางธุรกิจ และการสื่อสาร และสังคม (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน 3 0 3 9 1.2 กลุมทักษะการคิด และการแกปญหา (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารงชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพ 3 0 3 3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ 2 2 3 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 ในองคการ การจัดการอาชีพ หนวยกิต) 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3 0 3 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 3204-2003 การสื อ ่ สารข อ มู ล 2 2 3 3204-2001 การประกอบคอมพิ ว เตอร 2 2 3 (21 หนวยกิต) และเครือขาย และติดตั้งซอฟตแวร 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 3204-2005 การออกแบบ 2 2 3 3204-2004 ระบบจัดการฐานขอมูล 2 2 3 (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 30 และพัฒนาเว็บไซต 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 3204-2101 การออกแบบ 2 2 3 3204-2108 การใชระบบประมวลผล 2 2 3 (4 หนวยกิต) และพัฒนาโปรแกรม แบบกลุมเมฆ 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 3204-2103 การประยุกต 2 2 3 ใชโปรแกรมสื่อประสม

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

74

3000*2001 กิจกรรมเสริมหลักสูตร บริการวิชาชีพสูสังคม รวม 99 หนวยกิต

0

2

0

17

10

21

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ

3

0

3

3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ขับรถเบื้องตน รวม

0

2

0

17

10

21

3 42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 "รวม โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสาร 3 0 3 1.1 กลุมทักษะภาษา ในงานอาชีพ และการสื่อสาร (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 12 3000-1401 คณิตศาสตร 1.2 กลุมทักษะการคิด 3 0 3 เพื่อพัฒนาทักษะการคิด และการแกปญหา (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 3 0 3 3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพ 3 0 3 3000-1503 มนุษยสัมพันธ 1.3 กลุมทักษะทางสังคม เพื่อภาวะผูนํา กับปรัชญา และการดํารงชีวิต ของเศรษฐกิจพอเพียง (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 3200-1003 หลักการตลาด 3 0 3 3200-1002 หลักการจัดการ 3 0 3 (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 3204-2006 การวิเคราะหและออกแบบระบบ 2 2 3 3204-2002 การใชโปรแกรม 2 2 3 (21 หนวยกิต) สํานักงานขั้นสูง 26 3204-2007 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 2 3 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 3204-2107 การใชโปรแกรมสําเร็จรูป 2 2 3 (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) บนอุปกรณพกพา 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 3204-8001 ฝกงาน 4 (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 3204-8501 โครงการ 4 (4 หนวยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 0 2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีน 2 0 2 ไมนอยกวา 6 หนวยกิต สําหรับการทํางาน 4 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 3000*2003 กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รธุ ร กิ จ 0 2 0 3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL 0 2 0 (2 ชั่วโมงตอสัปดาห) ขนาดยอม (SMEs) (Technology for Life) รวม 99 หนวยกิต 15 6 21 รวม 15 6 21 42

75


76


ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส

77


78


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สาขางานการจัดการคลังสินคา

ภาคเรียนที่ 1

โครงสรางหลักสูตร

รหัส

ชื่อวิชา

ภาคเรียนที่ 2 ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุม ทักษะภาษาและการสือ่ สาร (ไม 3000-1201 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร 3 ทางธุรกิจและสังคม นอยกวา 9 หนวยกิต) 3 1.2 กลุม ทักษะการคิดและการแกปญ หา 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารง ชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต)

2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

0

3

0

3

3001-1001 การบริหารงานคุณภาพใน

องคการ 3214-2003 หลักการตลาด 3214-2001 โลจิสติกสและโซอุปทาน 3214-2301 สินคาและบรรจุภัณฑ

ชื่อวิชา

3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ

3

0

3 9

3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ 3 3

0 0

3 3

3

0

3

3214-2302 การจั ด การพื้ น ที่ ค ลั ง 3

0

3

สินคา

3. หมวดวิชาเลือกเสรีไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 3000*2001 กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร 0 (2 ชั่วโมงตอสัปดาห) บริการวิชาชีพสูสังคม รวม 84 หนวยกิต

รหัส

รวม หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป

21

3200-1001 3214-2002 3214-2003

จัดการอาชีพ หลักเศรษฐศาสตร การจัดการตนทุนโลจิสติกส การบริหารระบบขอมูลสําหรับ โลจิสติกส เครื่องมือและอุปกรณคลังสินคา

3 3 3

0 0 0

3 3 3

3

0

3

3000-9001 กฎหมายธุรกิจ

3

0

3

3214-2303

2

0

3000*2004 กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รขั บ รถ

0

2

0

2

21

รวม

20

4

21

เบื้องตน

30

3

42

79


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สาขางานการจัดการคลังสินคา

ภาคเรียนที่ 3

โครงสรางหลักสูตร

รหัส

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุ  ม ทั ก ษะภาษาและการ สื่อสาร (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) 1.2 กลุมทักษะการคิดและการแก ปญหา (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการ ดํารงชีวิต(ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ(21 หนวยกิต) 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

ชื่อวิชา

รหัส

ชื่อวิชา

0

3

3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะ 3 การคิด 3000-1602 การบริหารจัดการสุขภาพเพื่อ 3 ภาวะผูนํา

0

3

0

3 3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญาของ 3

0

3

3200-1002 หลักการจัดการ 3 3214-2005 คลั ง สิ น ค า และศู น ย ก ระจาย 3 สินคา 3214-2006 การจัดการการขนสง 3

0 0

3 3

0

3

3201-8001 ฝกงาน

*

*

4

2

0

2

0

2

0

14

2

18

12

เศรษฐกิจพอเพียง

3214-2004 หลักการจัดซื้อ

3

0

3

3214-2007 หลักการนําเขาและสงออก

3

0

3

3214-2304 เทคโนโลยีในงานคลังสินคา

3

0

3

*

*

2

0

4 2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับการ

3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตรธุรกิจ 0 ขนาดยอม (SMEs)

2

0

2

24

รวม 84 หนวยกิต

80

ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต

รวม หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนวยกิต ตลอดป

3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ 3

3000-8501 โครงการ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอย 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน

กวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

ภาคเรียนที่ 4

20

ทํางาน 3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL (Technology for Life) รวม

23

4 42


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประจําปการศึกษา 2558 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สาขางานการจัดการคลังสินคา "รวม ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" ปรับพื้นฐานวิชาชีพ (15 หนวยกิต) 3200-0001 หลักการบัญชีเบื้องตน 1 2 2 3 3200-0008 เครื่องใชสํานักงานและการ 3 0 3 พิมพเอกสาร 3200-0002 หลักการขาย 3 0 3 3200-0011 คอมพิวเตอรและสารสนเทศ 3 0 3 15 ในงานธุรกิจ 3200-0003 การเปนผูประกอบการ 3 0 3 1. หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร 3000-1201 ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การ 3 0 3 3000-1208 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 3 0 3 (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) สื่อสารทางธุรกิจและสังคม ในงานอาชีพ 9 1.2 กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา 3000-1317 การวิจัยเบื้องตน 3 0 3 (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) 1.3 กลุมทักษะทางสังคม และการดํารง ชีวิต (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต)

2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุม ทักษะวิชาชีพพืน้ ฐาน(15 หนวยกิต) 3001-1001 การบริหารงานคุณภาพ ในองคการ 3200-1003 หลักการตลาด 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ(21 หนวยกิต) 3202-2001 โลจิสติกสและโซอุปทาน 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก(ไมนอยกวา 3214-2301 สินคาและบรรจุภัณฑ 12 หนวยกิต) 3214-2302 การจัดการพื้นที่คลังสินคา 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ(4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ(4 หนวยกิต)

3

0

3

3 3

0 0

3 3

3 3

0 0

3 3

3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอ ยกวา 6 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2001 กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร 0 บริการวิชาชีพสูสังคม รวม 84 หนวยกิต 29

รายวิชาปรับพื้นฐาน 15 หนวย

2

0

4

21

3001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 เพื่อการจัดการอาชีพ 3200-1001 หลักเศรษฐศาสตร 3 3214-2002 การจัดการตนทุนโลจิสติกส 3

2

3

0 0

3 3

3214-2003 การบริหารระบบขอมูลสําหรับโลจิสติกส 3 3202-2103 การตลาดอิเล็กทรอนิกส 2

0 2

3 3

30

3200-9001 กฎหมายธุรกิจ

3

0

3

3

3000*2002 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ขับรถเบื้องตน รวม

0

2

0

19

6

21

42

81


วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

แผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประจําปการศึกษา 2558 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอื่น หรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส สาขางานการจัดการคลังสินคา ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 "รวม โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนวยกิต ตลอดป" 1. หมวดวิชาทักษะชีวิตไมนอยกวา 21 หนวยกิต 1.1 กลุมทักษะภาษาและการสื่อสาร 3000-1101 ภาษาไทยเพื่อสื่อสารใน 3 0 3 (ไมนอยกวา 9 หนวยกิต) งานอาชีพ 1.2 กลุมทักษะการคิดและการแกปญหา 3000-1401 คณิตศาสตรเพื่อพัฒนา 3 12 0 3 (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) ทักษะการคิด 1.3 กลุมทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต 3000-1602 การบริหารจัดการ 3 0 3 3000-1503 มนุษยสัมพันธกับปรัชญา 3 0 3 (ไมนอยกวา 6 หนวยกิต) สุขภาพเพื่อภาวะผูนํา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 56 หนวยกิต 2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หนวยกิต) 3200-1002 หลักการจัดการ 3 0 3 0 3 2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนวยกิต) 3214-2004 หลักการจัดซื้อ 3 0 3 3214-2005 คลังสินคาและศูนยกระจายสินคา 3 3214-2006 การจัดการการขนสง 3 0 3 3202-2007 การจัดชองทางการจัด 3 0 3 23 จําหนายและหวงโซอุปทาน 0 3 2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 3214-2304 เทคโนโลยีในงานคลังสินคา 3 (ไมนอยกวา 12 หนวยกิต) 2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 3214-8001 ฝกงาน 4 (4 หนวยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 3202-8501 โครงการ 4 (4 หนวยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 3000-9201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 0 2 3000-9202 การสนทนาภาษาจีนสําหรับ 2 0 2 หนวยกิต การทํางาน

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงตอสัปดาห)

3000*2003 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ธุรกิจขนาดยอม (SMEs)

รวม 84 หนวยกิต รายวิชาปรับพื้นฐาน 15 หนวย

82

0

2

0

3000*2004 กิจกรรมเสริมหลักสูตร TFL (Technology for Life)

0

2

0

20

2

24

รวม

14

2

18

42


การบริการหองสมุด วิทยาลัยเทคโนโลยีทกั ษิณาบริหารธุรกิจมีจดุ มุง หมายทีจ่ ะใหนักศึกษาไดใชหอ งสมุด เพือ่ เปน ประโยชนในการ ศึกษาคนหาความรูเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากคําบรรยายที่ไดรับในชั้นเรียน

ระเบียบการใชหองสมุด 1. เวลาใชหองสมุด

1.1 วันจันทร-ศุกร (08.30-19.00 น.) 1.2 วันอาทิตย (08.00-18.00)

2. ผูมีสิทธิใชหองสมุด 2.1 ครู-อาจารย และเจาหนาที่ 2.2 นักเรียนและนักศึกษา 2.3 บุคคลอืน่ นอกจากที่กลาวมาแลวตองไดรับอนุญาติจากบรรณารักษ

3. การสมัครเปนสมาชิกหองสมุด 3.1 นํารูปถายขนาด 1 นิ้ว จํานวน 2 ภาพ แตงเครื่องแบบนักศึกษา 3.2 ตองไปติดตอขอทําบัตรสมาชิกที่แผนกหองสมุดดวยตนเอง และตองนําบัตรประจําตัวนักศึกษาไป แสดงดวย 3.3 หัวหนาแผนกหองสมุด มีสิทธิที่จะพิจารณางดอนุญาตินักศึกษาที่กระทําการฝาฝนระเบียบของหอง สมุด มิใหเปนสมาชิกของหองสมุด

83


4. มารยาทในการใชหองสมุด 4.1 นักศึกษาตองแตงกายใหเรียบรอยเวลาเขาหองสมุด 4.2 หามนําเอกสารหรือหนังสือสวนตัวเขาไปในหองสมุด ใหวางไวในที่ซึ่งเจาหนาที่ไดจัดไวใหโดยเฉพาะ 4.3 เมื่อหยิบหนังสือเลมใดออกมาอานแลว โปรดวางไวบนโตะอานหนังสือ เจาหนาที่จะเปนผูเก็บเขา ชั้นเอง เพราะ นักศึกษายอมไมทราบรายละเอียดของการแยกหมวดหมู 4.4 ชวยกันรักษาสิ่งของในหองสมุด ตลอดจนความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของหองสมุด 4.5 กอนออกจากหองสมุด ตองใหเจาหนาที่ตรวจหนังสือและเอกสารทุกชนิดที่จะนําออกจากหองสมุด 4.6 ติดตามอานประกาศตางๆ ของแผนกหองสมุดเสมอ เพื่อจะไดรับทราบเหตุการณ 4.7 ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ตลอดจนคําแนะนําตักเตือนของเจาหนาที่หองสมุดโดยเครงครัด 4.8 หามสงเสียงดังรบกวนผูอื่น 4.9 หามนําอาหารและเครื่องดื่มเขาไปรับประทานในหองสมุด 4.10 หามสูบบุหรี่ในหองสมุด

5. ระยะเวลาของการยืม 5.1 หนังสือประเภททั่วไปทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษยืมได 7 วัน วารสารฉบับเกาที่ออกวางตลาดแลว กวา 2 สัปดาห ยืมได 3 วัน 5.2 หนังสือประเภทตําราทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ยืมได 7 วัน 5.3 หนังสือสงวน หมายถึง หนังสือที่ไดรับคํารองขอใหจดไวเปนพิเศษ เพราะมีความจจําเปนตองใชมาก ยืมไดตั้งแตเวลา 15.00 น. และสงคืนหองสมุดในตอนเชาวันรุงขึ้นไมเกิน 10.00 น. สําหรับวันเสารยืมได เวลา 16.00 น. สงคืนวันจันทร ไมเกิน 10.00 น. 5.4 หนังสือที่ไมอนุญาตใหยืมออกนอกหองสมุด คือ - หนังสืออางอิง ไดแก พจนานุกรม สารานุกรม หนังสือรายป - วารสารฉบับใหม - นิตยสาร - จุลสาร - หนังสือพิมพรายวัน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 84


5.5 หนังสือที่หองสมุดไดรับใหม จะตองแสดงใหชมเปนเวลา 2 วัน กอนที่จะใหยืมตามระเบียบ

6. จํานวนหนังสือที่ขอยืม 6.1 อาจารยมีสิทธิ์ยืมไดคราวละ 3 เลม 6.2 นักศึกษามีสิทธิ์ยืมไดคราวละ 2 เลม และจะยืมเลมตอไปไดเมื่อนําหนังสือที่ไดขอยืมไปแลวมาสงคน หองสมุด เสียกอน 6.3 เจาหนาที่ขอยืมไดคราวละ 1 เลม เฉพาะหนังสือประเภททั่วไปเทานั้น

7. วิธีขอยืมหนังสือ

7.1 นําบัตรยืมออกจากซอง ซึ่งอยูดานหลังของหนังสือแลวเขียนชื่อคณะสาขาวิชา และระดับใหอานออก ชัดเจน พรอมทั้งนําบัตรสมาชิกหองสมุดไปแสดงตอเจาหนาที่หองสมุด 7.2 เมื่อเจาหนาที่หองสมุดบันทึกกําหนดวันสงลงในบัตรยืมและในบัตรสมาชิกหองสมุด ตลอดจนเก็บ หลักฐานในการยืมแลว จึงจะนําหนังสือออกจากหองสมุดได 7.3 การขอยืมหนังสือทุกครั้ง จะตองไปติดตอดวยตนเอง 7.4 ถาเปนหนังสือวารสาร ใหแจง รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อวารสาร เลม ที่ ฉบับที่ วันที่ พ.ศ. ของวารสารดว ย 7.5 กอนวันสุดทายของภาคเรียน นักศึกษาตองสงหนังสือ เลมใดเสร็จกอนกําหนดสงโปรดนําสงคืน หองสมุดเพื่อใหผูอื่นไดใชบาง 7.6 นักศึกษาผูใดสงหนังสือเกินกําหนด ตองแจงใหเจาหนาที่ทราบ และชําระคาปรับทันที ผูที่ไมแจงใหทราบ และคางคาปรับจะไมมีสิทธิ์ยืมหนังสืออื่นๆ ออกจากหองสมุดอีกจนกวาจะไดชําระคาปรับเรียบรอยแลว

8. วิธีสงคืนหนังสือ

8.1 ตองคืนหนังสือตามกําหนด วันที่แจงไวในบัตรยืมที่อยูในซองดานในปกหลังของหนังสือ 8.2 ตองนําไปคืนใหแกเจาหนาที่ดวยตนเองที่โตะรับจายหนังสือ จะนําไปวางคืนไวในหองสมุดโดยไมปฏิบัติ ตามระเบียบไมได 8.3 เจาหนาที่จะเซ็นชื่อกํากับชื่อหนังสือที่สงคืนในบัตรยืม และในบัตรสมาชิกหองสมุด 8.4 นักศึกษาตองตรวจดูการเซ็นชื่อของเจาหนาที่ในการรับคืนใหเรียบรอยทุกครั้งเพื่อความแนใจ มิฉะนั้น 85


ถามีการผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นนักศึกษาจะตองรับผิดชอบในการชดใชหนังสือคืนใหแกหองสมุด 9. วิธีขอยืมหนังสือจอง 9.1 นักศึกษาซึ่งมีหนังสืออยูในครอบครองจะลงชื่อจองลวงหนาอีกไมได 9.2 สิทธิในการใชหนังสือแตละเลม จะเปนไปตามลําดับการจอง และจะมีผลบังคับใชเฉพาะผูที่ลงชื่อดวย ตนเองเทานั้น 9.3 ใหนักศึกษาเขียนรายชื่อหนังสือที่จะจองในแบบฟอรม หองสมุดจะแจงกําหนดไปรับหนังสือใหทราบ 9.4 ใหมารับหนังสือจองหลังเวลา 13.00 น. หลังจากนั้นถือวาสละสิทธิ์ 9.5 ในกรณีที่หนังสือที่จองยังไมมีผูนํามาคืน ถาผูจองยังไมสละสิทธิ์ของการจอง ขอใหบอกเจาหนาที่ไวเพื่อ จะเก็บหนังสือไวใหผูจองอีกถาผูใดไมติดตาม หองสมุดถือวาผูจองสละสิทธิ์ และจะใหผูอื่นยืมตอไป 10. การปรับ 10.1 หนังสือประเภททั่วไป ปรับวันละ 1.00 บาทตอเลม 10.2 หนังสือประเภทตํารา ปรับวันละ 2.00 บาทตอเลม 10.3 หนังสือสงวน ปรับชั่วโมงละ 1.00 บาทตอเลม วันละ 5 บาท ในเวลาปกติ ปรับชั่วโมงละ 3.00 บาท ตอเลม 10.4 ผูที่สงหนังสือเกินกําหนด จะมีชื่อปรากฏบนปายประกาศของหองสมุด และจะมีใบเตือนแจงใหทราบ จากหองสมุด 10.5 ผูที่ไมชําระเงินคาปรับจะถูกถอนชื่อในการยืมจนกวาจะชําระเงินเรียบรอย 10.6 ถาหนังสือหาย หรือชํารุด จะตองเสียคาปรับตามแตหัวหนาแผนกหองสมุดจะพิจารณาและหัวหนา แผนกหองสมุดจะสงหลักฐาน และยอดเงินคาปรับใหแกเจาหนาที่แผนกการเงิน เพื่อใหแผนกการเงิน หักเงินจํานวนนั้นจากคาประกันของเสียหายของนักศึกษา 10.7 การจายคาปรับ ทางหองสมุดจะทําบัญชีไวเปนหลักฐาน และใหผูที่ชําระคาปรับลงบัญชีและเซ็นชื่อ กํากับไวทุกครั้ง เมื่อสิ้นปการศึกษาหองสมุดจะประกาศยอดจํานวนเงินใหทราบ

86


งานสงเสริมระเบียบวินัยและคุณธรรมจริยธรรม - งานระดับชั้น - งานพิธีการหนาเสาธง - งานปองกันควบคุมและติดตามแก ไขพฤติกรรมนักศึกษา

- งานอาจารยที่ปรึกษา - งานเครือขายผูปกครอง - งานสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม

งานนันทนาการและการกีฬา - งานรณรงคตอตานยาเสพติดและพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม - งานกีฬาสี - งานพัฒนาบุคลากรและนันทนาการ - งานรักษาความปลอดภัย - งานนโยบายพิเศษ

งานกิจกรรมนักศึกษา - งานกิจกรรมเสริมหลักสูตรและชมรม - งานคณะกรรมการนักศึกษา/นักศึกษาแกนนํา - งานเขาคาย - งานปฐมนิเทศ

- งานนักศึกษาวิชาทหาร - งานดนตรีสากล

งานบริการสํานักงาน - งานสารบรรณ - งานพัสดุ ครุภัณฑ - งานสถิติ

- งานแผนงาน / งบประมาณ - งานรับรองและประชาสัมพันธ

นักศึกษาตองรักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของวิทยาลัยอยางเครงครัด 87


ระเบียบขอบังคับ กลุมวิทยาลัยในเครือไทยเทค นักศึกษาตองรักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของวิทยาลัยอยางเครงครัด ผูใดฝาฝน ถือวาผูนั้นกระทําความผิดจะตองไดรับโทษตามที่กําหนดในระเบียบนี้ 1. นักศึกษาตองสนับสนุนนโยบายของวิทยาลัย 2. นักศึกษาตองประพฤติตนใหเหมาะสมกับสภาพของนักศึกษาดังตอไปนี้ 2.1 เขาแถวเคารพธงชาติทุกเชา 2.2 มาเรียนตามเวลาที่วิทยาลัยกําหนดอยางสมํ่าเสมอ และเขาเรียนตามตารางเรียน 2.3 แตงกายถูกตองตามระเบียบของวิทยาลัยและแตงเครื่องแบบนักศึกษาทุกครั้งที่มาวิทยาลัย 2.4 ปฏิบัติตามคําสั่งของวิทยาลัยและครูอาจารย ซึ่งสั่งในหนาที่โดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบวิทยาลัย หามมิใหขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง 2.5 นักศึกษาตองไมแจงเท็จตอครู-อาจารย การปกปดความซึ่งควรบอกถือวาเปนการแจงเท็จดวย 2.6 นักศึกษาตองรักษาระเบียบวินัยในหองเรียน ไมกระทําการใดๆ ที่เปนการรบกวนหรือกอความรําคาญ แกผูอื่น 2.7 เขารวมประชุมตามกําหนด และรักษาความสงบเรียบรอยในหอประชุม 2.8 ประพฤติตนสุภาพเรียบรอยตอสาธารณชน 2.9 ไมกอการทะเลาะวิวาทกับผูอื่น ทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย 2.10 เคารพ เชื่อฟงคําสั่งสอนของครู-อาจารย ไมแสดงกิริยาอันไมสุภาพทั้งตอหนาและลับหลัง 2.11 ไมกลาววาจาหรือแสดงกิริยาที่เปนชนวนกอใหเกิดความเกลียดชัง หรือการทะเลาะวิวาทดังตอไปนี้ - กลาวคําหยาบ หรือไมสุภาพตอผูอื่น - กลาวคําประชด เสียดสี ลอเลียนผูอื่น - กลาวคําทาทาย หรือแสดงอาการกาวราวชวนวิวาท - กลาวคําดูหมิ่น หรือหมิ่นประมาทผูอื่น 88


3. นักศึกษาตองชวยเหลือการงานของวิทยาลัยตามที่ไดรับมอบหมาย 4. นักศึกษาตองชวยกันรักษาทรัพยสมบัติของวิทยาลัย และสาธารณสมบัติของแผนดินใหอยูในสภาพที่เรียบรอย ดีงามไมทําใหสกปรกหรือชํารุดเสียหาย 5. เมื่อนักศึกษามีความจําเปนตองหยุดเรียน ผูปกครองตองแจงใหทางวิทยาลัยทราบเปนลายลักษณอักษร 6. นักศึกษาตองไมตกแตงเครื่องประดับตางๆ ไมไวเล็บ ทาเล็บ เขียนคิ้ว กันคิ้ว กันหนา และตกแตงใบหนาดวย เครื่องสําอาง ไมเปลี่ยนสีผม หรือไวผมตามสมัยนิยม อันขัดตอระเบียบของวิทยาลัย 7. ไมนําสินคาและบริการทุกชนิดมาขายในวิทยาลัย 8. ไมนําหนังสือ เอกสาร และแผนประกาศมาแจกหรือนํามาติดในวิทยาลัยกอนไดรับอนุญาต 9. ไมนําบุคคลภายนอกเขามาในบริเวณวิทยาลัย เวนแตไดรับอนุญาตจากฝายกิจการนักศึกษา 10. ไมออกนอกบริเวณวิทยาลัยกอนไดรับอนุญาต 11. ไมจัดกิจกรรมนําเที่ยว หรือชักชวนเพื่อนนักศึกษาและผูอื่นไปตามสถานที่ตางๆ ในเวลากลางคืน 12. ไมเลนการพนัน หรือเลนสิ่งอันใดที่ตองใชทรัพยสินเปนเดิมพันในการเลน 13. ไมเสพยสิ่งเสพติด และไมนําสิ่งเสพติดเขามาในวิทยาลัย 14. หามนักศึกษา นําสื่อลามกอนาจารในรูปแบบ เชน หนังสือการตูน, ซีดี, โทรศัพทมือถือ อื่นๆ เขามาในวิทยาลัย และเผยแพร 15. หามนักศึกษานําบุหรี่ เหลา-เบียร ของมึนเมาทุกชนิดเขามาสูบหรือดื่มในวิทยาลัย หรือภายนอกวิทยาลัยที่ ยังสวมเครื่องแบบวิทยาลัย 16. ไมนําอาหารและสิ่งของขึ้นไปรับประทานในหองเรียนหรือนอกโรงอาหาร 17. ไมประพฤติสิ่งใดที่นําความเสื่อมเสียมาสูวิทยาลัย 18. นักศึกษาควรตรงกลับบานเมื่อเลิกเรียน ไมควรไปแวะเวียนในที่อื่นเปนอันขาด 19. นักศึกษาตองมีความรักสามัคคี รวมใจพัฒนาเพื่อสรางไทยเบญจบริหารธุรกิจชลบุรี (TBJ) ใหเจริญรุงเรือง เปนที่เชื่อถือของคนทั่วไป

89


การปฏิบัติตนในการมาเรียนและเขาเรียน

1. นักศึกษาทุกคนตองนําบัตรนักศึกษาเพื่อใชรูดบัตรหรือกดรหัสทุกครั้ง 2. นักศึกษามาวิทยาลัยเขาแถวเคารพธงชาติ เวลา 08.00 น. 3. นักศึกษาแตงกายดวยเครื่องแบบของวิทยาลัยตามกําหนด 4. หามนักศึกษาพกพาอาวุธ, นําของมีคา, เครื่องประดับมาวิทยาลัย

การขาดเรียน

1. ขาดเรียน 1 วัน โดยไมทราบสาเหตุ อาจารยที่ปรึกษาจะโทรศัพท และสงSMS แจงผูปกครอง 2. ขาดเรียนติดตอกัน 3 วัน อาจารยที่ปรึกษาเชิญผูปกครองมาพบเพื่อทราบสาเหตุ

การหนีเรียน

การที่นักศึกษาหายไปจากหองเรียนในเวลาเรียน โดยไมไดแจงใหอาจารยประจําวิชาทราบ ใหอาจารยประจําวิชา บันทึกลงใบเช็คชื่อ ประจําวัน อาจารยประจําวิชาวากลาวตักเตือนตามควรแกกรณีแลวรายงานใหอาจารยที่ปรึกษาทาน ในกรณีที่นักศึกษาคนหนึ่งคนใด มีพฤติกรรมดังกลาวมากกวา 3 ครั้ง ใหอาจารยที่ปรึกษาแจงหัวหนาระดับเพื่อ เชิญผูปกครองมารับทราบ

การใชอาคารและหองปฏิบัติการ

1. นักศึกษา (ขึ้น-ลง) บันได ใหเดินชิดขวามือของตน 2. นักศึกษาตองรักษาความสะอาดหองเรียน และชวยกันรักษาสมบัติสิ่งของภายในหองเรียนใหอยูในสภาพ ที่ใชการไดตลอดเวลา 3. ไมสงเสียงดังรบกวนสมาธิของผูอื่นขณะที่มีการเรียนการสอน 4. ประหยัดไฟฟาของวิทยาลัย เมื่อไมอยูในหองเรียนตองปดไฟฟาและเครื่องปรับอากาศทุกครั้ง 5. การเขาหองพยาบาล ตองไดรับอนุญาตจากอาจารยผูสอนและอาจารยพยาบาลเสียกอน 6. การใชห อ งนํา้ ตอ งรักษาความสะอาดทุกครัง้ เมือ่ ใชเ้ สร็จ ผา้ อนามัยทีใ่ ชแ้ ลว ตอ งหอ ใหมิด้ ชิดแลว ทิง้ ในถังรองรับ

90


การทําความเคารพ

1. เมื่อพบครู-อาจารย ใหหยุดยืนตรงยกมือไหว ถาถือของใหยืนตรงและหันหนาเขาหาครู 2. เมื่อจะเดินผานครูซึ่งนั่งอยูใหกมตัวลงพองาม และเดินหางระยะพอควร 3. เมื่อสวนทางกับครูขณะที่ขึ้นหรือลงบันไดใหหยุดยืนตรงและใหครูเดินผานไปกอน จึงเดินตอไป 4. การเขาพบครู-อาจารยในหองพักครู ตองขออนุญาตทุกครั้ง ควรนั่งคุกเขาเมื่อผูใหญนั่ง หรือยืนดวยกิริยา สํารวมเมื่อผูใหญยืน 5. ภายในหองเรียน เมื่อมีครู-อาจารย หรือวิทยากร เขามาใหหัวหนาบอก คําวา “ทั้งหมดทําความเคารพ” ทุกคนยกมือไหว และกลาวคําวา “สวัสดีคะ, สวัสดีครับ”

การเขาหองประชุม

วิทยาลัยจัดใหมีการประชุมนักศึกษาแตละระดับชั้นในหอประชุม การเขาหอประชุมใหนักศึกษาปฏิบัติดังนี้ 1. นักศึกษาแตละชั้นตองรับผิดชอบวาเปนหนาที่ ที่จะตองรวมประชุมทุกครั้ง ตามวันเวลาที่วิทยาลัยกําหนด 2. เดินเขาหองประชุมอยางมีระเบียบ นั่งประจําที่ของตนดวยความสงบเรียบรอย 3. ใหหัวหนาชั้นหรือรองหัวหนาชั้น รายงานชื่อนักศึกษาที่ขาดการประชุมตออาจารยที่ปรึกษา ซึ่งควบคุมอยูเปน ลายลักษณอักษร

การปฏิบัติตนในการใชหองนํ้า หองสวม

1. ทิ้งวัสดุชําระหรือวัสดุอื่นลงในภาชนะรองรับ ไมทิ้งวัสดุใดๆ ลงในสวม 2. ทําความสะอาดโถสวม และโถปสสาวะหลังใชแลวทุกครั้ง 3. ปดนํ้าหลังจากใชอางลางหนา โถปสสาวะหรือภาชนะรองรับนํ้าในหองสวม 4. ไมมั่วสุมในบริเวณหองนํ้าหรือทํากิจกรรมที่ไมเหมาะสมในหองนํ้า

91


การขออนุญาตออกนอกบริเวณวิทยาลัย

นักศึกษาจะออกนอกบริเวณวิทยาลัยในระหวางเวลาเรียนไดเมื่อ 1. ผูปกครองมารับนักศึกษาดวยตนเอง ใหแจงความจําเปนและเหตุผลที่ฝายกิจการนักศึกษาและนํา ใบอนุญาตออกนอกบริเวณใหผานอาจารยประจําวิชา อาจารยที่ปรึกษาฝายกิจการนักศึกษาเปนลําดับ แลวรับใบ อนุญาตออกนอกบริเวณวิทยาลัยแสดงตอเจาหนาที่หนาประตูวิทยาลัย 2. ในกรณีที่นักศึกษาจําเปนตองออกนอกบริเวณวิทยาลัยโดยที่ผูปกครองไมไดมารับจะตองมีจดหมาย ผูปกครองโดย ถูกตอง ระบุวัน เวลา สถานที่ และกิจธุระที่ตองไปปฏิบัติ ใหแจงความจําเปนและเหตุผลที่ ฝายกิจการนักศึกษาและนําใบอนุญาตออกนอกบริเวณ ใหผานอาจารยประจําวิชา อาจารยที่ปรึกษา ฝาย กิจการนักศึกษาเปนลําดับ แลวรับใบอนุญาตออกนอกบริเวณวิทยาลัยแสดงตอเจาหนาที่หนาประตูวิทยาลัย

บทลงโทษ

1. ผูใดที่มีสารเสพติดไวครอบครองและจําหนายมีโทษดังนี้ -ผูจําหนายผูครอบครองและผูเสพติด(ยาบา กัญชาและอื่นๆ)พักการเรียน 1 ภาคเรียน -ผูใดมีสุราของมึนเมาและดื่มในสถานศึกษา นอกสถานศึกษา พักการเรียน 7-15 วัน -ผูใดสูบบุหรี่ในสถานศึกษาพักการเรียน 3-7 วัน 2. ผูใดทะเลาะวิวาทในสถานศึกษา มีโทษดังนี้ -พักการเรียน 15 วันถึง 1 เดือน 3. ผูใดทะเลาะวิวาทนอกสถานศึกษามีโทษดังนี้ -พักการเรียน 1 ภาคเรียน 4. ผูใดพกพาอาวุธเขาสถานศึกษา มีโทษดังนี้ -พักการเรียน 15 วัน ถึง 1 เดือน ( ทั้งเจตนาและไมเจตนา ) 5. ผูใดเลนการพนันในสถานที่ศึกษา มีโทษดังนี้ -พักการเรียน 7-15 วัน

92


6. การมาเรียนสาย 3 ครั้งมีบทลงโทษดังนี้ -แจงผูปกครอง-ตักเตือน - ทําทันฑบน - พักการเรียน 7. การแตงกายผิดระเบียบ 3 ครั้ง มีโทษดังนี้ -ตัดคะแนนจิตพิสัยในรายวิชาในวันนั้น 8. การหนีเรียนมีโทษดังนี้ - ตักเตือน -ทําทันฑบน -พักการเรียน 9. ทําลายทรัพยสินภายในและนอกสถานศึกษา มีโทษดังนี้ -พักการเรียน 7-15 วัน *หมายเหตุ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเสียหายที่เกิดขึ้นและผลของการกระทําในขอนั้น

ระเบียบทั่วไป การมาวิทยาลัย

นักศึกษารอบเชาทุกคนมาตามเวลาที่ ร.ร.กําหนด เวลา 08.00 พิธเี ขาแถวเคารพธงชาติ และประกอบพิธกี รรม ทางศาสนา นักศึกษาที่มาหลังประกอบพิธีเชิญเคารพธงชาติแลวนับวามาสาย

การกลับบาน

นักศึกษาทุกคนตองรีบกลับบานโดยไมมกี ารออกนอกเสนทางและตองแตงกายใหเรียบรอยตลอดเสนทางจนถึง ที่พัก และไมแสดงพฤติกรรมใดๆ หรือกระทําอื่นใดที่ไมเหมาะสมกับสภาพของการเปนนักศึกษา

การแตงกาย

นักศึกษาตองแตงกายใหถูกระเบียบตามที่วิทยาลัยกําหนดไว ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

93


การเลนการพนัน

หามนักศึกษา เลนการพนันทุกชนิด ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา

การกอการทะเลาะวิวาท

หามนักศึกษา กอการทะเลาะวิวาท หรือแสดงพฤติกรรมยั่วยุใหกอการ หรือมีผลใหเกิดการทะเลาะวิวาท รวม ทั้งหาม ทะเลาะวิวาทกับนักศึกษาตางสถาบันโดยเด็ดขาด

การมี หรือสารเสพติด หรืออาวุธ

หามนักศึกษา ครอบครองสิ่งเสพติดทุกชนิด รวมทั้งผูอยูในกลุมหรือจําหนายจายแจกสิ่งเสพติดทุกชนิด หาม พกพาอาวุธ ทุกชนิด ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา

การแสดงพฤติกรรมที่ ไมเหมาะสมตอครู-อาจารย ผูบริหารและบุคลากรอื่นๆ

หามแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมกับสภาพของการเปนนักศึกษา ทั้งกายวาจา หรือแสดงกิริยากาวราว ไมเหมาะสมอื่นๆ

94


ขั้นตอนการพิจารณาลงโทษ ตามความผิดของนักศึกษา การหนีเรียน และการออกนอกบริเวณวิทยาลัย

นักศึกษาที่มีประสงคจะออกนอกบริเวณวิทยาลัยตองไดรับอนุญาตจากฝายกิจการนักศึกษาทุกครั้ง

การพิจารณาโทษ

จากพฤติกรรมดังกลาว หากนักศึกษาฝาฝน หรือปฏิบตั ผิ ดิ ระเบียบขอหนึง่ ขอใด จะถูกพิจารณาโทษตามลําดับ

ขั้นตอนตามความเหมาะสมตอไป

1. ตักเตือน ทําหนังสือสัญญา ทําหนังสือทัณฑบน เชิญผูปกครอง

1.1 ไวหนวดเครา ผมยาวผิดระเบียบ 1.2 ใสตางหู หรือเครื่องประดับอื่นๆ ที่วิทยาลัยประกาศหาม 1.3 แตงกายผิดระเบียบของวิทยาลัย 1.4 หนีเรียน ไมตั้งใจ กอความรําคาญใหผูอื่น ทําใหขาดสมาธิในการเรียน 1.5 แตงเครื่องแบบนักศึกษาเขาไปในสถานที่ไมเหมาะสมกับสภาพนักศึกษา 1.6 บังคับ ขมขู หรือชักชวนนักศึกษาใหกระทําความผิดระเบียบขอบังคับของสถานศึกษา 1.7 นําวัสดุหรือเครื่องมือออกนอกหองปฏิบัติการ โดยไมไดรับอนุญาต จากครู-อาจารย 1.8 ปกปดความผิดของเพื่อนนักศึกษา หรือนําบุคคลภายนอกเขามาในสถานศึกษาอันจะนํามาซึ่งความเสีย หายแกสถานศึกษา 1.9 ประมาทเลินเลอจนทําใหเกิดความเสียหายแกสถานศึกษา เพื่อนนักศึกษา และบุคลากรในสถานศึกษา 1.10 มาวิทยาลัยสายโดยไมมีเหตุอันสมควร

95


2. พักการเรียน เขียนใบลาออกไว

2.1 ชักนํา ยั่วยุ สงเสริม หรือกระทําการใดๆ เพื่อกอใหเกิดความเสียหาย ความไมสงบ เรียบรอย รวมถึงการปลุก ระดม อันกอใหเกิดความเสียหายตอชื่อเสียงของสถานศึกษา หรือกอใหเกิดความแตกแยกในหมูคณะ 2.2 ทุจริตในการสอบ หรือสอเจตนาทุจริตในการสอบ 2.3 แสดงกิริยาอาการกระดางกระเดื่องตอครู-อาจารย หรือมีพฤติกรรมที่ไมเคารพตอสถานศึกษาของตนเองทั้ง ภายในและนอกสถานศึกษา 2.4 สูบบุหรี่ทั้งภายในและนอกสถานศึกษาในขณะแตงเครื่องแบบนักศึกษา 2.5 นําสุราเครื่องดื่มของมึนเมาหรือดื่มสุราของมึนเมา ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา 2.6 ลักทรัพยของผูอื่น หรือของสถานศึกษา 2.7 ทําการขีด เขียน พนสี ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา รวมถึงที่สาธารณประโยชน หรือการปดปายแจกเอกสาร ภาพถายที่ยั่วยุ ใหเกิดเหตุทะเลาะวิวาท 2.8 นําหรือทําเอกสาร ภาพถายที่เขาขายลามกอนาจาร หรือบอนทําลายศีลธรรมอันดี รวมถึงการมีความผิดทาง เพศที่กอใหเกิด ความเสียหายตอชื่อเสียงของสถานศึกษา และเสื่อมเสียทางศีลธรรม

3. คัดชื่อออก ใหออก หรือไลออก

3.1 เจตนากอการทะเลาะวิวาท หรือทํารายรางกายนักศึกษาสถาบันอื่น 3.2 เสพหรือนําสิ่งเสพติดทุกชนิดเขามาในสถานศึกษา เชน เฮโรอีน ฝน กัญชา ยาบา ฯลฯ รวมถึงการจําหนาย สิ่งเสพติดทุกชนิด 3.3 ลักลอบเลนการพนันทุกชนิด หรือเปนที่แนชัดวาเปนนักเลงการพนัน 3.4 พกพาอาวุธ วัตถุระเบิด ทั้งในและนอกสถานศึกษา

96


นโยบายการติดตามนักศึกษาขาดเรียน ดวยวิทยาลัยไดกาํ หนดนโยบายในการติดตามการมาเรียน มาสาย และขาดเรียน พรอมทัง้ ใหดาํ เนินการตาม นโยบายอยางสมํ่าเสมอ คือ 1. ฝายกิจการนักศึกษาจัดทําทะเบียนประวัติขอมูลของนักศึกษาเปนรายบุคคล มีรายละเอียดขอมูลทั่วๆ ไป พรอมที่อยูอาศัยและเบอรโทรศัพทบาน โทรศัพทเคลื่อนที่ของผูปกครองและของนักศึกษา 2. อาจารยที่ปรึกษามีประวัติของนักศึกษาทุกชั้นป 3. กําหนดแนวปฏิบัติพรอมทั้งบทลงโทษของนักศึกษาในคูมือนักศึกษา 4. อาจารยที่ปรึกษาสํารวจนักศึกษาขณะเขาแถวตอนเชาทุกวัน และหากนักศึกษายังไมมาวิทยาลัยภายใน เวลา 10.00 น. อาจารยที่ปรึกษาตองโทรศัพทแจงผูปกครองทราบทันที 5. หากนักศึกษา ขาดเรียน 1 วัน โดยไมทราบสาเหตุ อาจารยที่ปรึกษาตองโทรศัพทสอบถามสาเหตุจาก ผูปกครองพรอมทั้งสงจดหมายแจงผูปกครองทราบ 6. หากนักศึกษา ขาดเรียนติดตอกัน 3 วัน อาจารยที่ปรึกษาตองติดตามไปประสานหรือไปพบ หรือเชิญ ผูปกครองมาพบเพื่อใหทราบสาเหตุการขาดเรียนพรอมทั้งสงจดหมายลงทะเบียนแจงผูปกครองทราบ 7. หากนักศึกษา ขาดเรียนเกิน 7 วัน อาจารยทปี่ รึกษาตองสงจดหมายลงทะเบียนแจงผูป กครองเพือ่ ประสาน เรื่องการเรียนตอไป

97


98


ระเบียบวาดวยการแตงกาย

99


100


ระเบียบวาดวยการแตงกายของ นักศึกษา ระดับ ปวช. ทรงผม

นักศึกษาชาย

ตัดแบบรองทรงสูง ไมมีจอน และหนวดเครา ผมดานหนายาวไมเกินคิ้ว เสือ้ เชิต้ ดานใน ผาสีขาวเนื้อตามแบบของวิทยาลัย แขนสั้น คอเชิ้ต ผาอกตลอดมีกระเปาดานซาย 1 ใบ ปกเสื้อ ไมมีรังดุม ดาน หลังไมมีสาบ ไมตีเกล็ด ไมเขารูป เสือ้ สูท สีกรมทา ตามแบบที่วิทยาลัยกําหนดและติด เข็มของวิทยาลัยที่ปกเสื้อดานซาย เนคไท สีกรมทา ตามแบบของวิทยาลัยกําหนดและ ติดกลัดของวิทยาลัย ผาเนื้อเรียบ สีกรมทา ขายาวทรงสุภาพ กางเกง จีบหนาดานละ 2 จีบ กระเปาตามตะเข็บขางละใบ ดานหลังเจาะกระเปาไมมีฝาดานขวา 1 ใบ กางเกง มีหูรัดเข็มขัด 6 หู เข็มขัด หนังสีดํา ไมมีลวดลาย หัวเข็มขัด ตามแบบ ของวิทยาลัย ถุงเทา ไนลอน สีดํา ไมมีลวดลาย รองเทา หนังสีดํา ไมมีลวดลาย หุมสน ไมหุมหรือรัดขอ

ทรงผม

นักศึกษาหญิง

หากไวผมยาว ใหรวบผมอยางเรียบรอย โดย ใชอุปกรณรัดผมสีไมฉูดฉาด หาม ตัดผมรองทรงเหมือนผูชาย, ยอมสีผม ซอยผม และใสเครื่องประดับทุกชนิด เสือ้ เชิต้ ดานใน ผาสีขาวเนื้อตามแบบของวิทยาลัยคอเชิ้ต ปลายแขนปลอย ผาอกตลอด ไมมีสาบ ไมมีกระเปา ติดกระดุมโลหะของวิทยาลัย เสือ้ สูท สีกรมทา ตามแบบทีว่ ทิ ยาลัยเทานัน้ และติดเข็ม ของวิทยาลัยทีป่ กเสือ้ ดานซาย กระโปรง สีกรมทา ความยาวใหอยูใ นระดับหัวเขา ดาน หลังทวิช 1 ชัน้ โดยใชทรงสอบและไมรดั รูป โบว ใหใชของวิทยาลัยเทานัน้ เข็มขัด หัวเข็มขัดตามแบบของวิทยาลัย และสายเข็มขัดเปน หนังสัดาํ ไมมลี วดลาย รองเทา คัตชูหนังสีดาํ ไมมลี วดลาย หุม สน สนสูง 1 นิว้ -11/2 นิว้

101


102


ระเบียบวาดวยการแตงกายของ นักศึกษา ระดับ ปวส. ทรงผม

นักศึกษาชาย

ตัดแบบรองทรงสุภาพ ไมมจี อน และหนวดเครา ผมดานหนายาวไมเกินคิ้ว เสือ้ เชิต้ ดานใน ผาสีขาวเนื้อตามแบบของวิทยาลัย แขนสั้น คอเชิ้ต ผาอกตลอดมีกระเปาดานซาย 1 ใบ ปกเสื้อ ไมมีรังดุม เสือ้ สูท สีเทาเขมตามแบบที่วิทยาลัยกําหนดเทานั้น และติดเข็มของวิทยาลัยที่ปกเสื้อดานซาย เนคไท สีเทาเขมตามแบบที่วิทยาลัยกําหนดเทานั้น และติดกลัดของวิทยาลัย กางเกง ผาเนื้อเรียบ สีเทาเขม ขายาวทรงสุภาพ จีบหนาดานละ 2 จีบ กระเปาตามตะเข็บขางละใบ ดานหลังเจาะกระเปาไมมีฝาดานขวา 1 ใบ กางเกงมีหูรัดเข็มขัด 6 หู (หาม ผายีนส ผาเวสปอยส ทุกชนิด) เข็มขัด หนังสีดํา ไมมีลวดลาย หัวเข็มขัด ตามแบบ ของวิทยาลัย ถุงเทา ไนลอน สีดํา ไมมีลวดลาย รองเทา หนังสีดํา ไมมีลวดลาย หุมสน ไมหุมหรือรัดขอ

ทรงผม

นักศึกษาหญิง

หากไวผมยาว ใหรวบผมอยางเรียบรอย ที่รัดผมใหใชสีสุภาพ หาม ตัดผมรองทรงเหมือนผูช าย, ยอมสีผม ซอยผม และใสเครื่องประดับทุกชนิด เสือ้ เชิต้ ดานใน ผาสีขาวตามแบบของวิทยาลัย ไมมีลวดลาย แขนยาว คอเชิ้ต ผาอกตลอด ไมมีสาบ ไมเขารูป ดานหลังไมมีไมมีสาบ ปลายแขนจีบหนา 2 จีบ เสือ้ สูท สีเทาเขม ตามแบบทีว่ ทิ ยาลัยเทานัน้ ติดเข็มของวิทยาลัย เนคไท สีเทาเขมตามแบบที่วิทยาลัยกําหนดเทานั้น และติดกลัดของวิทยาลัย กระโปรง สีเดียวกับสูท ยาวระดับหัวเขาทรงเอ ไมรดั รูป เข็มขัด หนังสีดํา ไมมีลวดลาย หัวเข็มขัด ตามแบบ ของวิทยาลัย รองเทา คัตชูหนังสีดํา ไมมีลวดลาย หุมสน สนสูง 1 นิ้ว-11/2 นิ้ว

นักศึกษา ปวช. ปวส รอบบาย การแตงกายชุดฟอรม ที่วิทยาลัย ที่กําหนด (หาม ใสเสื้อยืด กางเกงยีนส รองเทาแตะ)

103


การใชเครื่องแบบชุดพลศึกษา เสื้อ

ปวช. เสื้อสีชมพู ปก-ขอบแขนสีเทา เดินเสนสีเทา ปกเครื่องหมายที่หนาอกดานซาย ปวส. เสื้อสีฟา ปก-ขอบแขนสีนํ้าเงิน เดินเสนสีเทา ปกเครื่องหมายที่หนาอกดานซาย กางเกง ทั้งปวช. และ ปวส. ผายืดสีดํา มีแถบขาวที่ปากกระเปาและปกคําวาThai-Tech รอบขอบกระเปา รองเทา รองเทาผาใบสีขาว ไมมีลวดลาย ถุงเทา ถุงเทาในลอนสีขาว ไมมีลวดลาย หมายเหตุ : ทุกระดับชั้น แตงชุดพลศึกษา วันพุธ หรือวันที่มีคาบเรียนพลศึกษาตามตารางเรียนนั้น

104


ก.08

คํารองลาปวย - กิจ เรื่อง  ลาปวย ลากิจ  ลากลับบาน (ลาปวย)  ลากลับบาน (ลากิจ) เรียน อาจารยประจําวิชา/อาจารยที่ปรึกษา……………………………………………………………. สิ่งที่สงมาดวย

ใบรับรองแพทย (ถามี) สําเนาบัตรประชาชนผูปกครอง 1 ฉบับ

จดหมายลาผูปกครอง (ถามี) อื่นๆ………………………………

วันที่………. เดือน………………… พ.ศ. …………… ขาพเจา  นาย นางสาว  นาง……………………..ระดับชั้น………..หอง………/……..รอบ………รหัสประจําตัว…………..มีความ ประสงคขอลาเนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………………… ตั้งแตวันที่……….เดือน……………………..พ.ศ. ……………ถึงวันที่………..เดือน………………………พ.ศ. ……………….. จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

ลงชื่อ …………………………………. นักศึกษา (…………………………………….)

 อนุญาติ  ไมอนุญาติ

ลงชื่อ ………………………………. ผูปกครอง (……………………………………………..) โทร……………………………………………………..

 อนุญาติ  ไมอนุญาติ

ลงชื่อ ……………………………….. อาจารยที่ปรึกษา …………/…………/………….

ลงชื่อ ……………………………….. ฝายกิจการนักศึกษา …………/…………/………….

อาจารยประจําวิชาเซ็นรับทราบ เมื่ออาจารยที่ปรึกษาเซ็นอนุญาตแลว วันท

วิชา

ลายเซ็นอาจารยประจําวิชา

วันท

วิชา

ลายเซ็นอาจารยประจําวิชา

หมายเหตุ 1. การลาทุกกรณี ไมไดใหเวลาเรียนถือวาขาดเรียน จะไปรวมในเวลาเรียน 20% ทุกรายวิชาที่นักศึกษามีสิทธิขาดได แตใบลานี้จะมีประโยชนกับนักเรียน นักศึกษาหมด สิทธิ์สอบในรายวิชาใดก็ตาม ใหนักศึกษายื่นคํารองตอฝายวิชาการ ฝายวิชาการจะพิจารณาตามแตกรณี 2. อาจารยประจําวิชาเซ็นรับทราบการลา 3. อาจารยที่ปรึกษาเก็บใบลาไวเปนหลักฐานพรอมสรุปลาในใบประจําเดือน

105


ระเบียบการรับสมัครนักศึกษาวิชาทหาร 1. คุณลักษณะของผูสมัครเปน นศท. ชั้นปที่ 1

1.1 เปนชายหรือหญิงมีสัญชาติไทย 1.2 อายไมเกิน 22 ปบริบูรณ นับตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร สําหรับผูที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตอง ไดรับความยินยอมจาก บิดา มารดา หรือผูปกครอง 1.3 ไมพกิ าร ทุพพลภาพ หรือมีโรค ซึง่ ไมสามารถจะรับราชการได ตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 1.4 ไมเปนบุคคล ซึง่ ไมมคี ณ ุ วุฒทิ จี่ ะเปนทหารไดเฉพาะบางทองที่ ตามกฎหมายทีอ่ อกตามความในมาตรา 13 (3) แหงพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 1.5 มีนํ้าหนัก ขนาดรอบตัว ขนาดสวนสูง ตามสวนสัมพันธ ดังนี้ ชาย อายุ/ป ไมเกิน 15 16 17 18 19-22

ความขยายของอก (ซม.)

หญิง

หายใจเขา

หายใจออก

นํ้าหนัก กก.

75 76 77 78 80

72 73 74 75 77

42 44 46 48 50

ความสูง ซม.

นํ้าหนัก กก.

ความสูง ซม.

152 154 156 158 160

41 42 43 44 45

148 149 150 151 152

1.6 มีความประพฤติเรียบรอย 1.7 ไมเปนทหารประจําการ กองประจําการ หรือถูกกําหนดตัวเขากองประจําการแลว 106


2. คุณสมบัติของผูสมัครเปน นศท. ชั้นปที่ 1 2.1 กําลังศึกษาอยูในสถานศึกษาที่หนวยบัญชีการกําลังสํารอง เปดทําการฝกวิชาทหาร 2.2 สําเร็จการศึกษาตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หรือเทียบเทาขึ้นไปและมีผลการศึกษาของชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 หรือเทียบเทา ตั้งแต 1.0 ขึ้นไป

3. เงื่อนไขบังคับตองปฏิบัติตามระเบียบ หนวยบัญชาการกําลังสํารอง ดังตอไปนี้ 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6

ตองสมัครและรายงานตัวจึงจะเขารับการฝกได ตองชําระเงินบํารุงเพื่อสงเสริมการฝกวิชาทหาร ตองไวทรงผมตามระเบียบ หนวยบัญชาการกําลังสํารอง ความยาวดานหนาไมเกิน 7 ซม. ตองแตงกายตามระเบียบฯ ที่กําหนด ตองเชื่อฟงและปฏิบัติตาม คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับ โดยเครงครัด ผูสมัครใหมชั้นปที่ 1 (ชาย/หญิง) ตองผานการทดสอบสมรรถภาพรางกายตามระเบียบฯ ที่กําหนด ดังนี้

ลําดับ

การทดสอบ

1 2 3

ลุก-นั่ง ดันพื้น วิ่ง

ชาย จํานวน เวลา 34 ครั้ง 2 นาที 22 ครั้ง 2 นาที 800 เมตร 3 นาที 15 วินาที

หญิง จํานวน 20 ครั้ง 10 ครั้ง 800 เมตร

เวลา 2 นาที 2 นาที 5 นาที

107


4. หลักฐานการสมัครเปน นศท.ชั้นปที่ 1

4.1 ใบสมัคร (ทบ. 349-001) ติดรูปถาย 3 x 4 ซม. กรอกขอความในชองของผูสมัครใหครบถวน ถูกตอง ชัดเจนโดยมีหัวหนาสถานศึกษา และบิดา มารดา หรือผูปกครอง ลงนามใหคํายินยอมใหเรียบรอย 4.2 หนังสือเงือ่ นไขประกอบการสมัครเปน นศท. และหนังสือใหคาํ ยินยอมของผูป กครอง จะตองเปน ผูป กครอง คนเดียวกันกับผูปกครองที่ลงนามในใบสมัคร 4.3 สําเนาทะเบียนบาน เฉพาะผูสมัครจํานวน 1 ฉบับ 4.4 หลักฐานการศึกษา รบ. 1 ต. ผูส มัครจะตองถายใบ รบ.1ต. จากตนฉบับจริงของสถานศึกษาทีต่ นไดสมัคร เขารับการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 หรือ ปวช. ป 1 ลงนามรับรองการถายสําเนาเอกสารและรับรองคะแนนเฉลี่ย โดยหัวหนาสถานศึกษา หรือนายทะเบียน หรือผูทที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสถานศึกษาปจจบัน จงจะถือวาเปน เอกสารที่ถูกตอง 4.5 ใบรับรองการตรวจรางกาย ออกใหโดยแพทยปริญญาผูจดทะเบียนประกอบโรคศิลปแผนปจจุบันชั้น 1 สาขาเวชกรรม จากโรงพยาบาลของรัฐ หรือโรงพยาบาลเอกชนทีร่ ฐั บาลรับรองหรือหนวยตรวจโรคของทหารตัง้ แต ระดับกรมขึ้นไป หรือสถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) ตามแบบที่หนวยบัญชาการกําลังสํารองกําหนด 4.6 ใบขอผอนผัน

5. หลักฐานการรายงานตัว นศท.ชั้นปที่ 2, 3, 4 และ 5

5.1 ซํ้าชั้น เลื่อนชั้น สถานศึกษาเดิม 5.1.1 ใบรายงานตัว รด.2 (สีขาว) 5.1.2 หนังสือรอรับสิทธิ์ 5.2 ซํ้าชั้น เลื่อนชั้น โอนยายสถานศึกษา 5.2.1 ใชใบรายงานตัว รด.3 (สีเขียว) 5.2.2 หนังสือรับรองการฝก ซึ่งออกโดยศูนยการกําลังสํารอง หรือศูนยการฝก นศท. มทบ./หนวยฝก นศท. จทบ. 5.2.3 หนังสือรอรับสิทธิ์

108


5.3 ซํ้าชั้น เลื่อนชั้น ไมสังกัดสถานศึกษา (เฉพาะ นศท. ชั้นปที่ 4 และ 5) 5.3.1 ใชใบรายงานตัว รด.2 (สีขาว) 5.3.2 หลักฐานสําเร็จการศึกษา ตั้งแตระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทาขึ้นไป 5.3.3 หลักฐานการสําเร็จการฝกวิชาทหาร ชั้นปที่ 3 หรือชั้นปที่ 4

6.การปฏิบัติของผูสมัครเปน นศท. ชั้นปที่ 3 ตองปฏิบัติตั้งแตสถานนีที่ 1-7 ดังนี้

- สถานีที่ 1 กําหนดสาย - สถานีที่ 2 ตรวจหลักฐาน - สถานีที่ 3 ตรวจรางกาย - สถานีที่ 4 ทดสอบสมรรถภาพรางกาย - สถานีที่ 5 ชําระเงินบํารุง/รับคูมือ นศท. - สถานีที่ 6 เก็บหลักฐาน - สถานีที่ 7 ถายรูป/ทําบัตรประจําตัว นศท. นศท.ชั้นปที่ 1 (ซํ้าชั้น) ใหสถานศึกษาทําบัญชีแยกจากบัญชีผูสมัครใหม ใชบัญชีรายชื่อแบบรายงานตัว และ ตอง ปฏิบัติในการรายงานตัวดังนี้ - สถานีที่ 1 กําหนดสาย - สถานีที่ 2 ตรวจหลักฐาน - สถานีที่ 5 ชําระเงินบํารุง/รับคูมือ นศท. - สถานีที่ 6 เก็บหลักฐาน

7.การปฏิบัติของผูรายงานตัวซํ้าชั้น เลื่อนขั้น และโอนยายสถานศึกษา (ชั้นปที่2-5) ปฏิบัติเฉพาะ - สถานีที่ 1 กําหนดสาย - สถานีที่ 2 ตรวจหลักฐาน - สถานีที่ 5 ชําระเงินบํารุง/รับคูมือ นศท. - สถานีที่ 6 เก็บหลักฐาน

109


8. การชําระเงินบํารุง

8.1 นศท.ชั้นปที่ 1

8.2 นศท.ชั้นปที่ 2-3 8.3 นศท.ชั้นปที่ 4-5

9.การทําบัตรประจําตัว นศท.

ชําระเงินบํารุง คาทําบัตรประจําตัว นศท. รวมเปนเงินคนละ ชําระเงินบํารุง ไมตองชําระเงินบํารุง

650 30 680 650

บาท บาท บาท บาท

9.1 ผูสมัครใหม ชั้นปที่ 1 ตองทําบัตรประจําตัว นศท. ทุกคน 9.2 นศท. ชั้นปที่ 2-5 (โอนยายสถานศึกษามาจากสวนภูมิภาค) ตองทําบัตรประจําตัว นศท. ทุกคน 9.3 นศท.ชั้นปที่ 2-5 (ไมโอนยายสถานศึกษา) ไมตองทําบัตรประจําตัว นศท. เวนกรณีบัตรประจําตัว นศท. ชํารุด/สูญหาย

การเตรียมตัวของผูสมัครเปน นศท. ชั้นปที่ 1 1. การเตรียมหลักฐานของผูสมัคร 1.1 ใบสมัคร ติดรูปถายขนาด 3 x 4 ซม. กรอกขอความในชองที่ตองการใหครบถวน ถูกตองตามระเบียบ โดย มีหัวหนาสถานศึกษา วิชาทหารลงนามรับรอง และ บิดาหรือมารดา หรือผูปกครองลงนามใหคํายินยอมใหเรียบรอย กอนนําไปสมัคร 1.2 สําเนาทะเบียนบานของผูสมัคร จํานวน 1 ฉบับ 1.3 หลักฐานการศึกษา สําเนาระเบียนแสดงผลการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน (รบ.1ต) จํานวน 1 ฉบับ โดย มี หัวหนาสถานศึกษาหรือฝายวัดผลของสถานศึกษาปจจุบนั จะตองคัดคะแนนเฉลีย่ และลงนามรับรองสําเนาใหเรียบรอย 1.4 เงือ่ นไขประกอบการสมัคร บิดา มารดา หรอผูป กครอง จะตองกรอกขอความและลงนามใหคาํ ยินยอมให เรียบ รอย 110


1.5 ใบรับรองการตรวจรางกาย ออกโดยแพทยปริญญาผูจ ดทะเบียนประกอบโรคศิลปแผนปจจุบนั ชัน้ 1 สาขา เวชกรรม จากโรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชนที่รัฐบาลรับรอง หรือหนวยตรวจโรคของทหารตั้งแตระดับกรมขึ้นไป หรือสถานพยาบาลเอกชน ที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง 1.6 หลักฐานการขอผอนผัน (ถามี) 1.7 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (ถามี) 2. มีนํ้าหนัก ขนาดรอบตัว สวนสูง ตามสวนสัมพันธที่ กองทัพบก กําหนด 3. การทดสอบสมรรถภาพรางกาย สถานศกษาวิชาทหารควรมการทดสอบสมรรถภาพรางกายของผูที่จะ สมัครเพื่อใหเกิดความเคยชินและมีโอกาสปรับสภาพรางกายใหเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว ดังนี้ 3.1 ลุก-นั่ง 34 ครั้ง ภายในเวลา 2 นาที 3.2 ยึดพื้น 22 ครั้ง ภายในเวลา 2 นาที 3.3 วิ่งระยะทาง 800 เมตร ภายในเวลา 3 นาท 15 วินาท 4. การแตงกาย ผูสมัครเปน นศท. ชั้นปที่ 1 ชาย แตงเครื่องแบบของสถานศึกษา หญิง ชุดกีฬาของสถานศึกษา 5. ตองไวผมสั้น ทรงผมของผูสมัครใหมชั้นปที่ 1 (ตามระเบียบ นสร.) 6. กําหนดเวลาในการรับสมัครและรายงานตัว นศท. เพื่อปองกัน นักเรียน นักศึกษา และ นศท. ไป สมัคร และรายงานตัวไมทันอาจถูกขีดฆาชื่อผู ไมมาออกจากบัญชี โปรดไดแจงใหนักเรียน นักศึกษา นศท. ไปพรอม กอนถึง เวลาเขาที่รวมพล ประมาณ 30 นาที - รอบเชา รวมพลเวลา 07.30 นาิ กา และ 10.00 นาิ กา - รอบบาย ดําเนินการตั้งแตเวลา 12.15 นาิ กา หมายเหตุ : นักเรียน - นักศึกษาโปรดติดตามประกาศของฝายกิจการนักศึกษา

111


ระเบียบการขอผอนผันการเขารับราชการทหาร นักเรียน-นักศึกษา ที่ไมไดศึกษาวิชาทหาร เมื่ออาย 20 ปบริบูรณ (เกิดในป พ.ศ. ที่กําหนดไวในปที่จะตรวจ เลือก เขากองประจําการ) ขอใหเตรียมเอกสาร ดังตอไปนี้ 1. สําเนา สด.9 จํานวน 4 ฉบับ 2. สําเนา หมายเรียกเขารับราชการทหาร 4 ฉบับ 3. สําเนาบัตรประชาชน 4 ฉบับ 4. สําเนาหลักฐานอื่นๆ (ถามี) 4 ฉบับ - สําเนาการเปลี่ยนแปลงชื่อ-สกุล - สําเนาการเปลี่ยนแปลงที่อยู - สําเนาการเปลี่ยนแปลงภูมิลําเนาทหาร หมายเหตุ : ขอใหนักเรียน-นักศึกษา สงเอกสารที่ฝายกิจการนักศึกษาภายในภาคเรียนที่ 1 ของปการศึกษานั้น สําหรับ นักเรัยน-นักศึกษาที่สมัครเขาเรียนในชวงกลางภาคเรียน ขอใหติดตอฝายกิจการนักศึกษาหลังจากสมัคร เปนนักศึกษา เรียบรอยแลว ทันที

112


ระเบียบการขอจบการศึกษา ชุดเอกสารการขอจบการศึกษา 2 แผน

1. แผนที่ 1 เอกสารขอจบการศึกษา - กรอกใหครบทุกชอง - ในชองของ บิดา/มารดา ถาบุคคลใดบุคคลหนึ่งเสียชีวิตก็ตองกรอกชื่อ-นามสกุลดวย 2. แผนที่ 2 เอกสารใบคํารองขอเอกสารการศึกษา (กรุณาติดตอดวยตัวเอง) - กรอกใหครบไมเวนชองใดชองหนึ่ง - ใหขีดเครื่องหมายถูกลงในชองขอใบรับรองแลวกรอกรายละเอียดใหครบถวน 3. แผนที่ 3 ใหกรอกเอกสาร ชื่อ/ที่อยู ที่ติดตอได (กรอกใหชัดเจน)

ขอปฏิบัติในการขอจบการศึกษา ดังนี้

1. นักศึกษารับเอกสารคนละ 1 ชุด (ชุดละ 2 แผน) 2. นักศึกษากรอกเอกสารใหครบทุกชอง 3. เมือ่ กรอกเอกสารครบหมดเรียบรอยแลว ใหนกั ศึกษาเขียนเลขทีข่ องนักศึกษาบนหัวมุมบนกระดาษดานขวา ใหชัดเจน ครบหมดเรียบรอยแลว รวบรวมเอกสารทั้งหมดสงอาจารยที่ปรึกษา 4. ใชรูปถายชุดนักศึกษาที่ถูกระเบียบของโรงเรียน - ระดับปวช./ปวส. รอบเชา, รอบบาย, รอบคํ่า, รอบเสาร-อาทิตย ผูหญิงผมยาวใหรัดผม/ผมสั้นใหเปด ใหเห็นใบหนาใหเรียบรอย - ระดับ ปวส. รอบเชา, รอบบาย นักศึกษาหญิง/ชาย ผูกเนคไทใหติดคอ พรอมเข็มติดเนคไทของวิทยาลัย - รอบคํ่า/รอบเสาร-อาทตย นักศึกษาหญิง ใสเสื้อเชิ้ตสีขาวแขนสั้น ติดเข็ม, กระดุม, เข็มติดเนคไทของ วิทยาลัยใหครบ - รอบคํ่า/รอบเสาร-อาทิตย นักศึกษาชาย ใสเสื้อเชิ้ตสีขาวแขนยาว และเนคไทสีดํา/สีกรมทา ผูกเนคไท ใหติดคอตัดผมรองทรงสั้นเปดใหเห็นใบหนา ใหเรียบรอย - รูปถาย 1 นิ้ว จํานวน 4 ใบ เขียนชื่อ-นามสกุล ระดับชั้นหลังรูปทุกใบ พรอมคาธรรมเนียมคนละ 50 บาท - ถายรูปแบบธรรมดา (หามถายรูปดวนหรือโพลารอยด, รูปถายตูสติกเกอร) 5. กําหนดสงเอกสารภายในวันที่ 15 ธันวาคม หมายเหตุ กรอกเอกสารตัวบรรจงชัดเจนและปฏิบัติตามระเบียบของวิทยาลัยเพื่อประโยชนของตัวนักศึกษาเอง

113


ระเบียบคําการขอหนังสือรับรอง

1. ใหนักศึกษาเขียนคํารองขอหนังสือรับรอง เขียนดวยตัวบรรจง ถาม ยศ ตําแหนงของบดา มารดา ใหเขียนใหเต็ม 2. รูปถายขนาด 1 นิ้ว หามใสชุดพละ 1 รูป 3. ถานักศึกษาคนใดยังชําระคาเทอมไมครบ ทางโรงเรียนจะไมออกหนังสือรับรองให

ระเบียบคํารองขอใบแทนใบ รบ.

1. เขียนคํารองขอใบแทนใบ รบ. 2. ใบแจงความ รบ. หาย 3. รูปถายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป 4. คาใบแทนใบ รบ. 20 บาท

แนวปฏิบัติในการขอกูยืมเงิน กองทุนเงินใหกูยืมเพื่ิอการศึกษา 1.นักเรียน นักศึกษาที่มีสิทธิ์กูยืมได ตองเปนผูที่ศึกษาในระดับ 1.1 มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ 1.2 อุดมศึกษา ไมสูงกวาระดับปริญญาตรี

2. คุณสมบัติของนักเรียน นักศึกษาผูมีสิทธิกูยืม 2.1 รายไดของบิดามารดาและนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมรวมไมเกิน 200,000 บาท/ป หากผูใชอํานาจ ปกครองมิใชบดิ า มารดาใหถอื รายไดของผูป กครองแทนบิดา มารดา (ในกรณีมกี ารรับรองรายได ผูม สี ทิ ธิร์ บั รองราย ได ครอบครัวผูขอกูยืมเงิน คือ 114


- ขาราชการดํารงตําแหนงตั้งแตระดับ 5 ขึ้นไป หรือตําแหนงเทียบเทา หรือ - ผูบริหารสถาบันการศึกษาหรือผูปกครองทองถิ่นระดับผูใหญบานขึ้นไป 2.2 เปนผูมีสัญชาติไทย 2.3 ศึกษาที่สถาบันการศึกษาในประเทศไทย 2.4 ไมเคยเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาใดๆ 2.5 ไมเคยเปนผูทํางานประจําระหวางศึกษา 2.6 ไมเปนบุคคลลมละลาย 2.7 ในขณะกูยืมเงิน ตองไมเปนผู ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะกระทําความผิดอาญา กรณีนัก ศึกษาผูกูมีคูสมรสรายไดของครอบครัว หมายถึง รายไดของนักศึกษาผูกูยืมและคูสมรสรวมกัน 2.8 เปนผูมีการเรียนดี หรือเปนผูที่ผานการเกณฑตามระเบียบวาดวยการวัดผลและการประเมินผลการศึกษา 2.9 เปนผูท มี่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามระเบียบหรือการประกาศสอบคดีเลือกบุคคลเขาศึกษาในโรงเรียนสถานศึกษา หรือ สถาบันการศึกษาซึ่งอยูในสังกัด ควบคุมหรือกํากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงหรือสวนราชการอื่น รัฐวิสาหกิจ ยกเวนทบวงมหาวิทยาลัย

3. คาใชจายที่พึงกู ได

นักเรียน นักศึกษาผูขอกู จะกูเงินกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาไดเพราะคาใชจาย ดังตอไปนี้ 3.1 คาบํารุงการศึกษา คาเลาเรียน คาธรรมเนียมการศึกษา และคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาจายตามภาค หรือ ปการศึกษา ตามที่สถาบันการศึกษาเรียกเก็บ โดยจายเขาบัญชีของสถาบันการศึกษานั้น 3.2 คาใชจา ยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการศึกษา เชน หนังสือ ตํารา อุปกรณประกอบการเรียน นอกเหนือจาก 3.1 ใหจา ย เขาบัญชี ของนักเรียน นักศึกษาผูกูยืมเงิน 3.3 คาใชจายที่จําเปนในการครองชีพระหวางการเรียน 3.3.1 คาที่พักของสถาบันการศึกษา ซึ่งจะจายเขาบัญชีของสถาบันการศึกษานั้น 3.3.2 คาใชจายนอกเหนือจาก 3.3.1 ซึ่งจะจายเขาบัญชีของนักเรียน นักศึกษาผูกูยืมเงิน

115


ขอบเขตการใหกูยืมเงินเพื่อการศึกษา ในสวนที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด คาเลาเรียนและคาใชจาย เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา บาท/ราย/ป

คาครองชีพ บาท/ราย/ป

รวม บาท/ราย/ป

1. มัธยมศึกษาตอนปลาย

14,000

12,000

26,000

2. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3. ปวท./ปวส./อนุปริญญา 3.1 พาณิชยกรรมหรือบริหารธุรกิจ ศิลปะหัตกรรม หรอศิลปกรรม เกษตรกรรมหรือเกษตรศาสตร คหกรรมหรือคหกรรมศาสตร และ อุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว 3.2 ชางอุตสาหกรรมหรืออุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ทัศนศาสตร

21,000

15,000

36,000

25,000

24,000

49,000

30,000

20,000

50,000

60,000

24,000

84,000

60,000

24,000

84,000

70,000

24,000

84,000

70,000

24,000

94,000

80,000

24,000

104,000

150,000

24,000

174,000

ระดับการศึกษา

4. ปริญญาตรี 4.1 สังคมศาสตร ศิลปะศาสตร มนษยศาสตร ศึกษาศาสตร 4.2ศิลปกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร 4.3 วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4.4 เกษตรศาสตร 4.5 สาธารณสุขศาสตร พยาบาลศาสตร เภสัชศาสตร 4.6 แพทยศาสตร สัตวแพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร

116


หมายเหตุ 1. ระดับอนุปริญญา ใหใชวงเงินเดียวกับ ระดับ ปวช., ปวส. 2. วงเงินที่ใชกับนักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 2.1 สําหรับผูกูรายเกาที่กูตอเนื่อง 2.2 สําหรับผูกูรายใหม

4. ระยะเวลาที่กู

4.1 ผูกูรายเกา (ไมเปลี่ยนระดับการศึกษาและไมเปลี่ยนสถานศึกษา) - ยืนยันการลงทะเบียนผานระบบ e-Studentloan ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2552 - รับเงินคาครองชีพภายใน 30 วัน นับแตวันเปดภาคเรียน 4.2 ผูกูรายใหมและผูกูรายเกา (เปลี่ยนระดับการศึกษาหรือเปลี่ยนสถานศึกษา) - ลงทะเบียนขอรหัสผาน ตั้งแตเดือนมกราคม 2552 - รับเงินคาครองชีพ ภายใน 45 วัน นับแตวันเปดภาคเรียน

5. ระยะเวลาที่ขอกู

ผูขอกู กู ไดทุกปตั้งแตเริ่มเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทั้งสายสามัญและสายอาชีวะ) จนกระทั้งเรียนจบ ปริญญาตรี โดยตองทําสัญญากูปตอป

6. เอกสาร/หลักฐาน ประกอบการพิจารณาขอกู

6.1 รูปถายของผูยื่นของกู ขนาด 2 นิ้ว จํานวน 1 รูป 6.2 สําเนาทะเบียนบาน 6.3 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และสําเนาบัตรประจําตัวผูเสียภาษีของ - ผูยื่นคําขอกู - บิดา/มารดา หรือผูปกครอง/ผูอุปการะ - ผูรับรองรายได 6.4 หนังสือรับรองเงินเดือนของบิดา/มารดา หรือผูปกครอง/ผูอุปการะ หรือ 6.5 หนังสือรับรองรายไดและฐานะของบิดา/มารดา หรือผูปกครอง/ผูอุปการะ 6.6 หนังสือแสดงความคิดเห็นของอาจารยแนะแนว หรือทําหนาที่ปรึกษา 6.7 แผนผังที่ตั้งที่อยูอาศัยของบิดา/มารดา หรือผูปกครอง/ผูอุปการะ 6.8 ใบแสดงผลการศึกษา ในปการศึกษาที่ผานมา

หมายเหตุ ถามีหลักฐานตาม 6.4 แลว ไมตองมีหลักฐานตาม 6.5

117


7. วิธีการขอกู

- นักศึกษาเขา Internet www.studentloan.or.th

8. หามปดบัญชีเงินฝาก

บัญชีเงินฝากกองทุนฯ จะปดไดตอเมื่อผูกูชําระหนี้หมดยกเวนกรณีที่เปดบัญชีเงินฝากออมทรัพยกองทุนฯ เลมใหมแลว

9.เอกสารที่ตองการใชในการแนบสัญญากูฯ สงธนาคาร

ทุกครัง้ ทีท่ าํ สัญญาฯ ตองแนบสําเนาสมุดคูฝ ากเงินออมทรัพยทเี่ ปดกับธนาคารกรุงไทยฯ สําเนาทะเบียนบาน ที่มีหมายเลขบัตรประจําตัวประชาชนหรือสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูกูยืมเงิน

10. สิ่งที่ตองปฏิบัติของผูกู

10.1 เมื่อยื่นกูตองเขียนสัญญากูใหครบถวน หากไมเขาใจตองปรึกษาครูอาจารยที่รับผิดชอบ การใหกู หรือ เจาหนาที่ธนาคารกรุงไทยฯ สาขาใกลบาน 10.2 เก็บเอกสารสัญญากูคูฉบับไวที่ตนเองทุกฉบับจนกวาจะใชคืนเงินกูใหเรียบรอย 10.3 เมื่อไดรับอนุมัติการใหกูแลว ธนาคารฯ จะนําเงินเขาบัญชีเปนรายเดือน ทุกวันเกิดเของผูกูยืม 10.4 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่อยู ยายสถานศึกษา หรือจบการศึกษา จะตองแจงการเปลี่ยนแปลงที่อยู ยาย สถาน ศึกษา หรือจบการศึกษาตอธนาคารฯ ภายใน 15 วัน วันที่เปลี่ยนแปลงหรือจบการศึกษา โดยติดตอขอแบบ รายงาน ไดที่สถานศึกษา 11. ทําอยางไรเมื่อไดรับเงินเขา 11.1 ผูกูยืมเงินติดตอสถานศึกษา แจงใหทราบวายังไมไดรับการโอนเงินในขณะที่ผูกูยืมเงินรายอื่นไดรับเงิน เรียบรอยแลว 11.2 สถานศึกษารวบรวมรายชื่อผูกูยืมเงินทีไมไดรับเงิน โดยถายเอกสารใบนําสงและทะเบียนคุมสัญญาใน ชุดที่มี สัญญาของผูกูยืมเงินรายนั้นๆ แจงใหทางธนาคารกรุงไทยฯ ทราบทางโทรสารหมายเลข 0-2256-8756 เพื่อ ตรวจสอบ หาสาเหตุของผูกูแตละราย 11.3 ใหสถานศึกษาติดตอธนาคารกรุงไทยโดยดวน ภายในปการศึกษานั้นๆ

118


ปที่ชําระ

รอยละของเงินตน

ปที่ชําระ

รอยละของเงินตน

ปที่ชําระ

รอยละของเงินตน

ป ที่ 1 ป ที่ 2 ป ที่ 3 ป ที่ 4 ป ที่ 5

1.5 2.5 3.0 3.5 4.0

ปที่ 6 ปที่ 7 ปที่ 8 ปที่ 9 ปที่ 10

4.5 5.0 6.0 7.0 8.0

ปที่11 ปที่12 ปที่13 ปที่14 ปที่ 15

9.0 10.0 11.0 12.0 13.0

12. ระยะเวลาที่คืนเงินกู

เมื่อผูกูจบการศึกษาระดับสุดทายแลว 2 ป ตองใชคืนพรอมดอกเบี้ยรอยละ 1 ตอป ในระยะเวลา 15 ป ดังนี้

13. การชําระเงินกู

13.1 ผูก เู งินตองชําระเงินกูพ  รอมดอกเบีย้ คืนกองทุน ภายหลังวันที่ไดรบั อนุมตั ใิ หสาํ เร็จการศึกษา หรือมีคาํ สัง่ ใหพนสภาพการเปนนักเรียนหรือนักศึกษาแลว 2 ป โดยนําสัญญากูพรอมสมุดบัญชีเงินฝากไปติดตอผานธนาคาร กรุงไทยฯ ทุกสาขา 13.2 ตองชําระเงินกูใหเสร็จสิ้นภายในเวลา 15 ป นับแตวันที่เริ่มชําระ 13.3 นําเงินสงกองทุนเปนรายป ตามจํานวนที่ตองชําระในแตละปไมนอยกวาอัตราที่คณะกรรมการกองทุนเงิน ให กูยืมเพื่อการศึกษากําหนด 13.4 หากไมสามารถชําระหนีเ้ งินกูไดภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด แจงใหสาํ นักงานกองทุนเงินใหกยู มื เพือ่ การศึกษา กระทรวงการคลังทราบผานธนาคารฯ เพื่อพิจารณาผอนผันใหเปนรายๆ ไป 13.5 ผูกูยืมเงินจะชําระเงินกูยืมคืนกอนกําหนดก็ ได 13.6 ผูก ยู มื เงินจะบอกเลิกสัญญากูย มื เงินเมือ่ ใดก็ ได โดยแจงเปนตัวหนังสือใหสาํ นักงานกองทุนเงินใหกยู มื เพือ่ การศึกษา กระทรวงการคลังทราบผานธนาคารกรุงเทพฯ และตองสงเงินกูย มื ที่ไดรบั ไปแลวคนภายใน 30 วัน หรือ ภาย ในกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษากําหนด 13.7 การชําระหนี้เสร็จสิ้นเมื่อผูกูยืมสงเงินชําระหนี้หมดหรือผูกูเงินถึงแกความตาย 13.8 ในกรณีที่ผูกูยืมเงินกองทุนฯ เดินทางไปตางประเทศเปนเวลา 6 เดือนขึ้นไป จะตองชําระหนี้ทั้งหมดคืนกอง ทุนฯ กอนออกเดินทาง 119


14. การยกเลิกการใหกู

เมื่อปรากฏภายหลังวา 14.1 ผูกูยืมเงินไมมีสิทธิกูยืมเงิน หรือไดมีการแจงขอความอันเปนเท็จในสาระสําคัญ 14.2 ผูกูยืมเงินไมปฏิบัติตามสัญญาหรือขอตกลงที่ให ไวกับกองทุนฯ

15. กรณีผูกูยกเลิกการกู

ถาผูกูยกเลิกการกูยืมฯ แตยังศึกษาตอ ตองแจงสถานการณเปนนักเรียน/นักศึกษาใหธนาคารทราบทุกป ถาไม แจงหลังจากยกเลิกการกูแลว 2 ป ธนาคารจะติดตามหนี้ชําระเงินกองทุนฯ 16. การเปลี่ยนสัญญากูกรณีผูกูยายสถานศึกษา กรณียายสถานศึกษาและทําสัญญากู ไวแลวเมื่อตองการกูในสถานแหงใหมจะทําไมไดเนื่องจากเปนการกูครั้งที่ 2 ในปเดียวกัน เวนแต 16.1 ผูกูยืมเงินตองบอกเลิกสัญญากูยืมที่ลงนามไวกับสถานศึกษาเดิมกอน โดยใหสถานศึกษาแจงการพนสภาพ เปนนักเรียน/นักศึกษา และใหนักเรียน/นักศึกษาแจงยกเลิกสัญญาฉบับเดิมตามแบบคําขอที่กาหนดที่สงใหธนาคาร ทราบ โดยผานสาขาธนาคารกรุงไทยฯ ที่สถานศึกษาไดเปดบัญชีไว 16.2 ผูกูยืมตองชําระคืนเงินกูทั้งหมดที่ไดรับไปตามสัญญากูยืมเดิมที่ไดยกเลิกตามขอ 16.1 เฉพาะในปการศึกษา นั้น โดยชําระเขาบัญชีกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาบัญชีที่ 3 ผานสาขาของธนาคารกรุงไทยฯ ทุกสาขา 16.3 บัญชีเงินฝากออมทรัพยเดิมของผูกูยืมสําหรับการรับโอนเงินกูเขาบัญชียังสามารถใช ได กรณีไมสะดวกผูกู ยืมสามารถขอเปดบัญชีใหมแลวให ไปปดบัญชีเดิมดวย เมื่อผูกูยืมดําเนินการตามขอ 16.1-16.3 เรียบรอยแลว จึงจะสามารถแจงความประสงคขอกูยืมและจัดทําสัญญากู ยืมกับสถานศึกษาใหมได

17. การปดบัญชีผูกูยืมโครงการกองทุนฯ

กรณีนักเรียน/นักศึกษายายสถานศึกษาใหมซึ่งอยูคนละจังหวัดและไมสะดวกที่จะใชบัญชีสาขาเดิมสามารถดําเนิน การไดโดย 17.1 นักเรียน/นักศึกษา นําเอกสารการอนุมัติกูยืมไปขอเปดบัญชี ณ สาขาที่ตองการเปดบัญชีใหม 17.2 นักเรียน/นักศึกษา นําสมุดเงินฝากเลมใหมมาเปนหลักฐานใหสาขาเดิมปดบัญชี หามปดบัญชีผูกูโครงการกองทุนฯ ในขณะที่นักเรียน/นักศึกษามีสถานะเปนหนี้กับกองทุนอยู

120


ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับกองทุนเงินใหยืมเพื่อการศึกษา

นักเรียน นิสิต นักศึกษาผูกูยืม สถานศึกษา ประชาชนทั่วไป ประสงคขอทราบ รายละเอียด เกี่ยวกับกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา ติดตอสอบถามไดที่ สํานักงานกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา “สายตรง กยศ. โทรศัพท (02) 610-4888 หรือ โทร.1597 สายดวน กยศ. www.studentloan.or.th ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) “Help Desk” โทรศัพท (02) 208-8699 E-mail : gsl@ktb.co.th www.studentloan.or.th 121


เงินประกันอุบัติเหตุ เอกสารการเรียกรองสินไหมทดแทนผานสถานศึกษา

กรณี เรียกรองสินไหมคารักษาพยาบาล

ตนฉบับ ใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาล ใบรับรองแพทย ระบุถึงสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ, อาการ, สําเนาบัตรนักศึกษา, ประวัติการรักษา กรณ ถูกลักลอบทําราย หรือถูกทํารายรางกาย

- สําเนาบันทึกประจําวัน (รับรองสําเนาถูกตองโดยเจาพนักงานเจาของคดี) - สําเนารายงานการสอบสวนในชั้นพนักงานสอบสวน (รับรองสําเนาถูกตองโดยเจาพนักงานเจาของคดี) - หนังสือรับรองความประพฤติจากสถานศึกษา

กรณี เรียกรองสินไหมทดแทนเนื่องจากสูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพ

ผูรับผลประโยชนกรอกรายละเอียดในแบบเรียกรองคาสินไหมทดแทน หนังสือรับรองการเปนผูเอาประกันโดยสถานศึกษาตนสังกัด หรือบัตรประจําตัวผูเอาประกันภัย ตนฉบับ ใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาล ภาพถาย พรอมเซ็นลายมือชื่อหลังภาพ ใบรับรองแพทยผูรักษา ที่ระบุถึงการสูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพ โดยละเอียด สําเนาบันทึกประจําวัน (รับรองสําเนาถูกตองโดยเจาพนักงานเจาของคดี)

กรณี เรียกรองสินไหมทดแทนเนื่องจากเสียชีวิต

แบบเรียกรองคาสินไหมทดแทน หนังสือรับรองการเปนผูเอาประกันโดยสถานศึกษาตนสังกัด หรือบัตรประจําตัวผูเอาประกันภัย สําเนาใบชันสูตรพลิกศพ สําเนาใบมรณะบัตร สําเนาบัตรประชาชน หรือสูติบัตรผูเสียชีวิต สําเนาทะเบียนบาน ที่มีการแจงตาย สําเนาบัตรประชาชน และสําเนาทะเบียนบานผูรับผลประโยชน (บิดา, มารดา) สําเนาบันทึกประจําวัน (รับรองสําเนาถูกตองโดยเจาพนักงานเจาของคดี) สําเนาผลตรวจระดับแอลกอฮอลในเลือด (กรณี สูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร) เอกสาร สําเนาทั้งหมดตองมีการลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองโดยผูรับผลประโยชน ซึ่งเปนเจาของเอกสาร

กรณี การเรียกรองคาสินไหมรักษาพยาบาลสวนทีเ่ หลือจากหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน สามารถกระทํา ได โดยใชเอกสารสําเนาใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาลตนฉบับ ที่มีการรับรองการจายเงิน (ระบุจํานวนเงินที่หนวย งาน นั้นรับผิดชอบ) เรียกรองคารักษาพยาบาลสวนที่เหลือจากบริษัทฯ เทานั้น 122


ขอยกเวนเพิ่มเติมที่มิ ไดระบุไวในกรมธรรม

การเคล็ดขัดยอก กลามเนือ ้ อักเสบ ปวดหลัง ปวดเอ็น รวมทัง้ อาการปวดตางๆ จากการเลนกีฬาทีม่ ไิ ดเกิดจาก

อุบัติเหตุ (ปจจัยภายนอก) เชน ลม หรือมีการกระทบกระทั่งขณะเลนกีฬา การยกของหนักหรือจากโรคประจําตัว การติดเชื้อที่มิไดสืบเนื่องจากอุบัติเหตุ การแพยา ลมพิษ อาหารเปนพิษ ความผิดพลาดในการรักษาของแพทย ทะเลาะวิวาท

การประกันภัยที่ให ไวตามสัญญาคุมครองนี้จะไมจายผลประโยชนสําหรับ

ใบรับรองแพทย บริการทางการแพทยอื่นๆ คาบริการโรงพยาบาล แพทยนิติเวช พยาบาลพิเศษ คาบํารุง หรือ คาบริจาค คาบัตร คาเวชระเบียน (ขอ 1.1.14(2)) บริการอื่นๆ หมายถึง คาใชจายอื่นๆ ที่มิไดเกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูปวยโดยตรง อาทิ โทรศัพท ไปรษณีย อาหารพิเศษ เครื่องใชพิเศษ ชุดรับใหม ชุดนอน รองเทา เปนตน (ขอ 2.6) คาอวัยวะเทียมทุกชนิด เชน ฟนปลอม ขาปลอม แขนเทียม เปนตน คารถพยาบาล ยานพาหนะ คาคนขับรถ คาใชจายในการสงตัวเมื่อเปลี่ยนสถานพยาบาล เวชภัณฑ 2 เชน ไมคํ้ายัน ผาพยุง อีลัคติก หรืออุปกรณใชนอกตัวผูปวย การรักษาฟน ตองเปนการรักษาฟนแทเบื้องตน ไมรวมการรักษาตอเนื่อง การรักษารากฟน การตอฟน การเปลี่ยน หรือใสฟนปลอม การครอบฟน ทันตกรรมประดิษฐ กรณี ใบเสร็จรับเงินตนฉบับหาย ตองแนบเอกสารเพิ่มเติม ดังนี้ - แบบเรียกรองคาสินไหมทดแทนกรณีใบเสร็จรับเงินตนฉบับสูญหาย - สําเนาบันทึกประจําวัน แจงใบเสร็จรับเงินหายระบุเลขที่ใบเสร็จ จํานวนเงิน จํานวนใบเสร็จ ชื่อสถานพยาบาล ชื่อ ผูเอาประกัน (รับรองสําเนาโดยรอยเวรที่รับแจง) - สําเนาใบเสร็จรับเงินจากสถานพยาบาลพรอมรับรองสําเนาโดยสถานพยาบาลเจาของใบเสร็จ

ฝายสงเสริมการศึกษาและบริการ ฝายสงเสริมการศึกษาและบริการ มีหนาที่ความรับผิดชอบงานตางๆ ดังตอไปนี้ 1. งานประชาสัมพันธ ขอบขายของงานประชาสัมพันธ มีดังตอไปนี้ 1.1 ใหบริการติดตอ-สอบถาม 1.2 ใหความสะดวกแกผูมาติดตอขอพบ อาจารย นักเรียน และบุคลากรของโรงเรียน 1.3 ใหการตอนรับและความสะดวกแกผูมาติดตอกับโรงเรียน 123


1.4 เพื่อประสานความสัมพันธอันดีระหวางชุมชนและโรงเรียน 1.5 จัดทําแผนการประชาสัมพันธ จัดทําสื่อประชาสัมพันธ เพื่อเผยแพรชื่อเสียงของโรงเรียน 2. งานการจัดหางาน ขอบขายของงานการจัดหางาน มีดังตอไปนี้ 2.1 บริการใหขาวสาร ขอมูล การประกอบอาชีพ 2.2 รวมมือกับสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน จัดนิทรรศการเผยแพรความรูเกี่ยวกับการศึกษาตอ และการ ประกอบอาชีพ 2.3 จัดนิทรรศการเผยแพรความรูทางอาชีพใหกับนักเรียน นักศึกษา 3. งานแนะแนวการศึกษา ขอบขายของงานแนะแนวการศึกษา มีดังตอไปนี้ 3.1 วางแผนการแนะแนวการศึกษาตอ รวมทั้งวัสดุอุปกรณและเทคนิคที่ใชในการแนะแนวการศึกษา 3.2 เผยแพรความรูและการใหบริการในดานการศึกษาตอแกนักเรียนและผูปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ และเอกชน 3.3 รวมมือกับสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ในการจัดนิทรรศการการศึกษาตอ 3.4 จัดหาทุนการศึกษาและการมอบทุนการศึกษาใหกับผูที่จะศึกษาตอในโรงเรียนของเรา 4. งานพยาบาล ขอบขายของงานพยาบาล มีดังตอไปนี้ 4.1 ชวยเหลืออาจารย นักเรียน นักศึกษาที่ปวยและประสบอุบัติเหตุ เปนการพยาบาลเบื้องตน 4.2 ปองกันโรคภัยไขเจ็บและลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น 4.3 สํารวจขอมูลบกพรองสุขภาพของนักเรียน นักศึกษาในระยะแรก 4.4 สงเสริมใหนักเรียน นักศึกษา มีสุขภาพอนามัยและอารมณอันที่จะไดรับการศึกษาอยางเต็มที่และไดผล 4.5 จัดหายาและเวชภัณฑเพื่อการรักษาพยาบาลเบื้องตน 4.6 ติดตอประสานงานกับผูปกครองในกรณีท่นี ักเรียน นักศึกษาเจ็บปวย

ระเบียบการปฏิบัติของผูใชบริการหองพยาบาล

เปดบริการตั้งแต 07.30 - 16.30 น. (เวนวันเสาร-อาทิตย และวันหยุด) ผูใชบริการหองพยาบาลตองรักษาความสงบ กอนเขาพยาบาลตองถอดรองเทาและวางใหเปนระเบียบ นักเรียน นักศึกษาที่ปวยขณะเรียนใหขออนุญาตอาจารยประจําวิชา เพื่อไปพบอาจารยพยาบาล นักเรียน นักศึกษาที่ไปขอรับบริการจากหองพยาบาลของโรงเรียนจะตองลงชื่อในทะเบียนผูปวย เพื่อเปนหลักฐานในการ จายยาและสถิติ ในกรณีที่นักเรียน นักศึกษาปวยมากจนตองสงโรงพยาบาลตรวจรักษา โรงเรียนจะจัดสงผูปวยไปยังสถานพยาบาล กอนแลวแจงใหผูปกครองทราบเพื่อรับผิดชอบตอไป กรณีนักเรียน นักศึกษาประสบอุบัติเหตุในระหวางเรียนจะไดรับคารักษาพยาบาลจากประกันอุบัติเหตุ

5. งานชุมชนสัมพันธ ขอบขายของงานชุมชนสัมพันธ มีดังตอไปนี้

5.1 เสริมสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน บาน และสถานประกอบการอยางตอเนื่อง 5.2 จัดใหมีกิจกรรมรวมกันในวาระหรือโอกาสพิเศษระหวางโรงเรียน บาน ชุมชน และสถานประกอบการ 5.3 เพื่อใหบุคลากรของโรงเรียนมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน และชวยเหลือในโอกาสอันสมควร

124


ระเบียบ วาดวยการกําหนดหลักเกณฑในการรับทุนการศึกษา ดวยสถานศึกษาทักษิณาบริหารธุรกิจไดดําเนินการใหการศึกษาทางดานอาชีวศึกษาประเภทวิชา บริหารธุรกิจและ พณิชยกรรม ประกอบกับมีการใหทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษามาเปนประจําทุกปเสมอมาเห็นสมควรแก ไขปรับปรุง ระเบียบสถานศึกษา วาดวยหลักเกณฑในการรับทุนการศึกษาเพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายพัฒนา ประเทศชาติดา นสังคม และเศรษฐกิจในปจจุบันสถานศึกษาจึงวางระเบียบเอาไว ดังนี้ ขอ 1 ระเบียบนีเ้ รียกวา “ระเบียบสถานศึกษาทักษิณาบริหารธุรกิจ วาดวยการกําหนดหลักเกณฑใน การรับทุนการ ศึกษา พ.ศ.2538” ขอ 2 ใหใชระเบียบนี้ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศใชเปนตนไป ขอ 3 ระเบียบนี้ใหใชบังคับเฉพาะสถานศึกษาทักษิณาบริหารธุรกิจ ขอ 4 ใหยกเลิกบรรดาระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ และคําสั่งอื่นใดที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ซึ่งขัดหรือแยงกับ ระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 5 ในระเบียบนี้คําวา “โรงเรียน” หมายความวา สถานศึกษาที่ทําการเปดสอน “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถานศึกษาทักษิณาบริหารธุรกิจ “ทุนการศึกษา” หมายความวา ทุนการใหการศึกษาเลาเรียนแกนกั ศึกษาในแตละประเภทโดยไมหวังสิง่ ตอบแทนใดๆ ทัง้ สิน้ “ผูรับทุนการศึกษา” หมายความวา นักศึกษาของสถานศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถวนตามหลักเกณฑในการขอรับทุน “นักศึกษา” หมายความวา นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยูในสถานศึกษาทักษิณาบริหารธุรกิจ “การยื่นความจํานง” หมายความวา ผูที่ขอรับทุนการศึกษา จะตองยื่นหนังสือแสดงความจํานงภายใน วันที่ 1 กุมภาพันธ ถึง 30 เมษายน ของทุกปการศึกษา ที่ฝายสงเสริมการศึกษาและบริการ ขอ 6 ประเภทของทุนการ ศึกษาที่ทางสถานศึกษาจัดใหมีดังนี้ 6.1 ทุนการศึกษาประเภทการเรียนดีเดน ปการศึกษาละ 3 ทุน (ปตอป) ผูขอรับทุนประเภทนี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 6.1.1 มีความประพฤติเรียบรอย 6.1.2 มีผลการศึกษาเฉลี่ยไมตํ่ากวา 3.5 ของทุกภาคเรียน 6.2 ทุนการศึกษาประเภทกิจกรรมกีฬาดีเดน ปการศึกษาละ 3 ทุน (ปตอป) ผูขอรับทุนประเภทนี้จะตองมี คุณสมบัติดังนี้ 6.2.1 มีความประพฤติเรียบรอย 6.2.2 มีผลงานดานกีฬาดีเดน 125


6.2.3 มีผลการศึกษาเฉลี่ยไมตํ่ากวา 2.5 ของทุกภาคเรียน 6.3 ทุนการศึกษาประเภทฉุกเฉิน ปการศึกษาละ 2 ทุน (ปตอป) ผูขอรับทุนการศึกษาประเภทนี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 6.3.1 มีความประพฤติเรียบรอย 6.3.2 มีผลการศึกษาเฉลี่ยไมตํ่ากวา 2.5 ของทุกภาคเรียน 6.3.3 ไดรับผลกระทบกระเทือนจากภัยพิบัติ อาทิ อัคคีภัย วาตภัย และอุทกภัย เปนตน จะตองมีการรับรอง จากทางราชการประกอบ 6.4 ทุนการศึกษาประเภทสงเคราะห ปการศึกษาละ 2 ทุน (ปตอป) ผูขอรับทุนการศึกษาประเภทนี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 6.4.1 มีความประพฤติเรียบรอย 6.4.2 มีผลการศึกษาเฉลี่ยไมตํ่ากวา 2.5 ของทุกภาคเรียน 6.4.3 ผูปกครองเบิกคาเลาเรียนไมได 6.4.4 ไดรับผลกระทบกระเทือนจากการขาดความชวยเหลือจากผูปกครองดวยกรณีตางๆ เชน ผูปกครอง เสียชีวิต เปนตน 6.5 ทุนการศึกษาประเภท นักศึกษาวิชาทหารดีเดน ปการศึกษาละ 3 ทุน (ปตอป) ผูขอรับทุนการศึกษาประเภท นี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 6.5.1 มีความประพฤติเรียบรอย 6.5.2 มีผลการศึกษาเฉลี่ยไมตํ่ากวา 2.5 ของทุกภาคเรียน 6.5.3 ชวยเหลือกิจกรรมของสถาบันตลอดเวลา 6.5.4 ชวยเหลือสังคมภายนอกจนเห็นประโยชนเดนชัด 6.6 ทุนการศึกษาไทยเบญจบริหารธุรกิจชลบุรี ทุนประเภทนี้จัดไวใหสําหรับบุตรอาจารยประจํา และเจาหนาที่ ประจํา ตลอดจนบุตรหลานเครือญาติของผู ไดรับอนุญาติ ซึ่งผูขอรับทุนการศึกษาประเภทนี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 6.6.1 เปนบุตรหลานอาจารย และเจาหนาที่ประจํา ลดคาเลาเรียนได 50% ตลอด 3 ปการศึกษา แตไมเกิน 3 คน 6.6.2 เปนบุตร หลาน ของผู ไดรับอนุญาต ไมเสียคาเลาเรียนตลอด 3 ปการศึกษา 6.6.3 มีความประพฤติเรียบรอย ขอ 7 การพิจารณาคัดเลือกผูรับทุนการศึกษาประเภทตางๆ ใหพิจารณาดังนี้ 7.1 อาจารยที่ปรึกษาเปนผูพิจารณาคัดเลือกในขั้นแรก 7.2 งานทะเบียนตรวจสอบผลการเรียนประกอบการพิจารณา 7.3 แตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก แลวเสนอผูอาํ นวยการเพื่อขอรับความคิดเห็น 7.4 ประกาศผลการพิจารณารับทุนใหผูเกี่ยวของรับทราบและปฏิบัติ 126


ขอ 8 ถาผูขอรับทุนการศึกษาทุกประเภท มีความประพฤติไมเรียบรอย ปฏิบัติตัวไมเหมาะสม หรือผลการศึกษาตํ่า ไปจากเกณฑที่กําหนดเอาไว ใหคณะกรรมการพิจารณาตัดสิทธิในการขอทุนการศึกษาไดตามสมควร ขอ 9 การพิจารณารับทุนการศึกษาทุกประเภทคณะกรรมการจะตองพิจารณาใหเสร็จสิ้น ภายใน 30 เมษายน ของ ทุกปการศึกษา ขอ 10 ผูขอรับทุนการศึกษาทุกประเภทจะตองยื่นหนังสือแจงความจํานงตามแบบฟอรมที่ทางโรงเรียนกําหนดทาย ระเบียบนี้เทานั้น ขอ 11 ใหผูชวยอํานวยการสงเสริมการศึกษา รักษาการใหเปนไปตามระเบียบน

สิทธิประโยชนที่นักศึกษาไดรับ มีสิทธิไดรับทุนการศึกษา มีสิทธิกูยืมเงินเพื่อการศึกษาของรัฐบาล โดยกระทรวงศึกษาธิการ บุตรขาราชการ หรือ พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีสิทธิเบิกคาเลาเรียนได ใหสิทธิยืมใบเสร็จเบิกคาเลาเรียนได มีสิทธิเรียนคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ตทุกคน หองเรียน หองปฏิบัติการทุกหองติดเครื่องปรับอากาศ เรียนภาษากับเจาของภาษา สมัครเรียนวิชาทหาร (รด.) ไดตามระเบียบของกรมการรักษาดินแดน ไดรับสิทธิผอนผันการเกณฑทหาร ทุกคนมีประกันอุบัติเหตุ เมื่อศึกษาจบแลวมีศักดิ์และสิทธิเทียบเทาผูจบจากโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ของรัฐที่สอนในสาขาเดียวกัน มีสิทธิเขาศึกษาตอในสถาบันการศึกษาที่สูงขึ้นทั้งของรัฐและเอกชน

127


คณะกรรมการจัดทําหนังสือคูม อื นักศึกษา

คณะกรรมการที่ดําเนินงาน

128

1. นางนงลักษณ

ตระกูลวงศ

ประธานกรรมการ

2. นางสาวจิตินันท

อิสโม

รองประธานกรรมการ

3. นางสาวจารุณี

อาจหาร

กรรมการ

4. นางสาวนําโชค

ผุยแพง

กรรมการ

5. นางสาวนิรัชดา

พรหมวงศ

กรรมการ

6. นางสาวอังคณา

ปนแกว

กรรมการ

7. นางสาวยุพา

จันทรภิรมย

กรรมการ

8. นางสาวทิพยสุดารัตน

ผูปรึกษา

กรรมการและเลขานุการ


129


130


131


132


133


134



STUDENTS STUDENTS ¡ÅØ‹ÁÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÍÒªÕÇÈÖ¡ÉÒà¤Ã×Íä·Â-à·¤ THAI TECH GROUP TECHNOLOGICAL COLLEGE HANDBOOK HANDBOOK

STUDENTS STUDENTS HANDBOOK HANDBOOK


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.