รายงานการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์

Page 1

GRAPHIC DESIGN FOR PACKAGING การออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTD3302

นาย ธนากร วรสาร 5211307516 กลุ่มเรียน 202 โครงการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ กลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านเชี่ยน อาเภอหันคา จังหวัด ชัยนาท

คานา


รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3302 โครงการออกแบบ พัฒนากราฟิกบรรณจุภัณฑ์ กลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านเชี่ยน อาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท โดยการนาเสนอรายงานในครั้งนี้ เป็นการสรุปผลการทางานในการทา โครงการพัฒนา ออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ให้กับกลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านเชี่ยน ใช้ประกอบการเรียนการสอน พร้อมทั้งเป็นการนาเสนอผลงานในชั้นเรียน ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการนาเสนอแฟ้มผลงานและการสรุปรายงาน ผลการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยนา ขั้นตอนการทางานตามที่อาจารย์ประจาวิชาได้แนะนามาใช้กับการทางานในครั้งนี้ ด้วยความเคารพ นาย ธนากร วรสาร


ความเป็นมา การออกแบบกราฟิกสาหรับรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟิกหมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของ โครงสร้าง บรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจในอันที่จะให้ผลทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูดความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยี่ ห้ อ ผลิ ต ภั ณฑ์ ผู้ ผ ลิ ต ด้ ว ยการใช้ วิ ธี การออกแบบ การจั ด วางรู ป ตัวอักษร ถ้อยคา โฆษณา เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางการค้า และอาศัยหลักศิลปะการจัด ภาพให้เกิดการประสานกลมกลืน กันอย่างสวยงาม ตาม วัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์ได้ทั้งลักษณะ 2 มิติ บนพื้นผิวแผ่นราบ ของวัสดุ เช่น กระดาษ แผ่นพลาสติก แผ่นโลหะอาบดีบุก หรืออลูมิเนียม โฟม ฯลฯ ก่อนนาวัตถุ ต่าง ๆ เหล่านี้ประกอบกัน เป็นรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ ส่วนในลักษณะ 3 มิติก็อาจทาได้ 2 กรณีคือ ทาเป็นแผ่นฉลาก ( label) หรือแผ่นป้าย ที่นาไปติดบนแผ่นบรรจุภัณฑ์ประเภท rigid forms ที่ ขึ้นรูปมาเป็นภาชนะบรรจุสาเร็จมาแล้ว หรืออาจจะสร้างสรรค์ บนผิวภาชนะบรรจุ รูปทรง 3 มิติ โดยตรงก็ได้เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติกเป็นต้น ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟิก บรรจุภัณฑ์นี้ ส่วนใหญ่มักถือตามเกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก

ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ (Packaging) การบรรจุภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปัจจุบันที่การผลิต สินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสาคัญกับผู้บริโภค (Consumer Oriented) และจะได้เห็นว่า การบรรจุภัณฑ์มีบทบาทมากขึ้นเพราะลาพังตัวสินค้าเองไม่มีนวัตกรรม (Innvoation) หรือการ


พัฒนาอะไรใหม่อีกแล้ว ฉีกแนวไม่ออกเพราะได้มีการวิจัยพัฒนากันมานานจนถึงขั้นสุดยอดแล้ว จึงต้องมาเน้นกันที่บรรจุภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ (Packaging) บรรจุภัณฑ์กับหีบห่อ (Package) ความหมายของการบรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อ (Packaging) ได้มีผู้ให้คาจากัดความไว้ มากมายพอสรุปได้ดังนี้ 1. Packaging หมายถึง งานเทคนิคที่ต้องอาศัยความชานาญ ประสบการณ์และความคิด สร้างสรรค์ ในอันที่จะออกแบบและผลิตหีบห่อให้มีความเหมาะสมกับสินค้าที่ผลิตขึ้นมา ให้ความ คุ้มครองสินค้า ห่อหุ้มสินค้าตลอดจนประโยชน์ใช้สอย อาทิเช่น ความสะดวกสบายในการหอบหิ้ว พกพาหรือการใช้ เป็นต้น 2. Packaging หมายถึง กลุ่มของกิจกรรมในการวางแผนเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิตภาชนะ บรรจุหรือสิ่งหุ้มห่อสินค้าบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับฉลาก (Label) และตรายี่ห้อ (Brand name) 3. Packaging หมายถึง ผลรวมของศาสตร์ (Science) ศิลป์ (Art) และเทคโนโลยีของการ ออกแบบ การผลิ ต บรรจุ ภั ณฑ์ ส าหรั บ สิ น ค้ า เพื่ อ การขนส่ ง และการขายโดยเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เหมาะสม 4. Packaging หมายถึง การใช้เทคโนโลยีและเศรษฐศาสตร์เพื่อหาวิธีการรักษาสภาพเดิมของ สินค้าจนกว่าจะถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อให้ยอดขายมากที่สุดและต้นทุนต่าสุด 5. Packaging หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและผลิตรูปร่างหน้าตาของ ภาชนะบรรจุ สิ่งห่อหุ้มตัวผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ 6. Packaging เป็นทั้งศิลปะและวิทยาศาสตร์ ซึ่งถูกมองในหลายแง่โดยบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ใน กระบวนการผลิตสินค้า กล่าวคือ ฝ่ายเทคนิคจะคิดถึงปฏิกิริยาระหว่างภาชนะบรรจุกับผลิตภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม ฝ่ายผลิตจะพิจารณาต้นทุนและประสิทธิภาพของระบบการบรรจุ ฝ่ายจัดซื้อจะ คานึงถึงต้นทุนของวัสดุทางการบรรจุ และฝ่ายขายจะเน้นถึงรูปแบบและสีสันที่สะดุดตา ซึ่งจะช่วย


ในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ ด้วยเหตุนี้ Packaging ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมจะเกิดขึ้นได้จาก การประนีประนอมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ภาชนะบรรจุซึ่งมีน้าหนักเบาและราคาต้นทุน ต่า แต่ในขณะเดียวกันมีรูปแบบสวยงาม และให้ความคุ้มครองอย่างเพียงพอแก่ผลิตภัณฑ์ภายใน ได้ 7. Packaging หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดในขบวนการทางตลาดที่เกี่ยวเนื่องกับการ ออกแบบสร้างสรรค์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์ 8. Packaging หมายถึง การนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ สวยงาม ได้สัดส่วน ที่ถูกต้อง สร้างภาพพจน์ที่ดี มีภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทาให้เกิดผลความพึงพอใจจากผู้ซื้อ สินค้า

ส่วนความหมายของ “ หีบห่อ ” “ บรรจุภัณฑ์ ” หรือ “ ภาชนะบรรจุ ” (Package) มีผู้ให้คา จากัดความไว้มากมายเช่นกัน ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1. Package หมายถึง สิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุภัณฑ์ รวมทั้งภาชนะที่ใช้เพื่อการขนส่งผลิตภัณฑ์จาก แหล่งผู้ผลิตไปยังแหล่งผู้บริโภค หรือแหล่งใช้ประโยชน์ หรือวัตถุประสงค์เบื้องต้นในการป้องกัน หรือรักษาผลิตภัณฑ์ ให้คงสภาพตลอดจนคุณภาพใกล้เคียงกันกับเมื่อแรกผลิตให้มากที่สุด 2. Package หมายถึง สิ่งที่ทาหน้าที่รองรับหรือหุ้มผลิตภัณฑ์ เพื่อทาหน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์จาก ความเสียหายต่าง ๆ ช่วยอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการขนส่งและการเก็บรักษา ช่วยกระตุ้น การซื้อตลอดจนแจ้งรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังมีคาอีก 2 คา ที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ คือ 1. การบรรจุภัณฑ์ (Packing) หมายถึง วิธีการบรรจุผลิตภัณฑ์ โดยการห่อหุ้ม หรือใส่ลงในบรรจุ ภัณฑ์ปิด หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ปลอดภัย


2. ตู้ขนส่งสินค้า (Container) หมายถึง ตู้ขนาดใหญ่ที่ใช้ขนส่งสินค้า โดยทั่วไปจะมีขนาด มาตรฐานเป็นสากล คาว่า “ Container ” นี้อาจใช้ในความหมายที่ใส่ของเพื่อการขนส่งและจัด จาหน่าย ในปัจจุบัน บรรจุภัณฑ์เป็นตัวแทนของกระบวนการส่งเสริมการขายทางด้านการตลาด ณ จุดขายที่สามารถ จับต้องได้ ทาหน้าที่เป็นสื่อโฆษณาได้อย่างดีเยี่ยม ณ จุดขาย รูปทรงของบรรจุภัณฑ์เปรียบได้กับ ตัวโครงร่างกายของมนุษย์ สีที่ออกแบบบรรจุภัณฑ์เปรียบเสมือนผิวหนังของมนุษย์ คาบรรยายบน บรรจุภัณฑ์เปรียบได้กับปากที่กล่าวแจ้งแถลงสรรพคุณ การออกแบบอาจจะเขียนเป็นสมการอย่าง ง่าย ๆ ได้ดังนี้ การออกแบบ = คาบรรยาย + สัญลักษณ์ + ภาพพจน์ เนื่องจากการออกแบบ ภาพพจน์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งซึ่งอาจแสดงออกได้ดว้ ย จุด เส้น สี รูปวาด และรูปถ่าย ผสมผสาน กันออกมาเป็นพาณิชย์ศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ ด้วยหลักการง่าย ๆ 4 ประการ คือ SAFE ซึ่งมี ความหมายว่า S = Simple เข้าใจง่ายสบายตา A = Aesthetic มีความสวยงาม ชวนมอง F = Function ใช้งานได้ง่าย สะดวก ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม E = Economic ด้านเศรษฐกิจ และการตลาด

การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ยังมีบทบาทช่วยเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ทางด้านการตลาด ดังนี้ ตามที่ได้อธิบายแล้วว่าบรรจุภัณฑ์มีบทบาทในส่วนผสมการตลาดในการทาหน้าที่เสริมกิจกรรม การตลาดในแต่ละขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ รายละเอียดปลีกย่อยในการช่วยเสริม กิจกรรมต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้


1. การใช้โฆษณา บรรจุภัณฑ์จาต้องออกแบบให้จาได้ง่าย ณ จุดขาย หลังจากกลุ่มเป้าหมายได้เห็น หรือฟังโฆษณามาแล้ว ในกลยุทธ์นี้บรรจุภัณฑ์มักจะต้องเด่นกว่าคู่แข่งขันหรือมีกราฟฟิกที่สะดุดตา โดยไม่ต้องให้กลุ่มเป้าหมายมาองหา ณ จุดขาย 2. การเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่าย ช่องทางการจัดจาหน่ายที่เปลี่ยนแปลงไปอาจจาเป็นต้องมีการ ออกแบบปริมาณสินค้าต่อหน่วยขนส่งใหม่เพื่อลดค่าใช้จ่าย หรือมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สาหรับจุด ขายใหม่ การเพิ่มหิ้ง ณ จุดขายที่เรียกว่า POP (Point of Purchase) อาจมีส่วนช่วยส่งเสริมการ ขายเมื่อเปิดช่องทางการจัดจาหน่ายใหม่ 3. เจาะตลาดใหม่ มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ในการเจาะตลาดใหม่หรือ กลุ่มเป้าหมายใหม่ ในบางกรณีอาจจาเป็นต้องเปลี่ยนตราสินค้าใหม่อีกด้วย 4. ผลิตภัณฑ์ใหม่ ถ้าผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้าเก่า เช่น เปลี่ยนจากการขาย กล้วยตากแบบเก่า เพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่มาเป็นกล้วยตากชุบน้าผึ้ง อาจใช้บรรจุภัณฑ์เก่าแต่เปลี่ยนสี ใหม่เพื่อแสดงความสัมพันธ์กับสินค้าเดิมหรืออาจใช้เทคนิคของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ยูนิฟอร์ม ดังจะกล่าวต่อไปในบทนี้ แต่ในกรณีที่เป็นสินค้าใหม่ถอดด้ามจาต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่หมด แต่อาจคงตราสินค้าและรูปแบบเดิมไว้เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ากลุ่มที่เคยเป็นลูกค้าประจา ของสินค้าเดิม 5. การส่งเสริมการขาย จาเป็นอย่างยิ่งต้องมีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ เพื่อเน้นให้ผู้บริโภค ทราบว่ามีการเพิ่มปริมาณสินค้า การลดราคาสินค้า หรือการแถมสินค้า รายละเอียดบนบรรจุ ภัณฑ์ย่อมมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้บริโภคมีความอยากซื้อมากขึ้น 6. การใช้ตราสินค้า เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีเพื่อสร้างความทรงจาที่ดีต่อสินค้าบรรจุภัณฑ์ ที่มีตราสินค้าใหม่ควรจะได้รับการออกแบบใหม่ด้วยการเน้นตราสินค้า รายละเอียดในเรื่องนี้จะได้ กล่าวต่อไปในหัวข้อตราสินค้า 7. เปลี่ยนขนาดหรือรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ โดยปกติสินค้าแต่ละชนิดมีวัฏจักรชีวิตของตัวมันเอง (Product Life Cycle) เมื่อถึงวัฏจักรชีวิตช่วงหนึ่ง ๆ จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนโฉมของบรรจุภัณฑ์


เพื่อยืดอายุของวัฏจักร ในบางกรณี การเปลี่ยนขนาดอาจเกิดจากนวัตกรรมใหม่ทางด้านบรรจุ ภัณฑ์ เช่น การเลือกใช้วัสดุใหม่จึงมีการเปลี่ยนรูปทรงหรือขนาด ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุใดก็ตามมี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อรักษาหรือขยายส่วนแบ่งการตลาด

สรุป การออกแบบกราฟฟิกคือ การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้างบรรจุ ภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจ ในอันที่จะให้ผล ทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูด ความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตด้วย ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์นี้ส่วนใหญ่มักถือตาม เกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก สรุป ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะ ปัจจุบันทีก่ ารผลิตสินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสาคัญกับผู้บริโภคโดย เน้นกันที่บรรจุ ภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ เพื่อป้องกันสินค้าจาก มด แมลง ที่จะทาลายสินค้า และช่วยส่งเสริมการ ขาย อ้างอิงถึงไฟล์เอกสารหน้านี้ การออกแบบกราฟิกสาหรับบรรจุภัณฑ์. เว็บไซต์ที่เข้าไปศึกษา เข้าถึงได้ ที่ http://www.mew6.com/composer/package/package_9.php


ข้อมูลเพื่อการสืบค้นการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ จังหวัดชัยนาท ส.1 - ส.3 ส1.สืบค้น

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวสินค้า ชื่อสินค้า : กล้วยอบเนย ประเภท : ของบริโภค สถานะผลิตภัณฑ์ : กล้วยฉาบ วิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ : รับประทาน สี :น้าตาลออกเหลือง ขนาด/มิติ : กว้าง 9 cm. ยาว 9 cm. สูง 15 cm ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน ต.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท ที่อยู่/เบอร์โทร : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท T.087-1563677 ส่วนประกอบ : กล้วย / น้าตาล/เนยสด


รูปแบบการขาย : ขายปลีก-ส่ง ราคา : 20 บาท ข้อมูลฉลาก 1. ที่อยู่ของกลุ่มผู้ผลิต : ผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน ต.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท T.087-156-3677 2. ชื่อสินค้า : กล้วยอบเนย (หวาน กรอบ อร่อย) 3. ผู้สนับสนุน : ก.ศ.น. หันคา,พัฒนาชุมชน,เทศบาลบ้านเชี่ยน,สานักงานเกษตร, พัฒนาสังคมหน่วยที่9

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร การวิเคราะห์ข้อมูลสินค้า 1.ป้ายสินค้าเป็นสติ๊กเกอร์ใส ทาให้มองเห็นฉลากสินค้าได้ยาก 2.เวลาแกะสินค้ารับประทาน ยุ่งยากเกินไปเพราะฉลากตัวบรรจุภัณฑ์มีมากขึ้น 3.รายละเอียดสินค้ามีขนาดเล็กทาให้มองไม่ชัดเจน 4.ข้อมูลโภชนาการมีขนาดเล็กทาให้มองเห็นได้ยาก


มูดบอร์ด

(ที่มา : ธนากร วรสาร)


ส.2 การตั้งสมมุติฐาน แนวคิด: มาจากแรงบันดาลใจในการคิดรสชาติใหม่เพื่อให้เกิดความแตกต่าง จากเดิมที่เป็นอยู่ โดยใช้ชื่อ แบรนด์ BananaBom จากความคิดที่ว่า ให้กล้วยที่กินเข้าไปรสชาติเข้มข้นจนเหมือน ระเบิดที่แตกกระจายในปาก ออกแบบสเก็ตแบบร่าง

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร

ออกแบบโลโก้ฉลากสินค้า


ออกแบบอัตลักษณ์

ออกแบบ Sketch up

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร


มูดบอร์ด

ทีมารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร ส.3 สรุปผล


ออกแบบกล่องรูแปแบบต่างๆ

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร


ภาพตัวงานจริง

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร

มูดบอร์ด

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร วรสาร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.