e-newsletter
NETMARK@ZINE DECEMBER 2016
ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร์ ด้ วยเกล้ าด้ วยกระหม่อมขอเดชะ ข้ าพระพุทธเจ้ า ผู้บริ หารและพนักงาน บริ ษัท เน็ตมาร์ ค (ประเทศไทย) จากัด
10 DECEMBER 2016 Part 1
03
พระเจ้ าอยู่หวั กับคอมพิวเตอร์ Part 2
05
ส.ค.ส. พระราชทาน ความสุขของคนไทย Part 3
เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ตอนที่ 2 ประมวลภาพประทับใจ และ อนุสรณ์ในญี่ปนุ่
09
พระเจ้ าอยู่หวั กับคอมพิวเตอร์
ให้ สมั ภาษณ์ผ้ สู อื่ ข่าว จาก BBC ภายในห้ องส่วนพระองค์ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ที่สนพระทัยใน เรื่ องของวิทยาการอย่างจริงจังนะครับ ดังที่เราได้ เห็นจากโครงการพัฒนาต่างๆ รวมถึง ส.ค.ส. พระราชทาน ที่สง่ ความสุขถึงคนไทยมานานหลายสิบปี คอมพิวเตอร์ ส่วนพระองค์เครื่ องแรกที่ใช้ คือ “แมคอินทอชพลัส” ที่เปิ ดตัวครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2529 โดย ม.ล.อัศนี ปราโมช เป็ นผู้ซื ้อขึ ้นทูลเกล้ าฯ ถวาย ด้ วยคุณสมบัตเิ รี ยนรู้ และใช้ งานไม่ยาก ความสามารถในการเก็บและพิมพ์โน้ ตเพลงได้ ง่าย และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ดนตรี ได้ ด้วย นอกจากนี ้เรื่ องฟอนต์หรื อแบบอักษรก็เป็ นอีกเรื่ องที่สนพระราชหฤทัย โดยได้ ทรงประดิษฐ์ ฟอนต์ ไทยหลายแบบ เช่น แบบจิตรลดา แบบภูพิงค์ ต่อมาได้ หนั มาศึกษาการแสดงตัวเทวนาครี บนจอภาพ หรื อที่ พระองค์ทา่ นทรงเรี ยกว่า “ภาษาแขก” ด้ วยพระองค์เองจากพจนานุกรมและตาราภาษาสันสกฤต และและ ทรงสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้ านภาษาบาลีสนั สกฤต อย่าง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี และท่านองคมนตรี ม.ล. จิรายุ นพวงศ์ ซึง่ เหตุผลที่พระองค์ทา่ นสนพระราชหฤทัยในเรื่ องนี ้ เพราะใน หลวงต้ องการศึกษาคาสอนและข้ อธรรมะของพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังตามภาษาดัง่ เดิมที่บนั ทึกกันมา
ซึง่ ต่อมาได้ มีผ้ ทู ลู เกล้ าฯ ถวายเครื่ อง IBM PC Compatible และทรงสนพระทัยศึกษาเทคโนโลยี ทันสมัยเหล่านี ้ บางครัง้ ทรงเปิ ดตัวเครื่ องเพื่อดูระบบภายในด้ วยพระองค์เอง รวมถึงทรงปรับปรุงโปรแกรม CU Writer ให้ เป็ นไปตามประราชประสงค์ด้วย
ส.ค.ส. พระราชทาน ขของคนไทย VR009 ความสุ รหัสจากฟ้ า
ส.ค.ส. พระราชทานฉบับแรกส่งถึงคนไทยในปี พ.ศ. 2530 โดยในหลวงทรงปลีกเวลาจากพระราช กรณียกิจมาปรุแถบเทเล็กซ์หรื อโทรพิมพ์ เราจึงเห็นข้ อความตามท้ าย ส.ค.ส. ว่า “กส. 9 ปรุ ” ซึ่งเป็ นรหัส เรี ยกขานวิทยุแทนพระองค์เป็ นผู้ปรุขึ ้น ส่วนตัวเลขที่ตามหลังคือวันที่และเวลาที่ทรงสร้ าง ในรูปแบบ วว ชช นน ดด ปปปป. ในส.ค.ส. พระราชทานฉบับแรกจึงหมายถึงเวลา 14.30 น. วันที่ 31 ธันวาคม 2529
สามารถชมส.ค.ส. พระราชทานทังหมดได้ ้ ในเว็บของสานักราชเลขาธิการ
ส.ค.ส. ฉบับแรกที่ในหลวงทรงสร้ างด้ วยคอมพิวเตอร์ คือฉบับปี พ.ศ. 2532 ที่เริ่ มมีลวดลายและ ลักษณะตัวพิมพ์มากขึ ้น ข้ อความด้ านท้ ายจึงเปลี่ยนเป็ น ก.ส. 9 ปรุง เพื่อแทนการปรุงจากคอมพิวเตอร์
และในส.ค.ส. ฉบับต่อๆ มา ด้ วยพระปรี ชาสามารถจึงมีรูปวาด และลวดลายประดับมากขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นดาว ใบหน้ า เครื่ องดนตรี ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ล้ วนเกิดจากฝี พระหัตถ์แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทังสิ ้ ้น ที่ถ่ายทอดผ่านคอมพิวเตอร์ ได้ อย่างชานาญ สิ่งหนึง่ ที่เห็นได้ ชดั เจนจาก ส.ค.ส. พระราชทาน คือความคมคายของเนื ้อหา ที่แม้ จะเป็ นเพียง ถ้ อยคาสันๆ ้ แต่ก็สามารถสื่อความหมายออกมาได้ มาก ซึ่งเนื ้อหาของ ส.ค.ส. ในแต่ละปี จะประมวลขึ ้นจาก สภาพเหตุการณ์บ้านเมือง เพื่อสะท้ อนให้ เห็นปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ชาติต้องประสบในรอบ 1 ปี ที่ผา่ น มา และกระตุ้นให้ ประชาชนชาวไทยมีกาลังใจต่อสู้กบั อุปสรรคที่จะเกิดขึ ้นต่อไป
ส.ค.ส. ฝี พระหัตถ์ล้วนเป็ นสีขาว-ดา ซึง่ เรื่ องนี ้ ดร.สุเมธ ได้ แสดงทรรศนะว่า “เป็ นสิ่งที่พระองค์ทรง ต้ องการสะท้ อนให้ ลกู หลานไทยได้ เห็นถึงตัวอย่างของความประหยัด มัธยัสถ์ สิ่งของหลาย ๆ สิ่งแม้ จะไม่มี สีสนั ดึงดูดตา แต่ก็มากมายด้ วยความหมาย พระองค์พยายามทาทุกสิ่งให้ เกิดประโยชน์ตลอดเวลา ทรงรัก ความเรี ยบง่าย ยึดมัน่ ในความหมาย และคุณค่า ของสรรพสิ่งเป็ นที่ตงั ้ มากกว่าจะมองกันที่ความสวยงาม ฟุ้งเฟ้อ”
เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ตอนที่ 2 ประมวลภาพประทับใจ และอนุสรณ์ในญี่ปนุ่ เมื่อครัง้ ที่ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ในปี พ.ศ. 2506 นันนอกจากจะทรงทอดพระเนตรการ ้ ดาเนินงานกิจการสาคัญของญี่ปนุ่ แล้ ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระ นางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยังได้ ทรงเสด็จพระราชดาเนินเยือนสถานที่สาคัญทัว่ ประเทศญี่ปนุ่ ด้ วย
จากบทความที่แล้ วเราได้ นาเสนอเรื่ อง ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ในปี พ.ศ. 2506 และพระราช กรณียกิจอันนามาซึง่ การพัฒนาประเทศ ซึง่ นอกจากการทอดพระเนตรการดาเนินงานแล้ ว พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ยังได้ ปฏิบตั พิ ระราช กรณียกิจการเจริญสัมพันธไมตรี เยี่ยมเยียนนักเรี ยนไทย และผู้ที่ปฏิบตั งิ านในประเทศญี่ปนุ่ ในครัง้ นันได้ ้ เสด็จฯเยือน โตเกียว เกียวโต นารา โอซาก้ า นาโกย่า กิฟุ ในระหว่างวันที่ 27 พ.ค. – 5 มิ.ย. พ.ศ. 2506 เรา จึงขอนาเสนอประมวลภาพพระราชกรณียกิจครัง้ นี ้จากสานักพระราชวัง พร้ อมบอกเล่าเรื่ องราวของสถานที่ อันน่าประทับใจ และหนึง่ ในนัน้ คืออนุสรณ์ที่ต้องทาให้ คนไทยอิ่มเอมใจเมื่อได้ พบเห็น
ขอขอบพระคุณข้ อมูลจาก หนังสือ เสด็จเยือนประเทศญี่ปนุ่ ปี พ.ศ. 2506
พระราชวังอิมพีเรี ยล กรุ งโตเกียว (Tokyoo Imperial Palace)
ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์รวมกับ สมเด็จพระเจ้ าจักรพรรดิฮิโรฮิโตและสมเด็จพระจักรพรรดินี นางาโกะ(ในขณะนัน) ้ ที่พระราชวังอิมพีเรี ยล กรุงโตเกียว ซึง่ เป็ นที่ประทับของ สมเด็จพระจักรพรรดิแห่ง ญี่ปนุ่ ในปัจจุบนั ซึง่ ภายในพระราชวังจะประกอบไปด้ วย พระตาหนัก (宮殿 คีวเด็ง) ของพระราชวงศ์ พิพิธภัณฑ์ในพระองค์, สานักพระราชวัง, และพระราชอุทยานขนาดใหญ่ แต่เดิมพระราชวังนี ้เป็ นที่ตงของ ั้ ปราสาทเอะโดะ ซึง่ เป็ นที่อยู่อาศัยของโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ โดยได้ รับการบูรณะ ปี ค.ศ. 1964 เนื่องจาก พระราชวังเดิมถูกระเบิดทาลายลงไปมากในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ซึง่ ในปัจจุบนั เป็ นสถานที่ซงึ่ มีความงดงามที่ดงึ ดูด นักท่องเที่ยวให้ มาชื่นชมความ งามจากศิลปะกรรม แบบญี่ปนุ่
สวนสาธารณะนารา (Nara park)
พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะเสด็จพระราช ดาเนินที่ทงุ่ โทบิฮิโนะ (Tobihino hill) ภายในสวนสาธารณะนารา (Nara park) และพระราชทานอาหารให้ กวาง ซึง่ กวางจะเชื่องมากปราศจากความหวาดกลัวมนุษย์ นับเป็ นสถานที่ยอดนิยมของคนไทยในปัจจุบนั
ทังยั ้ งทรงเสด็จพระราชดาเนินไปที่วดั โทไดจิ (Todaiji Temple) ซึง่ มีอาณาเขตอยูใ่ กล้ สวนสาธารณะ ซึง่ เป็ นวัดสาคัญของชาวญี่ปนุ่ โดยมีพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ไดบุตสึ (Daibutsu of Nara) ซึง่ สูง ถึง 54 ฟุต หนัก 432 ตัน สร้ างมากว่า1200 ปี
อาคารหลักของวัดเป็ นอาคารไม้ ที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก ซึง่ อาคารไม้ นนมี ั ้ ขนาดเพียงแค่ 2 ใน 3 ของอาคาร ดังเดิ ้ มเท่าที่สร้ างในช่วงแรกเริ่มเท่านัน้
Kyoto Omiya Palace & Sento Imperial Palace
ร่วมพิธีชงชาเฉพาะพระพักตร์ ซึง่ ชงแบบ ยูลาซิงเก ซึง่ ใช้ ผงชาสีเขียวใส่น ้าร้ อน และทรงเสวยพระ สุธารส อุทยานแห่งวังเซนโตะ ซึง่ เป็ นเขตเชื่อมกับพระราชวังโอมิยา
โดยพระราชวังเซนโต ตังอยู ้ ่ตรงข้ ามกับพระราชวังเกียวโตอิมพีเรี ยล ถูกสร้ างขึ ้นในปี 1630 ใช้ เป็ นที่พกั หลัง การเกษี ยณของจักรพรรดิเ์ รื่ อยมา ซึง่ อาคารดังเดิ ้ มนันถู ้ กเผาในปี ค.ศ.1854 จึงได้ มีการสร้ างประสาทโอมิ ยะ (Omiya Palace) ขึ ้นมาแทน ในปัจจุบนั ใช้ เป็ นที่พกั ของราชวงศ์ระหว่างที่เสด็จมาเกียวโต
ที่เฉลียงพระตาหนักอุทยานพระราชวังโอมิยาได้ เสด็จฯ ทอดพระเนตรการแสดงฟุตบอลเคมาริ (Kemari Football) อันเป็ นกีฬาเก่าแก่กว่า 1600 ปี ในญี่ปนุ่ โดยลูกบอลทาจากหนังกวางมีผ้ เู ล่น4-8 คน ในชุดโบราณ
วัดเบียวโดอิน (Byodoin Temple)
ทรงเสด็จพระราชดาเนินไปยังวัดเบียวโดอิน (Byodoin Temple) เมืองนารา ซึง่ มีอายุราวพันปี ทรง นมัสการพระประธานภายในวัด และเยี่ยมชม ฟี นิกซ์ ฮอล (Phenix hall) ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง อีกทังถู ้ กใช้ เป็ น สัญลักษณ์ด้านหลังของเหรี ยญ 10 เยนด้ วย
วัดสร้ างด้ วยสถาปั ตยกรรมแบบโจโด โดยประกอบไปด้ วยสวนซึง่ แสดงถึงดินแดนบริ สทุ ธิ์ตา่ งอุดม คติในพุทธศาสนา นับเป็ นวัดต้ นแบบของวัดที่สร้ างต่อมา
พระราชวังซูกาคูอิน (Shugakuin Palace)
ทรงเสวยพระสุธารสบนตาหนักของพระราชวังซูกาคูอิน (Shugakuin Palace) แปลเป็ นภาษาไทยก็คล้ าย กับพระราชวังไกลกังวล ซึง่ มีอทุ ยานสวยงามใหญ่โต ทะเลสาบกว้ างขวาง มีตาหนักพักร้ อน 3 หลังสร้ างมา นานกว่า 300 ปี โดยพระจักรพรรดิโกมิซูโน
Mount Hiei
ทรงทอดพระเนตรเขาฮิเอ (Mount Hiei) ซึง่ สูงประมาณ 2782 ฟุตจากระดับน ้าทะเลเพื่อ ทอดพระเนตรวิวของเมืองเกียวโต แต่ทะเลสาปปี วา ได้ ถนัด
Nittaiji Temple (Kakuozan)
ทรงคล้ องสายคล้ องพระศอ เครื่ องหมายของอุบาสก อุบาสิกา เมื่อครัง้ ทรงเสด็จพระราชดาเนินไป ยังเมืองนาโกย่า เยี่ยมชมวัดนิทไทจิ (Nittaiji Temple (Kakuozan)) ซึง่ มีประวัตศิ าสตร์ มายาวนาน เกี่ยวข้ องกับความสัมพันธ์ไทย- ญี่ปนุ่ เพราะสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ได้ พระราชทานพระบรม สารี ริกธาตุ และพระพุทธรูป 1 พระองค์ เมื่อครัง้ สมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เสด็จพระราชดาเนินเยือน ประเทศญี่ปนุ่ สมัยทรงเป็ นราชกุมาร นอกจากนี ้ ในพ.ศ. 2443 สมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ก็เคย เสด็จฯ มา ถวายสักการะพระบรมสารี ริกธาตุ ด้ วย
สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ได้ พระราชทานพระพุทธรูป 1 พระองค์ คือ พระศากยมุนี ซึง่ ตัง้ โดดเด่นเป็ นสง่าในวัดญี่ปนุ่
ทังสองพระองค์ ้ ได้ ทรงนมัสการพระบรมสารี ริกธาตุ และปลูกต้ นโพธิ์สองต้ นเป็ นที่ระลึก วัดนี ้มี ความหมายในชื่อแปลว่า วัดไทยญี่ปนุ่ เรี ยกได้ ว่าเป็ นสถานที่ซงึ่ คนไทยที่ไปเที่ยวนาโกย่าต้ องห้ ามพลาด
ซึง่ ต้ นโพธิ์ทงสองปลู ั้ กไว้ ที่ฝั่งซ้ ายและขวาของพระบรมรูปของพระเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ด้ วย
นับเป็ นอนุสรณ์ที่งดงามที่แสดงถึงมิตรไมตรี ของไทยและญี่ปนุ่ ที่ตอ่ เนื่องกันมาอย่างยาวนาน สถิตอยูใ่ นใจตราบนิรันดร์ น้ อมสานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็ นล้ นพ้ นอันหาที่สดุ ไม่ได้