e-newsletter
NETMARK@ZINE NOVEMBER 2016
9 NOVEMBER 2016 Part 1
03
คนมืดฟ้ามัวดิน ร่วมร้ องเพลงสรรเสริ ญพระบารมี ก้ องสนามหลวง Part 2
06
VR009 รหัสจากฟ้า รหัสพระนามในหลวง ร.9 บิดาแห่งวงการสื่อสารไทย Part 3
10
เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ตอนที่ 1 Part 4
13
ทรงทอดพระเนตรการดาเนินการของอุตสาหกรรมต่างๆ ของญี่ปนุ่ Part 5
ปลานิล เชื่อมสัมพันธ์สองแผ่นดิน
16
คนมืดฟ้ ามัวดิน ร่ วมร้ องเพลงสรรเสริญพระบารมี ก้ องสนามหลวง
พสกนิกรมืดฟ้ามัวดิน ร่ าไห้ ร่วมร้ องเพลง 'สรรเสริญพระบารมี' ดังกึกก้ อง สนามหลวง เพื่อน้ อม ราลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ และแสดงความอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ...
วันที่ 22 ตุลาคม บรรยากาศบริเวณรอบพระบรมมหาราชวัง มีประชาชนจานวนมาก เดินทาง มาร่วมร้ องเพลง “สรรเสริญพระบารมี” เพื่อน้ อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ และร่วมแสดงความอาลัย แด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในเวลา 13.00 น. ที่บริเวณถนนหน้ าพระลาน กาแพง พระบรมมหาราชวัง โดยมีวงออเคสตร้ า 100 ชิ ้น จาก Siam Philharmonic Orchestra และคอรัส 200 คน มี “อ.สมเถา สุจริตกุล” เป็ นวาทยากร ในการควบคุมวง
ทังนี ้ ้ การขับร้ องเพลงสรรเสริ ญพระบารมี จะมีขึ ้น 2 รอบ รอบแรก 4 ครัง้ คือ 13.00 น. 14.00 น. 15.00 น. 16.00 น. ตลอดการร้ องทุกครัง้ จะมีดนตรี ออเคสตร้ าบรรเลงนา ส่วนรอบที่สอง จะมีขึ ้นหลังเวลา 22.00 น. ครัง้ นี ้ไม่มีวงออเคสตร้ าบรรเลง แต่ขอให้ ประชาชนนาเทียนไขมาด้ วย การร่วมขับร้ องเพลง สรรเสริญครัง้ นี ้ จัดขึ ้นเพื่อบันทึกภาพประวัตศิ าสตร์ ที่แสดงถึงความรักอันยิ่งใหญ่ ความผูกพันและความ อาลัยของประชาชนผู้จงรักภักดี ทีมงาน ม.จ.ชาตรี เฉลิม ยุคล เป็ นผู้ถ่ายทาภาพยนตร์ จากนันจะมี ้ การนา ภาพที่เกิดขึ ้นไปจัดทาเป็ นภาพยนตร์ และวีดทิ ศั น์ สาหรับฉายในโรงภาพยนตร์ ทวั่ ประเทศ
ขอขอบพระคุณข้ อมูลจาก www.thairath.co.th
VR009 รหัสจากฟ้ า VR009 รหัสจากฟ้ า
‘มนัส ทรงแสง’ เล่ าเหตุการณ์ ประทับใจ ‘VR009’ รหัสพระนามในหลวง ร.9 ยกย่ อง พระองค์ เป็ นบิดาแห่ งวงการสื่อสารไทย นายมนัส ทรงแสง อดี ต รองอธิ บ ดี ก รมไปรษณี ย์ โ ทรเลข และอดี ต รองเลขาธิ ก ารส านัก งาน คณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้ บรรยายพิเศษ เรื่ อง “ย้ อนรอย VR009” ว่า พระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช ทรงนับได้ ว่าเป็ นบิดาแห่งวงการสื่อสารไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ได้ ให้ ความสนใจเรื่ องการใช้ คลื่นความถี่ทงของราชการและเอกชนอย่ ั้ างถ่องแท้ ผ่านการศึกษาด้ ว ยพระองค์เ อง ทาให้ เ กิ ดพระอัจ ฉริ ยภาพในด้ า นต่า งๆ มากมายเกี่ ยวกับการใช้ ง าน คลื่นวิทยุ นอกจากนี ย้ ั ง พระราชทานค าสอนมากมายแก่ ข้ ารารการและเจ้ าหน้ าที่ ศูน ย์ วิ ท ยุ ส ายลม กรมไปรษณีย์โทรเลข (สานักงาน กสทช. ปัจจุบนั ) อาทิ เมื่อครัง้ ศูนย์วิทยุสายลมได้ รับเครื่ องส่งวิทยุมาใหม่ คือเครื่ อง FT726R ในครัง้ นันข้ ้ าราชการที่ศนู ย์วิทยุสายลมไม่มีใครใช้ งานเป็ น จนกระทัง่ พระองค์ท่านได้ ติดต่อเข้ ามาและพระราชทานคาสอน การใช้ งานเครื่ องรุ่นดังกล่าว ที่มีปมปรั ุ่ บเยอะมาก แต่พระองค์ท่าน ทรงอธิบายได้ ทงหมด ั้ ด้ วยภาษาธรรมดาเข้ าใจง่าย จนเจ้ าหน้ าที่ราชการที่ศนู ย์สายลมสามารถใช้ งานได้
“ถ้ าเราสังเกตในข่าวพระราชสานักบ่อยๆ เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จฯทรงงานยังถิ่นทุรกันดาร อุปกรณ์ ที่พระองค์ท่านจะพกติดตัวเสมอคือ กล้ องถ่ายรู ป สมุด ปากกา แผนที่ และวิทยุสื่อสารขนาดเล็ก 1-2 ตัว เพื่อตรวจสอบคลื่นวิทยุสื่อสารในพื ้นที่นนั ้ เพื่อจดบันทึกส่งให้ เจ้ าหน้ าที่รับทราบอยูเ่ สมอ” นายมนัสกล่าว นายมนัส กล่าวว่า ส าหรั บเหตุการณ์ ป ระทับ ใจที่ ไ ด้ มี โอกาสถวายงานให้ พ ระบาทสมเด็จ พระ เจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช คือเหตุการณ์ หนึ่งเกิดขึ ้นเมื่อปี 2528 เมื่อครัง้ ประเทศไทยเป็ นเจ้ าภาพกีฬา ซีเ กมส์ ครั ง้ ที่ 13 ในขณะนัน้ ตนเป็ นหัวหน้ าศูนย์ สายลม ทาหน้ าที่ เป็ นหัวหน้ าฝ่ ายช่าง ทาหน้ าที่วาง ระบบสื่อสารรายงานผลการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ที่แข่งขันกัน 2 แห่ง คือกรุงเทพฯ และ จ.ชลบุรี โดย การสื่ อสารต้ องใช้ วิทยุส มัครเล่นหรื อวอล์ กกี ท้ อล์ กกี ้ บนความถี่ ย่าน VHF แต่ช่วงแรกเกิ ดปั ญหาส่ง สัญญาณไม่ถึงเพราะไกลเกินไป จึงต้ องทาเสาติดอุปกรณ์ทวนสัญญาณที่เขาฉลาก แต่พอจะเอาไปติดตัง้ ปรากฏว่ามีสญ ั ญาณรบกวน จนเจ้ าหน้ าที่แก้ ไม่ตก “ในที่สดุ ได้ ยินพระสุรเสียงของพระองค์ท่านติดต่อเข้ า มา พร้ อมบอก วีอาร์ 009 (รหัสผู้ใช้ งานวิทยุสื่อสาร คื อพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช) พร้ อมรับสัง่ ว่า พระองค์ท่านรับฟั งและติดตามอยู่ ทรงถามถึงความถี่ภาคส่ง ความถี่ภาครับเท่าไหร่ วิธีการ ติดตังเสาอากาศเป็ ้ นอย่างไร ความสูงระดับไหน แล้ วทรงแนะนาการติดตังเสาสั ้ ญญาณ การติดตังตั ้ วกรอง คลื่น ใช้ เวลาประมาณ 45 นาที จนใช้ การได้ หลังจากนันทุ ้ กวันช่วงบ่ายจะทรงติดต่อเข้ ามาทุกวัน โดย ติดต่อสมาชิกในพื ้นที่เพื่อถามถึงเครื่ องทวนสัญญาณ ผลการแข่งขันเรื อใบเป็ นอย่างไร จะทรงขอทราบผล รายงานสัญญาณจากศูนย์สายลม แล้ วสอนวิธีการแก้ ไขปรับปรุงอุปกรณ์ จนการแข่งขัน ซีเกมส์ครัง้ ที่ 13 เสร็จสิ ้นลุลว่ ง”
นายมนัสกล่าวว่า นอกจากนี ้ยังมีอีกเหตุการณ์ที่สร้ างความประทับใจ คือปี 2539 เมื่อครัง้ เกิดวาต ภัยที่ อ.สวนผึ ้ง จ.ราชบุรี ในครัง้ นันการติ ้ ดต่อสื่อสารปกติไม่สามารถทาได้ จึงมีนกั วิทยุอาสาสมัครลงพื ้นที่ ไปช่วยชาวบ้ านมากมาย แต่ก่อนการลงพื ้นที่ พระองค์ท่านได้ ติดต่อเข้ ามาพระราชทานคาแนะนาวิธีการที่ ถูกต้ องในการออกไปช่วยประชาชน โดยให้ เอารถติดตังวิ ้ ทยุไปจอดในตัวเมืองราชบุรี ในจุดพื ้นที่สงู ส่วนผู้ที่
จะลงพื ้นที่ให้ นาเครื่ องวิทยุสื่อสารติดตัวไป โดยเตรี ยมแบตเตอรี่ สารองติดตัวไป ซึ่งพระองค์ทรงแนะนา กระบวนการต่างๆ ในการช่วยเหลือประชาชนอย่างละเอียดมาก เช่น ทรงแนะนาให้ เอาฉนวนหุ้มแบตเตอรี่ เพื่อป้องกันไม่ให้ ไปโดนโลหะหรื อเศษสตางค์ทาให้ ชอร์ ตและอาจไม่มีพลังงานใช้ ได้ นายมนัสกล่าวว่า ความรู้ สึกต่อพระองค์ท่านคือ ท่านมีพระมหากรุ ณาธิคณ ุ กับวงการวิทยุสื่อสาร อย่างมากมายมหาศาล เนื่องจากในยุคแรกการขออนุญาตใช้ วิทยุสื่อสารทาได้ ยากมาก ต้ องขอนุญาตสภา ความมัน่ คงแห่งชาติ ซึ่งไม่เห็นด้ วยจะให้ ใช้ จึงมีใช้ เฉพาะทหารอเมริ กนั พล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกนธ์ อดีต อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข จึงได้ นาความกราบบังคมทูลขอพระราชวินิจฉัย ส่งผลให้ พระองค์ท่านมีพระ ราชวินิจฉัยให้ ใช้ คลื่ นวิทยุสื่ อสารเพื่ อประโยชน์ ของสาธารณะ โดยให้ มี การจดทะเบียนให้ ถูกต้ องตาม กฎหมาย ไม่ต้องแอบใช้ กนั จากนันจึ ้ งมีการตังชมรมวิ ้ ทยุอาสาสมัครขึ ้น แล้ วทูลเกล้ าฯ ถวายชื่อรหัสเรี ยก วิทยุสื่อสาร VR009 โดยเมื่อถวายแล้ วท่านรับและใช้ ตอนแรกๆ ช่วงที่พระองค์ ติดต่อเข้ ามาบ่อยๆ คือปี 2528 เพื่อพระราชทานความรู้เกี่ยวกับการติดตังเสาอากาศ ้ และการใช้ งานในภาคส่วนต่างๆ
“ผมจ าได้ ว่าในวันเฉลิ ม พระชนมพรรษา พล.ต.ต.สุชาติไ ด้ ให้ สมาชิ กมาถวายพระพรผ่านช่อง ทางการใช้ คลื่นความถี่วิทยุ หลังจากนัน้ VR009 ได้ เรี ยกเข้ ามาว่า ขอบใจ VR001 (พล.ต.ต.สุชาติ) และทุก คน ที่ได้ มาอวยพรวันเกิดให้ วีอาร์ 009 ในวันนัน้ นอกจากนี ้ ตามปกติที่ในระหว่างที่มีคยุ โต้ ตอบผ่านทาง วิทยุสมัครเล่น เมื่อบุคคลที่ 3 จะเข้ ามาพูดในวงสนทนามักใช้ คาว่าเบรก แต่ทกุ ครัง้ ที่พระองค์ท่านจะขอ แทรกระหว่างบทสนทนา จะใช้ คาว่าขออนุญาต ซึง่ แสดงถึงความสุภาพมาก” นายมนัสกล่าวปิ ดท้ ายว่า “นักวิทยุสมัครเล่นทุกคนในประเทศไทยสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ และจะทาความดีเพื่อสังคม โดยในงานพระบรมศพเราจะไปให้ บริ การอานวยความสะดวกกับประชาชน ด้ วย เฉพาะอย่างยิ่งวันที่ 28 ตุลาคม ที่คาดว่าประชาชนคงมามาก”
ขอขอบพระคุณข้ อมูลจาก Matichon Online
เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ ตอนที่ 1 สู่ต้นทางการพัฒนา และสายสัมพันธ์สองประเทศ เพื่อเป็ นการน้ อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช Chill Chill Japan จึงขอแบ่งปันเรื่ องราวความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างไทยและญี่ปนุ่ ในฐานะมิตรประเทศ และนาเสนอภาพ เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ เพื่อทอดพระเนตรการดาเนินการของอุตสาหกรรม ต่างๆ ของญี่ปนุ่ เพื่อนากลับมาพัฒนาประเทศไทย
จากข่าวทางญี่ปนุ่ ที่ สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะแห่งราชวงศ์ ญี่ปนุ่ ได้ ทรงไว้ ทกุ ข์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็ นเวลา 3 วัน ซึง่ เป็ นสิ่งที่แสดง ให้ เห็นถึงสัมพันธ์อนั แน่นแฟ้นระหว่างราชวงศ์ไทยและญี่ปนุ่ ที่มีมาอย่างยาวนาน รวมถึงทุกภาคส่วนของ ญี่ปนุ่ ที่แสดงความอาลัยในเหตุการณ์ครัง้ นี ้ บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ที่ดีทงภาคธุ ั้ รกิจและประชาชน เราจึงขอเป็ นสื่อกลางเล่าเรื่ องราวความสัมพันธ์ อนั ดีที่สาคัญระหว่างสองประเทศให้ แก่ประชาชน คนไทยได้ ทราบ เพื่อเป็ นการน้ อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช ซึง่ ในบทความนี ้เราจะกล่าวถึงพระราชกรณียกิจด้ านการพัฒนา
--- ทรงทอดพระเนตรการดาเนินการของอุตสาหกรรมญี่ปนุ่
ในปี พ.ศ. 2506 ภายหลังช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช และสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้ เสด็จเยือนประเทศญี่ปนุ่ อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 27 พ.ค. – 5 มิ.ย. พ.ศ. 2506 เพื่อการเจริญสัมพันธไมตรี อันเป็ นพระราชกรณียกิจที่สาคัญยิ่ง ซึง่ สานัก พระราชวังได้ ประมวลภาพพระราชกรณียกิจครัง้ นี ้เอาไว้ ซึง่ เป็ นภาพที่ใครหลายคนยังไม่เคยเห็น เราจึงขอ นามาให้ ทกุ ท่านได้ ชมกัน
เมื่อครัง้ ในหลวงเสด็จเยือนญี่ปนุ่ อย่างเป็ นทางการครัง้ แรก ทรงเสด็จพระราชดาเนินถึงท่าอากาศ ยานอินเตอร์ เนชัน่ แนล กรุงโตเกียว (Tokyo International Airport)หรื อสนามบินฮาเนดะในปัจจุบนั วันที่ 27 พ.ค. พ.ศ. 2506 ในครัง้ นันได้ ้ ประทับที่ ที่ประทับ เกฮินคัง (Geihinkan) หรื อเป็ นที่ร้ ูจกั ในชื่อ Akasaka Palace (赤坂離宮 Akasaka rikyu)
สถาปั ตกรรมรูปแบบบาร็อคที่สร้ างมาตังแต่ ้ สมัยเมจิ เดิมสร้ างเพื่อเป็ นที่ประทับของมกุฎราชกุมาร ปัจจุบนั ใช้ เพื่อเป็ นที่พานักของแขกบ้ านแขกเมือง พระราชวังแห่งนี ้ได้ รับการขึ ้นทะเบียนเป็ นมรดกแห่งชาติ ญี่ปนุ่ ในปี ค.ศ. 2009 ตังอยู ้ ใ่ นเขตมินาโตะ โตเกียว ซึง่ โดยปกติทางรัฐบาลญี่ปนุ่ จะเปิ ดให้ ประชาชนทัว่ ไป เข้ าชมเป็ นช่วงๆ โดยจากัดจานวนผู้เข้ าชม
❈ทรงทอดพระเนตรการดาเนินการของอุตสาหกรรมต่ างๆ ของญี่ปนุ่
พระราชกรณียกิจหลักของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในครัง้ นันคื ้ อการการ ทอดพระเนตรการดาเนินงานของอุตสาหกรรมต่างๆ ของญี่ปนุ่ ซึง่ โดดเด่นในด้ านเทคโนโลยี ทัง้ โรงงานผลิต กล้ องถ่ายรูปแคนนอน (Canon Camera Co., Ltd) บริษัทนิปปอนอิเล็คทริค (Nippon Electric Co., Ltd) บริษัทอุตสาหกรรมไฟฟ้ามัตสุชิตา อิเล็คทริค (Ibaragic Factory of Matsushita Electric Industry Co., Ltd) และอีกหลายโรงงานเพื่อศึกษาสาหรับนามาประยุกต์ใช้ ในประเทศไทย แสดงถึงความสนพระทัยใน เรื่ องเทคโนโลยี และการสื่อสารที่ปวงชนชาวไทยจะเห็นได้ จากผลงานประดิษฐ์ และความคิดริเริ่มมากมาย จากพระองค์ นอกจากนี ้ยังไม่ละเลยกิจการด้ านศิลปะวัฒนธรรมของญี่ปนุ่ สาหรับนามาส่งเสริมอาชีพให้ แก่ ประชาชน
ทรงทอดพระเนตรการผลิตกล้ องถ่ายรูปและเครื่ องเจียรไนเลนส์ รวมทังการประกอบกล้ ้ อง ที่ โรงงานผลิต กล้ องถ่ายรูปแคนนอน
ทรงทอดพระเนตรการทดลองแพร่ภาพโทรทัศน์สี และการประดิษฐ์ เครื่ องโทรคมนาคม และทรานซิสเตอร์ บริษัทนิปปอนอิเล็คทริ ค
ทรงทอดพระเนตรกิจการที่โรงงานผลิตลูกไม้ ซึง่ ในการ ทรงทอดพระเนตรการดาเนินการของอุตสาหกรรม ต่างๆ ของญี่ปนุ่ ในครัง้ นัน้ ได้ นามาซึง่ การวางแผนพัฒนาประเทศให้ มีความเจริญในด้ านเทคโนโลยี โดยไม่ ละทิ ้งในเรื่ องของงานศิลปะหัตกรรม ที่เป็ นอาชีพหนึง่ ของคนไทย เพื่อวางแนวทางพัฒนาให้ เจริญยิ่งขึน้ ไป
❀ ปลานิล เชื่อมสัมพันธ์ สองแผ่ นดิน
ทุกครัง้ ที่มีการนาเมนูอาหารที่มีปลานิลเป็ นส่วนประกอบไปตังเครื ้ ่ องเสวย พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจะทรงโบกพระหัตถ์ให้ ย้ายไปที่อื่น โดยไม่ทรงรับสัง่ อะไร จึงมีผ้ กู ล้ าสอบถาม สาเหตุที่พระองค์ไม่เสวยปลานิลจนได้ คาตอบว่า “ก็เลีย้ งมันมาเหมือนลูก แล้ วจะกินมันได้ อย่ างไร” เรื่ องนี ้มีที่มาซึง่ เกี่ยวข้ องโดยตรงกับราชวงศ์ญี่ปนุ่ เพราะเมื่อปี พ.ศ. 2508 เมื่อครัง้ ที่ สมเด็จพระจักรพรรดิ อากิฮิโตะแห่งญี่ปนุ่ ยังดารงพระอิสริยยศเป็ นมกุฎราชกุมารนันพระองค์ ้ ซงึ่ เป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านมีนวิทยาได้ ส่งลูกปลาจานวน 50 ตัวมาทางเครื่ องบินเพื่อมอบให้ แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ฯ หลังจากที่ทงสอง ั้ พระองค์ได้ ปรึกษาเรื่ องที่ประชาชนไทยขาดอาหารโปรตีนราคาประหยัด ซึง่ ลูกปลาเหล่านันเหลื ้ อรอดชีวิตเพียง 10 ตัวเมื่อเดินทางมาถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช จึงสัง่ ให้ นาไปไว้ ในพระที่นงั่ จนลูกปลา 10 ตัวรอดชีวิต และขยายพันธ์ุุอย่างรวดเร็ วต่อมา พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ พระราชทานชื่อปลาชนิดนี ้ว่าปลานิล เนื่องจากมีสีเทาอมน ้าตาล และมี แถบดาพาดบนลาตัว อีกทังยั ้ งพ้ องกับ Nile Tilapia ชื่อสามัญภาษาอังกฤษอันมีที่มาจากถิ่นกาเนิดปลา ชนิดนี ้ซึง่ คือลุม่ แม่น ้าไนล์ในทวีปแอฟริกา
ซึง่ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ฯ ได้ ทรงเพาะเลี ้ยง ปรับปรุงพันธุ์ ปลานิลในสวนจิตรลดาให้ มีตวั โต เนื ้อเยอะ ก่อนส่งต่อให้ กรมประมงไปขยายพันธุ์ และแจกจ่ายชาวบ้ าน เพื่อเลี ้ยงเป็ นอาชีพ
เป็ นอันว่าแหล่งโปรตีนราคาถูกที่คนไทยนิยมบริโภค มีที่มาจากประเทศญี่ปนุ่ และในหลวงของปวงชนชาว ไทย นัน้ คือคนไทยคนแรกที่เลี ้ยงปลานิลนัน่ เอง ที่สาคัญยังทรงเลี ้ยงอย่างใส่ใจ ในพระที่นงั่ ของพระองค์ เองด้ วย แสดงถึงความเป็ นห่วงปากท้ องของราษฎรเป็ นอันมาก ขอขอบพระคุณข้ อมูลจาก หนังสือ ตามรอยพ่อ ก-ฮ สานักพิมพ์สารคดี