เค้าโครง

Page 1

กลูโ คซามีน กลูโคซามีนเป็นส่วนประกอบของ กลัยโคซามิโนกลัยแคน (glycosa-minoglycans) ใน matrix ของกระดูกอ่อนนำ้าไขข้อและเป็น ส่วนประกอบในเกือบทุกเนื้อเยื่อของร่างกาย กลูโคซามีนมีประสิทธิภาพ ทำาไห้โครงสร้างของการทำางานของข้อ และอาการผิดปกติทางข้อดีขึ้น โดยกลูโคซามีนจะทำาหน้าที่เป็นสารตัวกลาง (intermediate) ใน กระบวนการสังเคราะห์ mucopolysaccharide และสามารถบริหารยาได้ โดยการรับประทาน ช่วยทำาไห้อาการปวดข้อ ข้ออักเสบ องศาการ เคลื่อนไหวและความเร็วในการเดินดีขึ้น โดยยานี้กระตุ้นไห้มีการสร้าง hyaluronic acid และสามารถเพิ่มการสร้างโปรตีโอกลัยแคน (proteoglycans) ในกระดูกอ่อน กลูโคซามีนจัดเป็น aminomonosaccharides ที่มีในธรรมชาติ กลูโคซามีนดูดซึมได้ดีจากทางเดิน อาหารและกระจายทั่วร่างกาย รวมทั้งกระดูกอ่อนผิวข้อ ช่วยเพิ่มการ สร้างโปรตีโอกลัยแคนโดยยับยั้งการทำางานของเอนไซม์ ที่ทำาลาย กระดูกอ่อน เช่น collagenase โดยปกติกลูโคซามีนเป็นส่วนประกอบใน sulfated glycosa-minoglycans ใน matrix ของกระดูกอ่อนและนำ้าไขข้อ

การออกฤทธิ์แ ละคุณ สมบัต ิท างเภสัช วิท ยาของ กลูโ ค ซามีน การออกฤทธิ์ - ส่งเสริมและคงสภาพโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูกอ่อนในข้อต่อ - ต่อต้านการเกิดการอักเสบ


กลไกการออกฤทธิ์ - เป็นวัตถุดิบในการผลิต ไกลโคซามิโนไกลแคน และ คอนไดรไซต์ - โดยกลูโคซามีน จะกระตุ้นให้คอนไดรไซต์ สร้างคอลลาเจนและโปรที โอไกลแคน เพิ่มขึ้นและกระตุ้นให้ซินโนวิโอไซต์ สร้างไฮยาลูโรแนน เภสัช จลนศาสตร์ - 90 เปอร์เซ็นต์ กลูโคซามีน เมื่อให้โดยการกิน จะถูกดูดซึมที่ลำาไส้เล็ก และจะถูกขนส่งไปที่ตับผ่านทาง ระบบไหลเวียนเลือด

ที่ม าของกลูโ คซามีน ในร่า งกายสัต ว์ Glucosamine เป็นสารที่พบตามปกติในร่างกายลัตว์ โดยพบมาก ในกระดูกอ่อน ( cartilage) ตามปกติอาหารที่สุนัขและแมวกินทั่วไปจะมีสารดังกล่าวอยู่ แต่โชคไม่ดี ที่ Glucosamine มักเสื่อมสลายเมื่อผ่านขบวนการย่อย หรือประกอบ อาหาร ทำาให้ร่างกายไม่ได้รับหรือได้รับ Glucosamine น้อยมากจาก การกินอาหาร ดังนั้นร่างกายจะต้องสังเคราะห์สาร Glucosamine ดัง กล่าว ในสัตว์ที่มีสุขภาพสมบูรณ์จะสามารถ สร้างสารเหล่านี้ได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในการนำาไป ใช้สร้างกระดูกอ่อนที่เป็นองค์ประกอบสำาคัญของข้อต่อต่างๆ และเมื่อ สัตว์มีอายุมากขึ้นการเสื่อมของกระดูกอ่อนในข้อมีมากขึ้น ร่างกายจะ


ผลิตสาร Glucosamine ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และนี่ คือช่วงเวลาที่จะนำาสัตว์ไปสู่อาการข้ออักเสบ ดังนั้นการเสริม Glucosamine จึงสามารถยับยั้งและรักษาอาการดังกล่าวได้

หน้า ที่ข องกลูโ คซามีน ในร่า งกายสัต ว์ Glucosamine เปรียบเหมือนอิฐที่ใช้ก่อกำาแพงหรือสร้างบ้านซึ่งก็ คือกระดูกอ่อนที่เป็นโครงสร้างหลักของข้อต่อต่างๆ โดยกลไกการ ทำางานทางชีวเคมีที่ค่อนข้างซับซ้อน ในภาวะปกติกระดูกอ่อนที่เป็นองค์ ประกอบของข้อต่อในสัตว์จะมีการสร้างขึ้นและถูกทำาลายอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อสุนัขเป็นโรคกรดูกสะโหกห่าง หรืออายุมากขึ้น ร่างกายจะสร้าง Glucosamine ชดเชยได้ไม่ทันกับที่จะนำาไปใช้สร้างกระดูกอ่อนชดเชย ส่วนที่ถูกทำาลายจึงทำาให้สัตว์แสดงอาการข้ออักเสบขึ้น

ลักษณะของสุ นัขที่เป็ นโรคข้ ออักเสบหรือข้ อเสื่ อม - สุนัขเดินขากะเผลก - ขาหลังเดินท่าแปลกไปจากเดิม - อาการบวมแดงบริเวณข้ออย่างชัดเจน - เมื่อคลำ่าบริเวณข้อจะรู้สึกร้อน - สุนัขแสดงอาการเจ็บปวด หรือส่งเสียงร้องเมื่อกดบริเวณข้อ - ไม่ค่อยอยากลุก เวลาเปลี่ยนจากท่านอนเป็นท่ายืน อาจร้องเจ็บ หรือ ไม่ค่อยอยากวิ่ง


-โรคข้ออักเสบทำาให้ยากต่อการ ลุกขึ้นยืน การขึ้นบันได การวิ่ง เล่น การเดิน การกระโดด - ใช้ 2 ขาหลังกระโดดไปพร้อมกัน เหมือนกระต่ายกระโดด โดย เฉพาะเวลาขึ้นบันไดบางครั้งอาจเจ็บมากและใช้ขาหลังลดลง จนเริ่ม เห็นว่ากล้ามเนื้อขาหลังฝ่อลีบเล็กลง

สาเหตุทที่ าำ ไห้ สุนัขเกิดอาการข้ ออักเสบหรือข้ อเสื่ อม สาเหตุหลักจาก พันธุกรรม พบว่าส่วนมากสุนัขที่แสดงอาการของ โรคดังกล่าวมักอยู่ในกลุ่มของ สุนัขพันธุ์ใหญ่ หรือสุนัขที่มอ ี ัตราการ เจริญเติบโตที่รวดเร็ว นอกจากนั้น การเลี้ยงดูลูกสุนัขที่ไม่เหมาะสม ยก ตัวอย่างเช่น ภาวะโภชนาการที่ไม่สมดุล อาหารที่มีปริมาณไขมันสูง การเลี้ยงสุนัขให้มีนำ้าหนักเกินกว่าปกติ หรือการได้รับแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัสในปริมาณที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำาลัง กาย หรือออกกำาลังกายผิดประเภท การเลี้ยงสุนัขในบริเวณที่ลื่น ฯลฯ ยังส่งผลให้ลูกสุนัขแสดงอาการข้อสะโพกเสื่อมตั้งแต่อายุยังน้อย และส่ง ผลให้อาการเจ็บปวดมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย ในทางตรงกันข้าม แม้ว่าลูกสุนัขบางตัวจะมีความเสี่ยงต่อข้อสะโพกเสื่อมจากพันธุกรรม แต่ จากการเลี้ยงดูลูกสุนัขที่ดีและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กอาจจะไม่ปรากฏ อาการเจ็บปวดอย่างชัดเจนเลยก็เป็นไปได้ ำ กตัวเกิน – น้ำหนั ำ กตัวที่มำกของสัตว์เลี้ยงจะเพิ่มกำรกดทับบริ เวณข้อต่อ ซึ่ งจะโน้มนำำให้ - น้ำหนั เกิดโรคข้ออักเสบ


- อำยุ – เมื่อสัตว์เลี้ยงมีอำยุมำกขึ้น กระดูกอ่อนจะเริ่ มมีกำรเสื่ อมสภำพจึงทำำให้สุนขั ชรำได้รับ ควำมทรมำนจำกโรคข้ออักเสบในระดับควำมรุ นแรงต่ำงๆ ได้ - สำยพันธุ์ – สุนขั พันธุใ์ หญ่มีควำมเสี่ ยงต่อกำรเกิดโรคข้ออักเสบ ได้มำกกว่ำพันธุ์อื่นๆ เช่น สุ นขั พันธุ์ร็อตไวเลอร์ ลำบรำดอร์ โกลเด้น รี ทรี ฟเวอร์ และโดเบอร์ แมน - อุบตั ิเหตุ – ควำมเสื่ อมของข้อต่อเป็ นผลมำจำกกำรกดทับ หรื อกำรบำดเจ็บที่มีสำเหตุมำจำก อุบตั ิเหตุ - พันธุกรรม – สัตว์เลี้ยงบำงตัวมักมีโอกำสกำรเกิดโรคข้ออักเสบมำตั้งแต่กำำ เนิด - กำรติดเชื้อ – บำงครั้งเกิดจำกกำรติดเชื้อจำกส่ วนอื่นในร่ ำงกำย แล้วเชื้ อมีกำรแพร่ กระจำยเข้ำสู่ ข้อ เช่น ภำวะปอดอักเสบ โรคลำำไส้อกั เสบ หรื อภำวะ bacterial endocarditis ซึ่ งสำมำรถทำำลำย เนื้อเยือ่ ข้อต่อ และกระดูกอ่อนได้

ชีว เคมีก ารเสื่อ มของกระดูก อ่อ นข้อ ต่อ ในภาวะปกติของข้อต่อ จะมีกระบวนการเมแทบอ-ลิซึมของกระดูก อ่อนอยู่แล้วในระดับหนึ่ง เพื่อรักษาความสมดุลระหว่างกระบวนการ สร้างและกระบวนการสลาย เซลล์กระดูกอ่อนจะทำาหน้าที่ในการสร้าง สารชีวโมเลกุลที่เป็นองค์ประกอบของเนื้อกระดูกอ่อน เช่นไกลโคซามิ โนไกลแคน ไฮยาลูโรแนน และคอลลาเจนรวมทั้งยังสังเคราะห์เอนไซม์ ที่ย่อยสลายโครงสร้างเมทริกซ์ เช่น เอนไซม์เมทริกซ์เมทัลโลโปรตีเนส ชิ้นส่วนสารชีวโมเลกุลของเนื้อกระดูกอ่อนที่ย่อยแล้วจะถูกปล่อยออกสู่


นำ้าไขข้อ จากนั้นจะดูดซึมผ่านทางท่อนำ้าเหลืองที่อยู่บริเวณเยื่อหุ้มข้อ เข้าสู่กระแสเลือดและถูกนำาไปทำาลายที่ตับและไต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.