หนังสือชุดสำ�หรับเย�วชน : หนังสือสื่อประสมเฉลิมพระเกียรติ
เล่มที่ ๓ เพลงแผ่นดิน
คณะกรรมก�รฝ่�ยประมวลเอกส�รและจดหม�ยเหตุ ในคณะกรรมก�รอำ�นวยก�รจัดง�นเฉลิมพระเกียรติพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว เนื่องในโอก�สพระร�ชพิธีมห�มงคลเฉลิมพระชนมพรรษ� ๗ รอบ ๕ ธันว�คม ๒๕๕๔
เพลงแผ่นดิน
พลิ้ว พลิ้ว พลิ้ว หวิวไหว เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม เสียงใครบรรเลง
๔
๕
๖
พรำ� พรำ� ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม คือคว�มชุ่มชื่น ๗
หริ่ง หริ่ง ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม แผ่นดินอุดม
๘
๙
ติ๋ง ติ๋ง ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม คือคว�มงดง�ม
๑๐
๑๑
โครมครืน โครมครืน โคลงเคลง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม ผ่�นคว�มทุกข์ตรม
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
วิบวับ ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม กลั่นจ�กดวงใจ
๑๖
๑๗
หวิวไหว ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม คือคว�มเมตต�
๑๘
๑๙
เฮฮ� ครืน ครืน ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม แผ่นดินร่มเย็น
๒๐
๒๑
พลิ้ว พลิ้ว พรำ� พรำ� โครมครืน ครื้นเครง หริ่ง หริ่ง ติ๋ง ติ๋ง วิบวับ วิบวับ หวิวไหว เฮฮ� เฮฮ� ครื้นเครง เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม เสียงจ�กหัวใจ ได้ยินไหม เสียงใครบรรเลง
๒๒
๒๓
เสียงเพลงกังว�นไกล ได้ยินไหม เพลงของพระร�ช� เป็นเพลงแผ่นดิน คว�มทุกข์มล�ยสิ้น คว�มสุขดำ�รง...ทรงพระเจริญ
๒๔
๒๕
พระปรีชาสามารถด้านดนตรี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวทรงมีพระปรีช�ส�ม�รถหล�ยด้�น ซึ่งดนตรีก็เป็นอย่�งหนึ่งที่พระองค์ทรงมี พระปรีช�ส�ม�รถ พระองค์ยังเคยทรงเป็นนักดนตรี และทรงเกี่ยวข้องกับก�รดนตรี ม�ตั้งแต่สมัยที่ยังทรงเป็นสมเด็จ พระอนุช�ธิร�ชในรัชก�ลที่ ๘ ขณะที่ทรงศึกษ�อยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ทรงฝึกเครื่องดนตรีที่โปรดม�กที่สุด คือ คล�ริเนตและแซกโซโฟน ทั้งนี้ทรงได้รับก�รถว�ยก�รสอน และฝึกต�มแบบฉบับก�รศึกษ�ดนตรีอย่�งแท้จริง ทร ง พระร�ชนิพนธ์เพลงไว้ถึง ๔๘ เพลง ซึ่งเป็นที่นิยมของคนไทยและช�วต่�งประเทศเป็นอย่�งม�ก เพลงที่ทรงพระร�ชนิพนธ์เพลงแรก คือเพลง ‘แสงเทียน’ เป็นเพลงบลูส์ แต่เนื่องจ�กมีพระร�ชประสงค์ที่ จะทรงปรับแก้ จึงโปรดเกล้�ฯพระร�ชท�นเพลง ‘ย�มเย็น’ และเพลง ‘ส�ยฝน’ ออกม�ก่อน จ�กนั้นพระบ�ทสมเด็จ พระเจ้�อยู่หัวได้ทรงพระร�ชนิพนธ์เพลงต่�งๆ ต�มลำ�ดับ โดยเพลงที่ทรงพระร�ชนิพนธ์ทำ�นองและคำ�ร้องภ�ษ�อังกฤษ ด้วยพระองค์เองมี ๕ เพลง คือ ‘Echo’, ‘Still on My Mind’, ‘Old-Fashioned Melody’, ‘No Moon’ และ ‘Dream Island’ นอกจ�กนี้ มี ๒ เพลง ที่ทรงพระร�ชนิพนธ์ทำ�นองขึ้นภ�ยหลังใส่ในคำ�ร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ‘คว�มฝันอัน สูงสุด’ และ ‘เร�สู้’ ผู้ที่โปรดเกล้�ฯให้แต่งคำ�ร้องประกอบเพลงพระร�ชนิพนธ์มีหล�ยท่�น ได้แก่ หม่อมเจ้�จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ศ�สตร�จ�รย์ ท่�นผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธย� ศ�สตร�จ�รย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ท่�นผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธย� น�ยจำ�นงร�ชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์) ม.ร.ว.เสนีย์ ปร�โมช ม.ล.ประพันธ์ สนิทวงศ์ และท่�นผู้หญิงมณีรัตน์ บุนน�ค เป็นต้น ในระยะหลังพระองค์ทรงมีพระร�ชกรณียกิจม�กม�ย ทำ�ให้ทรงไม่มีเวล�ที่จะทรงพระร�ชนิพนธ์เพลงใหม่ๆ ออกม� เพลงสุดท้�ยที่พระองค์ทรงพระร�ชนิพนธ์ออกม�คือเพลง ‘เมนูไข่’ เป็นเพลงแนวสนุกสน�น เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพ รัตนร�ชสุด�ฯ สย�มบรมร�ชกุม�รี พระร�ชท�นเป็นของขวัญวันพระร�ชสมภพครบ ๗๒ พรรษ� แด่สมเด็จพระเจ้�พี่น�งเธอ เจ้�ฟ้�กัลย�ณิวัฒน� กรมหลวงนร�ธิว�สร�ชนครินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘
๒๖
แรงบันด�ลใจ ‘เพลงแผ่นดิน’ บทเพลง เสียงดนตรีบันด�ลคนที่ได้ยินได้ฟังเกิดคว�มสุข คว�มปีติ รื่นรมย์ในชีวิต แต่จะมีสักกี่คน ที่ตั้งใจสืบส�ว ไปถึงที่ม�แห่งคว�มสุขนั้นว่�เกิดจ�กผู้ใด ในทำ�นองเดียวกัน ก�รที่คนเร�มีชีวิต ใช้ชีวิตของตนอย่�งมีคว�มสุขแล้ว ควรลองคิดย้อนว่�บ้�นของเร� ผืนดิน ที่เร�อยู่อ�ศัยม�จ�กก�รทุ่มเท อดออมก่อร่�งสร้�งขึ้นม�ด้วยหย�ดเหงื่อของพ่อแม่ปู่ย่�ต�ย�ย แต่แผ่นดินอันกว้�งใหญ่ ไพศ�ลเป็นขอบเขตประเทศม�ถึงวันนี้ เกิดจ�กหย�ดเหงื่อ สติปัญญ� คว�มเสียสละของบรรพบุรุษ และเหนืออื่นใด พระเจ้�แผ่นดินของเร�ต้องทุ่มเทพลังแห่งชีวิต พลังแห่งพระวรก�ยสุดที่จะคณ�นับ แผ่นดินที่เร�อยู่จึงเป็นแผ่นดินแห่ง คว�มสุข โครงก�รในพระร�ชดำ�ริหล�ยพันโครงก�รทั่วประเทศ กำ�เนิดขึ้นด้วยพระปรีช�ส�ม�รถในองค์พระบ�ทสมเด็จ พระปรมินทรมห�ภูมิพลอดุลยเดช ก่อให้เกิดคว�มสุขแก่คนไทยทั่วทั้งแผ่นดิน เป็นสิ่งที่เร�พึงระลึกถึง จึงจะนับได้ว่�เป็น ผู้มีกตัญญูกตเวที พระปรีช�ส�ม�รถท�งดนตรีเป็นหนึ่งในพระปรีช�ส�ม�รถหล�ยด้�นขององค์พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว ที่ ผู้ใดได้ยินได้ฟังบทเพลงพระร�ชนิพนธ์แล้วย่อมก่อเกิดคว�มสุข คว�มปีติ และรื่นรมย์ คิดเชื่อมโยงไปถึงคว�มสุขในชีวิตที่ เกิดม�บนผืนแผ่นดิน ภ�ยใต้พระบ�รมีแห่งองค์พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว ด้วยแนวคว�มคิดดังกล่�ว ผู้เขียนและว�ด ‘เพลงแผ่นดิน’ จึงได้ใช้ถ้อยคำ�เป็นจังหวะ ร้อยเรียงเป็นท่วงทำ�นอง ผส�นกับภ�พกึ่งน�มธรรมมีลักษณะลื่นไหลเชื่อมต่อกันดุจเสียงเพลงทำ�ให้เกิดคว�มซ�บซึ้งสะเทือนอ�รมณ์ และด้วยถ้อยคำ� ที่กระตุ้นให้คิดต�ม ติดต�มไปห�จุดกำ�เนิดอันยิ่งใหญ่แห่งคว�มสุขของแผ่นดิน จุดกำ�เนิดของ ‘เพลงแผ่นดิน’ ที่มิควร ลืมเลือนตร�บน�นเท่�น�น
ชีวัน วิส�สะ
๒๗
เพลงแผ่นดิน เรื่องและภาพ โดย ชีวัน วิสาสะ
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ จัดพิมพ์ พุทธศักราช ๒๕๕๕ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๕๕ จำานวน ๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-543-189-7 ที่ปรึกษา นางสายไหม จบกลศึก นายชาย นครชัย นายดำารงค์ ทองสม นางสาวนาถนิศา สุขจิตต์
ที่ปรึกษาเลขาธิการพระราชวัง ผู้อำานวยการสำานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย รองผู้อำานวยการสำานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ผู้อำานวยการศูนย์เครือข่ายสัมพันธ์และแหล่งทุน
บรรณาธิการ นางสาวระพีพรรณ พัฒนาเวช กองบรรณาธิการ นางสาวแสงทิวา นราพิชญ์ นางกณิกนันท์ สุวรรณปินฑะ นางสาวณุภัทรา จันทวิช นางสาวอัมรา ผางนำ้าคำา นายวิชระวิชญ์ อัครสันติสุข นางสาวธันย์ชนก ยาวิลาศ ออกแบบปกและรูปเล่ม นางวชิราวรรณ กาญจนาภา นายกฤษณะ กาญจนาภา
จัดทำาโดย สำานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ๖๖๖ ชั้น ๑๗ อาคารธนาลงกรณ์ ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบำาหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๒๘ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๓๑ www.ocac.go.th