โคนม

Page 1

ผลงานวิจัยดานอาหารโคนม กองอาหารสัตวโดยกลุมวิจัยอาหารสั ต ว และนั ก วิ ช าการของศู น ย ฯ สถานี ฯ ได ดํ าเนิ น โครงการวิจัยตามแนวนโยบายของกรมปศุสัตว เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีสูตรอาหารและการจัด การให อาหารสัตวโดยลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต การแกไขป ญ หาการขาดแคลนอาหาร สัตวและพืชอาหารสัตวตลอดมา ซึ่ งการดํ าเนิ น การวิ จัย ด านอาหารโคนม ที่ ผ านมาพอสรุ ปใน ประเด็นที่สําคัญได คือ 1. การพัฒนาสูตรนมเทียมและสูตรอาหารขนเพื่อใชเลี้ยงลูกโคนม การเลี้ยงลูกโคนมโดยเฉพาะระยะอายุ 2 เดือนแรก เปนสิ่งสําคัญที่ผูเลี้ยงตองเอาใจใส ดูแลเปนพิเศษ ถาผูเลี้ยงไมสนใจดูแลจะเกิดความเสียหายตามมา ไมวาจะเปนลูกโคเพศเมียหรือเพศ ผู เชนจะมีการเจริญเติ บโตชา แคระแกรน ใชอาหารมากตนทุนสูง ผสมติดชา เปนตน การเลี้ยงและ ใหอาหารอยางถูกวิธี จะทําใหลูกโคมีการเจริญเติบโตที่ดี สุขภาพสมบูรณ พรอมที่จะใหผลผลิตที่ดี ในอนาคต โดยธรรมชาติการใหลูกโคกินนมแมเปนวิธีที่ดีที่สุด แตเมื่อน้ํานมเปนผลผลิตที่ตอง จําหนายเปนรายไดฟารม การเลี้ยงลูกโคนมจึงจําเปนตองอาศัยแหลงอาหารคลายนมอื่นๆมาแทน เชน การเลี้ยงลูกโคโดยใชนมเทียม (milk replacer) ในรูปนมผงละลายน้ํา สัดสวน นมผง : น้ําสุกอุน เทากับ 1 : 8 โดยจํากัดปริมาณการใหนมวันละ 4 กิโลกรัม/ตัว และหยานมลูกโคที่อายุ 3 -4 เดือน โดยลูกโคเติบโตวันละ 400 – 500 กรัม ตอมาจากสภาพปญหานมผงเลี้ยงลูกโคมีราคาแพง สวนใหญนําเขาจากตางประเทศ จึงมี การคนควาวิจัยเพื่อหาชนิด หรือวิธีการใชอาหารเหลวอยางอื่น มาทดแทนนมผงหรือนมเทียม ดังกลาว การศึกษาหาวิธีการใชอาหารขน (calf starter) รวมกับอาหารหยาบคุณภาพดี (หญาแหง ออนตัดที่อายุนอย) เพื่อกระตุนการพัฒนากระเพาะ rumen ของลูกโคไปสูการหยานมที่เร็วขึ้น ผลงานที่นักวิจัยไดทดลองและเผยแพรแลว พอจะประมวลขอมูลของ การเลี้ยงลูกโคนม โดยสรุป ดังนี้ 1.1. การใชนมถั่วเหลืองปรับสภาพคลายนมโคเลี้ยงลูกโคนมลูกผสมขาว-ดําสายเลือด 75 %เปรียบเทียบกับการใหนมแม และนมเทียม ในชวงแรกเกิด – 13 สัปดาห (ดังแสดงในภาพที่ 1 ) โดยกําหนดใหลูกโคกินอาหารเหลววันละ 4 กิโลกรัม แบงให 2 มื้อ เสริ มอาหารขนลูกโค (calf starter , 19 % โปรตีน) และหญาแหงออน (calf hay) ในสัปดาหที่ 2 ใหกินตามใจชอบ พบวา ลูกโค สามารถกินนมถั่วเหลืองปรับสภาพรวมกับนมแม ไดเปนอยางดี เทียบกับกลุมที่กินนมแมและนม เทียมลวน การเตรียมนมถั่วเหลืองสําหรับเลี้ยงลูกโคนม : นําเมล็ดถั่วเหลือง 1 กก.ที่กระเทาะเปลือก และผานการแชน้ําแลว 5-6 ชั่วโมง มาตมที่อุณหภูมิ 80-90 องศาเซนติเกรด นาน 30 นาที แลวบดจน


2

ละเอียดผสมน้ําพอประมาณแลวกรองผานตะแกรงขนาด 1 มม. นําสวนที่กรองไดมาเติมสาร 3N NAOH จํานวน 64 มล. ทิ้งไว 30 นาที แลวเติมน้ํามันพืช 200 กรัม จากนั้นปรับสภาพใหเปนกลาง ดวยสารละลายผสมที่มีสภาพเปนกรด (โดยใช ไขไก 5 ฟอง hydrolyzed ดวย 3N HCL จํานวน 64 มล. เปนเวลา 30 นาที )ปนสวนผสม เติมกลูโคส 150 กรัม แลวปนครั้งสุดทาย จะได น้ํานมถั่ว เหลืองสําหรับเลี้ยงลูกโคนม

การเลี้ ยงลูกโคนมดวยนมถั่วเหลื องปรับสภาพรวมกั บนมแม เฉลีย่ นน.เริ่มตน = 29.2 กก., นน.หยานมที่ 13 สัปดาห = 73.7 กก. อัตราการเจริญเติบโต เฉลี่ย = 0.508 กก./วัน

หญ าแหงคุณภาพดี ใหตามชอบ

0 อายุ

อาหารขน(โปรตีน 19%) เต็มที่ นมแม+นมถัว่ เหลือง(2+2) กก./ตัว/วัน หรือ นมถัว่ เหลืองลวนใหหลังจากกินนมแม แลว 1 เดือน

3

6

9

12 สัปดาห ที่มา; สมคิดและคณะ(2530)

ภาพที่ 1 แสดงโปรแกรมการใหอาหารและการเจริญเติบโตของลูกโคนมระยะแรกเกิด – หยานม อายุ 13 สัปดาห ดวยนมถั่วเหลืองปรับสภาพรวมกับนมแม วิธีนี้อาจมีความยุงยากบางที่ตองเตรียมนมถั่วเหลือง แตถาในอนาคต นมเทียมซึ่งสวนใหญ ตองนําเขานมผงจากตางประเทศนับวันมีราคาแพงยิ่งขึ้นนมถั่วเหลืองจะมีบทบาทในการใชทดแทน ไดซึ่งเกษตรกรสามารถเปรียบเทียบราคาและตัดสินใจได 1.2. การพัฒนาสูตรนมเทียมเพื่อใชเลี้ยงลูกโค เนื่องจากปจจุบันนมเทียมที่ใชเลี้ยงลูกโค ที่มีขายทั่วไปมีความแตกตางกันมากทั้งดานคุณภาพและปริมาณและมีราคาแพงดังไดกลาวแลว จึงมี ผูคิดคนพัฒนาสูตรนมเทียมขึ้นใชเองหรือแนะนําใหเกษตรกรใชเลี้ยง เพื่อเปนการลดตนทุนการ ผลิตเพราะสามารถจัดหาวัตถุดิบในประเทศมาประกอบสูตรไดเอง ลูกโคนมที่ไดรับอาหารสูตรนม เทียม มีน้ําหนักตัวเมื่อครบ 9 สัปดาห เฉลี่ยเทากับ 49.7 กิโลกรัม และมีการเจริญเติบโตวันละ 426 กรัม ตามเกณฑที่กําหนด


3

ตารางที่ 1 สูตรนมเทีย มที่ใชเลี้ยงลูกโคนมลูกผสมขาว-ดํา (0 – 9 สัปดาห) สูตรนมเทียมที่ใชเลี้ยงลูกโคกอนหยานม สวนประกอบ หางนมผง แปงขาวโพด แปงมันสําปะหลัง แปงถั่วเหลือง น้ํามันพืช น้ําตาลทราย แรธาตุและวิตามินรวม รวม สวนประกอบทางเคมีโดยคํานวณ วัตถุแหง,% โปรตีน,% พลังงานใช ประโยชน,Kcal/kg ไขมัน,%

ปริมาณ (กก.) 40.00 9.34 10.00 28.22 6.20 5.00 1.24 100.00 91.33 26.00 3,300 12.00

ที่มา; โอสถและคณะ (2547) ตารางที่ 2 ผลการใชสูตรนมเทียมเลี้ยงลูกโคนมลูกผสมขาว-ดํา (0 – 9 สัปดาห) จํานวนลูกโคนม, ตัว

22

น้ําหนักตัวเมื่อ 2 สัปดาห, กก.

28.78

น้ําหนักตัวเมื่อครบ 9 สัปดาห, กก.

49.65

ระยะเวลาเลี้ยง, วัน

49

อัตราการเจริญเติบโต, กก./วัน

0.426

ปริมาณอาหารนมเทียมที่กิน , กก.

26.50

ปริมาณอาหารขนที่กิน, กก.

23.50

ปริมาณอาหารหยาบที่กิน , กก.

10.16

ที่มา; โอสถและคณะ (2547)


4

อยางไรก็ตาม การที่จะใชสูตรนมเทียมเลี้ยงลูกโคนมลูกผสมขาว-ดํา ตองคัดเลือกคุณภาพ ของวัตถุดิบและตรวจสอบราคาใหแนชัด วารายการวัตถุดิบที่ใชประกอบสูตรอาหารนมเทียมดังกลาว มีราคาแพงกวานมผงที่เลี้ยงลูกโคหรือไม

ลูกโคนมเลี้ยงบนคอกขังเดี่ยวระยะกอนหยานม (แรกเกิด –หยานม 8 สัปดาห)

1.3. การพัฒนาสูตรอาหารขนลูกโค(calf starter mix)เพื่อใชเลี้ยงลูกโคนม ปญหาที่สําคัญประการหนึ่งในการเลี้ยงลูกโคนม คือ ตนทุนคาอาหารขนมีราคาแพง โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงระยะแรกลูกโคยังยอยอาหารหยาบไมได อาหารที่กินจะตองเปนนมสด หรือนมเทียมเทานั้น จนถึงอายุ 2 สัปดาหขึ้นไป จึงจะเริ่มกินอาหารอื่นไดมากขึ้น เนื่องจากทั้งนม สดและนมเทียมมีราคาแพงมาก จึงตองหาวิธีการลดการใชนมลง โดยหยานมใหเร็วขึ้น ในการที่จะ หยานมลูกโคไดเร็วนั้นจําเปนตองใหลูกโคไดกนิ อาหารขน(calf starter mix) ที่ มีโปรตีนและ พลังงานที่มีคุณภาพดีเพื่อทดแทนนม โดยเริ่มฝกใหกนิ ตั้งแตอายุ 5 – 14 วัน เพื่อกระตุนการพัฒนา ของกระเพาะหมักใหเร็วขึ้น โดยอาหารขนลูกโคควรมีโปรตีนไมนอยกวา 18 เปอรเซ็นต ยอด โภชนะยอยได(TDN) 80 เปอรเซ็นต แคลเซี่ยม 0.8 เปอรเซ็นต และฟอสฟอรัส 0.4 เปอรเซ็นต ปกติ ลูกโคออนจะมีการยอยอาหารเฉพาะในกระเพาะที่สี่ โดยภายใน 4 สัปดาหแรก จะมี เอนไซมที่ยอย ไดเฉพาะแตน้ําตาลกลูโคส แลคโตส โปรตีนของนม มันเนย ไขมันพืช และไขมันสัตวเทานั้น โภชนะอื่นๆที่นอกเหนือจากนี้ลกู โคจะยอยไดไมดี เอนไซมสําหรับยอยคารโบไฮเดรทชนิดอื่นจะ เริ่มมีและเพิ่มขึ้นเมื่ออายุ 6-9 สัปดาหขึ้นไป ดังนั้นการเลือกวัตถุดิบเพื่อมาประกอบสูตรอาหาร สําหรับลูกโคในระยะนี้จึงจําเปนตองเลือกใชวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงและมีราคาถูก ซึ่งวัตถุดิบอาหาร


5

สัตวที่เปนแหลงพลังงานที่มีสัดสวนของปริมาณการใชกวารอยละ 70 ของสวนผสมทั้งหมด และ นิยมใชกันแพรหลายไดแก ขาวโพด ปลายขาว และมันเสน เปนตน สวนขาวโพดเอ็กซทรูดนั้น ไดมาจากการนําเมล็ดขาวโพดทั้งเมล็ดไปผานเครื่องเอ็กซทรูดเดอร (Extruder) เพื่อทําใหแปงใน เมล็ดขาวโพดสุกโดยไมกระทบตอองคประกอบทางเคมี ที่สําคัญอื่นๆ และไมมีการสกัดเอาไขมัน ออกจึงทําใหมีความนากิน ประสิทธิภาพการยอยไดเพิ่มสูงขึ้น และใชในการประกอบสูตรอาหาร ไดดี ผลการศึกษาวิจัยพบวาวัตถุดิบพลังงานทั้ง 4 ชนิด ไดแก ขาวโพด ปลายขาว มันเสน และ ขาวโพดเอ็กซทรูด สามารถใชเปนแหลงพลังงานในสูตรอาหารลูกโคนมโดยไมมีผลตอปริมาณการ กินอาหารอัตราการเจริญเติบโต และประสิ ทธิภาพการเปลี่ยนอาหารของลูกโคแตอยางใด ขั้นตอนการเลี้ยงลูกโค 1. ลูกโคกอนเขาทดลองจะไดรับนมน้ําเหลืองจากแม 3 วัน เมื่อเริ่มทดลองจะใหกินนมเที ย มละลาย น้ํา (สัดสวนนมเที ย มต อ น้ํ าเท ากั บ 1 ต อ 8) วั น ละ 4 กิ โ ลกรั ม แบ งให 2 มื้ อ จนถึ งลู ก โคก อ นเข า ทดลองจะไดรับนมน้ําเหลืองจากแม 3 วัน เมื่อเริ่มทดลองจะใหกิ น นมเที ย มละลายน้ํ า (สั ด ส วนนม เทียมตอน้ําเทากับ 1 ตอ 8) วันละ 4 กิโลกรัม แบงให 2 มื้อ จนถึงอายุ ประมาณ 2 เดื อ น จึ งงดให น ม เทียม 2. เมื่อลูกโคอายุ 7 วัน เริ่มฝกใหกินอาหารขนตามสูตร และฝกใหกินหญาแพงโกลาแห ง (ตั ด ที่ อ ายุ 30 วัน) จากนั้นคอยๆ เพิ่มปริมาณที่ใหกินโดยใหกินอาหารข น และหญ าอย างเต็ มที่ จนสิ้ น สุ ด การ ทดลองที่อายุ 3 เดือน

2. การใชพืชตระกูลถั่วเปนแหลงโปรตีนในสูตรอาหารขนและใชรวมกับอาหารหยาบสําหรั บโคนม


6

3. การประเมินคุณคาทางโภชนะของพืชอาหารสัตว และวัตถุดิบอาหารสั ตว 7. การศึกษาตนทุนและผลผลิตของการปลูกหญาเนเปยรแคระภายใตการจัดการแบบประณีต จากการศึกษาตนทุนและผลผลิตของการปลูกหญาเนเปยรแคระ ภายใตการจัดการแบบ ประณีต ที่สถานีพัฒนาอาหารสัตวสุโขทัย พบวา 1. หญาเนเปยรแคระใหผลผลิตน้ําหนักแหงเฉลี่ยเทากับ 3,531 กิโลกรัมตอไรตอ ปโดยใหผลผลิตน้ําหนักแหงปที่ 1 และ 2 เทากับ 4,277 และ 2,786 กิโลกรัมตอไรตอ ป มีโปรตีนเฉลี่ยเทากับ 11.10 เปอรเซ็นต 2. ใชตน ทุนการผลิตหญาเนเปยรแคระปที่ 1 และปที่ 2 เทากับ 8,822 และ 7,216 บาทตอไร หรือคิดเปนตนทุนการผลิตหญาสดตอหนึ่งกิโลกรัมเทากับ 0.46 และ 0.60 บาท 1. การใชตนถั่วมะแฮะแห งเปนอาหารหยาบหลักเลี้ยงแมโครีดนม การใชตนถั่ วมะแฮะแห งเป น แหล งอาหารหยาบเลี้ ย งโครี ด นมพั น ธุ ผ สมขาว-ดํ า ระดั บ สายเลือด 75 เปอรเซ็นต ขึ้นไป ที่ใหนมในระยะและช วงการให น มเดี ย วกั น มี ปริ มาณน้ํ านมเฉลี่ ย ใกลเคียงกัน โดยกลุมที่ 1 ใหหญาอะตราตัมแห ง กลุ มที่ 2 ให ห ญ าอะตราตั มแห ง:ถั่ วมะแฮะแห ง สัดสวนโดยน้ําหนัก 50:50 และกลุมที่ 3 ใหถั่วมะแฮะแหง โคแตละกลุมเสริมดวยอาหารขนโปรตี น 16 เปอรเซ็นต ในสัดสวนปริมาณน้ํานม : อาหารขน เทากับ 2 : 1 โดยประมาณ เลี้ยงในคอกขั งเดี่ ย ว ใชเวลาทดลอง 100 วัน ผลการทดลองพบวา แมโครีดนมที่ใชตนถั่วมะแฮะแหงเป น แหล งอาหารหยาบเพี ย งอย าง เดียว ใหปริมาณน้ํานมปรับไขมันที่ 4 เปอรเซ็นต เทากับ 12.27 กิโลกรัมตอตัวตอวัน ไมแตกตางกั บ แมโครีดนมที่ใหหญาอะตราตัมแห งและถั่ วมะแฮะแห งในสั ด ส วน 50 : 50 แต ต่ํ ากว าโครี ด นมที่ ไดรับหญาอะตราตัมแหงเพียงอยางเดี ย ว โดยไม มีผ ลกระทบต อ องค ประกอบทางเคมี ข องน้ํ านม ทั้งนี้พบวาแมโคที่ใหหญาอะตราตัมแหงเพียงอยางเดียวจะสามารถกินอาหารทั้งหมดได มากกว าแม โคที่ใหหญาอะตราตัมแหงรวมกับถั่วมะแฮะแหงอยางเดียว แตมีประสิทธิภาพการเปลี่ ย นอาหารไม แตกตางกัน สําหรับตนทุนคาอาหารตอผลผลิตน้ํานมที่ไขมั น 4 เปอร เซ็ น ต พบว าไม แตกต างกั น ทางสถิติ แตมีแนวโนมวาแมโคกลุมที่กินหญาอะตราตัมแหงอยางเดียวจะมีตนทุนคาอาหารต่ําที่สุด จากผลการทดลองดังกลาว การใชต น ถั่ วมะแฮะแห งแห งเป น แหล งเสริ มโปรตี น ร วมกั บ หญาแหงหรือใชเปน แหลงอาหารหยาบเลี้ยงโคนมเพียงอยางเดียว มีผลทําใหโคกินอาหารได ล ดลง เนื่องจากตนถั่วมะแฮะแหง มีความนากินต่ําและโภชนะที่ยอยไดรวม (TDN) คอนขางต่ํา ดั งนั้ น ควร ใชตนถั่วมะแฮะแหงเสริมอาหารหยาบในระดับที่ต่ํากวา 50 เปอรเซ็นต 4. การทดสอบความนากินของพืชอาหารสัตวแหงคุณภาพดีชนิดตางๆในลูกโคนม การศึกษาการใชหญาแหงคุณภาพดี ที่อายุการตัด 3 สัปดาห จํานวน 5 ชนิด คือหญาแพงโก ลา(Digitaria eriantha) หญารูซี่ (Brachiaria ruziziensis) หญาเนเปยรแคระ (Pennisetum


7

purpureum cv. Mott(Dwarf napier) ) หญากินนีสีมวง (Panicum maximum TD58) และหญาซีตาเรีย (Setaria sphacelata cv. Splenda) ซึ่งมีโปรตีน 11.16, 11.77 12.22, 10.29 และ 12.34% ตามลําดับ เลี้ยงลูกโคนมเพศผูพันธุลกู ผสมขาวดํา(สายเลือด 75เปอรเซ็นต โฮลสไตนฟรีเซี่ยน) ที่อายุ 21 วันถึง 5 เดือน เลี้ยงในคอกขังเดี่ยว มีแรธาตุกอน และน้ําสะอาดวางใหกินตลอดเวลา โดยเริ่มวางหญา แหงทั้ง 5 ชนิดในภาชนะใหลูกโคนมเลือกกินอยางอิสระ ตั้งแตอายุ 21 วัน ถึงอายุ 5 เดือน เพื่อ ศึกษาถึงความนากินของหญาแตละชนิด โดยสังเกตจากปริมาณการกินไดของหญาแหงแตละพันธุ ของลูกโคนม ผลการทดลอง พบวา ชวงอายุ 21 วันถึง 2 เดือน ลูกโคนมกินหญาแหงไดนอยมากและจะกิ น ไดมากเมื่อลูกโคนมอายุ 2 เดือนขึ้นไป โดยกินไดเฉลี่ย 706 กรัมตอ ตั วต อ วั น ช วงอายุ 21 วั น ถึ ง 3 เดือน ลูกโคนมชอบกินหญาแพงโกลามากกวาหญาชนิดอื่นๆ แตเมื่ออายุ 3 เดื อ นขึ้ น ไป ลู ก โคนม กินหญาแหงทั้ง 5 ชนิดไดใกลเคียงกัน ตลอดการทดลองลูกโคนมมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ ย 507 กรัมตอตัวตอวัน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเทากับ 3.95 กินอาหารไดเฉลี่ย 2.73 กิโลกรัมตอตัว ตอวัน ประกอบดวยนมเทียม อาหารขน และหญาแหง เทากับ 0.45 0.85 และ 1.43 กิโ ลกรั มต อ ตั ว ตอวัน ตามลําดับ และมีตนทุนคาอาหารเฉลี่ย 3,078.84 บาทตอตัว การผลิตหญาแหงคุณภาพดีเพื่อใชเลี้ยงลูกโคนม โดยเฉพาะในชวงอายุ 21 วันถึง 3 เดือน ควรเลือกหญาแพงโกลา และตัดหญาที่อายุประมาณ 3 สัปดาห เนื่องจากเปนหญาที่เหมาะสําหรั บ ทําหญาแหง คือ มี ปริมาณใบมาก ใบเล็ก ตนเล็ก เมื่อทําหญาแหงแลวแหงเร็ว มีลักษณะออนนุม และลูกโคนมชอบกินมากกวาหญาชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคุณคาทางอาหารสัตวสูง มีโปรตีนสูง ถึง 11.16 เปอรเซ็นต 10. ระดับของไนเตรทและกรดไฮโดรไซยานิกในขาวฟางอาหารสั ตว 3 สายพันธุในระดับปุย และ ระยะการตัดตางๆ กัน วางแผนการทดลองแบบ 3 x 4 x 6 Factorial in RCB มี 4 ซ้ํา ประกอบดวย 3 ป จจัย คือขาว ฟาง 3 สายพันธุ ไดแก สายพันธุสุพรรณบุรี 1 สายพันธุอูทอง 1 และสายพันธุสุพรรณบุรี 60 อัตรา ปุยไนโตรเจน 4 ระดับคือ 0 40 60 80 กิโลกรัมตอไร และ อายุการตัด 6 ระยะ คือ 45 60 75 90 105 และ 120 วัน ทําการทดลองที่ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวชัยนาท บนดินชุดราชบุรี ผลการทดลอง พบวา ขาวฟางทั้ง 3 สายพันธุจะมีระดับไนเตรทและระดับกรดไฮโดรไซ ยานิกสูงสุดเมื่อตัดที่อายุ 45 วัน และลดลงเมื่ออายุการตัดมากกวา 45 วัน การใสปุยไนโตรเจนจะ ทําใหระดับไนเตรทในขาวฟางทั้ง 3 สายพันธุสูงกวาเมื่อไมใส ปุยไนโตรเจน แตไ มทําใหระดับกรด ไฮโดรไซยานิกแตกตางกัน ขาวฟางทั้ง 3 สายพันธุมีระดับไนเตรทอยูในระดับที่ไ มเปนพิษตอสัตว ไมวาจะตัดที่อายุเทาใดหรือใสปุยไนโตรเจนอัตราใดก็ตาม แตระดับกรดไฮโดรไซยานิกจะอยูใน ระดับที่ไม เปนพิษตอสัตว เมื่อตัดที่อายุมากกวา 45 วันขึ้นไป การใชอาหารโปรตีนจากถัว่ เหลืองในสูตรอาหารขนลูกโคนมเพศผู


8

ไดศึกษาการใชแหลงโปรตีนจากถั่วเหลืองในสูตรอาหารขนเลี้ยงลูกโคนมเพศผู ใช โ คนม ลูกผสมขาว-ดํา เพศผู อายุ 3 - 7 วัน จํานวน 16 ตัว วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design แบงเปน 4 กลุม แตละกลุมมี 4 ซ้ํา ใหลูกโคไดรับน้ํานมเทียมที่อายุ 1-8 สั ปดาห และ เริ่มใหอาหารขน เมื่ออายุ 1 สั ปดาห ขึ้ น ไป อาหารข น ที่ ใ ช แ หล ง โปรตี น หลั ก ต างกั น 4 สู ต ร ได แก นมเที ย ม+กากถั่ วเหลื อ ง (กลุ มที่ 1) กากถั่ วเหลื อ ง (กลุ มที่ 2) กากถั่ วเหลื อ ง+ ถั่ ว เหลืองเอ็กซทรูด (กลุมที่ 3) และถั่ วเหลื อ งเอ็ ก ซ ทรู ด (กลุ มที่ 4) และให กิ น หญ าแพงโกล าแห ง เต็มที่ (ตัดที่อายุ 30 วัน) เลี้ยงลูกโคขังเดี่ยวในคอก มีน้ําสะอาดใหกิน โดยทดลองถึงอายุ 3 เดือน ผลการทดลอง พบวา การใชแหลงโปรตีนตางกันในอาหารขน ไมมีผลตออัตราการ เจริญเติบโต ปริ มาณอาหารที่กิน ประสิทธิ ภาพการเปลี่ยนอาหารที่กินของลูกโค และตนทุน คาอาหารตอการเพิ่มน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมของลูกโค (p > 0.05) ดังนั้นจึงสามารถเลือกใชวัตถุดิบ อาหารโปรตีนทั้ง 4 สูตร ทดแทนกันในสูตรอาหารขนสําหรับลูกโคได การใชอาหารพลั งงานชนิดตาง ๆ ในสู ตรอาหารขนลูกโคนมเพศผู การศึกษาการใชอาหารพลังงานชนิดตางๆ ในสูตรอาหารขนสําหรับเลี้ยงโคนมลูกผสมเพศ ผู ระดับสายเลือด 75 เปอรเซ็นต โฮลสไตฟรี เชี่ ย น อายุ แ รกเกิ ด (3-5 วั น ) ขนาดน้ํ าหนั ก เฉลี่ ย 35 กิโลกรัม จํานวน 16 ตัว วางแผนการทดลองแบบ RCBD โดยแบงลูกโคออกเปน 4 กลุมๆ ละ 4 ตั ว ตามสูตรอาหารขนที่ใชในการทดลองไดแก กลุมที่ 1 ใชขาวโพด กลุมที่ 2 ใชปลายขาว กลุ มที่ 3 ใช มันเสน และกลุมที่ 4 ใชขาวโพดเอ็กซทรูดเปนแหลงพลังงานในสูตรอาหารข น เลี้ ย งด วยนมเที ย ม วันละ 4 กิโลกรัมตอตัวตอวัน โดยแบงใหวันละ 2 มื้อ และหย านมที่ อ ายุ 2 เดื อ น เมื่ อ โคอายุ 7 วั น เปนตนไปเริ่มใหอาหารขนและหญาแพงโกลาแหงที่ตัดที่อายุ 30 วันใหกินอย างเต็ มที่ โดยเลี้ ย งใน คอกแบบขังเดี่ยวและจัดใหมีน้ําสะอาดใหกินตลอดเวลาจนสิ้นสุดการทดลองที่อายุ 3 เดือน ผลการทดลอง พบวา การใชอาหารขนที่มีอาหารพลังงานแตกตางกันในการเลี้ยงลูกโคนม เพศผูในชวงอายุแรกเกิด – 3 เดือน ไมมีผลตอปริมาณการกินอาหาร อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิ ภาพการใชอาหาร และตนทุนตอการเพิ่มน้ําหนัก 1 กิโลกรัมของลูกโค (p > 0.05) ดังนั้นจึง สามารถเลือกใชวัตถุดิบอาหารพลังงานทั้ง 4 ชนิด ทดแทนกันในสูตรอาหารขนสําหรับลูกโคได

การศึกษาเปรียบเทียบน้ําหนักเริ่มตนและน้ําหนักสิ้นสุ ดการขุนที่ตางกัน ของโคนมเพศผูตอสมรรถนะการผลิตและคุณภาพซาก


9

การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตและลักษณะซากของโคขุ น โดยใช โ คนมเพศผู ลู ก ผสม 75 เปอรเซ็นต โฮลสไตนฟรีเชี่ยนไมตอน จํานวน 24 ตั ว แบ งเป น 6 กลุ มตามแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design มี 4 ซ้ํา กลุมที่ 1 – 3 ใชโคน้ําหนักเริ่มตน 100 กิ โ ลกรั ม โดย สิ้นสุดการขุนที่ 400 450 และ 500 กิโลกรัม ตามลําดับ และกลุมที่ 4 – 6 ใชโคน้ําหนั ก เริ่ มต น 200 กิโลกรัม โดยสิ้นสุดการขุนที่ 400 450 และ 500 กิ โ ลกรั มตามลํ าดั บ โคแต ล ะตั วเลี้ ย งในคอกขั ง เดี่ยว มีรางน้ําและรางอาหารแยกตางหากใหกินอาหารแบบผสมเสร็จ (TMR) มี โ ปรตี น หยาบ 11.5 เปอรเซ็นต และ TDN 65 เปอรเซ็นต ใหกินเต็มที่ ประมาณ 2.5 เปอรเซ็น ต น้ํ าหนั ก ตั วโดยแบ งให วันละ 2 มื้อ เชาและเย็นเมื่อไดน้ําหนักตามตองการแลวนําโคเขาศึกษาลักษณะซาก ผลการทดลอง พบวา โคที่นําเขาขุนน้ําหนัก 100 และ 200 กิโลกรัม โดยสิ้นสุดการขุนที่ 400 450 และ 500 กิโลกรัม มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 1.05 กิโลกรัมตอตัวตอวัน ประสิทธิภาพ การเปลี่ยนอาหารเฉลี่ย 7.20 และคุณภาพซากเฉลี่ย 53.71 เปอรเซ็นต แตกตางกันอยางไมมี นัยสําคัญทางสถิติ (p > 0.05) โดยมีคุณภาพเนื้อจัดอยูในชั้นกลาง (Good) โคที่เริ่มตนขุน 100 กิโลกรัม โดยสิ้นสุดการขุนที่ 400 กิโลกรัม มีตนทุนคาอาหารในการเพิ่มน้ําหนักตัวต่ําสุด คือ 35.24 บาทตอกิโลกรัม และโคที่เริ่มขุนที่น้ําหนัก 200 กิโลกรัม โดยสิ้นสุดการขุนที่ 400 กิโลกรัม ไดรับ ผลตอบแทนสูงสุด คือ 12.51 เปอรเซ็นตตอป การศึกษาคุ ณภาพพืชหมักที่อายุการหมักตางๆ กัน ของหญารูซี่ ถั่วทาพระสไตโล หญาแพงโกลา และถั่วคาวาลเคด การศึกษาคุณภาพพืชหมักที่อายุการหมักตางๆ กัน ทําการทดลองโดยแบงเป น 4 การทดลอง ตามชนิดพืช คือ การศึกษาคุณภาพพืชหมักของ (1) หญารูซี่ ตัดที่อายุ 45 วั น (2) ถั่ วท าพระ สไตโลตั ดที่ อายุ 65 วัน (3) หญาแพงโกลาตัดที่อายุ 40 วัน และ(4) ถั่วคาวาลเคด ตั ด ที่ อ ายุ 60 วั น โดยทุ ก การ ทดลองทําการหมักพืช ในถุ งพลาสติ ก ดําขนาด 10 - 30 กก. และเป ด ถุ งหมั กเพื่อศึ กษาคุ ณภาพที่ อายุ ต างๆ กั น คื อ ที่ พื ช ก อ นหมั ก 3 6 9 12 15 18 และ 21 วัน หลังการหมัก โดยการทดลอง ที่ 1 และ 2 ดําเนินการทดลองที่ ศูน ย วิจัย และพั ฒ นาอาหารสั ต ว ข อนแก น การทดลองที่ 3 และ 4 ดําเนินการทดลองที่ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสั ต ว น ครราชสี มา จากการศึ ก ษาพบว า ในทุ ก การ ทดลอง ปริมาณวัตถุแหงของพืชหลังการหมักจะมีคาลดลงกวากอนการหมักเล็กนอย และ มีปริมาณ โปรตีนไมแตกตางไปจากพืชกอนหมักมากนัก ระยะเวลาที่เกิดการหมัก ของแตละการทดลอง เมื่ อ ประเมินจากคา pH และปริมาณกรด ของพืชหมัก พบวาจะตางกันไปคือ หญารูซี่ใชเวลาประมาณ 3 วั น หญ าแพงโกล าใช เวลา 21 วั น หรื อ มากกว า ถั่ วคาวาลเคดและท าพระสไตโล ใช เวลา 12 15 วัน โดยพืชหมักทุกอายุการหมักของทุกการทดลอง มีคุณภาพการหมักอยูในระดับปานกลางถึ ง คอนขางต่ํา และมีแนวโนมวาถั่วทาพระสไตโลหมักจะมีอายุการเก็บรักษาที่สั้น


10

การทดสอบการใชหญาเนเปยรหมักเลี้ยงโครีดนมในฟารมโคนมของเกษตรกรรายยอย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาถึงทั ศนะคติและการยอมรับการใชหญาเนเปยร หมัก รวมกับอาหารขนเลี้ยงแมโครีดนมของเกษตรกรศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ หมูที่ 1 ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ระหวางเดือน มีนาคม 2549 – เมษายน 2550 โดยคัดเลือกเกษตรกรผูเลี้ยงโคนมจํานวน 1 ราย เพื่อทดสอบการใช หญาเนเปยรหมักเลี้ยงแมโครีดนม และคัดเลือกเกษตรกรอีก 9 ราย เพื่อเขารวมสังเกตการณ ผลการ ใชหญาเนเปยรหมักเลี้ยงแมโครีดนม ทําการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ ขอมูลสภาพทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม สภาพการจัดการเลี้ยงโคนม ตลอดจนปญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงโคนม เมื่อดําเนินโครงการสิ้นสุดแลว ทําการสัมภาษณเกษตรกรทั้ง 10 ราย โดยใชแบบสอบถามที่จัดสราง ขึ้น เพื่อประเมินทั ศนะคติ และการยอมรับของเกษตรกร ตอการใชหญาหมักเลี้ยงแมโครีดนม ผลการศึกษาพบวาเกษตรกรเลี้ยงโคนมพันธุลูกผสมโฮลสไตน ฟรี เซี่ ยน เฉลี่ ยรายละ 23.2 ตั ว มี แมโครีดนมเฉลี่ย 13.7 ตัวตอราย มีแรงงานจัดการเลี้ยงโคนมเฉลี่ ย 2 คนต อฟาร ม มี แปลงหญ าเลี้ ยงสั ตว เฉลี่ย 3.3 ไรตอราย และเกษตรกรสวนใหญอาศัยเปลือกสับปะรด ต นข าวโพดหมั ก และฟางข าว เป นต น เลี้ยงโคนม แมโคนมที่ เลี้ ยงด วยหญ าเนเป ยร หมั กร วมกั บอาหารข น กิ นหญ าเนเป ยร หมั ก เมื่ อคิ ดเป น น้ําหนักแหงไดเฉลี่ย 5.72 กิโลกรัมตอตัวต อวั น และกิ นอาหารข นได เฉลี่ ย 6.74 กิ โลกรั มต อตั วต อวั น สามารถผลิ ตน้ํ านมดิ บเมื่ อปรั บไขมั นที่ 4 เปอร เซ็ นต FCM ได เฉลี่ ย 15.50 กิ โลกรั มต อตั วต อวั น มี ตนทุนคาอาหารเฉลี่ ย 6.17 บาทต อน้ํ านม 1 กิ โลกรั ม มี กํ าไรเมื่ อหั กค าอาหารแล วเฉลี่ ย 5.08 บาทต อ กิโลกรัม หรือมีกําไรเฉลี่ย 78.73 บาทตอตั วต อวั น เกษตรทั้ ง 10 ราย มี ความพึ งพอใจต อการใช หญ าเน เป ยร หมั กเลี้ ยงแม โครี ดนม ในแง ความชอบกิ นหญ าเนเป ย ร หมั กของโคนม ปริ มาณน้ํ านมที่ รี ดได คุณภาพของน้ํานม ตนทุนคาอาหาร และสภาพรางกายของโคนม และเกษตรทั้ ง 10 ราย ยิ นดี ซื้อหญ าเน เปยรหมัก มาใชเลี้ยงโคนม หากมีผูผลิตจําหนายในราคาประมาณ 1.25 บาทตอกิโลกรัม ผลของการใหอาหารขน (Calf starter mix) และอาหารหยาบแกลูกโคนมเพศผู ที่อายุตางกันตออั ตราการเจริ ญเติบโต การศึกษาผลของการใหอาหารขน (Calf starter mix) และอาหารหยาบแก ลู ก โคนมเพศผู ที่ อายุตางกันตออัตราการเจริญเติบโต ดําเนินการทดลองที่ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวขอนแกน อ. เมือง จ.ขอนแก น ระหว างเดื อ นกุ มภาพั น ธ 2548 ถึ งเดื อ นพฤษภาคม 2548 โดยวางแผนการ ทดลองแบบ Randomized Complete Block Design มี 4 ซ้ํ า สิ่ งทดลองคื อ อายุ ลู ก โคที่ เริ่ มให กิ น อาหารขนและอาหารหยาบตางกัน 4 ชวงอายุ ไดแก เริ่มใหกินอาหารข น (calf starter mix)และหญ า แห งเมื่ อ ลู ก โคอายุ ค รบ 1 2 3 และ 4 สั ปดาห โดยใช ลู ก โคนมเพศผู พั น ธุ โ ฮลสไตน ฟ รี เซี ย น


11

สายเลือด 95 เปอรเซ็นตขึ้นไปอายุ 3 วัน จํานวน 16 ตัว ใหนมเทียมผสมน้ําตั้งแตอายุ 3 วัน และหย า นมเมื่ออายุได 8 สัปดาห ใหอาหารอยางเต็มที่ในปริมาณที่ เพี ย งพอตามความต อ งการสํ าหรั บสั ต ว ตามน้ําหนักตัวที่แนะนําใน NRC (1988) สําหรับลู ก โคนมสายพั น ธุ ที่มีข นาดใหญ จนสิ้ น สุ ด การ ทดลองที่อายุ 3 เดือน ผลจากการทดลองพบวา ลูกโคนมที่เริ่มใหกินอาหารขนและอาหารหยาบที่อายุ 1 2 3 และ 4 สัปดาห มีอัตราการเจริญเติบโตของลูกโคทั้ง 4 กลุมไมแตกตางทางสถิติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 421.34 417.35 404.19 และ 375.70 กรัมตอตัวตอวัน ตามลําดับ และมี ประสิ ทธิภาพการเปลี่ยน อาหารของลูกโคมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.00 3.29 2.99 และ 3.08 ตามลําดับ รวมทั้งตนทุนคาอาหาร ในการเพิ่มน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมของลูกโคทั้ง 4 กลุมไมแตกตางทางสถิติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 47.28 49.50 48.44 และ 51.25 บาทตอกิโลกรัม ตามลําดับ อยางไรก็ตาม ปริมาณอาหารรวมที่กินไดตอ วันเมื่อคิดเปนวัตถุแหงของลูกโคกลุมที่ 2 จะกินไดสูงสุดเทากับ 1.35 กิโลกรัมตอตัวตอวัน สูงกวา กลุมที่ 3 และกลุมที่ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (1.20 และ 1.15 กิโลกรัมตอตัวตอวัน ตามลําดับ) แตไมแตกตาง (p>0.05) จากกลุมที่ 1 ที่กินได 1.26 กิโลกรัมตอตัวตอวัน สําหรับปริมาณโปรตีน (CP) ที่ลูกโคนมทั้ง 4 กลุมไดรับเฉลี่ยตอวัน เทากับ 218.89 231.79 210.18 และ 203.31 กรัมตอตัว ตอวัน สวน TDN ที่ลูกโคนม กลุมที่ 1 2 3 และ 4 ไดรับเฉลี่ยตอวันเทากับ 0.91 0.96 0.87 0.84 กิโลกรัมตอตัวตอวัน ตามลําดับ การเพิ่มคุณภาพหญาเนเปยรหมักโดยใชสารเสริมชนิดตางๆ ศึกษาการเพิ่มคุณภาพของหญาเนเปยรหมักโดยใชสารเสริมชนิดตาง ๆ ดําเนินการทีศ่ นู ยวจิ ยั และพัฒนาอาหารสัตวสุราษฎรธานี อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ระหวางเดือน มี น าคม 2548 ถึง กันยายน 2550 วางแผนการทดลองแบบสุ มตลอด Completely Randomized Design (CRD) มี 4 ซ้ํา ประกอบดวย 4 สิ่งทดลอง ดังนี้ 1) หญ าเนเป ย ร ห มั ก โดยไม เติ มสารเสริ ม 2) หญ าเนเป ย ร หมักรวมกับถั่วคาวาลเคดแหงบด 8 เปอรเซ็นต 3) หญาเนเปยรหมักรวมกั บถั่ วคาวาลเคดแห งบด 8 เปอรเซ็นต และเมล็ดขาวโพดบด 5 เปอรเซ็นต 4) หญาเนเปยรหมักรวมกับถั่วคาวาลเคดแห งบด 8 เปอรเซ็นต และมันเสนบด 5 เปอรเซ็นต ใชระยะเวลาหมักนาน 30 วัน ผลการทดลอง พบวา ลักษณะทางกายภาพของหญาเนเปยรลูก ผสมหมั ก แบบใช ส ารเสริ ม และไมใชสารเสริมมีคุณภาพอยูในเกณฑดีมาก โดยพืชหมักมีสีเหลืองอมเขียว ไมมีเชื้ อ ราหรื อ ยี สต เจริญอยู สวนการประเมินคุณภาพโดยคาทางเคมี พบว า มี ค าความเป น กรด–ด าง (pH) อยู ใ นช วง 3.95 – 4.27 มีคากรดแลคติค กรดอะซิติค และกรดบิวทิริคอยูในชวง 12.82 – 20.23 4.41 – 5.50 และ 0.08 – 0.21 เปอรเซ็นต ตามลําดั บ สํ าหรั บส วนประกอบทางเคมี ด านคุ ณค าทางอาหารสั ต ว


12

พบว า หญ าเนเป ย ร ลู ก ผสมหมั ก ทั้ งใช ส ารเสริ มและไม ใ ช ส ารเสริ มมี คุ ณค าทางอาหารสู งคื อ มี โปรตีนหยาบอยูในชวงเทากับ 8.97 – 11.16 เปอรเซ็นต การทดสอบการผลิตพืชอาหารสัตวหมักในฟารมเกษตรกรรายใหญ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุ ประสงค เพื่ อ ศึ ก ษาความเป น ไปได ใ นการผลิ ต หญ าบาน าหมั ก ใน ฟารมขนาดใหญ ในดานตนทุนการผลิต การใชหญาหมักเลี้ยงโคนม ปญหาและอุปสรรค ตลอดจน ทัศนะคติและการยอมรับของเกษตรกร ดําเนินการศึกษาในฟารมเกษตรกร บานทุงเคล็ด ตํ าบลห วย ทรายเหนือ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ระหวางเดือนมีนาคม 2549 – สิ งหาคม 2550 โดยทํ าการ คัดเลือกเกษตรกร 1 ราย เพื่อใชทดสอบและสาธิตการปลูกหญาบานา 20 ไร ทําการตัดหญาครั้งแรก ที่อายุ 70 วัน นํามาผลิตหญาหมัก ในหลุมแบบกําแพงคอนกรีตขนาดกว าง x ยาว x สู ง เท ากั บ 5 x 20 x 2 เมตร เพื่อใชเลี้ยงโคนมในฟารมของเกษตรกร ผลการศึกษาพบวา การปลูกหญาบานาภายใตการจัดการแปลงหญาแบบประณีต จากการ ตัดหญาบานาที่อายุ 70 วัน หลังปลูก ไดผลผลิตน้ําหนักสด เฉลีย่ 5400 กิโลกรัมตอไร มีตนทุนการ ผลิตหญาสดเฉลี่ย 0.28 บาทตอกิโลกรัม เมื่อนํามาผลิตหญาหมักในหลุมแบบกําแพงคอนกรีต ได หญาหมักประมาณ 100 ตัน มีคาใชจายในขั้นตอนการผลิตเฉลี่ย 0.53 บาทตอกิโลกรัม หรือคิดเปน ตนทุนการผลิตหญาบานาหมักเฉลี่ย 0.81 บาทตอกิโลกรัม จากการนําหญาบานาหมักใชเลี้ยงโคนม พบวา โคนมกินหญาบานาหมักเมื่อคิดเปนน้ําหนักแหงไดเฉลี่ย 6.75 กิโลกรัมตอตัวตอวัน และกิน อาหารขนโปรตีน 19 เปอรเซ็นต ไดเฉลี่ย 6 กิโลกรัมตอตัวตอวัน โคนมใหน้ํานมเฉลี่ย 13.75 กิโลกรัมตอตัวตอวัน มีตนทุนคาอาหารเฉลี่ย 5.66 บาท/น้ํานม 1 กิโลกรัม มีกําไรเมื่อหักคาอาหาร แลวเฉลี่ย 7.59 บาทตอกิโลกรัม หรือมีกําไรเฉลี่ย 104.38 บาทตอตัวตอวัน เกษตรกรมีความพอใจ ตอการปลูกหญาบานาเพื่อผลิตหญาหมักใชเลี้ยงโคนม เนื่องจากสามารถแกไขปญหาการขาดแคลน อาหารหยาบไดตลอดทั้งป ตลอดจนโคนมใหน้ํานมอยูในเกณฑปกติ และคุณภาพน้ํานมอยูใน เกณฑมาตรฐาน การผลิตหญาเนเปยรหมักสําหรับเกษตรกรรายยอยเพื่อการจําหนายในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงความเปนไปไดในการผลิตหญาเนเป ย ร ห มั ก ใน ถุงพลาสติกใส ในฟารมเกษตรกรรายยอย เพื่อการจําหนาย ในดานต น ทุ น การผลิ ต ผลตอบแทนที่ ไดรับ ตลอดจนทัศนะคติและการยอมรั บของเกษตรกร ดํ าเนิ น การศึ ก ษาในฟาร มของเกษตรกร บานหนองชุมพล ตําบลพุสรรค อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ระหวางเดื อ นมี น าคม 2549 – สิงหาคม 2550 ทําการคัดเลือกเกษตรกร 1 ราย เพื่อใชทดสอบและสาธิ ต ปลู ก หญ าเนเป ย ร ลู ก ผสม 15 ไร แบบประณี ต ตั ด หญ าสดที่ อ ายุ 60 วั น วั น ละ 400 ตารางเมตร นํ ามาผลิ ต หญ าหมั ก ใน ถุงพลาสติกใสขนาด 22 x 36 นิ้ว บรรจุถุงละ 18 กิโลกรัมเพื่อจําหนายตอไป


13

ผลการศึกษาพบวา การตัดหญาเนเปยรลูกผสมทุก ๆ 60 วัน ตลอดทั้งป ไดผลผลิตหญาสด 29,808 กิโลกรัมตอไรตอป คิดเปนตนทุนการผลิตหญาสด 0.46 บาทตอกิโลกรัม นํามาผลิตหญา หมักในถุงพลาสติกใสขนาดบรรจุ 18 กิโลกรัมตอถุง ไดหญาหมักจํานวน 1,611 ถุงตอไร (29,000 กก.) มีคาใชจายในขั้นตอนการผลิตหญาหมัก 0.75 บาทตอกิโลกรัม หรือคิดเปนตนทุนการผลิต หญาหมักประมาณ 1.21 บาท/กิโลกรัม จากการจําหนายหญาหมักที่ราคา 1.50 บาทตอกิโลกรัม เกษตรกรจะมีกําไรประมาณ 7,723 บาทตอไรตอป เกษตรกรมีความพอใจในการปลูกหญาเนเปยร ลูกผสมเพื่อผลิตหญาหมัก ในแงของผลผลิตและคุณภาพของหญาหมัก ขั้นตอนการผลิตไมยุงยาก ตลอดจนไมมีปญหาเรื่องการจําหนาย การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตหญ าแพงโกลาหมักสําหรับ เกษตรกรรายยอยเพื่อจําหนายในพื้นที่จังหวัดสระบุรี การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการยอมรับของเกษตรกรที่ มีต อ การผลิ ตหญ าแพงโกล า หมักรวมกับกากน้ําตาลที่ระดับ 4 เปอรเซ็นต ของเกษตรกรผูผลิตหญาแพงโกล าเพื่ อ จํ าหน าย ของ สมาชิกสหกรณปศุสัตวศรีปทุม จํ ากั ด หมู ที่ 8 ต.หนองโรง อ.หนองแค จ.สระบุ รี ระหว างเดื อ น กันยายน 2549 – สิงหาคม 2550 โดยคัดเลือกเกษตรกรผูผลิตเสบี ย งหญ าแพงโกล า จํ านวน 5 ราย ทดสอบการหมักหญาแพงโกลารวมกับกากน้ําตาลที่ระดับ 4 เปอรเซ็นต ทําการศึกษาข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ ขอมูลสภาพทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ และสังคม เมื่อดําเนินการสิ้นสุด แล ว ทํ าการสั มภาษณ เกษตรกรทั้ง 5 ราย โดยใชแบบสอบถามที่ จัด สร างขึ้ น เพื่ อ ประเมิ น ทั ศนคติ แ ละการยอมรั บของ เกษตรกรตอการหมักหญาแพงโกลา ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรที่เขาร วมโครงการทดสอบการหมั ก หญ าแพงโกล าร วมกั บ กากน้ําตาลที่ระดับ 4 เปอรเซ็นตทั้ง 5 ราย สามารถผลิ ต หญ าแพงโกล าหมั ก ร วมกั บกากน้ํ าตาลที่ ระดั บ 4 เปอร เซ็ น ต ในถุ งพลาสติ ก ดํ าได เฉลี่ ย รายละ 121 ถุ ง ต น ทุ น การผลิ ต อยู ใ นระหว าง 17.16–20.80 บาทตอถุง หรือ 1.02–1.05 บาทตอกิโลกรัม คุณภาพของพืชหมักที่ไดอยูในเกณฑปาน กลาง เกษตรกรยอมรับและพึงพอใจตอการผลิตหญาแพงโกลาในรูปของหญ าหมั ก ซึ่ งในป ต อ ไป เกษตรกรจะผลิตหญาหมักเพิ่มขึ้นและมีสมาชิกที่สนใจเขารวมโครงการเพิ่มขึ้น เพื่ อ รองรั บตลาดที่ มีความตองการหญาหมักคุณภาพดีเปนจํานวนมาก การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตหญารูซี่หมักในถุงพลาสติกสําหรับเกษตรกรรายยอยในพื้นที่จังหวัด ขอนแกน การทดลองนี้มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะนําเทคโนโลยีการผลิตหญารูซี่หมัก ไดแก ใชหญารูซี่ ตัดที่อายุประมาณ 40–45 วัน นํามาหั่นใหมีขนาด 1–2 นิ้ว และผึ่งลดความชื้น แลวจึงอัดใหแนนใน


14

ถุงพลาสติกดํา ประมาณถุงละ 30 กิโลกรัม และมัดปากถุงใหแนน มาทดสอบในเกษตรกรรายยอย เพื่อศึกษาความเหมาะสมของเทคโนโลยีกับระบบการผลิต รวมทั้ง ทัศนคติและการยอมรับของ เกษตรกร โดยทดสอบกับเกษตรกรที่เปนสมาชิกกลุมผูเลี้ยงสัตวตําบลหนองตูม อําเภอเมือง จังหวัด ขอนแกน จํานวน 5 ราย ซึ่งปลูกเพื่อจําหนายหญาสดอยูแลว โดยทําหญาหมักจากพื้นที่รายละ ประมาณ 1 ไร ผลการทดสอบพบวา การใชเทคโนโลยีดังกลาว เกษตรกรทั้ง 5 รายสามารถทําหญาหมัก จากการตัดหญา 2 ครั้ง ไดหญาหมักรวมทั้งสิ้น 150 ถุง โดยทําไดรายละตั้งแต 20–45 ถุง (เฉลี่ย 30 ถุง) ไดหญารูซี่หมักที่มีคุณภาพทางกายภาพ อยูในเกณฑปานกลางถึงดี มาก โดยเกษตรกรมีตนทุนใน การผลิตหญาหมักเฉลี่ยถุงละ 29.37 บาท หรือกิโลกรัมละ 0.98 บาท เกษตรกรมีทัศนคติ และการ ยอมรับตอการทําหญาหมัก คือ เกษตรกรทุกรายเห็นวาการทําหญาหมักตองใชแรงงานมาก และ ลงทุนสูง รอยละ 80 (4 ราย) เห็นวาขั้นตอนวิธีการทําหญาหมักคอนขางยุงยาก ดานการตลาด จําหนายหญาหมัก เกษตรกรสวนใหญ (รอยละ 80) คิดวาถาจะผลิตหญาหมักเพื่อจําหนายจะตองทํา ในปริมาณที่มาก และใหเพียงพอสําหรับจําหนายไดอยางตอเนื่อง สวนในปตอไป เกษตรกรทุกราย เห็นวามีความเปนไปได ที่จะทยอยทําหญาหมักเก็บไวใชเลี้ยงสัตวของตนเองในชวงฤดูแลงที่หญา สดขาดแคลน การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตหญากินนีสีมวงหมักในถุงพลาสติ กสําหรับ เกษตรกรรายยอยในพื้นที่จังหวัดขอนแกน จากการนําเทคโนโลยีการผลิตหญากินนีสีมวงหมักในถุงพลาสติก มาทดสอบกับเกษตรกร รายยอย เพื่อศึกษาความเหมาะสมของเทคโนโลยีกับระบบการผลิตของเกษตรกร โดยทําการ ทดสอบกับเกษตรกร ในกลุมเกษตรกรเลี้ยงสัตวตํ าบลบ านคอ อําเภอเมือง จั งหวัดขอนแกน จํานวน 5 ราย ในพื้นที่แปลหญากินนีสีมวงของเกษตรกรรายละ 1 ไร เทคโนโลยีก ารผลิตหญา หมักที่นําไปทดสอบได แก ใชหญ ากินนี สีมวงตัดที่อายุประมาณ 40–45 วัน ผึ่งลดความชื้น พรอมทั้งหั่นใหมีขนาด 1–2 นิ้ว แลวจึงอัดใหแนนในถุงพลาสติกดํา บรรจุถุงละประมาณ 35 กิโลกรัม ผลการทดสอบพบวา เกษตรกรสามารถทําหญาหมักไดรายละตั้งแต 23–103 ถุง รวม เกษตรกรทั้ง 5 ราย ทําหญาหมักไดจํานวน 321 ถุง คุณภาพหญาหมักจากการประเมินลักษณะทาง กายภาพ พบวาอยู ในเกณฑ ปานกลางถึงดี มาก ตนทุนในการผลิตหญาหมักเฉลี่ยถุงละ 31.38 บาท หรือ คิดเปนหญาหมักกิโลกรัมละ 0.90 บาท สําหรับทัศนคติ และการยอมรับในการทําหญาหมัก พบวา เกษตรกรรอยละ 60 เห็นวาขั้นตอนวิธีการทําหญาหมักทําไดงาย และเกษตรกรทุกราย เห็นวาตองใช แรงงานในการทําหญาหมักจํานวนมาก รวมทั้ งมีตนทุนการผลิตสูง สวนคุณภาพของหญาหมักที่ ผลิตได เกษตรกรรอยละ 80 เห็นวายังมีคุณภาพปานกลาง ดานการตลาดจําหนายหญาหมัก


15

เกษตรกรรอยละ 60 เห็นวาจะจําหนายได แตตองทําในปริมาณที่ มาก และมี เพียงพอสําหรับจําหนาย ไดอยางตอเนือ่ ง สวนในปตอไป เกษตรกรทุกราย เห็นวามีความเปนไปไดที่จะทยอยทําหญาหมักเก็บ ไวใชเลีย้ งสัตวของตัวเอง เพราะเปนการชวยเก็บถนอมหญาไวใชเลี้ยงสัตวในชวงฤดูแลงที่หญาสด ขาดแคลน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.