เน
ผ้
าไหมมัดหมี่ชัยภูมิ งานหัตถกรรมพืน้ บ้านเป็ นศาสตร์แขนงหนึ่งทีส่ ร้างสรรค์ดว้ ย ความคิดทีเ่ ป็ นระบบ ทัง้ ด้านเทคนิค และคติความเชือ่ กว่าทีจ่ ะได้เป็ น ภูมปิ ญั ญาหนึ่งๆ ต้องใช้ระยะเวลาในการพัฒนา ไม่วา่ จะช่วงอายุคน หนึ่ง หรือหลายช่วงอายุคน ผ้าไหมมัดหมีใ่ นจังหวัดชัยภูม ิ เป็ นงาน หัตถกรรมพืน้ บ้านอีกชิน้ หนึ่งทีย่ งั คงคุณค่าความงดงาม และภูมปิ ญั ญา พืน้ ถิน่ ทัง้ วัตถุดบิ ลวดลาย และ กรรมวิธใี นการทอ ตลอดจนหน้าที่ ใช้สอยต่างๆ ซึง่ ควรค่าแก่การอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญั ญาเหล่านี้เอาไว้ ผ้าไหม มัดหมีห่ ว้ ยบงเหนือ ต�ำบลห้วยบง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูม ิ ยังคงองค์ ความรูด้ งั ้ เดิม ในการทอผ้าไหม ไม่เปลีย่ นแปลงวิธกี ารผลิตผ้า ลวดลาย ทีด่ งั ้ เดิมแบบโบราณ ลวดลายบนผ้าแต่ละผืนนัน้ นอกจากจะตกแต่ง อย่างสวยงามแล้ว ยังแฝงความคิดเชิงความเชือ่ ในเรือ่ งต่างๆ ทัง้ ลวดลายสัตว์ ลายดอกไม้ชนิดต่างๆ ลายเรขาคณิตซึง่ ล้วนแล้วมีความ หมายดีทงั ้ สิน้
2
มั
ดหมี่ มัดหมีเ่ ป็ นกรรมวิธใี นการทอผ้าวิธหี นึ่งทีส่ ร้างลวดลายก่อนย้อม โดยการมัดเชือกทีล่ ำ� ฝ้ายหรือไหมเป็ นเปราะ ๆ เมือ่ ย้อมสีสจี ะไม่ตดิ ส่วนทีม่ ดั ไว้ ท�ำให้เกิดเป็ นลวดลาย ถ้าต้องการให้มหี ลายสีกต็ อ้ งย้อม หลายครัง้ จนครบสีทต่ี อ้ งการ การย้อมท�ำได้ 2 วิธี คือการย้อมเส้นยืน ตามความยาวของผ้าและการย้อมเส้นพุง่ ซึง่ สามารถสร้างลายได้ไม่ จ�ำกัดความยาวของผ้า กล่าวกันว่า การย้อมเส้นยืนอาจมีมาก่อนการ ย้อมเส้นพุง่ สันนิษฐานกันว่าวิธที อผ้ามัดหมีต่ อ้ งทอด้วยกีพ่ น้ื บ้านทีม่ ี เสาสีเ่ สาและต้องใช้ฟืม แต่ชาวเขาบางเผ่าก็ยงั ทอด้วยกีเ่ อวอยูบ่ า้ ง ส่วน การย้อมเส้นพุง่ และเส้นยืนบนผืนเดียวกันยังมีทออยูบ่ า้ งในกลุม่ คนไทย เชือ้ สายเขมร ชาวเกาะสุมาตราตะวันตก ชาวเกาะบาหลี ประเทศ อินโดนีเซีย และแคว้นคุชราต ประเทศอินเดีย ซึง่ เป็ นผ้ามัดหมีท่ ย่ี อ้ ม ทัง้ ด้ายเส้นยืนและเส้นพุง่ ซึง้ ผ้ามัดหมีท่ แ่ี คว้นนี้ได้ชอ่ื ว่ามีคณ ุ ภาพดีมาก การทอผ้ามัดหมีท่ ย่ี อ้ มด้วยเส้นพุง่ นิยมทอด้วยด้ายทีท่ ำ� จาก เส้นใยจากพืชและย้อมด้วยสีธรรมชาติ เช่น สีแดงจากครัง่ สีครามจาก ต้นคราม ส่วนมัดหมีจ่ ากไหมก็ยงั นิยมท�ำกันอยูใ่ นกลุม่ ไทลาวในภาค อีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3
วิ
ธีทอผ้าไหมมัดหมี่ กระบวนการผลิตผ้าไหมมัดหมีบ่ า้ นห้วยบงเหนือ ต�ำบลห้วยบง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูม ิ ทีไ่ ด้สมั ภาษณ์ชา่ งทอผ้าหลายท่าน พบว่า ช่างมีความรูด้ า้ นการผลิตผ้าไหมมัดหมีท่ ส่ี บื ทอดภูมปิ ญั ญาจาก บรรพบุรษุ จากแม่ พ่อ ญาติพน่ี ้อง เมือ่ ว่างจากงาน แม่พอ่ จะสอนลูก หลานให้รจู้ กั การทอผ้าไว้ใช้เอง นางบัวไข เติมศิลป์ ประธานกลุม่ สตรี ทอผ้าบ้านห้วยบงเหนือ เล่าให้ฟงั ว่า สมัยปู่ ย่า ตา ยาย การทอผ้าเป็ น หน้าทีส่ ำ� คัญของผูห้ ญิง ตามธรรมเนียมโบราณลูกสาวทีว่ ยั จะมีคคู่ รอง พ่อ แม่ ญาติผใู้ หญ่กม็ กั จะมองหาคูค่ รองไว้ให้ ผูห้ ญิงสาวนอกจาก กิรยิ ามารยาทต้องงดงามแล้ว ยังต้องขยัน และทีส่ ำ� คัญต้องทอผ้าเป็ น ถึงจะออก เรือนได้ แต่ถา้ ผูห้ ญิงทอผ้าไม่เป็ น ญาติฝา่ ยชายก็ไม่เลือกมา เป็ นสะใภ้ ดังนัน้ ท�ำให้หญิงสาวบ้านห้วยบงเหนือทุกบ้านต้องเรียนรู้ และฝึกหัดการทอผ้า เมือ่ ลูกหลานทอผ้าเป็ นแล้ว ก็จะสอนให้ผลิตให้ม ี คุณภาพเพือ่ เป็ นสินค้าจ�ำหน่ายต่อไป มีการทอผ้าไหมทีม่ คี วามสวยงาม เป็ นเอกลักษณ์ของตนเองตามทีไ่ ด้รบั มรดกภูมปิ ญั ญาถ่ายทอดสังสม ่ ประสบการณ์จากรุน่ สูร่ นุ่ จนเกิดความช�ำนาญมาจนถึงปจั จุบนั
4
ขั้
นตอนการเลี้ยงตัวหนอน (ดักแด้) หนอนไหมทีใ่ ช้ผลิตเส้นใยมีหลากหลายสายพันธุ์ แต่พนั ธุท์ บ่ี า้ น ห้วยบงเหนือ และแถบจังหวัดชัยภูมใิ ช้ผลิตเส้นไหมนัน้ มี 6 สายพันธุ์ คือ พันธุน์ างน้อย พันธุน์ างลาย พันธุน์ างตุ๊ย พันธุน์ างซิว่ พันธุส์ ำ� โรง และพันธุเ์ หลืองไพโรจน์ ซึง่ พันธุเ์ หลืองไพโรจน์นนั ้ ได้รบั การตัดแต่ง สายพันธุใ์ หม่โดยศูนย์หม่อนไหมในพระบรมราชินีนาถ เป็ นพันธุท์ ไ่ี ด้ รับความนิยมอย่างมาก เพราะจะได้เส้นใยจ�ำนวนมากกว่าพันธุพ์ น้ื บ้าน เดิมถึงสองเท่า มีความเข็งแรง เลีย้ งง่าย เส้นใยทีไ่ ด้ออกมามีความมัน วาว ลอกเส้นง่าย (ในขัน้ ตอนการแปลสภาพรังไหมเป็ นเส้นไหม)
ร
ะยะการเลี้ยงหนอนไหม การเลีย้ งตัวหนอนไหมนัน้ ต้องใช้ความเอาใจใส่ดแู ลพอสมควร จากระยะการฟกั ไข่ตวั อ่อน จนถึงเข้าฝกั หลอก (ดักแด้สร้างเส้นใยบางๆ หุม้ ตัวเองเป็ นรังไหม) พร้อมต่อการน�ำไปผลิตเป็ นเส้นไหมใช้เวลา ประมาณ 22-23 วัน โดยแต่ละช่วงวัยจะนอน 1 คืน (1 คืนเป็ นภาษาถิน่ มีคา่ เท่ากับ 4 วัน)
5
ก
ารท�ำเส้นใยไหม รังไหมจะมีลกั ษณะแลดูนุ่มฟูเหมือนกันก็จริง แต่เส้นไหมทีผ่ ลิต ออกมาในแต่ละชัน้ ของรังไหมก็ให้เส้นใยทีม่ คี วามแตกต่างกัน ซึง่ ความ แตกต่างของเส้นใยนี้สง่ ผลถึงรูปแบบผ้าไหม การใช้สอย รวมถึงราคา ของผลิตพันด้วย เส้นไหมใหญ่ เป็ นใยไหมทีอ่ ยูช่ นั ้ นอกสุด มีความหนา กระด้าง ใยผิวขรุขระ นิยมน�ำมาท�ำผ้าพันคอด้วยพืน้ ผิวทีแ่ ปลก โดด เด่น สวยงาม แต่ดว้ ยการผลิตทีไ่ ด้เส้นใยไม่มาก จึงท�ำให้เส้นไหมใหญ่ มีราคาค่อนข้างสูง และมีการเปลีย่ นแปลงราคาขึน้ สูงอยูเ่ สมอ (ราคา 1700 บาท ต่อ 1 กก. ในปี2556) ชัน้ ต่อมา เรียกว่าไหมน้อย เป็ นไหมที่ นิยมในปจั จุบนั และเป็ นเส้นทีใ่ ช้ทอเป็ นลวดลายต่างๆ มีลกั ษณะเป็ น เส้นเล็กกลม มันวาว นุ่มกว่าไหมใหญ่ ผลิตได้มากกว่า สามารถทอเป็ น ผ้าไหมลายต่างๆได้อย่างสวยงาม (ราคา 1500 บาท ต่อ 1 กก. ในปี 2556) เส้นไหมชัน้ นอกสุด เรียกว่าไหมอีจ๊อก หรือ ไหมยามเมือ่ แลง เป็ นไหมทีย่ งั ไม่รจู้ กั กันมาก มีผผู้ ลิตไหมชนิดนี้น้อย ไหมอีจ๊อก หรือ ไหมยามเมือ่ แลงเกิดจากเส้นใยชัน้ ในสุดของรังไหม มีลกั ษณะเป็ นเส้นสี เหลืองนวล บาง นุ่ม มันวาว ความหนาบางของเส้นต่างกัน เพราะเกิด จากขีไ้ หมทีอ่ ยูภ่ ายในรังไหมติดผสมเข้าไปด้วย ท�ำให้เส้นไม่เรียบ และ ราคาถูก (ราคา 700 บาท ต่อ 1 กก. ในปี 2556)
6
อุ
ปกรณ์ผลิตเส้นไหม ในปจั จุบนั มีการพัฒนา เครือ่ งจักรทีใ่ ช้ผลิตเส้นไหมโดย ศูนย์หม่อนไหมในพระบรม ราชินีนาถ ท�ำให้สามารถผลิตเส้น ไหมได้อย่างรวดเร็วและได้คณ ุ ภาพ มากขึน้ เป็ นเพียงการพัฒนารูป แบบเท่านัน้ แต่องค์ความรูห้ ลักยัง คงเดิม หม้อน�้ำ
เส้นไหมในตะกร้าแห้ง
เครื่องเด่นชัย(เครื่องสาวไหม) 7
ก
ารมัดลาย การมัดนัน้ เป็ นอีกขัน้ ตอนหนึ่งทีส่ ำ� คัญเพราะเป็ นการเริม่ ต้นของ ลวดลายทีจ่ ะเกิดขึน้ บนผืนผ้า การมัดย้อม (มัดหมี)่ นัน้ เป็ นวิธกี ารทีส่ บื ต่อกันมาเกือบ 200 ปี โดยมีขนั ้ ตอนไม่ซบั ซ้อน แต่ใช้ความละเอียด ประณีตสูง เพือ่ ให้ได้รายละเอียดสวยงาม ลวดลายในการมัดนัน้ มีหลาก หลายลวดลายอย่างลายโบราณ อาทิเช่น ลายหมีข่ นั ้ ลายขอเหลียว ลายพญานาค จนถึงลายประยุกต์ต่างๆ อาทิเช่น ลายปลาหมึก ลาย กระเบือ้ ง ลายหวีกล้วย ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของช่างแต่ละคนว่า จะ สามารถสร้างลวดลายได้วจิ ติ รพิสดารเพียงไหน
8
ในการมัดลวดลายบนไหมนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความถนัดหรือความ สามารถของช่างแต่ละคนว่าจะมัดลายอะไรลงไปบนไหม โดยจะมีการ วางแผนไว้ก่อนว่าต้องการลายอะไร สีไหน แต่จะไม่มกี ารจดบันทึกหรือ การวาดร่างบนไหม เพราะฉะนัน้ ลวดลายทีเ่ กิดขึน้ ต้องเกิดจากความ ช�ำนาญและฝีมอื ท�ำให้ลายออกมาสมบูรณ์สวยงาม รวมถึงเทคนิค ต่างๆ และการแก้ปญั หาทีม่ กั เกิดขึน้ ระหว่างการย้อมสีธรรมชาติ ทีบ่ าง ครัง้ สีทย่ี อ้ มออกมาไม่ตรงกับสีทต่ี อ้ งการ ช่างแต่ละคนจึงมีเทคนิค เฉพาะตัวทีแ่ ตกต่างกันเช่น มัดลายประดิษฐ์เพิม่ ในกรณีทล่ี ายดูหา่ งไป เป็ นต้น ทัง้ นี้ก่อนการมัดหมีน่ นั ้ ต้องวางแผนก่อนว่าจะย้อมกีส่ ี สีอะไร บ้าง และต้องการให้สไี หนผสมสีไหนเพือ่ ให้ได้สที ต่ี อ้ งการบ้าง (เช่นใน กรณีทต่ี อ้ งการสีสม้ จะต้องย้อมสีเหลืองติดก่อน แล้วย้อมโดยปล่อยให้ส ี แดงติดผสมในจุดเดิม 20% จนกลายเป็ นสีสม้ พบขัน้ ตอนแบบนี้ในสีขนั ้ ทีส่ ามเป็ นต้น) จึงจะท�ำการมัดได้ โดยมีเทคนิคการมัดคือ มัดโดยทิง้ ปม เชือกไว้ดา้ นล่าง เพือ่ ให้เห็นลายได้ชดั ขึน้
9
ก
ารย้อม ในปจั จุบนั การย้อมเส้นไหมมีขนั ้ ตอนทีส่ ะดวกมากขึน้ เนื่องจาก มีสเี คมีเฉพาะส�ำหรับย้อมเส้นไหมและท�ำให้สสี ดและติดทนมากขึน้ แต่ ถึงแม้ววิ ฒ ั นาการของการย้อมสีผา้ จะพัฒนาไปเพียงไหน บ้านห้วยบง เหนือยังคงรักษาวิธกี ารย้อมสีผา้ โดยวิธโี บราณแบบธรรมชาติไว้จงึ ท�ำให้องค์ความรูใ้ นการย้อมผ้าแบบโบราณยังคงอยูแ่ ละสามารถท�ำการ ศึกษาต่อยอด
10
เ
ตรียมเส้นทอสาย การทอผ้าในอดีตทุกขัน้ ตอน ช่างจะเป็ นผูท้ ำ� เองทัง้ หมดเพียง คนเดียวได้จนครบขัน้ ตอน แต่ในปจั จุบนั มีการแบ่งหน้าทีก่ นั ท�ำคนละ ด้าน ช่างทอไม่ตอ้ งท�ำเองในทุกขัน้ ตอนและจะท�ำหน้าทีเ่ พียงอย่าง เดียวตามทีต่ นเองถนัดหรือท�ำหน้าทีอ่ ย่างใดอย่างหนึ่ง ท�ำให้ กระบวนการทอสะดวกและรวดเร็วขึน้ ฉะนัน้ ช่างทอจึงมีความรูเ้ ฉพาะ ด้าน การเตรียมเส้นไหมและการทอแบบเดิมในอดีตทีม่ กี ารปลูกหม่อน เลีย้ งไหม สาวไหม แต่ในปจั จุบนั ใช้เส้นไหมส�ำเร็จรูปหาซือ้ ได้ตามท้อง ตลาดทัง้ ในและนอกชุมชน หรือมีตวั แทนมาจ�ำหน่ายถึงที่ เส้นไหมใช้ ไหมพืน้ เมือง เป็ นเส้นไหมไทยทีส่ าวด้วยเครือ่ งทอให้เป็ นเส้นยืนและใช้ เส้นไหมไทยสาวด้วยมือเป็ นเส้นพุง่ ส�ำหรับกลุม่ สตรีทอผ้าบ้านห้วยบง เหนือใช้เส้นไหมทีผ่ ลิตขึน้ มาเองในการทอผ้าไหมมัดหมี่ โดยใช้ก่ี กระตุกพืน้ บ้านหรือ หูก เป็ นอุปกรณ์ในการทอผ้า ส�ำหรับใส่ฟืม ขึง เครืองหูกให้ตงึ และนังทอผ้ ่ า ได้พฒ ั นารูปแบบภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ดัดแปลงวัสดุอุปกรณ์ในการผลิตและในการทอผ้า เช่น กระสวย พลาสติก เหล็กพันไหมยืน เป็ นต้น เพือ่ แก้ปญั หาต่าง ๆ ท�ำให้การทอ ผ้ารวดเร็วขึน้
11
ล
วดลายผ้าไหมมัดหมี่ในจังหวัดชัยภูมิ ลวดลายอันเกิดจากการใช้สผี า้ ไหมมัดหมีข่ องกลุม่ สตรีบา้ นห้วย บงเหนือ มีความหลากหลาย แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ ลายโบราณ เป็ นลายมัดหมีพ่ น้ื บ้านทีส่ บื ทอดกันมา ต้นแบบลายมัดหมีพ่ น้ื บ้าน มีทม่ี าแตกต่างกันไป การเรียกชือ่ ลายหรือ การจัดกลุม่ ของลาย มีตน้ แบบของการคิดลายมาจากรูปทรง เรขาคณิต และจากธรรมชาติ เช่น ส่วนของต้นพืช ส่วนของสัตว์ และเครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ในครัวเรือน เป็ นต้น ลายประยุกต์ เป็ นลายทีไ่ ด้ออกแบบขึน้ มาใหม่หรือ การน�ำลวดลายโบราณดัง้ เดิมทีส่ บื ทอดต่อ ๆ กันมาดัดแปลง และต่อมา ได้มกี ารประยุกต์ลวดลาย สีสนั ทีแ่ ตกต่างจากในอดีต มีการพัฒนาลาย ขึน้ เพือ่ ความแปลกใหม่ หรือประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยนิยมเพิม่ ความ สวยงามให้เหมาะสมตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้
12
การตัง้ ชือ่ ลายประยุกต์ จะเรียกอย่างไรก็ได้ไม่จำ� กัด อาจจะใช้ จินตนาการหรือคิดตามความพอใจ หรือตามสิง่ ทีพ่ บเห็นในชีวติ ประจ�ำ วัน ตามแต่ชา่ งทีเ่ ป็ นผูอ้ อกแบบคิดเรียกเอง ลายประยุกต์จงึ เกิดขึน้ มา ตามทีม่ กี ารทอผ้าในแต่ละครัง้ เพราะไม่ได้จำ� กัดขอบเขตไว้ตายตัวใน การตัง้ ชือ่ ลาย บางครัง้ ตัง้ ชือ่ ตามทีล่ กู ค้าถ่ายรูปมาให้มดั หมี่ หรือบาง ครัง้ มาจากแรงบันดาลใจเหมือนการตัดทอนสิง่ ทีเ่ ราเห็นลงไปในงาน โดยต้องค�ำนึงถึงเอกลักษณ์ของสิง่ นัน้ ด้วย ต้องดูสแี ละประโยชน์การใช้ ดูการออกแบบให้เหมาะสมกับวัย การจะใช้สเี ข้มบ้าง อ่อนบ้าง ใช้ส ี เดียวหรือ 2 สี ให้เป็ นธรรมชาติแก่ก่อนให้เหมาะสม จึงจะมาตัง้ ชือ่ เป็ น ลวดลายได้ การผลิตผ้าไหมมัดหมีข่ องกลุม่ สตรีบา้ นห้วยบงเหนือ ต�ำบล ห้วยบง อ�ำเภอเมืองชัยภูม ิ เป็ นการถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาจากบรรพบุรษุ ช่างได้เอาใจใส่ทกุ ขัน้ ตอน ถือเป็ นการควบคุมคุณภาพไปในตัว ตัง้ แต่ การปลูกหม่อนเลีย้ งไหม การคัดเส้นไหมทีน่ �ำมาใช้ การมัดลวดลาย การย้อม การเลือกใช้สที ม่ี คี ณ ุ ภาพและได้มาตรฐาน ท�ำให้สไี ม่ตก ด้าน การทอจะต้องใช้ทกั ษะและความช�ำนาญในการทอผ้าไหม เมือ่ ทอแล้ว พืน้ ผิวต้องเรียบ เนื้อแน่น ลายสม�่ำเสมอเป็ นเสน่หข์ องผ้าไหมมัดหมี่ และใช้ได้นาน นับเป็ นภูมปิ ญั ญาบรรพชนทีค่ นไทยทุกคนควรแก่การ สืบทอดต่อไป
13
มั
ดหมี่หลากสีสัน ผ้าไหมมัดหมีล่ ายขัดกระเบือ้ ง ท�ำโดยเส้นไหมทีย่ อ้ มด้วยสีธรรมชาติ วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ยอ้ มคือเขะ ครัง่ มีเทคนิค การทอแบบหางกระรอกบริเวณคัน่ ลาย แรงบันดาลใจจากลายกระเบือ้ ง และทรงเรขาคณิต
ผ้าไหมมัดหมีล่ ายกีบบก (กลีบ ใบบัวบก) ท�ำด้วยเทคนิคมัดหมี่ ย้อม ด้วยสีธรรมชาติ โดยใช้เขะ ครัง่ มะเกลือ ในการย้อม แรงบันดาลใจในการสร้าง ลาย เกิดจากการสังเกตลักษณะของใบ บัวบก ผสมกับจินตนาการของผูท้ อออก มาเป็ นลายของผ้าไหมมัดหมีท่ ส่ี วยงาม
14
ผ้าไหมมัดหมีล่ ายฟองน�้ำ ย้อม ด้วยสีธรรมชาติโดยใช้มะเกลือ ในการ ย้อมเส้นไหม ผ้าไหมมัดหมี่ลายฟอง คลืน่ ผืนนี้ ได้รบั แรงบันดาลใจจากคลืน่ น�้ ำทีไ่ หลเป็ นระลอกคลื่น เกิดจากการ สังเกตธรรมชาติรอบตัว น�ำมารังสรรค์ เป็ นลวดลายผ้าไหมมัดหมีท่ ส่ี วยงาม
ผ้ า ไ ห ม มั ด ห มี่ ล า ย ด า ง แ ห ท� ำ ด้ ว ยเทคนิ ค มั ด หมี่ ย้ อ มด้ ว ยสี ธรรมชาติ โดยใช้เขะ ครัง่ ในการย้อมมี แรงบันดาลใจในการสร้างลาย เกิดจาก วิถชี วี ติ ทีม่ คี วามผูกพันการจับปลาและ การท�ำการเกษตร สังเกตุลกั ษณะของ แหดักจับปลาออกมาเป็ นลวดลายของ ผ้าไหมมัดหมี่ 15
ผ้าไหมมัดหมี่ชยั ภูมิ ภาพและเนื้อเรือ่ ง© 2014 (พ.ศ. 2557) โดย นิพพิชฌน์ นิมติ รบรรณสาร, 540310120 สงวนลิขสิทธิ ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครัง้ แรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย นิพพิชฌน์ นิมติ รบรรณสาร โดยใช้ฟอนท์ Browallia New 14 pt. หนังสือเล่มนี้เป็ นผลงานทางวิชาการจัดท�ำขึน้ เพือ่ ส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพนักศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
16