รูปแบบการจัดทำแผนบูรณาการเครือข่าย การจัดระบบบริการสุขภาพ สาขาอุบัติเหตุ

Page 1

รูปแบบการจัดทาแผนบูรณาการเครือข่ าย การจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบัติเหตุ โดย ทีมคณะทางานความเชี่ ยวชาญ สาขาอุบัติเหตุ


แนวคิดในการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุ ขภาพ ของเครือข่ ายบริการ • วิเคราะห์ขอ้ มูลการเจ็บป่ วย/บาดเจ็บของประชากร พื้นที่เสี่ ยง จานวนประชากรและ การเข้าถึงบริ การตามลักษณะของภูมิศาสตร์ ( Information and situation analysis ) • จัดทาแผนและโครงสร้างของการให้บริ การผูป้ ่ วยของแต่ละหน่วยบริ การและกาหนด บทบาทความรับผิดชอบ ( Set level of service unit and job description ) • วิเคราะห์ส่วนต่างของเกณฑ์มาตรฐานการให้บริ การกับศักยภาพในปัจจุบนั ( Gap analysis ) แล้วจัดทาแผนปฏิบตั ิการ ( Action plan ) ของแต่ละหน่วยบริ การ


การวิเคราะห์ ข้อมูลและสถานการณ์ การบาดเจ็บ Information and situation analysis


ความสาคัญของปัญหา • อุบตั ิเหตุเป็ นปัญหาสาธารณสุ ขสาคัญของประเทศติดอันดับ หนึ่งในสาม • อุบตั ิเหตุทางถนนเป็ นสาเหตุการเสี ยชีวติ ที่สาคัญที่สุดของชายวัย ทางาน • โดยเฉลี่ยมีผเู ้ สี ยชีวติ จากอุบตั ิเหตุถนนในไทยวันละ 25 ราย


อุบตั ิเหตุทางถนน • อัตราตายจากอุบตั ิเหตุทางถนนของไทยในปี พ.ศ.2549 อยูท่ ี่ 19.6 ต่อแสนประชากร สู งกว่าประเทศในระดับเศรษฐกิจ ใกล้เคียงกัน • รัฐบาลมีเป้ าหมายลดให้เหลือต่ากว่า 10 ต่อแสนประชากร ภายในปี 2563 http://www.who.int/roadsafety/news/2011/21_04/en/index.html



อัตราเสี ยตายจากอุบตั ิเหตุทางถนน



โอกาสพัฒนาด้ านข้อมูล ทุกเครื อข่ายพัฒนาระบบฐานข้อมูลผูบ้ าดเจ็บ ระดับจังหวัดและพวงบริ การให้ครบถ้วน สมบูรณ์


จากการทบทวนข้ อมูลพบว่า การลดอัตราตายทาได้ โดย • Prevention ยุทธศาสตร์ 5 E ( Enforcement, Engineering, Education, EMS, Evaluation ) • Pre-hospital care  การให้บริ การที่ครอบคลุมและรวดเร็ ว  พัฒนาคุณภาพการให้บริ การที่ได้มาตรฐาน • Hospital care ( Trauma Centers Network ) สามารถลดอัตราตายของผูบ้ าดเจ็บได้ประมาณ 20 % ถ้าได้รับการรักษาใน เครื อข่ายเชี่ยวชาญด้านอุบตั ิเหตุ( อ้างอิงจากศูนย์อุบตั ิเหตุของอเมริ กา )


จัดทาแผนโครงสร้ างและบทบาทหน้ าที่การ ให้ บริการผู้ป่วยอุบัตเิ หตุของสถานบริการ แต่ ละระดับ Set level of service unit and job description


กรอบแนวทางการพัฒนาเครือข่ ายบริการ การจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบัติเหตุ 1. การจัดตั้งคณะกรรมการเครื อข่ายและทาโครงสร้างเครื อข่ายการให้บริ การ 2. การจัดทา Job description ให้สถานบริ การแต่ละระดับดาเนินการ  การป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุ  ระบบการดูแลผูบ้ าดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล( Pre-hospital care )  การดูแลผูบ้ าดเจ็บในเครื อข่ายบริ การ ( เน้น 2 เรื่ องที่เป็ นสาเหตุการตาย ) – การบริ การผูบ้ าดเจ็บสมอง( รุ นแรงระดับปลานกลางถึงรุ นแรงมาก ) – การดูแลผูบ้ าดเจ็บหลายระบบ  ระบบฟื้ นฟูผบู ้ าดเจ็บเมื่อพ้นภาวะวิกฤติ


จัดตั้งเครือข่ ายการให้ บริการผู้ป่วยอุบัตเิ หตุใน ระดับพวงบริการและระดับจังหวัด โดยมีหน้ าที่ กาหนดสถานบริ การให้มีการพัฒนาขีดความสามารถ เป็ นศูนย์ความเชี่ยวชาญด้านอุบตั ิเหตุในแต่ละระดับ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ เส้นทางคมนาคม และ ระดับศักยภาพของโรงพยาบาล


การบริหารจัดการเครือข่ ายการจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบัตเิ หตุอย่ างมีประสิทธิภาพ


การบริหารจัดการเครือข่ ายการจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบัติเหตุ • จัดให้มีคณะกรรมการบริ หารจัดการเครื อข่ายด้านอุบตั ิเหตุ คณะกรรมการอานวยการ( เป็ นชุดเดียวกันทั้ง 10 สาขา ) คณะกรรมการดาเนินงานด้านอุบตั ิเหตุ • คณะกรรมการควรจะมีอยู่ 3 ระดับคือ ระดับจังหวัด ระดับพวงบริ การ ระดับประเทศ


การบริหารจัดการเครือข่ ายการจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบัติเหตุ( ต่ อ ) • ให้ประธานและเลขาของแต่ละสาขาในจังหวัดเป็ นคณะกรรมการในระดับ เครื อข่ายบริ การ • ให้ประธานและเลขาของแต่ละสาขาในระดับเครื อข่ายบริ การเป็ นคณะกรรมการใน ระดับประเทศ ระดับประเทศ ระดับพวงบริ การ ระดับจังหวัด


คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ ายบริการด้ านอุบัตเิ หตุระดับ จังหวัด ระดับเครือข่ ายบริการและระดับประเทศ


บทบาทหน้ าทีข่ องคณะกรรมการระดับจังหวัดระดับพวงบริการ และระดับประเทศ • กาหนดวิสัยทัศน์เป้ าหมาย ตัวชี้วดั ของการดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บ • วางแผนพัฒนาระบบบริ การและการส่ งต่อผูป้ ่ วยบาดเจ็บ (การบริ หาร จัดการ คุณภาพบริ การและงบประมาณ) • กาหนดโครงสร้างและแนวทางการส่ งต่อผูป้ ่ วยบาดเจ็บของเครื อข่าย หน่วยบริ การในแต่ละระดับให้เหมาะสม • ประสาน ติดตาม กากับดูแลการบริ การและการส่ งต่อผูป้ ่ วยบาดเจ็บ • ประเมินผลการพัฒนาของเครื อข่ายหน่วยบริ การ


คณะกรรมการอานวยการพัฒนาเครือข่ ายบริการ ระดับจังหวัด( ดูแลทัง้ 10 สาขา ) 1. นายแพทย์สาธารณสุ ขจังหวัด 2. ผู้อานวยการโรงพยาบาลจังหวัด 3. ผู้อานวยการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 4. ตัวแทนผู้อานวยการโรงพยาบาลชุ มชน 5. ผู้อานวยการโรงพยาบาลระดับ M1,M2 6. ตัวแทนผู้อานวยการโรงพยาบาลเอกชน 7.ประธาน/เลขาคณะกรรมการดาเนินการศูนย์ ความเชี่ยวชาญ 8. ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน 9. รองผู้อานวยการฝ่ ายการแพทย์โรงพยาบาลจังหวัด 10. หัวหน้ าฝ่ ายยุทธศาสตร์ สาธารณสุ ข

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


คณะกรรมการอานวยการพัฒนาเครือข่ ายบริการ บทบาทหน้ าที่ 1. กาหนดโรงพยาบาลแม่ข่ายของสถานบริ การเครื อข่ายสุ ขภาพในแต่ละระดับ เพื่อรองรับผูป้ ่ วยในจังหวัดและกลุ่มจังหวัดใกล้เคียงได้อย่างเพียงพอ ครอบคลุม และเป็ นธรรม 2. พิจารณายกระดับมาตรฐานและศักยภาพการบริ การของสถานบริ การเครื อข่าย 3. กาหนดแนวทางการดาเนินการยกระดับมาตรฐานและศักยภาพของสถาน บริ การเครื อข่ายสุ ขภาพ


คณะกรรมการดาเนินการเครือข่ ายผ้ ปู ่ วยอบุ ัติเหตุระดับจังหวัด 1. รองผู้อานวยการฝ่ ายการแพทย์ โรงพยาบาลจังหวัด 2. ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ อุบัติเหตุระดับ 1 หรือ 2 3. ตัวแทนแพทย์ ทั่วไปทุกโรงพยาบาลตั้งแต่ ระดับ F1 ขึน้ ไป 4. ตัวแทนศัลยแพทย์ เฉพาะทางทุกโรงพยาบาลตั้งแต่ M1 ขึน้ ไป 5. ตัวแทนศัลยแพทย์ โรงพยาบาลเอกชนและนอกสั งกัด 6. ประธานและเรขาคณะทางานย่ อย( ถ้ ามี )แต่ ละคณะ 7. ตัวแทนศัลยแพทย์ โรงพยาบาลสั งกัดมหาวิทยาลัย 8. ศัลยแพทย์ ผู้อานวยการศูนย์ อุบัติเหตุระดับ 1 หรือ 2 9. เลขานุการศูนย์ อุบัติเหตุระดับ 1 หรือ 2

ประธาน รองฯประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


คณะกรรมการดาเนินการเครือข่ ายผ้ ปู ่ วยบาดเจ็บระดับจังหวัด บทบาทหน้ าที่ 1. กาหนดแนวทางในการดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บ ให้ครอบคลุม สะดวก รวดเร็ ว มีคุณภาพ 2. ดาเนินการพัฒนาคุณภาพเครื อข่ายการดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บให้มีประสิ ทธิภาพ 3. กาหนดแนวทางการดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บไป-กลับจากโรงพยาบาลแต่ละระดับให้ เหมาะสม และรวดเร็ ว 4. พัฒนาศักยภาพการดูแลผูบ้ าดเจ็บของแต่ละโรงพยาบาลให้ได้มาตรฐาน 5. กาหนดรายการวัสดุ ครุ ภณ ั ฑ์การแพทย์ บุคลากร และอื่น ๆ ที่จาเป็ นต้องใช้ และ ขอรับการสนับสนุน 6. พิจารณาแนวทางและแก้ไขปัญหาการดูแลผูบ้ าดเจ็บพร้อมทั้งเสนอแนวทางฯ ต่อ คณะกรรมการอานวยการฯจังหวัด


ตัวอย่ าง การจัดระบบเครือข่ายการให้ บริการผ้ ปู ่ วย อุบตั ิเหตุเขตภาคเหนือตอนบน ( พวงบริการที่ 1)


ระบบโครงข่ ายบริการพวงบริการที่ 1


Trauma level 1 Trauma level 3

Trauma level 3

Trauma level 1

Trauma level 2

Trauma level 3

Trauma level 3

Trauma level 3 โครงข่ ายบริการอุบัติเหตุพวงบริการที่ 1


โครงข่ ายบริการ จัแผนที งหวัดเชี่ ยงใหม่

สายเหนือ

สายกลาง

สายใต้


Trauma level 3 ( M1)

โครงข่ ายบริการอุบัติเหตุ จังหวัด่ เชียงใหม่ แผนที

สายเหนือ

Trauma level 1 ( A)

สายกลาง M 2 อีก 3 แห่ ง ( Trauma level 3 ?) Trauma level 3 ( M1)

สายใต้


เครือข่ ายการให้ บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุทุกระดับในจังหวัดเชียงใหม่


ตัวอย่ าง Job description การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ ทางสมองแต่ ละระดับของสถานบริการ


โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุขภาพตาบล( รพ.สต.) • มีบทบาทหน้าที่หลักในการให้การส่ งเสริ มและป้ องกัน ให้ความรู ้ ทางด้านอุบตั ิเหตุกบั ประชาชนโดยเฉพาะการรณรงค์ดา้ นการขับขี่ที่ ปลอดภัย สวมหมวกนิ รภัยเพื่อป้ องกันการบาดเจ็บที่ศีรษะ • เก็บข้อมูลด้านการบาดเจ็บที่ให้บริ การทั้ง 19 สาเหตุ • ให้การวินิจฉัยและช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บศีรษะในระดับพื้นฐาน( Basic Life Support ) ได้ • ประสานโรงพยาบาลเพื่อการนาส่ งได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ • ดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บศีรษะที่ได้รับการฟื้ นฟูที่บา้ นหรื อในชุมชน


โรงพยาบาลชุมชน ( รพช. : M2 , F1 , F2 , F3 ) Trauma Center Level 4 • ส่ งเสริ ม สนับสนุนและให้ความร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ บาดเจ็บหรื ออุบตั ิเหตุในระดับอาเภอเพื่อการป้ องกันการบาดเจ็บ • เก็บข้อมูลด้านการบาดเจ็บที่ให้บริ การทั้ง 19 สาเหตุ • ให้การการวินิจฉัยและช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บที่ศีรษะขั้นต้น ( Initial Diagnosis And Resuscitation ) ได้ตามแนวทางของ Advance Trauma Live Support • สามารถประสานโรงพยาบาลในระดับสูงกว่าเพื่อการนาส่ งได้อย่างมีคุณภาพ • ให้การดูแลผูป้ ่ วยที่ได้รับส่ งกลับมาจากโรงพยาบาลที่สูงกว่าเพื่อการฟื้ นฟู ต่อเนื่องและร่ วมกับโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลในการดูแลที่บา้ นหรื อ ชุมชน


โรงพยาบาลทั่วไป ( รพท. : S , M1 ) Trauma Center Level 3 • ส่ งเสริ ม สนับสนุนและให้ความร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ บาดเจ็บหรื ออุบตั ิเหตุในระดับอาเภอหรื อระดับจังหวัดเพื่อการป้ องกันการ บาดเจ็บ • เป็ นแม่ข่ายรองของโรงพยาบาลศูนย์เพื่อกากับดูแลระบบการให้บริ การบาด เจ็บที่ศีรษะรวมทั้งตรวจสอบคุณภาพการให้บริ การของลูกข่ายในเครื อข่าย บริ การที่รับผิดชอบ • เก็บข้อมูลด้านการบาดเจ็บที่ให้บริ การทั้ง 19 สาเหตุ • ให้การการวินิจฉัยและช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บที่ศีรษะขั้นต้น ( Initial Diagnosis And Resuscitation ) ได้ตามแนวทางของ Advance Trauma Live Support


โรงพยาบาลทั่วไป ( รพท. : S , M1 ) Trauma Center Level 3 ( ต่ อ ) • ให้การวินิจฉัยเฉพาะได้ ( Definitive Diagnosis ) ในผูป้ ่ วยบาดเจ็บที่ศีรษะ โดยทา CT Scan ( M1 เป็ น option ถ้าจาเป็ น ) • ให้การรักษาผูป้ ่ วยบาดเจ็บที่ศีรษะที่ไม่ตอ้ งผ่าตัดตามความเห็นของ ผูเ้ ชี่ยวชาญได้ • มีหอ้ งปฏิบตั ิการเพื่อการวินิจฉัยและมีคลังเลือดหรื อมีแนวทางในการขอการ สนับสนุนเลือดจากทางกาชาดเพื่อการช่วยเหลือขั้นต้นได้ • สามารถประสานโรงพยาบาลในระดับสูงกว่าเพื่อการส่ งต่อได้อย่างมีคุณภาพ • ให้การดูแลผูป้ ่ วยที่ได้รับส่ งกลับมาจากโรงพยาบาลที่สูงกว่าหรื อร่ วมกับ โรงพยาบาลชุมชนในเครื อข่ายเพื่อการฟื้ นฟูต่อเนื่อง


โรงพยาบาลศูนย์ ( รพศ. : A1 , A2 ) Trauma Center Level 1 , 2 • ส่ งเสริ ม สนับสนุนและให้ความร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ บาดเจ็บหรื ออุบตั ิเหตุในระดับจังหวัดหรื อระดับพวงบริ การในการ ป้ องกันการบาดเจ็บ • เป็ นผูน้ าในการสะท้อนปั ญหาการบาดเจ็บเพื่อการแก้ไขอย่างองค์รวม ภายใต้ขอ้ มูลของโครงข่ายการบาดเจ็บ • เก็บข้อมูลด้านการบาดเจ็บที่ให้บริ การทั้ง 19 สาเหตุ • ลงข้อมูล IS เพื่อสามารถวิเคราะห์ผปู้ ่ วยที่เสี ยชีวิตที่มี PS>0.75 ได้ • ให้การวินิจฉัยและบาบัดรักษาผูบ้ าดเจ็บที่ศีรษะทุกรู ปแบบโดยเฉพาะที่ ซับซ้อนและพบไม่บ่อยที่จาเป็ นต้องใช้เทคโนโลยีข้ นั สู ง


โรงพยาบาลศูนย์ ( รพศ. : A1 , A2 ) Trauma Center Level 1 , 2 ( ต่ อ ) • บุคลากร เครื่ องมือ สถานที่และหน่วยงานสนับสนุนเพียงพอในการให้ การช่วยเหลือผูป้ ่ วยบาดเจ็บสมองได้ทนั ทีและตลอดเวลาตั้งแต่การ ช่วยเหลือช่วงแรกจนถึงการพักฟื้ น • เป็ นแม่ข่ายหลักกากับดูแลระบบการให้บริ การการบาดเจ็บศีรษะทั้ง ตรวจสอบคุณภาพการให้บริ การในลูกข่ายที่รับผิดชอบทั้งหมดในการส่ ง ต่อรวมทั้งมีบทบาทในการจัดการอบรม วิจยั และให้องค์ความรู ้กบั ลูก ข่าย • ให้การฟื้ นฟูผปู ้ ่ วยบาดเจ็บศีรษะด้วยเทคโนโลยีข้ นั สู งและประสานลูก ข่ายเพื่อการดูแลต่อเนื่อง


การวิเคราะห์ ส่วนต่ างของเกณฑ์ มาตรฐานและ จัดทาแผนปฏิบตั ิการของหน่ วยบริการ Gap analysis and action plan


วิเคราะห์ ส่วนต่ างของความต้ องการให้ บริการของหน่ วยบริการในพืน้ ที่ กับศักยภาพในปัจจุบัน (Gap analysis) และ จัดทาแผนปฏิบัติการ( Action plan) การให้ บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุ โดย อ้างอิงจากบทบาทหน้าที่( Job description )ของหน่วย บริ การแต่ละระดับแล้วใช้เกณฑ์มาตรฐานศูนย์ความ เชี่ยวชาญด้านอุบตั ิเหตุ 4 ระดับ ของราชวิทยาลัย ศัลยแพทย์ประเมินหาส่ วนต่าง


แนวคิดในการวิเคราะห์ Gap analysis ของ สถานบริการแต่ ละระดับ วิเคราะห์ Gap analysis เป็ น 2 มิติ • Gap analysis ตามการครอบคลุมการให้ บริการ : Vertical gap / Competency (ความรู ้ ความสามารถ) - ประเมินจากกลุ่มโรคที่ไม่สามารถให้บริ การได้ ต้องส่งต่อ • Gap analysis ตามภาระงาน : Horizontal gap / Quantity (ขนาดของการให้บริ การ) - ประเมินจากภาระงานที่มีมากกว่าทรัพยากรที่มี จึงต้องส่งต่อ


ตัวอย่ าง การวิเคราะห์ ส่วนต่ างและการทาแผนปฏิบัติการ ด้ านการให้ บริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท จังหวัดเชียงใหม่


ผู้ป่วยทีป่ ระสานงานผ่ านศู นย์ การส่ งต่ อโรงพยาบาลนครพิงค์ ประเภทผู้ป่วยที่ประสานงาน

บริบทของปัญหา ส่ งผู้ป่วยระบบประสาทประมาณเดือนละ 160-200 ราย

MED SUR

ORTHO NEURO

OB-GYN PED EYE MAXILLO URO

ENT


Gap ของการให้ บริการผู้ป่วยบาดเจ็บสมองปี 2552 Vertical gap / Competency สิ่ งทีข่ าด • ไม่มีแพทย์ศลั ยกรรมประสาท • ไม่มีหอผูป้ ่ วยหนักศัลยกรรมประสาท • ไม่มีหอผูป้ ่ วยทัว่ ไปศัลยกรรม ประสาท • ไม่มีเครื่ องมือผ่าตัดชั้นสูงด้าน ศัลยกรรมประสาท

สิ่ งทีม่ ี • ศัลยแพทย์ทวั่ ไปที่สามารถผ่าตัด อุบตั ิเหตุทางสมองที่ไม่ซบั ซ้อนได้ • มีเครื่ องมีผา่ ตัดสมองขั้นพื้นฐาน • มีหอผูป้ ่ วยหนักศัลยกรรมทัว่ ไป • มีหอผูป้ ่ วยอุบตั ิเหตุทวั่ ไป • มีเครื อข่ายการดูแลผูป้ ่ วยบาดเจ็บ สมองของเชียงใหม่


แผนบริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท แผนระยะสั้น • ขอความร่ วมมือศัลยแพทย์ทวั่ ไปผ่าตัดอุบตั ิเหตุสมองที่ไม่ซบั ซ้อน • สร้างเครื อข่ายในการผ่าตัดสมองทั้งโรงพยาบาลมหาราชฯและ โรงพยาบาลประสาท • จ้างอาจารย์แพทย์จากมหาราชฯมาช่วยผ่าตัด 2 ท่าน ( 2 วัน/สัปดาห์ ) • เพิ่มค่าตอบแทนการผ่าตัดเป็ น 2 เท่า • ทาศูนย์สารองเตียงกับเอกชน


การให้ บริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท แผนระยะยาว แผน แผนบุคลากร( HR. Plan ) มีแพทย์ที่กาลังส่งไปเรี ยนด้านศัลยกรรมประสาท ส่งแพทย์ไปเรี ยนด้านศัลยกรรมประสาทเพิ่มอีก รับแพทย์ศลั ยกรรมประสาทที่จบแล้วเพิ่ม รับพยาบาลเพิ่มในส่วนศัลยกรรมประสาท แผนครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ( Investment Plan ) หอผูป้ ่ วยหนักศัลยกรรมประสาท เครื่ องช่วยหายใจ central monitor

จานวน

ปี ทีจ่ บ/สาเร็จ

1 ท่าน 2 ท่าน 2 ท่าน 12 ท่าน

2554 2556 , 2557 2554 2554

8 เตียง 8 เครื่ อง 1 วง

2554 2554 2554


Action Plan การให้ บริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท โรงพยาบาลนครพิงค์ ( A )

HR. Plan Investment Plan


Investment Plan การให้ บริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท โรงพยาบาลนครพิงค์


สารวจความพร้ อมการบริการผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทในปี 2555 ความพร้ อม • แพทย์ - ศัลยแพทย์ประสาทมี 3 คน - ศัลยแพทย์ 10 คน • พยาบาล - ปี 2553 รับเพิ่ม 65 คน - ปี 2554 รับเพิ่ม 75 คน - พยาบาลช่วยผ่าตัดด้านศัลยกรรม ประสาท( ส่งฝึ กที่มหาราชฯ )

ความพร้ อม • เครื่องมือและสถานที่ - หอผูป้ ่ วยหนักศัลยกรรมประสาท จานวน 8 เตียง - พร้อมเครื่ องช่วยหายใจจานวน 8 เครื่ อง - central monitor จานวน 1 วง - เครื่ องมีผา่ ตัดศัลยกรรมประสาท


การผ่าตัดผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทโรงพยาบาลนครพิงค์ ( A)


การวิเคราะห์ ส่วนต่ าง (Gap analysis)การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บสมอง โรงพยาบาลนครพิงค์ ( ระดับ A ) ในปัจจุบัน Vertical gap / Competency ( ไม่ สามารถให้ บริการได้ ต้ องส่ งต่ อ ) • การฉี ดสี ประเมินบาดเจ็บเส้นเลือด ( Conventional Angiogram ) • การบาดเจ็บที่ตอ้ งใช้รังสี รักษาร่ วม ( Endovascular Interventional Radiology) • การฝึ กอบรม การวิจยั

Horizontal gap / Quantity (ภาระงานทีม่ มี ากกว่ าทรัพยากรทีม่ ี ) • หอผูป้ ่ วยหนัก( ICU. Neuro.)มีไม่ เพียงพอ • เตียงรองรับผูป้ ่ วยสามัญที่บาดเจ็บ สมองมีไม่เพียงพอ • เครื่ องมือผ่าตัดสมองมีไม่เพียงพอ • ระบบข้อมูลและการประเมินคุณภาพ


ตัวชี้วดั การให้ บริการของเครือข่ ายบริการ การจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบตั ิเหตุ ( Indicator)


ตัวชี้วัดระดับประเทศ


ตัวชี้วัดระดับพวงบริ การและระดับจังหวัด


ตัวชี้วดั ระดับโรงพยาบาล ( เฉพาะที่กาหนดเป็ นศูนย์ เชี่ยวชาญอบุ ัติเหตุ)


ตัวชี้วดั อืน่ ของการพัฒนาเครือข่ายบริการ การจัดระบบบริการสุ ขภาพ สาขาอุบตั ิเหตุ


ระบบการเก็บฐานข้ อมูลผ้ บู าดเจ็บเพือ่ นามาพัฒนาระบบการให้ บริ การ เป้ าหมาย : มีระบบการจัดเก็บข้อมูลผูป้ ่ วยบาดเจ็บโดยโปรแกรม IS ในระดับจังหวัด ระดับพวงบริ การและระดับประเทศเพื่อนามาวิเคราะห์สาเหตุและอัตราตายได้ ตัวชี้วัด : ความสาเร็ จของการนาข้อมูลมาวิเคราะห์สาเหตุการตายและวางแผนระบบ บริ การ ผู้รับผิดชอบ : หน่วยบริ การทุกระดับ( ตั้งแต่ระดับ รพ.สต จนถึง ระดับประเทศ )เก็บข้อมูล ผูป้ ่ วยบาดเจ็บทั้ง 19 สาเหตุ หน่วยบริ การตั้งแต่ระดับระดับ A ต้องเก็บข้อมูล IS


ระบบการดูแลผ้ บู าดเจ็บก่ อนถึงโรงพยาบาล ( pre-hospital ) เป้ าหมาย : ผูบ้ าดเจ็บฉุกเฉินได้รับการบริ การโดยระบบบริ การการแพทย์ฉุกเฉินครอบคลุม และมีมาตรฐาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผูบ้ าดเจ็บฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลือโดยระบบบริ การการแพทย์ ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น ร้อยละของการปฏิบตั ิการดูแลผูบ้ าดเจ็บอย่างเหมาะสมตามมาตรฐาน( ทั้งการให้ การช่วยเหลือทางเดินหายใจ การหยุดห้ามเลือด การยึดตรึ งและการให้สารน้ า ) ผู้รับผิดชอบ : หน่วยบริ การทุกระดับ( ตั้งแต่ระดับ รพ.สต จนถึง ระดับประเทศ )


ระบบฟื้ นฟูผ้ บู าดเจ็บเมื่อพ้นภาวะวิกฤติ เป้ าหมาย : มีระบบเครื อข่ายการดูแลฟื้ นฟูผบู ้ าดเจ็บเมื่อพ้นภาวะวิกฤติอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ตัวชี้วัด : ความสาเร็ จในการจัดระบบเครื อข่ายในระดับจังหวัดและระดับพวง บริ การและระดับประเทศ ผู้รับผิดชอบ : หน่วยบริ การทุกระดับ( ตั้งแต่ระดับ รพ.สต จนถึง ระดับประเทศ )


โครงสร้ างเครือข่ ายการให้ บริ การและคณะกรรมการเครือข่ าย เป้ าหมาย : การบริ หารเครื อข่ายการให้บริ การผูบ้ าดเจ็บมีประสิ ทธิ ภาพและคุม้ ทุน ตัวชี้วัด : ความสาเร็ จของการจัดตั้งเครื อข่ายการให้บริ การผูบ้ าดเจ็บและมีกรรม การรับผิดชอบทั้งในระดับจังหวัด ระดับพวงบริ การและระดับประเทศ ผู้รับผิดชอบ : หน่วยบริ การทุกระดับ( ตั้งแต่ระดับ รพ.สต จนถึง ระดับประเทศ )


Thank you for your attention


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.