สรุปนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน

Page 1

สรุปผลโครงการ/กิจกรรมโดยใช้นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน "ห้องสมุดเคลื่อนที่" ห้องสมุดประชาชนอาเภอมัญจาคีรี กศน.อาเภอมัญจาคีรี สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น

1.ชื่อนวัตกรรม นวัตกรรมหนังสือดิจิทัล “หนังสือของพ่อ” อ่าน ผ่าน QR Code (ห้องสมุดประชาชนอาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น) 2. สังเขป ประวัติ ความเป็นมาของนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายดาเนินงาน ด้านส่งเสริมการอ่านของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งหวังให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่านและสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งในสังคมปัจจุบันมีการ แข่งขันกันมากขึ้นในการดารงชีวิต เทคโนโลยีต่างๆ เจริญก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สมาร์ทโฟน ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ในด้านต่างๆ และการอ่านหนังสือในห้องสมุดก็ลดน้อยลง ห้องสมุดประชาชนอาเภอมัญจาคีรี เห็นความ สาคัญในการส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชน จึงได้จัดทา โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ส่งเสริมการอ่านหนังสือ “ตามรอยพ่อ” โดยใช้นวัตกรรมหนังสือดิจิทัล “หนังสือ ของพ่อ” อ่านผ่าน QR Code ขึน้ เป็นการส่งเสริมการ อ่านเชิงรุกเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการ การอ่าน กระตุ้นความสนใจในการอ่านและการสร้างนิสัยรัก การอ่าน และเพื่อสืบสานพระราชปณิธานของในหลวง รัชกาลที่ 9 ผ่านนวัตกรรมหนังสือดิจิทัลให้กับประชาชน โดยจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ทั้ง 8 ตาบล


3. วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม 1) เพื่อเพิ่มช่องทางในการอ่านและการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี 2) เพื่อส่งเสริมการอ่านและการค้นคว้าข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 3) เพื่อเพิ่มจานวนผู้อ่านและขยายผลการอ่านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 4) เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของในหลวงรัชกาลที่ 9 4. ขั้นตอนการทา/การดาเนินงานเรียงตามลาดับ 1) สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ/กิจกรรม - ประชุมคณะครู - วางแผนการดาเนินงานร่วมกัน 2) อบรมพัฒนาทักษะความรู้โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ครูกศน.ทั้ง 8 ตาบลๆละ 2 คน /ครู ปวช.2 คน/ บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ 2 คน รวมทั้งหมด 20 คน - อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทาหนังสือดิจิทัล - อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทา QR Code - อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทาสื่อป๊อบอัพ

3) จัดทาหนังสือดิจิทัลโดยคัดเลือกหนังสือดีๆ ทรงคุณค่าเกี่ยวกับในหลวงรัชกาลที่ 9 มาจัดไว้ใน รูปแบบของ E-book หรือหนังสือดิจิทัล “หนังสือของพ่อ” เริ่มแรกทาเพื่อเทิดพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9 จานวน 89 เล่ม และทาหมวดอื่นๆเพิ่มเติม รวมเกือบ 200 เล่ม โดยคณะครูมีส่วนร่วมในการจัดทา 4) จัดทา QR Code ส่งเสริมการอ่าน โดยผู้ใช้บริการสามารถนาโทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟนสแกน QR Code เพื่อเข้าไปอ่านได้ทันที 5) การเผยแพร่นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ - จัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ร่วมกับอาเภอยิ้มเคลื่อนที่ทุกเดือน - ประชาสัมพันธ์นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านในวันปฐมนิเทศนักศึกษา - จัดนิทรรศการนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน หนังสือดิจิทัล “หนังสือของพ่อ” ในเทศกาลกล้วยไม้ป่าบานและของดีเมืองมัญจาคีรี - จัดนิทรรศการนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน หนังสือดิจิทัล “หนังสือของพ่อ” ในมหกรรมหนังสือภาคอีสาน - จัดนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่รถโมบายเคลื่อนที่


6) การขยายผลการจัดกิจกรรม - จัดอบรมขยายผลการจัดทาหนังสือดิจิทัล และ QR Code แก่ครูกศน.ตาบลทั้ง 8 แห่ง - จัดนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่สู่ กศน.ตาบลและบ้านหนังสือชุมชน โดยมีครู กศน. ตาบลเป็นกลไกในการขับเคลื่อน - จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเพื่อให้สามารถจัดส่งเสริมการอ่านใน พื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - นาหนังสือดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนการพบกลุ่ม โดย มอบหมายให้มีการค้นคว้าข้อมูลเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ จากหนังสือดิจิทัลที่ ให้บริการ

5. ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของนวัตกรรม 1) ได้รับรางวัลระดับดีเด่น การประกวดนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่ในลักษณะของ กราฟิกที่ออกแบบเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (infographic) จากสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 2) กศน.ตาบลสามารถขยายผลโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ส่งเสริมการอ่านหนังสือ“ตามรอยพ่อ” โดย ใช้นวัตกรรมหนังสือดิจิทัล “หนังสือของพ่อ” อ่านผ่าน QR Code สู่นักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ได้เป็น อย่างดีครอบคลุมทั้ง 8 ตาบล โดยความร่วมมือของเครือข่ายในพื้นที่ 3) ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ได้สะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา และมีการค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 4) ประชาชนสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการอ่านไปปรับใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข เช่น การดูแลสุขภาพ การต่อยอดอาชีพ เป็นต้น 5) ได้รับมอบหมายให้จัดนิทรรศการนาเสนอผลการดาเนินงานเพื่อประเมินต้นแบบเมืองวัฒนธรรม การอ่าน และจัดนิทรรศการภายใต้โครงการขอนแก่นเมืองนักอ่านและเมืองแห่งการเรียนรู้ 6) ห้องสมุดประชาชนอาเภอมัญจาคีรีมีสื่อหนังสือหายาก น่าสนใจ และมีราคาแพงไว้บริการใน รูปแบบหนังสือดิจิทัล สามารถแก้ปัญหางบประมาณในการจัดซื้อหนังสือไม่เพียงพอได้ 7) สร้างเครือข่ายการอ่าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน และแฟนพันธุ์แท้การอ่านทุกตาบล


6. ข้อคิดควรคานึงในการนาไปทาต่อยอด หรือขยายผล นวัตกรรม จุดแข็ง 1) มีอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน และเครือข่ายที่มีความพร้อมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 2) มีการจัดทาสื่อหลายรูปแบบที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านได้สะดวก ไม่จาเป็นต้อง เอาหนังสือไปเป็นจานวนมาก เช่น การทาป๊อบอัพ การทารูปแบบปฏิทิน เป็นต้น 3) ห้องสมุดและ กศน.ตาบล มีระบบเชื่อมโยงการใช้สารสนเทศร่วมกัน ทาให้มีความพร้อมในการจัด กิจกรรมมากยิ่งขึ้น ปัญหา/อุปสรรคใด 1) ระบบเซิฟเวอร์ไม่เสถียรทาให้มีปัญหาในการใช้งาน 2) ผู้ใช้บริการต้องใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟนและต้องมีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจึงสามารถใช้ นวัตกรรมหนังสือดิจิทัลได้ 6. ข้อมูล/หลักฐานที่ใช้ประกอบการอ้างอิงในนวัตกรรม 1) เอกสารโครงการ 2) ภาพกิจกรรม 3) บันทึกรายงานการดาเนินงาน 4) สรุปรายงานผลการดาเนินงาน 5) เอกสารความรู้ 7. ผู้ให้ข้อมูล/ผู้ถอดบทเรียน นางนิตยา พงษ์สระพัง บรรณารักษ์ปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์ 065-8394761


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.