การจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐาน (Brain based Learning : BBL) จัดทาโดย นางสาวพัชรา วังอินทร์ รหัส 60170341
สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน
คำนำ การจัดการเรี ยนรู ้ตามหลักการพัฒนาสมอง หรื อ BBL (BrainBased Learning) เป็ นการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่สอดคล้องกับ พัฒนาการด้านโครงสร้างและการทางานของสมอง เหมาะสมกับทุกช่วงวัย ตั้งแต่ อยู่ในครรภ์มารดาถึงวัยชรา หลักการสาคัญในการเรี ยนรู ้ของสมองเด็กปฐมวัย และประถมศึ กษา คื อ “เล่ น คื อ เรี ยน เรี ยนคื อ เล่ น ” ต้อ งเรี ยนด้วยความเข้า ใจ มากกว่า ความจา เรี ย นรู ้ จากการสัม ผัส จับ ต้อ งของจริ ง ไปสู่ สัญ ลัก ษณ์ ด้ว ย อารมณ์ ที่ เ ปิ ดรั บ การเรี ย นรู ้ และ ต้อ งเรี ย นรู ้ ด้ว ยการลงมื อ ท า (active learning) แทนการนัง่ ฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว (passive learning) หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จัด ท าขึ้ น เพื่ อ ประกอบการเรี ยนการสอนในวิ ช า นวัต กรรมและเทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา สาขาวิ ช าหลัก สู ต รและการสอน มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้นิสิตได้นาความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ ในการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าหนังสื อเล่มนี้ ได้เป็ น แนวทางแก่ผทู ้ ี่สนใจต่อไป นางสาวพัชรา วังอินทร์ ผูจ้ ดั ทา
สำรบัญ หน้ ำ • ความหมายของการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน • ทฤษฎีการเรี ยนรู้ • รู ปแบบการเรี ยนรู้ • สมองซีกซ้ าย ขวา ทาหน้ าที่ • ทฤษฎีของ BBL • ทฤษฎีการสอน • กุญแจ 5 ดอก ก้ าวสู่ BBL • สนามเด็กเล่ นแบบ BBL • สื่อและนวัตกรรมการเรี ยนรู้
1-5 6 7–8 9 10 11 – 19 20 21 - 23 24 - 25
1
ความหมายของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ ส ม อ ง เ ป็ น ฐ า น เป็ นแนวความคิ ด ของนั ก ประสาทวิ ท ยาและ นักการศึกษา กลุ่มหนึ่ง ที่สนใจการทางานของ สมองมาประสานกับการจัดการศึกษา โดยนา ความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ สมองมาใช้ เ ป็ น เครื่ องมื อ ในการออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพสู ง สุ ด ในการเรี ย นรู้ ของ มนุ ษย์ แต่ ละช่ วงวัย สมองมนุ ษย์ เป็ นอวัย วะที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย์ ต้ อ งใช้ ใ นการเรี ย นรู้ ซึ่ ง มี ผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการต่ างได้ ให้ นิยาม หรื อ แนวทางที่แตกต่ างกัน ดังนี ้
2
เคน และ เคน (Caine and Caine.1989:Web Site) อธิบายว่ า การเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐานเป็ นทฤษฎี การเรียนรู้ท่ อี ยู่บนพืน้ ฐานของโครงสร้ างและ หน้ าที่การทางานของสมอง หากสมองยังปฏิบัติ ตามกระบวนการทางานปกติการเรียนรู้กย็ ัง จะเกิดขึน้ ต่ อไป ทฤษฎีนีเ้ ป็ นสหวิทยาการ เพื่อทาให้ เกิดการเรียนรู้ท่ ดี ที ่ สี ุด ซึ่งมาจาก งานวิจัยทางประสาทวิทยา
3
อีริก (Eric Jensen. 2000) กล่ าวว่ า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐาน หมายถึง สิ่งต่ าง ๆ ที่เกิดการเชื่อมต่ อไปยังสมอง ไม่ ว่า จะทางใดก็ตาม ถือเป็ นการเรี ยนรู้ โดยใช้ สมอง เป็ นฐาน โดยเป็ นการรวมสหวิ ท ยาการต่ า งๆ เช่ น เคมีชีววิทยา ระบบประสาทวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา มาอธิบายกระบวนการเรี ยนรู้ ของ ม นุ ษ ย์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ างการเรี ย นรู้ กั บ สมอง เพราะการเรี ยนรู้ บนฐานสมองไม่ ได้ ม่ ุงเน้ นการ ออกแบบการเรี ย นรู้ เพื่ อ พั ฒ นาสมอง หรื อ ทาอย่ างไรให้ สมองเจริญเติบโต แต่ หัวใจสาคัญ ของการเรี ยนรู้ บนฐานสมองอยู่ท่ ีจะออกแบบ การเรี ย นการสอนอย่ า งไรให้ ส มองสามารถ เรียนรู้ได้ ดที ่ สี ุด
4
เรเนต นัมเมลำ เคนและจอฟฟรี เคน ได้ ให้ ความหมาย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมอง เ ป็ น ฐ า น ว่ า เ ป็ น ก า ร ที่ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ รั บ ประสบการณ์ ท่ ีหลากหลาย ทัง้ ที่เป็ นจริ งและ วาดฝั น และหาวิ ธี ก ารต่ างๆ ในการรั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ ข้ า ม า ซึ่ ง ห ม า ย ร ว ม ถึ ง การสะท้ อนความคิด การคิดวิจารณญาณและ การแสดงออกในเชิ ง ศิ ล ปะซึ่ ง เป็ นการสรุ ป ความรู้ เกี่ ย วกั บ การเรี ย นรู้ (เยาวพา เดชะ คุปต์ .2548:36; อ้ างอิง มาจาก Renate Nummela Caine and Geoffrey Caine. 1990 : 66-70)
5
สรุ ปได้ ว่า การจัดการเรี ยนรู้ ตามหลักการ เรี ยนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน หมายถึง แนวทาง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ นผู้ เรี ย นเป็ น ส าคั ญ ตามหลั ก การสมองกั บ การเรี ย นรู้ บน ความคิดพืน้ ฐาน 3 ด้ าน คือ อารมณ์ เป็ นส่ วน สาคัญในการเรี ยนรู้ ทุกขัน้ ตอน การเรี ยนรู้ ต้อง ใช้ ทุกส่ วน ทัง้ การคิด ความรู้ สึกและการลงมือ ปฏิบัตไิ ปพร้ อม ๆ กันจึงเป็ นการเรี ยนรู้ ท่ ดี ีท่ สี ุด กระบวนการและลีลานาไปสู่การสร้ างแบบแผน อย่ างมีความหมาย โดยใช้ กระบวนการเรี ยน พัฒนาผลการเรียนรู้
6
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ • ทฤษฎีการเรียนรู้ของนักจิตวิทยา ทฤษฎีกลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) ทฤษฎี พ ฒ ั นาการทางสติ ปั ญ ญาของเพี ย เจต์ เพี ย เจต์ เชื่ อ ว่ า สติปัญญาของบุคคลมีการพัฒนาเป็ นลาดับขั้นตามวัย ดังนี้ 1. ขั้นการรับรู ้ดว้ ยประสาทสัมผัส (sensori-motor period) เป็ นขั้นพัฒนา การในวัย 0-2 ปี เด็กในวัยนี้ มีความคิดตาม การรับรู ้และการกระทา 2 . ขั้ น ก่ อ น ป ฏิ บั ติ ก า ร คิ ด ( pre-operational period) เป็ นขั้นพัฒนาการใน วัย 2-7 ปี ความคิดของเด็กยังขึ้นอยู่ กับ การรั บ รู ้ และการกระท าเป็ นส่ ว นใหญ่ แต่ เริ่ มเรี ยนรู ้ สัญ ลักษณ์ และการใช้เหตุผลได้บา้ ง 3. ขั้ น ก า ร คิ ด แ บ บ รู ป ธ ร ร ม ( Concrete operational period) เป็ นขั้น พัฒนาการในวัย 7-11 ปี เด็ก สามารถสร้ างภาพในใจ คิ ดย้อนกลับ และเข้าใจความสัมพันธ์ของ ตัวเลข และสิ่ งต่างๆได้มากขึ้น 4. ขั้ น ก า ร คิ ด แ บ บ น า ม ธ ร ร ม ( Formal operational period) เป็ นขั้นพัฒนา การในช่วง 11-15 ปี เด็กสามารถคิดสิ่ งที่เป็ นนามธรรมและคิดตั้งสมมติฐานได้
7
รูปแบบการเรี ยนรู้ ประภา ยุทธไตรและคณะ (2544: 59-68) และธนพร แย้ ม ของตนเองจะพั ฒ นาความ รั บผิด ชอบและมี การรั บรู้ สมรรถนะของตนเอ สุดา (2542) พบว่ า การให้ ผ้ ูเรี ยนคิดไตร่ ตรอง ต่ อ การเรี ย นรู้ เพิ่ ม ขึ น้ จากรู ป แบบการเรี ย น การสอนที่ส่งเสริมการเรี ยนรู้ ท่ ใี ช้ สมองเป็ นฐาน ทัง้ 5 ขัน้ ตอน ได้ แก่ 1. ขัน้ วิธีเพื่อการผ่ อนคลาย (Approach to relaxation) 2. ขั ้ น การใช้ ผั ง มโนทั ศ น์ (Concept mapping) 3. ขัน้ การถ่ ายโยงการเรี ยนรู้ (Transfer of learning) 4. ขัน้ การบริ หารสมอง (Operation to Brain-Gym) 5. ขัน้ การคิดไตร่ ตรอง (Reflection)
8
9
สมองซีกซ้ าย ขวา ทาหน้ าที่
10
ทฤษฎีของ BBL
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
กุญแจ 5 ดอก ก้ าวสู่ BBL
21
สนามเด็กเล่ นแบบ BBL
22
23
24 สื่อและนวัตกรรมการเรี ยนรู้
25
บรรณำนุกรม • https://sites.google.com/site/pra pasara/2-12 • http://www.namsongkram.com/2 015/06/5-bbl.html