การจัดรายการโทรทัศน์

Page 1

การจัดรายการโทรทัศน การจัดรายการโทรทัศน เปนหนาที่สวนหนึ่งที่ใชดูแลภาพรวมของการออกอากาศ ใหเปนไปดวยความ เรียบรอยตามระเบียบของสถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก ซึ่งมีองคประกอบและขั้นตอนการทํางานตางๆ ไดแก การจัดทําผังรายการ การจัดคิวรายการ การควบคุมรายการ และการโฆษณาในรายการ

วัตถุประสงคการเรียนรู 1. เพื่อใหเขาใจและรูถึงองคประกอบของการจัดรายการ 2. เพื่อใหรูขั้นตอนการจัดทําผังรายการ 3. เพื่อใหรูขั้นตอนการจัดคิวรายการ 4. เพื่อใหรูขั้นตอนการควบคุมรายการ

แนวคิดและทฤษฎีในการจัดวางผังรายการ 1. แนวคิดในการจัดผังรายการโทรทัศน การพิจารณาการจัดผังรายการโทรทัศนเพื่อใหเปนสถานีที่ไดรับความนิยมจากผูชมเปนเรื่องที่ ละเอียดออนและมีสวนประกอบยอยที่จําเปนที่จะตองพิจารณาในทุก ๆ ดาน เพื่อใหรายการที่ออกอากาศ มีความเหมาะสมกับผูชมหรือกลุมเปาหมายในแตละชวงเวลา จากการศึกษาของ Sydney W. Head. , Susan Tyler Eastman และ Lewis Klein ในเรื่อง A Framework for Programming Strategies. (1989) ไดกลาวไววา การจัดผังรายการสามารถอธิบายไดวาเปนกลยุทธในการนํารายการตาง ๆ มาเรียบ เรียงจัดลําดับในตาราง เพื่อใหเขาถึงกลุมผูชมที่เปนเปาหมาย นักจัดผังรายการจะตองเปนผูมีความรู และ ความสามารถในการพิจารณาผูชมโทรทัศนแลวจึงเลือกรายการตาง ๆ ที่ทําใหเขาถึงผูชมเหลานั้น ถือไดวา เปนงานที่ยุงยากมากสําหรับนักจัดผังรายการ ที่จะตองเลือกกลวิธีตาง ๆ เพื่อใหรายการเขาถึงกลุมผูชมได อยางกวางขวาง การที่จะใหรายการเหลานั้นดึงดูดผูชมอาจจะตองนําองคประกอบตาง ๆ มาเสริม เชน นําเรื่องตลก, เพศ, ขอมูล, ขาวสาร, เรื่องที่ผูคนสนใจ เปนตน โดยเลือกมาใชตามแนวโนมของสังคม ขณะนั้นวาสนใจในเรื่องอะไร ซึ่งเปนสาเหตุใหการจัดผังรายการจะตองมีทีมงานที่มีประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติหนาที่ (รัฐติพงค ชูนาค, 2545) สําหรับการศึกษาผังรายการจะตองพิจารณาหลาย ๆ สวนดวยกัน ซึ่งไดแก


1. การแบงชวงเวลาในการออกอากาศ การแบง ชวงเวลาในการออกอากาศมี สวนสําคั ญตอการจัดผัง รายการโทรทัศ นเพื่อให รายการออกมาเหมาะสมกับผูชมในแตล ะชวงเวลาซึ่ง สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพ บกชอง 5 ไดทําการ ออกอากาศรายการ 24 ชั่วโมง ดังนั้นจึงแบงชวงเวลาในการออกอากาศเปน 4 ชวง คือ รายการภาคเชา (Morning Programmes) ชวงเวลา 05.00-12.00 น. รายการภาคบาย (Afternoon Programmes) ชวงเวลา 12.00-18.00 น. รายการภาคค่ํา (Evening Programmes) ชวงเวลา 18.00-00.00 น. รายการภาคดึกหรือภาคหลังเที่ยงคืน(After Midnight Programmes) ชวงเวลา 00.00-05.00 น. 2. นโยบายหลักหรือวัตถุประสงคหลักของสถานีโทรทัศน นโยบายหลักนี้จะมีสวนสําคัญในการวางแผนจัดผังรายการของสถานี ซึ่งจะตองมีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหทันกับความตองการของคนในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เพื่อให สถานีไดรับความนิยม ซึ่งหมายถึงมีจํานวนผูชมรายการสูงที่สุด การแขงขันในความเปนผูนําสื่อของ สถานีโทรทัศนในประเทศไทย จะมีการแขงกันอยางมากในชวงเวลาตั้งแต 19.00 น. จนถึงเวลา 23.00 น. หรือที่เรียกกันติดปากวา "ชวงเวลาขาว" และ "ชวงเวลาหลังขาว" ซึ่งในชวงนี้เปนชวงที่มีจํานวนผูชม รายการโทรทัศนมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงเวลาหลังการเสนอขาว รายการที่ออกอากาศจะเปน รายการในรูปแบบบันเทิงทั้งสิ้น และมีรูปแบบเดียวกัน คือ "ละคร" จนทําใหเวลาในชวงนี้มีชื่อเรียกใหมคือ "ชวงละครหลังขาว" สวนรายการในชวงอื่น ๆ ยังมีการแขงขันกันนอยอยู 3. ลักษณะของสถานีและสภาพแวดลอม หมายถึง ความกวางไกลในการกระจายคลื่น ซึ่งมีสวนสําคัญในการจัดชวงเวลาในการแพร ภาพออกอากาศรายการตางๆ เพื่อความเหมาะสมระหวางรายการกับผูชมรายการเพราะการพิจารณา จัดรูปแบบผังรายการของสถานี้โทรทัศน มีปจจัยสําคัญเปนสภาพแวดลอมของสถานี ที่จะตองพิจารณา ควบคูกันไปหลายประการ 3.1 ผูชม เปนสวนสําคัญที่จะตองพิจารณา เพราะรายการที่ออกอากาศทางสถานีตางๆ จะเปนที่ นิยมหรือมีผูติดตามชมหรือไม ตองขึ้นอยูกับรายการนั้นสามารถตอบสนองไดตรงกับความตองการของผูชม ในขณะนั้นหรือไม ถาตอบสนองไดตรงมีผูชมติดตามชมมากก็จ ะเปนสถานีที่ไดรับความนิยมสูง แตถา ตอบสนองไดไมตรงกับความตองการของผูชมก็จะมีผูชมติดตามชมนอย นอกจากนี้ในสวนที่เกี่ยวกับผูชม ผูบริหารแตล ะสถานียังตองพิจ ารณาถึงสวนแบงผูชมที่มีอยูในแตล ะรายการ ผูชมจึงมีโอกาสเลือกชม รายการที่ตนเองชอบ ซึ่งอาจจะชอบชมรายการของสถานีหนึ่งมากกวาสถานีอื่น สวนแบงผูชมก็จะมีใน สถานีนั้นสูงกวา การพิจ ารณาในลักษณะนี้ผูที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดผังรายการตองพิจ ารณาวาจะมี วิธีการใดบางที่จะทําใหรายการของสถานีของตนไดรับความนิยมมากกวาและมีวิธีใดบางที่สามารถดึงกลุม ผูชมใหมาสนใจรายการของสถานีของตนบาง


3.2 คุณภาพรายการ รายการตาง ๆ ที่ออกอากาศไปยังผูชม นอกจากจะตรงกับความตองการของผูชมแลว ยังตองเปนรายการที่ใหเนื้อหาสาระที่เปนประโยชนดึงดูดความสนใจผูชมดวย ซึ่งอาจจะพิจ ารณาจาก รายการประเภทเดียวกันหรือรายการที่ออกอากาศในชวงเวลาเดียวกัน เพื่อหาสัดสวนและความแตกตาง ของผูชมได เพราะรายการประเภทเดียวกันแตออกอากาศในชวงเวลาที่ตางกัน สัดสวนของผูชมอาจจะไม เทากัน เนื่องมาจากอิทธิพลของคุณภาพของรายการขางเคียง คุณภาพรายการก็เปนปจจัยหนึ่งที่สามารถ ดึงผูชมใหมาติดสถานีได เพราะในปจจุบันนี้ผูชมมีโอกาสเลือกไดอยางอิสระเต็มที่ รายการที่ออกอากาศใน ทุกวันนี้จึงมักจะผสมผสานความคิดสรางสรรคของผูผลิตกับหนาที่ทั้ง 4 อยางของสื่อมวลชน เพื่อให รายการที่มีคุณภาพและตอบสนองความตองการของผูชมไดเปอยางดี 3.3 ปริมาณความถี่และความยาวในการออกอากาศ การจัดผังรายการจะตองพิจารณาดวยวารายการที่ออกอากาศนั้นควรจะมีความถี่และ ความยาวของรายการเปนอยางไร เพื่อพิจารณาถึงความกระตือรือรนของผูชมที่จะติดตามรายการนั้นมี มากนอยแคไหน ซึ่งเปนการสรางนิสัยในการติดตามชมรายการดวย ตอวัน หรือตอสัปดาห อยางเชน สัปดาหละ 1 ชั่วโมง หรือ สัปดาหละ 2 ชั่วโมง เดือนละ 1 ครั้ง หรือ 2 ครั้ง เปนตน เพราะรายการถามี มากเกินไปหรือออกอากาศถี่เกินไปก็อาจจะทําใหผูชมเบื่อได สวนความยาวของรายการก็ขึ้นอยูกับวา ครั้งละ 1/2 ชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ยังตองพิจารณาถึงความสามารถของผูร วมผลิตรายการวามีความเปนไปได ในการผลิตรายการหรือไม อยางเชนผูร วมผลิตตองการออกอากาศทุกวัน ๆ ละ 30 นาที ฝายจัดรายการก็ ตองพิจ ารณาดวยความสามารถของผูรวมผลิตวามีความเปนไปไดหรือไม เนื้อหาสาระที่เปนวัตถุดิบใน รายการมีอยางเพียงพอสามารถเปนรายการไดอยางตอเนื่องหรือไมซึ่งสวนตาง ๆ นี้ มีสวนในการจัดผัง รายการ เพราะผูรวมผลิตรายการ ผลิตรายการไมทันออกอากาศก็จะเกิดความเสียหายตอสถานีได 3.4 ความสัมพันธของรายการขางเคียง เปนการศึกษาถึงผลกระทบจากรายการที่ออกอากาศในชวงเวลาเดียวกัน โดยศึกษาใน ลักษณะของการเปรียบเทียบความนิยมของผูชมที่มีตอรายการขางเคียงในชวงเวลาที่ออกอากาศซึ่งระดับ ความนิยมชอบรายการหนึ่งจะมีอิทธิพลตออีกรายการหนึ่ง เพื่อที่จะวิเคราะหวาจะตองใชกลยุทธอยางไร เพื่อที่จ ะพยายามรักษากลุมผูชมใหอยูกับสถานีของตนอยางเหนีย วแนนหรือพยายามดึงกลุมผูชมให กลับมาชมรายการของสถานีตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง รายการประเภทเดียวกันและออกอากาศในเวลา เดียวกัน ความนาสนใจในรายการจะสามารถดึงความสนใจจากผูชมไดเปนอยางดี แตละรายการจึงตองมี การแขงขันและพัฒนารูปแบบรายการตลอดเวลา นอกจากจะพิ จ ารณาถึ งรายการที่ต างสถานี กันแลว ในกรณีที่ เปน รายการในสถานี เดียวกัน ก็จ ะเปรียบเทียบจากกลุมผูชมรายการในชวงเวลาเดียวกันที่อยูในแตล ะวัน และรายการที่จ ะ บรรจุใหมที่แทนรายการเดิมวา ความตองการของผูชมเปนกลุมเดียวกันหรือไม มีความตองการอยาง


เดียวกันหรือไม หรือรายการที่ออกอากาศกอนหรือหลัง ผูชมกลุมเปาหมายเปนกลุมเดียวกันหรือไม ถา เปนผูชมกลุมเดียวกันผูชมรายการกอนก็อาจจะพลอยชมรายการหลังไปดวย แตถาเปนผูชมคนละกลุมกัน ก็อาจจะเปลี่ยนแปลงไปชมรายการของสถานีอื่น ๆ ได ดังนั้น จึงตองพิจารณาถึงความสัมพันธของแตละ รายการดวย 3.5 ความสามารถ ภาพพจน และคานิยมของสถานี หมายถึงความไดเปรียบและความเสียเปรียบของแตละสถานี ทั้งทางดานการปฏิบัติงาน ความชํานาญ ความทันสมัยของเครื่องมืออุปกรณ กําลังคน ภาพพจน รวมถึงความนิยมและการยอมรับ ของผูชม ซึ่งเปนสวนสําคัญที่จ ะทําใหส ามารถรักษาผูชมไดเปนอยางดี สิ่งตาง ๆ เหลานี้ทําใหสถานีม ี ประสิทธิภาพมากขึ้น และปจจัยที่สามารถทําใหสถานีไดรับความนิยมและทันสมัยอยูตลอดเวลา ก็คือ 3.5.1 ความคลองตัว เปนความสามารถในการจัดผังรายการของแตล ะสถานี ซึ่ งแตล ะสถานี มีความ คลองตัวไมเหมือนกัน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงผังรายการใหสอดคลองกับความนิยมและความตองการของ ผูชม ความคลองตั วนี้ สถานีที่มี การจั ดรายการเองจะมี ค วามคลองตั วสูงกวาสถานีที่มีห นวยราชการ สถาบัน และเอกชนรวมจัดรายการ 3.5.2 ความรวดเร็ว เปนความสามารถในการจัดซื้อ จัดหา และผลิตรายการเพื่อเตรียมออกอากาศได ฉับไวทันกับความตองการของผูชมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความรวดเร็วนี้จะขึ้นอยูกับการวางแผน จัดเตรียมรายการที่ออกอากาศอยางเพียงพอ อํานาจการผลิต การเปลี่ยนแปลงการผลิต การจัดซื้อ รายการ เชน การประมูลการถายทอดสดรายการตาง ๆ รวมถึงการมีรายการสํารองเพื่อออกอากาศใน กรณีที่มีรายการออกอากาศไมทันหรือเหตุขัดของ ก็จะสามารถนํารายการสํารองมาออกอากาศแทนไดใน ชวงเวลานั้น 3.5.3 ประสิทธิภาพ ภาพพจนของสถานีเปนสวนที่สรางศรัทธาใหเกิดขึ้นกับกลุมผูชมได และยอมรับ วาเปนสถานีที่เชื่อถือได ซึ่งเกิดจากการมีเอกลักษณเปนของตนเอง เชน มีเอกลักษณของบุคคล เชน ผูประกาศขาว ผูรายงานขาว ผูพากย เอกลักษณของรายการ เชน รูปแบบการนําเสนอขาวความแปลกของ รายการและเทคโนโลยี ซึ่งเอกลักษณเหลานี้ตองใชเวลาสรางคอนขางนาน จึงจะเกิดการยอมรับจากผูชมได 3.5.4 ความเชื่อถือ เปนคานิยมชึ่งเปนความผูกพันของกลุมผูชมที่ไดรับประโยชนจากสถานี ซึ่งใหความ ไวว างใจและยอมรับการบริก ารของสถานี ความผูกพั นนี้ จ ะเกิด ขึ้นในช วงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะเป น ความคุนเคยที่จะเปดชมรายการของสถานีในชวงเวลานั้น เชน ชวงเวลาขาว ชวงเวลาละครหลังขาว หรือ ชวงรายการการตูน เปนตน 3.6 ระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวกับการแพรภาพออกอากาศ


ขอบังคับตาง ๆ ที่เปนกรอบในการควบคุมรายการโทรทัศน มีสวนตอความเปนอิสระใน การจัดผังรายการและการผลิตรายการ 4. การสํารวจผูชม จะตองมีการทําอยางสม่ําเสมอ เพราะมีสวนในการพัฒนาและปรับปรุงผังรายการใหมีความ ทันสมัยอยูตลอดเวลา โดยเวลาสํารวจผูชมนี้จะมีหนวยงานที่ทําการสํารวจแบงออกเปน 4.1 สวนของสถานีโทรทัศน ในสวนนี้ สถานีโทรทัศนแตละสถานีไดมีการสํารวจเปนประจําตามความเหมาะสม โดยจะทําในลักษณะการสํารวจประชามติ คือการติดตามชมรายการทางสถานี เพื่อนําขอมูลสวนนี้ไปใชใน การปรับปรุงการจัดผังรายการและพิจารณาปรับปรุงเกี่ยวกับอัตราสวนคาเวลาของสถานีตามความ เหมาะสม 4.2 สวนของบริษทั เอกชน จะมีบริษัทเอกชนจัดตั้งขึ้นมาเพื่อสํารวจขอมูลเกี่ยวกับผูชมรายการ เพื่อที่จะไดทราบ ถึงความตองการและความนิยมของผูชมในแตละชวงเวลา บริษัทที่ทําการสํารวจในลักษณะนี้ สวนใหญจะ เปนบริษัทตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) ซึ่งสามารถนําขอมูล สวนนี้ไปใชในการวางแผนการ โฆษณาและยังจําหนายใหกับหนวยงานที่ตองการขอมูล อีกสวนจะเปนบริษัทที่ตั้งขึ้นมาเพื่อทําการสํารวจ เก็บขอมูลเพื่อขายขอมูลโดยตรงอยางเชนบริษัท เอ.จี.บี. เนลสัน มีเดีย รีเสิรซ เปนตน ซึ่งขอมูลสวนนี้มี สวนสําคัญในการกําหนดอัตราคาเชาเวลาของสถานีดวย 5. บุคลากรของสถานีที่ใชในการจัดผังรายการ จะตองมีบุคลากรที่เพียงพอและมีคุณภาพ เพื่อที่จะวางแผนจัดผังรายการใหสอดคลองและ มีความเหมาะสมกับผูชมในแตละชวงเวลาใหเปนไปตามนโยบายของสถานีอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึง เปนผูที่มีความสามารถในการพิจารณารายการ เพื่อจะนําไปเปนสวนประกอบในการจัดผังรายการดวย 6. งบประมาณ เปนสวนที่มีความสําคัญและจําเปนไมนอยกวาปจจัยอื่น ๆ เพราะการแพรภาพออกอากาศ ใหมีความกวางใหญครอบคลุมพื้นที่ไดมากจะตองมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางดานอุปกรณและการรับและ สงสัญญาณภาพและเสียงตลอดเวลา เพื่อใหทันกับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการผลิต รายการ นอกจากนี้ยังรวมถึงงบประมาณสําหรับรองรับบุคลากรที่มีความสามารถในดานตาง ๆ ทั้ง ทางดานเทคนิคและดานบริหารตามจํานวนที่สถานีตองการได สิ่งตาง ๆ ที่กลาวมานั้นลวนเปนสิ่งจําเปนที่จะตองนํามาพิจารณาผังรายการทั้งสิ้น นอกจากนี้ ทางสถานีจะตองมีผังรายการที่มีความหลากหลายของรายการเพื่อจะไดเขากับกลุมเปาหมายที่กําลังไวได ทุกกลุม


การแบงประเภทของรายการโทรทัศน ตามระเบียบวาดวยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน พ.ศ. 2518 แบงเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ ประเภทขาว ประเภทความรู ประเภทบันเทิง ประเภทโฆษณาและบริหารธุรกิจ

2. กลยุทธการจัดวางผังรายการ

กลยุทธการจัดวางผังรายการโทรทัศนนั้น มีหลากหลายวิธี ซึ่งรวบรวมจาก Blum and Lindheim, 1987 ; Carroll and Davis, 1993 : 304-306 ; Eastman, 1993 135-138 ; Vane add Gross, 1994 : 171-180. (รัฐติพงค ชูนาค, 2545) 1. การจัดผังเพื่อกอใหเกิดการถายเทผูชม (Audience Flow) หมายถึง การถายเทผูชมจากรายการหนึ่งไปยังรายการถัดไป ซึ่งโดยทั่วไปแลวผูชมมักจะ ติดตามชมรายการถัดไปโดยธรรมชาติหากรายการที่นําเสนอตอเนื่องนั้นมีความคลายคลึงกับรายการที่อยู กอนหนา ดังนั้นรายการที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดผูชมคลายๆ กัน ก็มีแนวโนมวานักวางผังจะนํามาจัดวางไว ติดกันในผังรายการ 2. การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการเปนกลุม (Blocking) หมายถึง การนํารายการที่มีความคลายคลึงมาวางไวตอกันเปนกลุม 2-4 รายการ โดยอาจ ใชเวลาออกอากาศ 1-2 ชั่วโมง หรือบางครั้งอาจกินเวลา 3 ชั่วโมงติดตอกัน เชน การนําละครมาวางไว ติดตอกัน 2 เรื่อง หรือการนําการตูนมาวางไวติดกัน 3-4 เรื่อง เปนตน กลยุทธนี้เหมาะกับสถานีที่มี รายการสะสมอยูจ ํานวนมาก และสถานีโทรทัศนแนใจวาตนเองมีลูกคาประจําอยูอยางแนนอน 3. การจัดผังชน (Counter – programming) หมายถึ ง การนํ า เสนอรายการประเภทเดี ย วกั บ สถานี อื่ น เพื่ อ ช ว งชิ ง กลุ ม ผู ช ม ซึ่ ง สถานี โ ทรทั ศ น ที่ จ ะใช ก ลยุ ท ธ นี้ มั ก เป น สถานี ที่ มั่ น ใจว า ตนเองมี ร ายการที่ มี คุ ณ ภาพดี ห รื อ ดี ก ว า สถานีโทรทัศนคูแขง 4. การจัดผังรายการแบบเกื้อหนุน (Hammocking) หมายถึง การวางผังรายการโดยนํารายการที่มีแนวโนมวาจะสูรายการอื่นไมไดมาวางคั่นไว ระหวางรายการยอดนิยม 2 รายการ ทั้งนี้เพื่อใหรายการดังกลาวมีผูชมบาง เพราะอาจมีความเปนไปไดวา เมื่อชมรายการที่ 1 ดวยความประทับใจแลว รายการที่ 2 จะพลอยไดรับความสนใจไปดวย และเพิม่ ความ


เปนไปได นักวางผังรายการจะนํารายการที่ 3 ซึ่งมีความนิยมพอๆ กันหรือมากกวารายการที่ 1 มาวาง ตอเนื่องไวเพื่อที่วาผูชมอาจจะรูสึกวารายการที่ 2 ไมนาเบื่อจนเกินไปนัก เพราะมีความหวังอยูที่รายการ ตอไปคือรายการที่ 3 5.การจัดผังเลี่ยงสถานีโทรทัศนอนื่ ทีก่ ําลังแขงขันกัน (Blunting) หมายถึ ง การนําเสนอรายการที่ แตกตา งไปจากสถานี โทรทัศ นแ หงอื่ นที่ กําลั งแขงขั นกั น โดยมากแลวสถานีโทรทัศนที่ใชกลยุทธนี้มักเปนสถานีโทรทัศนที่ทราบสถานะของตนเองวาเปนรอง หาก จะเขาไปรวมแขงขันจะเปนฝายเสียเปรียบ จึงหาวิธีดึงกลุมผูชมลําดับ 2 ซึ่งเปนกลุมที่ยังไมไดรับการ ตอบสนองความตองการ 6.การจัดผังรายการโดยการนําเสนอรายการพิเศษ (Stunting) หมายถึ ง การวางผั ง รายการโดยการนํ า เสนอรายการในวาระพิเ ศษเพื่ อ ดึ ง ดู ด ผู ช มจาก สถานีโทรทัศนคูแขง การวางผังเชนนี้มักจะประสบความสําเร็จ เพราะผูชมมักยอมตามดวยความรูสึกวา รายการที่ชมอยูทุกวันจะชมเมื่อใดก็ได แตโอกาสที่จะไดชมรายการพิเศษมีนอยหรืออาจไมมีอีกเปนครั้งที่ 2 กลยุทธนี้จะถูกใช 3 กรณี คือ 1) เมื่อรายการของสถานีโทรทัศนแมขายอยูในภาวะตกต่ํา จนเรียกคนดู ไมได 2) เมื่อสถานีโทรทัศนคูแขงเขมแข็งมาก จนเห็นวาตองหาทางดึงดูดผูชมกลับมาบางแมจ ะเพียง ชวงเวลาสั้นๆ และ 3) เมื่อยูในภาวะที่ตองทําสํารวจจํานวนผูชมซึ่งแตละสถานีตองทําตัวเลขผูชมใหสูงเขา ไว หากสถานีไดรับความนิยมสูงมาก งบโฆษณาก็จะเขามามาก 7.การจัดผังโดยนําเสนอรายการเดิมตอเนื่องทุกวัน (Stripping) หมายถึง การวางผังรายการโดยนําเสนอรายการเดิมต อเนื่องในเวลาเดียวกั นทุกวัน เช น รายการขาว ละคร การตูน เปนตน สถานีโทรทัศนบางแหงอาจใชกลยุทธนี้ ในลักษณะ 5 วันตอสัปดาห คือวันจันทรถึงศุกร และเปลี่ยนเปนรายการอื่นในวันเสารและอาทิตย วิธีนี้มักไดผลเพราะผูชมจดจําได แต ตองผลิตรายการที่ความยาวมากพอที่จะออกอากาศทุกวัน และมี ความนาสนใจ และคุณภาพดีพอที่จ ะ ดึงดูดผูชมไดจริงๆ 8.ก ารจั ด ผั งโด ยนํ า เ สนอรายก ารป ระเภท เดี ย วกั น แ ต ห ลาก หล ายรายก า ร (Checkerboarding) เปนกลยุทธที่ตรงกันขามกันกับการจัดผังโดยนําเสนอรายการเดิมตอเนื่องทุกวัน คือ แทนที่ จะนําเสนอรายการเดิมทุกวัน ก็จ ะเปลี่ยนเปนการนําเสนอรายการที่แตกตางกัน แตยังอยูในประเภท รายการเดียวกัน การวางผังรายการเชนนี้อิงกับแนวที่วา ผูชมมีความชอบในประเภทรายการดังกลาวอยู แลว แตตองการที่จะชมเนื้อหารายการที่แตกตางกันไปในแตละวันดวย 9. การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการเดนหลังรายการดอย (Tentpoling) เปนกลยุทธที่ตรงกันขามกับการจัดผังรายการแบบเกื้อหนุน ที่นํารายการใหมหรือรายการที่ ไมคอยไดรับความนิยมมาวางคั่นไวระหวางรายการที่ไดตัวเลขวัดระดับความนิยมในรายการสูง เพื่อหวังให ผูชมเผลอชมรายการนั้นๆ สําหรับกลยุทธการวางผังรายการโดยนําเสนอรายการเดนหลังรายการดอยนี้ เปนกลยุทธที่นําเอารายการที่แข็ง ซึ่งไดรับความนิยมสูงมากมาวางไวตอจากรายการใหม หรือรายการที่ได คาตัวเลขวัดระดับความนิยมในรายการไมสูงนัก โดยหวังวาความนิยมในรายการหลังจะทําใหผูชมตัดสินใจ


เลื่อนชองมารอชมกอนเวลาเพื่อไมใหพลาดตอนแรกหรือเผลอลืมชมดวยวิธีดังกลาวรายการที่ออนแอกวา จะมีโอกาสไดตัวเลขวัดระดับความนิยมในรายการสูงขึ้น เพราะคนดูตางเปลี่ยนชองมารอชมรายการถัดไป 10. การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการขนาดยาวเริม่ กอนรายการอื่นแตจบชากวา (Front – Ending หรือ Bridging) คือ การนําเสนอรายการที่ยาวกวารายการของสถานีโทรทัศนคูแขงมาวางไวกอนที่รายการ ของคูแขงจะเริ่มตน วิธีการนี้ถูกนํามาใชดวยความเชื่อที่วาโดยธรรมชาติแลวผูชมมักจะติดนิสัยติดตามชม รายการใดรายการหนึ่งจนจบ ดังนั้น เมื่อรายการที่ติดตามชมจบลง รายการของคูแขงก็จบไปกอนแลว เชนกัน เพราะเริ่มตนที่หลังและตัวรายการสั้นกวา 11.การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการซ้ํา (Re-running) คือ การนําเอารายการเกามาออกอากาศซ้ํา วิธีการนี้ชวยลดคาใชจายใหแกสถานีโทรทัศน โดยเฉพาะการนํารายการเกามาฉายซ้ําในชวงที่ไมคุมเวลาที่ไมคุมคาการลงทุนผลิตหรือจัดซื้อรายการ กล ยุทธนี้มีขอเสี่ยงอยูบางวาผูชมอาจเกิดความเบื่อหนายหมุนหนีไปสถานีโทรทัศนอื่น ดังนั้นหากนักวางผัง รายการจะเลือกใชกลยุทธนี้ จะตองมั่นใจวาตนเองทราบวารายการใดเดนพอที่จะนําออกอากาศซ้ํา และ ออกอากาศในชวงเวลาใดจึงจะเหมาะ และเสี่ยงนอยที่สุดตอการสูญเสียผูชมไป


ขั้นตอนการจัดทําผังรายการ นโยบายหลักหรือวัตถุประสงคหลักของททบ. (สัดสวนประเภทรายการ บันเทิง 30% สาระความรู+ ขาว 70%) ทบ. ผูร วมผลิตรายการ เสนอรายการ ศูนยผลิต รก.ททบ. ผลิตรายการ ออกอากาศ การคัดเลือกและผลิตรายการ พิจารณาจาก 1. กําหนดกลุมผูชมเปาหมายในชวงเวลาตางๆ รายการภาคเชา เวลา 05.0012.00 น. (7 ช.ม.) รายการภาคบาย ชวงเวลา 12.00-18.00 น. (6 ช.ม.) รายการภาคค่ํา ชวงเวลา 18.00-00.00 น. (6 ช.ม.) รายการภาคดึกหรือภาคหลังเที่ยงคืน ชวงเวลา 00.00-05.00 น. (5 ช.ม.) 2. สํารวจความนิยม (Rating) 3. ระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวกับการแพรภาพออกอากาศ 4. คูแขง 5. ภาพพจน และ สภาพแวดลอมภายในและภายนอก ททบ. ผอ.ททบ. อนุมัติรายการ จัดทําผังรายการประจําป

ผอ.ททบ. อนุมัติผังรายการประจําป

ประกาศผังรายการประจําป / จัดงานแถลงผังรายการ

จัดทําผังรายการประจําเดือน

ผอ.ททบ. อนุมัติผังรายการประจําเดือน

แจกจายสวนที่เกี่ยวของ / บุคคลภายนอก

ขั้นตอนการทําจัดทําคิวรายการ


จัดทําคิวรายการประจําวันโดยดูขอมูลจากผังรายการประจําเดือน

บันทึกความยาวรายการจากจนท.รับสงเทป และบันทึกความยาว โฆษณาจากคิวโฆษณา นํามาคํานวนรวมกันจะไดความยาวที่แทจริง ในวันนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อเกิดสะดวกแกการออกอากาศในแตละวัน ใส สปอตประชาสัมพันธที่เปนประโยชนตอผูชม หรือ สารคดี / มิวสิควิดีโอเพลง เฉลิมพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค เมื่อคํานวนแลววามีเวลาวางชวงรอยตอรายการ

คิวรายการออกอากาศประจําวัน 2 ชวงเวลา 1700 - 0500 และ 0500 - 1700 (วันรุงขึ้น)

แจกจายสวนที่เกี่ยวของ

*** กรณีมีการถายทอดสด / รายการพิเศษ รับเรื่องจากแผนกธุรการ รก.ททบ. แจงผูร วมผลิตรายการ ตัดรายการปกติในหวงเวลาที่มีการถายทอดสด / รายการพิเศษ

สปอตประชาสัมพันธและ สารคดี/มิวสิควิดีโอเพลง คั่นเวลา ทีไ่ ดรับอนุมัติจาก ผอ.ททบ.แลว


แผนผังรับ-สงเทปรายการ และการ ควบคุมรายการ

ผูรวมผลิตรายการ / ศูนยผลิตรายการ

- วัดความยาวเทปรายการไมผาน - ไมผานการตรวจรายการ - คืนเทปรายการ

ออกอากาศ TGN

- สงเทปกอนลวงหนา 3 วันทําการ

รับ-สง เทปรายการ (วัดความยาวเทป) รายการ)

- ผาน ตร.ททบ. ออกอากาศ MCR

- วัดความยาวเทป รายการผาน ฝายรายการ ตรวจสอบ รูปแบบรายการใหตรงตาม รูปแบบรายการทีผ่ ูรวมผลิต เสนอมา

ฝายตรวจรายการ ตรวจสอบเนือ้ หาและ คุณภาพรายการตรงตาม ระเบียบของ กบว.


ทิศทางการนําเสนอรายการ ในป 2554 การกาวสูโทรทัศนสาธารณะเพื่อความมั่นคงของชาติ สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก กําหนดยุท ธศาสตร เชิงรุก กาวไปขางหนา ดวยการพั ฒนาการผลิตรายการ ให รวดเร็ว รอบดา น ถูกตอง สรางสรรค โดยนําเสนอรายการที่มีประโยชน ใหความรู ความบันเทิง และแฝงสาระสําคัญที่ เปนประโยชนดังตอไปนี้ 1.การเฉลิมฉลองพระราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระชนมายุ ครบ 84 พรรษา ดวยการแสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถ แหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค เพื่อใหชาวไทยทุก คนไดเห็นพระราชภารกิจที่พระองคทรงเสียสละเพื่อชาวไทยทุกคน 2.การนําเสนอรายการเพื่อสงเสริมใหเกิดความมั่นคงภายในประเทศการชวยเหลือ ประชาชนที่ไดรับความเดือดรอนจากภัยธรรมชาติ หรือ ภัยพิบัติรายแรง การดูแล ปรับปรุง สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การรักษาปาไม การดูแลทรัพยากรน้ํา และการสรางคุณภาพชีวิตใหอยูดี กินดีเพิ่มขึ้นตามแนวทางพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” 3.การชวยกันฟนฟู ดูแลและรักษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงาม ของไทย ดวยการสงเสริมการใชสินคาไทยในการแตงกาย ดูแลภูมิปญญาไทย 4.สอดแทรกการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม ความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ อยางสรางสรรค ใหความเทาเทียมแกทุกคนอยางไมจํากัดเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือ วัย พรอมกับ สรางตัวอยางอันดีงามใหแกเยาวชนคนรุนใหมไดเห็น และยึดถือเปนแบบอยาง ภาพรวมผังรายการใหมในป 2554 สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบกไดดําเนินการคัด สรร รายการจาก ผูรวมผลิตรายการกวา 106 บริษัท โดยนําขอมูลการตลาดมาประกอบการจัดผัง รายการ โดยมีเปาหมายจะเพิ่มความนิยมผูชมรายการ ( Rating ) ขึ้นเปนอันดับ 3 สัดสวน การนําเสนอ ยังคงเปน ขาว สาระความรู และบริการสาธารณะ 70 % บันเทิง 30% สาระ ความรู ้

บ ันเทิง

30

%

37

ข่าว

33

% รายการสาระความรู ้ ข่าว รายการบ ันเทิง

%


แบงออกเปนรายการตางๆดังนี้ รายการที่มุงเนนการตอบสนองตามนโยบาย สอดแทรกเนื้อหาและกิจกรรมเกี่ยวกับ ความจงรั กภักดี และเทิดทู นสถาบันพระมหากษั ตริย อยางตอเนื่องจากป ที่แลว โดย ป 2554 นับเปนวาระโอกาสพิเศษของประเทศไทย เนื่องจากเปนปมหามงคลที่พ ระบาทสมเด็จ พระ เจาอยูหัว ทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 7 รอบในวันที่ 5 ธันวาคม 2554 และ เฉลิมพระ ชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 76 พรรษา สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก ไดรวมผลิตรายการ และ จัดทําโครงการเฉลิมพระเกียรติ ตอเนื่องตลอดทั้งป เพื่อสรางจิตสํานึก กระตุ นเตื อน ความรูสึกของพสกนิก รชาวไทย และหารายไดโ ดยเสด็จ พระราชกุศล โดย นําเสนอเรื่องราวโครงการตามพระราชดําริ พระราชจริย วัตร และความซาบซึ้งในพระมหา กรุณาธิคุณของพสกนิกรชาวไทยที่มีตอองคเหนือหัวอยางสุดพรรณนา ออกอากาศทุกวันจันทร ศุกร เวลา 1605 -1630 วันละ 25 นาที ตอเนื่องทุกวัน และ สารคดี 84 อัจฉริยภาพในหลวง ความยาว 1 นาที ออกอากาศทุกวันจันทร - ศุกร หลังละครภาคค่ํา รายการสงเสริมความรัก ความสามัค คีในครอบครั ว สถานีวิท ยุโทรทั ศนกองทัพ บก เล็งเห็นถึงความสําคัญของสถาบันครอบครัว สรางสรรครายการสําหรับเด็กและเยาวชนเหมือน เชนปที่ผานมา ในรูปแบบละคร รายการสาระบันเทิง และเกมคําถามคําตอบที่ใหความรูแกเด็ก และเยาวชน สามารถรับชมไดทั้งครอบครัว ทุกวันจันทร - ศุกร ตั้งแตเวลา 1700 นาฬิกา เปน ตนไป รายการบริการสังคม สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบกยังคงบริการสาธารณะอยางตอเนื่อง ไดจัดสรรเวลาสําหรับรายการ รายการพิเศษ สารคดี และ สปอตประชาสัมพันธ เพื่อรองรับ กิ จ กรรมการกุ ศ ลของหน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน โดยเฉพาะรายการพิ เ ศษช ว ยเหลื อ ผูประสบภัยพิบัติซึ่งเปนพันธกิจสําคัญของกองทัพบก ทั้งนี้กําหนดเปนหวงระยะเวลา คือ กอน ( แจงเตือนพี่นองประชาชน) ระหวาง (การดําเนินการบรรเทาทุกข ) และหลัง ( ฟนฟูบูรณะ) เพื่อ นําเสนอขาวไดทันทวงทีและครบวงจร นอกจากนี้ เพื่อ ตอบสนองความนิย มกลุม ผูช มยามบา ยและยามดึก สถานีวิท ยุ โทรทัศนกองทัพ บก ไดจัดกลุมชวงเวลาเฉพาะสํา หรับ ผูชื่น ชอบเสีย งเพลงในทุก วัน จัน ทร – ศุกร เวลา 1345-1435 รวม 50 นาที ตอเนื่องและภาคดึก ที่เ วลา 0015 - 0200 รวมทั้ง กลุมผูนิยมเกมลุนรางวัล ยามบาย ที่ไมเคยใหมากเทานี้ม ากอ น พลาดไมไ ดกับ รายการ แจก แหลก ทุกวันจันทร – ศุก ร เวลา 1315-1345 ใหผูช มไดเ พลิด เพลิน เรา ใจ และลุน รางวัล ไดตลอด 30 นาที


โดยสรุปทิศทางการนําเสนอรายการ ในป 2554 ของสถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก ยังคงมุงมั่นผลิตรายการเพื่อประโยชนตอผูชมรายการอยางแทจริง เนนใหเกิดความจงรักภักดีตอ สถาบันพระมหากษัตริย สรางความมั่นคงใหกับประเทศ ตลอดจนสรางความสามัคคีปรองดองของ คนในชาติ เพื่อนําไปสูการ “นําคุณคาสูสังคมไทย” อยางแทจริง และยั่งยืน


หลักสูตรเฉพาะทาง ขอสอบ การจัดรายการโทรทัศน 1. การแบงชวงเวลาการออกอากาศเพื่อใชจัดวางผังรายการของ ททบ. 5 มีทั้งหมดกี่ชวงเวลา ก. 2 ชวงเวลา ข. 3 ชวงเวลา ค. 4 ชวงเวลา ง. 5 ชวงเวลา 2. ขั้นตอนแรกของการจัดวางผังรายการของ ททบ. 5 คืออะไร ก. การกําหนดนโยบายหลักหรือวัตถุประสงคหลัก ข. การสํารวจผูชมรายการ ค. การกําหนดกลุมผูชมเปาหมายในชวงเวลาตางๆ ง. การคัดเลือกและผลิตรายการ 3. การแบงประเภทของรายการโทรทัศน ตามระเบียบวาดวยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน พ.ศ. 2518 แบงเปนกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 4. ขอใดไมใชกลยุทธการจัดวางผังรายการ ก. Audience Flow ข. Blocking ค. Counter – programming ง. Researching 5. การจัดวางผังรายการในขอใด ที่สถานีโทรทัศนนั้นตองมั่นใจวาตนเองมีรายการที่มีคุณภาพดีหรือ ดีกวาสถานีโทรทัศนคูแขง ก. การจัดผังรายการโดยการนําเสนอรายการพิเศษ (Stunting) ข. การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการขนาดยาวเริ่มกอนรายการอื่นแตจบชากวา(Bridging) ค. การจัดผังชน (Counter – programming) ง. การจัดผังรายการโดยนําเสนอรายการเปนกลุม (Blocking) 6. สัดสวนการจัดวางผังรายการของ ททบ. 5 แบงเปน ประเภทรายการบันเทิงกี่เปอรเซ็นต และ สาระ ความรู ขาว กี่เปอรเซ็นต ก. 70 % และ 30 % ข. 30 % และ 70 % ค. 50 % และ 50 % ง. 40 % และ 60 % 7. การจัดทําคิวรายการออกอากาศประจําวันของททบ. 5 มี 2 ชวงเวลา เวลาใดบาง ก. เวลา 1600 - 0500 และ 0500 - 1600 ข. เวลา 1700 - 0500 และ 0500 - 1700 ค. เวลา 1800 - 0500 และ 0500 - 1800 ง. เวลา 1700 – 0600 และ 0600 - 1700 8. ขอใดไมใชขอมูลในการจัดทําคิวรายการของททบ. 5 ก. ผังรายการประจําเดือน ข. ความยาวเทปรายการ ค. จํานวนนาทีโฆษณาในแตละรายการ ง. ชื่อสปอตโฆษณาที่ออกอากาศในแตละรายการ


9. ขอใดไมใชคุณสมบัติของสปอตประชาสัมพันธที่สามารถออกอากาศทาง ททบ. 5 โดยไมตองเสีย คาใชจาย ก. สปอตราชการที่ใหประโยชนตอผูชม ข. สปอตเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ค. สปอตประชาสัมพันธบริษัท หางราน ง. สปอตประชาสัมพันธรายการของ ททบ. 5 10. การสงเทปรายการเพื่อออกอากาศทาง ททบ. 5 ตองสงกอนลวงหนากี่วันทําการ ก. ไมตองสงลวงหนา ข. 1 วันทําการ ค. 2 วันทําการ ง. 3 วันทําการ

เฉลย ขอสอบการจัดรายการโทรทัศน 1. ค. 2. ก. 3. ค. 4. ง. 5. ค. 6. ข. 7. ข. 8. ง. 9. ค. 10.ง.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.