ท่องเที่ยววิถีชีวิตคนไทย สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

Page 1



คำ�นำ�

ประเทศไทยมีอารยธรรมที่ได้รับการสืบสานกันมายาวนาน ไม่น้อยกว่า ๕,๐๐๐ ปี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ปรากฏร่องรอย อารยธรรม สามารถก�ำหนดได้เป็น ๙ อารยธรรม ตามที่กระทรวง วัฒนธรรมได้บันทึกไว้ คือ อารยธรรมบ้านเชียง อารยธรรมทวารวดี อารยธรรมศรีโคตรบูรณ์-ล้านช้าง อารยธรรมลพบุรี อารยธรรมศรีวิชัย อารยธรรมล้านนา อารยธรรมสุโขทัย อารยธรรมอยุธยา และอารยธรรม ธนบุรี ซึ่งในแต่ละอารยธรรมต่างก็มีความโดดเด่นด้านวิถีชีวิตตาม ภูมิภาคและกาลเวลา ซึ่งยังคงปรากฏร่องรอย และมีการสืบสานกันมา อย่างต่อเนื่องยาวนาน จังหวัดเพชรบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีการสืบค้นร่องรอยทาง วัฒนธรรม ซึ่งพบว่ามีการเคลื่อนย้ายของอารยธรรมที่หลากหลาย ทั้ง อารยธรรมทวารวดี อารยธรรมอยุธยา อารยธรรมสุโขทัย และอารยธรรม ลพบุรี ที่ได้รับการผสมผสานกันจนก่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมลุ่มแม่น�้ำ เพชร ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี จึงได้จัดท�ำโครงการ ส่งเสริมการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี (๙ เส้นทาง ๙ ต�ำนาน มรดก วัฒนธรรมท่องเที่ยววิถีไทย) เพื่อสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ส่ง เสริมการท่องเที่ยวของชุมชน เพื่อให้นักท่องเที่ยวที่มาสัมผัสได้รับรู้ถึง ความสวยงามของอารยธรรมลุ่มแม่น�้ำเพชรบุรี กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร 3


4 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


สารบัญ

อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร 5


อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร “เพชรบุร”ี เป็นเมืองเก่า มีความส�ำคัญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ใ นฐานะหั ว เมื อ งส� ำ คั ญ เป็นเมืองหน้าด่านในยามศึกสงคราม มีผู้คน ตัง้ ถิน่ ฐานมาตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ พบ หลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ประเภทขวานหิน ขัด เครื่องประดับที่ท�ำจากหิน ภาชนะดินเผา โดยเฉพาะในเขตภูเขาทางด้านทิศตะวันตก พบโบราณวัตถุที่ถ�้ำเขากระปุก อ�ำเภอท่ายาง พบขวานหินขัด บริเวณใกล้เขากระจิว อ�ำเภอ ท่ายาง พบภาชนะดินเผา ลูกปัดท�ำจากหินคาร์ นีเลียนจ�ำนวนมาก ที่บริเวณบ้านดอนขุนห้วย อ�ำเภอชะอ�ำ เป็นเขตภูเขาเชื่อมต่อกับที่ราบ ในยุคสมัยทวารวดี มีการค้นพบโบราณ ส�ำคัญเรียกว่า “โบราณสถานโคกเศรษฐี” เป็น ศาสนสถานในยุคทวารวดี อายุประมาณพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ -๑๖ สถูปเจดียข์ นาดใหญ่บริเวณ ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย หน้าทิศตะวันออกของ เทือกเขานางพันธุรตั เขตพืน้ ที่ ต.นายาง อ.ชะอ�ำ จากหลักฐานทีค่ น้ พบเชือ่ ว่าเป็นทีต่ งั้ ของชุมชน ขนาดใหญ่ การด�ำรงอยู่ของผู้คนในเมืองเพชรบุรี ต่อเนือ่ งมาในสมัยลพบุรี วัฒนธรรมขอมโบราณ สมัย “พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗” ได้ขยายอาณาเขต มาถึงเมืองเพชรบุรี ปรากฏหลักฐาน “ปราสาท หิน” ที่วัดก�ำแพงแลง ปรางค์ศิลปกรรมขอม ขนาดใหญ่ จ�ำนวน ๕ หลัง ก่อสร้างด้วย ศิลาแลง ในจารึกปราสาทพระขรรค์ในสมัย พระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ ๗ ปรากฏชื่ อ หั ว เมื อ ง 6 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


ต่าง ๆ หลายแห่ง ๑ ในนั้นคือ “ศรีชัยวัชรบุรี” นั่นคือ เมืองเพชรบุรี เมื อ งเพชรบุ รี มี บ ทบาทส� ำ คั ญ มาก ในสมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี นอกจาก เป็นเมืองหน้าด่านส�ำคัญแล้ว ยังเป็นเมือง ทีม่ กี ารติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยาและเมือง อื่น ๆ มีสินค้าส�ำคัญคือ ข้าว เกลือ น�้ำตาล โตนด อี ก ทั้ ง เพชรบุ รี ยั ง เป็ น เมื อ งท่ า ที่ เ รื อ สินค้าจะมาจอดแวะพักก่อนจะเดินทางต่อไป กรุงศรีอยุธยา หรือจะล่องไปหัวเมืองทางใต้ เพชรบุ รี ใ นสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานีมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ต่อเนื่องมาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเมือง ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงโปรดเสด็ จ ประพาส อยูบ่ อ่ ยครัง้ และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง ที่เมืองเพชรบุรีถึง ๓ แห่ง ได้แก่ พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าให้สร้าง “พระนครคีรี” พระราชวัง บนภูเขากลางเมืองเพชรบุรี พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ โปรด เกล้าฯ ให้สร้าง พระรามราชนิเวศน์ หรือที่ คนเพชรเรียกว่า “วังบ้านปืน” ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ เพชรบุรี และ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระต�ำหนักค่ายหลวงบางทะลุ ต.หาดเจ้า ส�ำราญ (ภายหลังได้มีรับสั่งให้รื้อถอน) และ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระราชวัง “พระราช นิเวศน์มฤคทายวัน” ริมชายทะเลชะอ�ำ ด้วยความที่เมืองเพชรบุรี เป็นจังหวัด ที่มีชัยภูมิที่ตั้งเหมาะสม กล่าวคือ ด้านทิศ ตะวันตกเป็นเทือกเขาตะนาวศรี มีผืนป่าแก่ง

กระจานทีม่ พี นั ธุไ์ ม้และธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ เป็นแหล่งก�ำเนิดของ “แม่น�้ำเพชรบุรี” และ “แม่น�้ำแม่ประจันต์” สายน�้ำที่มีความส�ำคัญ ต่อชีวิตของชาวเมืองเพชรบุรี เป็น “น�้ำเสวย” ของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี และใช้ ในพระราชพิธีส�ำคัญ ปัจจุบันคนเมืองเพชรยัง ใช้น�้ำเพื่ออุปโภคบริโภค การเกษตร ประมง แม่น�้ำทั้ง ๒ สายได้ไหลผ่านพื้นที่ต่าง ๆ ได้แก่ อ.แก่งกระจาน อ.หนองหญ้าปล้อง อ.ท่ายาง อ.บ้านลาด อ.เมือง อ.บ้านแหลม ลงสู่ทะเล อ่าวไทย ตลอด ๒ ฝั่งแม่น�้ำเพชรบุรีเป็นถิ่นฐาน อาศั ย ของชาวเมื อ งเพชรมาตั้ ง แต่ อ ดี ต จน สู ่ ป ั จ จุ บั น แต่ ล ะชุ ม ชนต่ า งมี วิ ถี ชี วิ ต ความ เป็ น อยู ่ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ แ ละอั ต ลั ก ษณ์ ข อง ตนเอง การน�ำต้นทุนของชุมชนในด้านวิถีชีวิต ภูมิปัญญาวัฒนธรรม อาหารพื้นถิ่น สินค้า ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ยังเป็นกลไกทีน่ ำ� มาใช้พฒั นา ชุนชุมด้านคุณภาพชีวิตและการเสริมสร้างราย ได้ให้กับครอบครัว ภายใต้แนวคิดโครงการ ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่ส�ำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี กรมการพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย ส่งเสริมพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากให้เกิดรายได้กับชุมชน โดย ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างทั่ว ถึง กระตุ้นเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ ให้มีความเข้มแข็ง อีกทั้งยังเป็นการเชื่อมโยง เส้นทางในการท่องเที่ยวให้มีความโดดเด่น มี ความพร้อมบนอัตลักษณ์ของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี. อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร 7


กอซอ

มีอะไร ใน ที่

คอละออม

ล่องเรือ ชมแม่น�้ำเพชร ชิม

8 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร

แกงไก่พิโรธ

mom Kho La n a B


หมู่บ้านคอละออม หมู่ ๑ ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ชุมชนเก่าแก่ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณริมฝั่งแม่น�้ำเพชรบุรี ท้ายเขื่อนเพชร บริเวณนี้ มีกอไผ่สีสุก หรือ “กอซอ” รวมถึง “ต้นยางนา” ยืนต้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จากค�ำบอกเล่า บรรพบุรุษปู่ย่าตายายได้มาบุกเบิกพื้นที่บริเวณนี้ ตั้งบ้านเรือนปลูกข้าวท�ำการเกษตรปลูก พืชไร่ชนิดอื่น ๆ แต่เดิมเรียกพื้นที่แห่งนี้ว่า “โคกกระออม” เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้อยู่สูงจาก แม่น�้ำเพชรบุรีประมาณ ๑๐ เมตร มีต้นไม้ชื่อ “ต้นโคกกระออม” เป็นไม้เลื้อยที่ขึ้นปกคลุม ชายตลิง่ และพบเห็นได้ทวั่ ไปในหมูบ่ า้ นเป็นจ�ำนวนมาก ไม้เลือ้ ยชนิดนีม้ สี รรพคุณช่วยแก้พษิ จากแมลงกัดต่อย หากน�ำต้นมาต้มกินต่างน�้ำจะช่วยแก้โรคเบาหวาน ลดความดันโลหิตได้ จึงมีชื่อเรียกชุมชนแห่งนี้ว่า “โคกกระออม” ภายหลังจึงเรียกเป็น “คอละออม”

บ้านคอละออม BAN KHO LAMOM

อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร 9


นอกจากนี้ ยั ง มี ที่ ม าจากสภาพ ภูมิศาสตร์ที่ตั้งของหมู่บ้านแห่งนี้มีแม่น�้ำเพชร ไหลผ่านรอบหมูบ่ า้ น เรียกว่า “คลองอ้อม” รวม ถึงบริเวณนี้มี “ต้นยางนา” ยืนต้นสูงใหญ่ริม แม่นำ�้ เพชรบุรอี ยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก จึงเรียกชือ่ ว่า “บ้านยางละออม” ในอดีตวัดไหนต้องการเสา ไม้ไปสร้างศาลาการเปรียญก็จะขุดต้นยางทีล่ ม้ ใกล้แม่น�้ำไปใช้ประโยชน์ ค�ำว่า “ยางละออม” ยังใช้เป็นชือ่ กองทุนหมูบ่ า้ นจนถึงทุกวันนี้ อีกทัง้ ในหมูบ่ า้ นยังมี “ต้นโพธิศ์ กั ดิส์ ทิ ธิ”์ อายุ ๓๐๐ ปี เป็ น ต้ น ไม้ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจ� ำ หมู ่ บ ้ า น ตาม ประวัติเล่าว่า ภายในต้นโพธิ์มีเครื่องมือของ 10 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร

หมอโบราณ ชือ่ หมอสม บริบรู ณ์ ได้นำ� เครือ่ งมือ รักษาโรค เช่น โรคฝีกรามช้าง โรคฝีดาษ มาวางไว้บริเวณกิง่ กลางล�ำต้นโพธิ์ เมือ่ ต้นโพธิ์ เจริญเติบใหญ่ได้ห่อหุ้มเครื่องมือรักษาโรค ซึ่ ง คนโบราณถื อ ว่ า เป็ น ของศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ชาว บ้านในหมู่บ้านแห่งนี้จึงให้ความเคารพต้น โพธิ์ศักดิ์สิทธิ์ต้นนี้ โดยทุกวันที่ ๑ มกราคม “วันขึน้ ปีใหม่” ชาวบ้านร่วมกันท�ำบุญตักบาตร พระสงฆ์บริเวณใต้โคนต้นโพธิแ์ ห่งนีเ้ ป็นประจ�ำ ทุกปี รวมถึงวันที่ ๑๖ เมษายนจัดให้มีการ ท�ำบุญช่วงเทศกาลสงกรานต์ สรงน�้ำพระ และ รดน�้ำด�ำหัวขอพรจากผู้สูงอายุในหมู่บ้าน


BAN KHO LAMOM

• ต้นยางนา

• กอซอ

• ต้นโพธิ์ศักดิ์สิทธิ์ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 11


แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชนบ้านคอละออม อาทิ

กลุ่มแม่บ้านสานกระเป๋าจากเส้นพลาสติก

เป็นโครงการจากกรมพัฒนาชุมชนและการศึกษา นอกโรงเรียนได้เข้ามาฝึกสอนกลุ่มแม่บ้านใน หมูบ่ า้ นเรียนรูก้ ารจักสาน โดยการน�ำวัสดุเหลือใช้ จากเส้นพลาสติกมาสานเป็นผลิตภัณฑ์ อาทิ สานเป็นตะกร้า กระเป๋า ฝาชี หมวก เข่งรูป แบบโบราณ จ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริม และหากมี นักท่องเที่ยวสนใจก็สามารถเข้าร่วมกิจกรรม จักสานด้วยตนเองได้

• กระเป๋าสานเส้นพลาสติก ะนาว •ม

12 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

• กลว้ ย


• ต้นมะนาว

• ดงกล้วยหอมทอง

• โรงสีข้าวชุมชน อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 13

BAN KHO LAMOM

ฐานเรียนรู้เกษตรปลอดภัย ชุมชนบ้าน คอละออมเป็นพื้นที่ท�ำการเกษตรเนื่องจากอยู่ใกล้ แม่น�้ำเพชรบุรี มีดินที่อุดมสมบูรณ์ ที่นี่จึงส่งเสริม การท�ำเกษตรปลอดสารเคมี ประกอบไปด้วย กล้วยหอมทอง มะนาว อีกทัง้ มีโรงเรือนทีใ่ ช้ปลูกผักปลอด สารเคมี เพราะป้องกันแมลงและลดการใช้สารเคมี ก�ำจัดแมลง ฐานเรียนรูโ้ รงสีขา้ วชุมชน ด�ำเนินการโดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านคอละออม ชาวบ้านได้จัด ตั้งกลุ่มโรงสีข้าวประจ�ำหมู่บ้าน เนื่องจากชาวบ้าน ในหมู่บ้านจะได้ไม่ต้องไปสีข้าวเปลือกที่อื่น โดย ท�ำการสีขา้ วเดือนละ ๑ ครัง้ มีลานตากข้าว พร้อมทัง้ เครื่องสีข้าว เครื่องคัดเมล็ดข้าว เป็นที่ศึกษาดูงาน ให้กับนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มเกษตรกรที่สนใจ


ล่องเรือชมแม่น�้ำเพชร หมู่บ้านคอละออม ติดกับแม่น�้ำเพชรบุรี มีธรรมชาติทิวทัศน์ที่สวยงาม มีต้นยางนาใหญ่ อายุ ๑๐๐ ปี มากกว่า ๑๐๐ ต้น มีกอซอ หรือกอไผ่ เป็นแหล่งอาศัยของกระรอก กระแต นกประจ�ำ ถิ่นอื่น ๆ ชาวบ้านหมู่ที่ ๑ ร่วมมือกับชาวบ้าน หมู่ที่ ๑๐ จัดกิจกรรมล่องเรือชมแม่น�้ำเพชรบุรี ให้ นักท่องเที่ยวได้ชมและสัมผัสทัศนียภาพริมสองฝั่ง แม่น�้ำเพชรบุรีที่สวยงาม รวมถึงมีลานกิจกรรมริม แม่น�้ำเพชรบุรีส�ำหรับนักท่องเที่ยวได้มาลงเล่นน�้ำ จัดเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ จ�ำหน่ายอาหาร สินค้า ผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงผลิตภัณฑ์ ของชุมชนให้แก่นักท่องเที่ยว

14 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


• ล่องเรือชมบรรยากาศ

BAN KHO LAMOM

• ของที่ระลึก

• เล่นน�้ำพักผ่อนหย่อนใจ

หมู ่ บ ้ า นคอละออมมี ม รดก ภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมด้านการตีกลอง ยาว มีคณะกลองยาวประจ�ำหมูบ่ า้ นทีจ่ ดั แสดงในงานต่าง ๆ เพือ่ ความสนุกสนาน และเป็นการออกก�ำลังกายของผู้สูงอายุ อีกทั้งยังมีครูภูมิปัญญาท�ำหน้าที่สอน การตีกลองยาวให้เด็ก และเยาวชนที่ สนใจได้เรียนรู้ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ พร้อมทั้งสืบสานภูมิปัญญา การตีกลองยาวบ้านคอละออมให้คงอยู่ สืบไป อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 15


เมนูอาหารพื้นถิ่น

• แกง ไก่พ ิโ ร ธ

มรดกภูมิปัญญาทางอาหารที่ใช้วัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น หน่อไม้ พืชผัก ชนิดต่าง ๆ ผลไม้ สาเก กล้วย กระท้อน ฯลฯ เมนูอาหารขึ้นชื่อของบ้านคอละออม ได้แก่ “แกงไก่พิโรธ” ใช้พริกขี้หนูสดน�ำมาต�ำเป็นเครื่องแกงใส่หน่อไม้ดอง สูตรดั้งเดิม แกงกับเนือ้ วัว ภายหลังคนทานเนือ้ วัวลงลดจึงใช้เนือ้ ไก่แทน นอกจากนีย้ งั มีเมนูอาหาร อาทิ น�้ำพริกกระท้อน หมูหลบแดด ย�ำหัวปลี ต้มพะองทรงพระเยาว์ ขนมหวานได้แก่ สาเกเชื่อม กระท้อนลอยแก้ว ขนมตาล ขนมกล้วย ขนมหน่อไม้ เป็นต้น

ท้อน

นิลท อด

รกิ ก ระ

ปล า

• ผัดก ดู ใส่ก งุ้

สมุนไพร

16 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร

พ • นน้ำ


• ยยำ

หวั

ปลี

• หม หู ล

บแด

• ขน

ล้วย

มก

• ขน ม

ไม้ หน่อ

• สาเ

กเช ื่อ

• ขน

ต าล

อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 17


ชุมชนคอละออม หมู่ ๑ ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยความสุข รอยยิม้ มีธรรมชาติทสี่ วยงาม ร่มรืน่ ไปด้วย กอซอ ต้นยางนา และพันธุ์ไม้ใหญ่นานาชนิด เป็นหมูบ่ า้ นทีต่ ดิ กับแม่นำ�้ เพชรบุรที มี่ คี วามใสสะอาด ตืน่ ตาตืน่ ใจกับการล่องเรือชมแม่นำ�้ เพชรบุรี ชุมชนแห่งนี้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง มีฐานกิจกรรมเรียนรู้ที่หลากหลาย มีเมนูอาหารพื้นถิ่นที่ขึ้นชื่อ นับเป็น หมู่บ้านท่องเที่ยวOTOP นวัตวิถี อีกแห่งหนึ่งที่อยากให้คุณได้สัมผัส

การเดินทางมาหมู่บ้านคอละออม การเดินทางมาหมู่บ้านคอละออม หมู่ ๑ ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี สามารถใช้เส้นทางถนนเลียบคลองชลประทานสาย ๓ ไปถึงโครงการส่งน�้ำและบ�ำรุงรักษาเพชรบุรี (เขื่อนเพชร) เลี้ยวขวา ไปตามถนนทางไปอ�ำเภอแก่งกระจาน จากนั้นข้ามสะพานแม่น�้ำ เพชรบุรีจะถึงหมู่บ้านคอละออม 18 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


แผนที่สถานที่ท่องเที่ยวบ้านคอละออม BAN KHO LAMOM

ติดต่อผู้ประสานงาน • นายสงกรานต์ สีมาก ผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๑ บ้านคอละออม โทร ๐๘๘-๕๔๓-๓๑๑๓ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 19


บ้านบางเกตุ BANBANGKATE

20 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


bangkate

Ban

หลีกหนีความวุน่ วายในเมืองใหญ่ ชวนไป สูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอดที่ “หาดบางเกตุ” ชายทะเลอ่ า วไทยที่ มี ห าดทรายขาวสะอาด ธรรมชาติสวยงาม และเงียบสงบเป็นส่วนตัว ผู้คนไม่พลุกพล่าน เหมาะแก่การเดินทางมา พักผ่อนหย่อนใจ เดินเล่นริมชายหาด ลงเล่นน�ำ้ ทะเล ปูเสื่อนั่งรับประทานอาหาร กางเต็นท์พักค้างแรม นอนชมดาวฟังเสียงคลื่นกระทบฝั่ง ตื่นเช้าชม พระอาทิตย์ขึ้นที่สวยงาม ที่กล่าวมานี้ มีอยู่ที่ ชุมชนบ้านบางเกตุ “ชุมชนOTOP นวัตวิถ”ี หมู่ ๗ ต.บางเก่า อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 21


หาดบางเกตุ อยูไ่ ม่ไกลจากหาดชะอ�ำ จุดเด่นคือเป็นหาดทราย เล็ก ๆ ที่มีความเงียบสงบและสวยงามแห่งหนึ่ง ชื่อของ “บ้านบางเกตุ” มีทมี่ าจาก “ตาเกตุ” กับ “นางแย้ม” สองสามี ภรรยาผู้มาบุกเบิกตั้งรกรากในพื้นที่แห่งนี้ คนละแวกนี้ จึงขนานนามหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “บ้านตาเกตุ” จากนั้น ชือ่ เรียกได้ถกู ปรับเปลีย่ นเป็น “บ้านบางเกตุ” เดิมชาวบ้าน ทีน่ ดี่ ำ� รงชีพด้วยการท�ำประมงชายฝัง่ ออกเรือจับสัตว์นำ�้ ในทะเลน�ำมาจ�ำหน่าย ควบคู่กับท�ำการปลูกพืชผลทาง การเกษตร อาทิ น้อยหน่าพันธุเ์ นือ้ ถัว่ ลิสง มะพร้าว มะนาว

22 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

• ลานกางเต็นท์


ชุมชนบ้านบางเกตุเป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวั ต วิ ถี มี ค� ำ ขวั ญ ประจ� ำ ชุ ม ชนว่ า “แดนน้ อ ยหน่ า ขึ้นชื่อ เลื่องลือประชาธิปไตย คนรวยน�้ำใจ ทะเลใส ทรายสวย” เสน่ห์ของชุมชนบ้านบางเกตุ คือ มีชายหาด ทะเลที่สวยงามและเงียบสงบ นักท่องเที่ยวสามารถ กางเต็นท์ค้างคืนริมชายทะเล ลงเล่นน�้ำทะเล ตกปลา รวมถึ ง มี กิ จ กรรมปั ่ น จั ก รยานท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน หรื อ ถ้ามาเป็นหมู่คณะก็มีรถน�ำเที่ยวไว้คอยบริการ สถานที่ น่าสนใจ ณ บ้านบางเกตุ เริ่มจาก “ศาล ๓ พี่น้อง” ประกอบด้วย ศาลคุณพ่อชัยทัด ศาลคุณพ่อชัยเชษฐ์ และ ศาลหลวงปู่เจ้าลิง เป็นศาลประจ�ำหมู่บ้านที่ชาวบางเกตุ ให้ความเคารพนับถือ ช่วงเข้าพรรษาจะมีการท�ำบุญ นิมนต์พระสงฆ์มาฉันภัตตาหารเช้า และแสดงพระธรรม เทศนาในช่วงเย็น

• ศาล ๓ พี่น้อง อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 23


• ดงตาลโตนด ๑๐๐ ปี • ต้นเกด

• ขนมตาล

24 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

นอกจากชายทะเลทีส่ วยงาม แล้ ว ที่ บ ้ า นบางเกตุ ยั ง มี ภู มิ ทั ศ น์ ที่ ส วยงาม มี “ดงตาลโตนด” ขึน้ ดาษดืน่ บนเนือ้ ที่ ๗๙ ไร่ ด้านหลัง โรงเรียนบ้านบางเกตุ เป็นดงตาล เก่าแก่อายุนับ ๑๐๐ ปี ชาวบ้านนิยม น� ำ ผลตาลอ่ อ นมาท� ำ ขนมลู ก ตาล ลอยแก้ว และน�ำผลตาลสุกมาท�ำ ขนมตาล ดงตาลแห่งนี้ยังมีต้นไม้ เก่าแก่อายุ ๑๐๐ ปี คือ ต้นมะม่วงป่า และ ต้ น เกด ที่ มี ชื่ อ พ้ อ งกั บ ชื่ อ หมู่บ้าน


ใกล้ ๆ หมู่บ้านยังมีสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วน่ า สนใจอี ก หลายแห่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถนั่ ง รถน� ำ เที่ยวไปกราบสักการะ “หลวงพ่อ ท อ ง สุ ข ” อ ดี ต เ จ ้ า อ า ว า ส วั ด โตนดหลวงที่ ช าวบ้ า นและ ชาวเมื อ งเพชรให้ ค วามเคารพ นับถือ ชมอุโบสถเก่าทรงมหาอุตม์ สมัยอยุธยา และอุโบสถหลังใหม่ ที่อยู่ในเรือส�ำเภา เรียกว่า “โบสถ์

ทรงเรือส�ำเภา”

อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 25


• โบราณสถานโคกเศรษฐี

• เขานางพันธุรัต

• วนอุทยานเขานางพันธุรัต

26 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

ไม่ ไ กลจากวั ด โตนดหลวง มี โ บราณสถานเก่ า แก่ ยุ ค สมั ย ทวารวดี มีอายุกว่า ๑,๐๐๐ ปี ชื่อว่า “โบราณสถานโคกเศรษฐี” เป็น ฐานเจดีย์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่เชิงเขา ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของ เทื อ กเขา นางพันธุรตั ใกล้กนั เป็น “วนอุทยานเขานางพันธุรัต” วนอุทยานที่มี ธรรมชาติร่มรื่นสวยงาม ภูเขาลูกนี้ มีสัณฐานคล้ายกับผู้หญิงนอนหงาย ต�ำนานเล่าว่าเป็นร่างของนางยักษ์ พันธุรัตในวรรณคดีเรื่อง สังข์ทอง วนอุทยานแห่งนี้มีเส้นทางเดินขึ้นไป ท่องเที่ยวบนเขา จะพบสถานที่ใน วรรณคดีเรื่องสังข์ทอง อาทิ ช่อง กระจกส่องหน้านางพันธุรตั บ่อชุบตัว พระสังข์ รวมทัง้ มีจดุ ชมวิวทีส่ วยงาม


ชุมชนบางเกตุมีพืชท้องถิ่นที่ขึ้นอยู่ตามสภาพ ดินเค็ม น�้ำกร่อย คือ ต้นชะคราม พบทั่วไปตาม ชายฝั่งทะเล มีสรรพคุณเป็นยาแก้ท้องผูก นิยมเด็ดยอด มารับประทาน แกงกับกะทิ เช่น แกงใส่ปู แกงส้ม ย�ำ ลวกกินกับน�้ำพริก ชาวชุมชนน�ำใบชะครามมาท�ำเป็น เมนูข้าวผัดใบชะคราม ทอดมันใบชะคราม แกงส้ม ใบชะคราม รับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ ปลาอกกะแล้ ทอดกรอบ อร่อยเด็ดอย่าบอกใคร นอกจากนี้ ชาวบ้านบางเกตุยงั ท�ำน�ำ้ ดืม่ สมุนไพร จาก ใบขลู่ เป็นพืชที่อยู่ทั่วไปตามหมู่บ้าน เด็ดใบสด มาผ่านวิธีการนึ่ง ตากแห้ง คั่วกระทะ กระทั่งได้ใบแห้ง น�ำมาชงกับน�ำ้ ดืม่ มีสรรพคุณทีด่ ตี อ่ ร่างกาย เช่น ช่วยลด น�้ำตาลในเลือด ช่วยขับปัสสาวะ แก้ร้อนใน ะคราม มันใบช ด อ ท

คราม บชะ

• ขา้ วผ ดั ใ

• ชาใบขลู่

คราม บ ชะ

• ไขเ่ จ ยี วใ

ราม

• แก งใบ

ชะค

• ใบชะคราม อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 27


“น้ อ ยหน่ า บางเกตุ ” เป็นผลไม้ ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า นที่ เ ลื่ อ งชื่ อ ในความอร่ อ ย น้อยหน่าพันธุเ์ นือ้ ดัง้ เดิม มีรสชาติหอมหวาน ให้ ผลผลิตช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม น้อยหน่า บางเกตุนบั เป็นผลไม้ดที สี่ ดุ ชนิดหนึง่ ของเมือง เพชรบุรี “ถั่วลิสง” หรือ ถั่วคุด พืชที่อุดมไป ด้วยโปรตีน ไขมัน เส้นใยอาหาร ช่วยบ�ำรุง หัวใจ ป้องกันโรคเบาหวาน และต้านมะเร็ง ผลิตภัณฑ์ชุมชนบางเกตุ “โมบาย เปลือกหอย” สินค้าโอทอป ๕ ดาวที่ใช้ ชือ่ ว่า “เกตุเลดาว” ชาวบ้านจะซือ้ เปลือกหอย ทีม่ รี ปู ร่างต่าง ๆ มาร้อยเชือกเป็นโมบายสีสนั สวยงาม สร้างอาชีพ สร้างรายได้ นอกจากนี้ ยังมีตุ๊กตาเปลือกหอย สบู่สมุนไพร ถุงผ้า พวงกุ ญ แจที่ ช าวชุ ม ชนท� ำ เป็ น ของที่ ร ะลึ ก ไว้จัดจ�ำหน่าย

• น้อยหน่าพันธุ์เนื้อ

• ไร่ถั่วลิสง

วลสิ ง

•ถ

ั่

28 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


• สบู่สมุนไพร

• โมบายเปลือกหอย

ด้านประเพณีวัฒนธรรม

ชาวบ้านบางเกตุมกี ารละเล่น เพลงโนเน เป็นเพลงพื้นบ้านที่มีการร้องโต้ตอบกันระหว่าง ชายหญิง ในช่วงเทศกาลสงกรานต์เดือน ๕ ของ ทุกปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาหลังฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิต เนื้อหาของเพลงโนเนจะบอกเล่าความเป็นมา ของหมู่บ้านตัวเองและหมู่บ้านใกล้เคียง อาจจะ เป็นการร้องเกี้ยวพาราสีกันของชายหญิงโดยจะ ใช้ลักษณะการด้นสด ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญของผู้เล่น ที่จะต้องมีทักษะและไหวพริบที่ดี ส่วนที่เรียกว่า เพลง “โนเน” นั้น เนื่องจากแล้วพ่อเพลงแม่ เพลงร้องเพลงจบแต่ละบทแล้วนั้น ลูกคู่จะร้อง รับว่า “โน เน โน ชา ชะ โน เน เอย” อันเป็น เอกลักษณ์ของเพลงโนเน อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 29


ชุมชนบ้านบางเกตุ หมู่บ้านริมชายทะเล ที่ยังคงรักษาธรรมชาติชายหาดที่สะอาดสวยงาม เหมาะกับนักท่องเที่ยวที่ต้องการความเป็นส่วนตัว มีบริการเต็นท์ ให้เช่า ลิ้มลองเมนูอาหารพื้นถิ่น ชิ ม น้ อ ยหน่ า รสหวาน ผู ้ ค นอั ธ ยาศั ย ดี มี น�้ ำ ใจ ที่กล่าวมานี้มีอยู่ที่ ชุมชนบ้านบางเกตุ

การเดินทางไปบ้านบางเกตุ การเดิ น ทางไปหมู ่ บ ้ า นบางเกตุ หมู ่ ๗ ต.บางเก่า อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี ไปได้หลายทาง ถ้ามาจากถนนเพชรเกษม ฝั่งขาล่องใต้ เมื่อถึง แยกนิคม ให้เลี้ยวซ้ายเข้าทางวนอุทยานเขานาง พั น ธุ รั ต ขั บ รถตรงไปจะถึ ง สี่ แ ยกบ้ า นบางเกตุ หรื อ ถ้ า ใช้ เ ส้ น ทางถนนเลี ย บชายทะเลมาจาก หาดเจ้าส�ำราญ ผ่านปึกเตียน ผ่านวัดโตนดหลวง ต.บางเก่า จะถึงสี่แยกบ้านบางเกตุ ให้เลี้ยวซ้ายไป สุดถนนเป็นชายหาดบ้านบางเกตุ 30 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


แผนทีส่ ถานทีท่ อ่ งเทีย่ วบ้านบางเกตุ

ติดต่อผู้ประสานงาน • •

นายกิตติศักดิ์ สุขประเสริฐ ผู้ใหญ่บ้านบางเกตุ โทร. ๐๘๒-๕๖๑-๙๕๙๖ นายนภดล นกน้อย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านบางเกตุ โทร. ๐๘๗-๙๘๒-๐๕๖๔ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 31


ai

gkhuns Ban

32 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


มดา บ

• หอ

ู่ ูแมลงภ

า้ • ปกู

“นั่งเรือแถกเลน สายธารงานบุญ ศาลเจ้าไต้เซีย หอยเสียบเลื่องชื่อ เลื่องลือบางขุนไทร”

บางขุนไทร BANGKHUNSAI

ค�ำขวัญประจ�ำหมู่บ้าน “บางขุนไทร” หมู่ ๒ ต.บางขุนไทร อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี วิถีชีวิตชุมชน “บ้านบางขุนไทร” ชุมชนชายฝั่งทะเลอ่าวไทย บริเวณ ชายฝั ่ ง มี ส ภาพเป็ น หาดโคลนแหล่ ง ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของ หอยแครง หอยเสียบ มีคลองบางขุนไทรเป็นท่าจอดเรือ ประมงชายฝั ่ ง ด้ ว ยต้ น ทุ น ด้ า นวั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนบางขุนไทร จึงเป็นชุมชน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 33


บ้านบางขุนไทร บ้านบางขุนไทร ตั้งอยู่ในต�ำบลบางขุนไทร อ�ำเภอบ้านแหลม ประกอบไปด้วย ๑๑ หมู่บ้าน สมัยก่อนในต�ำบลบางขุนไทร มีคนอพยพมาตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่เป็นชาวจีน มาท�ำมาหากินทางทะเล หรือประมง ในจ�ำนวน คนที่อพยพมานั้นมีชื่อ “ขุน” อยู่ด้วย ซึ่งท�ำมา หากินโดยการดักปลา วันหนึ่งนายขุนได้มาดัก ปลาในคลองทีม่ ตี น้ ไทรอยู่ ใช้ไซมาดักปลา พอ ถึงเวลามากู้ไซดังกล่าว ปรากฏว่าในไซไม่มี ปลาแต่กลับกลายเป็นทองค�ำ นายขุนดีใจมาก และได้น�ำทองมาขาย และได้น�ำเงินมาสร้าง วัดได้วัดหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า “วัดไทรทอง” ต่อ มาชาวบ้านได้อพยพมาอยู่มากขึ้น เนื่องจาก การประกอบอาชีพทางทะเลมีรายได้ดี จึงเกิดเป็น หมูบ่ า้ นขึน้ สมัยก่อนจะเรียกหมูบ่ า้ นว่า “บาง” เพื่อเป็นสิริมงคลจึงเอาชื่อขุนมารวมกับวัด จึง ใช้ชื่อว่า “บางขุนไทรทอง” และต่อมาเรียกกัน ไปจนกลายเป็น “บางขุนไทร” จนถึงปัจจุบัน

34 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

• คลองบางขุนไทร


• สตรีทอาร์ทบ้านบางขุนไทร • บ้านบางขุนไทร

ชาวชุมชนบ้านบางขุนไทร ส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน ภายใน หมูบ่ า้ นมีศาลเจ้าจีน ชือ่ ว่า “ศาล เจ้าไต้เซีย” เป็นที่เคารพนับถือ ของคนในชุมชน และเป็นสถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี ช าวบ้ า นและผู ้ ค น จากต่ า งถิ่ น มากราบไหว้ ข อพร เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งในเทศกาล และวันปกติ อีกทั้งยังเป็นสถานที่ ประกอบกิ จ กรรมต่ าง ๆ ของ คนในชุมชน เช่น ท�ำบุญศาลเจ้า ประเพณีแจกข้าวสาร ประเพณี เวียนเทียนศาล เป็นต้น อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 35


“ศาลเจ้าไต้เซีย” จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่า ผูแ้ ก่ทอี่ ยูอ่ าศัยในชุมชนว่า ศาลเจ้าแห่งนีม้ อี ายุเก่าแก่กว่า ๓๐๐ ปี มี “เจ๊กกัง” ชาวจีนที่อพยพมาจากเมืองจีนเป็น ผูส้ ร้างศาลเจ้าแห่งนี้ โดยเจ๊กกังได้อาศัยมากับเรือส�ำเภา จีน และน�ำเทพเจ้าไต้เซียมากับเรือด้วยเพื่อเป็นเครื่อง ยึดเหนี่ยวจิตใจในการเดินทางให้แคล้วคลาดปลอดภัย ต่ อ มาได้ ม าขึ้ น ฝั ่ ง ที่ บ ริ เ วณปากคลองบางขุ น ไทร จึงได้น�ำองค์เทพเจ้ามาประดิษฐาน ณ หมู่บ้านแห่งนี้ โดยมีการสร้างศาลเจ้าจากกระบอกไม้ไผ่ ต่อมาได้มี ผู้บูรณะสร้างศาลเจ้าหลังใหม่ ซึ่งไม่ได้ระบุชัดว่าผู้ใด เป็นคนสร้าง จนกระทั่งมาถึงยุคของ “เถ้าแก่เทียนไล้” นายเทียนไล้ ใหญ่กว่าวงษ์ คหบดีผมู้ ชี อื่ เสียงชาวบางขุนไทร ได้มาบูรณะเพิม่ เติมให้มขี นาดใหญ่กว่าเดิม และศาลเจ้า ยุคปัจจุบันได้มีการสร้างขึ้นใหม่โดย “ตระกูลอาม้าหม่า โจ้ว” โดยมี คุณเสาวลักษณ์ สงวนแก้ว พร้อมลูกหลาน และชาวบ้านร่วมกันสร้างขึน้ ใหม่ โดยจัดให้มงี านท�ำบุญ ศาลเจ้าเป็นประจ�ำทุกปี

36 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


ย ยล า

• หอ

หอย แครง

• ชาวบ้านถีบกระดานเก็บหอยบนเลน

• หอ

ยเส

ียบ

ชาวบ้านชุมชนบ้านบางขุนไทรส่วนใหญ่ ท�ำประมงชายฝั่งจับสัตว์ อาทิ ถีบกระดานเก็บ หอยแครง หอยเสียบ หอยลาย โดยใช้ไม้กระดาน เลือ่ นไปบนผิวเลน ชายทะเลบ้านบางขุนไทรแห่งนี้ ถือว่าเป็นแหล่งก�ำเนิด “หอยแครง” ธรรมชาติ แหล่งใหญ่ที่สุดของประเทศไทย และเป็นเพียง ไม่กี่แห่งที่มีการอนุรักษ์วิธีการหาหอยโดยการใช้ แผ่นไม้กระดานถีบไปบนเลน อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 37


นอกจากการจั บ สั ต ว์ น�้ ำ จ� ำ หน่ า ย เป็นรายได้ให้กับชาวชุมชน ยังมีการแปรรูป เป็นอาหารทะเล อาทิ หอยเสียบแห้ง หอย เสียบปรุงรส ปลาทูเค็ม รวมถึงน�ำมาท�ำเป็น เมนูอาหารพื้นถิ่น อาทิ แกงส้มปลาดุกรู

ผั ด ฉ่ า หอยเสี ย บ น�้ ำ พริ ก หอยเสี ย บ ใบโกงกางทอดกรอบ อีกทัง้ ทีน่ ยี่ งั มีการท�ำ “กะปิ” ผลิตจากเคยแท้ไม่ผสม ผ่านขัน้ ตอน การท�ำความสะอาดถูกหลักอนามัย ไม่ใส่สี และวัตถุกนั เสีย กะปิเคยแท้ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ นั้นมีส่วนประกอบหลัก ๒ ชนิด ได้แก่ เคย และเกลือ

• หอยแมลงภู่อบ

าดุกรู

ม้ ปล กแ งส

• ใบโกงกางทอดกรอบ

• น้ำน พริกหอยเสียบ

• หอยเสียบผัดฉ่า • ผลิตภัณฑ์บางขุนไทร

38 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร

• หอยแครงลวก


• ขนมฝรั่งสูตรโบราณ

เมนูอาหารที่ท�ำจากวัตถุท้องถิ่น ที่บ้าน บางขุนไทรยังมีภูมิปัญญาท�ำขนมโบราณ เรียกว่า “ขนมฝรั่งสูตรโบราณ” ให้ได้ลิ้มลองอีกด้วย ขนมฝรั่ ง สู ต รโบราณเป็ น ขนมที่ สื บ ทอดมา ยาวนานกว่า ๑๐๐ ปี ตัง้ แต่รนุ่ คุณย่าเป็นภูมปิ ญั ญา ของคนโบราณที่ ไ ม่ ใ ช้ ผ งฟู ไม่ ใ ส่ ส ารกั น บู ด วัตถุดบิ หลักจะมีสว่ นผสมอยู่ ๓ อย่าง คือ แป้งสาลี น�้ำตาล และ ไข่เป็ด เมื่อน�ำส่วนผสมตีเข้ากัน จนได้ที่แล้ว จากนั้นน�ำมาหยอดลงในแม่พิมพ์ขอบ หยักที่รองก้นด้วยน�้ำมันพืช น�ำขนมเข้าเตาอบ ที่อุณหภูมิ ๓๕๐ องศา ขนมมีลักษณะเนื้อนุ่ม ฟูอร่อย และสามารถเก็บไว้รบั ประทานได้นาน โดยที่ ไม่ใส่สารกันบูด และยังคงรสชาติเดิมไม่เปลีย่ นแปลง มีจำ� หน่ายใส่กล่องสวยงาม เหมาะทีจ่ ะซือ้ เป็นของฝาก อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 39


เมื่ อ มาที่ บ ้ า นบางขุ น ไทรแล้ ว กิจกรรมเด่นทีอ่ ยากให้นกั ท่องเทีย่ วได้เรียนรู้ เปิดประสบการณ์นั้นก็คือ การถีบกระดาน เก็บหอย และ นัง่ เรือแถกเลน เป็นวิถชี วี ติ ของชาวบ้านบางขุนไทรที่ประกอบอาชีพ การท�ำประมงพืน้ บ้าน การเก็บหอยแครง หอยเสียบ หอยลายจึ ง เป็ น อาชี พ ที่ ส ร้ า งรายได้ ข อง คนที่นี่ โดยนักท่องเที่ยวจะนั่งเรือท้องแบน ติดเครือ่ งยนต์ ล่องจากปากคลองบางขุนไทร ภายในหมู่บ้านไปยังบริเวณหาดทะเลโคลน ด้วยวิธีการแถกเลน บริเวณนี้จะเป็นแหล่ง หอยธรรมชาติ น านาชนิ ด ที่ นิ ย มเก็ บ มา จ�ำหน่าย คือ หอยแครง หอยเสียบ และหอยลาย เป็ น การเรี ย นรู ้ วิ ธี ถี บ กระดานแผ่ น ไม้ บนเลนเก็บหอย วิธีการนี้เป็นการช่วยอนุรักษ์ ให้หอยชนิดต่าง ๆ ในบริเวณนี้ยังมีอยู่อย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมปลูกไม้ • ถีบกระดานเก็บหอย ป่าชายเลน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติรอบบริเวณหาดทะเลโคลนในเขต ต�ำบลบางขุนไทรให้คงสภาพสมบูรณ์ต่อไป • นั่งเรือแถกเลน

40 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


• บ้านพักโฮมสเตย์

ที่ บ ้ า นบางขุ น ไทร ยั ง มี บ ริ ก ารที่ พั ก ให้ นักท่องเที่ยวในรูปแบบ “บ้านโฮมสเตย์” บ้านพัก บรรยากาศสบาย ๆ ท่ามกลางชุมชนชาวประมง ตั้งอยู่ใกล้ ๆ กับ “ศาลเจ้าไต้เซีย” เป็นบ้านไม้ ๒ ชั้น แบ่ ง ห้ อ งพั ก เป็ น ห้ อ ง ๆ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะ มาเดี่ยวหรือมาเป็นหมู่คณะ ๑๐-๒๐ คน รวมถึง ร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับชุมชน นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมเรียนรู้ชุมชน พร้อมรับประทานอาหาร ทะเลสด ๆ ด้วยเมนูอาหารพื้นบ้านตามแบบฉบับ บ้านบางขุนไทรทีเ่ ตรียมไว้สำ� หรับรองรับการให้บริการ นักท่องเที่ยวที่สนใจติดต่อมาล่วงหน้าอีกด้วย อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 41


การเดินทางไปบ้านบางขุนไทร การเดินทางไปชุมชนบ้านบางขุนไทร หมู่ ๒ ต.บางขุนไทร อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ระยะทางประมาณ ๑๕ กิโลเมตร เริ่มจากศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี ขับรถข้ามสะพานข้ามแม่นำ�้ เพชรบุรไี ปทางถนนพงษ์สรุ ยิ า ผ่านหน้า วัดใหญ่สุวรรณาราม ข้ามทางรถไฟไปทางอ�ำเภอบ้านแหลม จะพบสามแยก สามารถ ใช้เส้นทางได้ดังนี้ ๑) เลี้ยวซ้ายไปทางอ�ำเภอบ้านแหลมไปตามถนนสายหลักประมาณ ๑๒ กิโลเมตร จะถึงสี่แยกหน้าที่ว่าการอ�ำเภอบ้านแหลม เลี้ยวขวาไปต�ำบลบางขุนไทร ประมาณ ๔.๕ กิโลเมตร จะถึงทางแยกเข้าวัดไทรทอง ให้เลีย้ วซ้ายเข้าหมูบ่ า้ นไปประมาณ ๑.๒ กิโลเมตร เส้นทางที่ ๒ เมื่อข้ามทางรถไฟมาแล้ว ให้วิ่งตรงไปตามถนนสายหลัก ผ่านต�ำบลช่องสะแก ต�ำบลบางจาน ประมาณ ๘ กิโลเมตร จะเข้าเขตต�ำบลบางขุนไทร เมื่อถึงสามแยกให้เลี้ยวซ้าย ผ่านวัดดอนผิงแดด ขับไปประมาณ ๔ กิโลเมตรก็จะถึงแยก วัดไทรทอง ให้เลี้ยวขวาเข้าหมู่บ้านบางขุนไทร 42 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


แผนที่สถานที่ท่องเที่ยวบ้านบางขุนไทร

ติดต่อผู้ประสานงาน • น.ส.เสาวลักษณ์ จงดี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๒ โทร. ๐๙๙-๙๒๙-๘๕๙๙ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 43


เที่ยวถ�้ำโบ้ โอ้โห้ คีรีวงศ์ สัมผัสวิถี ไทยทรงดำ� เพชรบุรี

i Wong r i h K n Ba

44 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


บ้านคีรีวงศ์ BAN KHIRI WONG

ชุมชนบ้านคีรีวงศ์ หมู่ ๔ ต.หนอง ชุมพลเหนือ อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี เป็น ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ชุมชนแห่ง นี้ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อสายไทยทรงด�ำ หรือ “ลาวโซ่ง” ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนและ ท�ำการเกษตรรอบบริเวณ “เขาอีบิด” ภูเขา หินปูนขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างที่สวยงาม มี ช่องเขาที่ทะลุรูปขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียก กันว่า “ถ�้ำโบ้” หรือ “ถ�้ำโบ๋ว” ตามภาษา ของชาวไทยทรงด�ำ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 45


• ถ�้ำโบ้

• เขาอีบิด

46 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร

ตามต�ำนานเล่าว่า เดิมทีพนื้ ทีบ่ ริเวณนีเ้ คยเป็นท้อง ทะเลมาก่อน มีเรือส�ำเภาจีนล่องมาชนภูเขาลูกนี้ ท�ำให้ ภูเขาบิดตัวจึงเรียกว่า “เขาอีบดิ ” อีกต�ำนานหนึง่ ก็กล่าวใน ลักษณะคล้ายกัน คือ มีเรือส�ำเภาจีนมาล่มบริเวณภูเขาลูกนี้ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “บ้านหัวเขาจีน” หรือ “ห้วยจีน” มีชาว จีนอพยพเขามาตั้งถิ่นฐาน กระทั่งต่อมามี ชาวไทยทรงด�ำ หรือ “ลาวโซ่ง” อพยพมาจาก ต.หนองปรง ต.ห้วยท่าช้าง อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณนี้ ประกอบ มีพระสงฆ์ต้ังส�ำนักสงฆ์บริเวณเชิงเขาด้านทิศตะวันออก เรียกว่า “ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำโบ๋ว” ค�ำว่า “โบ๋ว” เป็นภาษาไทย ทรงด�ำ แปลว่า ช่องเขาทีท่ ะลุเป็นรูโหว่ ต่อมาส�ำนักสงฆ์ได้ ตัง้ เป็นวัดชือ่ “วัดคีรวี งศ์” จึงเรียกชือ่ หมูบ่ า้ นแห่งนีพ้ อ้ งกับ ชื่อวัดในปัจจุบัน


ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่จะเป็นคนไทยเชื้อสาย ไทยทรงด�ำ หรือ “ลาวโซ่ง” ที่ยังมีความเชื่อความศรัทธา ตามประเพณีดั้งเดิม กล่าวคือ ยังนับถือแถน ผีบ้านผีเรือน ผีบรรพบุรุษ ประกอบพิธีกรรม เสนเรือน (เซ่นไหว้บรรพบุรุษ) พิธีงานศพ (เอดแฮว) งานอินก้อน ฟ้อนแคน หรือการ ร่ายร�ำตามจังหวะเสียงแคนทีน่ ยิ มจัดในเดือน เมษายนของทุกปี

• พีน่ อ้ งชาวไทยทรงด�ำ

BAN KHIRI WONG

• ไทยทรงด�ำ

• ภูมิปัญญาปักลายหน้าหมอน อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 47


แหล่งท่องเที่ยวในหมู่บ้านคีรีวงศ์

วัดคีรวี งศ์ ศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน นักท่องเทีย่ วเดินทางเข้ามานมัสการ “พระพุทธ วัชรมงคล” หรือทีช่ าวเรียกว่า “หลวงปูโ่ ต” พระพุทธรูปปางขัดสมาธิองค์ใหญ่ หน้าตักกว้าง ๕

วา ๓ ศอก ๙ นิ้ว มีความสูง ๘ วา ๒ ศอก ๙ นิ้ว ประดิษฐานบริเวณเชิงเขาอีบิดด้านทิศตะวัน ออก “พระพุทธวัชรมงคล” เป็นนามพระราชทานที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุย เดชฯ รัชกาลที่ ๙ ทรงพระกรุณาพระราชทานนาม พร้อมทัง้ ทรงมีพระมหากรุณาธิคณุ พระราชทาน ตราสัญลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในงานมหามงคล ๕ รอบ ๖๐ พรรษา ประดิษฐานไว้ที่ผ้าทิพย์พระพุทธรูป ในช่วงเทศกาลตรุษจีนของทุกปี ทางคณะ สงฆ์และชาวบ้านร่วมกันจัดงานปิดทองสักการะองค์หลวงปู่โต ประเพณีห่มผ้าองค์พระหลวงปู่โต บริเวณลานด้านบนหน้าองค์พระหลวงปู่โต ยังเป็นจุดชมวิวทิวทัศน์รอบวัดและหมู่บ้าน มองเห็น “เขาอีโก้” ภูเขาหินปูนอีกลูกหนึ่งที่ตั้งอยู่ไม่ไกลนัก

• วัดคีรีวงศ์

• พระพุทธวัชรมงคล 48 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


• ถ�้ำโบ้

• ปากถ�้ำโบ้

เขาอีบิด เป็นภูเขาหินปูนขนาดใหญ่มีลักษณะ บนเขาอีบดิ ยังมีถำ�้ อีกหลายถ�ำ้ ทีน่ า่ สนใจเดินไปเทีย่ วชม ได้แก่ ถ�้ำโบ้ และ ถ�้ำเสือ ส�ำหรับ “ถ�้ำโบ้” เป็นไฮไลท์ หนึ่งของเขาอีบิด เป็นช่องเขาขนาดใหญ่อยู่สูงจากพื้น ประมาณ ๑๐๐ เมตร ทางเข้าเขาเป็นโพรงขนาดใหญ่ ทะลุถึงกันทั้ง 2 ฝั่ง คือด้านฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวัน ตก ภายในถ�้ำมีหินงอกหินย้อยที่ธรรมชาติรังสรรค์ไว้ • หินงอกหินย้อย ถ�้ำโบ้ อย่างสวยงาม เมื่อเดินขึ้นไปขึ้นถ�้ำจะมองเห็นวิวทัศน์ ของอ�ำเภอเขาย้อยอย่างสวยงาม มองเห็นเส้นขอบฟ้า ขนานกับท้องทะเลและแผ่นดิน ส่วน “ถ�้ำเสือ” ตาม ประวัติเล่าว่า เป็นสถานที่วิปัสสนาของอดีตเจ้าอาวาส ผู้ก่อตั้งวัดคีรีวงศ์ ๓) ไร่ผักกาด เป็นแปลงเกษตรอินทรีย์ด�ำเนิน การโดย นายสาน โพธิ์งาม เกษตรกรเจ้าของรางวัล “โคกหนองนาโมเดล” ผูท้ ยี่ ดึ แนวทางเกษตรอินทรียต์ าม ศาสตร์พระราชา ท�ำนาปลูกข้าวพันธุ์ต่าง ๆ อาทิ ข้าว ไรซ์เบอร์รี่ โดยไม่ใช้สารเคมียาฆ่าแมลง

• ไร่ผักกาด อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 49


ชาวชุมชนบ้านคีรีวงศ์ ส่วนใหญ่ มีเชื้อสายไทยทรงด�ำที่อพยพมาจากเมือง เดียนเบียนฟู ประเทศเวียดนาม อพยพมา ตั้งถิ่นฐานที่เมืองเพชรบุรีตั้งแต่สมัยพระเจ้า กรุงธนบุรี และช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ส่วน มากอาศัยอยู่บริเวณ อ.เขาย้อย และอ�ำเภอ ต่าง ๆ ของจังหวัดเพชรบุรี ชาวไทยทรงด�ำ หรือ “ลาวโซ่ง” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความ เข็มแข็งทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ทั้งเรื่อง พิธีกรรมความเชื่อ ประเพณีอิ้นกอน ฟ้อน แคนที่นิยมจัดงานในช่วงเดือนเมษายน มี ภาษาของตนเองที่ใช้ในการสื่อสาร การทอ ผ้า การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยการ สวมใส่เสื้อผ้าโทนสีด�ำ นุ่งผ้าซิ่นลายแตงโม ผู้หญิงจะมีการเกล้าผมเรียบร้อยสวยงาม มี เมนูอาหารพื้นถิ่น อาทิ แกงหน่อส้ม ผักจุ๊บ ปลาร้าทรงเครื่อง แจ่วด้าน รวมถึงชาวบ้าน ทีน่ ย้ี งั น�ำผลผลิตทีป่ ลูกได้นำ� มาท�ำเมนูอาหาร เช่น กลอยทอด ทอดมันหัวปลี ทอดมันเปราะ เป็นต้น

• แกงหน่อส้ม • ผักจุ๊บ

• ทอดมันหัวปลี

• ปลาทอด 50 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร

• แจ่วดา้ น


• ผลิตภัณฑ์จากล้วย

• งานจักสารทางมะพร้าว

นอกจากพืชผลทางการเกษตร ชุมชน บ้านคีรวี งศ์ยงั มีการรวมกลุม่ แม่บา้ นท�ำอาหาร แปรรูปชนิดต่าง ๆ เช่น กล้วยทอด กล้วยตาก กล้วยฉาบ ขนมดอกจอก พริกแกง แจ่วด้าน รวมถึงการท�ำผลิตภัณฑ์จากทางมะพร้าว จักสาน โดยการน�ำก้านทางมะพร้าวมาสาน เป็นตะกร้ารูปทรงต่าง ๆ โดยมี นางส�ำลี น้อยเสงี่ยม หรือ ป้าหลด เป็นหัวหน้ากลุ่ม เป็นผูถ้ า่ ยทอดความรูใ้ ห้กบั ชาวบ้านในชุมชน อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 51


• ตลาด ๓ ชุม

นอกจากนี้ ชาวชุมชนบ้านคีรีวงศ์ ได้ ร่วมกับ ชาวชุมชนบ้านหนองประดู่ ชุมชนบ้าน มณีเลือ่ น ซึง่ อยูใ่ นต�ำบลหนองชุมพลเหนือ จัด ตัง้ ตลาดชุมชนมีชอื่ ว่า “ตลาด ๓ ชุม” โดยการ สนับสนุนจาก ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เพชรบุรี องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองชุมพล เหนือ ตั้งอยู่บริเวณริมถนนข้างอ่างเก็บน�้ำ เขาอีบิด ใกล้ ๆ กับจากวัดคีรีวงศ์ จ�ำหน่าย สินค้าชุมชน ผลผลิตทางการเกษตร สินค้า แปรรูป อาหารปรุงส�ำเร็จให้กับนักท่องเที่ยว กับชาวบ้านในละแวก เปิดบริการเฉพาะวันเสาร์ และวันอาทิตย์ เพื่อเปิดโอกาสให้ชาวบ้านทั้ง ๓ ชุมชนและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง น�ำสินค้าผลิตภัณฑ์ อาหารต่าง ๆ มาจ�ำหน่ายสร้างรายได้

52 \ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร


อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 53


ชุมชนบ้านคีรีวงศ์ ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ทีม่ ตี น้ ทุนด้านแหล่งท่องเทีย่ วตามธรรมชาติ อย่าง “ถ�ำ้ โบ้” เขาอีบดิ มีวดั คีรวี งศ์ทเี่ ป็นศูนย์รว่ มใจ ของชาวชุมชน รวมถึงวัฒนธรรมชาวไทยทรงด�ำทีย่ งั อนุรกั ษ์ประเพณีวฒั นธรรมไว้อย่างเข้มแข็ง เกิดการ ร่วมมือของคนในชุมชนโดยใช้ทุนทางสังคมทุนทาง วัฒนธรรมในการขับเคลื่อนชุมชนตามวิถีเศรษฐกิจ พอเพียงให้เกิดความยั่งยืนสืบต่อไป

การเดินทางไปหมู่บ้านคีรีวงศ์ การเดิ น ทางไปหมู ่ บ ้ า นคี รี ว งศ์ หมู ่ ๔ ต.หนองชุมพลเหนือ อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี ใช้เส้น ทางถนนเพชรเกษมฝั่งขาขึ้นกรุงเทพฯ ผ่านหน้าที่ ว่าการอ�ำเภอเขาย้อย เลี้ยวซ้ายเข้าถนนทางหลวง ชนบทเส้น ๑๐๐๓ ระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตร จะถึงหมู่บ้านคีรีวงศ์ 54 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


แผนที่สถานที่ท่องเที่ยวบ้านคีรีวงศ์

ติดต่อผู้ประสานงาน • •

นายประยูร บุญรอด โทร. ๐๘๕-๑๑๓-๓๒๓๗ นายทวี กิตติไชยเจริญผล โทร. ๐๘๐-๖๕๓-๓๖๘๘ อารยธรรมลุม่ น�ำ้ เพชร 55


คณะผู้จำ�ทำ� ที่ปรึกษา นายสุเทพ สงวนคัมธรณ์ ผู้จัดท�ำ นายโรม โสนาค น.ส.บุบผา อุทัยทอง น.ส.จิรนันท์ ธรรมชาติ นายไพโรจน์ เดชาถิรนันท์ น.ส.อริยา สายน�้ำเขียว นายวีรพร ศรีพุฒตาล น.ส.ปัญจรัตน์ ฐิติรัชชพันธุ์

พัฒนาการจังหวัดเพชรบุรี ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี ผู้อน�ำวยการกลุ่มประสานและสนับสนุนการบริหารงานพัฒนาชุมชน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

ข้อมูลผู้จัดทำ� ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

ศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี (หลังเก่า) ชั้น ๒ ถนนราชวิถี ต�ำบลคลองกระแชง อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดเพชรบุรี ๗๖๐๐๐ โทรศัพท์ : ๐-๓๒๔๒-๓๕๗๐ โทรสาร : ๐-๓๒๔๐-๐๕๗๐ เว็บไซต์ : https://phetchaburi.cdd.go.th/ Facebook : cod.phetchaburi

56 \ อารยธรรมลุ่มน�้ำเพชร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.