คู่มือศึกษาการรวบรวม และ กระจายสัญญาณระบบทีวดี ิจิตอล
สารบัญ เรื อง
หน้า
แผนผังระบบ
1
แผนผังระบบ(แบบเส้น)
2
การออกอากาศแบบอนาล็อก
3
การรวมสัญญาณ Multiplexe
4-6
ตารางแสดงช่องรายการ และประเภทช่องทีวี
7-8
HDTV และ SDTV
9-12
ห้อง Head End (ศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล)
13-18
ศูนย์ Call center
18-20
ขันตอนการทํางานของเครื องมือต่าง ๆ
21-28
EPG (Electronic Program Guide)
29-31
DVB – T2
32-34
การแพร่ กระจายสัญญาณ
34-37
Router Switch
37-39
2
~3~ การออกอากาศที วีแ บบอนาล็ อ กเดิ ม ใช้ค ลื นความถี VHF low/High band โดยแบ่ ง ออกเป็ นช่อง ตังแต่ช่อง 2-12 และ คลืนความถี UHF IV/V band ช่อง 21-69 ใน 1 ความถีหรื อ 1 ช่องจะออกอากาศได้เพียง 1 ช่องรายการเท่านัน เช่น ช่อง 3 ออกอากาศย่าน VHF low band ความถี 55 MHZ ช่อง 5 ออกอากาศย่าน VHF high band ความถี 175 MHZ ช่อง 7 ออกอากาศย่าน VHF high band ความถี 189 MHZ ช่อง 9 ออกอากาศย่าน VHF high band ความถี 203 MHZ ช่อง 11 ออกอากาศย่าน VHF high band ความถี 217 MHZ ความถีย่าน VHF low/High band ช่อง 2-12 ถูกใช้ไปหมดแล้ว สถานีช่องใหม่จึงต้องไป ใช้ย่าน UHF ที เหลื ออยู่ ช่ อง ThaiPBS (ช่ อง 26) ออกอากาศย่าน UHF IV band ความถี 514 MHZ และในแต่ละพืนทีก็จะใช้คลืนความถีทีติดกันไม่ได้เพราะจะทําให้เกิดการรบกวนกัน จึงทําให้ส่งออกอากาศได้จาํ นวนช่องทีน้อยและสัญญาณรบกวนสู ง เมือมาถึ งยุคดิ จิตอลจึง พัฒนารู ปแบบการออกอากาศใหม่ โดยการรวมช่องทีวีหลาย ๆ ช่อง มาอยูใ่ น steam เดียวกัน (Multiplexer มัลติเพล็กเซอร์) หรื อย่อว่า MUX อ่านว่า "มักซ์" ก่อนส่ งออกอากาศไปพร้อมกัน ใน 1 ช่องความถี หรื อ 1 MUX (ผูใ้ ห้บริ การโครงข่าย) ทําให้ 1 ช่องความถี หรื อ 1 MUX มีช่อง รายการมากขึนกว่าเดิม
~4~
รู ปที 4.1 การรวมสัญญาณ ในรู ปแบบ Multiplexe
~5~
รู ปที 4.2 ตารางเปรี ยบเทียบ รู ปแบบการส่ งสัญญาณ จากตารางจะสังเกตได้ดงั นี - ดิจิตอลทีวใี ช้ความถีย่าน UHF band IV/V คือช่อง 21-69 -ความกว้างของ 1 ช่องสัญญาณเท่ากับ 8 MHZ - ทีวแี บบอนาล็อก 1 ช่องความถี ออกอากาศได้ 1 ช่องรายการ
~6~ - ที วีแบบดิ จิตอล 1 ช่ องความถี หรื อ 1 MUX ความคมชัด แบบ SDTV = 20-24 ช่ อง รายการ 1 ช่องความถี หรื อ 1 Mux ความคมชัดแบบ HDTV = 2 ช่องรายการ ความคมชัดแบบ SDTV = 10-12 ช่องรายการ 1 ช่องความถี หรื อ 1 Mux ความคมชัดแบบ HDTV = 4 ช่องรายการหรื อมากกว่า
รู ปที 4.3 ตารางแสดงความถีในแต่ละ MUX
~7~
รู ปที 4.4 ตารางแสดงประเภทของช่องทีวี และ MUX
~8~
รู ปที 4.4 แสดงช่องรายการทังหมดของ ทีวีดิจิตอลไทย
~9~ HDTV และ SDTV ในปัจจุบนั นีมีทีวตี ่าง ๆ ให้เลือกใช้มากมายหลายยีห้อ ซึงราคานันก็แตกต่างตามความสามารถ รู ปทรง และ ปั จจัยอืน ๆ ทีวแี ต่ละรุ่ นนันมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป ในบางครังถ้ามองแค่ ภายนอก หรื อเทียบกันทีขนาดของจอภาพอาจพบว่า ทีวีทีมีขนาดเล็กนันมีราคาทีสู งกว่า ในขณะทีทีวจี อใหญ่กลับมีราคาทีถูกกว่า HDTV (High Definition Television) คือ "โทรทัศน์ความคมชัดสู ง" เรี ยกกันสันๆว่า HDTV หรื อ ทีวรี ะบบ ไฮ-เดฟ มีการรับส่ ง สัญญาณภาพในแบบจอกว้าง(Wide screen ) มีอตั ราส่ วนการแสดงผลของจอภาพอยูท่ ี 1280 x 720 พิกเซล และระบบ " Full HDTV" ทีให้ความละเอียดของจอภาพอยูท่ ี 1920 x 1080 พิก เซล HDTVโดยทัวไปจะเป็ นระบบดิจิตอลทีให้ความละเอียดของภาพ และระบบเสี ยงรอบ ทิศทาง เพิมอรรถรสในการรับชมทีวไี ด้สมจริ งมากยิงขึน ซึ งนอกจากทีวีแล้ว จอภาพแบบ HD ยังนําไปใช้กบั โทรศัพท์มือถือ กล้องถ่ายรู ป กล้องวงจรปิ ด และหน้าจอคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างความละเอียด • • • •
480p = 338,000 pixels / frame (704 x 480) 720p = 922,000 pixels / frame (1280 x 720) 1080i = 1,037,000 pixels / frame (1920 x 1080) 1080p = 2,074,000 pixels / frame (1920 x 1080)
~ 10 ~ ตัวอย่างความละเอียดภาพแบบ HD และ SD
รู ปที 4.5 ภาพแสดงความแตกต่ าง HDTV และ SDTV Full HD มีขนาด 1,920 x 1,080p HD มีขนาด 1,280 x 720p SD มีขนาด 720 x 480 SDTV (Standard Definition Television) คือ "โทรทัศน์ค วามคมชัดปกติ" หรื อ "โทรทัศน์ค วามชัด เจนมาตรฐาน" เป็ นการส่ ง สั ญ ญาณภาพในรู ป แบบอนาล็ อ กที ใช้ก ัน อยู่ใ นปั จ จุ บ ัน มี ก ารแสดงภาพอยู่ 3 ประเภท คือ NTSC, PAL, และ SECAM มี อตั ราส่ วนการแสดงผลของจอภาพอยู่ที 720 x 480 พิกเซล ซึ งมีค วามละเอียดในการแสดงผลทีค่อนข้างน้อย แม้ว่าเราจะดูทีวีทีมี ขนาดจอกว้า งขึน แต่
~ 11 ~ ความคมชัดของภาพก็ไม่เพิมขึนเท่าทีควร นี จึงเป็ นอี กหนึ งปั จจัยสําคัญทีนําไปสู่ การพัฒนา ระบบการส่ งสัญญาณทีวเี ป็ นระบบดิจิตอล ตัวอย่างความละเอียดการแสดงภาพ NTSC (National Television System Committee) 60 Field/second , 30 Frame/second , 525 Line/Frame PAL (Phase Alternate Line) 50 Field/second , 25 Frame/second , 625 Line/Frame SECAM (Sequential Color and Memory) 50 Field/second , 25 Frame/second , 625 Line/Frame
ซึ งทางสถานี วิทยุโทรทัศ น์กองทัพบก ช่อง มี หน้าทีดู แลรับผิด ชอบ สัญญาณ MUX2 และ MUX5 โดย MUX2 มี จาํ นวน ช่ อง แบ่งเป็ นช่อง HDTV ช่ อง และ SDTV ช่อง MUX5 มีจาํ นวน ช่อง แบ่งเป็ น HDTV ช่อง SDTV ช่อง โดยมีรายชือช่อง ดังนี
~ 12 ~
รู ปที 4.6 ภาพตารางช่องรายการต่าง ๆ ทีใช้บริ การ
~ 13 ~ ห้อง Head End (ศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล) คือห้องอุปกรณ์ ระบบต้นทางหรื อต้นแหล่ง ของระบบที วีรวมทังหมดไว้ทีจุดเดี ยว ก่อนส่ งเข้าระบบแยก สัญญาณ เพือความสะดวกและง่ายในการควบคุมดูแลระบบ และรวมถึ งสามารถปรับแต่ง ช่องสัญญาณให้มีระดับทีเหมาะสมได้ง่ายด้วย เป็ นการรวมสัญญาณทีวีจากระบบเสาอากาศ ทีวี , จานดาวเทียม , DVD , VCD , กล้องวงจรปิ ด , และช่องรายการทีวีอืนๆทีต้องการเผยแพร่ เพือให้ผทู้ ีต้องการรับชม โดยหน้าทีหลัก 1. Monitor ระบบ 2. ควบคุมการทํา Electronic Program Guide 3. Call Center
~ 14 ~
รู ปที . ภาพศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล
~ 15 ~
รู ปที 4.8 ภาพศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล
~ 16 ~
รู ปที 4.9 ภาพศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล ภายในศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล จอภาพ Monitor จะ แบ่งเป็ น ฝังหลัก ๆ 1. Monitor สัญญาณ ทีถูกส่งเข้ามาจากช่อง 2. Monitor สัญญาณ ทีถูกถ่ายทอดอยูใ่ นเวลาปัจจุบนั
~ 17 ~
รู ปที 4.10 ภาพ Monitor สัญญาณทีถูกส่งเข้ามาจากช่องต่าง ๆ
~ 18 ~
รู ปที 4.11 ภาพ Monitor สัญญาณทีถูกถ่ายทอดอยูใ่ นเวลาปัจจุบนั ศูนย์ Call Center ททบ. ได้จดั ตัง Call Center ขึนทีศุนย์รวบรวม และกระจายสัญญาณ เพือตอบข้อ ซักถาม และแก้ไขปั ญหาให้ประชาชนในพืนทีต่าง ๆ ทัวประเทศ ตลอด ชัวโมง ทุกวัน ที เบอร์ -2615-2294-5
~ 19 ~
รู ปที 4.12 ภาพศูนย์ Call Center การดําเนินการของศูนย์ Call Center 1. รับเรื องร้องเรี ยน โดยขอทราบรายละเอียด ทีอยู่ อุปกรณ์ทีใช้ ปัญหาทีเจอ 2. แนะนําให้แก้ปัญหาด้วยตัวเองก่อน 3. ถ้าแก้ปัญหาด้วยตัวเองไม่ได้ จะรับเรื องไว้ก่อน
~ 20 ~ 4. ถ้าอยูใ่ นพืนที กทม. และปริ มณฑล จะส่ งชุดช่างจาก ททบ. ไปช่วยแก้ไขปั ญหา แต่ถา้ อยูใ่ นพืนทีต่างจังหวัดประสานเจ้าหน้าทีสถานีโครงข่ายใกล้เคียงแก้ไขปัญหาให้
รู ปที 4.13 ภาพศูนย์ปฏิบตั ิการโครงข่ายโทรทัศน์ระบบดิจิตอล
~ 21 ~
รู ปที 4.14 ภาพศูนย์ปฏิบตั ิการ ภายในห้องเก็บเครื องมือ ห้องเก็บเครื องมือ จะเก็บรวบรวมเครื องมื อทุกชนิ ดรวบรวมภายในห้องเดียว ซึ ง ภายในห้องนีมีการควบคุมอุณหภูมิเพือให้เครื องมือทํางานได้อย่างปกติ ซึ งเริ มจากสัญญาณตังต้นทีถูกส่ งมาจากช่ อง ต่าง ๆ ถู กต่อเข้ากับเครื องมื อ IRD (Integreated Receiver&Decoder) เพือแปลงสั ญญาณให้เป็ นสั ญญาณ ภาพ และเสี ยง ซึ งเป็ น สัญญาณ ASI เพือนําสัญญาณไปใช้ในกระบวนการต่อไป โดยแต่ละช่ องรายการ มักจะส่ ง สัญญาณ มาช่องละ - สัญญาณ เพือป้ องกันความผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึนในการส่ งสัญญาณ โดยจะใช้สัญญาณใด สัญญาณหนึ ง เป็ นสัญญาณหลัก หากสัญญาณหลักมีปัญหาหาความ ผิดพลาดเกิดขึน ทางสถานีจะทําการสลับสัญญาณ โดยนําสัญญาณรองมาใช้งานเพือให้การ ออกอากาศเป็ นไปอย่างราบลืน
~ 22 ~
รู ปที 4.15 ภาพเครื องมือ IRD (Integreated Receiver&Decoder)
~ 23 ~
รู ปที 4.16 ภาพเครื องมือ IRD (Integreated Receiver&Decoder)
~ 24 ~
รู ปที 4.17 ภาพเครื องมือ IRD (Integreated Receiver&Decoder)
~ 25 ~
รู ปที 4.18 ภาพสัญญาณจากช่องถูกส่ งเข้ามายังห้อง Head End ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ต่ อ จาก เครื องมื อ IRD (Integreated Receiver&Decoder) สั ญ ญาณจะถู ก ส่ ง ต่ อ มาที เครื องมื อ Encoder โดยเครื องมื อนี จะทําการแปลงสั ญญาณจาก ASI เป็ นสั ญญาณ IP เป็ น สัญญาณดิจิตอล และถึงจะส่ งต่อไปยังเครื องมือ MUX (Multiplexer)
~ 26 ~
รู ปที 4.19 ภาพเครื องมือ Encoder และ Multiplexer
~ 27 ~
รู ปที 4.20 ภาพเครื องมือ Encoder และ Multiplexer ซึ งเครื องมือ Multiplexer จะทําหน้าทีในการรวมสัญญาณ IP เข้าด้วยกัน หรื อการรวม ช่องที วีหลาย ๆ ช่อง มาอยู่ใน steam เดี ยวกัน โดยรวมเป็ น สัญญาณ ทําให้ 1 ช่ องความถี หรื อ 1 MUX มีช่องรายการมากขึนกว่าเดิม
~ 28 ~
รู ปที 4.21 ภาพเครื องมือ T2 Gateway เครื องมื อ T2 Gateway มี ห น้า ที ให้ สั ญ ญาณผ่า นไปยัง เครื องมื อ IPG (IP Guard) ซึ ง เครื องมื อ IPG (IP Guard) มี ห น้า ที ในการคัด เลื อ กสั ญ ญาณ ที ถู ก ส่ ง ออกมาจากเครื องมื อ Multiplexer โดยสั ญ ญาณที ถู ก ส่ ง ออกมาจากเครื องมื อ Multiplexer จะเป็ นสั ญ ญาณแบบ คู่ขนาน โดยมี สัญญาณ IPG (IP Guard) จะทําหน้าทีสลับสับเปลียนสัญญาณ ยกตัวอย่างเช่ น สัญญาณที มีปัญหา เครื องมือ IPG (IP Guard) จะทําการสลับไปใช้สัญญาณที
~ 29 ~ EPG (Electronic Program Guide) เป็ นบริ ก าร Data Boardcasting ประเภทหนึ ง เป็ นบริ ก ารข้อมู ลส่ งไปพร้ อมกับ สัญญาณภาพ เป็ นเสมือนแผนผังของรายการต่าง ๆ ทีเป็ นข้อความบอกถึงรายละเอียดต่าง ๆ ทําให้ผรู ้ ับบริ การสามารถเปิ ดเลือกชมรายละเอียดการออกอากาศ อาทิ ค้นหาผังรายการ, เวลา เริ มและเวลาจบของรายการ, ข้อมู ล สั นๆประกอบรายการ, ตรวจสอบสภาพภู มิ อ ากาศ, พยากรณ์อากาศ, ค้นหารายการท้องถิน, บอกรายละเอียดบริ การเสริ มอืนๆ ฯลฯ ในประเทศ ญี ปุ่ นจะแสดงรายการโทรทัศ น์ ล่วงหน้า ได้ 8 วัน ผูช้ มสามารถใช้รีโมทกดปุ่ มเลื อกค้นหา รายการทีกําหนดใว้ หรื อเลือกแสดงข้อมูลต่างๆได้สะดวกด้วยตนเองและสามารถตังเวลาเพือ บันทึกรายการ ตามที ผัง รายการกําหนดไว้ได้ โดยผ่านตัวรี โมท ควบคุ ม ผ่าน Set Top Box (STB) ทีเชือมต่อกับ Recorder ได้โดยตรง ( หากต่ออุปกรณ์บนั ทึกร่ วมกับ STB ) ซึ งในการแก้ไข หรื อทําการ เพิมเติม EPG นัน ทําได้โดยผ่าน เว็บบราวเซอร์ ซึ งก่อน ทําให้ใส่ ผงั EPG นันจะต้องทําการดาวน์โหลดผัง EPG จากเว็บ กสทช. ซึ งเป็ นเว็บส่ วนกลาง ทีทางช่องต่าง ๆ จะทําการ อัพโหลด ผัง EPG ในช่องของตนเองมาใส่ ไว้ในเว็บของ กสทช โดยการเพิมผัง EPG นัน เว็บบราวเซอร์ จะทําการติดต่อกับเครื องมือ T2 Gateway เพือทําการ ส่ งข้อมูลไปกับสัญญาณ
~ 30 ~
รู ปที 4.22 ภาพเว็บบราวเซอร์ จัดการ ผัง EPG
~ 31 ~
รู ปที 4.23 ภาพเว็บ EPG ส่ วนกลาง กสทช.
~ 32 ~
รู ปที 4.24 ภาพ DVB-T2 โทรทัศน์ระบบดิจิตอลหรื อดิจิตอลทีวี เป็ นการส่ งสัญญาณภาพและเสี ยงในระบบดิจิต อประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ งการแพร่ สัญญาณนัน สถานี วิทยุโทรทัศน์วิทยุกองทัพบก ช่อง ได้ใช้ ระบบการเผยแพร่ แบบ DVB-T2 มี การส่ งสัญญาณทีเรี ยกว่า multicasting คือรับส่ งข้อมูลได้ จํานวนมากใน 1 ช่องสัญญาณ ซึ งเป็ นการนําเอาเทคโนโลยีความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์ มา ปรับใช้กบั ระบบการส่ งสัญญาณโทรทัศน์ ทําให้เกิดการส่งและรับสัญญาณในรู ปแบบดิจิตอล ซึ งทัวโลกให้ความสนใจและหันมาปรับใช้ แบ่งออกเป็ น 3 ระบบคือ
~ 33 ~ 1. ระบบแพร่ ภาพดิจิตอลผ่านดาวเทียม (DVB-S The Digital Video Broadcasting Satellite System) 2. ระบบแพร่ ภาพดิจิตอลผ่านสายเคเบิล (DVB-C the digital cable eleliverly system) 3. ระบบแพร่ ภาพดิจิตอลภาคพืนดิน (DVB-T the Digital Terrestrial Television System) สําหรับในประเทศไทย ทาง กสท.ได้มีมติเลือกใช้ระบบการแพร่ ภาพแบบ DVB-T คือ มาตรฐานการส่ งโทรทัศน์ภาคพืนดินระบบดิจิตอลทีนิยมและทันสมัยมากทีสุ ดในเวลานี ซึ ง หลายประเทศได้นาํ เอาไปใช้กนั อย่างแพร่ หลายและเป็ นทียอมรับ โดยเฉพาะประเทศในฝัง ยุโรป แถบประเทศเพือนบ้านของเราก็มีการใช้ระบบ DVB-T เช่นกัน ยิงทําให้ลดปั ญหาของ การรับสัญญาณระหว่างประเทศใกล้เคียง และเนืองจากประเทศไทยพัฒนาระบบช้าจึงต้อง ข้ามมาใช้แบบ DVB-T2 ทีพัฒนามาจาก DVB-T ซึ งมีประสิ ทธิภาพสู งกว่าระบบแพร่ ภาพ อืนๆถึง 50% หลักการแพร่ ภาพดิจิตอล ทีวีดว้ ยระบบภาคพืนชนิ ดนีใช้วิธีการผสมสัญญาณทีเรี ยกว่า OFDM มีการซอยย่อยคลืนความถีให้เป็ นความถีจํานวนมาก ทําให้การส่ งสัญญาณมีความ คงทน มีความยืดหยุน่ มีระบบการป้องกันความผิดพลาดคล้ายระบบแพร่ ภาพดิจิตอลผ่าน ดาวเทียม เข้าสัญญาณด้วยเทคนิค LDPC (Low Density Parity Check) ผสมกับ BCN (BoseChaudhuri-Hocquengham) เพือเพิมความคงทนให้กบั สัญญาณเมือเทียบกับตัวเก่าแล้ว DVBT2 มีความคงทนของสัญญาณมากกว่าในขณะทีมีค่าสัญญาณรบกวนเท่ากัน
~ 34 ~ สรุ ป แล้ว DVB-T2 คื อการแพร่ ภาพสัญญาณที วีดิ จิต อล ด้วยระบบแพร่ ภาพดิ จิ ตอล ภาคพืนดิน ทีพัฒนามาจากรุ่ น DVB-T เดิม แถมยังเป็ นทียอมรับมาตรฐานทางฝั งยุโรปและ ประเทศเพือนบ้าน เป็ นระบบทีนิยมใช้มากทีสุ ดทัวโลกในตอนนี ยิงทําให้อุปกรณ์หาง่ายและ ราคาถูก ซึ งทาง กสทช.จะทําการแพร่ ภาพแบบ 2 ระบบควบคู่กนั ไประยะเวลาหนึงก่อนจะทํา การยกเลิ ก สั ญ ญาณแบบอนาล็ อ กเป็ นการถาวรที เรี ยกกัน ว่ า digital switch over ระบบ โทรทัศน์จะกลายเป็ นดิจิตอลอย่างเต็มรู ปแบบ และระบบอนาล็อกจะถูกนําเอาไปใช้งานอย่าง อืนทีเหมาะสมต่อไป เมื อสั ญ ญาณผ่า นเครื องมื อ IPG (IP Guard) จะเข้า สู่ ก ระบวนการ กระจายสั ญญาณ ออกไปยังแหล่งต่าง ๆ โดยช่องทางที สถานี วิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง กระจายสัญญาณ มีอยูด่ ว้ ยกัน แหล่งเป็ นหลัก 1. ดาวเทียม 2. ระบบอินเทอร์เน็ต (Fiber Optic) 3. สัญญาณไมโครเวฟ
~ 35 ~
ดาวเทียม สัญญาณจะถูกส่ งไปยังศูนย์ดาวเทียมไทยคม เพือให้ทางไทยคมทําการอัพลิงค์สัญญาณ ขึนไปยังดาวเทียม และดาวเทียมทําหน้าทีถ่ายทอดสัญญาณ
รู ปที 4.25 ภาพการส่ งสัญญาณผ่านการอัพลิงค์สัญญาณไปยังดาวเทียม ระบบอินเทอร์ เน็ต (Fiber Optic) สัญญาณจะถูกส่ งผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต (Fiber Optic) โดยไปยังไซค์กระจาย สัญญาณตามเสาสถานี ส่งของสถานทีต่าง ๆ เพือให้สถานีส่งทําการถ่ายทอดสัญญาณต่อไป นิยมใช้เพือส่ งสัญญาณไปยังสถานี ต่างจังหวัด เพราะเกิดความสะดวกในการส่ งสัญญาณ
~ 36 ~
รู ปที 4.26 ภาพสัญญาณถูกส่งผ่านระบบอินเทอร์เน็ต สั ญญาณไมโคเวฟ สัญญาณจะถูกส่ งผ่านคลืนไมโครเวฟ โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง ได้ทาํ การส่ งสัญญาณไมโคเวฟไปยัง เสาสถานีตึกใบหยก โดยตังเสาส่ งสัญญาณไมโคเวฟทีตึกของ ททบ. และมีเสารับทีตึกใบหยก โดยการส่ งสัญญาณไมโคเวฟนัน ต้องมีเครื องแปลงสัญญาณ IP ให้เป็ นสัญญาณไมโคเวฟ
~ 37 ~
รู ปที 4.27 ภาพเครื องส่ งสัญญาณไมโคเวฟ ซึ งเครื องมือทุ กชินจะถูกต่อเข้ากับ Router Switch และส่ งข้อมูลติดต่อกันภายสัญญาณ IP ทํา ให้เครื องมื อทุ กชิ นมี เลขที IP เป็ นของตัวเองทุกเครื องมื อ และเครื องมื อทุ กชิ นจะถู ก ควบคุมดูแลโดย โปรแกรม NMX ซึ งการ Monitor , Electronic Program Guide รวมถึงการสัง การเครื องมื อ ต่า ง ๆ ในห้อ งเครื องมื อ สามารถสั งการได้จ ากโปรแกรมนี เปรี ย บเสมื อน โปรแกรมนีเป็ นรี โมทควบคุมเครื องมือต่าง ๆ
~ 38 ~
รู ปที 4.28 ภาพเครื องเครื องมือทุกชินจะถูกต่อเข้ากับ Router Switch
~ 39 ~
รู ปที 4.29 ภาพเครื องเครื องมือทุกชินจะถูกต่อเข้ากับ Router Switch