การติดตามประเมินผล สมัชชาผู้สูงอายุ 2559

Page 1

รายงานสรุปผล

บทสรุปผูบริหาร

การติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ

กรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย หนวยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กันยายน 2559


การติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ

the monitoring evaluation and actuation for the resolutions of the national assembly for OLDER people

รายงานสรุปผลหรือบทสรุปผูบริหารฉบับนี้ ขอเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษา โดยมีรายละเอียดตามหัวขอดังนี้ -

คำนำ จุดเริ่มตนของมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ มติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติที่ผานมา วัตถุประสงคโครงการ กระบวนการเก็บขอมูล แนวคิดคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ 4 ประการ การวิเคราะหเนื้อหามติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ การสรุปกลุมประเด็นสำคัญเพื่อสรางเครื่องมือวิจัย ขอมูลทั่วไปจากแบบสอบถาม ผลลัพทจากแบสอบถาม: การประเมินผลการดำเนินงานตามมติสมัชชา ผูสูงอายุ ป 2551 -2558 ผลลัพธจากแบบสอบถาม: ขอเสนอตาง ๆ ผลลัพธจากการสนทนากลุม ผลลัพธจากการสัมภาษณ (กิจกรรมเสียงลำดวน) สรุปประเด็นขอคนพบจากการติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ เพื่อนำไปสูขอมูลในการประชุมสมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติ ป 2560 บทสรุปของการติดตามประเมินผล และขับเคลื่อน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติ ขอเสนอแนะ


คำนำ สถานการณผูสูงอายุในประเทศไทยที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล การรวมมือ เพื่อเตรียมความพรอมสำหรับการเปลี่ยนแปลงเปนหนาที่ของคนไทยทุกคน ตลอดระยะ เวลาที่ผานมากรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดจัดสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติมาอยางตอเนื่อง ตั้งแต ป 2551-2558 เพื่อใหผูสูงอายุทุก ภาคสวนไดมีสวนรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูและขับเคลื่อนนโยบายดานผูสูงอายุ การวิจัย “การติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงานตามมติสมัชชา ผูสูงอายุระดับชาติ” จึงเปนการศึกษาเพื่อติดตามผลการดำเนินงานมติสมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติที่ผานมา เพื่อสรางกระบวนการติดตามประเมินผล ขับเคลื่อนและดำเนินการ อยางมีสวนรวมตอกิจกรรม หรือนโยบายจากมติการประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ รวมทั้งรับฟงขอเสนอนโยบายดานผูสูงอายุจากภาคีเครือขายและกำหนดเปนมติสมัชชา ผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560 ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ หนวยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Thammasat University Universal Design Research Unit) คณะสถาปตยกรรม ศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดรับความกรุณาและความรวมมือ เปนอยางดียิ่งจาก กรมกิจการผูสูงอายุ ตัวแทนผูสูงอายุ และภาคีเครือขายผูสูงอายุ ใน การใหขอมูล และประสานงานเปนอยางดียิ่ง คณะผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวา ขอมูลจาก การวิจัยในครั้งนี้จะมีประโยชนตอกรมกิจการผูสูงอายุ และภาคีเครือขายที่เกี่ยวของใน การกำหนดนโยบายทิศทางการขับเคลื่อนดานผูสูงอายุ ตลอดจนเปนขอมูลตอการจัด ประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560 รวมทั้งผูสูงอายุและประชาชนทั่วไปไดมีการ เรียนรูและเตรียมความพรอมเขาสูสังคมสูงวัยในอนาคตตอไป

2


มติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ เปน การดำเนินการเพื่อใหผูสูงอายุและทุกภาคสวน

ที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานดานผูสูงอายุ ไดรวมแลกเปลี่ยนความรู และเรียนรูอยางสมานฉันท เพื่อนำไปสูการเสนอนโยบายสาธารณะ เพื่อผูสูงอายุ และความมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผูสูงอายุ โดยจัดใหมีการประชุมอยางเปนระบบ ซึ่งเปนกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อผูสูงอายุที่เนนฐาน ความรูและการมีสวนรวมของทุกฝายที่เกี่ยวของในสังคม

จุดเริ่มตนของมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ กรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย

ผลักดัน และจัดตั้ง

สมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติ จัดประชุม และสรุปเปน

คณะกรรมการ ผูสูงอายุแหงชาติ (กสผ.)

นำเสนอตอ

ประเมินผลและ เขารวมประชุม

ขับเคลื่อนสู

องคการปกครอง สวนทองถิ่น (อปท.) ความรวมมือจากชุมชน และภาคเอกชน หนวยงานที่เกี่ยวของ 3

มติการประชุม สมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติ

สงตอ

ผูสูงอายุ


มติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติที่ผานมา ป 2551

ป 2552

ป 2553

การเพิ่มรายได การสงเสริมการออม และระบบบำนาญผูสูงอายุ

การดูแลผูสูงอายุ

การบริหารจัดการงาน ผูสูงอายุระดับทองถิ่น

ป 2556

ป 2558

1 การสรางเสริมสังคม ผูสูงอายุไทยใหมีคุณภาพ

สังคมสูงวัย สรางพลัง อยางไร ในการเขาสูอาเซียน

จากจุดเริ่มตนของมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ นำมาสูแนวทางการกำหนดนโยบายสาธารณะ ในแตละป ดังนั้น การขับเคลื่อนนโยบายเหลานี้สูองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และ หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อสงตอไปใหถึงผูสูงอายุซึ่งเปนผูรับประโยชน จะตองทำการประเมิน การทำงาน จากผูที่มีสวนเกี่ยวของตาง ๆ ในกระบวนการ โดยเฉพาะผูสูงอายุ และผูที่ทำงานเกี่ยวของ กับผูสูงอายุ เพื่อใหการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะนี้ครบวงจร การดำเนินโครงการ การติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงานตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ จึงจัดทำขึ้น

วัตถุประสงคโครงการ

2.

เพื่อสรางกระบวน การติดตาม ประเมินผล ขับเคลื่อน และดำเนินการ อยางมีสวนรวม

ังขอ เสนอนโ ฟ บ

าย ยบ

เพื่อติดตามประเมินผล การดำเนินงาน ตามขอเสนอนโยบาย สมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ระหวางป 2551-2558

า งกระบวนก ร ส

าร

ะเมน .1 ปร ิ ผล

3. ร ั

วต ั ถป ุ ระสงคท  จ่ีด ั ทำ โครงการมท ี ง้ัหมด 3 ขอ ดงัน้ี

เพื่อรับฟงขอเสนอนโยบาย ดานผูสูงอายุจากภาคี เครือขาย และเพื่อเปนขอมูล ในการประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560

4


กระบวนการเก็บขอมูล

ทบทวน มติป 2551 - 2558

วิเคราะหขอมูลจากการ ทบทวนมติที่ผานมา 19 มติหลัก 106 ขอยอย

แบบสอบถาม

สรางเครื่องมือ วิเคราะหผล

สัมภาษณ (เสียงลำดวน )

สรุป และวิเคราะห เพื่อเสนอตอ การประชุมมติ สมัชชาผูสูงอายุ ระดับชาติ ป 2560

สนทนากลุม (focus group)

หัวใจสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

การวิเคราะหและการจำแนกประเด็นที่ยึดตามหลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ + อื่น ๆ

สขุภาพ

เศรษฐกจิ

สงัคม

สภาพแวดลอม

การวิเคราะหขอมูล ขั้นที่ 1 เริ่มจากการทบทวนมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติที่ผานมา โดยการวิเคราะหความสัมพันธของ มติสมัชชาฯ ในแตละป กับหลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ ไดแก มติหรือนโยบายที่ใหความสำคัญดาน สุขภาพ ดานเศรษฐกิจรวมถึงการสรางรายได ดานการสงเสริมเสริมคุณภาพและศักยภาพดานสังคม ของผูสูงอายุ ดานการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อประโยชนตอการดำเนินชีวิตผูสูงอายุ และดานอื่น ๆ ที่ไม อยูในหลักคุณภาพชีวิต ขั้นที่ 2 เปนการวิเคราะหขอมูลจากเครื่องมือ ที่ไดมาจากการวิเคราะหเนื้อหาของมติสมัชชาฯ ในขั้นที่ 1 ไดแก การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม จากการสนทนากลุม และจากการสัมภาษณผูสูงอายุ โดยทำการกระจายผูตอบแบบสอบถาม และผูที่ทำกิจกรรมสนทนากลุม ไปทุกภาคทั่วประเทศไทย และขั้นที่ 3 ไดทำการสรุปและวิเคราะหผลการสำรวจ รวมถึวผลจากเวทีรับฟงขอคิดเห็นเพื่อเสนอตอ การประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560 ตอไป 5


การวิเคราะห ์มติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ที่ผานมา 106 ขอ

การจำแนกมติสมัชชาฯ ตามหลักคุณภาพชีวิต

วิเคราะหขอมูลจากการ ทบทวนมติที่ผานมา 19 มติหลัก 106 ขอยอย

แยกตามหลกั คณ ุ ภ า ช ชั าพ ม สิ 10.28%

สขุภาพ

เศรษฐกจิ

สขุภาพ

25.23%

+

ป 2

สภาพแวดลอม

551

สงัคม

30.84% เศรษฐกจิ

ข 1ิ 06

สงัคม

สภาพแวดลอม

33.64%

าร ประก

21.50%

ติ 4 ชวี

ิ 4 ปร ุ ภาพชวี ต ะกา ก ัล คณ ร ห

สรป ุ สด ั สว นม ต

ทบทวน มติป 2551 - 2558

- 2 55

8 รวมมต

สรุปกลุมประเด็นของมติสมัชชาระดับชาติ ตามหลักคุณภาพชีวิต ดานสุขภาพ

นโยบาย สรางบค ุ ลากร ดแูลตวัเอง เอกชน

ดานสังคม

นโยบาย การศก ึ ษา สวสัดก ิ าร งบประมาณ ประชาสมัพน ั ธ

21.74% 26.09% 13.04% 39.13% 19.44% 41.67% 22.22% 8.33% 8.33%

ดานเศรษฐกิจ

นโยบาย สวสัดก ิ าร สงเสรมิอาชพ ี สงเสรมิการออม สงเสรมิเอกชน

ดานสภาพแวดลอม

นโยบาย ความรู กายภาพ

15.15% 21.21% 36.36% 15.15% 12.12% 37.04% 25.93% 37.04%

ดานอื่น ๆ

16.67% การวิเคราะหมติสมัชชาฯ ที่ผานมา นโยบาย โดยการจำแนกตามหลักคุณภาพชีวิต 41.67% ฐานขอมลู ทำใหพบวา มติสมัชชาฯ 16.67% งบประมาณ อันดับ 1 คือ มติสมัชชาฯ ดานสังคม 25.00% การประเมน ิ อันดับ 2 คือ ดานเศรษฐกิจ อันดับ 3 คือ ดานสภาพแวดลอม อันดับ 4 คือ ดานสุขภาพ และอันดับสุดทาย คือ ดานอื่น ๆ โดยจากการจำแนกมติสมัชชาฯ ตามหลักคุณภาพชีวิต ทำใหสามารถวิเคราะหเชิงลึก ในแตละดาน และสามารถนำไปสรางเครื่องมือในการประเมินผล และขับเคลื่อน ตอไป

6


ขอมูลทั่วไปจากแบบสอบถาม ผูที่ทำงานเกี่ยวของ กับผูสูงอายุ

ผูสูงอายุ

ช 144

อายุเฉลี่ย 66 ป

ญ 77

ช 53

221 คน

ตอบกลับ 401 ชุด

ญ 127

180 คน

ช 53

จากเปาหมายตองการให ตอบแบบสอบถาม 400 ชุด ตอบกลับมา 401 ชุด

อายุเฉลี่ย 45 ป

การวิเคราะหเนื้อหาของมติสมัชชาฯ ที่ผานมา นำมาสูการสรางเครื่องมือ สำหรับการทำ แบบสอบถาม โดยขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม มีดังนี้

ผูสูงอายุที่ตอบแบบสอบถาม แยกตามภูมิภาค

ผูที่ทำงานเกี่ยวของกับ ผูสูงอายุที่ตอบแบบสอบถาม แยกตามภูมิภาค

ภาคเหนือ 24.09%

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 29.09%

ภาคเหนือ 15.00%

ภาคกลาง 22.73% กทม.และ ปริมณฑล 22.73%

ไมระบุ 3.18%

ภาคกลาง 18.33% กทม.และ ปริมณฑล 30.00%

ไมระบุ 3.33%

ภาคใต 13.64%

7

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 21.11%

ภาคใต 12.22%

ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด 401 คน จากที่ตั้งเปาหมายไว 400 คน แบงเปน ผูสูงอายุชาย 144 คน ผูสูงอายุหญิง 77 คน รวมเปน 221 คน และผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุชาย 53 คน หญิง 127 คน รวมเปน 180 คน ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดกระจายทั่วประเทศไทยตามภูมิภาค 5 สวน ไดแก กรุงเทพและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต และในการวิเคราะหแบบสอบถาม จะวิเคราะหเปรียบเทียบระหวางกลุมผูสูงอายุกับกลุมผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ


ขอมูลทั่วไปจากแบบสอบถาม ผูสูงอายุที่เคยเขารวมประชุมสมัชชาฯ อยางนอย 1 ครั้ง

40

128 คน

43 คน

เคยเขารวม ประชุมอยาง นอย 1ครั้ง

ไมเคยเขา รวมประชุม

89 คน

33.94%

3 คน

ไมตอบ

137 คน

40

14.93%

14.47%

ป 2551

ป 2552

ป 2553

12.22% 6.11%

4.44%

ป 2556

ป 2558

0

ป 2551

เปนกรอบ แนวทาง/ นโยบายใน การดำเนิน งานดาน ผูสูงอายุ

80

เปนกฎหมายที่ ตองปฎิบัติตาม

21.11%

เปนกฎหมายที่ ตองปฎิบัติตาม

ป 2558 (รวม 100%)

อื่นๆ

3.33%

0.90%

0

ป 2556

ไมทราบ

อื่นๆ

4.52%

ป 2553

74.44%

40

ไมทราบ

2.78%

เปนกรอบ แนวทาง/ นโยบายใน การดำเนิน งานดาน ผูสูงอายุ

80

74.21%

20.36%

ป 2552

7.22%

การรับรูความสำคัญ ของมติสมัชชาผูสูงอายุ

(รวม 100%)

1.11%

0

บทบาทหนาที่ ของผูสูงอายุ (รวม 100%)

69.23%

30

30 17.19% ผูสูงอายุทั่วไป ไมสังกัด สมาคมหรือ หนวยงานใดๆ

62.22% เจาหนาที่ ภาครัฐ/ กลุมหนวย งานที่เกี่ยวของ กับรัฐ

2.22%

12.67% อื่นๆ

บทบาทหนาที่ ที่เกี่ยวของกับกิจการผูสูงอายุ (รวม 100%)

60

สมาชิกกลุม เครือขาย ผูสูงอายุ

0

ไมตอบ

ไมเคยเขา รวมประชุม

การรับรูความสำคัญ ของมติสมัชชาผูสูงอายุ

60

1 คน

20

9.95%

40

เคยเขารวมประชุม อยางนอย 1 ครั้ง

25.79%

20

0

ผูที่ทำงานเกี่ยวกับผูสูงอายุ ที่เคยเขารวมประชุมสมัชชาฯ อยางนอย 1 ครั้ง

0.91% ไมระบุ

0

ผูบริหาร นโยบาย ระดับ กระทรวง /กรม

4.44%

เจาหนาที่ 3.89% สังกัดกลุม สมาชิก หนวยงาน กลุม ที่เปน เครือขาย องคกร ผูสูงอายุ อิสระ

14.44%

10.00% ไมมี อื่นๆ

ความ เกี่ยว ของ

2.78% ไมระบุ

ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด เกินครึ่ง ไมเคยเขารวมประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ แต กวารอยละ 70 ของ ผูตอบแบบสอบถาม ทั้งกลุมผูสูงอายุ และกลุมผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ มีความเขาใจถึงความสำคัญ ของมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ โดยบทบาทหนาที่สวนใหญของผูตอบแบบสอบถามกลุมผูสูงอายุ เปนผูที่ อยูในกลุมเครือขายของกิจการผูสูงอายุ ขณะที่บทบาทหนาที่สวนใหญของผูตอบแบบสอบถามกลุมผูที่ทำงาน เกี่ยวของเปนเจาหนาที่รัฐ

8


ผลลัพธจากแบบสอบถาม: การประเมินผลการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาฯ ป 2551 2552 2553 2556 และ 2558 ระดับการรับรู ของผูสูงอายุและผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ กับการดำเเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2551 ป 2552 ป 2553 และป 2556 ในดานสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดลอม และอื่น ๆ จำแนกตาม ประสบการณ การเขารวมประชุม หลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ + อื่น ๆ

กลุม ตัวอยาง

สขุภาพ

สงัคม

เศรษฐกจิ

สภาพแวดลอม

รวม

จำแนกตามภูมิภาค

ไมเคย เคย เขารวม เขารวม

กทม.และ กลาง ปริมณฑล

อีสาน

ใต

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

มาก

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

มาก

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

มาก

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

มาก

มาก

ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบแบบสอบถาม ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบ ตอผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ทั้งหมด แบบสอบถาม ตอผลการ ดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ จำแนกตามประสบการณ การเขารวมประชุมสมัชชา

หมายเหตุ: ผลในชอง

เหนือ

หมายถึง

ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบแบบสอบถาม ตอผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ จำแนกตามภูมิภาค

ระดับการรับรูถึงผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาในแตละดาน ของคนกลุมผูสูงอายุ และผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ มีความแตกตางกัน

ระดับการรับรูตอมติสมัชชาฯ ในดานตาง ๆ

9

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

ผูสูงอายุ

ผูที่ทำงานเกี่ยวของ กับผูสูงอายุ


ผลลัพธจากแบบสอบถาม: การประเมินผลการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาฯ ป 2551 2552 2553 2556 และ 2558 ระดับการรับรู ของผูสูงอายุและผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ กับการดำเเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2558 ในดานสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม จำแนกตาม ประสบการณ การเขารวมประชุม หลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ + อื่น ๆ

กลุม ตัวอยาง

สขุภาพ

สงัคม

เศรษฐกจิ

สภาพแวดลอม

รวม

จำแนกตามภูมิภาค

ไมเคย เคย เขารวม เขารวม

กทม.และ กลาง ปริมณฑล

อีสาน

ใต

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

ปานกลาง

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอยมาก

นอย

นอย

นอย

นอยมาก

ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบแบบสอบถาม ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบ ตอผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ทั้งหมด แบบสอบถาม ตอผลการ ดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ จำแนกตามประสบการณ การเขารวมประชุมสมัชชา

หมายเหตุ: ผลในชอง

เหนือ

หมายถึง

ความคิดเห็นเฉลี่ยของผูตอบแบบสอบถาม ตอผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ จำแนกตามภูมิภาค

ระดับการรับรูถึงผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาในแตละดาน ของคนกลุมผูสูงอายุ และผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ มีความแตกตางกัน

ระดับการรับรูตอมติสมัชชาฯ ในดานตาง ๆ นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

นอยมาก

มาก

ผูสูงอายุ

ผูที่ทำงานเกี่ยวของ กับผูสูงอายุ

10


ผลลัพธจากแบบสอบถาม: ขอเสนอแนะดานปญหา อุปสรรค และความตองการเพิ่ม สัดสวนโครงการที่ดำเนินงานตาม มติสมัชชา 2558 จากการตอบแบบสอบถาม

12.99%

สภาพแวดลอม

อื่นๆ

13.51% 9.45% 16.72%

เศรษฐกิจ

12.99%

สุขภาพ

33.78%

สภาพแวดลอม

18.18%

สุขภาพ

33.77% 35.06%

อื่นๆ

เศรษฐกิจ

สังคม

27.02%

สังคม

จากแบบสอบถามใหผูตอบแบบสอบ ถามระบุโครงการที่ดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ป 2558

ผูสูงอายุสวนใหญระบุถึงโครงการดานสุขภาพเปนอันดับหนึ่ง อันดับสองเปนโครงการดานสังคม ตอมาคือ โครงการ ดานเศรษฐกิจ สภาพแวดลอม และอื่น ๆ ตามลำดับ สวน ผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ ระบุถึงโครงการดานสังคมเปน อันดับหนึ่ง อันดับสองคือ โครงการดานสุขภาพ ตอมาคือโครงการดานเศรษฐกิจและสภาพแวดลอม และอันดับสุดทาย เปนโครงการอื่น ๆ ที่ไมเขาหมวดคุณภาพชีวิต 4 ประการ

คำถามตอมา ใหผูตอบแบบสอบถามระบุถึงปญหาในการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ป 2558

กลุมผูสูงอายุ สวนใหญระบุถึงปญหา ดานงบประมาณและการสนับสนุนจากหนวยงาน เปนอันดับหนึ่ง ตอมาเปนปญหา ดานกระบวนการดำเนินงาน สวน กลุมผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ ระบุถึงปญหาดานการดำเนินงานและความรวมมือ ระหวางเจาหนาที่ เปนอันดับหนึ่ง อันดับสองคือปญหาดานงบประมาณและแผนงาน

คำถามขอสุดทาย ใหผูตอบแบบสอบถามเสนอความตองการเพิ่มเติม ตอมติสมัชชาฯ ในอนาคต

กลุมผูสูงอายุ สวนใหญเสนอใหมีการแกไขปญหาของผูสูงอายุใหเพิ่มมากขึ้น เปนอันดับหนึ่ง ตอมาเปนการเสนอใหพัฒนา กระบวนการและการดำเนินงานตาง ๆ สวน กลุมผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ เสนอใหการทำงานดานผูสูงอายุเปน รูปธรรมชัดเจน ดวยการกำหนดกฎหมาย สิทธิ นโยบาย และยุทธศาสตร เปนอันดับหนึ่ง ตอมาเสนอใหสนับสนุบการ ดำเนินงานและใหความรวมมือมากขึ้น

22

กระบวนการ ดำเนินงาน

32

งบประมาณ +การ สนับสนุน

19

8

การแกไข ปญหาของ ผูสูงอายุ

การใหขอมูล+ ประชาสัมพันธ

ขอเสนอแนะดาน ปญหา+อุปสรรค

9

งบประมาณ +แผนงาน 7

สุขภาพ + รายไดผูสูงอายุ

11

10

10

การดำเนินงาน + ความรวมมือ

12

การสงเสริมพัฒนา ศักยภาพ ผูสูงอาย

การประชา สัมพันธ

กฎหมาย สิทธิ นโยบาย ยุทธศาสตร

การดำเนินงาน + ความรวมมือ

6

สภาพแวดลอม

24

กระบวนการ ดำเนินงาน

5

การใหขอมูล+ ประชาสัมพันธ

2

13

21

งบประมาณ+ การสนับสนุน

3 การ ประชาสัมพันธ

ขอเสนอแนะดาน ความตองการเพิ่มเติม

29

การแกไข ปญหาของ ผูสูงอายุ

2 กฎหมาย


ผลลัพธจาก การสนทนากลุม (FOCUS GROUP) แบงเปน 4 กลุม เพื่อเปนตัวแทนแตละภูมิภาค ตัวแทนผูสูงอายุ ภาคเหนือ 13 คน

ตัวแทนผูสูงอายุ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 12 คน ตัวแทนผูสูงอายุ ภาคกลาง 14 คน

ขา รว มทำ F กลมุ ตัว แทนทเี่ oc u

ตัวแทนจาก ศูนยผูสูงอายุ /มูลนิธิ/ หนวยงานรัฐ

10

สาขาสมาคม สภาผูสูงอายุ แหงประเทศไทยฯ

ตัวแทนผูสูงอายุ ภาคใต 15 คน

24

กรมกิจการ ผูสูงอายุ

14

ผูทงคุณวุฒิ ทำงานเกี่ยวของกับ เครือขายผูสูงอายุ

16

s GrouP นักวิชาการ นักวิจัย

9

ผูที่สนใจ เชน นักศึกษา ป.ตรี/ป.โท

26

การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ มีผูเขารวมประชุม 92 คน โดยเปนตัวแทนจากสาขาสมาคม สภาผูสูงอายุแหงประเทศไทย 24 คน ผูทรงคุณวุฒิและผูที่ทำงานเครือขายผูสูงอายุ 16 คน ตัวแทนจากศูนยผูสูงอายุ มูลนิธิและหนวยงานรัฐ 10 คน กรมกิจการผูสูงอายุ 14 คน นักวิชาการและนักวิจัย 9 คน และนักศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทที่สนใจ 26 คน ซึ่งในกิจกรรมการสนทนากลุม ไดแบงกลุมผูสูงอายุและผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ ตามภูมิภาค โดยแบงไดทั้งหมด 4 กลุม ไดแก กลุมภาคกลาง 14 คน กลุมภาคเหนือ 13 คน กลุมภาคอีสาน 12 คน และกลุมภาคใต 15 คน โดยนอกนั้นเปนผูสังเกตุการณ

12


ผลลัพธจาก การสนทนากลุม (Focus GROUP) ลำดับความสำคัญของมติสมัชชาผูสูงอายุ ตามหลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ

1

41.57%

2

23.60%

สุขภาพ

3

29.21%

4

เศรษฐกิจ

สังคม

5.62% สภาพแวดลอม

กิจกรรมหรือนโยบาย ที่ตองการใหผลักดันอยางตอเนื่อง

1

33.33% เศรษฐกิจ

2

23.80%

3

อื่นๆ

สุขภาพ

สังคม

4.77% สภาพแวดลอม

กิจกรรมหรือนโยบายใหม ที่ตองการเสนอตอมติสมัชชาฯ ป 2560

1

52.17% สังคม

ผลลัพธจากการสนทนากลุม

2

26.08% เศรษฐกิจ

3

13.05% สุขภาพ

4

4.35% อื่นๆ

สภาพแวดลอม

1. ใหผูรวมสนทนากลุมลำดับความสำคัญของมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ตามหลักคุณภาพชีวิต 4 ประการ โดยผล จากการลำดับความสำคัญ ผูเขารวมกิจกรรม ใหความสำคัญกับนโยบายดานสุขภาพเปนอันดับหนึ่ง ดานเศรษฐกิจ เปนอันดับสอง ตอมา คือ ดานสังคม และสภาพแวดลอม ตามลำดับ 2. ใหผูรวมกิจกรรม ระบุถึงกิจกรรมหรือนโยบายที่ตองการใหขับเคลื่อนอยางตอเนื่อง โดยสวนใหญผูรวมกิจกรรมเสนอ ใหดำเนินนโยบายดานสังคมและเศรษฐกิจ เชน โครงการการศึกษาตลอดชีวิต และการสนับสนุนกิจกรรมสรางรายได สำหรับผูสูงอายุ เปนตน 3. ใหผูรวมกิจกรรม เสนอกิจกรรมหรือนโยบายใหม ๆ โดยสวนใหญเสนอนโยบาย ดานสังคม เชน การสนับสนุนและ สงเสริมผูสูงอายุใหเขาถึงเทคโนโลยี และการสงเสริมใหผูสูงติดสังคม ผานการสนับสนุนชมรมผูสูงอายุตามทองถิ่น เปนตน 13


ผลลัพธจากการ สัมภาษณ (เสียงลำดวน) ในการเก็บขอมูลไดมีการสัมภาษณผูสูงอายุในประเด็นที่วา “ ทานตองการใหมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ขับเคลื่อนประเด็นใด ” สุขภาพ

เห็นคุณคา +การดูแล

เศรษฐกิจ

ชวยเหลือดาน สุขภาพกาย สุขภาพจิต

สรางอาชีพ เพื่อใหผูสูงอายุ เห็นคุณคาในตนเอง

อื่นๆ

สังคม

1

พัฒนาศักยภาพ และสรางสังคมที่ เขมแข็งใหผูสูงอายุ ภาคเอกชนมี บทบาทชัดเจน

แลกเปลี่ยน ความเห็น พัฒนาชุมชน การชวยเหลือ ผูสูงอายุเรรอน

มติสมัชชา มีความเปน รูปธรรมมากขึ้น

เพิ่มบทบาท หนวยงานรัฐ ใหชัดเจนขึ้นอีก

การเขาถึง ขอมูลดานสิทธิ ของผูสูงอายุ

รัฐใหการ สนับสนุน ชมรมผูสูงอายุ เพื่อความยั่งยืน

การสรุปขอมูลจากการสัมภาษณเสียงลำดวล ในประเด็นที่วา “ประโยชนและความคาดหวังตอการประชุมเชิงปฏิบัติการและการขับเคลื่อนมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ” ผูที่ใหสัมภาษณ กลาวถึงประโยชนและความคาดหวังหลายดาน โดยจัดกลุมได 4 กลุม คือ ความคาดหวังดานสุขภาพ โดยกลาววา การประชุมเชิงปฎิบัติการนี้ ทำใหรูสึกถึงการเห็นคุณคาและการดูแลสังคมผูสูง อายุ รวมถึงคาดหวังใหมีการชวยเหลือในการดูแลสุขภาพและสุขภาพจิต อยางเปนรูปธรรม ความคาดหวังดานสังคม การประชุมเชิงปฏิบัติการนี้ กอใหเกิดการพัฒนาศักยภาพและสรางสังคมที่เขมแข็ง อีกทั้ง ทำใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณเพื่อการพัฒนาชุมชน คาดหวังใหเอกชนมีบทบาทที่ชัดเจน และคาดหวังใหมีการ ชวยเหลือผูสูงอายุเรรอน ความคาดหวังดานเศรษฐกิจ ตองการใหขับเคลื่อนนโยบายดานการสรางอาชีพ เพื่อใหผูสูงอายุพึ่งพาตนเองไดและเห็น คุณคาของตนเอง ความคาดหวังดานอื่น ๆ เปนความคาดหวังตอบทบาทของหนวยงานราชการในการพัฒนากิจการผูสูงอายุ การสนับสนุนชมรมผูสูงอายุใหเกิดความยั่งยืน อยากใหพัฒนามติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติเปนรูปธรรมมากกวานี้ รวมถึง พัฒนาชองทางการเขาถึงขอมูลดานสิทธิของผูสูงอายุ 14


สรุปประเด็นขอคนพบจากการติดตามประเมินผล และขับเคลื่อน การดำเนินงานตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ เพื่อนำไปสู ขอมูลในการประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560

จากการทบทวนมติ มีการดำเนินนโยบาย ดานสังคม อยางเดนชัดในอดีต

สังคม

จากการสนทนากลมุ ผูสูงอายุที่รวมสนทนากลุม ใหความสำคัญกับนโยบาย 1: ดานสุขภาพ 2: ดานเศรษฐกิจ สุขภาพ

เศรษฐกิจ

15

จากแบบสอบถาม การรับรูการ ดำเนินงาน ตามมติสมัชชา ป 2551 - 2556

จากแบบสอบถาม การรับรูการ ดำเนินงาน ตามมติสมัชชา ป 2558

ปานกลาง

นอย

ปานกลาง

นอย

จากการสนทนากลมุ

ผูรวมกิจกรรมสนทนากลุม ตองการใหรัฐดำเนินนโยบาย ดานสังคม และดานเศรษกิจ ใหเกิดความตอเนื่อง

จากการสนทนากลมุ ผูรวมกิจกรรม ตองการเสนอและ ผลักดันนโยบาย ดานสังคม

สังคม

เศรษฐกิจ

สังคม


บทสรุปของการติดตามประเมินผล และขับเคลื่อน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ การดำเนินการตามมติที่ประชุมสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ที่ผานมา (2551, 2552, 2553, 2556, 2558) มีการดำเนินนโยบาย ดานสังคม อยางเดนชัด ในขณะที่ผูสูงอายุที่รวมกิจกรรมสนทนากลุม ใหความสำคัญกับนโยบาย ดานสุขภาพ เปนอันดับหนึ่ง และ ดานเศรษฐกิจ เปนอันดับสอง สำหรับการดำเนินนโยบาย ในป 2551 – 2556 การรับรูของผูสูงอายุและผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ ถึงระดับการดำเนินงานในการตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ โดยภาพรวมอยูในระดับ ปานกลาง สำหรับการดำเนินนโยบาย ในป 2558 การรับรูของผูสูงอายุและผูที่ทำงานเกี่ยวของกับผูสูงอายุ ถึงระดับการดำเนินงานในการตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ โดยภาพรวมอยูในระดับนอย ในการดำเนินการในอนาคต ผูเขารวมการสนทนากลุม ตองการใหรัฐดำเนินนโยบาย ดานสังคม และดานเศรษฐกิจ ใหเกิดความตอเนื่อง และ ตองการเสนอและผลักดันนโยบาย ดานสังคมใหเปนนโยบายหลักในอนาคตตอไป

16


ขอเสนอแนะ

มติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ เปนสิ่งสำคัญที่นำไปสู การสรางนโยบายเพื่อคุณภาพชีวิตและสวัสดิการตาง ๆ ใหกับกลุมผูสูงอายุ หากมติสมัชชามีความชัดเจน ตอการดำเนินงาน โดยการวางทิศทางของเนื้อหา ใหมุงไปตอบรับกับหลักคุณภาพชีวิตหลักใดหลักหนึ่ง และไมเนนปริมาณขอเสนอมากจนเกินไป จะทำใหการทำงานของเจาหนาที่หรือผูที่ทำงานเกี่ยวกับผูสูงอายุ เปนไปอยางมีแนวทางชัดเจน

ในการกำหนดประเด็นสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ ป 2560 จำเปนตองมีคณะทำงานดานวิชาการที่ดำเนินการเชื่อมโยง ขอมูลผลการติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติในการวิจัยครั้งนี้กับ ประเด็น หรือ มิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 มติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ เปนตน

17


การติดตามประเมินผล และขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาผูสูงอายุระดับชาติ

the monitoring evaluation and actuation for the resolutions of the national assembly for OLDER people

กรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

คณะผูวิจัย อาจารยรุงรัตน เต็งเกาประเสริฐ (หัวหนาโครงการ) ผูชวยศาสตราจารยชุมเขต แสวงเจริญ อาจารย ดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย อาจารยวิรุจน สมโสภณ อาจารยภวินท สิริสาลี คุณชมภูนุท ควรเขียน คุณศิวพร ธรรมวรรณา หนวยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กันยายน 2559 18


Thammasat University Universal Design Research Unit หนวยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Email : ud.tham2558@gmail.com Tel : 092-603-6559 Fax : 02-986-8067 FACEBOOK: หนวยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Design by oreeo_rocher

credit: www.freepik.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.